Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

Published by sorasit Kitti, 2021-11-12 09:05:53

Description: หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

Search

Read the Text Version

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผู้ทจี่ ะประกอบอาชีพนี้ ควรเตรียมความพร้อมดงั ตอ่ ไปน้ี : ผู้ท่ีสำ� เร็จการศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กรมการ ัจดหางาน สาขาวิทยาศาสตร์จากสถานศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะต้องสมัครสอบ คัดเลือกเพื่อศึกษาต่อ Department of Employment ระดับอุดมศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร์หลักสูตร 4 ปี เม่ือส�ำเร็จการศึกษาแล้วจะได้รับปริญญาวิศวกรรม ศาสตรบณั ฑติ (วศ.บ.) สาขาวศิ วกรรมเครอื่ งกล สำ� หรบั ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.) ที่ศึกษาเกี่ยวกับทางช่างเครื่องกล จากสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะต้องสมัครสอบ คัดเลือกเพ่ือศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาที่เปิดรับผู้มีวุฒิ ปวส. ใช้ระยะเวลาการศึกษา 2 ปี (หลักสูตรต่อเน่ือง) เมอ่ื สำ� เรจ็ การศกึ ษาแลว้ จะไดร้ บั ปรญิ ญาวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศ.บ.) ในสาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล ผทู้ จี่ ะประกอบ อาชีพวิศวกรในทุกสาขาควรจะ มีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเพ่ือใช้ในการรับรองส�ำหรับการประกอบอาชีพ ซ่ึงต้องมีคุณสมบัติและวุฒิการศึกษาตามข้อก�ำหนด โดยจะขอรับใบอนุญาตได้ท่ีกองวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สังกัดในกระทรวงมหาดไทย สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ภาควิชา วิศวกรรมเคร่ืองกล ยานยนต์ และอุตสาหการ มหาวิทยาลัยรังสิต ห้อง 230 อาคารวิษณุรัตน์ วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลหลักหก อ�ำเภอเมือง จังหวดั ปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 0-2997-2222-40 ตอ่ 3257 โทรสาร 0-2997-2222-40 ตอ่ 3257 - สาขาวิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัย เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) 126 ถนนประชาอทุ ิศ แขวงบางมด เขตท่งุ ครุ กรุงเทพฯ 10140 โทรศัพท์ 439 0-2470-8333 โทรสาร 0-2470-8367 อีเมล [email protected] - สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครือ่ งกล มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม 2410/2 ถนนพหลโยธนิ เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2579-1111, 0-2561-2222 โทรสาร 0-2561-1721 - ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2797-0999 ต่อ 1803, 1804 โทรสาร 0-2579-4576 - ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 0-4320-2845 โทรสาร 0-4320-2849 อีเมล [email protected] - ภาควชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 254 ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2215-3555 อีเมล [email protected] โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาด้าน วิศวกรเครื่องกลรถยนต์ หากท�ำงานเพิ่มประสบการณ์และได้รับการอบรมในวิชา ที่เก่ียวข้องและมีความสามารถใน การบริหารก็สามารถเล่ือนขั้นเป็นผู้บริหารโครงการในโรงงานอุตสาหกรรม ได้ สำ� หรบั ผทู้ ่ีศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ถึงข้ันปริญญาโทหรอื ปริญญาเอกสามารถท่ีจะเป็นอาจารยใ์ นมหาวิทยาลัยทวั่ ไปได้

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 อาชีพทเ่ี กี่ยวเน่ือง วิศวกรเครื่องกล (เครือ่ งจกั รและเครอ่ื งมือ) วิศวกรเครอื่ งกล (เรอื ) วิศวกรเครอ่ื งกล (อากาศยาน) วศิ วกร เครอ่ื งกล (หมอ้ นำ�้ และอปุ กรณ)์ วศิ วกรเครอื่ งกล (ความรอ้ น การระบายอากาศ และการทำ� ความเยน็ ) วศิ วกรเครอื่ งกล (การบำ� รงุ รักษา) วิศวกรเคร่อื งกล (โครงสรา้ ง) แหล่งข้อมลู อนื่ ๆ - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เว็บไซต์ www.kmutt.ac.th - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล - สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั เว็บไซต์ www.kmit.ac.th 440

ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจำ�ปี 2558/2015 Department of Employment วิศวกรเคร่ืองกล (ระบบปรับอากาศ) Mechanical Engineer, Air Conditioning นิยามอาชีพ ออกแบบอุปกรณ์และระบบปรับอากาศ การหมุนเวียนของ อากาศ การกำ� จัดอากาศเสยี วางแผนและควบคมุ การผลติ การติดต้ัง ระบบปรับอากาศต่าง ๆ ซ่อมหรือดัดแปลงระบบตรวจสอบความ ปลอดภัยของระบบ : ปฏิบัติงานหลักมูลฐานเช่นเดียวกันกับวิศวกร เคร่ืองกลท่ัวไป แต่มีความเช่ียวชาญเฉพาะระบบการปรับอากาศ อาคารสำ� นกั งาน และศนู ย์การคา้ ตา่ ง ๆ ลักษณะของงานทที่ ำ� 1. ออกแบบอุปกรณ์และแผนผังระบบท�ำความร้อน การระบายอากาศ การท�ำความเย็น และระบบท่ี คลา้ ยคลงึ กนั 2. ออกแบบเครื่องปรับอากาศเพ่ือสมรรถนะที่เหมาะสม เช่น การออกแบบระบบระบายอากาศ ในอาคารสูงเพ่ือคุณภาพอากาศในอาคาร การควบคุมพลังงานไฟฟ้าของมอเตอร์ในระบบแปรเปลี่ยนปริมาตร ลม เปน็ ตน้ 3. วางแผนงาน และควบคมุ การผลิต การติดต้ัง การใช้และการซอ่ ม ก�ำหนดแบบของเครอื่ งจักร คำ� นวณ 441 ต้นทุน และวิธีการผลิต เช่น การติดตั้ง การใช้งาน และการบ�ำรุงรักษาระบบปรับอากาศขนาดใหญ่ การติดต้ัง เครือ่ งฟอกอากาศสำ� หรบั ระบบปรับอากาศ 4. จัดท�ำรายการแสดงรายละเอียดที่เก่ียวกับการติดต้ัง วางแผนเกี่ยวกับวิธีการผลิต และควบคุมงาน ดา้ นเทคนคิ การผลติ 5. ควบคมุ การตดิ ตงั้ การบำ� รงุ รกั ษา และการซอ่ มอปุ กรณเ์ ครอื่ งปรบั อากาศ เชน่ การแกไ้ ขและการปอ้ งกนั เสียงและความส่นั สะเทือนท่ีเกดิ ข้ึนในระบบปรับอากาศ 6. ทดสอบอุปกรณ์จักรกลเก่ียวกับความปลอดภัย ประสิทธิภาพ และความถูกต้องตรงตามรายละเอียด ท่ีกำ� หนดไว้ 7. อาจช�ำนาญในการออกแบบ หรือการวางแผน หรือการควบคุมงานทางวิศวกรรมเครื่องกล ช่วงใด ชว่ งหน่ึง เช่น การผลติ การติดตัง้ หรอื การซอ่ ม 8. เช่ียวชาญเก่ียวกับระบบท�ำความร้อนในอาคาร การจ่ายอากาศบริสุทธ์ิ การก�ำจัดอากาศเสีย การท�ำ หอ้ งเยน็ ส�ำหรบั เกบ็ สนิ คา้ การจ่ายน�้ำใหแ้ ก่เคร่อื งดบั เพลงิ อัตโนมัติ หรือเพื่อใชใ้ นงานอ่ืน ๆ ท่ีคลา้ ยคลงึ กนั สภาพการจ้างงาน ผู้ประกอบวิศวกรเครื่องกลได้รับค่าตอบแทนการท�ำงานเป็นเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา ส�ำหรับผู้ที่ส�ำเร็จ การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรซี ่งึ ไมม่ ปี ระสบการณใ์ นการท�ำงาน ได้รบั เงินเดอื นตามวฒุ กิ ารศกึ ษา

กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ส่วนมากทำ� งานวนั ละ 8 ชัว่ โมง หรือสัปดาห์ละ 40 ชว่ั โมง อาจต้องท�ำงาน ล่วงเวลาวันเสาร์ วนั อาทิตย์ และ วนั หยดุ ในกรณที ตี่ อ้ งการใหง้ านทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ใหท้ นั ตอ่ การใชง้ านนอกจากผลตอบแทนในรปู เงนิ เดอื นแลว้ ในภาครัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน อาจได้รับผลตอบแทนในรปู อน่ื เชน่ คา่ รักษาพยาบาล เงนิ สะสม เงินชว่ ยเหลือ สวสั ดิการในรปู ตา่ ง ๆ เงินโบนัส เป็นต้น สภาพการทำ� งาน สถานท่ีท�ำงานของวิศวกรปรับอากาศจะมีสภาพเหมือนสถานท่ีท�ำงานท่ัวไป คือเป็นส�ำนักงานที่มีอุปกรณ์ และสง่ิ อำ� นวยความสะดวกเชน่ สำ� นกั งานทวั่ ไป แตโ่ ดยลกั ษณะงานทจี่ ะตอ้ งควบคมุ งานการประกอบเครอ่ื งปรบั อากาศ งานติดต้ังระบบระบายความร้อน รวมถึงการซ่อมบ�ำรุง จึงจ�ำเป็นที่จะต้องท�ำงานหรือตรวจสอบเคร่ืองปรับอากาศ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องภายในโรงงานประกอบการผลิต หรือสถานประกอบกิจการที่ติดต้ังระบบปรับอากาศ หรือ ระบบระบายความร้อนอย่างสม�่ำเสมอ เน่ืองจากต้องควบคุมดูแลระบบปรับอากาศให้สามารถท�ำงานได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพสูงสุด โดยวิศวกรปรบั อากาศควรคำ� นงึ ถงึ การติดตงั้ ระบบปรับอากาศในเชงิ อนุรักษ์พลังงานและสภาพ แวดลอ้ ม เชน่ ดำ� เนินการลดเลกิ ใช้สารทำ� ลายช้นั โอโซน (CFC) จากการใช้ระบบปรับอากาศ ส�ำหรับวิศวกรปรับอากาศที่ท�ำงานในบริษัทรับเหมาในการติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงระบบระบายความร้อนหรือ ระบบปรับอากาศในสถานประกอบกิจการทั่วไปมักจะต้องท�ำงานประจ�ำท่ีสถานท่ีในลักษณะงานภาคสนามซ่ึงอาจ ต้องเดินทางไปประจำ� ทส่ี ถานประกอบกิจการจนกวา่ งานที่รับเหมาจะแลว้ เสรจ็ ผู้ประกอบอาชีพวิศวกรปรับอากาศสามารถสอบเข้ารับราชการหรือท�ำงานในรัฐวิสาหกิจ เช่น การไฟฟ้า นครหลวง การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ เปน็ ตน้ หรือทำ� งานในโรงงานอตุ สาหกรรม บริษทั รบั เหมาตดิ ตั้ง และซอ่ มบ�ำรงุ ระบบ ไฟฟ้าทั่วไป หรือประกอบธุรกจิ ส่วนตัวในกลมุ่ อุตสาหกรรมเครือ่ งปรบั อากาศและเครอ่ื งทำ� ความเยน็ 442 โอกาสในการมีงานท�ำ เนอ่ื งจากภาวะวกิ ฤตทิ างเศรษฐกจิ ทำ� ใหก้ ารลงทนุ ในภาคอตุ สาหกรรมและการกอ่ สรา้ งสถานประกอบกจิ การ ตา่ ง ๆ ตอ้ งชะลอตัว หรอื ชะงกั ไป การลงทุนในการขยายก�ำลังการผลิตลดลง งานการตดิ ตัง้ ระบบปรับอากาศ ระบบ ระบายความร้อน ในสถานประกอบกิจการต่าง ๆ จะลดลง มีผลกระทบต่อกลุ่มผู้ประกอบวิศวกรเครื่องกลอยู่บ้าง ทำ� ใหค้ วามตอ้ งการบคุ ลากรด้านนค้ี ่อนขา้ งคงที่ แตย่ งั มีงานซอ่ มบำ� รุงระบบปรบั อากาศและระบบระบายความรอ้ น ในสถานประกอบการทั่วไปที่ยังต้องการใช้ผู้ประกอบวิศวกรเครื่องกลอยู่ รวมทั้งโครงการสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ เช่น รถไฟฟา้ (BTS) รถไฟฟ้าใตด้ นิ ทอ่ี ยู่ระหว่างด�ำเนนิ การ เม่อื แลว้ เสร็จจะมีความตอ้ งการบุคลากรทางด้านนเ้ี ขา้ ทำ� งานในด้านควบคุมการตดิ ตงั้ และซอ่ มบ�ำรุงระบบระบายอากาศและปรับอากาศ เม่ือภาวะเศรษฐกิจฟื้นตัวมีการขยายตัวของธุรกิจอุตสาหกรรมมากข้ึน และการลงทุนในการก่อสร้างสถาน ประกอบกจิ การเพมิ่ ข้นึ คาดวา่ ความตอ้ งการวศิ วกรปรบั อากาศในตลาดแรงงานมแี นวโน้มท่เี พิ่มขึน้ คณุ สมบัตขิ องผู้ประกอบอาชพี 1. วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรเคร่ืองกล (ความร้อน การระบายอากาศ และการท�ำ ความเย็น) 2. มีร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคท่ีเปน็ อุปสรรคต่องานอาชีพ เชน่ ตาบอดสี 3. มีความอดทน ขยนั หม่นั เพียร สามารถทำ� งานกลางแจ้ง 4. มีความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ ชอบการคดิ คำ� นวณ มคี วามละเอียดรอบคอบ

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจำ�ปี 2558/2015 Department of Employment 5. มคี วามเป็นผู้นำ� และมีมนษุ ยสัมพนั ธท์ ่ีดี 6. มคี วามม่ันใจในตนเอง สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ ได้ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา - สาขาวชิ าวิศวกรรมเคร่อื งกล ภาควิชาวศิ วกรรมเครื่องกล ยานยนต์ และอตุ สาหการ มหาวทิ ยาลัยรังสติ 443 หอ้ ง 230 อาคารวษิ ณรุ ัตน์ วทิ ยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลหลักหก อำ� เภอเมือง จงั หวัดปทมุ ธานี 12000 โทรศัพท์ 0-2997-2222-40 ตอ่ 3257 โทรสาร 0-2997-2222-40 ต่อ 3257 - สาขาวชิ าวิศวกรรมเครอ่ื งกล มหาวิทยาลัยศรปี ทุม 2410/2 ถนนพหลโยธนิ เขตจตจุ ักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2579-1111, 0-2561-2222 โทรสาร 0-2561-1721 - ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน เขตจตจุ กั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2797-0999 ตอ่ 1803, 1804 โทรสาร 0-2579-4576 - ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 0-4320-2845 โทรสาร 0-4320-2849 อีเมล [email protected] - ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรงุ เทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2215-3555 อเี มล [email protected] - สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตท่งุ ครุ กรุงเทพฯ 10140 โทรศพั ท์ 0-2470-8333 โทรสาร 0-2470-8367 อีเมล admission@ kmutt.ac.th

ท20่ีต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ Department of Employment วศิ วกรปรบั อากาศทรี่ บั ราชการสามารถไดร้ บั การเลอ่ื นขน้ั และเลอื่ นตำ� แหนง่ ไดจ้ นถงึ ระดบั สงู สดุ ในสายงาน ตามเงอื่ นไขระเบยี บราชการ และผทู้ ที่ ำ� งานในสถานประกอบกจิ การหรอื ในโรงงานอตุ สาหกรรม ทว่ั ไปกจ็ ะไดร้ บั การ เลื่อนข้ันและเงนิ เดือนตามความสามารถ และประสบการณ์จนถึงระดับบรหิ ารในโรงงาน สำ� หรบั ผทู้ ่ที ำ� งานในบรษิ ัท รับเหมาในการติดตั้งระบบปรับอากาศ และระบบระบายความร้อน เม่ือมีประสบการณ์ และมีความช�ำนาญ จะสามารถท�ำงานในต�ำแหน่งผู้จัดการโครงการท่ีมีระดับงานรับผิดชอบตามขนาดของสถานประกอบกิจการ และความยากงา่ ยของงานในแตล่ ะโครงการ โดยวศิ วกรทร่ี บั ผดิ ชอบโครงการ ตอ้ งมใี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี วศิ วกร ในระดับทสี่ ามารถรบั ผิดชอบโครงการน้นั ๆ ส�ำหรับผู้ท่ีมีประสบการณ์และมีเงินทุนมากพอก็สามารถท่ีจะประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยเป็นท่ีปรึกษา ในการออกแบบและติดต้ังระบบไฟฟ้าในสถานประกอบการ รับเหมาติดตั้ง และซ่อมบ�ำรุงระบบไฟฟ้าตาม สถานประกอบการทัว่ ไป หรอื นำ� เข้าอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการติดต้ังระบบระบายอากาศ และเครอื่ งปรับอากาศ อาชีพทเี่ ก่ียวเน่อื ง วศิ วกรเครอ่ื งกล (เครอ่ื งจกั รและเครอื่ งมอื ) วศิ วกรเครอื่ งกล (เครอ่ื งจกั รไอนำ�้ ชนดิ มลี กู สบู ) วศิ วกรเครอ่ื งกล (เรือ) วิศวกรเคร่ืองกล (อากาศยาน) วิศวกรเครื่องกล (รถยนต์) วิศวกรเคร่ืองกล (หม้อน�้ำและอุปกรณ์) วศิ วกรเครื่องกล (การบำ� รงุ รักษา) วศิ วกรเคร่ืองกล (โครงสรา้ ง) แหลง่ ข้อมลู อ่ืน ๆ 444 - สถาบนั การศกึ ษาในสงั กดั ทบวงมหาวิทยาลยั ท่ัวไป - สถาบนั พระจอมเกล้าธนบรุ ี เวบ็ ไซต์ www.kmutt.ac.th - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล - สมาคมวิศวกรรมปรบั อากาศแหง่ ประเทศไทย เวบ็ ไซต์ www.acat.or.th - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั เวบ็ ไซต์ www.kmit.ac.th

ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment วศิ วกรย้อมพมิ พ์ Printing Engineer นยิ ามอาชพี ศึกษาวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์เคมี ปฏิกิริยา และกระบวนการพิมพ์ย้อมเพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ส่ิงทอต่าง ๆ รวมถึงการควบคุมผลกระทบ ของเคมีพิมพ์ย้อมต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ในการปฏิบัตงิ านพมิ พย์ อ้ ม ลกั ษณะของงานทที่ �ำ 1. พฒั นา และประยกุ ตใ์ ชก้ ระบวนการทางเคมี หรือฟิสิกส์ เพอ่ื เปล่ียนวัตถุดบิ เป็นผลิตภัณฑ์เคมสี ำ� หรบั พิมพ์ย้อม ซ่ึงอาจจะน�ำไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ส่ิงทอตา่ ง ๆ 2. วิเคราะห์ผลติ ภัณฑเ์ คมสี ำ� หรับพิมพ์ยอ้ ม เพ่อื ประโยชน์ในด้านการใชง้ าน ด้านความปลอดภยั และการ ควบคมุ ผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มทีอ่ าจจะเกิดจากสารเคมีพมิ พย์ อ้ ม 445 3. ปรบั สง่ิ ทคี่ น้ พบในหอ้ งทดลองจากการวเิ คราะหโ์ ดยนกั เคมี นำ� ไปสกู่ ารผลติ จรงิ โดยคดิ วธิ ที จี่ ะนำ� ไปปรบั สภาวะต่าง ๆ ซ่งึ มกั เกย่ี วขอ้ งกับการวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหผ์ ลิตภัณฑใ์ หม่ ๆ ในกระบวนการผลติ ตอ่ ไป ซึ่งจะน�ำไป สกู่ ารผลติ ผลิตภณั ฑส์ ิง่ ทอท่มี ีคุณสมบตั ิอ่ืน ๆ ตรงกับความตอ้ งการของผ้บู ริโภคตอ่ ไป โดยอาจเปน็ การเปลีย่ นแปลง ทางดา้ นสว่ นประกอบทางเคมี หรอื การเปลีย่ นแปลงสถานะทางกายภาพ 4. ออกแบบอปุ กรณท์ เี่ กย่ี วเนอื่ งกบั การพมิ พย์ อ้ ม ระบบควบคมุ กรรมวธิ ี การควบคมุ สงิ่ แวดลอ้ ม และความ ปลอดภยั ในการปฏิบัติการพมิ พ์ย้อม 5. ใหค้ ำ� ปรกึ ษาดา้ นการพมิ พย์ อ้ มแกส่ ถานประกอบการอตุ สาหกรรมสง่ิ ทอศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ เคมี ปฏกิ ิรยิ า และกระบวนการพมิ พ์ยอ้ มเพอ่ื น�ำไปส่กู ารพัฒนาผลิตภณั ฑส์ ง่ิ ทอตา่ ง ๆ รวมถงึ การควบคมุ ผลกระทบ ของเคมีพมิ พ์ย้อมตอ่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ านพิมพย์ อ้ ม สภาพการจา้ งงาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี นี้ ควรสำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรหี รอื ปรญิ ญาโท ในสาขาวศิ วกรรมเคมสี ง่ิ ทอ สาขา วิศวกรรมสิ่งทอ สาขาวิศวกรรมเคมี หรือสาขาอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนใหญ่จะปฏิบัติงานในสถานประกอบการ อตุ สาหกรรมสง่ิ ทอ จะไดร้ ับคา่ ตอบแทนเป็นเงนิ เดือนทรี่ ะดบั เร่ิมต้นการทำ� งาน ระดับปรญิ ญาตรปี ระมาณ 15,000 บาท และปรญิ ญาโทประมาณ 20,000 บาท สวัสดกิ ารต่าง ๆ คา่ รักษาพยาบาล และโบนสั เปน็ ไปตามเงอื่ นไขขอ้ ตกลงกบั ผวู้ า่ จ้าง ท�ำงานสปั ดาห์ละ 6 วนั วันละประมาณ 8 ชวั่ โมง อาจทำ� งานลว่ งเวลา วันเสาร์ วนั อาทติ ย์ และ วนั หยดุ ตามความจำ� เป็น

ท20ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment ผู้ประกอบอาชีพวิศวกรพิมพ์ย้อมส่วนใหญ่ท�ำงานในห้องปฏิบัติการทดลอง เพื่อปฏิบัติงานด้านการพัฒนา และการประยุกต์ใช้กระบวนการทางเคมีหรือฟิสิกส์ เพ่ือเปลี่ยนวัตถุดิบเป็นผลิตภัณฑ์ ซ่ึงอาจจะน�ำไปสู่การผลิต ผลติ ภณั ฑอ์ นื่ ๆ อกี มากมาย ตอ้ งทำ� งานอยกู่ บั สารเคมี ซงึ่ สารเคมใี นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทดลองอาจจะทำ� ปฏกิ ริ ยิ าทที่ ำ� ให้ เป็นอนั ตรายได้ ดังน้นั จึงตอ้ งรูจ้ กั วธิ ีใช้และวธิ ีปอ้ งกนั ต้องใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คล เช่น ถงุ มอื หน้ากาก เปน็ ต้น และจะต้องดแู ลและควบคมุ กระบวนการพิมพย์ อ้ มในโรงงานใหส้ ามารถทำ� งานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพสูงสดุ โอกาสในการมงี านทำ� อุตสาหกรรมสิ่งทอนับว่ามีบทบาทส�ำคัญในการสร้างรายได้เงินตราต่างประเทศ และมีขีดความสามารถใน การแขง่ ขนั กับตา่ งประเทศจัดอยู่ในล�ำดับต้น ๆ ของโลก แต่ก็มคี ู่แขง่ ประเทศอ่นื ๆ ทีส่ ำ� คัญ คอื จนี และเวียดนาม ซึ่งมีต้นทุนการผลิตที่ต่�ำกว่ามาก ประเทศไทยจึงได้มีการปรับวิสัยทัศน์ใหม่โดยทั้งภาครัฐและภาคเอกชนได้ร่วมกัน สร้าง โครงการกรุงเทพฯ เมอื งแฟช่ัน เพ่ือจุดประสงค์ในการสร้างกรงุ เทพฯ ให้เป็นผนู้ ำ� แฟช่นั และใหเ้ ป็นศูนย์กลาง แฟชั่นแห่งหน่ึงของโลกภายในปี 2555 ซง่ึ มสี ่วนสนบั สนุนอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ แต่ประเด็นข้อจำ� กัดของอุตสาหกรรม คอื ยงั ขาดแคลนบุคลากรทม่ี ีความสามารถในด้านการผลิต ซึง่ อาชพี วิศวกรพมิ พย์ ้อมเป็นอาชีพหนึง่ ทยี่ ังขาดแคลน เนอื่ งจากผสู้ ำ� เร็จการศกึ ษาทางด้านนีม้ ีจ�ำนวนค่อนขา้ งน้อย แตแ่ นวโน้มตลาดแรงงานยังมีความตอ้ งการสูง คณุ สมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชพี 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี ในสาขาวศิ วกรรมเคมสี ง่ิ ทอ สาขาวศิ วกรรมสง่ิ ทอ สาขาวศิ วกรรมเคมี หรือสาขาอ่นื ๆ ที่เกยี่ วข้อง 2. ควรมีความรูท้ ั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติอยา่ งลึกซ้ึง 446 3. รับผิดชอบตอ่ หนา้ ทีท่ ี่ได้รับมอบหมาย 4. มคี วามรูภ้ าษาอังกฤษเปน็ อยา่ งดี 5. สามารถใชค้ อมพวิ เตอร์ได้ดี 6. สขุ ภาพสมบูรณ์แขง็ แรงทัง้ ร่างกาย และจิตใจ 7. มีมนษุ ยสมั พันธ์ และบุคลกิ ภาพทีด่ ี 8. มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีปฏิภาณไหวพริบ แก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ 9. มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา สาขาวศิ วกรรมเคมี ในสถาบนั การศกึ ษาท่ีสังกัดสำ� นักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อาทิ - สาขาวิศวกรรมส่ิงทอ หรือสาขาวิศวกรรมเคมีสิ่งทอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เว็บไซต์ www. rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 - คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเคมีอุตสาหกรรม-เคร่ืองมือวิเคราะห์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบงั เวบ็ ไซต์ www.kmitl.ac.th โทรศพั ท์ 0-2327-1199, 0-2737-3000 - จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เวบ็ ไซต์ www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศพั ท์ 02-215-0871-3 - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เว็บไซต์ www.ku.ac.th/ โทรศัพท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 - มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ เวบ็ ไซต์ www.kku.ac.th/ โทรศพั ท์ 0-4320-2222, 0-4320-3333

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เว็บไซต์ www.kmutt.ac.th โทรศัพท์ 0-2427-0039, กรมการ ัจดหางาน 0-2427-0059 Department of Employment - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เวบ็ ไซต์ www.tu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2221-6111-20 - มหาวทิ ยาลยั บรู พา เวบ็ ไซต์ www.buu.ac.th โทรศัพท์ 0-3874-5820 โดยบางสถาบันมีการสอนทัง้ ในระดบั ปริญญาตรี และระดบั ปริญญาโท โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี ผู้ประกอบอาชีพน้ี เมื่อมีประสบการณ์ ความสามารถ จะได้เลื่อนขั้นข้ึนสู่ระดับหัวหน้าแผนก หรือผู้ช่วย หรือผู้จัดการแผนก อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบอาชีพนี้สามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโทได้ในหลายสาขา อาทิ ดา้ นบรหิ าร ด้านวศิ วกรรมเคมี หรอื ดา้ นวิศวกรรมอุตสาหการ ซง่ึ จะช่วยใหเ้ ล่ือนขน้ั เล่ือนตำ� แหน่งได้รวดเร็ว และสามารถเป็นถึงผู้บริหารของหน่วยงาน และสามารถข้ึนสู่ระดับผู้จัดการโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ หรอื อุตสาหกรรมการผลิตอ่ืน ๆ ได้ อาชพี ทเี่ ก่ียวเนอื่ ง อาจารย์ ที่ปรึกษา นักวิจัยอิสระ นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางเคมีสิ่งทอ นักวิจัยเพื่อการตรวจสอบ คุณสมบัตแิ ละพัฒนาผลิตภัณฑ์ แหล่งขอ้ มูลอน่ื ๆ - สถาบนั พฒั นาอุตสาหกรรมส่งิ ทอ เว็บไซต์ www.thaitextile.org โทรศัพท์ 0-2280-4085 - สมาคมอุตสาหกรรมเคร่ืองนุ่งห่มไทย (TGMA) เว็บไซต์ www.thaigarment.org โทรศัพท์ 0-2681-2222 - สภาอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย เวบ็ ไซต์ www.fti.or.th โทรศัพท์ 0-2345-1000 447 - สมาคมวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทย เว็บไซต์ www.tiche.org โทรศัพท์ 0-2218-6999 - สภาวศิ วกร เวบ็ ไซต์ www.coe.or.th โทรศพั ท์ 0-2935-6868 - สถาบนั มนิ ิ วิศวกร เวบ็ ไซต์ www.mini-eng.org โทรศัพท์ 0-3423-0903, 0-3423-0904

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 วศิ วกรส่ิงแวดลอ้ ม Environmental Engineering นยิ ามอาชีพ ศึกษา ออกแบบ ควบคุม จัดการ และ อ�ำนวยการโครงการวิจัยผลิตภัณฑ์เคมีและ ปฏิกิริยา และกระบวนการทางเคมีส�ำหรับ เคมีภัณฑ์ท่ีใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ตลอดจนให้ ค�ำปรึกษากระบวนการผลิต เพื่อให้เกิดประโยชน์ ด้านการใช้งานด้านความปลอดภัย และไม่ส่ง ผลเสยี ตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม ลกั ษณะของงานที่ท�ำ 1. ควบคุมการกอ่ สร้าง วธิ กี ารผลติ การค�ำนวณตน้ ทุน ออกแบบ ติดต้ังเครอ่ื งมือเคร่อื งจกั รและอปุ กรณ์ ต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการป้องกันมลพิษของโรงงาน รวมถึงการควบคุมมลภาวะทุกสถานะของส่ิงแวดล้อม ได้แก่ บ�ำบัดน�้ำเสียชุมชน น�้ำเสียจากอาคารหมู่บ้าน เมือง โรงงาน นิคมอุตสาหกรรม กระบวนการผลิตน้�ำประปา 448 ระบบและวธิ ีการจัดการขยะ และของเสียอนั ตราย 2. ทดสอบเครื่องมือ เคร่ืองจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการป้องกันมลพิษหรือลดผลกระทบ สิ่งแวดลอ้ มจากกระบวนการผลติ ของโรงงาน 3. ควบคมุ บำ� รงุ รกั ษา ซอ่ มแซมเครอ่ื งมอื เครอื่ งจกั รและอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นกระบวนการปอ้ งกนั มลพษิ หรือลดผลกระทบส่ิงแวดล้อมจากกระบวนการผลิตของโรงงาน 4. ให้ค�ำปรึกษาดา้ นส่ิงแวดลอ้ มแก่สถานประกอบการ 5. ประเมินผลกระทบเชงิ ลบต่อสิง่ แวดลอ้ มที่คาดวา่ จะเกิดข้นึ จากกระบวนการผลิตของโรงงาน สภาพการจ้างงาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี น้ี สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรขี น้ึ ไป สาขาวศิ วกรรมสง่ิ แวดลอ้ ม หรอื สาขาทเี่ กย่ี วขอ้ ง สามารถปฏิบัติงานในหน่วยงานราชการ (กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม) จะได้รับเงินเดือนตาม วฒุ กิ ารศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรไี ดร้ บั เงนิ เดอื นและปรญิ ญาโทไดร้ บั เงนิ เดอื นอตั ราเดอื นละ 17,500บาท ไดร้ บั สวสั ดกิ าร และเบย้ี เลย้ี งตามระเบยี บสำ� นักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น ส�ำหรับผู้ที่ประกอบอาชีพนี้ในภาคเอกชนซ่ึงไม่มีประสบการณ์ในการท�ำงาน จะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงิน เดอื นทีร่ ะดับเรม่ิ ต้นการท�ำงาน ผ้ทู ี่ส�ำเรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรีไดร้ ับเงนิ เดือนประมาณ 18,900 บาท และผ้ทู ี่ สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโทไดร้ บั เงนิ เดอื นประมาณ 21,900 บาท ไดร้ บั สวสั ดกิ ารตา่ ง ๆ คา่ รกั ษาพยาบาล และ โบนัสตามเง่ือนไขข้อตกลงกับผวู้ า่ จ้าง ทำ� งานวนั ละ 8 ช่ัวโมง อาจท�ำงานล่วงเวลา วนั เสาร์ วันอาทติ ย์ และวันหยุด ตามความจำ� เปน็ เรง่ ดว่ น

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment สถานที่ท�ำงานของวิศวกรสิ่งแวดล้อมจะมีสภาพ เหมือนที่ท�ำงานทั่วไป คือเป็นส�ำนักงานท่ีมีอุปกรณ์ สิ่งอ�ำนวย ความสะดวก จะต้องควบคุมระบบการจัดการด้านส่ิงแวดล้อม ในหน่วยงาน จึงจ�ำเป็นท่ีจะต้องตรวจดูงานในโรงงานอย่าง สม่�ำเสมอ ท้ังนี้เพื่อให้การท�ำงานของระบบงานมีประสิทธิภาพ สงู สุด โอกาสในการมีงานท�ำ ปัจจุบันวิศวกรส่ิงแวดล้อมเป็นท่ีต้องการของตลาด แรงงานทั้งในหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลและควบคุมส่ิงแวดล้อมของ ทางราชการ รวมถึงภาคเอกชน สถานประกอบการอุตสาหกรรม บริษัทท่ีปรึกษาและออกแบบของภาคเอกชน ต่าง ๆ ส่วนหน่ึงเป็นผลมาจากการมีนโยบายส่งเสริมให้มีเทคโนโลยีในการผลิตท่ีสะอาดของรัฐบาลตามมติ การประชมุ สหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยสง่ิ แวดลอ้ มในปี 2535 เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ จากสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ปน็ ภยั ตอ่ ประชากร ในประเทศ และการบริหารจัดการส่ิงแวดล้อมที่เข้าสู่มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) เป็นการปรับตัว เพอ่ื ลดการกดี กนั ทางการคา้ วา่ ดว้ ยเงอื่ นไขทางสง่ิ แวดลอ้ มเพราะปจั จบุ นั ประชาคมโลกตระหนกั ถงึ ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม ว่าอาจจะทวีความรุนแรงข้ึน ปัญหาในปัจจุบันมีท้ังปัญหาจากน�้ำเสีย และปัญหาขยะมูลฝอย จึงจ�ำเป็นต้องมี วิศวกรดูแลด้านส่ิงแวดล้อมที่เกิดปัญหาข้ึนจากกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในอุตสาหกรรมอาหาร เปน็ ต้น คุณสมบัตขิ องผ้ปู ระกอบอาชีพ 449 1. สำ� เร็จการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรขี น้ึ ไป สาขาวศิ วกรรมส่งิ แวดลอ้ ม หรอื สาขาอนื่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 2. ควรมีความรู้ ความสามารถในการวางแผน ค�ำนวณ ออกแบบ และควบคุมการบ�ำบัดน�้ำเสีย การ ระบายน�้ำ การเดินทอ่ ในอาคาร การจดั การคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม 3. สามารถศึกษาหาขอ้ มูล วเิ คราะหป์ ัญหา และสรุปเหตุผลได้ 4. ขยันและมีสขุ ภาพท่ีดีในการปฏิบตั ิงานภาคสนาม 5. สามารถใชภ้ าษาอยา่ งเหมาะสมแกก่ ารปฏิบตั ิหนา้ ท่ี ทง้ั อา่ นและเขียน 6. สามารถเดนิ ทางไปปฏิบัติงานในต่างจงั หวดั ได้ 7. มมี นุษยสัมพันธ์ดี 8. สามารถเป็นผู้นำ� และผูต้ ามท่ีดี 9. มีจรรยาบรรณในสายงานอาชีพน้ี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ในสถาบันการศึกษาสังกัดสำ� นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อาทิ - มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล เวบ็ ไซต์ www.rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 - จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เวบ็ ไซต์ www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศพั ท์ 02-215-0871-3

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เว็บไซต์ www.ku.ac.th โทรศัพท์ 0-2942-8200-45, 0-2579-0113, 0-2942-8491-99 - มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ เว็บไซต์ www.chiangmai.ac.th โทรศัพท์ 0-5322-1699, 0-5394-1000 - มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี เวบ็ ไซต์ www.sut.ac.th โทรศัพท์ 0-4422-3000 (เอกชน) - มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เวบ็ ไซต์ www.psu.ac.th โทรศัพท์ 0-7421-1030-49 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมท่ีรับราชการจะได้เลื่อนต�ำแหน่งและเงินเดือนตามกฎ ระเบียบที่วางไว้ ในส่วนท่ีท�ำงานในภาคเอกชนหากได้ท�ำงานท่ีเป็นการเพ่ิมประสบการณ์และได้รับการฝึกอบรมใน วิชาท่เี กยี่ วขอ้ ง และมีความรู้ ความสามารถเพิม่ ขึน้ สามารถทจี่ ะไดร้ ับการเล่อื นขน้ั เป็นระดับหัวหนา้ แผนก หวั หนา้ ฝ่ายตามล�ำดับ หรือผู้บริหารในสถานประกอบการอุตสาหกรรมได้ หรือสามารถประกอบธุรกิจบริษัทที่ปรึกษา เกีย่ วกบั ส่งิ แวดล้อมหรอื ธรุ กิจทด่ี ำ� เนนิ การในการวางแผนระบบการก�ำจัดของเสียต่าง ๆ อาชีพที่เกย่ี วเน่ือง วิศวกรระบบคุณภาพ เจ้าหน้าที่มูลนิธิพัฒนาเอกชน นักวิจัย วิทยากรอบรมการจัดการส่ิงแวดล้อม (ISO 14001) แหลง่ ข้อมลู อน่ื ๆ - กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เว็บไซต์ www. most.go.th โทรศัพท์ 0-2354-4466 450 - สมาคมวศิ วกรสงิ่ แวดลอ้ มแหง่ ประเทศไทย เวบ็ ไซต์ www.eeat.or.th โทรศพั ท์ 0-2617-1530-1 - สภาวิศวกร เว็บไซต์ www.coe.or.th โทรศัพท์ 0-2935-6868 - สถาบันมินิ-วิศวกร เว็บไซต์ www.mini-eng.org โทรศัพท์ 0-3423-0903, 0-3423-0904 - สถาบนั วจิ ยั สภาวะแวดลอ้ ม เวบ็ ไซต์ http://www. eric.chula.ac.th โทรศพั ท์ 0-2218-8123, 0-2218-8114 - บริษัท สรุ พลฟูดส์ จ�ำกดั เวบ็ ไซต์ www.surapon.com โทรศพั ท์ 0-2385-3038-54

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment วิศวกรอุตสาหการ Industrial Engineer นยิ ามอาชพี วิเคราะห์ ตรวจสอบ โดยค้นคว้าวิจัย ทดสอบ หรอื หาขอ้ มลู และสถติ ติ า่ ง ๆ ตลอดจน การตรวจสอบด้วยกรรมวิธีอ่ืนเพ่ือเป็นหลัก เกณฑ์ประกอบการตรวจสอบวินิจฉัยงานการ ผลิตเชิงอุตสาหกรรม จัดการระบบสารสนเทศ ศึกษาเร่ืองเวลาและการเคลื่อนที่ในการท�ำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานขององค์กร :วิจัย และวางแผนการผลิต ออกแบบ และ อำ� นวยการออกแบบ เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซงึ่ รายละเอยี ด เก่ียวกับการวางแผนผัง การวางระบบหรือ กระบวนการท่ีเกี่ยวข้องในการสร้าง การผลิต การประกอบ การบรรจุ การทดสอบ การปรับปรงุ การล�ำเลยี ง การเก็บรักษา หรอื ท�ำลายสิง่ ใด ๆ รวมถึงวางแผน ออกแบบ และควบคมุ คณุ ภาพของผลติ ภณั ฑท์ งั้ ขณะและหลงั การผลติ จดั การระบบควบคมุ มลพษิ หรอื การกำ� จดั ของ 451 เสีย สารพิษ วตั ถอุ นั ตรายหรือก�ำจดั สิ่งใดๆ ของโรงงาน ตลอดจนกรรมวิธีอื่น โดยแสดงเป็นแบบรปู ขอ้ ก�ำหนด หรือ ประมาณการส�ำหรบั งานของโรงงาน; จัดการระบบการผลติ และก�ำกับงานตามแผนการผลติ การประกอบ การบรรจุ การแปรสภาพ การทดสอบ การปรบั ปรุง การลำ� เลยี ง การเกบ็ รักษา และการทำ� ลาย ส่ิงใด ๆ สำ� หรับกรรมวิธอี ื่นใด เกยี่ วกบั งานของโรงงาน รวมทั้งจัดการระบบการซอ่ มบำ� รงุ ควบคุมคณุ ภาพ ควบคุมวิธแี ละควบคุมการทำ� งานและ ตน้ ทนุ การผลติ รวมทง้ั ความปลอดภยั ในการทำ� งานเพอ่ื ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพการผลติ ในโรงงานสงู ขนึ้ โดยเฉพาะใหบ้ รรลุ เป้าหมายการเพมิ่ ผลผลิตทีก่ ำ� หนด; วางระเบยี บและประสานงานกับฝา่ ยอื่นๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การผลติ แนะนำ� และ ให้คำ� ปรึกษาวธิ ีการต่าง ๆ เพ่ือเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ และธรุ กจิ ขององค์กรโดยรวมให้เหมาะสมดียง่ิ ลกั ษณะของงานทีท่ ำ� 1. ออกแบบ วิเคราะห์วิธีการผลิต และปรับปรุงกระบวนการต่าง ๆ ทางอุตสาหกรรม เช่น การผลิต การจัดการ และการตลาด ใช้ระบบที่มีความสัมพันธ์ระหว่างคน วัสดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองจักร ซึ่งจะน�ำพื้นฐาน ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์การจดั การมาใช้ เป็นต้น 2. ตรวจสอบสถติ ิต่าง ๆ เชน่ สถติ กิ ารขายผลผลิตและวัสดทุ ีส่ ิ้นเปลอื ง เปน็ ตน้ รวมทงั้ ศึกษาแผนผังของ โรงงานผลิต น�ำเคร่ืองจกั รใหม่ ๆ มาใชเ้ ปลย่ี นแปลง ปรับปรุง และดดั แปลงเพ่อื ให้มปี ระสิทธภิ าพในการผลิตสูงขึ้น 3. จัดวางเคร่ืองจักรและสายงานเพ่ือให้ได้ปริมาณผลผลิตสูงท่ีสุด โดยให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์ต้นทุน ความปลอดภยั และปจั จยั อนื่ ๆ คงที่

ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน 4. แก้ไขปัญหาท่เี ก่ยี วข้องกบั หลักการทางเศรษฐศาสตรใ์ นการใช้เงิน วสั ดุ เวลา กำ� ลังการผลติ ของคนงาน Department of Employment และเครือ่ งจักรที่ใชใ้ นการผลิต 5. ตรวจดูกรรมวิธีการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม ตรวจงานในฝ่ายผลิต วางระเบียบ และประสานงาน ระหว่างฝา่ ยสำ� นกั งานกบั ฝ่ายโรงงาน แนะนำ� วิธกี ารต่างๆ ทจี่ ะเพม่ิ ประสิทธิภาพ การผลติ ให้สงู ขน้ึ รเิ ร่ิม และวาง แนวทางในการด�ำเนินงานทจ่ี ะเพิ่มผลผลิตของสถานประกอบการ 6. ศกึ ษา และพจิ ารณากำ� หนดหนา้ ทก่ี ารงานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากทส่ี ดุ ตรวจสอบและกำ� หนดระดบั อตั รา ค่าจ้างท่ีสมดุลกับค่าของงานที่คนงานท�ำในลักษณะเดียวกัน อาจศึกษาลักษณะหน้าที่งานท่ีท�ำเฉพาะอย่าง และ แนะน�ำวิธีปรบั ปรงุ การทำ� งานใหด้ ขี น้ึ 7. อาจท�ำงานเป็นลูกจ้างขององค์การใดองค์การหนึ่ง หรือท�ำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาอิสระให้แก่องค์การท่ี ต้องการค�ำปรึกษาแนะนำ� และความชว่ ยเหลอื 8. วิศวกรอุตสาหการอาจแบ่งสาขาเฉพาะออกได้เป็นวิศวกรรมการจัดการระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมการปฏิบัติงานของมนุษย์ วิศวกรรมความปลอดภัยการวิจัยการปฏิบัติงาน และวิศวกรรมการผลิต อุตสาหกรรม สภาพการจ้างงาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี นไี้ ดร้ บั คา่ ตอบแทนการทำ� งานเปน็ เงนิ เดอื นตามวฒุ กิ ารศกึ ษาตามตำ� แหนง่ และหนว่ ยงาน โดยปกติท�ำงานสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง แต่อาจจะต้องท�ำงานวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุด หรือท�ำงานล่วงเวลา ในกรณีทต่ี อ้ งการให้งานที่ได้รบั มอบหมายเสรจ็ ให้ทนั ต่อการใชง้ าน 452 สภาพการทำ� งาน สถานท่ีท�ำงานของวิศวกรอุตสาหการจะมีสภาพเหมือนท่ีท�ำงานทั่วไป คือเป็นส�ำนักงานที่มีอุปกรณ์ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกเช่นส�ำนักงานทั่วไป แต่โดยลักษณะงานที่จะต้องควบคุมงานการผลิต จึงจ�ำเป็นท่ีจะต้อง ตรวจดูงานในโรงงานที่ท�ำการผลิตอย่างสม�่ำเสมอ เน่ืองจากต้องควบคุมดูแลงานการผลิตให้สามารถท�ำงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ส�ำหรับงานหรือสถานท่ีท�ำงานที่เสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในการท�ำงาน วิศวกร อตุ สาหการจะตอ้ งใช้อุปกรณ์คมุ้ ครองสว่ นบคุ คลในขณะปฏบิ ตั ิงาน โอกาสในการมงี านท�ำ เนอื่ งจากอุตสาหกรรมภายในประเทศกำ� ลงั อยรู่ ะหว่างการเร่งพัฒนาประสทิ ธภิ าพการผลติ เพือ่ ให้สามารถ แข่งขันในตลาดโลกได้ และผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเห็นความส�ำคัญของวิศวกรอุตสาหการมากขึ้น ฉะน้ันงาน ส�ำหรับวิศวกรสาขาน้ีจึงยังมีอยู่อย่างกว้างขวาง แนวโน้มความต้องการของตลาดแรงงานท่ีเพ่ิมขึ้นตามภาวะการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ การขยายตัวของโรงงานต่าง ๆ และการพัฒนากระบวนการผลิตส�ำหรับหน่วย งานราชการกอ็ าจจะยงั ตอ้ งการวศิ วกรอตุ สาหการ เพอื่ ใหท้ ำ� หนา้ ทต่ี รวจสอบการใชเ้ ครอ่ื งจกั ร เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์ การผลิต คุณสมบตั ขิ องผูป้ ระกอบอาชีพ ผปู้ ระกอบวิศวกรอตุ สาหการ ตอ้ งมีคณุ สมบัติ ดงั นี้ 1. ตอ้ งเป็นผู้ทสี่ ำ� เรจ็ การศึกษาระดับปรญิ ญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต (วศ.บ.)

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment 2. เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มงุ่ มนั่ คน้ ควา้ อยา่ งตอ่ เนอื่ งเพอื่ หาวธิ ที ปี่ ระหยดั และมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ 3. มีวิสัยทัศน์ และสนใจกับเหตุการณ์ข่าวสารที่เกิดขึ้นตลอดเวลา รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มีจรรยาบรรณของวศิ วกร 4. มคี วามอดทน และเข้มแขง็ ทั้งรา่ งกายและจิตใจ มีอารมณเ์ ยือกเย็น มีความคดิ สุขมุ 453 5. มลี กั ษณะเป็นผ้นู �ำ ท้ังน้งี านสว่ นใหญ่จะเก่ียวกบั การควบคมุ คนเป็นจ�ำนวนมาก 6. มพี ื้นฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ฟสิ ิกส์ ภาษาองั กฤษและคณิตศาสตร์เปน็ อยา่ งดี ผู้สนใจประกอบวิศวกรอุตสาหการ สามารถเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาชีพดังนี้ : ส�ำเร็จการศึกษาในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพจากสถานศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการ รับรองวิทยฐานะ เพ่ือเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาการศึกษา 4 ปี เม่ือส�ำเร็จการศึกษาแล้วจะได้ ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) ในสาขาที่เรียน หรือส�ำเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูงที่ศึกษาเก่ียวกับทางด้านช่าง จากสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ เพ่ือเข้าศึกษาต่อ ระดบั อดุ มศกึ ษา ระยะเวลาการศกึ ษา 2 ปี (หลกั สตู รตอ่ เนอ่ื ง) เมอื่ สำ� เรจ็ การศกึ ษาแลว้ จะไดป้ รญิ ญาวศิ วกรรมศาสตร บัณฑิต (วศ.บ.) ในสาขาท่ีเรียน สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา - ภาควชิ าวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบณั ฑิต โทรศัพท์ 0-2942-8555 ต่อ 1601-3 โทรสาร 0-2579-8601 เว็บไซต์ www.ie.eng.ku.ac.th - ภาควิชาวิศวกรรมอตุ สาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ถนนมิตรภาพ ตำ� บลในเมอื ง อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 0-4320-2097 อีเมล [email protected]

2ท0่ีต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน - ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแก้ว Department of Employment ตำ� บลสเุ ทพ อำ� เภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ 50200 โทรศพั ท์ 0-5394-4126, 0-5394-4183 โทรสาร 0-5394-4185, 0-5394-4125-126 ตอ่ 104 อีเมล [email protected] - ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-7026 โทรสาร 0-7455-8829 - ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เลขที่ 126 ถนนประชาอทุ ิศ แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพ 10140 โทรศพั ท์ 0-2470-9175 - ภาควชิ าวศิ วกรรมอตุ สาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื กรุงเทพฯ 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซ่ือ กรุงเทพฯ 10800 โทรศัพท์ 0-2555-2000 ต่อ 8134 โทรสาร 0-2555-2198 โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ผู้ท่ีส�ำเร็จการศึกษาทางด้านวิศวกรอุตสาหการ หากท�ำงานเพิ่มประสบการณ์และได้รับการอบรมในวิชาที่ เก่ียวข้อง และมีความสามารถในการบริหารก็สามารถท่ีจะได้รับการเลื่อนขั้นเป็นผู้บริหารในสถานประกอบการ อตุ สาหกรรมได้ หรือสามารถท�ำธุรกจิ สว่ นตวั โดยท�ำหน้าทเี่ ปน็ ที่ปรกึ ษาในการวางแผนงานการผลติ แกไ้ ขปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ และการน�ำเทคโนโลยใี หมๆ่ มาใช้เพอ่ื เพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลิต ส�ำหรับผู้ที่ศึกษาเพิม่ เตมิ ถงึ ข้นั ปริญญาโทหรือปรญิ ญาเอก สามารถที่จะเปน็ อาจารยใ์ นมหาวทิ ยาลัยทว่ั ไปได้ 454 อาชีพทเ่ี ก่ียวเนอ่ื ง วศิ วกรการผลติ วิศวกรรกั ษาความปลอดภัย แหล่งข้อมูลอ่นื ๆ - มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี เวบ็ ไซต์ www.kmutt.ac.th - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบัง เวบ็ ไซต์ www.kmit.ac.th - จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั เวบ็ ไซต์ www.chula.ac.th

ธรุ กิจดา้ นการบิน และโลจิสติกส์

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 กปั ตันเดินเรอื Ship’s Captain นยิ ามอาชีพ รับผิดชอบการเดินเรือทะเล เรือขนถ่าย และเรืออ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง (เรือเดินทะเลประกอบ ด้วย เรือระหว่างประเทศ เรือขนส่งชายฝั่งและ เรือเดินใกล้ฝั่ง) : จัดระบบงานและควบคุมบังคับ บญั ชา คนประจำ� เรอื และกจิ การในเรอื ใหเ้ กดิ ความ ปลอดภยั ; ดแู ลตรวจตราและเตรยี มความพรอ้ มของ เรอื รวมท้งั ดแู ลการเก็บเอกสาร หนังสอื สำ� คัญตาม บทของกฎหมาย ลักษณะของงานท่ีทำ� 1. จัดระบบงานและควบคุมบังคบั บัญชาคนประจำ� เรอื และกิจการในเรอื ให้เกดิ ความปลอดภัย รวมถึงการ รักษาระเบียบวนิ ยั และความสงบเรยี บรอ้ ยภายในเรือ 456 2. เปน็ หัวหนา้ รับผิดชอบในการปฏิบัตหิ น้าที่ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 3. ดูแลตรวจตราและเตรยี มความพรอ้ มของเรือ 4. จดั แบ่งและมอบหมายหนา้ ท่ี ให้แก่ลูกเรือประจำ� เรือใหเ้ หมาะสม และเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 5. รบั ผดิ ชอบในการดแู ลดา้ นการเงนิ สวัสดกิ าร และอ่ืน ๆ ตลอดจนความเปน็ อยู่ ขวัญและก�ำลงั ใจของ ลกู เรอื ประจำ� เรอื 6. ดแู ลการเกบ็ เอกสาร หนงั สือส�ำคญั ตามบทของกฎหมาย สภาพการจา้ งงาน ผปู้ ระกอบอาชีพนี้ เม่ือสำ� เรจ็ การศึกษาหลักสตู รนักเรียนเดินเรอื พาณิชยจ์ ากศนู ยฝ์ กึ พาณิชยน์ าวีและไดร้ ับ ประกาศนยี บตั รจากกรมการขนสง่ ทางนำ้� และพาณชิ ยน์ าวแี ลว้ สว่ นใหญก่ จ็ ะประกอบอาชพี ในกจิ การทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ธุรกจิ ทางเรือ เช่น หนว่ ยงานราชการ ในกรมการขนส่งทางน้�ำและพาณิชยน์ าวี กรมศลุ กากร กรมประมง หน่วยงาน รฐั วิสาหกิจ ในการท่าเรอื แห่งประเทศไทย การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย (สว่ นงานท่ีเกีย่ วกบั เรือ) หนว่ ยงาน บรษิ ทั เอกชน ในบรษิ ทั เรอื ตา่ ง ๆ ทง้ั ของประเทศไทยและตา่ งประเทศทวั่ โลก รายไดข้ องผปู้ ระกอบอาชพี นเี้ มอื่ เทยี บ กบั คนทำ� งานบนบกทมี่ คี วามรเู้ ทา่ เทยี มกนั จะมรี ายไดส้ งู กวา่ อยา่ งนอ้ ยสองถงึ สามเทา่ ซงึ่ กข็ น้ึ อยกู่ บั สายการเดนิ เรอื โดยแบ่งเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ สายนอก หมายถึง สายการเดินเรือของบริษัทน้ันเดินทางรับส่งสินค้าต่าง ๆ ทั่วโลกไปประเทศต่าง ๆ โดยไม่แวะเข้าเทียบท่าที่ประเทศไทย สายใน หมายถึง สายการเดินเรือของบริษัทนั้น เดนิ ทางรบั ส่งสินคา้ ต่าง ๆ ไปประเทศในแถบใกลเ้ คยี ง และจะต้องแวะเขา้ เทยี บท่าทปี่ ระเทศไทยอยเู่ ปน็ ประจ�ำ สาย

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 การเดินเรือท่ีเป็นสายนอกจะได้รับค่าตอบแทนมากกว่าสายการเดินเรือท่ีเป็นสายใน ผู้ประกอบอาชีพน้ีจะได้รับ กรมการ ัจดหางาน คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นทร่ี ะดบั เรมิ่ ตน้ การทำ� งานในสว่ นของภาคเอกชนประมาณ 70,000 - 90,000 บาท ราชการ Department of Employment ประมาณ 50,000 บาท และรัฐวิสาหกิจประมาณ 60,000 บาท ผู้ประกอบอาชีพน้ีจะมีระยะเวลาในการท�ำงานที่ไม่แน่นอน นอกจากค่าตอบแทนในรูปแบบของเงินเดือน แลว้ ผูป้ ระกอบอาชีพนีย้ ังจะได้รบั สวสั ดกิ ารต่าง ๆ ท่บี รษิ ัทเดนิ เรอื แต่ละแหง่ จะให้ เช่น ค่าเบี้ยเลีย้ ง ค่าเดินทางออก ต่างประเทศ เงินพิเศษรบั รอง คา่ รักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลอื สวสั ดกิ ารอ่ืน ๆ เงินโบนสั คา่ ล่วงเวลา เครือ่ งมอื เครื่องใช้ และอปุ กรณ์ในการท�ำงาน สภาพการทำ� งาน ผู้ประกอบอาชีพน้ีจะต้องท�ำงานในสภาวะการท�ำงานท่ีต้องจากบ้านเป็นเวลานาน ทนต่อการตรากตร�ำใน ทะเล และตอ้ งพบแรงกดดนั จากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ภายในเรอื ซง่ึ คนทำ� งานในเรอื ไมใ่ ชม่ เี ฉพาะคนไทย การทำ� งานบน เรือเป็นสายงานอาชีพเฉพาะที่มีความพิเศษ สถานที่ประกอบอาชีพส่วนใหญ่จะอยู่ห่างไกลจากสายตาท่ัวไป การเดินทางบอ่ ย ๆ แต่ละคร้ังเปน็ เวลานานอาจจะทำ� ใหเ้ กิดความวา้ เหว่และวติ กกงั วลไดง้ า่ ย ดงั นน้ั ผทู้ ำ� งานในเรือ เปน็ เวลานาน ๆ จึงตอ้ งมคี วามอดทนสงู ทง้ั ทางรา่ งกายและจติ ใจ เพราะการท�ำงานในเรอื มอี ปุ สรรคมากมาย ไม่ว่า จะเปน็ คล่นื ลมทะเล ความจำ� เจ วัฒนธรรมสังคม และภาษาที่หลากหลาย โอกาสในการมีงานทำ� ปัจจุบันความต้องการบุคลากรด้านการเดินเรือมีสูงมาก เน่ืองจากบุคลากรด้านการเดินเรือมีอายุงานค่อน ข้างสั้น ท�ำให้บุคลากรด้านการเดินเรือขาดแคลนอย่างมาก ไม่ใช่แต่ในประเทศไทย แต่ยังรวมถึงทั่วโลก เพราะใน ปจั จุบันชาวตา่ งประเทศมาลงทนุ สรา้ งฐานผลติ ในประเทศไทยกนั เพ่มิ มาก 457 คุณสมบตั ิของผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรี สาขาวทิ ยาการเดินเรอื 2. ต้องมีประสบการณ์ในการท�ำงานประมาณ 5 - 10 ปี และได้รับประกาศนียบัตรผู้ท�ำการในเรือจาก กรมการขนส่งทางนำ�้ และพาณชิ ย์นาวี (ชาวเรอื เรียกว่า ต๋ัว) ในระดับกัปตันเรอื 3. ผทู้ จ่ี ะประกอบอาชพี น้จี ะต้องเป็นเพศชาย 4. ตอ้ งเปน็ ผู้มสี ายตาปกติ 5. สามารถใช้ภาษาองั กฤษไดด้ ี 6. มคี วามอดทน มรี ะเบียบวินัย และตอ้ งมีสขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง 7. มภี าวะความเป็นผูน้ ำ� สงู 8. สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ไดด้ ี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา สาขาวิทยาการเดินเรือ เป็นหลักสูตรท่ีต้องใช้ทุนการเรียนการสอน คอ่ นขา้ งสงู เพราะต้องเชญิ กัปตันเรอื มาสอนและการฝึกภาคทะเลทศ่ี นู ยพ์ าณชิ ย์ นาวี จังหวดั สมทุ รปราการ มกี ารฝกึ งานระยะยาว 12 - 15 เดือน และเมื่อจบการ ศึกษาก็ต้องสอบใบอนุญาตเพื่อที่สามารถไปท�ำงานเป็นนักเดินเรือและจะต้องใช้

ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน ระยะเวลาประมาณ 5 - 10 ปี จึงจะเลื่อนต�ำแหน่ง ซึ่งเป็น Department of Employment ตำ� แหน่งสูงสดุ คือ กปั ตันเรอื สถาบันการศึกษาท่ีเปดิ สอน ไดแ้ ก่ - วิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาการเดินเรือ วิทยาลัยการ พาณิชย์นาวี มหาวิทยาลัยบูรพา เว็บไซต์ www.buu.ac.th โทรศพั ท์ 0-3874-5820 - หลักสูตรฝ่ายเดินเรือ ศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี เว็บไซต์ www.mmtc.ac.th โทรศพั ท์ 0-2756-4971-80 โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี กัปตันเรือที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการท�ำงานมากขึ้น ก็สามารถท�ำงานในต�ำแหน่ง ผู้บริหารในองคก์ ร จนถงึ ผบู้ รหิ ารระดับสูงสดุ ขององคก์ ร อาชีพที่เกยี่ วเนอื่ ง ผ้จู ัดการฝา่ ยเดินเรือระหวา่ งประเทศ ผู้จดั การฝา่ ยโลจิสติกส์ ที่ปรึกษาดา้ นการเดนิ เรอื แหล่งขอ้ มูลอื่น ๆ - สภาผ้สู ง่ สนิ คา้ ทางเรอื แหง่ ประเทศไทย เว็บไซต์ www.tnsc.com โทรศพั ท์ 0-2679-7555 - การท่าเรือแหง่ ประเทศไทย (กทท.) เว็บไซต์ www.port.co.th/ โทรศัพท์ 0-2269-3000 458 - สมาคมไทยโลจิสตกิ สแ์ ละการผลติ เวบ็ ไซต์ www.tlaps.or.th โทรศัพท์ 0-2512-0488 - บริษทั ไทยเดนิ เรอื ทะเล จำ� กดั เวบ็ ไซต์ www.tmn.co.th โทรศพั ท์ 0-2672-8690 - บรษิ ัท อ่กู รงุ เทพ จ�ำกดั เว็บไซต์ www.bangkokdock.com โทรศัพท์ 0-2211-3040

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment เจ้าหน้าท่ีขนส่งทางน้�ำทั่วไป Clerk, Water Transport นยิ ามอาชพี จัดก�ำหนดเวลาเข้าและออกของ ยานพาหนะและควบคุมยานพาหนะท่ีเข้าและ ออกบริเวณท่าเรือ: คอยฟังข่าวเรือเข้าเทียบท่า และคอยควบคุมบริเวณท่าเรือเพื่อเตรียมการ ขนสินค้าข้ึนหรือลงจากเรือ; ท�ำรายงานสินค้า ท่ีเข้ามา และตรวจสอบกับใบขนหรือใบแจ้ง รายการสินค้า; ท�ำใบขนหรือใบแจ้งรายการ สนิ คา้ สำ� หรบั สนิ คา้ ทส่ี ง่ ออก; เตรยี มการขนสง่ และ ดูแลความปลอดภัยในการส่งสินค้า; ควบคุมการ ปฏิบัติงานบรรทุกและขนถ่ายสินค้าท่ีบริเวณ ทา่ เรอื ลักษณะของงานทีท่ ำ� 459 1. คอยฟงั ขา่ วเรอื เขา้ เทยี บทา่ และคอยควบคมุ บรเิ วณทา่ เรอื เพอื่ เตรยี มการขนสง่ สนิ คา้ ขน้ึ หรอื ลงจากเรอื 2. จดั ท�ำรายงานเกยี่ วกับสินคา้ ท่ีเข้ามา และตรวจสอบจ�ำนวนสนิ คา้ ใหต้ รงกับใบแจ้งรายการสินค้า 3. ท�ำใบขนหรือใบแจง้ รายการสนิ ค้าสำ� หรบั สนิ ค้าท่สี ง่ ออก 4. เตรยี มการขนสง่ และดแู ลความปลอดภยั ในการส่งสนิ ค้า 5. ควบคมุ การปฏบิ ัติงานบรรทกุ ขนถา่ ยสินคา้ ท่บี ริเวณทา่ เรอื สภาพการจ้างงาน ผู้ประกอบอาชพี นีส้ ามารถทำ� งานได้ทั้งในภาครฐั รัฐวิสาหกจิ ภาคเอกชน ในส่วนของภาครฐั ได้แก่ กรมการ ขนส่งทางน�้ำและพาณิชย์นาวี รัฐวิสาหกิจ ในส่วนของการท�ำเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) และภาคเอกชน ได้แก่ บรษิ ทั ไทยเดนิ เรือทะเล จ�ำกัด (บทด.) บริษัท อู่กรงุ เทพ จ�ำกัด (บอท.) บริษทั ขนส่งสินคา้ ต่าง ๆ เป็นตน้ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี นใ้ี นสว่ นของราชการจะไดร้ บั อตั ราเงนิ เดอื นตามวฒุ กิ ารศกึ ษา 15,500 บาท ไดร้ บั สวสั ดกิ าร และเบยี้ เลย้ี งตามระเบยี บสำ� นกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น รฐั วสิ าหกจิ มอี ตั ราเงนิ เดอื นประมาณ 19,700 บาท ไดร้ บั สวสั ดกิ าร และเบยี้ เลยี้ งตามระเบยี บและเงอ่ื นไขการจา้ งขององคก์ ร ภาคเอกชนมอี ตั ราเงนิ เดอื น เดอื นละ ประมาณ 16,900 บาท สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเง่ือนไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ท�ำงานวันละ 8 - 9 ช่ัวโมง อาจท�ำงานล่วงเวลา วันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุดตามความจ�ำเป็นเร่งด่วน จัดก�ำหนดเวลาเข้าและออกของยานพาหนะและควบคุมพาหนะ เตรียมการขนถ่าย และดูแลความปลอดภัย การขนส่งสินคา้ ทเี่ ขา้ และออกบรเิ วณทา่ เรอื ; จดั การงานด้านเอกสารเกี่ยวกบั สนิ คา้ ที่เขา้ -ออก

ท20ตี่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment ผู้ประกอบอาชีพน้ีปฏิบัติงานใน บริเวณสถานท่ีทำ� งาน ทัง้ ในสำ� นักงานทัว่ ไป ในการดูแลเร่ืองงานเอกสาร ตารางการเดิน เรือ และเอกสารเก่ยี วกบั สนิ ค้าต่าง ๆ และ ท�ำงานในสถานทท่ี ตี่ งั้ เครอ่ื งจกั ร และเครื่อง มือในการยก หรือย้ายของ อาจต้องท�ำงาน ในลานกลางแจง้ ท่าเรอื ของสถานประกอบ การณ์ ในการทำ� งานอาจต้องสวมใสอ่ ปุ กรณ์ เพ่ือความปลอดภัยส่วนบุคคลเม่ือตรวจรับสินค้า หรือพัสดุที่เป็นสารเคมี หรือมีสารเคมีเจือปน สภาพแวดล้อมท่ี ทำ� งานอาจมคี วามเสย่ี งในเรอื่ งของฝ่นุ ละออง หรือความรอ้ น โอกาสในการมงี านท�ำ การขนส่งสินค้าทางน�้ำนับว่าเป็นการขนส่งท่ีมีบทบาทที่ส�ำคัญต่อการค้าระหว่างประเทศต้ังแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน และเป็นการขนส่งซึ่งสามารถขนสินค้าได้ในปริมาณมาก โดยมีต้นทุนค่าใช้จ่ายไม่สูงมากเม่ือเทียบกับการ ขนสง่ ดว้ ยวธิ อี นื่ ๆ ทงั้ นส้ี ามารถทจ่ี ะขนสง่ สนิ คา้ ไปไดท้ ว่ั ทกุ มมุ โลก จงึ ถอื เปน็ จดุ แขง็ ของการขนสง่ และจะมกี ารขยาย ตวั มากขนึ้ ตามการขยายตวั ของภาคการสง่ ออก ซงึ่ แนวโนม้ การสง่ ออกของไทยยงั อยใู่ นเกณฑท์ ด่ี ี และมยี งั มแี นวโนม้ การขยายตัวไดต้ อ่ เน่อื ง ฉะนนั้ ความต้องการผู้ประกอบอาชพี นจ้ี ะยงั เป็นท่ีตอ้ งการของตลาดแรงงานในอนาคต 460 คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี สาขาวิทยาการเดินเรือ 2. ได้รับประกาศนยี บตั รจากกรมการขนสง่ ทางนำ�้ และพาณชิ ยน์ าวี (หรอื ตัว๋ ) 3. ละเอยี ด รอบคอบ ปฏบิ ัติตนตามกฎอยา่ งเครง่ ครดั 4. ความสามารถในการทำ� งานเป็นทีม 5. บคุ ลิกภาพดี มีมนุษยสมั พันธ์ดี 6. อดทน และมีความกระตอื รอื รน้ ในการท�ำงาน 7. มีระเบียบวนิ ัย และมคี วามรับผดิ ชอบสงู 8. สามารถสอื่ สารภาษาองั กฤษไดด้ ี 9. สามารถใช้คอมพวิ เตอร์ได้ 10. มสี ำ� นกึ ในความปลอดภยั และมกี ารตดั สนิ ใจในการแกป้ ญั หาทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ไดร้ วดเรว็ และมคี วามสามารถ เปน็ ทงั้ ผนู้ �ำและผตู้ าม 11. มัน่ ใจในตนเอง มคี วามจำ� ดี ช่างสังเกต สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา - วิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาการเดินเรือ วิทยาลัยการพาณิชย์นาวี มหาวิทยาลัยบูรพา เว็บไซต์ www. buu.ac.th โทรศพั ท์ 0-3874-5820 - สาขาฝ่ายเดนิ เรอื ศูนย์ฝึกพาณชิ ยน์ าวี เวบ็ ไซต์ www.mmtc.ac.th โทรศัพท์ 0-2756-4971-80

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี เจ้าหน้าท่ีขนส่งทางน้�ำท่ีปฏิบัติหน้าที่น้ีมานานจนมีความช�ำนาญ และหากได้รับการอบรมเพ่ิมความรู้ จะสามารถเลอ่ื นขนั้ ไปจนถงึ ต�ำแหน่งหวั หน้า หากมีความสามารถในการบรหิ าร มคี ุณสมบตั ิตามเง่อื นไขสามารถได้ เล่อื นขน้ั จนถึงตำ� แหน่งสูงสุด คอื ผู้บริหารขององค์กร อาชีพท่เี กี่ยวเน่ือง เจา้ หน้าท่คี ลังสนิ ค้า เจ้าหน้าทบี่ ริการจัดสง่ สนิ คา้ เจ้าหนา้ ทฝี่ ่ายจัดซ้อื เจา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยวัตถุดบิ แหล่งขอ้ มลู อื่น ๆ - การทา่ เรอื แห่งประเทศไทย (กทท.) เว็บไซต์ www.port.co.th/ โทรศพั ท์ 0-2269-3000 - สมาคมไทยโลจิสตกิ สแ์ ละการผลิต เว็บไซต์ www.tlaps.or.th โทรศพั ท์ 0-2512-0488 - วิทยาลยั การพาณิชยน์ าวี มหาวทิ ยาลยั บรู พา เว็บไซต์ www.buu.ac.th โทรศัพท์ 0-3874-5820 - ศนู ยฝ์ ึกพาณิชยน์ าวี เวบ็ ไซต์ www.mmtc.ac.th โทรศพั ท์ 0-2756-4971-80 - บรษิ ัท ไทยเดินเรือทะเล จ�ำกดั เวบ็ ไซต์ www.tmn.co.th โทรศัพท์ 0-2672-8690 - บริษทั อู่กรุงเทพ เว็บไซต์ จ�ำกัด www.bangkokdock.com โทรศพั ท์ 0-2211-3040 461

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 เจ้าหน้าท่ีควบคุมคุณภาพ Quality Control Ofiffificer นิยามอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ีท�ำงานเก่ียวกับการควบคุมคุณภาพ การผลิตสินค้า และบริหารของสถานประกอบการ โดยตรวจสอบ ทุกขั้นตอนของกระบวนการผลิต เพ่ือให้ได้ผลผลิตตามมาตรฐานท่ี กำ� หนดโดยลกู คา้ หรอื ทางราชการ หรอื ตามมาตรฐานทวั่ ไป ทง้ั นเี้ พอ่ื ให้เป็นที่ยอมรับและน่าเชื่อถือต่อลูกค้าท้ังในประเทศและนานาชาติ และเพอ่ื ลดตน้ ทนุ การผลติ ในขณะทป่ี ระสทิ ธิภาพการผลิตเพม่ิ ขน้ึ ลกั ษณะของงานทท่ี ำ� ผปู้ ฏบิ ัติงานในอาชพี น้มี หี น้าทต่ี รวจสอบ (Detection) และดแู ลกระบวนการผลติ ทุกข้ันตอนเพื่อไมใ่ หก้ าร ผลิตผลิตภัณฑ์ หรือการให้บริการเกิดความผิดพลาด และไม่ได้ผลิตภัณฑ์หรือบริการตามท่ีลูกค้าต้องการ หรือ ผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตเสียหายมากเกินความจ�ำเป็น บันทึกการตรวจสอบและผลการผลิตรายงานส่งผู้บริหาร (Quality Management Representative: QMR) โดยเน้นการท�ำงานไปท่ีการตรวจสอบ ค้นหาสาเหตุที่ท�ำให้เกิดความ 462 เสียหาย ซ่ึงแตกต่างจากกระบวนการประกันคุณภาพ (Quality Assurance) ที่เน้นระบบการจัดการป้องกัน (Prevention) ข้ันตอนการควบคมุ คุณภาพมีดงั นี้ 1. ปฏิบัตงิ านตามคู่มือระบบคณุ ภาพ และมีข้ันตอนการท�ำงานตามโครงสร้างของระบบอย่างเครง่ ครดั 2. ตรวจทบทวนความต้องการของลูกค้า และจดบันทึกตั้งแต่เริ่มติดต่อก่อนที่จะมีค�ำส่ังซื้อ และความ เข้าใจของบุคลากร และหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องในองคก์ ร 3. ตรวจสอบข้ันตอนของการควบคุมการบันทึกคุณภาพให้ครบถ้วน ชัดเจน มีวิธีการจัดเก็บและ ท�ำดชั นกี ารจัดเก็บ (ทีเ่ ข้าถงึ ) การรกั ษา และการท�ำลาย 4. ตรวจสอบการควบคุมเอกสาร และข้อมูลทั้งจากภายในและภายนอกองค์กรท้ังหมดให้อยู่ในระบบ คุณภาพทุกหน่วยงาน มบี ัญชีแสดงสถานะของเอกสาร นำ� เอกสารทไ่ี มใ่ ช้แลว้ ออกนอกพน้ื ทใ่ี ชง้ าน คงไวซ้ ึ่งเอกสาร ปัจจุบันท่จี �ำเปน็ ต้องใช้ในการปฏบิ ัติงาน 5. ตรวจสอบการแสดงชี้บง่ และการสอบกลับไดข้ องผลิตภณั ฑ์ เพ่อื ค้นหาแหล่ง ข้อบกพรอ่ ง และติดตาม การผลิต 6. ตรวจสอบการควบคมุ กระบวนการผลติ การตดิ ตง้ั อปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื และการบรกิ ารตอ้ งอยภู่ ายใตภ้ าวะ ควบคมุ นบั ตงั้ แตก่ ารรบั วตั ถดุ บิ มาทำ� การผลติ และระหวา่ งทำ� การผลติ จนถงึ สน้ิ สดุ กระบวนการผลติ ในการปรบั ปรงุ ขัน้ ตอนการผลิตต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากผู้มีอำ� นาจหนา้ ที่ 7. ตรวจ ทดสอบ และจดบันทึกต้ังแต่การตรวจรับผลิตภัณฑ์ที่ผลิตแล้ว จนกระท่ังส่งมอบอย่างละเอียด และเรยี กกลบั ทนั ทที ม่ี ขี ้อบกพรอ่ งก่อนถงึ มือลกู ค้า ต้องบนั ทกึ ผลการตรวจสอบว่าผา่ นหรือไมผ่ ่าน

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 8. ตรวจสอบเคร่อื งตรวจ เครอ่ื งวดั และเครื่องทดสอบใหใ้ ช้ไดอ้ ย่างถูกต้อง แมน่ ย�ำ เชอ่ื ถือได้ ตลอดจน กรมการ ัจดหางาน ขน้ั ตอนการบ�ำรุงรักษา กำ� หนดผลการสอบเทียบ Department of Employment 9. ตอ้ งรูส้ ถานการณ์การตรวจ และการทดสอบของผลติ ภณั ฑ์ทกุ ข้ันตอน พจิ ารณาผลทดสอบเปน็ อย่างไร ผา่ นหรอื ไมผ่ า่ น โดยท�ำเครอื่ งหมายติดปา้ ยแยกเกบ็ ตา่ งหากจากกนั 10. ตรวจสอบการควบคุมผลิตภัณฑ์ท่ีไม่เป็นไปตามข้อก�ำหนด เพื่อป้องกันไม่ให้มีการน�ำผลิตภัณฑ์ ทม่ี ีข้อบกพรอ่ งไปใชง้ านโดยไม่ตงั้ ใจ ด�ำเนินการจดั การทำ� ลาย ลดเกรด นำ� กลบั ไปทำ� ใหมแ่ ล้วตรวจซำ้� 11. ตรวจสอบบันทึก และปฏิบัติการแก้ไข และป้องกันข้อบกพร่องท่ีอาจเกิดข้ึนได้ ท�ำการวิเคราะห์ หาสาเหตุ เพ่ือป้องกันการเกิดซ�้ำท่ีเกิดจากกระบวนการผลิต หรือการบริการ จากผลการประเมินข้อร้องเรียน จากลูกค้าขอ้ คิดเหน็ ของเจา้ หนา้ ทผ่ี ู้รบั ผดิ ชอบ ผลการทบทวนของฝา่ ยจดั การ เป็นต้น 12. ควบคุมบันทึกการเคล่ือนย้าย การเก็บ การบรรจุ การเก็บรักษา และการส่งมอบให้เจ้าหน้าที่ ผรู้ บั ผิดชอบ 13. ตรวจตดิ ตามคณุ ภาพภายในองค์กร 14. จัดการฝกึ อบรมใหผ้ เู้ ก่ยี วขอ้ งทราบถึงขั้นตอน และกระบวนการทำ� งานระบบคุณภาพ 15. บันทึกกลวิธีทางสถิติในการรวบรวมวิเคราะห์หาแนวโน้มของข้อบกพร่องต่าง ๆ และท�ำการป้องกัน ขอ้ บกพร่องท่ีอาจเกดิ ข้นึ ได้ สภาพการจา้ งงาน ส�ำหรับผู้เร่ิมต้นงานที่ยังไม่มีประสบการณ์ ซ่ึงมีวุฒิการศึกษาขั้นต่�ำประโยควิชาชีพช้ันสูงหรือปริญญาตรี จะได้รับค่าตอบแทนการท�ำงานประมาณเดือนละ 15,000 บาท โดยมีเง่ือนไขคือ ต้องมียานพาหนะของตนเอง และสามารถเดนิ ทางไปทำ� งานต่างจงั หวดั ได้ ส่วนผมู้ ปี ระสบการณ์ 1 - 2 ปี พรอ้ มมีความรู้ระบบคุณภาพมาตรฐานของ ISO 9000 ระบบใดระบบหน่ึงจะ 463 ไดร้ บั เงนิ เดอื นประมาณเดอื นละ 20,000 บาท ผู้ปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ควบคุมคุณภาพ Quality Control Officer จะต้องท�ำงานตลอดเวลาที่ท�ำการผลิต ซึ่งอาจต้องท�ำงานวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด หรืออาจต้องท�ำงานตามกะด้วย เพื่อตรวจสอบผลิตภัณฑ์ ทผ่ี ลติ ทกุ ขั้นตอนเวลาทำ� งานโดยปกติ 7 - 8 ชั่วโมง หรอื 9 ชว่ั โมงตอ่ วัน และอาจต้องทำ� งานล่วงเวลา สภาพการทำ� งาน สถานที่ผูป้ ฏิบัตงิ านน้ีขึ้นอยูก่ ับธุรกิจอุตสาหกรรมและประเภทงานทจ่ี ดั ทำ� ระบบคุณภาพ ถา้ เป็นกลมุ่ ธรุ กิจ เช่น ภัตตาคาร โรงแรม การทอ่ งเที่ยว สนามบิน โรงพยาบาล และคลินิก กลมุ่ สาธารณปู โภคตา่ ง ๆ ถา้ เป็นประเภท งาน ได้แก่ งานซ่อมบำ� รุงเคร่อื งจกั ร การจดั จำ� หน่าย การส�ำรวจ การออกแบบวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์ การฝกึ อบรม ทปี่ รกึ ษาบคุ ลากร และบรกิ ารในสำ� นกั งาน เปน็ ตน้ อยา่ งไรกด็ กี ารทำ� งาน ในหนา้ ทผ่ี ทู้ ำ� งานจะตอ้ งทำ� งานในสำ� นกั งาน ในโรงงาน และปฏบิ ตั ใิ นพนื้ ทหี่ รอื ทอ้ งทนี่ อกสำ� นกั งาน เพอื่ ดำ� เนนิ การตรวจระบบคณุ ภาพ แมก้ ระทง่ั ไปตรวจดสู นิ คา้ ณ.ท่ีขาย ถ้าในสถานที่มคี วามเสีย่ งในความปลอดภัย อาจตอ้ งสวมอปุ กรณป์ ้องกันส่วนบคุ คลตลอดเวลา โอกาสในการมีงานท�ำ ปัจจุบันกระแสการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีข้ันสูง และการเปิดการค้าเสรีมีผลกระทบต่อทุกประเภท ธุรกิจ อุตสาหกรรม สถานประกอบการท้ังขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ต้องปรับเปล่ียนกลยุทธ์

2ท0ตี่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน ในการประกอบการธุรกิจไม่ใช่แค่เพียงความอยู่รอดเท่าน้ัน แต่ต้องสามารถแข่งขันการบริการและการผลิต Department of Employment ผลิตภัณฑ์ได้ทั้งในระดับประเทศ และนานาชาติ การลดต้นทุนสินค้า รักษาคุณภาพของสินค้า และการบริการ ทไี่ ดม้ าตรฐาน คอื ปจั จยั สำ� คญั ในการแขง่ ขนั ทางการคา้ ทเี่ ขม้ งวด ดงั นนั้ องคก์ รตา่ ง ๆ จงึ ตอ้ งใชร้ ะบบพฒั นาคณุ ภาพ ที่ได้มาตรฐานระดับเดียวกันท่ัวโลกคือ “อนุกรมมาตรฐาน มอก. ISO-9000” โดยส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ�ำเภอ) ท่ีได้ร่วมมือกับองค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Organization for Standardization : ISO) ดังนั้น องค์กรธุรกิจและสถานประกอบกิจการทุกองค์กรจึงต้องมีการปรับองค์กรเพ่ือขอน�ำระบบคุณภาพ ดงั กล่าวมาใช้ เพื่อสร้างความม่นั ใจในสินค้าและบรกิ าร ประหยัดเวลา และไม่ต้องตรวจสอบคุณภาพซำ�้ ได้รบั การ คุ้มครองคุณภาพ และได้รับการรับรองโดย สมอ�ำเภอ ทุกองค์กรจึงมีความจ�ำเป็นต้องจ้างเจ้าหน้าที่ควบคุม คุณภาพ เพ่ือท�ำหน้าท่ีตรวจสอบและควบคุมข้ันตอนการท�ำงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ดังกล่าว ท�ำให้ตลาด แรงงานทางด้านน้ีเปิดโอกาสให้ผู้มีการศึกษาหลากหลายสาขาวิชาได้ มีงานท�ำเป็นอาชีพค่อนข้างม่ันคงส�ำหรับ ผขู้ ยัน และมีความสามารถ ในกรณีทีส่ ถานประกอบกิจการมีขนาดใหญ่อาจตอ้ งการเจา้ หน้าทคี่ วบคุมคณุ ภาพหลายระดบั และมากกว่า 1 คน และคุณสมบัติในการประกอบอาชีพน้ันรับผู้จบการศึกษาหลากหลายสาขาที่เกี่ยวข้องตามประเภทของ ธุรกิจอุตสาหกรรมน้ัน ๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาประโยควิชาชีพ หรือประโยควิชาชีพช้ันสูง สาขาเทคนิค อุตสาหกรรม หรือปริญญาตรี จนถึงปริญญาโททางฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ สถิติ เช่น บริษัทท่ีผลิตยาและอาหาร อาจต้องการผู้ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์เคมี บริหารการผลิต และเทคโนโลยีทางอาหาร ถ้าเป็นบริษัท อตุ สาหกรรมพลาสติกก็จะรับผ้สู �ำเร็จการศกึ ษาด้านวศิ วกรรม หรือวิศวกรรมอุตสาหการ เปน็ ต้น 464 คณุ สมบัตขิ องผู้ประกอบอาชพี ผู้ปฏิบัติงานเจ้าหนา้ ทค่ี วบคมุ คณุ ภาพ Quality Control Officer ควรมคี ุณสมบตั ิ ดังน้ี 1. มวี ฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั ประโยควชิ าชพี ชน้ั สงู ปรญิ ญาตรี หรอื ปรญิ ญาโท สาขาทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั งานการผลติ หรือบริการของสถานประกอบกิจการ 2. มสี ขุ ภาพแขง็ แรง มีความอดทน สามารถเดินทางไปท�ำงานต่างจังหวดั หรือตา่ งประเทศได้ 3. มคี วามรู้ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ไดด้ ี 4. เป็นคนละเอยี ด รอบคอบ ชา่ งสังเกต มไี หวพรบิ มีความรับผิดชอบสงู และมีระเบยี บวนิ ัยเครง่ ครดั 5. มมี นุษยสัมพนั ธ์ดี และมีการถ่ายทอดส่ือสารทีช่ ัดเจน 6. มลี กั ษณะเปน็ ผูน้ �ำและผ้ตู ามทดี่ ี 7. เป็นผสู้ นใจเรยี นรสู้ ิ่งใหม่ ๆ และปรับปรุงความรู้ที่มอี ยู่เสมอ เพ่ือใหส้ ามารถกา้ วทนั ความเปลี่ยนแปลง ของระบบการผลติ สินคา้ และบริการ สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา ผู้ท่ีจะประกอบเจ้าหน้าท่ีควบคุมคุณภาพ Quality Control Officer ควรเตรียมความพร้อมดังต่อไปน้ี : ตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และฝึกอบรมเก่ียวกบั ก�ำหนดมาตรฐาน ISO 9000 series 5 ระบบหลัก คือ ISO 9000 เปน็ แนวทางในการเลอื กและกรอบการเลอื ก และการใชม้ าตรฐานระบบคณุ ภาพตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสม ISO 9001 มาตรฐานระบบคณุ ภาพซงึ่ กำ� กบั ดแู ลทงั้ การออกแบบ และพฒั นาการผลติ การตดิ ตงั้ และบรกิ าร ISO 9002 ระบบคณุ ภาพซง่ึ กำ� กบั ดูแลเฉพาะการผลติ การตดิ ต้ัง และการบริการ

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ISO9003 ระบบคุณภาพซงึ่ ก�ำกบั ดูแลเรอื่ งการตรวจ และการทดสอบขนั้ สุดท้าย กรมการ ัจดหางาน ISO9004 ระบบแนวทางการบริหารงานเพอ่ื คณุ ภาพเพื่อให้เกิดประสิทธภิ าพสูงสดุ Department of Employment โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ควบคุมคุณภาพ Quality Control Officer อาจได้รับการเล่ือนต�ำแหน่ง และ ขั้นเงินเดือนตามสายงาน เม่ือปฏิบัติงานได้ 2 - 3 ปี อาจได้รับการเล่ือนต�ำแหน่งเป็นผู้ควบคุมคุณภาพ (QC. Supervisor) ช่วยผู้จัดการฝ่ายควบคุมคุณภาพ (QC. Assistant Manager) ผู้จัดการควบคุมคุณภาพ (QC. Manager) หัวหน้าฝ่ายควบคุมคุณภาพ (Head of QC. Department) และเป็นผู้บริหารระบบคุณภาพ (QMR.) ตามล�ำดบั อาชีพท่เี กยี่ วเน่อื ง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการผลิต ผู้จัดการหรือผู้อ�ำนวยการของธุรกิจการบริการฝ่ายคลังสินค้า และฝ่ายส่งสินค้า หัวหน้างานประกนั คุณภาพ (Chief of Quality Assurance) ผู้ประสานงานฝ่ายควบคมุ คุณภาพ (Co-ordinator, Quality Control) แหล่งขอ้ มลู อ่ืน ๆ - หนังสอื พมิ พ์ และเวบ็ ไซต์ในสว่ นจดั หางาน - เวบ็ ไซต์ กระทรวงแรงงาน เว็บไซต์ www.Mol.go.th - ศนู ยเ์ พิม่ ประสทิ ธิภาพการผลิต กระทรวงอตุ สาหกรรม 465

กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 เจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ Air Traffific Controller นยิ ามอาชพี ก�ำกับดูแลและควบคุมการเดินทางของอากาศยาน ภายในอาณาเขตที่ได้รับมอบหมายเพ่ือให้อากาศยานเดินทาง จากจดุ หนงึ่ ไปยงั อกี จดุ หนง่ึ หรอื ขน้ึ – ลง ณ สนามบนิ ใดสนามบนิ หนง่ึ ดว้ ยความปลอดภยั : ตรวจสอบตารางการบนิ ของสายการบนิ ท่ีแจ้งการขึ้น-ลง; มคี วามรคู้ วามเชย่ี วชาญในเรอ่ื งระบบสอ่ื สาร วิทยุ เรดาร์ สัญญาณไฟ ธงหรอื อ่นื ๆ เพือ่ ใช้ในการควบคมุ การ เดินอากาศของอากาศยาน; แจ้งขา่ วสารสภาพอากาศ ขา่ วสาร เพ่ือความปลอดภัยและสะดวกสบายในการบิน และบันทึก รายงานข่าวท่ีได้รับจากอากาศยาน การระวังภัย (Alerting Service); ควบคุมการจราจรทางอากาศเขตประชิด สนามบิน การควบคุมการข้ึน-ลงของอากาศยาน; ควบคุมสั่งการในกรณีฉุกเฉิน, ให้บริการการจราจรทางอากาศ กบั บคุ คลสำ� คัญ (VIP); รายงานเหตแุ ละผลการปฏบิ ตั ติ อ่ ผ้บู ังคบั บัญชา ตลอดจนการดแู ลเครื่องมือ รวมทงั้ อุปกรณ์ อ่ืน ๆ ทใ่ี ช้ในการด�ำเนินการตามความรบั ผิดชอบดงั กลา่ ว ใหใ้ ชก้ ารได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 466 ลักษณะของงานทีท่ ำ� 1. ตรวจสอบตารางการบินของสายการบินทุกสายที่แจ้งการข้นึ ลงของเคร่ืองบินโดยสารท่ีมขี ้อตกลงกันไว้ ล่วงหน้า 2. ควบคมุ การบนิ ของอากาศยานภายในอาณาเขตทก่ี ำ� หนด ทงั้ การขนึ้ และการลงสนามบนิ เพอ่ื ใหม้ คี วาม ปลอดภยั ท้ังนกั บนิ เจ้าหนา้ ทีป่ ระจำ� เครอื่ งบนิ และผโู้ ดยสาร 3. สงั เกตเรดารแ์ สดงต�ำแหนง่ อากาศยาน เพ่อื เตรยี มการส่งั การกับนักบินในการน�ำเครื่องบินข้นึ หรอื ลง 4. ตดิ ตอ่ ทางวทิ ยกุ บั อากาศยานซงึ่ อยภู่ ายในบรเิ วณสนามบนิ และสงั่ การนำ� เครอ่ื งบนิ ขน้ึ และลง และระดบั ความสงู ของการบิน 5. แนะน�ำนกั บนิ ในการว่งิ เข้า/ออกในพน้ื ทางวิ่งรนั เวย์/แท็กซี่ 6. ควบคุมการข้นึ ลงของอากาศยานทสี่ นามบินโดยทางวทิ ยุ 7. ติดต่อกบั อากาศยานในเสน้ ทางบินระหวา่ งท่าอากาศยาน ส่ังงาน ใหค้ �ำแนะนำ� และแจ้งข่าวสารต่าง ๆ แจง้ สภาพอากาศทส่ี นามบนิ และตามเสน้ ทางบิน 8. บนั ทกึ รายงานข่าวท่ไี ด้รบั จากอากาศยาน สภาพการจา้ งงาน ผูป้ ระกอบอาชพี นี้ เม่ือสำ� เร็จการศกึ ษาหลกั สูตรนักเรยี นเดินเรือพาณชิ ยจ์ ากศนู ยฝ์ ึกพาณิชยน์ าวแี ละได้รบั ประกาศนยี บตั รจากกรมการขนสง่ ทางนำ�้ และพาณชิ ยน์ าวแี ลว้ สว่ นใหญก่ จ็ ะประกอบอาชพี ในกจิ การทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ธุรกิจทางเรือ เช่น หน่วยงานราชการ ในกรมการขนส่งทางน้�ำและพาณิชย์นาวี กรมศุลกากร กรมประมง กรมการ ัจดหางาน หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในการท่าเรือแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (ส่วนงานท่ีเกี่ยวกับเรือ) Department of Employment หน่วยงานบริษัทเอกชน ในบริษัทเรือต่าง ๆ ท้ังของประเทศไทยและต่างประเทศท่ัวโลก รายได้ของผู้ประกอบ อาชีพนี้เม่ือเทียบกับคนท�ำงานบนบกท่ีมีความรู้เท่าเทียมกัน จะมีรายได้สูงกว่าอย่างน้อยสองถึงสามเท่า ซ่ึงก็ข้ึนอยู่กับสายการเดินเรือ โดยแบ่งเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ สายนอก หมายถึง สายการเดินเรือของ บริษทั นั้นเดินทางรบั ส่งสินค้าตา่ ง ๆ ท่ัวโลกไปประเทศต่าง ๆ โดยไม่แวะเขา้ เทียบท่าที่ประเทศไทย สายใน หมายถงึ สายการเดินเรือของบริษัทนั้นเดินทางรับส่งสินค้าต่าง ๆ ไปประเทศในแถบใกล้เคียง และจะต้องแวะเข้าเทียบท่า ที่ประเทศไทยอยู่เป็นประจ�ำ สายการเดินเรือท่ีเป็นสายนอกจะได้รับค่าตอบแทนมากกว่าสายการเดินเรือที่เป็น สายใน ผ้ปู ระกอบอาชีพนีจ้ ะไดร้ ับค่าตอบแทน สภาพการจา้ งงาน ผูท้ ี่ประกอบอาชีพเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมจราจรทางอากาศสามารถเข้าสมัครงานในภาครัฐวิสาหกิจ เชน่ บรษิ ทั วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จ�ำกัด ประจ�ำหอบังคับการบินของกรมการบินพาณิชย์ หรือภาคเอกชนท่ีประกาศ รับสมัคร เช่น สนามบินเอกชนของบริษัท บางกอกแอร์เวย์ สนามบินสุโขทัย สนามบินสมุย แท่นขุดเจาะน�้ำมัน ในทะเลของบรษิ ทั ไทยออยล์ เปน็ ตน้ โดยตอ้ งมคี ณุ สมบตั ติ ามทก่ี ำ� หนดไว้ และเมอ่ื ผา่ นการคดั เลอื ก รวมทง้ั ผา่ นการ ตรวจร่างกายและทดสอบทางจิตเวชตามมาตรฐานสถาบันเวชศาสตร์การบินแล้ว จะต้องได้รับการอบรมหลักสูตร การควบคุมจราจรทางอากาศจากสถาบันการบินพลเรือน โดยเม่ือจบการอบรมก็จะได้รับบรรจุเข้าเป็นเจ้าหน้าท่ี ควบคมุ จราจรทางอากาศประจ�ำหน่วยงานน้ัน เจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนและเป็นการจ้างงานตามวุฒิการศึกษา ส�ำหรบั ผทู้ ่ีจบปริญญาตรี หรอื ไดร้ ับอนปุ ริญญาจากหลกั สูตรการควบคุมจราจรทางอากาศ และยังไมม่ ีประสบการณ์ ในการท�ำงาน ไดร้ บั เงินเดือน 8,000 - 10,000 บาทต่อเดือน ส่วนเงนิ โบนสั ขึ้นอยู่กับผลประกอบการ 467 ผู้ปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศจะมีชั่วโมงการท�ำงานแตกต่างจากอาชีพอ่ืนทั่วไปเนื่องจาก ตอ้ งควบคมุ การจราจรทางอากาศตลอด 24 ชวั่ โมง การทำ� งานอาจจะเปน็ กะ โดยกำ� หนดใหท้ ำ� งานกะละ 4 - 6 ชวั่ โมง มีการหมุนเวียนกันปฏิบัติหน้าที่ตามรอบของกะ โดยต้องท�ำงานวันเสาร์และอาทิตย์ หรือวันหยุด ซึ่งผู้ปฏิบัติงาน จะได้รับคา่ จา้ งพิเศษ ในการท�ำงานวนั หยดุ สภาพการทำ� งาน เจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศต้องปฏิบัติงานที่หอบังคับการบิน ซึ่งมีประจ�ำทุกสถานีอากาศยาน ทวั่ ประเทศ หรอื ในบางหนว่ ยงาน เชน่ บรษิ ทั ไทยออยลต์ อ้ งมเี จา้ หนา้ ทค่ี วบคมุ จราจรทางอากาศทแี่ ทน่ ขดุ เจาะน�้ำมนั กลางทะเล เพ่ือท�ำหนา้ ทค่ี วบคุมการบนิ ข้ึนลงของเฮลคิ อปเตอรห์ รือเคร่อื งบนิ ลำ� เลยี ง โดยเจ้าหน้าท่คี วบคมุ จราจร ทางอากาศต้องปฏิบัติอยู่หน้าจอภาพท่ีแสดงเส้นทางการบินและติดต่อส่ือสารกับนักบินตามที่ได้รับมอบหมาย ให้ค�ำแนะน�ำนักบินในเส้นทางการบินและการลดระดับการบิน ซึ่งบางครั้งการติดต่อส่ือสารไม่เป็นไปตามท่ีก�ำหนด หรอื แนะน�ำ อาจเน่ืองจากมปี ญั หาการส่อื สารทางดา้ นภาษา หรือนักบินไม่เช่อื ฟังตามทแี่ นะน�ำ อาจท�ำใหเ้ กิดผลเสีย หายในการบินได้ ซ่ึงการปฏิบัติงานน้ีจะท�ำให้เจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศมีความเครียดได้ บางองค์กร จึงได้ก�ำหนดให้ท�ำงานเพียงรอบละ 4 ช่ัวโมง เจ้าหน้าท่ีควบคุมจราจรทางอากาศ ไม่มีความเส่ียงอันตรายใด ๆ แต่จะเป็นอาชีพท่ีท�ำให้เกิดความเครียด เน่ืองจากความกดดันในความรับผิดชอบสูง ผู้ประกอบเจ้าหน้าที่ควบคุม จราจรทางอากาศจะต้องเข้ารับการตรวจสุขภาพจิตก่อนการเข้าท�ำงาน และต้องเข้ารับการตรวจจิตเวชเป็น ประจ�ำทุกปี

กรมการ ัจดหางาน ท20ี่ต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมีงานทำ� เจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทาง อากาศที่ปฏิบัติหน้าท่ีน้ีมานานจนมี ความช�ำนาญ และหากได้รับการอบรม ใ น ห ลั ก สู ต ร วิ ช า ชี พ ชั้ น สู ง ข้ึ น ไ ป จ ะ สามารถเล่ือนขั้นไปจนถึงต�ำแหน่ง หัวหน้า หากมีความสามารถในการ บริหาร และมีคุณสมบัติตามเงื่อนไข สามารถไดเ้ ลอ่ื นขนึ้ จนถงึ ตำ� แหนง่ สงู สดุ คอื ผ้บู รหิ ารขององค์กร คุณสมบตั ขิ องผปู้ ระกอบอาชพี 1. ได้รับอนุปริญญาในหลักสูตรการควบคุมจราจรทางอากาศ หรือส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและ ผ่านการอบรมหลกั สูตรการควบคุมจราจรทางอากาศ 2. ใชภ้ าษาตดิ ต่อสอ่ื สารได้ดี ซ่งึ สว่ นใหญใ่ ช้ภาษาองั กฤษ 3. มีความอดทน และสามารถควบคุมอารมณ์ในทกุ สถานการณ์ได้ มีมนุษยสัมพันธ์ดี มปี ฏภิ าณไหวพรบิ ดี มสี ำ� นกึ ในความปลอดภยั และมกี ารตดั สนิ ใจในการแกป้ ญั หาทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ไดร้ วดเรว็ และมคี วามสามารถเปน็ ทงั้ ผนู้ ำ� และผู้ตาม 4. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และผู้อื่นมีความกล้าหาญ สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ อย่างถกู ต้องและรวดเร็ว มคี วามมั่นใจในตนเอง ละเอียด รอบคอบ มีความจ�ำดี ช่างสงั เกต หรอื สำ� เร็จการศึกษาไม่ 468 ต�่ำกว่าระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้นั สงู 5. ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ อ้ งไดร้ บั ใบอนญุ าตในการประกอบเจา้ หนา้ ทคี่ วบคมุ จราจรทางอากาศ รวมทง้ั ตอ้ ง ผ่านการทดสอบทางจิตเวช ตามมาตรฐานจากสถาบันเวชศาสตร์การบิน กรมแพทยท์ หารอากาศ ผู้ท่ีจะประกอบเจ้าหน้าท่ีควบคุมจราจรทางอากาศ นอกจากจะมีคุณสมบัติดังกล่าวแล้ว ควรเตรียมตัว เพ่อื สอบคดั เลือกเมื่อผ่านการคัดเลือก แต่ยังไมไ่ ดร้ ับการฝกึ อบรมหลักสตู รควบคมุ จราจรทางอากาศ จะไดร้ บั ส่งเข้า ศึกษาต่อหลักสูตรการควบคุมจราจรทางอากาศ ในสถาบันการบินพลเรือน ซึ่งเป็นสถาบันท่ีให้การอบรมแห่งเดียว ในประเทศไทย ซง่ึ ใชร้ ะยะเวลาอบรมประมาณ 67 สปั ดาห์ โดยตอ้ งศกึ ษาหลกั สตู รภาษาองั กฤษสำ� หรบั เทคนคิ การบนิ (Aviation Technical English Course) ใช้เวลาอบรม 20 สัปดาห์ และหลักสูตรการควบคุมจราจรทางอากาศ (Air Traffic Control) อีก 47 สปั ดาห์ นอกจากน้ี ผู้ท่ีส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า สามารถสมัครเข้าสอบคัดเลือกเข้า สถาบันการบินพลเรอื น และเลอื กศึกษาในหลกั สตู รควบคมุ จราจรทางอากาศ หลักสตู รนีจ้ ะใช้เวลาการศกึ ษา 2 ปี ผู้ ส�ำเรจ็ การศกึ ษาจะได้รบั อนุปรญิ ญา และสามารถสมคั รงานประกอบอาชพี เจ้าหนา้ ท่คี วบคมุ จราจรทางอากาศได้ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา - ภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2797-0999 ต่อ 1702-4 โทรสาร 0-2579-8570

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment - สถาบนั การบนิ มหาวิทยาลยั รงั สิต โทรศัพท์ 0-2997-2200-30 ต่อ 4104-7 โทรสาร 0-2997-2200-30 ต่อ 4108 อเี มล [email protected] เวบ็ ไซต์ www.rsu.ac.th/pilot - สถาบันการบินพลเรือน 1032/355 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2272-5741-4 โทรสาร 0-2272-5288 โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี เจ้าหน้าท่ีควบคุมจราจรทางอากาศท่ีปฏิบัติหน้าท่ีนี้มานานจนมีความช�ำนาญและหากได้รับการอบรม ในหลักสูตรวิชาชีพช้ันสูงขึ้นไปจะสามารถเล่ือนข้ันไปจนถึงต�ำแหน่งหัวหน้า หากมีความสามารถในการบริหาร และมีคุณสมบัตติ ามเงือ่ นไขสามารถได้เล่อื นขน้ึ จนถงึ ตำ� แหนง่ สูงสุดคอื ผ้บู ริหารขององคก์ ร อาชีพท่ีเกย่ี วเนอ่ื ง เจา้ หน้าทส่ี อื่ สารการบนิ เจา้ หน้าที่อำ� นวยการบนิ แหล่งขอ้ มูลอืน่ ๆ - สถาบนั การบนิ พลเรอื น - บริษทั วิทยกุ ารบินแห่งประเทศไทย จำ� กัด 469

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 เจ้าหน้าท่ีจัดระวางบรรทุกบนเครื่องบิน Load Master นยิ ามอาชพี วางแผน ควบคมุ และรบั ผิดชอบ การจัดส่งพัสดุจากสถานีต้นทางจนกระท่ัง ส่งมอบปลายทาง ส�ำหรับการขนส่งทาง อากาศค�ำนวณจัดน้�ำหนักบรรทุกและ จ�ำนวนอุปกรณ์ยึดตรึง ด�ำเนินการด้าน เอกสารศุลกากร และบริหารคลังสินค้า ทีจ่ ัดสง่ ลักษณะของงานที่ทำ� 1. ควบคุมและรับผิดชอบการส่งสินค้าต้ังแต่ต้นทางของสินค้า จนกระท่ังสินค้าถูกล�ำเลียงขึ้นเครื่องบิน เรยี บรอ้ ยพร้อมทีจ่ ะเดินทางออกไป 2. วางแผนและจัดเตรียมเคร่ืองช่วยการบรรทกุ ขนถา่ ยที่จะตดิ ต้ังกบั เครื่องบินให้เหมาะสมตามภารกจิ 3. ค�ำนวณจัดน้ำ� หนกั บรรทกุ บนอากาศยาน 470 4. ค�ำนวณหาจ�ำนวนอปุ กรณ์ยดึ ตรงึ และท�ำการยดึ ตรงึ พสั ดุบนเคร่ืองบินให้ทำ� การบนิ ด้วยความปลอดภยั 5. กำ� กับ ดแู ล เจ้าหน้าทีบ่ รรทุกและขนถ่ายท่ีท�ำการบรรทุกและขนถ่ายกบั อากาศยาน 6. ท�ำการบันทกึ ใบแบบฟอรม์ รายงาน (Load Sheet) 7. อาจควบคมุ ดูแลใหค้ ำ� แนะนำ� ผโู้ ดยสารขณะโดยสารไปกับอากาศยาน 8. ด�ำเนินการจัดเตรียมเอกสาร ติดต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง การรับรองสินค้า การตรวจผ่านพิธีการทาง ศุลกากร 9. ทำ� การบรหิ ารเวลา และตารางเวลาต่าง ๆ การบรหิ ารคลังสินค้าทตี่ น้ ทางและปลายทางสนามบนิ สภาพการจา้ งงาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี นสี้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี คณะบรหิ ารธรุ กจิ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาการจดั การ การขนส่ง หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง สามารถท�ำงานได้ในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ เอกชน อาทิ การท่าอากาศยาน แหง่ ประเทศไทย การบนิ ไทย บรษิ ทั ไทย แอรพ์ อรต์ กราวน์ เซอรว์ สิ หรอื แทก็ ส์ เฟดเอก็ ซ์ (FEDEX) ดเี อชแอล (DHL) ทเี อ็นที (TNT) เปน็ ต้นวางแผน ผ้ทู ี่ปฏิบตั งิ านในองคก์ รรฐั วสิ าหกิจ จะได้รบั คา่ ตอบแทนเป็นเงินเดอื นที่ระดับเริ่มตน้ ประมาณ 16,300 - 18,500 บาท สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารกั ษาพยาบาล และเบ้ียเลี้ยง เปน็ ไปตามระเบียบและเงื่อนไข การว่าจ้างขององค์กร ส่วนผู้ท่ีปฏิบัติงานในภาคเอกชนจะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีระดับเร่ิมต้นการท�ำงาน ประมาณ 16,900 บาท สวสั ดิการต่าง ๆ ค่ารกั ษาพยาบาล และโบนัสเปน็ ไปตามเงื่อนไขขอ้ ตกลงกบั ผู้วา่ จา้ งทำ� งาน วนั ละ 8 ชว่ั โมง อาจทำ� งานล่วงเวลา วนั เสาร์ วันอาทิตย์ และวนั หยุดตามความจ�ำเป็นเรง่ ด่วน

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผปู้ ระกอบอาชพี นี้ จะปฏบิ ตั งิ านในบรเิ วณสถานทท่ี ำ� งาน ทงั้ ในสว่ นสำ� นกั งานทว่ั ไปในการจดั การดา้ นเอกสาร ตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วกบั การขนสง่ สินค้า และสถานที่ทต่ี ง้ั เครอ่ื งจกั รและเครอื่ งมือในการยก หรอื ย้ายของ อาจต้องสวมใส่ อปุ กรณเ์ พอ่ื ความปลอดภยั สว่ นบคุ คล สภาพแวดลอ้ มทท่ี ำ� งานอาจมคี วามเสย่ี งในเรอ่ื งของฝนุ่ ละออง หรอื ความรอ้ น โอกาสในการมีงานท�ำ การขนส่งสินค้าทางอากาศนับว่าเป็นการขนส่งที่มีบทบาทที่ส�ำคัญต่อการค้าระหว่างประเทศท่ีก�ำลังได้รับ ความนยิ มเพิ่มขึ้นอย่างมาก ถงึ แมว้ า่ การขนส่งสนิ ค้าทางอากาศจะมปี ริมาณไมม่ ากเม่ือเทียบกับการขนส่งสินค้าทาง ทะเล แตก่ ารขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศนบั วนั มแี ตจ่ ะเพม่ิ ความสำ� คญั มากขน้ึ เพราะเปน็ การขนสง่ สนิ คา้ ทมี่ คี วามสะดวก และรวดเร็ว มตี ารางการบนิ ทสี่ ม�ำ่ เสมอและตรงเวลา อกี ทงั้ ยงั สามารถสง่ สนิ คา้ ไปไดท้ ั่วทกุ มมุ โลก เพราะมเี ทีย่ วบิน ของสายการบินต่าง ๆ บินไปยังทุกประเทศ สามารถน�ำส่งสินค้าไปยังจุดหมายปลายทางทั้งใกล้และไกลได้ในเวลา ใกลเ้ คยี งกนั ด้วยความไดเ้ ปรียบมากกวา่ การขนส่งประเภทอน่ื ๆ และทวคี วามส�ำคญั มากขน้ึ ตามล�ำดบั จงึ ท�ำให้ผู้ท่ี คิดจะประกอบอาชพี น้หี างานทำ� ได้ไม่ยากนกั คุณสมบัติของผปู้ ระกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาการจัดการ การขนส่ง หรอื สาขาท่เี กีย่ วขอ้ ง 2. สุขภาพรา่ งกายแข็งแรง ไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัตงิ าน 3. มคี วามเป็นผ้นู ำ� สามารถทำ� งานเปน็ ทีมได้ 4. ละเอียด รอบคอบ ปฏิบัติงานตามกฎอยา่ งเคร่งครดั 5. ซ่อื สัตย์ มีระเบยี บวินยั 471 6. ม่นั ใจในตวั เอง สามารถแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้าได้ 7. ทกั ษะในการบริหารจัดการอยู่ในเกณฑด์ ี สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา คณะบริหารธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาการจัดการ สาขาการตลาด สาขาการเงิน หรือสาขาท่ีเกี่ยวข้อง สถาบันการศึกษาในสังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา อาทิ - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เว็บไซต์ www.tu.ac.th โทรศัพท์ 0-2221-6111-20 - มหาวิทยาลยั รามค�ำแหง เว็บไซต์ www.ru.ac.th โทรศพั ท์ 0-2310-8000 - มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ เว็บไซต์ www.swu.ac.th โทรศัพท์ 0-2664-1000

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ผู้ที่มีความสามารถอาจได้รับการส่งเสริมเลื่อนต�ำแหน่งเป็นระดับบริหาร เช่น ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่าย ผู้จัดการ ฝ่าย เมื่อมีประสบการณ์ในการท�ำงาน รู้จักแหล่งสินค้าและมีเงินทุน อาจเปิดธุรกิจบริการคลังสินค้าของตนเอง ไดข้ น้ั จนถงึ ตำ� แหน่งสงู สุดคอื ผู้บริหารขององคก์ ร อาชีพทเ่ี กี่ยวเน่ือง เจ้าหน้าที่คลงั สนิ คา้ เจ้าหน้าทบี่ ริการจัดสง่ สนิ คา้ เจ้าหน้าที่ฝา่ ยจัดซ้อื เจ้าหนา้ ท่ีฝา่ ยวัตถุดิบ แหลง่ ขอ้ มลู อ่นื ๆ - การทา่ เรอื แห่งประเทศไทย (กทท.) เวบ็ ไซต์ www.port.co.th/ โทรศพั ท์ 0-2269-3000 - สมาคมไทยโลจิสตกิ สแ์ ละการผลติ เว็บไซต์ www.tlaps.or.th โทรศพั ท์ 0-2512-0488 - วทิ ยาลยั การพาณิชย์นาวี มหาวทิ ยาลัยบูรพา เวบ็ ไซต์ www.buu.ac.th โทรศัพท์ 0-3874-5820 - ศูนยฝ์ กึ พาณชิ ย์นาวี เว็บไซต์ www.mmtc.ac.th โทรศัพท์ 0-2756-4971-80 - บรษิ ัท ไทยเดนิ เรอื ทะเล จ�ำกดั เว็บไซต์ www.tmn.co.th โทรศพั ท์ 0-2672-8690 - บริษทั อกู่ รุงเทพ จ�ำกัด เวบ็ ไซต์ www.bangkokdock.com โทรศัพท์ 0-2211-3040 472

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ตวั แทนจัดซอ้ื Purchasing Agent นยิ ามอาชพี ตรวจสอบความต้องการของผู้ใช้ในสถานประกอบการ พจิ ารณาขอ้ เสนอของผเู้ สนอขายหลาย ๆ ราย สัง่ ซอ้ื เครอื่ งจกั ร อปุ กรณ์ เครือ่ งมอื วัตถดุ บิ ชิน้ สว่ นตา่ ง ๆ ของอปุ กรณ์ ส่งิ ของ เครื่องใช้ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำงานขององค์การ ซ่ึงรวมถึงการ ตรวจสอบผลติ ภณั ฑ์ ราคา ผเู้ สนอขาย การทำ� สญั ญา ควบคมุ การ รบั สนิ คา้ เกบ็ รกั ษา และตดิ ตามและตรวจสอบคณุ ภาพของสนิ คา้ ลกั ษณะของงานทที่ ำ� 1. ตรวจสอบความตอ้ งการของผ้ใู ชใ้ นสถานประกอบการ 2. สอบถามผู้เสนอขายสินค้าเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ราคา ความสามารถของผู้เสนอขายสินค้าที่จะจัดหา สนิ คา้ ให้การใหบ้ รกิ ารและการสง่ มอบให้ตรงตามก�ำหนดเวลา 3. พจิ ารณาขอ้ เสนอของผู้เสนอขายหลาย ๆ ราย โดยค�ำนึงถงึ คุณภาพ ปรมิ าณ ราคา และกำ� หนดเวลา การสง่ มอบของ 473 4. ท�ำสญั ญากับผ้เู สนอขาย ซงึ่ เสนอราคาภายในวงเงนิ งบประมาณท่กี ำ� หนด 5. ควบคมุ การรบั สินคา้ ใหเ้ ป็นไปตามคุณภาพ ปริมาณ ราคา และก�ำหนดเวลาการส่งมอบ 6. เก็บรกั ษาสนิ ค้าท่ีซ้ือไว้สำ� หรับแจกจ่ายแก่ผใู้ ช้ 7. คอยติดตามและตรวจสอบคุณภาพของสินค้าที่ซ้ือไว้กับผู้ใช้ เพื่อค้นหาสาเหตุท่ีการใช้สินค้าไม่ให้ผลดี เทา่ ทค่ี วร และหาทางแก้ไขให้ดีข้นึ 8. ท�ำบันทกึ รายการตา่ ง ๆ 9. อาจควบคมุ รายการสินคา้ ทผ่ี ู้ใชร้ บั ไวแ้ ละใช้ไป 10. อาจจา่ ยเงนิ คา่ ซ้อื สินคา้ หรืออนมุ ัติใบเกบ็ เงนิ 11. อาจติดตามการสั่งซ้ือเพ่ือประกันการส่งมอบให้ตรงตามวันเวลาที่ก�ำหนด ท�ำหน้าที่ส่ังซ้ือเคร่ืองจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ วัตถุดิบ ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของอุปกรณ์ สิ่งของ เคร่ืองใช้ที่จ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำงานขององค์การ ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ ราคา ผู้เสนอขาย การท�ำสัญญา ควบคุมการรับสินค้า เก็บรักษา ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพของสนิ ค้า สภาพการจ้างงาน ผ้ปู ฏิบตั งิ านอาชีพนี้ ส�ำเร็จการศกึ ษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จนถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรี ในคณะ บริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง สามารถปฏิบัติงานในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ในส่วนของราชการจะได้รับ

ท20ตี่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน เงินเดือนระดับ ปวช. เดือนละ 9,500 บาท ปวส. 11,000 บาท และปริญญาตรี 16,200 บาท ได้รับสวัสดิการ Department of Employment และเบยี้ เลยี้ งตามระเบยี บสำ� นกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น สว่ นการทำ� งานในรฐั วสิ าหกจิ จะไดร้ บั เงนิ เดอื น เดือนละประมาณ 15,000 - 19,500 บาท สวัสดิการ และเบ้ียเลี้ยงเป็นไปตามระเบียบและเงื่อนไขการจ้างของ องค์กร ส่วนผู้ที่ประกอบอาชีพนี้ในภาคเอกชน จะได้รับค�ำตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีระดับเร่ิมต้นในระดับ ปวช. และ ปวส. ประมาณ 11,000 - 15,000 บาท สว่ นระดบั ปรญิ ญาตรีประมาณ 16,200 - 19,500 บาท สวัสดกิ าร ตา่ ง ๆ คา่ รักษาพยาบาล และโบนสั เป็นไปตามเงือ่ นไขขอ้ ตกลงกบั ผ้วู ่าจา้ ง ท�ำงานวันละ 8 - 9 ชวั่ โมง อาจทำ� งาน ลว่ งเวลา วันเสาร์ วนั อาทิตย์ และวันหยดุ ตามความจำ� เป็น สภาพการทำ� งาน ผปู้ ระกอบอาชพี น้ี จะปฏบิ ตั งิ านในสำ� นกั งานเกอื บทง้ั หมด ตอ้ งใชท้ กั ษะในการสอื่ สารบางกรณตี อ้ งสามารถ สอ่ื สารดว้ ยภาษาสากล ใชเ้ ครอ่ื งใชส้ ำ� นกั งาน ใชค้ อมพวิ เตอร์ และโปรแกรมสำ� เรจ็ รปู ทางการเงนิ ตอ้ งมคี วามละเอยี ด รอบคอบในการท�ำงานสงู สิง่ จ�ำเปน็ สำ� หรบั การท�ำงานท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพส�ำหรับผทู้ ่ีตอ้ งการประกอบอาชีพนี้ คอื ควร พฒั นาทกั ษะในการใชค้ อมพวิ เตอร์ และซอฟตแ์ วรท์ เี่ กย่ี วขอ้ ง (Skill in Using Computer and Related Software) โอกาสในการมีงานท�ำ ตัวแทนจัดซ้ือเป็นอาชีพที่มีความจ�ำเป็นท้ังในหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และสถานประกอบการภาค เอกชนตา่ ง ๆ ในทุกอตุ สาหกรรม จึงเปน็ ทตี่ อ้ งการของตลาดแรงงานเสมอ ผทู้ ี่มคี วามสามารถในการใช้คอมพวิ เตอร์ หรือซอฟต์แวร์เก่ียวกับการจดั การดา้ นส�ำนกั งานได้เปน็ อย่างดี ก็จะมโี อกาสในการท�ำงานมาก 474 คณุ สมบัตขิ องผู้ประกอบอาชพี 1. สำ� เร็จการศึกษาในระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) จนถึงระดบั ปริญญาตรี คณะบรหิ ารธรุ กจิ 2. มนษุ ยสมั พันธ์ดี สามารถท�ำงานเป็นทมี ได้ 3. ละเอียด รอบคอบ มคี วามจำ� ดี คล่องแคล่ว ว่องไว ชา่ งสงั เกต มคี วามอดทน 4. ขยันหมัน่ เพียร มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ งาน และมีความคดิ สร้างสรรค์ 5. มีเจตคติทด่ี ีต่องานอาชีพ ซือ่ สัตย์สจุ ริต มีระเบยี บวินยั 6. ทักษะในการติดตอ่ ส่ือสารอยู่ในเกณฑ์ดี สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา แผนกบริหารธุรกิจ (วิชาการจัดการธุรกิจ) ในสถาบันการศึกษาที่สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษา อาทิ - วิทยาลัยพณิชยการบางนา เว็บไซต์ www.bncc.th.edu โทรศัพท์ 0-2393-7292, 0-2393-0614 - วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเชียงใหม่ เวบ็ ไซต์ www.cmvc.ac.th/cmvc/main.asp โทรศัพท์ 0-5322-1493, 0-5341-6203 - วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาพษิ ณุโลก เวบ็ ไซต์ www.plvc.ac.th โทรศพั ท์ 0-5525-8570 คณะบรหิ ารธรุ กจิ สาขาการบรหิ ารจดั การ หรอื สาขาอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในสถาบนั การศกึ ษาทส่ี งั กดั สำ� นกั งาน คณะกรรมการการอดุ มศึกษา อาทิ

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เวบ็ ไซต์ www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศพั ท์ 0-2215-0871-3 กรมการ ัจดหางาน - มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เว็บไซต์ www.ku.ac.th โทรศัพท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 Department of Employment - มหาวิทยาลัยขอนแกน่ เว็บไซต์ www.kku.ac.th โทรศัพท์ 0-4320-2222, 0-4320-3333 - มหาวทิ ยาลยั รามค�ำแหง www.ru.ac.th โทรศัพท์ 0-2310-8000 - มหาวิทยาลัยทกั ษณิ เว็บไซต์ www.tsu.ac.th โทรศพั ท์ 0-7431-1885-7 - คณะบรหิ ารธุรกจิ สาขาการบรหิ ารจัดการ หรือสาขาอ่ืน ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล เวบ็ ไซต์ www.rmut.ac.th โทรศัพท์ 0-2549-4990-2 คณะบริหารธุรกิจ สาขาการบริหารจัดการ หรือสาขาอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ในมหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแห่ง ท่ีเปดิ สอน อาทิ - มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต เว็บไซต์ www.dusit.ac.th โทรศัพท์ 0-2668-7125-35 - มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม เวบ็ ไซต์ www.chandra.ac.th โทรศัพท์ 0-2942-6900 - มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา เวบ็ ไซต์ www.riss.ac.th โทรศพั ท์ 0-2243-2240-7 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ผู้ทรี่ ับราชการหรอื เปน็ พนกั งานรฐั วิสาหกจิ จะเลอ่ื นขัน้ เลอ่ื นตำ� แหน่งตามกฎระเบียบท่ีวางไว้ ส่วนงานภาค เอกชน เมอ่ื มีความสามารถ ความชำ� นาญ และระยะเวลาในการท�ำงานเพม่ิ ขึ้นกจ็ ะได้เล่ือนตำ� แหน่งและเงินเดือนสูง ข้ึน อาจได้รับการเล่ือนต�ำแหน่งจนถึงระดับผู้ตรวจสอบคุณภาพ หรือฝ่ายตรวจสอบ ผู้ที่คิดจะประกอบอาชีพน้ี เพ่อื ความก้าวหน้าท่ีรวดเรว็ ควรศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปริญญาโท คณะบริหารธรุ กิจ หรอื สาขาอ่ืน ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องเพ่อื ให้ การเลื่อนข้ันหรือเลื่อนต�ำแหน่งเป็นไปอย่างรวดเร็ว และเมื่อมีประสบการณ์มากย่ิงขึ้นอาจจะได้เล่ือนต�ำแหน่งขึ้นสู่ ระดบั ผูช้ ว่ ยผ้จู ัดการหรือผู้จัดการฝา่ ยจัดซือ้ ผจู้ ดั การฝา่ ยธรุ การ ผูจ้ ัดการฝ่ายบญั ชี หรือผู้จัดการฝ่ายการเงนิ 475 อาชีพทเี่ กีย่ วเนอ่ื ง นกั บญั ชี นักการเงิน นกั การตลาด พนกั งานบันทกึ ขอ้ มลู พนักงานธรุ การ แหลง่ ขอ้ มูลอืน่ ๆ - สมาคมไทยโลจสิ ตกิ สแ์ ละการผลติ เวบ็ ไซต์ www.tlaps.or.th โทรศัพท์ 0-2512-0488 - สำ� นกั มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวชิ าชพี เวบ็ ไซต์ www.moe.go.th โทรศพั ท์ 0-2281-5555, 0-2280- 5696 - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา เว็บไซต์ www.mua.go.th โทรศพั ท์ 0-2610-5200 - สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย เว็บไซต์ www.marketingthai.or.th/ โทรศพั ท์ 0-2679-7360-3 - สมาคมนักบริหารพัสดุแห่งประเทศไทย เวบ็ ไซต์ www.cmatthai.net โทรศพั ท์ 0-2244-8802-3

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักบิน Pilot นิยามอาชพี บังคับอากาศยานท่ีใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร ไปรษณียภัณฑ์ หรือสินค้า: ควบคุมอากาศยานซึ่งท�ำการบินในเที่ยวบินตามตาราง หรือ ในเท่ียวบนิ เชา่ เหมา; ศึกษาสภาพอากาศ ณ สนามบนิ , เสน้ ทางบิน บรรยาย สรุปแก่ลูกเรือ; เฝ้าตรวจสอบเครื่องมือ เคร่ืองวัดท่ีใช้ควบคุมอากาศยาน; ตรวจความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนกับเคร่ืองยนต์หรืออุปกรณ์หรือเคร่ืองมือต่าง ๆ ทช่ี ว่ ยในการบนิ และควบคมุ เสน้ ทางบนิ ; อาจเปน็ ผคู้ วบคมุ อากาศยาน (กปั ตนั ) ซ่ึงรับผิดชอบลูกเรือทั้งหมด หรือเป็นนักบินผู้ช่วย ซึ่งท�ำการบินภายใต้ ความรับผดิ ชอบของผู้ควบคมุ อากาศยาน (กัปตนั ) ลักษณะของงานทท่ี �ำ 1. กำ� หนดตารางการบินในแต่ละเดอื นว่าเราจะบนิ ทไ่ี หนบ้าง เวลาใดบ้าง 2. ตรวจสภาพเครอ่ื งทั้งภายนอกและภายในของเครื่องบนิ ว่าพรอ้ มทีจ่ ะบินหรอื ไม่ 3. เตรียมพรอ้ มทจ่ี ะบิน รวมทัง้ เร่มิ ตดิ ต่อกับหนว่ ยควบคุมการบนิ ท้งั ในและตา่ งประเทศ 4. บนิ ตามแผนการเดนิ ทางท่ีเราได้วางไวจ้ นถงึ จุดหมายปลายทาง 476 5. ขบั เครอ่ื งบนิ ทีใ่ ชใ้ นการขนส่งผโู้ ดยสาร ไปรษณียภัณฑ์ หรือสนิ คา้ 6. ควบคุมอากาศยานใหอ้ ยู่ในเส้นทาง ซ่งึ ทำ� การบนิ ประจำ� หรอื ในเทีย่ วบนิ เช่าเหมา 7. สงั เกตเครื่องวัดมเิ ตอร์ และเครื่องวัดประกอบการบนิ อ่นื ๆ ท่ีใช้ควบคมุ อากาศยาน 8. ตรวจความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนกับเครื่องยนต์ ใช้เครื่องช่วยในการเดินอากาศควบคุมเส้นทางบินของ อากาศยาน 9. อาจเปน็ ผคู้ วบคมุ อากาศยาน และรบั ผดิ ชอบในลกู เรอื ทง้ั หมด หรอื เปน็ นกั บนิ ผชู้ ว่ ย และอาจทำ� การบนิ ภายใตก้ ารควบคุมของผู้ควบคมุ อากาศยาน 10. แล้วแต่ว่าเราตอ้ งออกเดนิ ทางกโ่ี มง มีระยะทางในการบินเท่าไรใช้เวลากี่ชัว่ โมง ถ้าเป็นระยะทางทไ่ี กล ต้องใช้เวลานาน ก็จะมีการผลัดเปลี่ยนเวรกันไปพัก เมื่อถึงท่ีหมายแล้วก็จะได้ไปพักหรือเท่ียวบ้าง ก็จะแล้วแต่คน ส่วนใหญ่จะไดพ้ กั หน่งึ คืนทีป่ ระเทศน้ัน ๆ แล้วจงึ บินกลบั สภาพการจ้างงาน ผทู้ ท่ี �ำงานในหนว่ ยงานราชการจะไดเ้ งนิ เดอื นตามวฒุ กิ ารศกึ ษา และมเี งนิ พเิ ศษคา่ เทยี่ วบนิ อกี ตา่ งหาก และ สำ� หรบั ผู้ท่ีท�ำงานในบรษิ ัทสายการบนิ ของเอกชน ยอ่ มข้ึนอยู่กับสัญญาทต่ี กลงไวก้ ับทางบริษทั โดยรายไดข้ ัน้ ตำ่� ของ นักบินที่บินภายในประเทศจะได้รับเป็นเงินเดือนประมาณ 28,000 - 30,000 บาทต่อเดือน โดยมีค่าเบ้ียเลี้ยง การเดนิ ทาง ขน้ึ อยกู่ บั เสน้ ทางและคา่ ครองชพี แตล่ ะโซน แตล่ ะประเทศ โบนสั ขนึ้ อยกู่ บั ผลประกอบการ โดยมเี งอื่ นไข การจ้างจะต้องตรวจเช็ก และต่อใบอนุญาตขับขเ่ี คร่ืองบนิ ทกุ 1 ปี และเกษยี ณอายทุ ่ี 60 ปี

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment อาชีพนักบินมีช่ัวโมงการท�ำงานแตกต่างจากอาชีพอ่ืนทั่วไป นักบินที่ต้องขับเคร่ืองบินนอกประเทศ อาจจะต้องขับเคร่ืองบินในเส้นทางที่ใช้เวลานานมากกว่า 10 ช่ัวโมง และต้องมีสุขภาพแข็งแรง โดยท่ัวไป ผู้ประกอบอาชพี นักบนิ จะต้องตรวจสุขภาพและจติ เวชประจำ� ทกุ ปตี ามเง่ือนไขและระเบยี บการบิน สภาพการทำ� งาน นกั บนิ จะใชเ้ วลาการทำ� งานตามกฎหมายแรงงานและกฎของสถาบนั อากาศยานโลก นกั บนิ จำ� เปน็ ตอ้ งทำ� งาน ในอากาศบนท่ีสูง แต่เดิมเครื่องบินได้ออกแบบโดยให้เคร่ืองยนต์บังคับการบิน ท�ำให้อาชีพนักบินเป็นอาชีพท่ีเส่ียง ต่ออันตรายอาชีพหน่ึง ในปัจจุบันได้ออกแบบเครื่องบินให้ทุกอย่างควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และมีระบบควบคุม การบนิ ท่ปี ลอดภัย ทำ� ให้อัตราการเสยี่ งในปญั หาเคร่ืองยนต์ลดลง ในการเดินทาง นักบินจะทราบตารางการเดินทางล่วงหน้าเป็นเวลา 1 เดือน นักบินต้องรับผิดชอบชีวิต ผโู้ ดยสารในระหวา่ งทำ� การบนิ อตั ราการเสยี่ งจะสงู มากเมอ่ื อยรู่ ะหวา่ งการบนิ หรอื การบนิ ขน้ึ และลงในสภาพอากาศ ทไ่ี มป่ กติ รวมทัง้ การทีต่ ้องขับเครือ่ งบินในเสน้ ทางระยะยาวใช้เวลานาน อาจจะท�ำให้นักบนิ มคี วามเครียดและความ เม่ือยล้าจากการบินได้ ในระหว่างการบินระยะยาว นักบินมีโอกาสพักผ่อนเป็นคร้ังคราว เนื่องจากมีผู้ช่วย นักบนิ ปฏิบตั ิงานร่วมด้วยอยา่ งนอ้ ย 1 คน โอกาสในการมงี านท�ำ อาชีพนักบินเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความน่าสนใจมาก เพราะในปัจจุบันด้านการบินก�ำลังเคล่ือนตัวไปได้ดี และก็มีการแข่งขันกันสูงขึ้น เร่ืองเงินเดือนจะค่อนข้างสูงเพราะต้องมีความเส่ียงเรื่องของการรักษาชีวิตผู้โดยสาร การท�ำงานของนักบินหรือพนักงานต้อนรับบนเคร่ืองบิน รวมไปจนถึงผู้ท่ีท�ำงานในวงการการบิน เช่น เจ้าหน้าท่ี ควบคมุ จราจรทางอากาศ ชา่ งซอ่ มบำ� รงุ วศิ วกร ตา่ ง ๆ นน้ั จรงิ ๆ ทพี่ วกเขาไดค้ า่ ตอบแทนทส่ี งู นนั้ เพราะตอ้ งทำ� งาน ที่เสยี่ งภยั ตลอดเวลา ต้องทำ� งานให้มโี อกาสผิดพลาดนอ้ ยท่ีสดุ หรอื จนแทบจะไมใ่ ห้เกิดขึ้นได้เลย ดังน้นั กต็ ้องเผชิญ 477 กับความเครียดและความกดดนั อยตู่ ลอดเวลาและตอ้ งมีสขุ ภาพรา่ งกายท่แี ข็งแรงเพ่อื พรอ้ มท�ำงานอย่ตู ลอดเวลา คุณสมบตั ขิ องผ้ปู ระกอบอาชพี 1. คนท่ีมีกระบวนการคิดที่ดีในการแก้ไขปัญหาน้ัน มักจะเป็นคนที่รู้จักใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ส่วน ผสมผสานกนั ไดอ้ ยา่ งสอดคลอ้ งและกลมกลนื สง่ ผลใหส้ มองสามารถสงั่ การไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เมอ่ื มกี ระบวนการ คิดทดี่ ี กจ็ ะสามารถนำ� ไปสูก่ ารตัดสนิ ใจท่ีดีได้ 2. การต้องแยกความแตกต่างให้เป็น มองและจ�ำในลักษณะเด่นเฉพาะหรือรู้จัก จัดแบ่งให้เป็นหมวดหมู่ หรอื กลุ่มกอ้ น 3. พยายามฝึกฝนการท�ำงานท่ีอยู่ภายใต้ภาวะความกดดัน และบริหารความเหนื่อยล้าที่เกิดข้ึนให้ได้ มงุ่ ไปสู่การรบั ร้แู ละการตัดสินใจที่ดตี ่อไป 4. สามารถจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของขอ้ มลู ได้ มขี อ้ มลู อนั ไหนบา้ งทไี่ มส่ ำ� คญั แตก่ ไ็ มต่ ดั ทงิ้ ไป นกั บนิ ทม่ี ที กั ษะ การตัดสินใจที่ดีมักจะเป็นคนที่มีฐานความรู้แน่น รวบรวมข้อมูลที่เก่ง และรู้จักเปลี่ยนแปลงการรับรู้ข้อมูลไปสู่ การตัดสินใจอยา่ งเป็นระบบรวดเรว็ และรอบคอบ 5. เปิดใจกว้าง อย่าให้มีทัศนคติเป็นคนชอบต่อต้านหรือไม่ยอมรับรู้ส่ิงใหม่ ๆ เปล่ียนนิสัยหรือทัศนคติ ปรับอารมณ์ และมีความรอบคอบมากขึ้น 6. ไม่ประมาทหรือลดความเส่ียงลง ตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงตามการวิเคราะห์ประเมิน สถานการณ์เพอื่ หาทางออกโดยไม่ใช้อารมณห์ รอื ความร้สู กึ เขา้ ข้างตวั เอง ตอ้ งค�ำนึงถึงความปลอดภยั เป็นส�ำคัญ 7. หมั่นพยายามปลูกจิตส�ำนกึ ตวั เองในเรื่องความปลอดภยั ใหม้ าก ๆ

ท20ีต่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา Department of Employment - โรงเรียนการบนิ กรงุ เทพ เว็บไซต์ www.bangkokflying.com โทรศพั ท์ 02-900-4644 - โรงเรยี นการบิน (กองทพั อากาศ) เวบ็ ไซต์ www.fts.rtaf.mi.th - โรงเรียนการบินทหารบก เว็บไซต์ www.aavnc-school.com/ - โรงเรยี นการบิน กรมการบินพลเรอื น เวบ็ ไซต์ www.aviation.go.th/ - วิทยาลยั การบินนานาชาติ มหาวิทยาลยั นครพนม เว็บไซต์ http://iac.npu.ac.th/ - สถาบนั การบนิ พลเรือน เวบ็ ไซต์ www.catc.or.th/ โทรศพั ท์ 0-2272-5741-4 - International Aviation College (IAC) เวบ็ ไซต์ http://iac.npu.ac.th โทรศพั ท์ 0-4253-1575-77, 08-6327-7271 โทรสาร 0-4253-1574 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี เป้าหมายสูงสุดในอาชีพนักบิน คือ โอกาสความก้าวหน้าในต�ำแหน่งกัปตันซ่ึงเป็นต�ำแหน่งสูงสุด และจะมักเป็นที่ต้องการของสายการบินอื่น ๆ เน่ืองจากมีประสบการณ์ในการบินมามาก อาชีพนักบินจะเริ่มต้น การท�ำงานเป็นนักบินที่ 3 หรือต้นหน System Operator (ส�ำหรับเครื่องบินขนาดเล็ก 737 / 747 ซึ่งปัจจุบัน เครื่องบินรุ่นใหม่ไม่ใช้นักบินท่ี 3 หรือต้นหน) และใช้เวลาปฏิบัติงานประมาณ 4 ปีจึงจะได้เป็นนักบินท่ี 2 หรือ Co-pilot และนักบินที่ 2 ตอ้ งมคี วามชำ� นาญประมาณ 8 ปี จึงเป็นกัปตันหรือนักบนิ ท่ี 1 ได้ ทั้งนี้ ต้องมีสุขภาพท่ีแข็งแรง และผ่านการตรวจร่างกายและทดสอบทางจิตเวชทุกปี และส�ำหรับนักบิน ทม่ี ปี ระสบการณ์ และไดร้ บั การอบรมจนเชย่ี วชาญ และมคี วามสามารถในการสอน กส็ ามารถเปน็ ผสู้ อนนกั บนิ ฝกึ หดั หรือนักบินที่มีความสามารถในการบริหารงานสามารถท่ีจะเลื่อนต�ำแหน่งขึ้นเป็นผู้บริหารในหน่วยงานหรือ องค์กรน้นั ได้ 478 ผปู้ ระกอบอาชพี “นกั บนิ ” จะมโี อกาสกา้ วหนา้ อยา่ งยง่ิ ในดา้ นเงนิ เดอื นทไ่ี ดร้ บั เพม่ิ โดยเฉพาะความสามารถ และความชำ� นาญในการบนิ จะเปน็ เครอื่ งวดั ความกา้ วหนา้ ของนกั บนิ นน้ั ๆ ผเู้ ปน็ นกั บนิ ในหนว่ ยงานของทางราชการ หรือองคก์ ารต่าง ๆ นอกจากจะไดร้ ับเงนิ เดอื นตามปกติแลว้ ยังได้รบั เงนิ พเิ ศษจากการบนิ ด้วย นอกจากนี้ นกั บนิ ยังมโี อกาสได้ท่องเท่ยี วไปในประเทศตา่ ง ๆ ท่ัวโลก และนับวา่ เป็นอาชีพทม่ี ีเกียรตอิ าชีพ หนึ่งของสังคม อาชพี ทีเ่ ก่ยี วเน่ือง นักบินกองทัพ นักบินส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ นักบินสายการบินต่างประเทศ เจ้าหน้าท่ีควบคุมจราจร ทางอากาศ ชา่ งซอ่ มบำ� รงุ วิศวกรต่าง ๆ แหลง่ ข้อมูลอ่นื ๆ - เว็บไซต์ www.thaipilottraining.com/

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นายประจำ� เรือฝา่ ยเดินเรือ Assistant Chief Ofifffii cer, Ship นิยามอาชพี ทำ� หนา้ ทใ่ี นการนำ� เรอื / เดนิ เรอื ตามคำ� สง่ั โดยใชเ้ รดาร์ เขม็ ทศิ แผนที่ และเครื่องช่วยการเดินเรืออื่น ๆ : จัดระเบียบและวิธีการใช้ เคร่อื งมอื สือ่ สารทุกประเภท รวมทงั้ ดแู ลอปุ กรณ์ ความปลอดภัยและ ควบคุมดแู ลเจา้ หน้าท่แี ผนกส่ือสารและคนประจำ� เรอื ลักษณะของงานท่ที ำ� 1. ชว่ ยเหลือตน้ เรอื ตามที่ได้รบั มอบหมาย 2. รับผิดชอบโดยตรงในด้านการเดนิ เรอื 3. เตรียมเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ในการเดินเรือ และเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการเดินเรือให้พร้อมอยู่เสมอ ท่ีจะใชง้ านไดต้ ลอดเวลา 4. ศกึ ษาและกำ� หนดเส้นทางเดนิ เรือทีส่ ะดวก รวดเรว็ และปลอดภัยท่ีสดุ เสนอผ้บู ังคับการเรอื /ผคู้ วบคุม เรือ เพ่ือตกลงใจในการเดินเรือแตล่ ะครงั้ 5. ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอี่ ยบู่ นสะพานเดนิ เรอื ตลอดเวลา ในขณะทเ่ี รอื เขา้ พน้ื ทอ่ี นั ตรายและตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั ในการเดนิ เรอื 479 6. รับผิดชอบ ควบคุมการจดั ทำ� ปูมเรือ (เปน็ สมดุ ส�ำหรบั บันทกึ เหตกุ ารณ์ และรายละเอียดตา่ ง ๆ ในการ เดินเรอื ) และเอกสารอนื่ ๆ ตรงกับความเปน็ จรงิ 7. รบั ผดิ ชอบในเร่อื งสญั ญาณตา่ ง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การเดนิ เรือ สภาพการจ้างงาน ผปู้ ฏิบัตงิ านอาชพี นี้ จะตอ้ งสำ� เรจ็ การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาการเดนิ เรือ ได้รับประกาศนยี บตั ร ผ้ทู �ำการในเรอื จากกรมการขนสง่ ทางน้�ำและพาณิชย์นาวี (ชาวเรือเรียกวา่ ตวั๋ ) ในระดับกปั ตนั เรือ สามารถปฏิบัติ งานในหนว่ ยงานราชการ (กรมการขนสง่ ทางนำ�้ ) รฐั วสิ าหกจิ (การทำ� เรอื แหง่ ประเทศไทย) หรอื ภาคเอกชน ในบรษิ ทั เดนิ เรอื โดยจะไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ ทำ� หนา้ ทใ่ี นการนำ� เรอื /เดนิ เรอื ตามคำ� สง่ั โดยใชเ้ รดาร์ เขม็ ทศิ แผนที่ และเครอื่ ง ชว่ ยการเดินเรืออ่นื ๆ จัดระเบยี บและวิธกี ารใชเ้ คร่อื งมือสือ่ สารทกุ ประเภท รวมท้งั ดูแลอปุ กรณค์ วามปลอดภยั และ ควบคุมดูแลเจ้าหน้าที่แผนกสื่อสารและคนประจ�ำเรือ เงินเดือนท่ีระดับเร่ิมต้นการท�ำงาน ในภาคเอกชนประมาณ 40,000 - 60,000 บาท ราชการประมาณ 35,000 - 40,000 บาท และรัฐวิสาหกิจประมาณ 35,000 - 40,000 บาท อัตราเงินเดือนของผู้ประกอบอาชีพน้ีในภาคเอกชนขึ้นอยู่กับประสบการณ์ ความสามารถ และความช�ำนาญงาน อาจได้รับค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือ สวัสดิการอ่ืน ๆ เงินโบนสั เคร่อื งมือเครื่องใช้และอุปกรณใ์ นการท�ำงานเป็นต้น ผู้ปฏบิ ตั งิ านอาชพี น้ีจะต้องทำ� งานอยภู่ ายในเรอื เป็น ระยะเวลานาน และมเี วลาทำ� งานทีไ่ มแ่ น่นอน

2ท0ี่ต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment ทำ� งานอยภู่ ายในเรอื ซงึ่ คบั แคบและมคี วามเสย่ี งภยั สงู จะต้องเป็นคนท่ีมีระเบียบวินัย และมีความอดทน ต้องมี รา่ งกายแขง็ แรง และตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั ในการทำ� งาน ควร มเี ครอ่ื งปอ้ งกนั สายตาเวลาออกทะเล โดยเฉพาะเวลากลางวนั แสงแดดจะกระทบพ้ืนทะเลเข้าตา จะเป็นอันตรายมาก ต่อสายตา โอกาสในการมงี านทำ� ปัจจุบนั ความตอ้ งการบุคลากรดา้ นการเดินเรอื มสี งู มาก เน่อื งจากมีอายุงานค่อนข้างส้นั ทำ� ใหบ้ คุ ลากรด้าน การเดินเรือขาดแคลนอย่างมาก ไม่ใช่แต่ในประเทศไทย แต่ยงั รวมถึงท่ัวโลก เพราะในปจั จบุ ัน ต่างประเทศมาลงทุน สร้างฐานผลิตในประเทศไทยเพ่มิ มากข้ึน คณุ สมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรี สาขาวทิ ยาการเดินเรอื 2. ได้รับประกาศนียบัตรผู้ท�ำการในเรือจากกรมการขนส่งทางน้�ำและพาณิชย์นาวี (ชาวเรือเรียกว่า ตั๋ว) ในระดบั ต้นหน 3. ผ้ทู ีจ่ ะประกอบอาชพี น้ีจะตอ้ งเปน็ เพศชาย 4. สามารถใช้ภาษาองั กฤษได้ดี 5. อดทน และมีระเบียบวนิ ัย 480 6. มคี วามเปน็ ผู้นำ� 7. สามารถแกป้ ญั หาเฉพาะหน้าไดด้ ี 8. ความสงู ไมต่ ำ่� กวา่ 160 เซนติเมตร 9. สายตาปกติและตาไมบ่ อดสี 10. สามารถวา่ ยนำ้� ไดเ้ ป็นอย่างดี 11. สขุ ภาพแขง็ แรง สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา - โรงเรียนเดนิ เรือสากล อาคารวภิ ากร เลขที่ 1122 หมูท่ ่ี 6 ซ.เทศบาลบางปู 10 ถนนทา้ ยบ้าน ตำ� บลทา้ ย บา้ น อำ� เภอเมือง จังหวดั สมุทรปราการ 10280 โทรศัพท์ 0-2703-3232, 0-2703-3233 อเี มล [email protected] เวบ็ ไซต์ www: ims.ac.th - ศูนยฝ์ ึกพาณิชยน์ าวี กรมเจา้ ท่า กระทรวงคมนาคม 120 หมู่ 7 ซอยเทศบาล 6 (บางนางเกรง) ถนนสขุ ุมวิท ตำ� บลบางดว้ น อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดสมทุ รปราการ 10270 โทรศัพท์ 0-2756-4971-80 โทรสาร 0-2384-7063 - โรงเรยี นนกั เดนิ เรือ MES เลขที่ 14/25 ซอยชื่นประชา ถนนประชาชืน่ แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2911-9884, 09-3981-7179 อเี มล [email protected] และ [email protected] วทิ ยาลัยเทคโนโลยที างทะเลแหง่ เอเชีย เลขที่ 79/4 หมู่ 4 ตำ� บลบึง อำ� เภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบุรี 20230 โทรศพั ท์ 0-3804-2049 เว็บไซต์ www.amcol.ac.th

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผู้ท่ีประกอบอาชีพน้ีเม่ือมีความรู้ความช�ำนาญและมีประสบการณ์ในการท�ำงานมากข้ึนสามารถไปสอบ ประกาศนียบัตรผู้ท�ำการในเรือ เพ่ือเลื่อนต�ำแหน่ง จากกรมการขนส่งทางน้�ำและพาณิชย์นาวี ในต�ำแหน่งต้นเรือ และเม่ือมีอายุการท�ำงานมากขึ้น ประมาณ 5 – 10 ปี ก็สามารถไปสอบประกาศนียบัตรผู้ท�ำการในเรือต�ำแหน่ง กัปตันเรือได้ อาชพี ทีเ่ กี่ยวเนื่อง ฝ่ายปฏิบัติการ ฝ่ายคนประจ�ำเรือ รับราชการในกรมการขนส่งทางน�้ำ และพาณิชย์นาวี กรมประมงใน ต�ำแหน่งนกั เดนิ เรอื 5 ทปี่ รกึ ษาด้านการเดินเรือ แหล่งขอ้ มลู อน่ื ๆ - สภาผสู้ ง่ สนิ คา้ ทางเรอื แห่งประเทศไทย เว็บไซต์ www.tnsc.com โทรศพั ท์ 0-2679-7555 - การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) เว็บไซต์ www.port.co.th/ โทรศพั ท์ 0-2269-3000 - สมาคมไทยโลจสิ ติกสแ์ ละการผลิต เว็บไซต์ www.tlaps.or.th โทรศพั ท์ 0-2512-0488 - บรษิ ัท ไทยเดินเรือทะเล จ�ำกัด เวบ็ ไซต์ www.tmn.co.th โทรศพั ท์ 0-2672-8690 - บรษิ ัท อกู่ รงุ เทพ จำ� กดั เวบ็ ไซต์ www.bangkokdock.com โทรศพั ท์ 0-2211-3040 481

กรมการ ัจดหางาน ท20ี่ต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผจู้ ัดการฝ่ายอตุ สาหกรรมสมั พันธ์ Department Manager, Industrial Relation นิยามอาชีพ วางแผน ก�ำกับดูแล และประสานงาน ด้านนโยบายเก่ียวกับงานอุตสาหกรรมสัมพันธ์ : ควบคมุ ดแู ลงานดา้ นความปลอดภยั ในการทำ� งาน ขององค์กร ประสานงานและปรึกษาหารือกับ ลูกจ้างเพื่อวางกรอบด้านแรงงานสัมพันธ์ ช่วยก�ำหนดวิธีการเสนอข้อข้องใจหรือข้อร้อง ทุกข์; ท�ำการไกล่เกลี่ยและระงับข้อพิพาทและ ข้อร้องทกุ ขท์ ี่เกิดขึ้นภายในองค์กร ลักษณะของงานที่ทำ� 1. ให้คำ� ปรกึ ษา รับฟงั ปัญหา รบั ฟังขอ้ เสนอแนะ รับขอ้ ร้องเรยี น และจัดอบรมสมั มนา 2. เป็นส่ือกลางระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ประชาสัมพันธ์ส่ิงต่างๆ ให้กับพนักงานรับทราบเกี่ยวกับ ความเป็นไปของบริษทั ฯ สรุปข้อรอ้ งเรยี น ขอ้ เสนอแนะ 482 3. สรุปสถติ ิพนักงานลาออก 4. ไกลเ่ กลยี่ และระงบั ขอ้ พพิ าททเี่ กดิ ขน้ึ ภายในองคก์ ร รบั ผดิ ชอบดแู ลโครงการตา่ ง ๆ ในองคก์ ร มสี ว่ นรว่ ม ทกุ ๆ กจิ กรรมของบรษิ ทั สภาพการจ้างงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ี ควรส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีข้ึนไป ในคณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรม สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ หรือสาขาท่ีเก่ียวข้อง สามารถท�ำงานในหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ มีอัตราเงินเดือนประมาณ 30,000 - 40,000 บาท ได้รับสวัสดิการและเบ้ียเล้ียงตามระเบียบและ เง่ือนไขการจ้างงานของแต่ละองคก์ ร ส�ำหรับผู้ที่ประกอบอาชีพน้ีในภาคเอกชน จะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนที่ระดับเร่ิมต้นการท�ำงาน ประมาณ 30,000 - 45,000 บาท สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเงื่อนไขข้อตกลง กบั ผวู้ า่ จ้างท�ำงานวนั ละ 8 ชั่วโมง อาจทำ� งานลว่ งเวลา วันเสาร์ วันอาทติ ย์ และวันหยุดตามความจ�ำเปน็ เร่งดว่ น สภาพการท�ำงาน ผปู้ ฏิบตั ิงานอาชพี น้ีจะปฏบิ ัติงานในสถานทท่ี ำ� งานเป็นสว่ นใหญ่ มรี ะบบข้อมลู และเครอื ขา่ ยในการเกบ็ ข้อมูลของ พนกั งานดว้ ยเทคโนโลยที ท่ี นั สมยั และอาจจะตอ้ งออกไปตรวจเยยี่ มพนกั งานในหนว่ ยงานภายใตเ้ ครอื ขา่ ยขององคก์ ร ทำ� งานรว่ มกบั ผูใ้ ต้บงั คับบญั ชา คอื เจ้าหน้าที่อตุ สาหกรรมสัมพันธ์

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมีงานท�ำ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ปจั จบุ นั งานบรหิ ารฝา่ ยอตุ สาหกรรมสมั พนั ธเ์ ปน็ งานทมี่ กี ระแสการเปลยี่ นรปู แบบตามการบรหิ ารองคก์ รใน ยุคโลกาภิวัตน์ มีองค์กรธุรกิจท่ีเก่ียวข้องกับงานด้านเทคโนโลยีเกิดข้ึนอย่างมากมาย ท�ำให้มีการสรรหาและจัดจ้าง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารงานบุคคลในอุตสาหกรรมทุกระดับที่มีความเข้าใจในธุรกิจด้านการวางแผนกลยุทธ์ ด้านการ บริหารงานบุคคล ที่มีวิสัยทัศน์ในการวางกลยุทธ์ด้านบุคลากรระดับโลกและน�ำมาผสมผสานกับความสามารถของ บคุ ลากรทอ้ งถ่นิ ได้ เพือ่ ใหเ้ กิดความร่วมมอื เป็นอันหนงึ่ อันเดียวกนั ในการดำ� เนินการบริหารจัดการทรัพยากรบคุ คล อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลใหก้ บั องคก์ ร นอกจากนแี้ ลว้ องคก์ รธรุ กจิ ยงั ตอ้ งการผทู้ มี่ คี วามรหู้ ลากหลาย เปน็ นกั วเิ คราะหส์ ถานการณ์ และเปน็ นกั คาดการณแ์ นวโนม้ การใชท้ รพั ยากร เปน็ ผทู้ มี่ คี วามยดื หยนุ่ สงู พรอ้ มทจี่ ะศกึ ษา เรียนรงู้ านจากหนว่ ยงานข้ามองคก์ ร และมีความเขา้ ใจวัฒนธรรม และธรุ กจิ ขององค์กร ดังนนั้ ผู้ท่ีมคี ณุ สมบตั ิตามท่ี กล่าวมาแล้วจึงเป็นที่ต้องการขององค์กรธรุ กิจ คณุ สมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีข้ึนไป ในคณะนิตศิ าสตร์ คณะรัฐศาสตร์ สาขาจติ วิทยาอตุ สาหกรรม สาขาการจัดการทรพั ยากรมนุษย์ หรอื สาขาอน่ื ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง 2. ควรมปี ระสบการณ์ในการท�ำงานด้านงานบุคคลอยา่ งน้อย 5 ปีขน้ึ ไป 3. ควรมคี วามร้เู รอ่ื งกฎหมายแรงงาน 4. ร้แู ละเขา้ ใจเรื่องแรงงานสมั พนั ธ์ สิทธิของลูกจ้าง และผลประโยชน์ของกลุ่ม 5. มีความร้ใู นธุรกิจขององค์กร และมีความรทู้ วั่ ไปกว้างขวาง เพือ่ ประโยชนข์ ององค์กร 6. มนุษยสัมพันธ์ดี และมใี จรกั งานบรกิ าร 7. มีความเปน็ ผนู้ ำ� กล้าตดั สินใจในการแก้ปัญหา 483 สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาบรหิ ารงานบุคคล สาขาวชิ าจติ วิทยา คณะ รฐั ศาสตร์ คณะนิตศิ าสตร์ คณะบรหิ ารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการทรพั ยากรมนุษย์ สาขาวชิ าการ บริหารงานบุคคล ในสถาบนั การศึกษาทีส่ งั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อาทิ - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยบูรพา เว็บไซต์ www.buu.ac.th โทรศัพท์ 0-3874-5820 - คณะนติ ศิ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เว็บไซต์ www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศพั ท์ 0-2215-0871-3 - คณะรัฐศาสตร์ สาขาบรหิ ารรฐั กจิ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เวบ็ ไซต์ www.tu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2221- 6111-20 - คณะบริหารธุรกิจ ภาควิชาการบริหารองค์การและทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เว็บไซต์ www.bu.ac.th โทรศัพท์ 0-2249-0141-4, 0-2350-3500 (เอกชน) โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี ผู้จัดการฝ่ายอุตสาหกรรมสัมพันธ์ท่ีเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจจะได้เล่ือนต�ำแหน่งและเงินเดือน ตามกฎ ระเบียบท่ีวางไว้ ส่วนผู้ประกอบอาชีพน้ีในภาคเอกชนท่ีมีความสามารถ และขวนขวายหาความรู้เพ่ิมเติม รวมท้ัง

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ีต่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 มีวิสัยทัศน์กว้างไกลจะได้รับการเล่ือนให้ด�ำรงต�ำแหน่งสูงข้ึน เช่น ผู้อ�ำนวยการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ส�ำหรั บผู้ที่มีความสามารถในการบริหารงานด้านนี้ คือผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งท่ีท�ำให้องค์กรด�ำเนินธุรกิจไปได้อย่างราบรื่นและ ประสบผลสำ� เรจ็ อาชพี ทีเ่ กีย่ วเนอื่ ง ผู้จัดการฝ่ายการจ้างงาน ผู้จัดการฝ่ายฝึกอบรมและพัฒนาบุคคล ผู้จัดการฝ่ายค่าจ้างและเงินเดือน ผจู้ ดั การฝ่ายพัฒนาธุรกจิ ผู้จัดการฝา่ ยอบรม แหล่งข้อมูลอื่น ๆ - สมาคมการบรหิ ารงานบุคคลแห่งประเทศไทย เวบ็ ไซต์ www.pmat.org โทรศพั ท์ 0-2374-0855 - สมาคมการจดั การธรุ กจิ แห่งประเทศไทย เวบ็ ไซต์ www.tma.or.th โทรศัพท์ 0-2319-7675-8 - กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เว็บไซต์ www.labour.go.th โทรศัพท์ 0-2246-8393, 0-2246-8392, 0-2246-8993, 0-2246-8825 - บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำ� กดั เว็บไซต์ www.toyota.co.th โทรศัพท์ 0-2386-1000 - บรษิ ัท สยามนิสสัน ออโตโมบิล จ�ำกัด เว็บไซต์ www.nissan-th.com โทรศัพท์ 0-2312-8523-24 484

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ผูจ้ ดั การฝ่ายโลจิสติกส์ Logistics Manager นยิ ามอาชพี วางแผน ก�ำกับดูแลและประสานงานในกิจการด้าน การขนส่งซึ่งเปน็ ธุรกจิ ขนาดเลก็ โดยดำ� เนนิ ธรุ กจิ ท่เี ปน็ ของตนเอง หรอื ในนามของเจา้ ของกิจการ : บรหิ ารงาน ควบคมุ งบประมาณ บุคลากรและทรัพยากรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ บรรลุผลตามเปา้ หมายหรอื นโยบาย ลกั ษณะของงานทท่ี ำ� 1. งานคลงั สนิ ค้า - วางแผนการใช้พืน้ ท่ีจัดเก็บวัตถดุ บิ และสนิ ค้าส�ำเรจ็ รปู - ประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง - ตัดสนิ ใจแก้ไขปญั หาในการจัดเกบ็ วัตถดุ บิ และสนิ คา้ สำ� เร็จรูป - บรหิ ารสตอ๊ กของวัตถดุ บิ และสนิ ค้าสำ� เรจ็ รปู 2. งานสง่ สินค้า - งานแผนการจัดส่งสินค้า - คดั เลอื กผใู้ ห้บริการขนสง่ 485 - ควบคมุ ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง - ตดั สนิ ใจแก้ไขปัญหาในการจัดส่ง - ประเมนิ ผู้รบั เหมาขนสง่ - ประสานงานกบั หนว่ ยงานที่เก่ยี วข้อง 3. การจดั การทว่ั ไป - ดูแลระบบคณุ ภาพต่าง ๆ - บรหิ ารบคุ ลากร - วางแผนและจดั ท�ำงบประมาณประจำ� ปี - เขา้ ร่วมกจิ กรรมของสถานประกอบการตามที่ได้รับมอบหมายอ�ำนวยการวางแผน ก�ำกับ ดแู ล และ บรหิ ารจดั การทงั้ วตั ถดุ บิ และสนิ คา้ สำ� เรจ็ รปู ซง่ึ เกย่ี วโยงถงึ สารสนเทศ การชำ� ระเงนิ จนถงึ บรกิ ารตา่ ง ๆ ทม่ี มี าตง้ั แต่ ต้นกระบวนการผลติ จนถงึ การบรหิ ารงานขนส่งสินค้า เพอื่ ให้ลกู ค้าไดร้ บั สินค้าตรงตามเวลาที่ตอ้ งการ สภาพการจา้ งงาน ผู้ปฏบิ ัติงานอาชีพผู้จดั การโลจสิ ตกิ ส์ ควรส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีขน้ึ ไป สาขาโลจสิ ติกส์ สาขาการ บริหารจัดการขนสง่ สารสนเทศและการสอื่ สาร หรอื สาขาอนื่ ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง สามารถปฏบิ ัตงิ านในสถานประกอบการ ขนาดใหญ่หรือขนาดกลางที่ให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการโลจิสติกส์ขององค์กร มีประสบการณ์การท�ำงาน ในสายงานท่ีเกี่ยวข้อง 3 - 5 ปี จะได้รับคำ� ตอบแทนเปน็ เงินเดอื นระดับปรญิ ญาตรี ประมาณ 15,000 - 18,000 บาท

ท20่ีต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน และปริญญาโทประมาณ 30,000 - 40,000 บาท สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตาม Department of Employment เงื่อนไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ท�ำงานวันละ 8 ชั่วโมง อาจท�ำงานล่วงเวลา วันเสาร์ วันอาทิตย์และวันหยุด ตามความจำ� เปน็ เรง่ ด่วน สภาพการทำ� งาน เป็นงานทต่ี ้องสร้างความสมดลุ ระหวา่ งความตอ้ งการของหนว่ ยงานต่าง ๆ ท่ตี ้องการวตั ถุดบิ หรอื สินค้ากับ ข้อจ�ำกัดของพ้ืนท่ีและต้นทุนของสต๊อก ต้องรับผิดชอบต่อสิ่งท่ีเปล่ียนเป็นเงินได้ง่ายและมีมูลค�ำสูง เสี่ยงต่อการ สูญหายต้องตอบสนองความต้องการของลูกค้าโดยใช้บริการของบุคคลภายนอก ควบคุมการปฏิบัติงานท่ีมีผล กระทบต่อความพึงพอใจของลูกค้า มีอ�ำนาจการด�ำเนินการเบิกจ่ายวัตถุดิบ/สินค้า อนุมัติใบผ่านสินค้า ออกนอกโรงงาน การคดั เลือกผู้รับเหมาขนส่ง และท�ำสัญญากบั ผ้รู ับเหมาขนสง่ โอกาสในการมีงานทำ� ภาพรวมความต้องการก�ำลังคนส�ำหรับระบบโลจิสติกส์ ซึ่งรวมถึงอาชีพผู้จัดการโลจิสติกส์มีแนวโน้ม ความต้องการก�ำลังคนเพิ่มขึ้น หรือยังมีสถานะที่ขาดแคลน ทั้งนี้เพ่ือรองรับการขยายตัวของตลาดภายในประเทศ และตลาดการค้าระหว่างประเทศ โดยการขาดแคลนบุคลากรดังกล่าวเป็นความขาดแคลนท้ังในเชิงคุณภาพและ ในเชิงปริมาณ กล่าวคือ ในเชิงคุณภาพ บุคลากรด้านโลจิสติกส์ยังขาดความรู้ ความเช่ียวชาญในทุกกิจกรรม ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ซ่ึงรวมกิจกรรมตั้งแต่การประสานงาน และควบคุมการเคล่ือนย้ายสินค้าคงคลังทั้งของ วตั ถดุ บิ และสินค้าสำ� เร็จรูป และสารสนเทศทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในกระบวนการ รวมถงึ การหาพนั ธมติ รทางธุรกิจ (สำ� นกั งาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาต,ิ 2549) 486 คุณสมบัติของผปู้ ระกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป สาขาโลจิสติกส์ สาขาการบริหารจัดการขนส่งสารสนเทศและ การสอ่ื สาร หรือสาขาอนื่ ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 2. ควรมปี ระสบการณ์การท�ำงานในสาขาที่เกยี่ วข้อง 3 - 5 ปี 3. ควรมคี วามรู้ในด้านของวัตถุดบิ ผลิตภณั ฑ์ ระบบการจดั เกบ็ และระบบการจดั สง่ 4. ความสามารถในการศกึ ษาหาขอ้ มูล วเิ คราะหป์ ัญหา และสรุปเหตผุ ลอย่ใู นเกณฑ์ดี 5. สามารถใชภ้ าษาได้อยา่ งเหมาะสมแก่การปฏบิ ัตหิ น้าที่ ท้งั อา่ นและเขียน 6. สามารถใชค้ อมพิวเตอร์ไดด้ ี 7. สามารถใชโ้ ปรแกรมการบริหารจัดสตอ๊ ก 8. มนษุ ยสัมพนั ธด์ ี 9. มคี วามเป็นผู้นำ� ทีด่ ี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา สาขาการจดั การด้านโลจิสตกิ ส์ ในสถาบนั การศกึ ษาที่สังกัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อาทิ - จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เวบ็ ไซต์ www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศพั ท์ 0-2215-0871-3 - มหาวทิ ยาลยั รามค�ำแหง เว็บไซต์ www.ru.ac.th โทรศพั ท์ 0-2310-8000 - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เว็บไซต์ www.kmutt.ac.th โทรศัพท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059 - มหาวิทยาลยั บูรพา เวบ็ ไซต์ www.buu.ac.th โทรศพั ท์ 0-3874-5820

ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เว็บไซต์ www.ku.ac.th โทรศัพท์ กรมการ ัจดหางาน 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 Department of Employment - คณะบริหารธุรกิจ สาขาการบริหารงานคลัง สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เว็บไซต์ www.psu.ac.th โทรศัพท์ 0-7421-1030-49 - คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการด้านการผลิตและด�ำเนินงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 คณะบรหิ ารธรุ กจิ สาขาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อาทิ - มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม เวบ็ ไซต์ www.chandra.ac.th โทรศัพท์ 0-2942-6900 - มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช เวบ็ ไซต์ www.rint.ac.th โทรศพั ท์ 0-7537-7440 - มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา เวบ็ ไซต์ www.aru.ac.th โทรศพั ท์ 0-3524-1407, 0-3524-1196 - คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เว็บไซต์ www.rmut.ac.th โทรศัพท์ 0-2549-4990-2 โรงเรียนธุรกิจการขนส่งและการค้าระหว่างประเทศ สมาคมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (TIFFA) เว็บไซต์ http://itbsthai.com โทรศัพท์ 0-2671-4004, 0-2671-5005 - หลักสตู ร Logistics Management and Supply Chain Management สาขาการขนส่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั เว็บไซต์ www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี ผู้ที่ประกอบอาชีพนี้เมื่อมีความสามารถ ความช�ำนาญ และระยะเวลาเพิ่มข้ึน ก็จะได้เลื่อนต�ำแหน่ง และเงินเดือนขึ้นสู่ระดับผู้บริหารองค์กร หรืออาจพัฒนาข้ึนสู่การเป็นผู้ประกอบการอิสระ โดยท�ำธุรกิจ รับจดั การขนส่งระหวา่ งประเทศ หรือบรษิ ัทท่ีปรึกษาดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ ซงึ่ รวมถงึ การฝกึ อบรมได้ 487 อาชพี ท่ีเก่ียวเนอ่ื ง ผจู้ ดั การแผนกคลงั สินค้า ผู้จดั การแผนกจดั ส่ง ผู้จัดการฝ่ายสารสนเทศ แหลง่ ข้อมูลอนื่ ๆ - สมาคมไทยโลจสิ ตกิ สแ์ ละการผลติ เว็บไซต์ www.tlaps.or.th โทรศพั ท์ 0-2512-0488 - โครงการส่งเสริมการจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม เว็บไซต์ www. scm4sme.com โทรศพั ท์ 0-2367-8126-7 - โลจสิ ตกิ สไ์ ทยแลนดด์ อดคอม เว็บไซต์ www.logisticsthailand.com โทรศัพท์ 0-2514-2839, 0-2514- 2868 - ศูนย์ความเป็นเลศิ ด้านโลจิสติกส์ เวบ็ ไซต์ www.logex.kmutt.ac.th โทรศัพท์ 0-2470-8436-38 - บริษัท โลจิสติกส์ เทรนนิง แอนด์ คอนซัลต้ิง จ�ำกัด เว็บไซต์ www.logisticsfocus.net โทรศัพท์ 0-2946-5173 - โรงเรียนธุรกิจการขนส่งและการค้าระหว่างประเทศ สมาคมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (TIFFA) เว็บไซต์ http://itbsthai.com โทรศัพท์ 0-2671-4004, 0-2671-5005

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ีต่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผดู้ ูแลคลังสนิ ค้า Storeman นยิ ามอาชีพ ทำ� งานเกยี่ วกบั การนำ� เขา้ และการสง่ ออกสนิ คา้ การ ดูแล การเก็บ และการควบคุมสินค้า อาจร่วมกันท�ำงาน เกย่ี วกับการนำ� เขา้ และสง่ ออกสินค้า การลงบนั ทึกเกีย่ วกับ สินคา้ และการจดบนั ทกึ สนิ คา้ คงคลงั ลกั ษณะของงานที่ทำ� ทำ� หนา้ ทคี่ วบคมุ ดแู ล จดบนั ทกึ ประเภทและจำ� นวน สินค้า การรับ การเก็บ การจัดการตรวจสอบสินค้าหรือ วัตถุดิบตามระบบการควบคุมสินค้าท่ีมีประสิทธิภาพได้ มาตรฐาน เพอ่ื ปอ้ งกนั สนิ คา้ หรอื วตั ถดุ บิ เสยี หายกอ่ นจดั สง่ ถงึ มอื ลกู คา้ หรอื ผใู้ ช้ อาจทำ� การจดั ระบบการจดั การสนิ คา้ คงคลังทเ่ี รยี กวา่ Vendor Management Inventory (VMI) เพื่อสะดวกในการตรวจสอบสนิ คา้ คงคลัง ดังตอ่ ไปน้ี 1. ท�ำการตรวจรับสินค้า โดยการเปิดหีบห่อตรวจนับ และจดบันทึกว่าเป็นของที่อันตรายในการจัดเก็บ 488 หรอื ไม่ หรอื มีความเสยี หาย หรือสภาพช�ำรดุ หรือไม่ 2. เรยี กร้องคา่ เสียหายจากผขู้ ายสินคา้ หรือบรษิ ทั ขนสง่ หรอื บรษิ ัทประกันภยั 3. จัดสถานทใี่ ห้เหมาะสมกบั สินค้าในการจัดวาง และเก็บรกั ษา 4. จดั ทำ� บญั ชหี มวดหมู่ และดชั นรี ายการของสนิ คา้ หรอื สง่ิ ของทจี่ ดั เกบ็ เพอื่ งา่ ยตอ่ การเขา้ ถงึ และการดแู ล 5. ต้องทราบสถานะ และสภาพอณุ หภูมขิ องสนิ ค้าและวตั ถดุ ิบที่จดั เกบ็ 6. จดั เก็บสนิ ค้าทยี่ ังไมส่ ามารถนำ� ส่งไว้ตา่ งหาก 7. ดูแลความปลอดภยั ของสถานท่ี เพ่อื ปอ้ งกันความเสยี หายต่อสินคา้ หรอื วตั ถุดิบ 8. เคลอ่ื นย้ายสนิ ค้าเข้าหรือออกโดยได้รับอนุมัตจิ ากผู้ท่มี อี ำ� นาจหนา้ ท่ี 9. ตรวจตราดแู ลทกุ สว่ น และพนื้ ทขี่ องทจี่ ดั เกบ็ สนิ คา้ รวมทง้ั การทดสอบอปุ กรณแ์ ละเครอื่ งมอื ตา่ ง ๆ กอ่ น และหลงั การใช้ให้อยูใ่ นสภาพเรยี บรอ้ ย รวมทงั้ ทำ� การบนั ทึกการตรวจสอบดว้ ย 10. ท�ำบันทึกรายงานถึงผู้บริหารคลังสินค้าทุกข้ันตอน เตรียมพร้อมจัดการ ป้องกันแก้ไขเหตุการณ์ที่อาจ เกดิ ขึ้นโดยไม่คาดคิด 11. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังภายในและภายนอกองค์กร เพ่ือให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วย ความเรียบรอ้ ยทุกประการ เช่น ฝ่ายจัดซือ้ ฝา่ ยขาย ฝ่ายผลติ ฝา่ ยจดั สง่ สนิ ค้า ประกันภัย ชปิ ปิง้ ฝ่ายระบบควบคมุ คณุ ภาพ ลูกค้า ผ้แู ทนจำ� หน่าย เปน็ ต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook