Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา3

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา3

Published by sirirat wsl, 2018-10-12 00:23:30

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ชีววิทยา3
รหัส ว32243 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561

Keywords: แผนชีววิทยา

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ วิชา ชีววทิ ยา 3 รหัสวชิ า ว 32243 นางสาวศริ ริ ตั น์ หวงั สะและ่ ฮ์ ตาแหนง่ ครู ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ งั สฤษดิ์สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 5

กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นที่ 1รายวิชา ชีววิทยา 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/1กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ เวลา 3 ชั่วโมงครผู ูส้ อน นางสาวศิรริ ตั น์ หวังสะแล่ะฮ์ เรื่อง เนอื้ เยอ่ื พืช โรงเรยี น หนั คาราษฎรร์ ังสฤษดิ์ รหัสวิชา ว32243 ภาคเรยี นที่ 1สาระที่ 1 : ส่ิงมีชวี ิตกบั กระบวนการดารงชวี ติมาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดแู ลสิ่งมีชีวิตความคดิ รวบยอด เนื้อเยอื่ พืช (plant tissue) มีหลายชนดิ ประกอบดว้ ยเซลล์ทมี่ ีลักษณะแตกต่างกนั ออกไป โดยลักษณะรว่ มท่ีสาคัญประการหนึง่ ของเซลล์พชื คือ การมีผนงั เซลล์ (cell wall) ทใ่ี หค้ วามแขง็ แรงต่อโครงสร้างของเซลล์พืช เซลลท์ ุกชนิดของพชื มีผนงั เซลล์ที่เรียก ผนงั เซลล์ปฐมภูมิ (primary cell wall หรือ primary wall) ซ่ึงมอี งคป์ ระกอบสาคัญเป็น เซลลูโลส (cellulose) นอกจากนน้ั เซลล์บางชนดิ ยงั มพี ืชสะสมผนังเซลล์ทุตยิ ภูมิ (secondary cell wall) หรอื(secondary wall) เพิม่ เติมข้ึน โดยมกี ารสะสมแบบแทรกอยใู่ นผนังเซลล์ปฐมภูมิ รวมทัง้ สะสมแบบซอ้ นทับเป็นแนวอยุ่ระหวา่ งเซลลป์ ฐมภมู ิ และเยอื่ หุ้มเซลล์ เนื้อเยือ่ พืชแบง่ ได้สองประเภท ตามลักษณะการเจริญของเน้อื เย่ือ ได้แก่เน้ือเยอ่ื เจริญ (meristematic tissue) และเน้อื เยื่อถาวร (permanent tissue)1. เย้อื เยอื่ เจรญิ เนื้อเย่ือเจริญประกอบด้วยเซลล์เจริญ (meristematic tissue) ซึ่งเป็นกลุ่มเซลล์ที่มีผนังเซลล์ปฐมภูมิซ่ึงมีลักษณะบาง สม่าเสมอกนั มักมีนิวเคลียสขนาดใหญ่ เม่ือเทียบกับขนาดของเซลล์ และสามารถแบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิสไดต้ ลอดชีวิตของเซลล์ จาแนกตามตาแหน่งที่อยใู่ นส่วนต่างๆของพืชได้ 3ชนิด 1.1 เจริญส่วนปลาย (apical meristem) ถ้าอยู่บริเวณปลายรากเรียก เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายราก(apical root meristem) เมอื่ แบง่ เซลลท์ าให้รากยาวขนึ้ และที่บริเวณปลายยอดเรียก เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอด(apical shoot meristem) เมอื่ แบ่งเซลลจ์ ะทาให้ลาต้นยืดยาวออกไป และสรา้ งใบรวมท้ังก่ิง ครผู ู้สอน : นางสาวศิริรัตน์ หวงั สะแล่ะฮ์

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นท่ี 1 1.2 เน้ือเย่ือเจริญส่วนข้อ (intercalary meristem) อยู่ระหว่างข้อตรงบริเวณเหนือข้อล่าง หรือโคนของปล้องบน มีการแบ่งเซลล์ได้ยาวนานกว่าเน้ือเยื่อบริเวณอื่นในปล้องเดียวกันทาให้ปล้องยาวข้ึน พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป เช่น หญ้า ข้าว ข้าวโพด ออ้ ย และไผ่ เป็นต้น 1.3 เนื้อเย่ือเจริญด้านข้าง (leteral meristem) อยู่ในแนวขนานกับเส้นรอบวงมีการแบ่งเซลล์เพ่ิมจานวนออกทางดา้ นขา้ ง ทาให้รากและลาต้นขยายขนาดใหญข่ ้นึ พบในพืชใบเล้ยี งคู่ทั่วไป และพืชใบเล้ียงเดี่ยวบางชนิดเช่น หมากผู้หมากเมีย จันทน์ผา เป็นต้น เน้ือเย่ือเจริญชนิดนี้เรียกอีกอย่างว่า แคมเบียม (cambium) ถ้าพบอยู่ระหว่างเนือ้ เนื้อท่อลาเลยี งน้าและเน้ือเยื่อท่อลาเลียงอาหารจะเรียกว่า วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular cambium)ซ่ึงเมอ่ื แบง่ เซลล์ทาให้เกิดเนื้อเย่ือท่อลาเลียง (vascular tissue) เพ่ิมข้ึน และถ้าพบอยู่ในเนื้อเย่ือช้ันผิวหรือเอพิเดอร์มิส (epidermis) หรือพบอยู่ถัดเข้าไปจากเอพิเดอร์มิสเรียกว่า คอร์กแคมเบียม (cork cambium) ซ่ึงเม่ือแบ่งเซลล์ทาใหเ้ กิดเนอื้ เยอ่ื คอรก์ (cork) และเนอื้ เย่อื อืน่ ๆ ซึ่งจะไดศ้ กึ ษาในรายละเอยี ดต่อไป2. เน้อื เยอื่ ถาวร เนื้อเย่ือถาวรประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่เจริญเต็มท่ี ปกติจะไม่มีการแบ่งเซลล์อีกต่อไป โดยเนื้อเยื่อถาวรนี้เปลย่ี นแปลงมาจากเนอ้ื เย่ือเจรญิ เน้อื เยอ่ื ถาวรประกอบดว้ ยกลุ่มเซลลท์ ม่ี ีรปู ร่างขนาด และหนา้ ทีต่ า่ งกัน เนื้อเย่ือถาวรมหี น้าท่ีท่สี าคญั ตอ่ การดารงชวี ติ ของพืช เช่น เอพิเดอร์มิส เป็นเนื้อเย่ือท่ีอยู่รอบนอกสุดของส่วนต่างๆของพืช ทาหน้าท่ีป้องกันเนื้อเยื่อท่ีอยู่ด้านใน เอพิเดอร์มิส ของลาต้นและใบส่วนใหญ่มีความหนาเพียงหนึ่งชั้นของเซลล์ ประกอบด้วยเซลล์ที่มีชีวิตหลายชนิด ที่สาคัญได้แก่เซลล์ผิว (epidermal cell) และเซลล์คุม (guard cell) เซลล์ผิวมีรูปร่างแตกต่างกันได้หลายๆแบบ มักไม่พบคลอโรพลาสต์ เซลล์เรียงตัวชิดกันไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ พบเฉพาะผนังเซลล์ปฐมภูมิ ผนังเซลล์ด้านผิวนอกมักหนากว่าด้านใน และมีสารคิวทิน (cutin) มาเคลือบเพื่อลดการระเหยของน้า เซลล์คุมมักมีรูปร่างคล้ายไตหรือเมล็ดถั่วแดงอยู่เป็นคู่ประกบกันในลักษณะพิเศษท่ีบริเวณกลางๆของผนังเซลล์ด้านท่ีประกบกันไม่ได้เชื่อมติดกัน เกิดเป็นช่องเรยี กว่า รปู ากใบ (stomatal pore) ผนังเซลล์ปฐมภูมบิ ริเวณรอบรปู ากใบจะหนากวา่ บรเิ วณอ่นื ภายในเซลล์คุมมีคลอโรพลาสต์ รวมเรียกเซลล์คุมและรูปากใบว่า ปากใบ (stomata) นอกจากนี้ยังอาจพบขน (hair) ซึ่งอาจเป็นเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ก็ได้ สาหรับในราก เอพิเดอร์มิสประกอบด้วยเซลล์ผิวและเซลล์ขนราก (root hair cell) มักไม่พบเซลล์คมุ พาเรงคิมา เปน็ เน้ือเยอ่ื ที่พบอย่ทู ัว่ ไปส่วนต่างๆของพืช ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา (parenchyma cell) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีชีวิต โดยท่ัวไปพบเฉพาะผนังเซลล์ปฐมภูมิและมีความหนาบางสม่าเสมอกันทั้งเซลล์ รูปร่างเซลล์มีหลายแบบ เช่น ค่อนข้างกลม รี หรือทรงกระบอก โดยท่ัวไปเซลล์มีการเรียงตัวท่ีทาให้เกิดช่องว่างระหว่างเซลล์ ครผู ูส้ อน : นางสาวศิรริ ตั น์ หวังสะและ่ ฮ์

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนหันคาราษฎร์รงั สฤษดิ์ ภาคเรียนที่ 1(intercellular space) เซลล์พาเรงคิมาท่พี บในอวัยวะหรือบริเวณที่แตกต่างกัน อาจมีส่วนประกอบแตกต่างกันจึงทาใหม้ ีหนา้ ทีไ่ ด้หลากหลายเช่น หนา้ ทสี่ งั เคราะห์ดว้ ยแสง สะสมอาหาร เปน็ ตน้ คอลเลงคิมา ประกอบด้วยเซลล์ที่มีชีวิตที่เรียกว่า เซลล์คอลเลงคิมา (collenchyma call) ซึ่งมีลักษณะคล้ายพาเรงคิมา มีเฉพาะผนังเซลล์ปฐมภูมิท่ีค่อนข้างหนาและมีความหนาบางไม่สม่าเสมอกัน ส่วนท่ีหนามักอยู่ตามมุมของเซลล์ พบมากท่ีบริเวณใต้เอพิเดอร์มิสของก้านใบ เส้นกลางใบ และลาต้นส่วนที่ยังอ่อนของพืชล้มลุกหรือไม้เล่ือยบางชนดิ ชว่ ยใหเ้ กิดความแข็งแรงแก่โครงสร้างของพชื สเกอเลงคิมา ประกอบด้วยเซลล์สเกอเลงคิมา (sclerenchyma cell) ซึ่งเป็นเซลล์ท่ีไม่มีชีวิต มีทั้งผนังเซลล์ปฐมภูมิและผนังเซลล์ทุติยภูมิท่ีค่อนข้างหนาหรือหนามาก ช่วยพยุงและให้ความแข็งแรงกับโครงสร้างของพืช จาแนกเซลลส์ เกลอเรงคิมาตามลักษณะรูปร่างเซลล์เป็น 2ชนิดได้แก่ เซลล์เส้นใย หรือไฟเบอร์ (fiber) ซ่ึงเป็นเซลล์ท่ีมีรูปร่างเรยี วยาว หัวท้ายเซลลแ์ หลม และ สเกลอรีด(sclereid) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเซลล์ที่ไม่ยาวมากนัก มีรูปร่างหลายแบบ เช่นรปู หลายเหลย่ี ม รปู ดาว เป็นต้น มักอยตู่ ามเปลือกทแ่ี ขง็ ของเปลอื กไม้ เชน่ ยางพารา เปลือกเมล็ด เช่น เมล็ดถั่ว หรือเนอ้ื ผลไมท้ ่สี ากบางชนิด เชน่ ฝรง่ั สาลี เป็นต้น ไซเล็ม (xylem) เปน็ เนือ้ เย่อื ที่ทาหน้าที่ลาเลยี งน้า และสารอาหารไปสู่ส่วนตา่ งๆของพืช ประกอบด้วยเซลล์ที่ทาหน้าทหี่ ลักในการลาเลยี งนา้ และสารอาหาร ซ่ึงเป็นเซลล์ท่ีไม่มีชีวิต มีผนังเซลล์ปฐมภูมิและผนังเซลล์ทุติยภูมิ แต่ผนังเซลลท์ ุตยิ ภมู ขิ องเซลล์ที่ลาเลียงน้าไม่ได้สะสมบนผนังเซลล์ปฐมภูมิอย่างสม่าเสมอ ทาให้บางบริเวณของผนังเซลล์ปฐมภมู ไิ มม่ ผี นังเซลล์ทุติยภูมิจึงเกิดลวดลายแบบต่างๆ เซลล์ที่ทาหน้าที่ลาเลียงน้า มี 2ชนิด คือ ได้แก่ เทรคีด (tracheid)และเซลล์ท่อลาเลียงน้าหรือเวสเซลล์เมมเบอร์ (vessel member) ซึ่งเทรคีดเป็นเซลล์ที่มีรูปร่างยาวปลายค่อนข้างแหลม เวสเซลเมมเบอรม์ ีรูปรา่ งค่อนข้างยาวเชน่ กันแตส่ ้นั กว่าเทรคีดและมักมีขนาดใหญ่กว่าและที่ด้านหัวและด้านท้ายของเซลลม์ ชี อ่ งทะลถุ ึงกนั ดงั นน้ั เมอ่ื เวสเซลเมมเบอร์หลายๆเซลลม์ าเรียงตอ่ กันจะมลี กั ษณะคลา้ ยท่อน้าเรยี กว่าเวสเซล (vessel) นอกจากน้ีไซเล็มยงั ประกอบดว้ ยเซลลช์ นิด อ่นื ๆอกี เช่น ไฟเบอร์ และเซลลพ์ าเรงคมิ า เปน็ ตน้ โฟลเอ็ม (phloem) เปน็ เนือ้ เย่อื ท่ที าหน้าทล่ี าเลยี งอาหารท่ใี บสังเคราะหข์ น้ึ ไปสู่ส่วนต่างๆของพชื ประกอบด้วยเซลล์หลายชนดิ แต่เซลล์ท่ีทาหน้าทห่ี ลักในการลาเลียงอาหารคอื เซลล์ท่อลาเลียงอาหารหรือซฟี ทวิ บ์เมมเบอร์ (sievetube member) ซงึ่ ทีเ่ ซลล์ทม่ี ีชวี ิต รปู ทรงกระบอกแต่เม่ือเจรญิ เต็มทไี่ ม่มนี วิ เคลียส มีแวควิ โอลขนาดใหญ่ที่มอี าหารอยู่ มีผนงั เซลล์ปฐมภมู ิบางและมรี เู ล็กๆอยเู่ ปน็ กลุม่ ท่ีผนงั ดา้ นหัวทา้ ยของเซลล์ ทาใหห้ วั ท้ายของเซลล์ มลี ักษณะเปน็แผน่ ตะแกรงหรอื ซีฟเพลต (sieve plate) และพบลกั ษณะคลา้ ยรูเปน็ กล่มุ ตามผนงั เซลล์ดา้ นข้างดว้ ย ซฟี ทิวบเ์ มมเบอร์หลายๆเซลล์ มาเรียงตอ่ กนั เรียกว่า ท่อลาเลยี งอาหารหรือซีฟทิวบ์ (sieve tube) นอกจากน้ยี งั มเี ซลล์ประกบหรือเซลล์คอมพาเนียน (companion cell) ซง่ึ เปน็ เซลลท์ ม่ี ชี ีวติ มลี ักษณะเปน็ เซลล์พาเรงคิมาจะอยตู่ ิดกับ ซีฟทวิ บ์เมมเบอร์ ครูผ้สู อน : นางสาวศริ ริ ตั น์ หวงั สะและ่ ฮ์

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นท่ี 1เสมอ เพราะมีกาเนิดมาจากเซลล์เจรญิ เซลล์เดยี วกนั เชอื่ วา่ ทาหนา้ ท่ชี ว่ ยส่งเสรมิ การทาหนา้ ท่ขี อง ซีฟทิวบเ์ มมเบอร์นอกจากเซลลค์ อมพาเนยี นแล้วยังพบไฟเบอร์และเซลลพ์ าเรงคมิ าอกี ดว้ ยจดุ ประสงค์ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นสามารถ 1. สืบคน้ ข้อมูลเกย่ี วกบั โครงสร้างและหน้าที่ของเนอ้ื เย่ือเจรญิ และเนื้อเยื่อถาวรของพชื ดอก 2. อธิบายและจาแนกลกั ษณะของเนอ้ื เยื่อพืชแตล่ ะชนดิกิจกรรมการเรยี นการสอนทเี่ ลือกใช้ ผู้สอนเลือกใช้กระบวนการการเรียนการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process) ซ่ึงกระบวนการการสืบเสาะหาความรู้ประกอบด้วยขั้นตอนท่ีสาคญั ดงั นี้ 1. ข้ันสร้างความสนใจ (engagement)เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนหรือเร่ืองที่น่าสนใจซึ่งอาจเกิดข้ึนเองจากความสงสัย หรืออาจเร่ิมจากความสนใจของตัวนักเรียนเอง หรืออาจเกิดจากการอภิปรายภายในกลุ่มเร่ืองท่ีน่าสนใจอาจมาจากเหตุการณ์ที่กาลังเกิดข้ึนอยู่ในช่วงเวลานั้น หรือเป็นเร่ืองที่เช่ือมโยงความรู้เดิมที่เพ่ิงเรียนรู้มาแล้วเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคาถาม กาหนดประเด็นที่จะศึกษา ในกรณีที่ยังไม่มีประเด็นใดน่าสนใจครูอาจให้ศึกษาจากสือ่ ตา่ งๆ หรือเปน็ ผกู้ ระตนุ้ ด้วยการเสนอประเดน็ ขึ้นมาก่อน แต่ไม่ควรบังคับให้นักเรียนยอมรับประเด็นหรือคาถามท่คี รกู าลงั สนใจเปน็ เรอื่ งทใี่ ช้ศกึ ษา เมือ่ มคี าถามทีน่ า่ สนใจและนักเรยี นส่วนใหญย่ อมรับให้เป็นประเด็นท่ีต้องการศึกษา จึงร่วมกันกาหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของเร่ืองท่ีจะศึกษาให้มคี วามชัดเจนยง่ิ ข้ึน จงึ ร่วมกันกาหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของเร่ืองทจี่ ะศึกษาให้มคี วามชัดเจนย่ิงขึน้ อาจรวมทง้ั การรวบรวมความรู้ ประสบการณ์เดิม หรอื ความรู้จากแหล่งต่างๆที่จะช่วยให้นาไปสู่ความเข้าใจเรื่องหรือประเด็นท่ีจะศึกษามากขึ้นและมีแนวทางที่ใช้ในการสารวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย 2. ข้นั สารวจและคน้ หา (exploration) เม่ือทาความเขา้ ใจในประเดน็ หรอื คาถามท่ีสนใจจะศึกษาอย่างถ่องแท้แล้วก็มีการวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กาหนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ วิธีการตรวจสอบอาจทาได้หลายวิธี เช่น ทากา รทดลอง ทากิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยสร้างสถานการณ์จาลอง (simulation) การศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารอา้ งองิ หรอื จากแหลง่ ขอ้ มูลต่างๆ เพ่ือให้ไดม้ าซ่งึ ขอ้ มูลอยา่ งเพยี งพอท่ีจะใช้ในขั้นต่อไป 3. ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (explanation) เม่ือได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการสารวจตรวจสอบแล้วจึงนาข้อมูล ข้อสนเทศ ที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนาเสนอท่ีได้ในรูปแบบต่างๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์หรือวาดรูป สร้างตาราง ฯลฯ การค้นพบในข้ันน้ีอาจเป็นไปได้หลายทาง เช่น สนับสนุนสมมตฐิ านทีต่ ั้งไว้ โต้แย้งสมมติฐานท่ีตงั้ ไว้ หรอื ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกับประเด็นท่ีได้กาหนดไว้ แต่ผลท่ีได้จะอยู่ในรูปใดก็สามารถสรา้ งความรแู้ ละช่วยใหเ้ กิดความรไู้ ด้ ครูผู้สอน : นางสาวศริ ิรัตน์ หวังสะและ่ ฮ์

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรียนที่ 1 4. ข้ันขยายความรู้ (elaboration)เป็นการนาเสนอความรู้ท่ีสร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือแนวคิดทีไ่ ด้ค้นคว้าเพมิ่ เติมหรอื นาแบบจาลองหรอื ข้อสรุปทไี่ ดไ้ ปใช้อธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อ่ืนๆ ถ้าใช้อธิบายเรื่องต่างๆ ได้มาก กแ็ สดงวา่ ข้อจากดั น้อยซึ่งกจ็ ะชว่ ยใหเ้ ชอ่ื มโยงเรอ่ื งตา่ งๆ และทาให้เกดิ ความรูก้ ว้างขวางข้นึ 5. ขั้นประเมิน (evaluation)เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ว่านักเรียนมีความรู้อะไรบา้ ง อย่างไร และมากนอ้ ยเพียงใด จากข้นั นีจ้ ะนาไปสกู่ ารนาความร้ไู ปประยุกตใ์ ชใ้ นเร่ืองอน่ื ๆการดาเนนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1.สรา้ งความสนใจ ให้นกั เรยี นส่องกล้องจุลทรรศน์ดูรูปเนื้อเย่ือพืชจากสไลด์ถาวรท่ีเตรียมไว้ โดยสอบถามถึงความรู้เดิม ว่าเคยเห็นหรือไม่ คืออะไร ร่วมกันตอบคาถาม 2. ขนั้ สารวจ และคน้ หา ใหน้ ักเรยี นบอกลักษณะทางกายภาพของตน้ ไม้ว่าเหน็ อะไรบา้ ง ให้นักเรียนดูเนื้อเย่ือพืชวา่ มีลักษณะอย่างไร โดยสืบค้นตามหวั ข้อคาถามที่กาหนดขนึ้ จากคาถามในการตงั้ ขึน้ ของนักเรียน 3. ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ 1. ครอู ธบิ ายเรื่องเนือ้ เยือ่ พชื โดย power point 2.ครแู ละนกั เรียนช่วยกนั อภิปรายและสรปุ เรอ่ื งเน้อื พืช 4. ขน้ั ขยายความรู้ ครูให้นักเรียนศึกษาลักษณะของเน้ือเยื่อพืชจากบทปฏิบัติการ และลงมือปฏิบัติจริง โดยศึกษาพ้ืนใบ เลีย้ งคู่ ใบเลี้ยงเดย่ี ว ในส่วนของ ราก ลาตน้ และใบ 5. ข้นั ประเมนิ ครปู ระเมนิ การเรียนรขู้ องนักเรียนการเรียนรู้ การตอบคาถามในช้ันเรียน การร่วมกันอภิปราย ผลการ ทาแลปปฏิบัติการ และการเขยี นแผนผงั ความคดิ ของนกั เรียนสื่อการเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้ 1. ภาพตน้ ไม้ ภาพเนือ้ เยอ่ื ของลาตน้ หรอื ราก หรือใบ พืช 2. สื่อการสอน power point เรือ่ งเนอื้ เยอื่ พชื 3. ใบความรู้เรือ่ งเนอ้ื เย่ือพชื 4. ใบงานบทปฏิบตั กิ ารเรื่องเนื้อเยือ่ พชืบรรณานกุ รมสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพิม่ เติม ชีววิทยา เลม่ 3. กรงุ เทพฯ: 2554สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี คมู่ อื ครูรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ชีววทิ ยา เลม่ 3. กรุงเทพฯ: 2554. ครูผู้สอน : นางสาวศิริรัตน์ หวงั สะและ่ ฮ์

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรยี นหันคาราษฎร์รงั สฤษดิ์ ภาคเรียนที่ 1 บนั ทกึ ผลหลงั การสอนบันทกึ ผลการสอน (K P A)................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปัญหาอุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอื่ ................................................ครูผสู้ อน (นางสาวศิรริ ัตน์ หวังสะและ่ ฮ์) วันที่ ........................................ความคดิ เห็นหวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................ ลงชอ่ื ................................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ (นายจกั รกฤษณ์ ทองทับทิม) วันท่ี ........................................ความคดิ เห็นหัวหนา้ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................. ลงช่ือ ..................................... หัวหนา้ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ (นางทัศนีย์ วงทองด)ี วันท่ี .......................................ความคิดเหน็ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา............................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................... .................... ลงช่ือ ......................................ผอู้ านวยการโรงเรยี น (นายวนิ ยั คาวเิ ศษ) วนั ที่ ....................................... ครูผู้สอน : นางสาวศิรริ ตั น์ หวังสะและ่ ฮ์

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นที่ 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง โครงสรา้ งและหน้าทข่ี องรากรายวชิ า ชีววิทยา 3 รหสั วชิ า ว 32243 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/1กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 3 ช่วั โมงครผู ู้สอน นางสาวศิรริ ัตน์ หวงั สะแล่ะฮ์ โรงเรียน หนั คาราษฎรร์ ังสฤษด์ิสาระที่ 1 : สง่ิ มชี วี ิตกับกระบวนการดารงชีวติมาตรฐาน ว 1.1 : เขา้ ใจหนว่ ยพ้นื ฐานของสิง่ มีชีวิต ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดูแลส่งิ มีชวี ติความคิดรวบยอด รากเปน็ อวยั วะของพชื ทท่ี าหนา้ ทีด่ ดู น้าและสารอาหารรวมทงั้ ยึดลาต้นใหต้ ดิ กับพนื้ ดิน เจริญเติบโตลงส่ดู ินตามแรงโน้มถว่ งของลก สว่ นทโ่ี ผลพ่ ้นเมลด็ มากอ่ น คือสว่ นท่เี จริญไปเปน็ รากอันแรกของพืช เรียก รากปฐมภมู ิ (primaryroot) หรอื รากแกว้ (tap root) ต่อมาความยาวของรากเพ่มิ ขนึ้ เรื่อยๆและอาจสงั เกตเห็นขนราก (root hair) เกิดข้ึนท่ีบริเวณถดั จากปลายสดุ ของราก จากน้ันจะมกี ารเพม่ิ จานวนและเพม่ิ ความยาวของรากเปน็ รากแขนง (lateral rootหรือ secondary root) ทเี่ จรญิ ออกมาจากรากเดิม โครงสรา้ งปลายราก แบ่งออกเปน็ บริเวณต่างๆ ตามลักษณะของเซลล์ เรยี งลาดับจากปลายสุดของรากขึ้นไป ได้ดังน้ี 1. หมวกราก (root cap) 2. บรเิ วณการแบ่งเซลล์ (region of cell division) 3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว 4. บรเิ วณการเปลี่ยนสภาพและการเจริญเตม็ ทข่ี องเซลล์ (region of cell differentiation and maturation) โครงสร้างภายในของราก 1. เอพเิ ดอรม์ ิส 2. คอรเ์ ทกซ์ 3. สตีล (stele) 3.1 เพริไซเคิล (pericycle) 3.2 กลุ่มทอ่ ลาเลยี ง (vascular bundle) ไดแ้ ก่ ไซเล็ม โฟลเอม็ 4. พธิ ครูผ้สู อน : นางสาวศิริรัตน์ หวงั สะและ่ ฮ์

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรียนท่ี 1หน้าทแ่ี ละชนิดของรากรากฝอย รากค้าจนุ รากเกาะ รากสงั เคราะหแ์ สง รากหายใจ รากกาฝาก รากสะสมอาหารจดุ ประสงค์ เพอื่ ให้นกั เรียนสามารถ 1. สบื ค้นขอ้ มูลเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของราก 2. อธบิ ายโครงสรา้ งปลายราก โครงสรา้ งภายในของราก 3. บอกความแตกตา่ งระหว่างพืชใบเลี้ยงเด่ียว และพืชใบเล้ยี งคูไ่ ด้ 4. อธิบายหนา้ ท่ีและชนิดของรากการดาเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอน1. สรา้ งความสนใจ (5 นาที) ใหน้ ักเรยี นดูภาพรากแครอท รากกล้วยไม้ รากไทร และชว่ ยกนั บอกว่ารากทง้ั 3ชนดิ นี้ ทาหน้าทอ่ี ะไร2. ขัน้ สารวจ และค้นหา (10 นาท)ี ให้นกั เรยี นยกตวั อยา่ ง รากพืชทท่ี าหน้าทที่ ี่แตกต่างกนั ออกไป จากการคน้ หาและท่รี ว่ มกนั กาหนด3. ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ (35 นาที) 1. ครอู ธบิ ายเรื่องโครงสร้างและหน้าทขี่ องราก โดย power point และแผนภาพจากเพจความรู้ตา่ งๆ 2.ครูและนกั เรียนช่วงกนั อภปิ รายและสรุปเรื่องโครงสร้างและหนา้ ทีข่ องราก4. ขน้ั ขยายความรู้ (90 นาที) ครูให้นักเรียนศึกษาลักษณะของโครงสร้างและหน้าท่ีของราก จากบทปฏิบัติการและทาแลปปฏิบัติการดูโครงสรา้ งของรากจากพชื ในทอ้ งถิน่5. ขั้นประเมนิ (10 นาที ) ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนโดยใช้การตอบคาถามในชั้นเรียน การร่วมกันอภิปราย มายแมบและผลการศึกษาโครงสรา้ งของรากสือ่ การเรียนรู้/แหล่งการเรยี นรู้ 1. ภาพราก ภาพเน้อื เย่อื ของราก 2. สือ่ การสอน power point เรอ่ื งโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของราก 3. ใบความร้เู รื่องเนื้อโครงสรา้ งและหน้าท่ีของราก 4. ใบงานบทปฏบิ ตั ิการเรอื่ งโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องราก 5. รากพืชชนิดตา่ งๆ เชน่ รากลว้ ยไม้ รากไทร รากแสม รากพลดู ่าง ครผู ูส้ อน : นางสาวศริ ิรตั น์ หวงั สะและ่ ฮ์

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นหนั คาราษฎร์รงั สฤษด์ิ ภาคเรยี นที่ 1 บนั ทึกผลหลงั การสอนบนั ทึกผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ................................................ครูผสู้ อน (นางสาวศิริรัตน์ หวังสะและ่ ฮ์) วันที่ ........................................ความคิดเหน็ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ................................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระ (นายจักรกฤษณ์ ทองทบั ทิม) วันที่ ........................................ความคดิ เห็นหวั หนา้ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ....................................... หวั หนา้ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ (นางทัศนีย์ วงทองดี) วันท่ี .......................................ความคิดเห็นผบู้ ริหารสถานศกึ ษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ .........................................ผ้อู านวยการโรงเรียน (นายวินยั คาวิเศษ) วันที่ ....................................... ครผู ู้สอน : นางสาวศิรริ ัตน์ หวงั สะและ่ ฮ์

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรียนที่ 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 เรื่อง โครงสร้างของลาต้นรายวชิ า ชีววิทยา 3 รหสั วิชา ว 32243 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5/1กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมงครผู ้สู อน นางสาวศิรริ ัตน์ หวังสะแล่ะฮ์ โรงเรียน หันคาราษฎร์รังสฤษฏ์_________________________________________________________________________________สาระท่ี 1 : สิง่ มชี วี ิตกับกระบวนการดารงชีวติมาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดูแลส่งิ มชี ีวติความคดิ รวบยอด ลาต้นมขี ้อปล้อง บรเิ วณข้อจะมีใบที่ซอกใบมีตา ลาต้นทาหนา้ ทีช่ กู ิง่ ใบ ดอก ผล ให้อยู่เหนอื ระดับผวิ ดนิและยังทาหนา้ ทล่ี าเลยี งอาหาร สารอาหาร และนา้โครงสรา้ งและการเจรญิ เติบโตของลาต้น 1. เนือ้ เย่ือเจรญิ สว่ นปลายยอด 2. ใบเรมิ่ เกดิ (leaf primordium) 3. ใบอ่อน (young leaf) 4. ลาต้นออ่ น (young stem)โครงสรา้ งภายในลาต้น จะเหน็ บรเิ วณหรอื ชั้นบรเิ วณตา่ งๆ 3 บรเิ วณ ดังน้ี 1. เอพิเดอร์มสิ 2. คอร์เทก็ ซ์ 3. สตีล 3.1 กลุ่มท่อลาเลียง 3.2 วาสคิวลาร์เรย์ (vascular ray) 3.3 พิธ ครูผ้สู อน : นางสาวศริ ริ ัตน์ หวงั สะและ่ ฮ์

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนหนั คาราษฎร์รงั สฤษด์ิ ภาคเรยี นที่ 1 การเตบิ โตทตุ ิยภูมขิ องลาต้นพชื ใบเล้ียงคู่ เป็นการเจริญเติบโตเพ่อื ขยายขนาดทางดา้ นข้างของลาตน้ โดยมีวาสควิ ลาร์แคมเบียมเกิดข้ึนตรงแนวระหว่างไซเล็มปฐมภมู ิและโฟลเอ็มปฐมภมู แิ ละเกดิ ขึ้นระหว่างกลมุ่ ท่อลาเลียงบริเวณวาสคิวลารเ์ รยโ์ ดยรอบลาต้นหนา้ ที่และชนิดของลาต้น ชนดิ ของลาต้น แบ่งออกเปน็ 1. ต้นไมใ้ หญ(่ tree) หรอื ไมย้ ืนตน้ 2. ต้นไม้พุม่ (shrub) 3. ต้นไม้ล้มลุก (herb) ลาต้นเหนือดินทเ่ี ปล่ียนแปลงไปทาหนา้ ทพี่ เิ ศษ 1. ครพี พงิ สเต็ม (creeping stem) 2. ไคลบบงิ สเตม็ ( Climbing stem) 2.1 ทวินนงิ สเตม็ (twining stem) 2.2 มอื เกาะ (tendril stem) 2.4 หนาม (stem spine) ลาตน้ ใต้ดนิ (Undergroud stem) สามารถจาแนกได้ 4 ชนิด 1. แงง่ หรอื เหงา้ หรือ ไรโซม (Rhizome) 2. ทูเบอะ (Tuber) 3. บลั บ์ (bulb) 4. คอรม์ (Corm)จดุ ประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1. สบื คน้ ขอ้ มลู เกีย่ วกบั โครงสร้างและหนา้ ทขี่ องลาต้น 2. อธบิ ายโครงสรา้ งและการเจรญิ เติบโตของลาตน้ ได้ 3. อธิบายการเติบโตทุตยิ ภมู ิของลาตน้ พชื ใบเล้ียงคู่ 4. บอกหน้าท่ีและชนิดของลาตน้ เหนือดนิ และลาตน้ ใตด้ นิ ได้การดาเนินกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1.สรา้ งความสนใจ ให้นักเรียนดูภาพต้นไมใ้ นระยะตา่ งๆ พร้อมบอกความแตกต่าง 2. ขน้ั สารวจ และค้นหา ใหน้ กั เรียนอธบิ ายและอภปิ รายความแตกตา่ งของลาตน้ ในระยะตา่ งๆ 3. ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรุป 1. ครูอธิบายเรื่องโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องลาต้น โดย power point ครูผู้สอน : นางสาวศิริรตั น์ หวังสะและ่ ฮ์

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นหนั คาราษฎร์รงั สฤษดิ์ ภาคเรยี นท่ี 1 2.ครแู ละนักเรียนช่วงกันอภิปรายและสรปุ เรือ่ งโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของลาต้น 4. ขนั้ ขยายความรู้ ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาลักษณะของโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของลาตน้ จากบทปฏิบัติการ 5. ข้นั ประเมนิ ครูประเมนิ การเรียนร้ขู องนกั เรยี นดงั นี้การตอบคาถามในช้นั เรียน การรว่ มกนั อภปิ รายส่อื การเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้ 1. ภาพรลาตน้ ภาพเนอื้ เย่อื ของลาต้น 2. ส่อื การสอน power point เร่อื งโครงสร้างและหนา้ ทขี่ องลาต้น 3. ใบความรเู้ ร่อื งเน้อื โครงสรา้ งและหน้าที่ของลาตน้ 4. ใบงานบทปฏบิ ัติการเรอื่ งโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องลาต้น 5. ลาตน้ พืชชนิดต่างๆ เชน่ เลบ็ มอื นาง เฟ่อื งฟ้า เป็นตน้ ครูผสู้ อน : นางสาวศริ ิรตั น์ หวงั สะและ่ ฮ์

กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นที่ 1 บันทกึ ผลหลงั การสอนบนั ทึกผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ................................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................ครูผู้สอน (นางสาวศริ ริ ตั น์ หวังสะแล่ะฮ)์ วันท่ี ........................................ความคิดเหน็ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ................................................หวั หน้ากลุม่ สาระ (นายจักรกฤษณ์ ทองทบั ทิม) วันท่ี ........................................ความคดิ เห็นหวั หนา้ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ....................................... หวั หนา้ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ (นางทศั นีย์ วงทองดี) วันท่ี .......................................ความคิดเห็นผบู้ ริหารสถานศกึ ษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .........................................ผู้อานวยการโรงเรียน (นายวินัย คาวิเศษ) วันที่ ....................................... ครูผสู้ อน : นางสาวศิรริ ัตน์ หวังสะและ่ ฮ์

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรยี นท่ี 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 เรื่อง โครงสรา้ งและหน้าทีข่ องใบรายวชิ า ชีววิทยา 3 รหสั วชิ า ว 32243 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5/1 เวลา 3 ชัว่ โมงกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 โรงเรียน หนั คาราษฎร์รังสฤษด์ิครูผสู้ อน นางสาวศิรริ ตั น์ หวังสะแล่ะฮ์สาระท่ี 1 : ส่งิ มชี ีวติ กบั กระบวนการดารงชวี ติมาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหนว่ ยพ้นื ฐานของสิ่งมีชวี ติ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตท่ีทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดแู ลสิง่ มีชวี ิตความคดิ รวบยอด ใบ ทาหน้าท่ีในการสังเคราะห์ด้วยแสง และปัจจัยที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ แสง แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า และคลอโรฟิลล์ ดังน้ัน โครงสร้างของใบจึงต้องเอื้อต่อการรับแสง การแลกเปล่ียนแก๊สคารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละการลาเลียงนา้ สารอาหาร และอาหาร หน้าท่ีของใบ ใบมหี นา้ ท่ีที่สาคญั ดงั นี้ 1. ผลติ อาหารโดยวิธีการสงั เคราะห์ด้วยแสง 2. แลกเปลยี่ นแกส๊ 3. ระเหยน้า ส่วนประกอบของใบ 1. ตวั ใบหรอื แผ่นใบ (Lamina หรือ Blade) 2. ก้านใบ (Petiole หรือ Stalk) 3. หูใบ (Stiple) ชนดิ ของใบ 1. ใบเดย่ี ว (simple leaf) 2. ใบประกอบ (compound leaf) 2.1 ใบประกอบแบบขนนก ( Pinnately compound leaf)  ใบประกอบแบบขนนกช้ันเดยี ว (Pinnately compound leaf)  ใบประกอบแบบขนนกสองช้ัน (bipinnately compound leaf) ครผู สู้ อน : นางสาวศิริรัตน์ หวงั สะและ่ ฮ์

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนหนั คาราษฎร์รงั สฤษด์ิ ภาคเรยี นที่ 1  ใบประกอบแบบขนนกสามช้ัน (tripinnately compound leaf) 2.2 ใบประกอบแบบนวิ้ มือ (Palmately compound leaf)โครงสร้างภายในของใบ 1. เอพิเดอรม์ ิส (Epidermis) 2. มโี ซฟิลล์ (Mesophyll) 2.1. แพลเิ ซดมโี ซฟิลล์ (Palisade Mesophyll) 2.2. สปันจมี โี ซฟลิ ล์ (Spongy mesophyll) 3. มัดทอ่ ลาเลียง (Vascular bundle)ใบที่เปลยี่ นแปลงไปทาหน้าท่ีพเิ ศษ (Modified leaf) ไดแ้ ก่ 1. มอื เกาะ (leaf tendril) 2. หนาม (Leaf spine) 3. ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) 4. ใบเกลด็ (Scale leaf) 5. ท่นุ ลอย (Floating leaf) 6. ใบประดบั หรอื ใบดอก (Bract ) 7. ใบสบื พันธุ์ 8. กับดักแมลงจุดประสงค์ เพื่อใหน้ ักเรียนสามารถ 1. อธิบายโครงสร้างและการเจริญเติบโตของใบได้ 2. อธิบายโครงสรา้ งภายในของใบได้ 3. บอกหนา้ ทแี่ ละชนดิ ของของใบได้การดาเนินกิจกรรมการเรยี นการสอน1.สรา้ งความสนใจ ให้นกั เรียนดูใบมะยม ใบนนทรี ใบเฟ่อื งฟา้ แลว้ ถามวา่ ใบทัง้ สามใบน้ีแตกต่างกนั หรือไม่ อย่างไร2. ขัน้ สารวจ และค้นหา ให้นักเรียนจับกลุ่ม ศึกษาใบงานโครงสร้างและหน้าท่ีของใบ ส่งตัวแทนออกมาบอกความแตกต่างของใบไม้ที่ครนู ามาแสดงใหด้ ู ครผู ูส้ อน : นางสาวศริ ริ ตั น์ หวงั สะและ่ ฮ์

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นท่ี 13. ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรปุ 1. ครูอธิบายเร่อื งเนือ้ เย่อื พชื โดย power point และแผนภาพ 2.ครูและนักเรียนช่วงกนั อภิปรายและสรปุ เรอื่ งโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของใบ4. ขัน้ ขยายความรู้ ครูให้นักเรียนศกึ ษาชนดิ ของใบตา่ งๆ จากรปู และใบพชื จริง และการทาแลปปฏิบัติการ5. ขน้ั ประเมนิ ครูประเมินการเรยี นรู้ของนกั เรยี นดังนก้ี ารตอบคาถามในชนั้ เรยี น การรว่ มกนั อภปิ รายส่ือการเรยี นรู้/แหล่งการเรียนรู้ 1. ใบพชื ชนิดตา่ งๆ ภาพใบพืช 2. ส่ือการสอน power point เรือ่ งโครงสร้างและหน้าที่ของใบ 3. ใบความรเู้ ร่ืองโครงสร้างและหนา้ ท่ีของใบการวัดและประเมนิ วธิ ีการวัด เครอ่ื งมอื การวัด เกณฑก์ ารประเมินผล การตอบคาถาม - แบบคาถาม - ตอบได้ถกู ต้องครอบคลุม จดุ ประสงค์ - ใบงาน - คะแนนเกนิ ครงึ่ ถือวา่ ผ่าน1. อธบิ ายโครงสร้างและการเจรญิ เตบิ โตของใบได้ - แบบคาถาม - ตอบได้ถกู ต้องครอบคลมุ - ใบงาน - คะแนนเกินครงึ่ ถือว่าผ่าน2. อธิบายโครงสร้างภายใน การตอบคาถามของใบได้ - แบบคาถาม - ตอบได้ถกู ต้องครอบคลุม - ใบงาน - คะแนนเกนิ คร่ึงถือวา่ ผา่ น3. บอกหน้าที่และชนิดของ การตอบคาถามของใบได้ ครผู ้สู อน : นางสาวศิรริ ัตน์ หวงั สะและ่ ฮ์

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรยี นหันคาราษฎร์รงั สฤษด์ิ ภาคเรยี นที่ 1 บนั ทกึ ผลหลงั การสอนบนั ทึกผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ................................................ครูผู้สอน (นางสาวศิรริ ัตน์ หวังสะแล่ะฮ)์ วนั ที่ ........................................ความคดิ เหน็ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ................................................หวั หนา้ กลุ่มสาระ (นายจกั รกฤษณ์ ทองทับทิม) วันท่ี ........................................ความคดิ เหน็ หวั หน้ากลุ่มงานบริหารวชิ าการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ....................................... หวั หนา้ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ (นางทัศนยี ์ วงทองดี) วันที่ .......................................ความคดิ เห็นผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .........................................ผูอ้ านวยการโรงเรยี น (นายวินัย คาวเิ ศษ) วนั ท่ี ....................................... ครูผู้สอน : นางสาวศริ ิรตั น์ หวงั สะและ่ ฮ์

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรยี นท่ี 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5 เร่ือง การแลกเปล่ียนแกส๊ และการคายนา้ ของพืชรายวชิ า ชีววิทยา 3 รหสั วชิ า ว 32243 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5/1กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 3 ชวั่ โมงครผู สู้ อน นางสาวศริ ิรัตน์ หวังสะแล่ะฮ์ โรงเรยี น หนั คาราษฎร์รงั สฤษด์ิ_________________________________________________________________________________สาระท่ี 1 : สงิ่ มชี วี ิตกับกระบวนการดา้ รงชีวติมาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชวี ติ ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิตท่ีทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดูแลสิ่งมีชีวิตความคิดรวบยอด การเปดิ หรือปิดของปากใบมีบทบาทสาคัญต่อการแลกเปลย่ี นแก๊สของพืช ผลท่ีตามมาเมื่อแลกเปล่ียนแก๊สคือพืชจะสูญเสียนา้ ออกสบุ่ รรยากาศในรปู ของไอนา้ ผา่ นทางรปู ากใบเรยี กว่า การคายนา้ พชื นอกจากจะสูญเสียน้าโดยการระเหยเปน็ ไอออกมาทางปากใบแลว้ พืชยงั สามารถสูญเสียน้าเป็นไอน้าออกมาทางเลนทเิ ซล (lenticle) ซ่ึงเปน็ รอยแตกท่ีผิวของลาต้นได้อกี ดว้ ย รูปากใบเปิดเมื่อเซลล์คุมเต่งและปิดเม่ือเซลล์คุมสูญเสียความเต่ง เซลล์คุมเต่งจะสูญเสียความเต่งได้โดยท่ี ความเข้มขน้ ของสารละลายภายในเซลล์กาหนดความเตง่ ของเซลล์คุม เม่ือมีแสงปริมาณโพแทสเซียมไอออนในเซลล์คุมเพิ่มข้ึน ทาให้ความเข้มข้นของสารละลายเพ่ิมขึ้น น้าจากเซลล์ข้างเคียงจึงแพร่เข้าสู่เซลล์คุม ทาให้เซลล์เต่งมากข้ึนและเปล่ียนรูปไปทาให้ปากใบเปิด ในทางตรงกันข้ามการลดปริมาณโพแทสเซียมไอออนในเซลล์คุม ทาให้ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์คุมลดลง นา้ จะแพร่ออกจากเซลล์คมุ ทาใหเ้ ซลลค์ มุ เปลี่ยนรปู ไป เปน็ ผลให้ปากใบปิดปัจจัยท่มี ผี ลตอ่ การเปิดปิดของปากใบ และการคายนา้ ของพชื - อณุ หภูมิ - ความชื้น - ลม - สภาพนา้ ในดนิ - ความเข้มของแสง ครูผูส้ อน : นางสาวศริ ริ ัตน์ หวงั สะและ่ ฮ์

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นที่ 1จดุ ประสงค์ เพ่ือให้นกั เรียนสามารถ 1. อธบิ ายกลไก การเปดิ ปดิ ของใบได้ 2. อธิบายปจั จัยทม่ี ีปัจจัยท่ีมผี ลต่อการเปิดปิดของปากใบ และการคายน้าของพืชการดา้ เนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอน1.สรา้ งความสนใจ ให้นกั เรียนตอบคาถามว่า เหตุใดพชื จงึ ต้องขับน้าทเี่ หลือออกจากต้นพชื ด้วยการคายน้า พร้อมกับให้ดูรูปการคายนา้ ของพืช2. ขัน้ ส้ารวจ และคน้ หา ให้นักเรยี นชว่ ยกันหาคาตอบจากประสบการณเ์ ดมิ และใบความรู้ โดยท่ีครจู ะยังไม่เฉลยคาตอบ3. ขนั้ อธิบายและลงข้อสรปุ 1. ครอู ธบิ ายเร่อื งการแลกเปลย่ี นแกส๊ และการคายน้าของพืชโดย power point 2.ครูและนกั เรียนชว่ งกันอภิปรายและสรปุ เรื่องการแลกเปล่ียนแก๊สและการคายน้าของพืช4. ขั้นขยายความรู้ ครใู หน้ กั เรยี นออกมาอธบิ ายกลไกการเปดิ ปดิ ของปากใบพรอ้ มกบั สรปุ ตามความเข้าใจของตนเอง5. ขั้นประเมิน ครปู ระเมนิ การเรียนรูข้ องนักเรยี นดังนี้ การตอบคาถามในช้ันเรยี น การร่วมกันอภปิ รายในชน้ั เรียนสอ่ื การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้ 1. สอ่ื การสอน power point เรอื่ งการแลกเปล่ยี นแก๊สและการคายนา้ ของพืช 2. ใบความรเู้ รอื่ งการแลกเปลย่ี นแก๊สและการคายนา้ ของพชืการวัดและประเมนิจุดประสงค์ วิธกี ารวัด เครือ่ งมอื การวัด เกณฑ์การประเมินผล - แบบคาถาม - ตอบได้ถกู ต้องครอบคลุม1. อธบิ ายกลไก การเปิดปิด การตอบคาถาม - ใบงาน - คะแนนเกินครึ่งถือว่าผ่านของใบได้2. อธิบายปัจจัยท่ีมีปัจจัยท่ี การตอบคาถาม - แบบคาถาม - ตอบได้ถกู ต้องครอบคลมุมีผลต่อการเปิดปิดของปาก - ใบงาน - คะแนนเกนิ ครงึ่ ถือวา่ ผา่ นใบ และการคายน้าของพชื ครูผสู้ อน : นางสาวศิรริ ตั น์ หวงั สะและ่ ฮ์

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรยี นที่ 1 บันทึกผลหลงั การสอนบนั ทึกผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ................................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................ครูผ้สู อน (นางสาวศิริรัตน์ หวังสะและ่ ฮ์) วันท่ี ........................................ความคิดเห็นหวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ................................................หวั หน้ากลุ่มสาระ (นายจักรกฤษณ์ ทองทับทิม) วันท่ี ........................................ความคดิ เหน็ หัวหนา้ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ....................................... หัวหนา้ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ (นางทัศนีย์ วงทองดี) วันที่ .......................................ความคดิ เห็นผู้บริหารสถานศกึ ษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .........................................ผู้อานวยการโรงเรยี น (นายวินยั คาวเิ ศษ) วนั ท่ี ....................................... ครผู ู้สอน : นางสาวศิรริ ตั น์ หวังสะและ่ ฮ์

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนหนั คาราษฎร์รงั สฤษดิ์ ภาคเรยี นท่ี 1 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 เรือ่ ง การลา้ เลยี งน้าของพืชรายวิชา ชีววิทยา 3 รหัสวชิ า ว 32243 ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5/1กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 1 ช่ัวโมงครูผสู้ อน นางสาวศริ ริ ัตน์ หวังสะแล่ะฮ์ โรงเรยี น หนั คาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ_________________________________________________________________________________สาระท่ี 1 : สิ่งมีชีวติ กับกระบวนการด้ารงชีวติมาตรฐาน ว 1.1 : เขา้ ใจหนว่ ยพื้นฐานของส่งิ มชี ีวิต ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตท่ีทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดูแลสงิ่ มีชีวิตความคดิ รวบยอด รากพืชโดยท่ัวไปจะแตกออกเป็นรากแขนงเล็ก ๆ ที่บริเวณส่วนปลายของราก จะมีขนรากมากทาให้เพ่ิมพื้นท่ีสัมผสั กับน้า ขนรากดูดนา้ โดยกระบวนการออสโมซสิน้าเคลื่อนทเี่ ข้าสรู่ ากได้ 2 วถิ ี คือ1. วถิ ีอโพพลาส (apoplasmic pathway) น้าในดินจะเข้าสู่รากผ่านช้ันคอร์เทกซ์ของรากไปจนถึงชั้นเอนโดเดอร์มิสโดยน้าจะผ่านจากเซลล์หนงึ่ ทางผนังเซลลห์ รอื ผ่านทางช่องวา่ งระหว่างเซลล์2. วิถีซิมพลาส(symplasmic pathway) วิถีซิมพลาสน้าจะเคลื่อนผ่านเซลล์หนึ่งไปอีกเซลล์หน่ึงทางไซโทพลาซึมท่ีเรียกว่า พลาสโมเดสเข้าไปในเซลล์เอนโดเดอร์มิสก่อนเข้าสู่ไซเล็ม เพราะน้าจะเคล่ือนถึงผนังช้ันเอนโดเดอร์มิสที่มีแคสพาเรียนสติพกั้นอยู่ แคสพาเรียนสติพจะป้องกันไม่ให้น้าผ่านผนังเซลล์เข้าไปในไซเล็ม ดังนั้นน้าจึงต้องผ่านทางไซโทพลาสซึมจงึ จะเขา้ ไปในไซเล็มได้จุดประสงค์ เพ่ือใหน้ กั เรียนสามารถ 1. อธบิ ายกระบวนการการลาเลยี งนา้ และสารอาหารจากรากได้ 2. อธบิ ายการลาเลียงน้าในไซเลม็ ได้

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นท่ี 1การดา้ เนินกจิ กรรมการเรยี นการสอน1.สรา้ งความสนใจ ให้นักเรยี นชมวดี ที ัศน์ การลาเลยี งนา้ ของพชื2. ขั้นสา้ รวจ และคน้ หา ใหน้ กั เรียนช่วยกันสรปุ กระบวนการลาเลียงนา้ ของพชื จากวดี ที ัศน์และใบความรู้3. ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรุป 1. ครูอธิบายเรื่องการลาเลยี งนา้ ของพชื โดย power point 2.ครูและนกั เรยี นชว่ งกันอภิปรายและสรุปเรื่องการลาเลียงนา้ ของพชื4. ขน้ั ขยายความรู้ ครูให้นกั เรียนออกมาอธบิ ายกระบวนการลาเลียงนา้ ของพืชจากวิดที ัศน์ตามความเข้าใจของตนเอง5. ขนั้ ประเมนิ ครูประเมนิ การเรยี นรขู้ องนกั เรียนดงั น้ี การตอบคาถามในชัน้ เรยี น การร่วมกนั อภิปรายในชน้ั เรยี นสือ่ การเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 1. สื่อการสอน power point เรือ่ งการลาเลยี งน้าของพืช 2. ใบความรเู้ ร่ืองการลาเลียงนา้ ของพืชการวดั และประเมินจุดประสงค์ วิธีการวัด เครือ่ งมือการวดั เกณฑก์ ารประเมินผล - แบบคาถาม - ตอบได้ถูกต้องครอบคลมุ1. อธิบายกระบวนการการ การตอบคาถาม - ใบงาน - คะแนนเกินครง่ึ ถอื วา่ ผ่านลาเลียงน้าและสารอาหารจากรากได้2. อธิบายการลาเลียงน้าใน การตอบคาถาม - แบบคาถาม - ตอบได้ถูกต้องครอบคลมุไซเล็มได้ - ใบงาน - คะแนนเกินคร่ึงถอื ว่าผ่าน

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรียนท่ี 1 บันทกึ ผลหลงั การสอนบันทึกผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญั หาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ................................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................ครูผู้สอน (นางสาวศริ ริ ตั น์ หวังสะแล่ะฮ์) วันที่ ........................................ความคดิ เห็นหัวหนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ................................................หวั หน้ากลุ่มสาระ (นายจักรกฤษณ์ ทองทับทิม) วันที่ ........................................ความคิดเห็นหวั หน้ากลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ....................................... หวั หน้ากลมุ่ งานบริหารวชิ าการ (นางทศั นีย์ วงทองดี) วนั ท่ี .......................................ความคิดเหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .........................................ผ้อู านวยการโรงเรยี น (นายวินยั คาวเิ ศษ) วันที่ .......................................

กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรยี นท่ี 1 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 7 เร่ือง การลาเลยี งสารอาหารของพชืรายวชิ า ชีววิทยา 3 รหัสวชิ า ว 32243 ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/1 เวลา 1 ชัว่ โมงกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 โรงเรียน หันคาราษฎร์รงั สฤษดิ์ครผู สู้ อน นางสาวศริ ริ ตั น์ หวงั สะแล่ะฮ์สาระท่ี 1 : สงิ่ มชี ีวติ กบั กระบวนการดารงชีวิตมาตรฐาน ว 1.1 : เขา้ ใจหนว่ ยพื้นฐานของสิ่งมีชีวติ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิตท่ีทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดแู ลสงิ่ มชี ีวิตความคิดรวบยอด กระบวนการลาเลยี งสารอาหารในรากมี 2 วธิ ี คอื การลาเลียงแบบไม่ใชพ้ ลังงาน (passive transport) โดยสารอาหารจะลาเลียงจากที่ท่ีมีความเข้มข้นสูงกว่าไปยังท่ีที่มีความเข้มข้นต่ากว่า และการลาเลียงแบบใช้พลังงาน(active transport) ซึ่งเป็นการลาเลยี งสารอาหารจากท่ีที่มีความเข้มข้นต่ากว่าไปยังที่ที่มีความเข้มข้นสูงกว่าโดยอาศัยพลังงาน นกั วิทยาศาสตร์ได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการจัดวา่ ธาตุใดเป็นสารอาหารที่จาเปน็ ต่อการเจริญเติบโตของพืช ซง่ึมอี ยู่ 3 ประการ คือ 1. ธาตุน้ันจาเปน็ ต่อการเจรญิ เติบโตของพชื ถา้ ขาดธาตนุ น้ั พชื จะไมส่ ามารถดารงชวี ิตทาใหก้ ารเจริญเติบโตและการสบื พนั ธุ์ไม่ครบวงจร 2. ความตอ้ งการชนดิ ของธาตุนั้นในการเจริญเติบโตของพชื มคี วามจาเพาะ จะใช้ธาตุอนื่ ทดแทนไมไ่ ด้ 3. ธาตุนัน้ จาเปน็ ต่อกระบวนการเมแทบอลซิ ึมและการเจริญเติบโตของพชื โดยตรง ไม่ใช่ธาตุท่ีแก้ไขความเหมาะสมของดินหรือเสริมธาตชุ นดิ อ่นื ในการเจริญเติบโตของพืช มีการแบ่งสารอาหารของพืชออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ สารอาหารหลัก (macronutrients)ประกอบด้วยธาตุ 6ชนิด ได้แก่ N P K Ca Mg และ S และสารอาหารรอง (micronutrients) ประกอบด้วยธาตุ 7 ชนิด ได้แก่ B Fe CuZn Mn Mo และ Cl

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรียนที่ 1จุดประสงค์ เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถ1. อธบิ ายกระบวนการการลาเลยี งสารอาหารของพชื ได้ๆ2. บอกหน้าที่ของธาตุบางชนิด และอาการตอบสนองหรืออาการทพี่ ืชแสดงออกได้การดาเนินกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1.สร้างความสนใจ ให้นกั เรียนดภู าพของพืช ผกั ผลไม้ ทไ่ี ดร้ ับสารอาหารทีเ่ หมาะสม กับพชื ทไ่ี มไ่ ด้รับสารอาหารที่เหมาะสม 2. ข้ันสารวจ และค้นหา ให้นกั เรียนช่วยกนั วเิ คราะห์หาสาเหตขุ องความแตกต่างระหวา่ งพืชท่ีได้รบั สารอาหารทเี่ หมาะสม กับพืชท่ีไม่ไดร้ บั สารอาหารที่เหมาะสม 3. ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรุป 1. ครอู ธบิ ายเร่อื งการลาเลยี งสารอาหารของพืชโดย power point 2.ครแู ละนักเรยี นชว่ งกันอภิปรายและสรุปเรื่องการลาเลยี งสารอาหารของพืช4. ข้นั ขยายความรู้ ครใู หน้ กั เรยี นออกมาสรุปหน้าทีข่ องธาตบุ างชนดิ และอาการตอบสนองหรอื อาการท่พี ชื แสดงออกบนกระดาน5. ขั้นประเมิน ครปู ระเมินการเรยี นรูข้ องนกั เรยี นดงั น้ี การตอบคาถามในชั้นเรียน การร่วมกันอภิปรายในชั้นเรยี นส่อื การเรียนร้/ู แหล่งการเรยี นรู้ 1. สอื่ การสอน power point เรอ่ื งการลาเลียงน้าของพชื 2. ใบความร้เู รือ่ งการลาเลียงนา้ ของพชืการวดั และประเมิน จดุ ประสงค์ วิธีการวดั เครื่องมือการวัด เกณฑก์ ารประเมนิ ผล - แบบคาถาม - ตอบได้ถกู ต้องครอบคลมุ1. อธิบายกระบวนการการ การตอบคาถาม - ใบงาน - คะแนนเกินครึง่ ถอื ว่าผ่านลาเลียงสารอาหารของพืช - แบบคาถาม - ตอบได้ถูกต้องครอบคลมุ - ใบงาน - คะแนนเกนิ ครึ่งถอื ว่าผา่ นไดๆ้2. บอกหน้าท่ีของธาตุบาง การตอบคาถามชนิด และอาการตอบสนองหรืออาการที่พชื แสดงออกได้

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรยี นท่ี 1 บันทึกผลหลงั การสอนบันทึกผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญั หาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ................................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ................................................ครูผู้สอน (นางสาวศริ ิรตั น์ หวังสะแล่ะฮ)์ วันที่ ........................................ความคิดเห็นหวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ................................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ (นายจกั รกฤษณ์ ทองทบั ทิม) วันท่ี ........................................ความคดิ เหน็ หวั หนา้ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ....................................... หัวหนา้ กลุม่ งานบริหารวชิ าการ (นางทัศนยี ์ วงทองดี) วนั ที่ .......................................ความคิดเห็นผ้บู รหิ ารสถานศึกษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .........................................ผูอ้ านวยการโรงเรียน (นายวนิ ยั คาวเิ ศษ) วนั ท่ี .......................................

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรยี นท่ี 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรอ่ื ง การลาเลียงอาหารของพชืรายวิชา ชีววิทยา 3 รหัสวชิ า ว 32243 ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5/1กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชวั่ โมงครผู ู้สอน นางสาวศริ ริ ัตน์ หวงั สะแล่ะฮ์ โรงเรยี น หันคาราษฎร์รังสฤษด์ิสาระท่ี 1 : ส่ิงมชี วี ิตกบั กระบวนการดารงชีวิตมาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสง่ิ มีชีวิต ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดูแลสิง่ มีชีวิตความคิดรวบยอด การลาเลยี งอาหารจะลาเลียงไปตามเนอื้ เยื่อโฟลเอ็ม มีทิศทางข้ึนไปสู่ยอดและลงไปสู่ราก ส่วนหน่ึงของน้าตาลที่พืชสร้างข้ึนจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงในคอลโรพลาสต์ จะถูกลาเลียงออกมาในไซโทพลาสซึม แล้วเปลี่ยนเป็นน้าตาลซูโครส จากนั้นซูโครสจะเคล่ือนย้ายอกจากเซลล์ท่ีเป็นแหล่งสร้างไปยังโฟลเอ็มโดยเข้าสู่ ซีฟทิวบ์ของโฟลเอ็ม ทาให้ความเข้มข้นของสารละลายในซีฟทิวบ์ต้นทางสูงขึ้น น้าจากเซลล์ข้างเคียงออสโมซิสเข้ามาและเพ่ิมแรงดันในซีฟทิวบ์ ดันให้สารละลายน้าตาลซูโครสลาเลียงไปตามท่อซีพทิวบ์จนถึงเนื้อเยื่อต่างๆ น้าตาลซูโครสจะออกจากซีฟทิวบ์เข้าสู่เซลล์ในเน้ือเยื่อเหล่านั้น เพื่อใช้ในกระบวนการต่างๆ หรือเก็บสะสมไว้ในเซลล์ ทาให้ซีพทิวบ์ปลายทางมีความเข้มข้นของสารละลายลดลง น้าจากซีฟทิวบ์ปลายทางจึงแพร่ออกสู่เซลล์ข้างเคียงเป็นผลให้ซีฟทิวบ์ปลายทางมีแรงดันน้อยกว่าซีฟทิวบ์ต้นทาง จึงมีการลาเลียงอาหารอย่างต่อเน่ืองเกิดขึ้นตลอดเวลาที่ใบพืชมีการสงั เคราะห์ด้วยแสง โดยมแี รงผลักดนั จากความแตกต่างของแรงดนั ในซีพทิวบ์ตน้ ทางและปลายทางจุดประสงค์ เพ่ือใหน้ กั เรยี นสามารถ1. เขา้ ใจการทดลองของ T.G. Mason E.J. Maskell และ M.H. Zimmerman2. อธิบายกระบวนการลาเลยี งอาหารได้

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ ภาคเรยี นท่ี 1การดาเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน1.สรา้ งความสนใจ ให้นักเรยี นดภู าพการทดลองของ T.G. Mason และ E.J. Maskell2. ข้นั สารวจ และค้นหา ให้นักเรยี นวเิ คราะห์ว่าทาไมการทดลองของ T.G. Mason และ E.J. Maskell จึงเป็นอย่างนั้น พร้อมกับศึกษาตามใบความรู้3. ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรุป 1. ครอู ธิบายเรือ่ งการลาเลยี งอาหารของพชื โดย power point 2.ครูและนกั เรยี นชว่ งกนั อภปิ รายและสรุปเรอ่ื งการลาเลียงอาหารของพืช4. ขน้ั ขยายความรู้ ครใู ห้นกั เรียนออกมาอธบิ ายกระบวนการการลาเลยี งอาหารของพืชพร้อมกับสรุปตามความเขา้ ใจของตนเอง5. ข้ันประเมิน ครูประเมนิ การเรยี นร้ขู องนกั เรยี นดงั น้ี การตอบคาถามในชน้ั เรยี น การร่วมกนั อภิปรายในช้ันเรียนสอ่ื การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้ 1. สื่อการสอน power point เรอื่ งการแลกเปลยี่ นแกส๊ และการคายนา้ ของพชื 2. ใบความรเู้ ร่ืองการแลกเปล่ียนแกส๊ และการคายน้าของพืชการวัดและประเมนิ วธิ กี ารวดั เครอื่ งมือการวัด เกณฑ์การประเมนิ ผล การตอบคาถาม - แบบคาถาม - ตอบได้ถกู ต้องครอบคลมุ จดุ ประสงค์ - ใบงาน - คะแนนเกนิ ครงึ่ ถอื ว่าผา่ น1. เข้าใจการทดลองของT.G. Mason E.J.Maskell และ M.H.Zimmerman2. อธิบายกระบวนการ การตอบคาถาม - แบบคาถาม - ตอบได้ถกู ต้องครอบคลุมลาเลียงอาหารได้ - ใบงาน - คะแนนเกนิ ครง่ึ ถอื ว่าผ่าน

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรยี นที่ 1 บันทกึ ผลหลงั การสอนบันทกึ ผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญั หาอุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ................................................ครูผู้สอน (นางสาวศริ ริ ัตน์ หวงั สะและ่ ฮ)์ วนั ท่ี ........................................ความคดิ เหน็ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................หวั หน้ากลุม่ สาระ (นายจกั รกฤษณ์ ทองทบั ทิม) วันที่ ........................................ความคิดเหน็ หัวหน้ากล่มุ งานบริหารวชิ าการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................... หัวหนา้ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ (นางทศั นยี ์ วงทองดี) วันท่ี .......................................ความคดิ เห็นผู้บริหารสถานศกึ ษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่อื .........................................ผู้อานวยการโรงเรยี น (นายวนิ ัย คาวเิ ศษ) วนั ที่ .......................................

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ ังสฤษดิ์ ภาคเรียนที่ 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9เรื่อง การค้นคว้าทเ่ี กีย่ วข้องกบั การสังเคราะหด์ ้วยแสงและโครงสรา้ งของคลอโรพลาสต์รายวิชา ชีววิทยา 3 รหสั วชิ า ว 32243 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5/1กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 2 ชวั่ โมงครผู ้สู อน นางสาวศริ ริ ตั น์ หวังสะแล่ะฮ์ โรงเรียน หันคาราษฎรร์ ังสฤษด์ิสาระท่ี 1 : สง่ิ มีชวี ิตกับกระบวนการดารงชวี ิตมาตรฐาน ว 1.1 : เขา้ ใจหน่วยพนื้ ฐานของส่ิงมชี วี ติ ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดูแลสง่ิ มชี ีวติความคิดรวบยอด การค้นคว้าที่เกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง- สมมติฐานของ JEAN BAPTISTE VAN HELMONT ว่า นา้ หนกั ของตน้ หลิว่ ทเ่ี พ่ิมขึน้ เปน็ น้าหนักของนา้ ฝน- สมมตฐิ าน JOSEPH PRIESTLEY วา่ ต้นไม้เปลยี่ นอากาศเสียใหเ้ ป็นอากาศดี- สมมติฐาน JAN INGEN HOUSZ วา่ เมอ่ื พชื โดนแสงจะเปลี่ยนจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซดใ์ หเ้ ปน็ สารอินทรีย์และ แก๊สออกซเิ จน- สมมติฐาน NICOLAS THEODORE DE SOUSSURE ว่า นา้ หนกั ท่ีเพมิ่ ขนึ้ บางส่วนเป็นน้าหนกั ของแก๊ส คารบ์ อนไดออกไซด์ทีพ่ ืชไดร้ ับ- สมมติฐาน Van Niel ว่า ในกระบวนการสรา้ งอาหารของพชื น้ันคล้ายกบั การสรา้ งอาหารของแบคทีเรยี ซึ่งแสงมี บทบาทสาคัญทาให้โมเลกลุ ของน้าแตกตัวเป็น H+ กบั OH- จากนน้ั H+ จะเข้าทาปฏกิ ริ ิยากบั CO2 เกดิ เป็น คารโ์ บไฮเดรต ( CH2O ) ขนึ้- สมมติฐาน SAM RUBEN & MARTIN KAMEN วา่ ออกซิเจนอสิ ระท่ีไดจ้ าการสังเคราะหด์ ้วยแสงมาจากน้า- สมมตฐิ าน ROBIN HILL ว่า

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ ังสฤษดิ์ ภาคเรยี นท่ี 1จุดประสงค์ เพือ่ ให้นกั เรียนสามารถ1.บอกสมมตฐิ านของการค้นควา้ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การสงั เคราะห์ด้วยแสง2.อธิบายโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องคลอโรพลาสตไ์ ด้การดาเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอน1.สรา้ งความสนใจ ถามความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงว่า เกิดข้ึนอย่าไร มีองค์ประกอบท่ีสาคัญไดแ้ ก่อะไรบ้าง มีสมการทางเคมีวา่ อย่างไร2. ข้นั สารวจ และคน้ หา ให้นักเรยี นศึกษาการคน้ ควา้ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การสงั เคราะหด์ ้วยแสงและโครงสร้างของคลอโรพลาสตจ์ ากหนังสือและดวู า่ คาตอบท่ตี อบถกู ต้องหรอื ไม่3. ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป1. ครูอธิบายเร่ืองการค้นคว้าทเี่ กยี่ วข้องกับการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงและโครงสรา้ งของคลอโรพลาสต์โดย power point2.ครแู ละนกั เรียนช่วงกนั อภปิ รายและสรุปเรอ่ื งการคน้ คว้าทเ่ี กย่ี วข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสงและโครงสรา้ งของคลอโรพลาสต์4. ขนั้ ขยายความรู้ครใู ห้นักเรยี นสรปุ ว่านักวทิ ยาศาสตร์แตล่ ะคนตงั้ สมมตฐิ านว่าอยา่ งไร และทาใบงานเร่ือง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสงั เคราะห์ด้วยแสงและโครงสร้างของคลอโรพลาสต์5. ขนั้ ประเมิน ครูประเมินการเรียนรู้ของนกั เรยี นดงั นก้ี ารตอบคาถามในชัน้ เรียน การร่วมกนั อภปิ รายสอื่ การเรยี นรู้/แหล่งการเรียนรู้ 1. สอ่ื การสอน power point เรอ่ื งการคน้ คว้าท่เี กีย่ วขอ้ งกบั การสงั เคราะหด์ ้วยแสงและโครงสร้างของคลอโรพลาสต์ 2. รูปภาพนักวิทยาศาสตรแ์ ต่ละทา่ น และโครงสรา้ งของคลอโรพลาสต์

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรียนท่ี 1การวดั และประเมิน วธิ ีการวัด เคร่อื งมือการวัด เกณฑ์การประเมนิ ผล การตอบคาถาม - แบบคาถาม - ตอบได้ถูกต้องครอบคลุม จุดประสงค์ - ใบงาน - คะแนนเกินครงึ่ ถือวา่ ผ่าน1. อธิบายโครงสร้างและการเจริญเติบโตของใบได้2. อธิบายโครงสรา้ งภายใน การตอบคาถาม - แบบคาถาม - ตอบได้ถูกต้องครอบคลุมของใบได้ - ใบงาน - คะแนนเกินคร่งึ ถือวา่ ผ่าน3. บอกหนา้ ทแ่ี ละชนิดของ การตอบคาถาม - แบบคาถาม - ตอบได้ถูกต้องครอบคลุมของใบได้ - ใบงาน - คะแนนเกินครง่ึ ถือว่าผา่ น

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ ภาคเรียนที่ 1 บนั ทึกผลหลงั การสอนบนั ทึกผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญั หาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ................................................ครผู สู้ อน (นางสาวศิริรัตน์ หวงั สะและ่ ฮ)์ วนั ที่ ........................................ความคดิ เหน็ หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ................................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระ (นายจักรกฤษณ์ ทองทับทิม) วนั ท่ี ........................................ความคดิ เห็นหวั หน้ากลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ....................................... หัวหนา้ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ (นางทัศนีย์ วงทองดี) วนั ที่ .......................................ความคดิ เหน็ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ .........................................ผ้อู านวยการโรงเรียน (นายวินยั คาวิเศษ) วนั ท่ี .......................................

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ ังสฤษดิ์ ภาคเรียนท่ี 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 10 เรื่อง ปฏิกิริยาแสงรายวิชา ชีววิทยา 3 รหสั วชิ า ว 32243 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5/1กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ชัว่ โมงครผู ูส้ อน นางสาวศริ ริ ัตน์ หวังสะแล่ะฮ์ โรงเรยี น หนั คาราษฎรร์ งั สฤษดิ์_________________________________________________________________________________สาระท่ี 1 : ส่ิงมชี วี ติ กับกระบวนการดารงชีวิตมาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหนว่ ยพืน้ ฐานของส่งิ มีชวี ติ ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดแู ลสิ่งมชี วี ิตความคดิ รวบยอด บนเย่ือไทลาคอยด์จะมีระบบแสง I ระบบแสง II และโปรตีนหลายชนิดที่ทาหน้าที่รับและถ่ายอิเล็กตรอนต่อๆไปตามลาดบั การถ่ายทอดอิเล็กตรอนดังกล่าวข้างต้นเกิดข้ึนได้ 2 ลักษณะคือการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร(non- cyclie electron transfer) และการถ่ายทอดอเิ ลก็ ตรอนแบบเปน็ วฏั จักร (cyclic electron transfer)การถ่ายทอดอเิ ลก็ ตรอนแบบไมเ่ ป็นวฏั จักร พลังงานแสงทีไ่ ด้รับสารสรี บั ไว้ถกู สง่ ผา่ นไปยงั ศูนย์กลางปฏกิ ริ ิยาของระบบแสงทาให้โมเลกุลของคลอโรฟิลล์เอทีร่ ะบบแสงI และระบบแสงII ถูกกระตนุ้ จ่ึงปล่อยอิเลก็ ตรอนให้กับโมเลกุลของสารท่ีเปน็ ตวั รบั อิเล็กตรอนต่อไป คลอโรฟิลล์เอท่ีเป็นศูนย์กลางปฏิกิริยาในระบบแสงII จะส่งอิเล็กตรอนผ่านตัวรับอิเล็กตรอนหลายชนิดรวมท้งั พลาสโทควิโนน (plastoquinone) และไซโทโครมคอมเพล็กซ์ (cytochrome complex) ไปยังระบบแสง I ทาให้อิเล็กตรอนในคลอโรฟิลล์เอที่เป็นศูนย์กลางปฏิกิริยาในระบบแสง I ได้รับกระกระตุ้นจึงถ่ายทอดไปยังตัวรับอิเล็กตรอนอีกหลายชนิดจนถึงเฟอริดอกซิน (ferridoxin : Fd) ซ่ึงจะส่งอิเล็กตรอนให้กับ NADP+ กลายเป็นNADPHอิเลก็ ตรอนจะไม่ยอ้ นกลับไปทร่ี ะบบแสง I อีกสาหรบั ศูนยก์ ลางปฏิกริ ิยาของระบบแสง II เมื่อสูญเสียอิเล็กตรอนไปมีผลทาให้สามารถดึงอิเล็กตรอนของน้าออกมาแทนที่ซ่ึงทาให้โมเลกุลของน้าแยกสลายเป็นออกซิเจนและโปรตอน โปรตอนท่ีเกดิ จากการสลายตวั ของน้าจงึ เกิดภายในลูเมนนอกตาน้ีขณะที่มีการสง่ อเิ ลก็ ตรอนผา่ น พลาสโทคิวโนนและไซโทโครมคอบเพล็กซ์จะมีการเคล่ือนย้ายโปรตอนจากสโตรมาเข้าสู่ลูเมนทาให้เกิดความแตกต่างของระดับโปร ตอนระหว่าสโตรมากับลเู มนโปรตอนในลเู มนซ่ึงมคี วามเข้มขน้ มากกว่าจะถกู สง่ ผา่ นออกไปยังสโตรมาทาให้มีการสังเคราะห์ ATP ขึ้นในสโตรมาโดยมี ATP synthase ชว่ ยส่งเสรมิ การทางาน

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นท่ี 1การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร สารสีในระบบแสง I จะรับพลังงานแสงและถ่ายทอดหลังงานไปยังคลอดโรฟิลล์เอที่เป็นศูนย์กลางปฏิกิริยาอิเล็กตรอนของศูนย์กลางปฏิกิริยาจะถ่ายทอดไปยังตัวรับอิเล็กตรอนต่างๆ จนถึงเฟอริดอกซินแล้วจะถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปยังไซโทโครมคอมเพล็กซ์ จากนั้นจะส่งผ่านตัวนาอิเล็กตรอนต่างๆ จนอิเล็กตรอนกลับมายังคลอโรฟิลล์เอที่เป็นศูนย์กลางปฏิกิริยาของระบบแสง I อีกครั้งหนึ่งในการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนครั้งนี้จะทาให้โปรตรอนเคลื่อนย้ายจากสโตรมาเข้าสู่ลูเมน เป็นผลให้เกิดความแตกต่างของความเข้มข้นของโปรตอนระหว่างลูเมนกับสโตรมาได้เช่นกัน และเมื่อมีการสะสมโปรตอนภายในลูเมนมากขึ้นเป็นแรงผลักดันให้มีการ เคลื่อนย้ายโปรตอนออกสู่สโตรมาเกิดการสังเคราะห์ ATP โดยไม่มี NADPH และออกซิเจนเกิดข้ึนจดุ ประสงค์ เพื่อให้นกั เรยี นสามารถ 1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และสรุปขั้นตอนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร และการถ่ายทอดอิเลก็ ตรอนแบบเปน็ วัฏจักร 2. เปรยี บเทยี บการถา่ ยทอดอเิ ลก็ ตรอนแบบไม่เปน็ วัฏจักร และการถ่ายทอดอิเลก็ ตรอนแบบเปน็ วัฏจกั รการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน1.สร้างความสนใจ ใหน้ กั เรยี นดภู าพการจดั เรยี งตัวของโครงสร้างทีอ่ ย่เู ยอื่ ไทลาคอยด์ ว่ามีอะไรบ้าง และมีความสาคัญอย่างไร2. ข้ันสารวจ และคน้ หา ครทู บทวนความรู้จากการทดลองของอารน์ อน และถามนักเรียนวา่ พืชเปล่ยี นพลังงานแสงมาเปน็ พลังงานในรูปของ ATP และ NADPH ได้อยา่ งไรโดยให้ศกึ ษาจากใบความรู้3. ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรุป 1. ครูอธบิ ายเรื่องการถ่ายทอดอเิ ล็กตรอนแบบไมเ่ ปน็ วฏั จักร และการถ่ายทอดอเิ ล็กตรอนแบบเปน็ วฏั จักร 2.ครแู ละนกั เรยี นช่วยกนั สรุปข้ันตอนการถา่ ยทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร และการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเปน็ วฏั จักร4. ขั้นขยายความรู้ ครใู หน้ ักเรียนเปรียบเทียบการถ่ายทอดอิเลก็ ตรอนแบบไม่เปน็ วัฏจักร และการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจกั รลงสมดุ5. ข้นั ประเมิน ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน การตอบคาถามในชั้นเรียน การร่วมกันอภิปราย และการสรุปข้อเปรียบเทียบในสมุด

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ ังสฤษดิ์ ภาคเรียนที่ 1สื่อการเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรือ่ ง ปฏิกิรยิ าแสง 2. รปู ภาพการจดั เรยี งตวั ของโครงสรา้ งท่อี ยเู่ ยื่อไทลาคอยด์การวัดและประเมินจุดประสงค์ วิธีการวัด เคร่อื งมอื การวดั เกณฑ์การประเมินผล - แบบคาถาม - ตอบได้ถูกต้องครอบคลมุ1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย การตอบคาถาม - ใบงาน - คะแนนเกินคร่ึงถือวา่ ผา่ นแ ล ะ ส รุ ป ข้ั น ต อ น ก า รถา่ ยทอดอิเล็กตรอนแบบไม่ - แบบคาถาม - ตอบได้ถูกต้องครอบคลุมเป็นวัฏจักร และการ - ใบงาน - คะแนนเกินครึง่ ถอื วา่ ผา่ นถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวฏั จกั ร2. เ ป รี ย บ เ ที ย บ ก า ร การตอบคาถามถา่ ยทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร และการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเปน็ วฏั จกั ร

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ ังสฤษดิ์ ภาคเรียนท่ี 1 บันทึกผลหลงั การสอนบนั ทกึ ผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญั หาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ................................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................ครูผู้สอน (นางสาวศิรริ ัตน์ หวังสะและ่ ฮ)์ วันท่ี ........................................ความคิดเห็นหวั หน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ................................................หวั หน้ากลุม่ สาระ (นายจกั รกฤษณ์ ทองทับทิม) วันที่ ........................................ความคดิ เห็นหวั หนา้ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ....................................... หวั หน้ากลุม่ งานบริหารวชิ าการ (นางทัศนีย์ วงทองดี) วันท่ี .......................................ความคิดเห็นผู้บริหารสถานศึกษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .........................................ผอู้ านวยการโรงเรียน (นายวินัย คาวเิ ศษ) วนั ที่ .......................................

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรยี นที่ 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 11เรอ่ื ง การตรงึ คารบ์ อนไดออกไซด์ และโฟโตเรสไพเรชนัรายวชิ า ชีววิทยา 3 รหัสวชิ า ว 32243 ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/1กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 เวลา 4 ช่วั โมงครผู สู้ อน นางสาวศริ ิรัตน์ หวงั สะแล่ะฮ์ โรงเรยี น หนั คาราษฎรร์ งั สฤษดิ์สาระที่ 1 : สง่ิ มชี ีวติ กับกระบวนการดารงชีวิตมาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิตท่ีทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดูแลสิ่งมีชีวิตความคดิ รวบยอดการตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ วฏั จกั รคลั วินเปน็ กระบวนการท่ีพชื นาพลงั งานเคมีท่ไี ดจ้ ากปฏกิ ิริยาแสงในรูป ATP และ NADPH มาใช้ในการสร้างสารอินทรีย์ เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในสโตรมาของคลอโรพลาสต์ประกอบด้วยปฏิกิริยา 3 ขั้นตอนคือ คาร์บอกซเิ ลชัน (carboxylation) รดี กั ชัน Reduction และ รีเจเนอเรชนั (regeneration) 1. Carbon fixation : การรวมตัวของ CO2 กับ ribulose-1,5-bisphosphate (RuBP) เกิด 3-PGA โดยเอนไซม์ ribulose-1,5-bisphosphate carboxylase (Rubisco) 2. Reduction : รีดิวซ์ 3-PGA เป็น glyceraldehyde-3-phosphate (G3P) โดยใช้ ATP และNADPHเปล่ียน G3P ไปเป็นนา้ ตาลและสารอินทรีย์ 3. Regeneration : สรา้ ง RuBP อีกครั้งเพ่ือให้ปฏิกิริยาดาเนนิ ต่อได้โฟโตเรสไพเรชัน โดยปกติแก๊สออกซเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซ่ึงเกิดในคลอโรพลาสต์นั้นส่วนหนึ่งถูกนาไปใช้ในการหายใจระดับเซลล์ซึ่งเกิดในไมโทคอนเดรียเช่นเดียวกับเซลล์ของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ออกซิเจนอีกส่วนหน่ึงจะแขง่ ขันกับคาร์บอนไดออกไซด์ในการทาปฏิกิริยากบั RuBP เมื่อพชื ตรงึ ออกซเิ จนด้วย RuBP ทาให้ RuBP จะถูกสลายเป็น PGA 1 โมเลกลุ และสารประกอบคาร์บอน 2อะตอม 1 โมเลกุลด้วย โดย PGA ถูกนาไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ส่วนสารประกอบคาร์บอน 2 อะตอมน้ีจะถูกเปล่ียนกลับไปเป็น RuBP อีกคร้ังหน่ึงโดยใช้คาร์บอน 2 อะตอมนี้จานวน 3 โมเลกุล เปลี่ยนไปเป็น RuBP ซ่ึงเป็น

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ ังสฤษดิ์ ภาคเรียนท่ี 1สารที่มีคาร์บอน 5 อะตอม 1 โมเลกุล อีก 1 อะตอมของคาร์บอนจะถูกปลดปล่อยในรูปของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมเลกุล อาจสรุปได่ว่าในกระบวนการนี้มีการใช้ออกซิเจนทาปฏิกิริยากับ RuBP แล้วปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ซ่ึงกระบวนการน้ีจึงคล้ายกับกระบวนการหายใจที่มีการใช้ออกซิเจนสลายอาหารแล้วปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา แต่กระบวนการนี้เกิดข้ึนเมื่อมีแสง ดังนั้นจึงเรียกว่า โฟโตเรสไพเรชัน(phoatorespiration)จดุ ประสงค์ เพือ่ ใหน้ กั เรยี นสามารถ1.สืบค้นขอ้ มลู อธบิ ายกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์2.สบื ค้นขอ้ มูล และอธบิ ายเกี่ยวกับการเกิดโฟโตเรสไพเรชันการดาเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน1.สรา้ งความสนใจ ถามนักเรียนว่า นักเรียนทราบมาแล้วว่าการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชมีการใช้คาร์บอนไดออกไซด์เพื่อสร้างสารประกอบคาร์โบไฮเดรต แล้วการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ของพืชนี้มีกระบวนการอย่างไร2. ขัน้ สารวจ และค้นหา ใหน้ ักเรียนศึกษาได้จากการทดลองของ คัลวิน และเบนสัน และช่วยกันสรุปผลการทดลอง3. ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป 1. ครูอธบิ ายเร่ืองการตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ และโฟโตเรสไพเรชัน 2.ครแู ละนักเรยี นชว่ งกนั อภปิ รายและสรปุ เรอ่ื งการตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ และโฟโตเรสไพเรชัน4. ขนั้ ขยายความรู้ ครูใหน้ ักเรียนชว่ ยกันตอบคาถามว่า โฟโตเรสไพเรชันต่างจากการหายใจอย่างไร และโฟโตเรสไพเรชันสัมพันธ์กับการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงอยา่ งไร5. ขั้นประเมนิ ครูประเมนิ การเรยี นรูข้ องนกั เรียนดงั น้กี ารตอบคาถามในชัน้ เรียน การร่วมกนั อภปิ รายสอ่ื การเรียนร/ู้ แหล่งการเรียนรู้ 1.หนงั สอื เรียนรายวชิ าเพิ่มเติม ชีววิทยา เลม่ 3 2.ใบงานเรื่องการตรงึ คารบ์ อนไดออกไซด์ และโฟโตเรสไพเรชนั

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ ภาคเรียนท่ี 1การวดั และประเมิน วิธกี ารวดั เครอ่ื งมือการวัด เกณฑ์การประเมนิ ผล การตอบคาถาม - แบบคาถาม - ตอบได้ถกู ต้อง จุดประสงค์ - ใบงาน ครอบคลุม1. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ าย - คะแนนเกินครงึ่ ถือวา่กลไกการตรงึ - แบบคาถาม ผ่านคาร์บอนไดออกไซด์ - ใบงาน - ตอบได้ถกู ต้อง ครอบคลุม2. สบื คน้ ข้อมลู และอธิบาย การตอบคาถาม - คะแนนเกนิ คร่ึงถือวา่เก่ยี วกับการเกดิ โฟโตเรส ผ่านไพเรชนั

กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นที่ 1 บันทกึ ผลหลงั การสอนบันทกึ ผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญั หาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ................................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ................................................ครผู สู้ อน (นางสาวศิริรตั น์ หวงั สะแล่ะฮ)์ วนั ท่ี ........................................ความคดิ เหน็ หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ................................................หวั หนา้ กลุ่มสาระ (นายจักรกฤษณ์ ทองทบั ทิม) วนั ที่ ........................................ความคดิ เห็นหวั หน้ากลมุ่ งานบริหารวชิ าการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ....................................... หัวหนา้ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ (นางทัศนีย์ วงทองดี) วันท่ี .......................................ความคดิ เหน็ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .........................................ผู้อานวยการโรงเรียน (นายวนิ ัย คาวิเศษ) วันท่ี .......................................

กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ ภาคเรยี นท่ี 1

กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ ภาคเรียนท่ี 1 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 12 เรอื่ ง กลไกการเพิ่มความเข้มขน้ ของคารบ์ อนไดออกไซด์ในพืช C4รายวิชา ชีววิทยา 3 รหสั วชิ า ว 32243 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/1กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 2 ช่วั โมงครูผสู้ อน นางสาวศิรริ ัตน์ หวังสะแล่ะฮ์ โรงเรยี น หันคาราษฎร์รงั สฤษดิ์สาระที่ 1 : สิง่ มีชีวติ กับกระบวนการดารงชีวิตมาตรฐาน ว 1.1 : เขา้ ใจหนว่ ยพ้นื ฐานของสิง่ มีชวี ิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตท่ีทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดแู ลส่ิงมชี ีวติความคดิ รวบยอด การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4 เกิดขน้ึ 2ครงั้คร้ังแรก เกิดขึ้นที่เซลล์มีโซฟิลล์ เป็นการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในรูปของสารประกอบอนินทรีย์ของไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน (HCO-3) โดยฟอสโฟอีนอลไพรูเวต (phosphoenolpyruvate) หรือกรดฟอสโฟอีนอลไพรูวิก(phosphoenolpyruvic acid) หรือใช้สัญลักษณ์ PEP ซึ่งเป็นสารที่มีคาร์บอน 3 อะตอม ได้เป็นออกซาโลแอซิเลต(oxaloacetate) หรือ กรดออกซาโลแอซิติก (oxaloacetic acid) หรือใช้สัญลักษณ์ย่อว่า OAA ซึ่งมีคาร์บอน4 อะตอม สารชนิดน้ีเป็นสารประกอบเสถียรท่ไี ดจ้ ากการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ จึงเรียกพืชที่มีกระบวนการเช่นนี้ว่าพืชC4 จากนั้น OAA จะถูกเปล่ียนเป็นมาเลต (malate) หรือ กรดมาลิก (malic acid) แล้วลาเลียงผ่านพลาสโมเดสมาตาเขา้ สบู่ นั เดิลชีทครง้ั ทส่ี อง เกิดข้ึนในเซลล์บันเดิลชีท โดยมาเลตที่ถูกลาเลียงจากเซลล์มีโซฟิลล์เข้ามาสู่เซลล์บันเดิลชีทจะถูกสลายได้เป็นไพรูเวตและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซ่ึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะเข้าสู่วัฏจักรคัลวินในคลอโรพลาสต์ของเซลล์บนั เดิลชที ส่วนไพรูเวตจะถูกสง่ ผ่านพลาสโมเดสมาตาไปยังเซลล์มโี ซฟิลลต์ ามเดิมเพ่ือเปลี่ยนเป็น PEP โดยใช้พลังงานจาก ATPจดุ ประสงค์ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถ1.อธิบายกลไกการเพ่มิ ความเขม้ ขน้ ของคาร์บอนไดออกไซด์ในพชื C4ได้2.เปรยี บเทยี บกลไกการเพม่ิ ความเขม้ ขน้ ของคารบ์ อนไดออกไซด์ในพืช C3กับพชื C4 ได้

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ ภาคเรยี นท่ี 1การดาเนนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอน1.สรา้ งความสนใจ ถามความรเู้ ดิมของนักเรียนเกี่ยวกบั การตรงึ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพืช C3 ว่าเกดิ ขึ้นท่ีไหน อย่างไร2. ข้ันสารวจ และคน้ หา ใหน้ กั เรียนศึกษาการคน้ ควา้ ที่เก่ียวข้องกบั กลไกการเพ่ิมความเข้มข้นของคารบ์ อนไดออกไซด์ในพชื C4จากหนงั สือว่ามีความเหมือนหรือแตกตา่ งจากพืช C3 หรือไม่อย่างไร3. ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรุป 1. ครอู ธบิ ายเรอ่ื งกลไกการเพ่ิมความเข้มข้นของคารบ์ อนไดออกไซด์ในพืช C4 2.ครแู ละนกั เรยี นช่วงกนั อภิปรายและสรุปเรอื่ งกลไกการเพ่ิมความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซดใ์ นพชื C44. ข้ันขยายความรู้ ครใู หน้ ักเรียนเปรียบเทยี บกลไกการเพม่ิ ความเข้มข้นของคารบ์ อนไดออกไซด์ในพชื C3กบั พชื C45. ขนั้ ประเมนิ ครูประเมินการเรยี นรขู้ องนักเรยี นดงั นี้การตอบคาถามในชั้นเรยี น การรว่ มกนั อภิปรายสื่อการเรียนรู/้ แหลง่ การเรยี นรู้ 1.หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เลม่ 3 2.ใบงานเรอื่ งกลไกการเพมิ่ ความเข้มขน้ ของคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพชื C4การวัดและประเมนิ วิธกี ารวัด เครื่องมอื การวดั เกณฑก์ ารประเมินผล การตอบคาถาม - แบบคาถาม - ตอบได้ถกู ต้อง จุดประสงค์ - ใบงาน ครอบคลุม1.อธบิ ายกลไกการเพ่ิม การตอบคาถาม - คะแนนเกินครึ่งถอื วา่ความเขม้ ข้นของ - แบบคาถาม ผ่านคารบ์ อนไดออกไซด์ในพืช - ใบงาน - ตอบได้ถูกต้องC4ได้ ครอบคลุม - คะแนนเกินครึ่งถอื วา่2.เปรียบเทียบกลไกการ ผ่านเพมิ่ ความเขม้ ขน้ ของคาร์บอนไดออกไซด์ในพืชC3กับพชื C4 ได้

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ ังสฤษดิ์ ภาคเรียนท่ี 1 บันทกึ ผลหลงั การสอนบันทกึ ผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญั หาอุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ................................................ครผู สู้ อน (นางสาวศริ ิรัตน์ หวังสะและ่ ฮ)์ วันท่ี ........................................ความคดิ เหน็ หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................หวั หน้ากล่มุ สาระ (นายจกั รกฤษณ์ ทองทบั ทิม) วันท่ี ........................................ความคดิ เหน็ หวั หนา้ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................... หวั หน้ากลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ (นางทัศนยี ์ วงทองดี) วนั ที่ .......................................ความคิดเห็นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ .........................................ผ้อู านวยการโรงเรยี น (นายวินยั คาวเิ ศษ) วันที่ .......................................

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนหันคาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ ภาคเรียนท่ี 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 13 เร่ือง กลไกการเพิม่ ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช CAMรายวชิ า ชีววิทยา 3 รหสั วชิ า ว 32243 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5/1กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ชวั่ โมงครผู ูส้ อน นางสาวศิริรตั น์ หวังสะแล่ะฮ์ โรงเรียน หันคาราษฎรร์ ังสฤษดิ์สาระท่ี 1 : สงิ่ มชี ีวิตกบั กระบวนการดารงชีวิตมาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหนว่ ยพื้นฐานของสงิ่ มชี ีวติ ความสมั พันธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ทีข่ องระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตท่ีทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเอง และดูแลสิ่งมชี ีวติความคดิ รวบยอดวัฏจักร CAM เป็นวัฏจักรท่ีพืชมีการสร้างกรดอินทรีย์ ซ่ึงมีปริมาณเปล่ียนไปตามเวลาของช่วงวัน โดยปริมาณของกรดอินทรยี ์จะลดลงเวลากลางวนั และจะเพมิ่ มากข้นึ เวลากลางคนื การเปลยี่ นแปลงของระดับกรดอินทรีย์นี้ เกดิ ขนึ้ เนอื่ งจากการปดิ ปากใบในเวลากลางวนั และเปดิ ปากใบในเวลากลางคืนเพ่ือลดการสูญเสียน้า โดยในช่วงเวลากลางคืนท่ีปากใบเปิด พืชจะมีดูดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้ามาภายในใบเพ่ือทาปฏิกิริยากับ PEP ภายในไซโทพลาซึมเกดิ เป็นกรดออกซาโลอะซิติก และจะถูกเปลี่ยนเป็นกรดมาลิกเหมือนในวัฏจักรแฮทช์-สแลก และกรดมาลิกจะถูกเก็บสะสมไว้ในแวควิ โอล (vacuole) ซึ่งช่วยป้องกันความเป็นพิษของกรดต่อเซลล์ของพืชเอง จากน้ันกรดมาลิกท่ีถูกสะสมไว้ในช่วงกลางคืนจนรุ่งเช้าจะถูกย่อยโดยเอนไซม์มาลิกเปลี่ยนให้เป็นกรดไพรูวิกและคาร์บอนไดออกไซด์ โดยคาร์บอนไดออกไซด์จะทาปฏิกิริยากับ RuBp และเข้าสู่วัฏจักรแคลวิน-เบนสัน เพ่ือสร้างน้าตาลและแป้งต่อไป และกรดไพรูวิกจะถูกเปล่ียนไปเป็น PEP โดยเอนไซม์ไพรูเวต-ฟอสเฟตไดไคเนสเพื่อนาไปใช้หมุนเวียนรับคาร์บอนไดออกไซดใ์ หม่จุดประสงค์ เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถ 1. อธบิ ายกลไกการเพ่ิมความเข้มข้นของคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพืช CAM ได้ 2. เปรยี บเทยี บกลไกการเพ่มิ ความเขม้ ข้นของคาร์บอนไดออกไซดใ์ นพชื C3 พืช C4 และพืช CAM

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ ภาคเรียนท่ี 1การดาเนนิ กิจกรรมการเรียนการสอน1.สร้างความสนใจ ถามความรู้เดิมของนักเรยี นเก่ียวกบั การตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ในพชื C3 และพืช C4 ว่าเกดิ ข้ึนท่ีไหน อย่างไร2. ข้นั สารวจ และคน้ หา ให้นักเรยี นศึกษาการคน้ ควา้ ท่ีเกี่ยวข้องกบั กลไกการเพิ่มความเขม้ ข้นของคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพชื CAMจากหนังสือวา่ มคี วามเหมอื นหรือแตกต่างจากพชื C3 และพืช C4 หรือไม่อยา่ งไร3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 1. ครูอธบิ ายเรอ่ื งกลไกการเพม่ิ ความเขม้ ข้นของคาร์บอนไดออกไซดใ์ นพืช CAM 2. ครแู ละนกั เรยี นช่วงกันอภิปรายและสรุปเร่ืองกลไกการเพมิ่ ความเขม้ ข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในพชืCAM4. ขั้นขยายความรู้ ครูใหน้ ักเรยี นเปรียบเทยี บกลไกการเพ่มิ ความเข้มขน้ ของคาร์บอนไดออกไซดใ์ นพชื C3 พืช C4 และพืช CAM5. ข้นั ประเมิน ครปู ระเมนิ การเรียนรู้ของนักเรียนดงั นกี้ ารตอบคาถามในช้ันเรียน การรว่ มกันอภปิ รายส่อื การเรียนรู/้ แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียนรายวิชาเพ่มิ เติม ชวี วิทยา เลม่ 3 2. ใบงานเรือ่ งกลไกการเพิ่มความเขม้ ข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช CAM

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ งั สฤษดิ์ ภาคเรียนที่ 1การวดั และประเมนิ จดุ ประสงค์ วธิ กี ารวดั เครอ่ื งมอื การวดั เกณฑ์การประเมินผล - แบบคาถาม - ตอบได้ถูกต้อง1. อธบิ ายกลไกการเพ่ิม การตอบคาถาม - ใบงาน ครอบคลุม - คะแนนเกินครึ่งถอื วา่ความเขม้ ข้นของ - แบบคาถาม ผา่ น - ใบงาน - ตอบได้ถูกต้องคารบ์ อนไดออกไซด์ในพืช ครอบคลุม - คะแนนเกนิ ครง่ึ ถือวา่CAMได้ ผา่ น2. เปรียบเทียบกลไกการ การตอบคาถามเ พิ่ ม ค ว า ม เ ข้ ม ข้ น ข อ งคาร์บอนไดออกไซด์ในพืชพืช C3 พืช C4 และพืชCAM

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ ังสฤษดิ์ ภาคเรียนท่ี 1 บันทกึ ผลหลงั การสอนบันทกึ ผลการสอน (K P A)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญั หาอุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ................................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ................................................ครูผ้สู อน (นางสาวศิรริ ัตน์ หวังสะและ่ ฮ)์ วันที่ ........................................ความคดิ เหน็ หวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ................................................หวั หน้ากลุ่มสาระ (นายจักรกฤษณ์ ทองทับทิม) วนั ท่ี ........................................ความคดิ เห็นหัวหนา้ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ....................................... หัวหน้ากล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ (นางทัศนีย์ วงทองดี) วนั ท่ี .......................................ความคดิ เหน็ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .........................................ผอู้ านวยการโรงเรยี น (นายวินัย คาวิเศษ) วนั ที่ .......................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook