Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Thailand Plantbank

Thailand Plantbank

Published by fern_fairytail, 2017-11-09 16:19:49

Description: thesis book 01

Keywords: Thailand Plantbank

Search

Read the Text Version

https://www.pinterest.com/pin/426997608410330705/ 01 INTRODUCTION บทท่ี 1 บทนำ 1-3 1.1 สถานการณด์ า้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 1-3 1.2 สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มประเทศไทย 1-3 1.3 ทรพั ยากรปา่ ไม้และสัตวป์ า่ 1-4 1.4 ความสาคญั ของธรรมชาติ 1-5 1.5 ความสาคญั ของทรพั ยากรป่าไม้ 1-7 1.6 วตั ถุประสงค์การศึกษา 1-7 1.7 ขอบเขตการศกึ ษา 1-7 1.8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั CONTENTS 1

https://www.pinterest.com/pin/426997608410999533/ 02 PRINCIPLES & THEORIES บทที่ 2 ทฤษฎแี ละหลกั กำรออกแบบท่ีเกีย่ วขอ้ ง 2.1 ความหมาย 2-1 2.2 ทฤษฎีทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 2-2 2.3 การอนุรกั ษ์เชอื้ พันธุกรรมพืช 2-4 2.4 พิพิธภณั ฑพ์ ืช (Herbarium) 2-9 2.5 ธนำคำรเมลด็ พันธ์ุ 2 - 21 2.6 ธนาคารดีเอน็ เอและเนอ้ื เยอื่ 2 - 23 2.7 หอ้ งสมดุ พฤกษศาสตร์ 2 - 25 2.8 หลักการออกแบบ 2 - 27 2.9 โครงการตัวอยา่ ง MBS 2 - 47 2.10 โครงการตัวอยา่ ง Australian Plantbank 2 - 51 2.11 โครงการตัวอยา่ ง Botanical Research Institute of Texas 2 - 56 CONTENTS 2

https://www.pinterest.com/pin/426997608410991162/ 03 SITE ANALYSIS บทท่ี 3 กำรศึกษำและวิเครำะหต์ ำแหนง่ ทีต่ ้ังโครงกำร 3.1 หลักการเลอื กที่ต้งั โครงการ 3-1 3.2 ความเป็นมาของสวนรกุ ขชาตมิ วกเหลก็ 3 - 5 3.3 การเลอื กทีต่ ัง้ โครงการ 3 - 11 CONTENTS 3

https://www.pinterest.com/pin/426997608411038665/ 04 DETAILS PROJECT DETERMINATION บทท่ี 4 การศึกษาและการกาหนดรายละเอียดของโครงการ 4.1 วัตถุประสงคข์ องโครงการ 4-1 4.2 หน่วยงานและเจา้ ของโครงการ 4-1 4.3 อัตรากาลงั เจ้าหน้าที่ 4-5 4.4 รายละเอยี ดผู้ใชโ้ ครงการ 4-4 4.5 กจิ กรรมในโครงการและพนื้ ที่ใช้สอย 4 - 15 4.6 ลาดบั การเขา้ ถึงโครงการ 4 - 17 4.7 แนวคดิ ในการออกแบบ 4 - 18 CONTENTS 4

https://www.pinterest.com/pin/117234396527809092/ สำรบัญภำพ 1-1 1-2 ภาพท่ี 1 ภาพในหลวงรชั กาลที่ 9 1-4 ภาพท่ี 2 ภาพปา่ ถูกทาลาย 1-6 ภาพที่ 3 ภาพช้างป่า 1-8 ภาพท่ี 4 ภาพธารนา้ ในป่า 2-1 ภาพที่ 5 ภาพป่าสน 2-4 ภาพที่ 6 ภาพตวั อยา่ งพชื 1 2-6 ภาพท่ี 7 ภาพตวั อย่างเมลด็ 1 2-8 ภาพท่ี 8 ภาพตัวอย่างพืช 2 2-9 ภาพท่ี 9 ภาพตัวอย่างเมล็ด 2 2 - 10 ภาพท่ี 10 ภาพตัวอยา่ งพืชแห้ง 1 2 - 12 ภาพที่ 11 ภาพคลงั เก็บตัวอย่างพืช 2 - 14 ภาพท่ี 12 ภาพตัวอยา่ งพืชแหง้ 2 2 - 16 ภาพท่ี 13 ภาพการอัดตวั อยา่ งพชื 2 - 18 ภาพท่ี 14 ภาพการตดิ ตัวอยา่ งพชื 2 - 20 ภาพที่ 15 ภาพโหลดอกตวั อย่างพชื 2 - 22 ภาพที่ 16 ภาพเห็ด 2 - 24 ภาพที่ 17 ภาพตวั อยา่ งเมลด็ 3 2 - 26 ภาพท่ี 18 ภาพจาลองสาย DNA 2 - 28 ภาพที่ 19 ภาพหนังสอื ในห้องสมดุ 2 - 29 ภาพท่ี 20 ภาพห้องปฏิบตั ิการ 1 2 - 30 ภาพท่ี 21 ภาพโมเดลจาลอง ภาพท่ี 22 ภาพแบบวศิ วกรรมไฟฟ้า

https://www.pinterest.com/pin/2885187237184984/ สำรบญั ภำพ 2 - 31 2 - 32 ภาพที่ 23 ภาพแบบระบบสขุ าภบิ าล 2 - 33 ภาพท่ี 24 ภาพพดั ลมระบบปรบั อากาศ 2 - 34 ภาพท่ี 25 ภาพอุปกรณด์ บั เพลงิ 2 - 35 ภาพที่ 26 ภาพป้ายบอกทางหนีไฟ 2 - 36 ภาพที่ 27 ภาพทางหนีไฟ 2 - 38 ภาพท่ี 28 ภาพบนั ไดหนีไฟ 2 - 40 ภาพที่ 29 ภาพห้องปฏิบัตกิ าร 2 2 - 41 ภาพที่ 30 ภาพหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 3 2 - 43 ภาพที่ 31 ภาพห้องปฏิบัติการ 4 2 - 44 ภาพที่ 32 ภาพอปุ กรณฉ์ กุ เฉิน 2 - 45 ภาพท่ี 33 ภาพของเสียอนั ตราย 2 - 46 ภาพท่ี 34 ภาพห้องคมุ ความชืน้ 2 - 48 ภาพที่ 35 ภาพหอ้ งเย็นเก็บเมลด็ พันธุ์ 2 - 49 ภาพที่ 36 ภาพ Millennium seedbank London 2 - 50 ภาพท่ี 37 ภาพแปลน MSB 2 - 52 ภาพที่ 38 ภาพรปู ตดั MSB 2 - 53 ภาพท่ี 39 ภาพAustralian Plantbank 2 - 54 ภาพท่ี 40 ภาพแปลน Australian Plantbank 2 - 56 ภาพท่ี 41 ภาพรปู ตัด 1 Australian Plantbank 2 - 57 ภาพท่ี 43 ภาพ Botanical Research Institute of Texas 2 - 58 ภาพท่ี 44 ภาพแปลนชั้น 1 BRIT ภาพท่ี 45 ภาพแปลนชั้น 2 BRIT

https://www.pinterest.com/pin/426997608410991162/ สำรบัญภำพ 3-1 3-2 ภาพที่ 46 ภาพพน้ื ทีป่ า่ ประเทศไทยในปจั จบุ นั 3-3 ภาพที่ 47 ภาพพน้ื ทีป่ ่าอดุ มสมบรู ณ์ 3-4 ภาพที่ 48 ภาพแสดงสถานท่ที ่ีเก่ยี วขอ้ ง 3-5 ภาพที่ 49 ภาพแสดงการคมนาคมยา่ นเขาใหญ่ 3-6 ภาพที่ 50 ภาพน้าตกในสวนรุกขชาตมิ วกเหลก็ 3-7 ภาพท่ี 51 ภาพท่ีต้ังโครงการ 3-8 ภาพที่ 52 ภาพการเลอื กท่ตี งั้ โครงการ 3-9 ภาพท่ี 53 ภาพโครงการใกล้เคยี งที่ตัง้ โครงการ 3 - 10 ภาพท่ี 54 ภาพผังสีการใช้ท่ดี ินจังหวดั สระบุรี 3 - 11 ภาพท่ี 55 ภาพระยะร่นทด่ี ินท่ีตั้งโครงการ 3 - 12 ภาพที่ 56 ภาพที่ตัง้ โครงการ 3 - 12 ภาพท่ี 57 ภาพเขตพน้ื ที่สวนรุกขชาตมิ วกเหลก็ 3 - 12 ภาพที่ 58 ภาพตาแหน่งทีต่ ้งั โครงการ 3 - 12 ภาพท่ี 59 ภาพถนนหลกั ทีเ่ ข้าถึงท่ีตงั้ โครงการ 3 - 12 ภาพที่ 60 ภาพการมองเห็นท่ตี ้งั โครงการ 3 - 12 ภาพท่ี 61 ภาพการวิเคราะหแ์ ดด ลม ฝน ภาพที่ 62 ภาพเสน้ ทางท่ีสามารถเข้าถงึ โครงการได้

https://www.pinterest.com/pin/426997608411038665/ สำรบัญตำรำง 4–5 4-6 ตารางท่ี 1 แสดงอตั รากาลังเจา้ หน้าท่หี นว่ ยเก็บเมล็ดพันธ์ุ 4–7 ตารางท่ี 2 แสดงอตั รากาลงั เจา้ หน้าท่หี นว่ ยเก็บเมล็ดพนั ธุ์ 4-8 ตารางที่ 3 แสดงอตั รากาลงั เจา้ หนา้ ท่หี นว่ ยตรวจสองและตั้งช่ือ 4–9 ตารางที่ 4 แสดงอตั รากาลังเจา้ หน้าที่หนว่ ยชีววิทยาพืชและเห็ด 4 - 10 ตารางท่ี 5 แสดงอตั รากาลงั เจา้ หน้าทห่ี น่วยอนรุ ักษ์ 4 – 11 ตารางที่ 6 แสดงอตั รากาลังเจา้ หนา้ ทห่ี นว่ ยทรพั ยากรธรรมชาติ ตารางที่ 7 แสดงอตั รากาลงั เจา้ หนา้ ท่ีหนว่ ยขอ้ มลู ความหลากหลาย 4 - 12 ทางชวี ภาพและการวเิ คราะห์เชิงพ้นื ท่ี ตารางที่ 8 แสดงอตั รากาลังเจา้ หน้าที่ฝา่ ยบริหาร

01 INTRODUCTION



https://i.pinimg.com/236x/63/2d/d9/632dd9ef87bf3f3b2ce8cb7966ae51ce--bhumibol-adulyadej-luxury-lifestyle.jpg THE KING’S SPEECH เม่ือวันที่ 16 สงิ หาคม พ.ศ.2547 ณ โรงแรมแชงกรีลา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี 9 ทรงมพี ระราชดารัส ในพิธีเปิด การประชุมวทิ ยาศาสตร์นานาชาติ เจ้าฟา้ จุฬาภรณ์ ครง้ั ที่ 5 เร่ืองวิวัฒนาการ ของพนั ธุศาสตร์ และผลกระทบตอ่ โลก ความตอนหนงึ่ ว่า “ ในปัจจบุ นั กำรศกึ ษำวจิ ยั ด้ำนพนั ธุศำสตร์มคี วำมเจรญิ กำ้ วหน้ำมำก และมกี ำรนำผลท่ีไดไ้ ปปรบั ใชใ้ นกจิ กำรดำ้ นต่ำงๆอยำ่ งกว้ำงขวำง ในโอกำสน้ี ข้ำพเจ้ำจงึ ใคร่จะปรำรภกับทุกทำ่ นวำ่ ควำมรู้ต่ำงๆ เหลำ่ นั้น แม้จะมีประโยชน์ มำกกจ็ รงิ แต่ถำ้ ใชไ้ มถ่ กู เรอื่ งถกู ทำง โดยไม่พจิ ำรณำใหด้ ีใหร้ อบคอบแล้ว ก็ อำจกอ่ ให้เกิดผลกระทบเสยี หำยแกช่ วี ิตควำมเป็นอยู่ และสง่ิ แวดลอ้ มอย่ำง รำ้ ยแรงไดเ้ ชน่ กนั เหตุนีป้ ระเทศตำ่ งๆ โดยเฉพำะประเทศท่ีกำลังพฒั นำจำเปน็ จะต้องศกึ ษำให้ร้เู ทำ่ และรู้ทนั จงึ เป็นที่น่ำยินดีอยำ่ งย่ิง ที่ไดเ้ ห็นผ้เู ชี่ยวชำญ จำกประเทศตำ่ งๆ มำประชุมปรกึ ษำหำรอื กนั รวมทง้ั นำเสนอผลงำนกำร ศกึ ษำวจิ ัยเก่ยี วกบั เรือ่ งวิวัฒนำกำรของพนั ธุศำสตร์ และผลกระทบตอ่ โลก ทำให้หวงั ได้วำ่ กำรนำควำมรดู้ ้ำนพันธศุ ำสตร์ไปปรับใชใ้ นกิจกำรด้ำนตำ่ งๆ จะ เป็นไปดว้ ยควำมระมดั ระวงั รอบคอบ เพอ่ื ให้เกิดประโยชน์ และควำมปลอดภยั สงู สุดแก่มวลมนษุ ยชำติ ”1-1 ภาพที่ 1 ภาพในหลวงรัชกาลท่ี 9

http://www.naturepicoftheday.com/npods/2009/july/burned_forest_of_borjomi_full.jpg WHAT WE HAVE DONE TO NATURE การพฒั นาทผ่ี า่ นมาไดร้ ะดมใช้ทรัพยากรธรรมชาตโิ ดยเฉพาะ ที่ดนิ ป่าไม้ แหลง่ นา้ ทรัพยากรชายฝงั่ ทะเล ทรัพยากรธรณี ในอัตราทีส่ ูงมากและเป็นไปอยา่ ง ไมม่ ปี ระสิทธิภาพจนมผี ลทาให้ทรพั ยากรธรรมชาตเิ หลา่ นเ้ี กดิ การรอ่ ยหรอ และ เสอ่ื มโทรมลงอยา่ งรวดเรว็ รวมทั้งเริ่มส่งผลกระทบตอ่ การดารงชวี ิตของ ประชาชนในชนบททตี่ ้องพ่ึงพาทรัพยากรเป็นหลกั ในการยังชพี จากการลดลงของพนื้ ที่ป่าจานวนมากในระยะเวลาทผ่ี า่ นมามีผลกระทบต่อ ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศป่าไมแ้ ละสถานภาพของพชื และสตั ว์หลายชนิด โดย บางชนดิ ได้สญู พนั ธุไ์ ปแลว้ และบางชนิดเสยี่ งต่อการสูญพันธ์ุหายากและถูกคุกคาม ดังน้นั จงึ ควรมีการวิจัยและอนรุ ักษธ์ รรมชาติเพ่อื ให้มีทรพั ยากรไวใ้ ชใ้ นอนาคตและ เพ่อื ให้ไดว้ ิธีทจี่ ะใช้ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน เพราะเราไม่สามารถรไู้ ด้เลยว่าใน อนาคตความอยรู่ อดของมนุษย์จะข้ึนอยกู่ ับอะไร ภาพที่ 2 ภาพปา่ ถกู ทาลาย 1-2

NATURE 1.1 สถำนกำรณ์ด้ำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม RESOURCES & ENVIRONMENT ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มมีความสาคัญต่อการดารงชีวติ ของมนษุ ย์ เชน่ เดยี วกับส่งิ มชี วี ติ อื่นๆ แต่การพงึ่ พิงอาศยั ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ล้วนทา ให้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมเสอื่ มโทรมลง เกิดเปน็ วิกฤตการณท์ ัง้ ทางดา้ นบรรยากาศ ดิน นา้ ปา่ ไม้ สตั วป์ ่าและพลงั งานข้นึ ทวั่ โลก การศึกษาสถานการณ์ด้านส่ิงแวดลอ้ มและ ทรพั ยากรธรรมชาตจิ ะช่วยให้สามารถวิเคราะห์สถานการณ์วกิ ฤตการณ์ เพอื่ เปน็ ฐานความรู้ในการ สร้างความตระหนกั และช่วยกันอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อมและทรพั ยากรชาตติ ่อไป 1.2 สถำนกำรณท์ รพั ยำกรธรรมชำติและสิง่ แวดล้อมประเทศไทย ปัจจบุ ันสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มของไทยไดเ้ ปล่ียนแปลงไป อย่างรวดเรว็ ทงั้ ทรพั ยากรดนิ ทรัพยากรน้า ทรัพยากรป่าไมแ้ ละสตั วป์ า่ แร่พลงั งาน เป็นต้น การ เปลีย่ นแปลงดงั กลา่ วไดส้ ง่ ผมกระทบต่อการดาเนินชวี ติ ของคนไทยเปน็ อยา่ งมาก 1.3 ทรัพยำกรป่ำไม้และสัตวป์ ่ำ ป่าไม้เป็นทรพั ยากรธรรมชาติทสี่ าคัญของมนษุ ย์ เน่อื งจากเปน็ แหล่งอาหาร ยารกั ษาโลก และยงั สามารถนามาสรา้ งเปน็ ทีอ่ ยูอ่ าศัย อปุ กรณ์เครื่องใช้อกี ด้วย ประเทศไทยตั้งอย่ใู นภมู ภิ าค ของโลกที่อุดมสมบรู ณ์ ไปด้วยป่าไม้ ดังจะเหน็ ไดว้ า่ เมือ่ ประมาณ 40 ปที ี่แลว้ ประเทศไทยมีพน้ื ท่ีปา่ ไม้อยถู่ งึ 171 ล้านไร่ (ร้อยละ 53 ของพนื้ ที่ประเทศทง้ั หมด 320 ล้านไร)่ กระทงั่ จากรายงาน ของกรมปา่ ไม้ใน พ.ศ. 2551 พื้นที่ปา่ ไม้ลดลงเหลือ 99.15 ล้านไร่ เท่านั้นและการลดลงของพืน้ ที่ ป่าไมน้ ้นั ยงั สง่ ผงกระทบต่อการลดลงของจานวนสตั ว์ปา่ อกี ด้วย จากนัน้ นโยบายเพิ่มปริมาณปา่ ไม้ดว้ ยการเพ่ิมพน้ื ทีอ่ นุรักษ์และสง่ เสรมิ การปลูกป่า อีกทงั้ การประกาศปดิ ปา่ ตง้ั แต่ พ.ศ. 2532 เป็นต้นมาสง่ ผลให้พ้นื ท่ปี า่ ไม้มปี ริมาณเพ่มิ ขึน้ แตก่ าร ลักลอบตดั ไมแ้ ละลา่ สตั วก์ ็ยังมีอยอู่ ย่างตอ่ เนอ่ื ง ทมี่ า https://etcgeography.wordpress.com/2011/08/24/สถานการณ์ด้านทรัพยากรธ พน้ื ที่ป่าไม้ในอดีต พ้ืนทปี่ า่ ไมใ้ นปจั จบุ นั1-3

https://pixabay.com/th/ชา้ ง-นา้ -หมอก-ปา่ -ธรรมชาติ-385265 ภาพที่ 3 ภาพชา้ งปา่1-4

WHY NATURE IS IMPORTANT ? 1.4 ควำมสำคัญของธรรมชำติ ทรัพยากรธรรมชาตเิ ป็นส่งิ ที่มนุษย์ทุกคนนามาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์แก่ตนเอง ต้งั แต่เร่ิมมีมนษุ ยอ์ บุ ัติขึ้นในโลกทรัพยากรธรรมชาตินามาซึ่งปัจจยั ส่ี อันเปน็ ปจั จัยพืน้ ฐานในการดาเนนิ ชวี ติ ได้แก่ อาหาร ที่อยอู่ าศยั เครอื่ งนุ่งหม่ และยารักษาโรค แตป่ จั จุบันมนษุ ยไ์ ม่ไดม้ ีความตอ้ งการเฉพาะปัจจัยส่ีหลักที่กลา่ วมาแลว้ เท่านน้ั มนษุ ยย์ งั ต้องการสง่ิ อานวยความสะดวกอีกมากมาย อันเปน็ สาเหตใุ ห้มนษุ ย์นาทรัพยากรธรรมชาติมาใชอ้ ย่างมากมาย และฟ่มุ เฟือย ทรพั ยากรธรรมชาติจงึ ร่อยหรอไปอยา่ งรวดเรว็ การที่มนุษยผ์ ูใ้ ชป้ ระโยชน์มักไมค่ อ่ ยสนใจวิธีการสงวนรกั ษา ทรัพยากรธรรมชาติ ปล่อยใหท้ รัพยากรธรรมชาตติ อ้ งสญู เสียไปโดยเปลา่ ประโยชนและผลกระทบเหล่าน้นั กส็ ่งผลกระทบถึงตวั มนุษยเ์ อง อาทิ มาตรฐานการครองชีพตา่ ภาวะการขาดแคลน อาหารภัยพิบตั ทิ เ่ี กดิ จากธรรมชาตขิ าดความสมดุลเช่น อทุ กภัยวาตภัย ดนิ เสื่อมคณุ ภาพความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไมห้ มดไป สิ่งต่างๆ เหล่าน้ลี ว้ นแตเ่ กดิ ขนึ้ จากการใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติโดยไม่นาพากับการอนุรักษ์และการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างถูกวธิ ที งั้ ส้นิ สักวันหนง่ึ ทรัพยากรธรรมชาติเหลา่ นี้ต้องหมดไป หรอื เสอ่ื มคณุ ภาพความจาเปน็ ในการท่ี มนุษยจ์ ะตอ้ งชว่ ยกันอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ เพือ่ ใหส้ ามารถอานวยประโยชน์ให้แกม่ นษุ ย์ให้มากท่ีสุด ยาวนานท่สี ุดเทา่ ที่จะทาได้ 1.5 ควำมสำคญั ของทรัพยำกรปำ่ ไม้ ป่าไม้เปน็ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่มี ีความสาคญั อยา่ งยงิ่ ตอ่ สิ่งมีชวี ติ ไมว่ ่าจะมนษุ ย์หรือสัตว์เพราะป่าไมม้ ีประโยชน์ท้งั การเป็นแหลง่ วัตถดุ ิบของปัจจัยสี่ คือ อาหาร เครอ่ื งน่งุ ห่ม ที่อยู่ อาศยั และยารกั ษาโรคสาหรับมนุษย์ และยงั มีประโยชน์ในการรกั ษาสมดุลของสิง่ แวดลอ้ ม ถา้ ป่าไม้ถูกทาลายลงไปมากๆ ย่อมสง่ ผลกระทบตอ่ สภาพแวดล้อมทเ่ี กี่ยวขอ้ งอ่ืนๆ เชน่ สตั วป์ ่า ดนิ น้า อากาศ เมื่อปา่ ไม้ถกู ทาลายจะสง่ ผลไปถงึ ดิน และแหลง่ น้าดว้ ย เพราะเมอ่ื เผาหรือถางป่าไปแล้วพน้ื ดินจะโลง่ ขาดพืชปกคลุม เมื่อฝนตกลงมากจ็ ะชะลา้ งหนา้ ดนิ และความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ ไป นอกจากน้ันเมือ่ ขาดต้นไม้คอยดดู ซบั นา้ ไวน้ ้ากจ็ ะไหลบ่าท่วมบ้านเรอื น และทลี่ ุ่มในฤดูน้าหลากพอถึงฤดูแล้งกไ็ มม่ นี ้าซมึ ใต้ดินไวห้ ล่อเลี้ยงตน้ น้าลาธารทาใหแ้ มน่ ้ามนี า้ นอ้ ยส่งผลกระทบตอ่ มาถึงระบบ เศรษฐกิจ และสงั คม เช่น การขาดแคลนน้าในการการชลประทานทาใหท้ านาไม่ได้ผลขาดนา้ มาผลติ กระแสไฟฟ้า ทมี่ า https://sites.google.com/site/thrrmchatilaeasingwaedlxm/khwam-sakhay-khxng-t hraphyakrthrrmchati-laea-sing-waedlxm https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi2/forest/forestn.htm1-5

https://wallhere.com/en/wallpaper/162633 ภาพท่ี 4 ภาพธารนา้ ในป่า1-6

วตั ถปุ ระสงคก์ ำรศึกษำ 1.6 1.6.1 เพอ่ื ศึกษา วิธกี ารเกบ็ เมล็ดพันธ์ุและตวั อยา่ งพชื เพือ่ ปอ้ งกนั การศนู ยพ์ ันธใ์ุ นอนาคต 1.6.2 เพ่ือศกึ ษาพฤตกิ รรม และกจิ กรรมของผู้ใชอ้ าคาร ความต้องการพเิ ศษในการประกอบกจิ กรรมในอาคาร 1.6.3 เพื่อศกึ ษาความเป็นไปได้ และความเหมาะสมของทต่ี ้งั โครงการ 1.6.4 ศึกษาเงอื่ นไข และมาตรฐานในการออกแบบพ้ืนทใ่ี ห้เหมาะสมกับกิจกรรมและผู้ใช้โครงการ ขอบเขตกำรศึกษำ 1.7 1.7.1 การอนรุ กั ษ์พันธุ์พืช 1.7.2 การเก็บตวั อยา่ งพืช 1.7.3 กฎหมายการใช้ที่ดิน 1.7.4 กฎหมายควบคุมอาคาร ประโยชน์ทค่ี ำดวำ่ จะไดร้ บั 1.8 1.8.1 มกี ารอนุรักษ์ ฟนื้ ฟู และ สร้างความมนั่ คงของฐานทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 1.8.2 การปกปอ้ งความหลากหลายของพรรณพืชป่า ท่อี าจเกิดจากภยั พิบัติตา่ งๆ ท่จี ะมีผลตอ่ การดารงชีวติ ของมนุษย์ 1.8.3 การปลกู จิตสานึกของประชาชนให้ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม 1.8.4 ผลิตผลงานวิจัยให้ตอบสนองต่อความตอ้ งการพัฒนาและแก้ไขปัญหาตา่ ง1-7

https://www.pexels.com/photo/nature-forest-trees-fog-4827/ ภาพที่ 5 ภาพปา่ สน1-8

PROCESSES 1.9 ขั้นตอนและวธิ กี ำรศกึ ษำ 1.9.1 ทมี่ ำของโครงกำร 1.9.2 ศกึ ษำข้อมลู ทีเ่ ก่ยี วข้อง 1.9.3 ศึกษำกำรออกแบบจำกโครงกำรท่ีมี 1.9.4 วเิ ครำะห์ขอ้ มลู ส่ิงทส่ี นใจ งำนวจิ ัย/บทควำม องค์ประกอบคล้ำยหรือใกลเ้ คยี งกนั - วิเคราะห์ข้อมลู การอนรุ ักษพ์ ันธพ์ุ ืช - อนาคตคณุ ภาพชีวิตมนุษย์ - การอนุรกั ษ์พนั ธพ์ุ ชื - ท่ตี ัง้ - วเิ คราะหร์ ูปแบบและหลกั การออกแบบ - ความยงั่ ยืนดา้ นทรพั ยากร มำตรฐำนในกำรออกแบบ - ผู้ใชโ้ ครงการ - วิเคราะหก์ ฎหมายท่ีเก่ยี วขอ้ ง - การอนรุ กั ษ์แหล่งกาเนดิ ทรพั ยากร - พน้ื ท่ีสาหรับการทดลองทาวิจยั - กิจกรรม - วิเคราะห์หาที่ตั้งโครงการ ประเดน็ ปัญหำ - พืน้ ท่ีสาหรับเก็บตัวอย่างพชื - พื้นท่ีใชส้ อย - วิเคราะห์ข้อมูลการใช้สอยในโครงการ - ป่าไมล้ ดลง - งานระบบ - เง่อื นไขในการออกแบบ - การสญู พันธข์ุ องพืช - กฎหมายควบคุมอาคาร1-9

1.9.5 จดั ทำรำยละเอยี ดโครงกำร 1.9.6 พฒั นำแนวคดิ กำรออกแบบ 1.9.7 กำรออกแบบ 1.9.8 นำเสนอผลงำน - จัดทารายละเอยี ดทต่ี ง้ั โครงการ - สร้างทางเลือกรูปแบบเพื่อ - จดั ทารายละเอยี ดรูปแบบกิจกรรม พัฒนาโครงการ - จดั ทารายละเอยี ดพื้นทใี่ ชส้ อย 1 - 10

02 PRINCIPLES & THEORIES



WORLD’S http://www.gettyimages.fr/detail/photo/close-up-of-mans-hand-preparing-plants-in-image-libre-de-droits/555173351MEANING 2.1 ควำมหมำย ภาพท่ี 6 ภาพตัวอย่างพชื 1 “โครงกำร” น. แผนหรือเคา้ โครงตามท่ีกะกาหนดไว.้ “พฒั นำ” ก. ทาใหเ้ จริญ. “ศูนย์” น. จดุ กลาง, ใจกลาง, แหลง่ กลาง, แหล่งรวม “วิจัย” น. การค้นควา้ เพ่อื หาข้อมูลอยา่ งถถ่ี ้วนตามหลักวชิ า “อนุรกั ษ”์ ก. รกั ษาใหค้ งเดมิ . “พนั ธ์ุ” น. พวกพอ้ ง, เช้อื สาย, วงศ์วาน “พืช” น. สง่ิ มีชวี ิตทโ่ี ดยทั่วไปสร้างอาหารเองโดยการสงั เคราะหแ์ สง, เมล็ดพันธไ์ุ ม้, สิง่ ทจี่ ะเปน็ พันธุ์ต่อไป “โครงกำรพัฒนำศูนย์วิจัยและอนรุ กั ษ์พืช” โครงการพัฒนาศนู ยว์ ิจยั และอนุรักษพ์ ชื หมายถงึ โครงการทจ่ี ะพัฒนาการ ศึกษาวจิ ยั เกี่ยวกับการเก็บรักษาปกป้องพนั ธพุ์ ืช ท่มี า พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ http://www.royin.go.th/dictionary2-1

WHY PLANT IS IMPORTANT ?2.2 ทฤษฎีทเี่ กีย่ วขอ้ ง 2.2.1 ควำมสำคญั ของพืช พชื มคี วามจาเป็นต่อการดารงชวี ติ ของมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ตา่ งๆ ทีอ่ าศยั บนพืน้ พิภพแหง่ น้ี เพราะเป็นส่งิ มีชีวิตเพียงกลุ่มเดยี วทส่ี ามารถใช้พลังงานจากดวงอาทติ ยไ์ ดโ้ ดยตรง โดยผา่ น กระบวนการสังเคราะหแ์ สงที่จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นอาหารในรปู ของเมลด็ ใบ ลาตน้ ดอก รากและผล นอกจากนั้นยงั มีประโยชนใ์ นทางอ้อมตอ่ มนษุ ย์ เช่น การใช้เปน็ ยารกั ษาโรค ใชเ้ ปน็ ทีอ่ ยู่ อาศัย เป็นแหลง่ พลังงาน เปน็ ต้น นอกจากนั้นพชื ยังเป็นศนู ย์กลางในระบบนิเวศตา่ งๆ ท้ังมวล เช่น การควบคุมสภาพภูมิอากาศ การดูดซมึ กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ ความอุดม สมบูรณ์ของดนิ รวมทั้งความบริสุทธขิ์ องน้าและอากาศ พืชมีความหลากหลายโดยอยูใ่ นรูปลกั ษณ์ต่าง ๆ เชน่ สาหรา่ ย ลเิ วอรเ์ วริ ต์ มอส เฟิร์น และพืชทม่ี เี มลด็ โดยพชื ทม่ี เี มล็ดมบี ทบาทมากที่สุดต่อชวี ติ ของมนุษย์ แตก่ ลับเปน็ กลุ่มทถ่ี ูก คกุ คามมากทีส่ ุด ประเมนิ กันว่า มากกว่า 80,000 ชนดิ (ประมาณร้อยละ 20 ของพืชท้งั หมดทม่ี ีอยู่ในโลก) กาลงั ถูกคกุ คาม โดยสาเหตุหลักส่วนใหญม่ าจากความสมดลุ ของระบบนิเวศ ลดลง การเขา้ รุกรานของชนิดพันธตุ์ า่ งถ่นิ และการใช้ประโยชน์ท่ีมากเกินไปการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศของโลก ภัยจากการคุกคามนมี้ แี นวโนม้ ที่จะเพ่ิมขึ้นอย่างตอ่ เน่ืองดงั นน้ั การแก้ไข ปญั หาดังกล่าวจงึ เป็นส่งิ ท่ที า้ ทาย และสาคัญมากในศตวรรษน้ี เนือ่ งจากความหลากหลายของพืชส่งผลต่อความมน่ั คงของมนษุ ย์โดยตรงทั้งในด้านพลงั งาน อาหารและยารกั ษาโรค โดย จากข้อมลู พบวา่ ร้อยละ 80 ของพชื ทีม่ นุษย์บริโภคคิดเปน็ ชนิดของพืชเพียง 12 ชนิดเท่าน้ัน คือ ธัญพชื 8 ชนดิ และพืชหวั 4 ชนิด ท่เี ป็นแหลง่ อาหารหลักของมนษุ ย์ ซง่ึ มีความเส่ยี งเป็น อย่างมากเมื่อเปรยี บเทียบกับการเพ่ิมขนึ้ อย่างไม่หยดุ ยง้ั ของประชากรมนุษย์ และความไม่แน่นอนของสภาพภูมอิ ากาศ การจัดตั้งธนาคารเมลด็ พนั ธุ์ จดั เปน็ วธิ ีการหนึ่งท่ีสามารถนามาใชใ้ นการอนรุ ักษ์ความหลากหลายของชนิดพชื ในศตวรรษนี้ เพราะสามารถเก็บรวบรวมความหลากหลายไดใ้ นปริมาณ มาก ใชต้ น้ ทนุ ต่าและมปี ระสิทธผิ ล ซง่ึ การใช้เทคโนโลยีน้ีถกู เร่ิมนามาใชเ้ ม่ือ 50 ปีท่ผี า่ นมา โดยมีจดุ มุ่งหมายในการเกบ็ รกั ษาความแปรปรวนของพชื ปลูกเพยี งไมก่ ่ชี นิดสาหรบั การปรบั ปรงุ พันธุ์ แต่ในช่วงสองทศวรรษให้หลงั องคค์ วามร้เู หลา่ นัน้ ถูกนามาขยายผลเพือ่ การอนรุ กั ษ์พรรณพืชป่า เพอื่ ใชเ้ ป็นแหล่งปลูกปา่ และสรา้ งระบบนเิ วศใหม่ ทาใหพ้ ืชทส่ี ูญหายไปไดม้ ีโอกาส เกดิ ขึ้นใหม่ในพ้ืนทเ่ี ดิม และการสรา้ งประชากรพชื ในพ้ืนที่ใหม่ เพอื่ ให้ปรับตัวเข้ากบั สภาพแวดลอ้ มใหม่ๆ ได้ในอนาคต นอกจากนนั้ การเก็บรวบรวมเมลด็ พนั ธุ์พืชปา่ ยังมีประโยชนม์ ากในการ พัฒนาพนั ธ์พุ ชื ปลูก สง่ ผลตอ่ พชื ปลกู โดยการถ่ายทอดลกั ษณะต่างๆ ไปยังพชื ปลกู ได้โดยง่าย ท่ีมา http://www.tistr.or.th/tistrblog/?p=2901 2-2

HOW IMPORTANT PLANT IS ? 2.2.2 สถำนกำรณ์และแผนงำนปัจจุบนั จะดาเนินการเก็บ และทาธนาคารเมล็ดไมย้ ืนต้นชนิดที่สาคัญ สานักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแหง่ ชาตสิ ตั วป์ า่ และ ระหวา่ งเดือนเมษายน 2558 - มนี าคม 2562 โดยได้รบั พนั ธ์ุพชื คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ และ ปัจจบุ นั พรรณพืชทวั่ โลกราว 60,000 - การสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนการฟ์ ิลด์ เวสตนั ฝา่ ยเทคโนโลยกี ารเกษตร สถาบันวจิ ัยวทิ ยาศาสตร์และ 100,000 ชนดิ กาลงั อยู่ในภาวะใกลส้ ญู พันธ์ุ ดงั นน้ั ในปี (Garfield Weston Foundation) กรมอุทยานแหง่ ชาติ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดยสานกั งานหอพรรณไม้ พ.ศ. 2543 สวนพฤกษศาสตร์คิว (Royal Botanic สัตวป์ ่าและพันธพ์ุ ืช จึงได้จดั ทารา่ งบันทึกความรว่ มมือ ร่วมกับหัวหนา้ สวนพฤกษศาสตร์ หัวหนา้ สวนรุกขชาติ Gardens, Kew) สหราชอาณาจกั ร จึงไดร้ ่วมกับ (Memorendum of Collaboration: MoC) ระหว่างสวน ของกรมอุทยานแหง่ ชาตสิ ตั ว์ปา่ และพันธพุ์ ชื ในพน้ื ที่ องค์กรต่าง ๆ ทว่ั โลก เก็บรวบรวมส่วนตา่ ง ๆ ของพืช พฤกษศาสตรค์ วิ สหราชอาณาจกั ร กบั กรมอทุ ยาน เปา้ หมายร่วมกันดา เนินการ ในปที ี่ 1 (2560) สามารถ ท้งั ตัวอยา่ งตน้ ตัวอย่างพนั ธไ์ุ มแ้ หง้ และตัวอยา่ งเน้ือเยอื่ แห่งชาตสิ ัตว์ป่าและพนั ธพ์ุ ืช โดยอธบิ ดกี รมอุทยาน รวบรวมได้มากกว่า 65 ชนดิ จากเป้าหมาย 100 ชนดิ ใน เพ่อื แยกดเี อน็ เอ (DNA) และไดส้ ร้าง ธนาคารเมลด็ พันธ์ุ แห่งชาตสิ ัตวป์ ่า และพันธุ์พืชไดล้ งนามเมือ่ วันที่ 8 ระยะเวลาโครงการ 3 ปี (2559 - 2562) ในระยะแรกเมล็ด แห่งสหสั วรรษ (Millenium Seed Bank) ขนึ้ ณ เวค กนั ยายน 2558 และผู้อานวยการฝ่ายวทิ ยาศาสตร์ สวน ทั้งหมดจะถกู เก็บรักษาไวท้ ธี่ นาคารเมลด็ พันธแุ์ หง่ เฮิรต์ เพลส (Wakehurst Place) เมืองซสั เซกซ์ พฤกษศาสตร์คิว สหราชอาณาจกั ร (Prof. Katherine สหสั วรรษ เมื่อประเทศไทยมคี วามพรอ้ มในด้านสถานที่ (Sussex) สหราชอาณาจกั ร โดยมีวัตถุประสงค์เพอ่ื เก็บ Willis) ไดล้ งนามเม่ือวันท่ี 24 กันยายน 2558 และงบประมาณในการจัดการ เมล็ดพนั ธจ์ุ ะถูกสง่ กลบั รกั ษาเมลด็ พนั ธแุ์ ละปอ้ งกนั การสูญพนั ธข์ุ องพชื เพอื่ ตามลาดับ มายงั ประเทศไทยเพ่อื เก็บรกั ษาต่อไป จึงนับว่าเปน็ ความท้า สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อยา่ งยงั่ ยืน และนากลบั คนื สู่ ทายทีส่ าคัญในการอนรุ ักษ์พันธุพ์ ืชไวใ้ นอนาคต หากมกี าร แหล่งกาเนดิ ในอนาคต เปา้ หมายในอกี 4 ปขี ้างหน้าคือการ สาหรบั ในประเทศไทย สวนพฤกษศาสตร์คิวได้ทา เปล่ยี นแปลงสภาพอากาศในประเทศไทยส่งผลใหพ้ รรณ มีธนาคารเมลด็ ไมย้ นื ตน้ เพ่ือสนับสนุนการวจิ ยั การ ข้อตกลงสนบั สนุนงบประมาณเพ่ือดา เนนิ โครงการ พชื ปรบั ตัวไม่ได้ เรากจ็ ะมีหลักประกันว่าจะสามารถนาเมลด็ ขยายพันธุ์ และการใชง้ านในอนาคต มากกว่า 3,000 ชนดิ ธนาคารเมล็ดพันธุ์ไมย้ ืนตน้ โลก (Global Tree Seed พนั ธเ์ุ หลา่ นมี้ าขยายและฟนื้ ฟูประชากรต่อในอนาคต โดยการดาเนนิ งานของห้นุ ส่วนธนาคารเมล็ดพนั ธุ์แหง่ Bank Project; Thailand-BKF) โดยความร่วมมอื ระหวา่ ง สหสั วรรษ ทงั้ นใี้ นภาคพน้ื ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท่ีมา ยทุ ธศาสตรก์ ารวิจัยของกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และ พันธุ์พชื พ.ศ. 2560 – 25642-3

PLANT https://www.pinterest.com/pin/426997608410898346/CONSERVATION2.3 กำรอนุรักษ์เชอื้ พันธุกรรมพชื การอนุรักษเ์ ชอ้ื พนั ธุกรรมพชื มคี วามสาคญั ต่อชวี ิตและความเปน็ อยู่ของประชากรในอนาคตเป็นอย่างยงิ่ พันธกุ รรมพชื ถือเป็นทรพั ยากรกรทม่ี ีค่า และมคี วามสาคญั ตอ่ การปรบั ปรงุ พันธุ์พืชในอนาคตความหลากหลายทางพนั ธุกรรมของทรัพยากรเหล่าน้ี อาจจะสญู หายไปเนือ่ งจากความไม่รขู้ องมนุษย์ในการใชท้ รัพยากรเหลา่ น้ี วทิ ยาการในการจาแนกและการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื จึงมบี ทบาทสาคญั ท่ีจะดารงทรัพยากรน้ีใหย้ ั่งยนื และถูกต้องตามหลักวชิ าการ เราอาจจาแนกพืชโดยดูจากลกั ษณะทางสณั ฐานวทิ ยาที่แตกตา่ งกนั แต่บางครัง้ เรากไ็ มส่ ามารถจาแนกพชื ไดถ้ ูกต้อง ดว้ ยลกั ษณะดงั กล่าวจึงจาเปน็ ต้องใชเ้ ทคนิคต่างๆมาประกอบในการชว่ ยจาแนก เช่น chemotaxonomy, phyto-biochemistry หรือ molecular biology คณะนกั วจิ ยั ของฝ่ายปฏบิ ัตกิ ารวจิ ัย และเรือนปลูกพชื ทดลองสถาบนั วิจัย และพฒั นาแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรจ์ ึงไดท้ าการศกึ ษาค้นคว้าและพฒั นาวิธีการจาแนกสายพันธกุ รรม โดยเริ่มจากเมล็ดพันธท์ุ ่มี ีความสาคญั ทางเศรษฐกจิ อีกทั้งยังเก็บรักษาสายพันธุ์ ในสภาพปลอดเชือ้และในสภาพเยน็ ย่ิงยวด เพื่อใหส้ ามารถดารงไวซ้ ่งึ พนั ธุกรรมที่สาคญั และป้องกันไมใ่ หส้ ูญหายไปจากธรรมชาติทีม่ า https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/july8/pl_gen.htm ภาพท่ี 7 ภาพตัวอยา่ งเมลด็ 1 2-4

PLANT IDENTIFICATION 2.3.1 กำรจำแนกพันธ์พุ ชื การศึกษาทางเคมแี ละชีวเคมีภายในต้นพืช เพือ่ ใช้กบั งานด้านการจาแนกพนั ธพ์ุ ืชมีมากขึ้น โดยเฉพาะการใชโ้ มเลกุลของ โปรตีน เอนไซม์หรือกรดนิวคลีอคิ นับเป็นวิธหี น่ึงทีแ่ สดง ความสัมพันธ์ระหว่างตน้ พชื ได้ว่าเหมือนกันหรือต่างกัน เนอื่ งจากขอ้ มลู ทาง พนั ธกุ รรมที่ถา่ ยทอดจากพอ่ แมม่ าสลู่ ูก ทาให้มกี ารเปลย่ี นแปลงโมเลกุลโปรตนี หรือเอนไซม์โดยตรงกอ่ นท่จี ะสร้าง โมเลกลุ อ่นื ดังน้ัน ลักษณะทางพนั ธกุ รรมของพืชยอ่ มอาศัยดีเอ็นเอ เอนไซม์หรือโปรตนี เปน็ ตวั บง่ ชีไ้ ด้ จาแนกพนั ธพ์ุ ืชจากลักษณะภายนอกเพยี งอย่างเดียวนัน้ นบั ว่าเป็นวธิ ีทส่ี ะดวกแต่อาจจะ ยุง่ ยากไดถ้ า้ ลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่คล้ายคลึงกนั มาก ทาให้ไมเ่ หน็ ความแตกตา่ งระหวา่ งพนั ธ์ุไดเ้ ดน่ ชัด บางคร้ังไมส่ ามารถเก็บตวั อย่างหรอื ชน้ิ ส่วนของพชื ได้ครบสมบูรณท์ กุ สว่ นจาเป็นตอ้ ง อาศยั ผูท้ ่มี ีความเช่ยี วชาญในการพิจารณาความแตกต่างระหว่างพันธอุ์ กี ดว้ ย เทคนิคอเิ ลคโตรโฟรซี สี เปน็ เทคนิคการแยกวิเคราะห์สาร หรอื โมเลกลุ ท่มี ีประจโุ ดยให้สารเคล่ือนทจี่ ะข้นึ อยกู่ ับความ เข้มของสนามไฟฟา้ และจานวนประจุไฟฟา้ ระหวา่ งขว้ั บวกและข้วั ลบ อตั รา การเคลอื่ นท่จี ะขึน้ อยู่กับความเข้มของสนามไฟฟ้า และ จานวนประจไุ ฟฟา้ รวมของอนุภาค ดังนั้นจึงนาเทคนิคอิเลคโตรโฟรซี สี มาใช้เพ่อื การจาแนกพนั ธพุ์ ืชได้เป็นอย่างดโี ดยอาศยั การแยก โมเลกุล ของโปรตนี เอนไซม์ หรือดเี อน็ เอ โปรตนี เป็นโมเลกุลทางชวี เคมขี องสง่ิ มชี วี ติ ทปี่ ระกอบขึน้ ดว้ ยกลุ่มของกรดอะมิโนทมี่ าตอ่ กนั เป็นสายโพลีเปปไทด์ตามชนดิ ของโปรตีนท่ีต่างกนั โมเลกลุ โปรตีนจะแสดงประจุและขนาดของ โมเลกลุ ตา่ งกันทาใหส้ ามารถแยกโมเลกลุ โปรตนี ดว้ ยกระแสไฟฟ้าบนตวั กลางไดด้ ี ดังน้ันเทคนคิ อิเลคโตรโฟรีซีสที่นามาใช้แยกโมเลกุลโปรตนี โดยเฉพาะโปรตนี ในเมล็ด ซึง่ ส่วนใหญเ่ ปน็ โปรตนี ในกล่มุ โครงสรา้ งหรือโปรตนี สะสมรวม 4 กลุ่ม คอื เอลบูมนิ โกลบลู นิ พบในเมลด็ ตระกลู ถ่วั โปรลามนิ เชน่ ฮอรด์ นี ในบาร์เลย่ แ์ ละ กลเู ทลนิ พบในธัญพชื เชน่ กลเู ทนิน ในข้าวสาลสี ่วนไอโซไซม์ซงึ่ เปน็ เอนไซม์ทีเ่ รง่ ปฏิกิริยาชนดิ เดียวกัน โมเลกุลมีรูปรา่ งได้หลายแบบโดยมคี ณุ สมบตั ทิ างกายภาพทางไฟฟา้ ตา่ งกันและโครงสรา้ งตา่ งกนั อกี ท้ังมีการเรง่ ปฏิกริ ิยาต่างกนั เลก็ น้อย ไอโซไซมแ์ ตล่ ะโมเลกลุ มี พันธุกรรมตา่ งกนั และถูกควบคุมการสงั เคราะห์ดว้ ยยนี ตา่ งกัน ความแตกต่างของไอโซไซม์แตล่ ะโมเลกลุ มีพนั ธกุ รรม ตา่ งกนั และถูกควบคุมการสังเคราะหด์ ้วยยีนท่ตี า่ งกนั ความแตกต่างของไอโซไซม์ จงึ เปน็ ผลมาจากลาดบั ของกรดอะมิโนในสาย โพลเี ปปไทด์ประจุหรอื การแปรสภาพหลังการสังเคราะหโ์ ปรตีนในพชื ชนดิ หนึ่งๆ จะแสดงความแตกตา่ งได้กข็ นึ้ กบั ชนิดของพชื ชิ้นสว่ นของเน้ือเยื่อที่ สกดั เอนไซม์ และชนดิ ของไอโซไซมซ์ ึง่ พบว่าสามารถใชแ้ บบของไอโซไซมแ์ ละโปรตีนเป็น marker แสดงความแตกต่างไดท้ ัง้ ในระดบั สกุล (genus) ชนดิ (species) พันธุ์ (cultivar) หรือกอพนั ธุ์ (clone) ทมี่ า https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/july8/pl_gen.htm2-5

http://www.gettyimages.fr/license/85757724 ภาพที่ 8 ภาพตัวอยา่ งพืช 22-6

WHY WE NEED SEED BANK ? 2.3.2 ธนำคำรเชอ้ื พันธุ์ คุณเคยฝากส่ิงของมคี า่ ไวใ้ นธนาคารเพอ่ื เกบ็ รกั ษาอย่างปลอดภัยจนกวา่ คุณต้องการจะใชม้ นั อกี ไหม? ธนาคารเชอ้ื พนั ธกุ์ ็ทาหนา้ ท่คี ลา้ ยๆ กนั สาหรบั พชื นีเ่ ป็นวิธงี ่ายๆ และประหยัดในการ เก็บรักษาพชื ที่มเี มล็ด ตั้งแตไ่ มล้ ้มลกุ ขนาดเล็กทส่ี ดุ จนถึงไมย้ นื ตน้ ท่สี ูงท่ีสดุ เมอ่ื เกบ็ ไว้แลว้ เมลด็ เหลา่ น้ันก็ไมต่ ้องการการเอาใจใสด่ ูแลอะไรมากนกั และส่วนใหญ่ก็ใชท้ ่ีเกบ็ ไม่มาก ขวดแก้วเลก็ ๆ สามารถเก็บเมล็ดกลว้ ยไม้ไดถ้ งึ หนึ่งลา้ นเมล็ด! ขวดโหลทวั่ ไปทใี่ ช้ดองผกั อาจเกบ็ เมล็ดพันธ์ุชนดิ อ่ืนๆ ได้เท่ากับจานวนผ้คู นทีอ่ าศยั อยู่ในเมืองเมืองหน่ึง หลงั จากผา่ นกรรมวธิ ีพิเศษแล้วเมลด็ พชื เหล่านที้ ง่ี อกเปน็ ตน้ ใหมไ่ ด้จะถูกเก็บไว้อยา่ งปลอดภัยเปน็ เวลาหลายสบิ ปี หรอื แม้แตห่ ลายร้อยปี ซงึ่ นานกว่าท่ีมนั จะอยรู่ อดได้ในธรรมชาติ ทำไมตอ้ งมีธนำคำรเช้อื พันธพ์ุ ืช ? ปจั จบุ ันพชื ท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ มนุษย์หรือคาดว่าจะมปี ระโยชน์ในอนาคต โดยเฉพาะพชื อาหารหลักหลายชนดิ กาลงั อยูใ่ นสภาวะพันธุกรรมเสอื่ มหรือใกล้จะสญู พันธ์ุ และบางชนดิ ไดส้ ญู พันธ์ไุ ป บา้ งแลว้ ตวั อยา่ งทเี่ หน็ ไดช้ ดั เช่น ข้าว ขา้ วโพด ถ่ัวต่างๆ พันธพ์ุ ืชพ้ืนเมอื งด้ังเดิมและพนั ธพ์ุ ืชปา่ ไดส้ ญู หายไปจากแปลงเกษตรกรจานวนมาก ทง้ั นี้เปน็ เพราะเกษตรกรส่วนมากหนั มาปลูกพนั ธพุ์ ืช ใหม่ทีใ่ ห้ผลผลิตสูง โดยเฉพาะพันธพุ์ ชื ดที ่รี ัฐบาลสง่ เสริม หรอื แนะนาให้ปลูกเพราะนอกจากจะใหผ้ ลผลิตสงู แล้วยงั มีคุณภาพเมลด็ ดีตรงตามความต้องการของตลาดดว้ ย นอกจากน้ีพันธพ์ุ ชื ใหม่ ยงั มคี วามต้านทานโรคและแมลงท่สี าคัญบางชนดิ ลกั ษณะของพันธพุ์ ืชพน้ื เมอื งด้ังเดมิ แมว้ ่าจะใหผ้ ลผลิตไมด่ ีหรือสงู เทา่ กบั พันธพุ์ ืชใหม่ แตย่ งั มีลักษณะพนั ธกุ รรมอ่นื ๆ ทีอ่ าจจะมีประโยชนต์ อ่ การ พฒั นาหรือปรับปรงุ ในอนาคตได้ การยกเลกิ การปลกู หรือละทิ้งโดยไม่มีการเกบ็ รกั ษาพนั ธุพ์ ืชพ้นื เมือง และพนั ธพ์ุ ืชป่าของไทยท่ีอยู่ในสกุล หรือชนิดใกลเ้ คยี งพชื ปลกู ไมว่ า่ จะเป็นพืชอาหาร พชื นา้ มัน พชื เส้นใย ผลไม้เมืองรอ้ น พืชผกั พืชสมุนไพร พชื หวั ไม้ดอกไมป้ ระดบั และพืชอืน่ ๆ ที่มถี ิน่ กาเนิดในประเทศไทยไว้ นับเป็นการสูญเสยี คณุ ค่าลักษณะพันธกุ รรมพชื อย่างมหาศาลไม่อาจ สามารถเรยี กกลบั คืนได้ เพ่อื เปน็ หลักประกันความมั่นคงทางด้านอาหารของประเทศ ทีไ่ ดช้ ื่อวา่ เป็นประเทศทมี่ ีความสาคญั ทางดา้ นเกษตรกรรม และเช่ือวา่ จะเปน็ แหล่งผลิตพืชอาหารและการเกษตรแหลง่ ใหญข่ อง โลก การอนรุ กั ษ์ความหลากหลายทางพันธกุ รรมของพชื ต่างๆ โดยเฉพาะพชื อาหารไว้พร้อมนามาใชป้ ระโยชน์ไดท้ ันทจี ึงมคี วามจาเปน็ อยา่ งย่ิง เพราะนอกจากจะอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายด้าน พนั ธุกรรมแล้ว จะเป็นการรักษามรดกอันล้าคา่ ไวใ้ ห้อนุชนร่นุ หลังใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาประเทศอีกดว้ ย เชือ้ พันธุกรรมพชื เหล่านีต้ อ้ งไดร้ บั การดูแลและเกบ็ รกั ษาอยา่ งดเี พอ่ื ใหม้ ีชวี ติ อยู่ได้ยาวนาน และสามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้ทนั ที แตก่ ารท่ีจะดาเนนิ การใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายดังกล่าวจาเปน็ ตอ้ งมีหอ้ งควบคมุ อณุ หภมู แิ ละความชื้น เพ่อื ใช้ในการเกบ็ อนุรักษ์เชอ้ื พนั ธกุ รรมพชื ไว้ใหไ้ ดย้ าวนาน อนั จะ เป็นการป้องกนั การเส่ือมพันธุกรรมหรอื การสูญหายพนั ธกุ รรมของพชื และเหมาะสาหรบั นาออกมาใช้ประโยชน์ในการวิจัยและพฒั นาท้ังในปจั จุบันและอนาคตได้ทันที ท่มี า : กลุ่มวจิ ัยพฒั นาธนาคารเช้ือพันธ์ุพชื และจลุ นิ ทรีย์2-7

http://hannahnunn.blogspot.com.au/2017/01/growing-into-new-year.html “บนโลกใบนจี้ ะมสี ิ่งอนื่ ใดทม่ี นั่ คงไปกวา่ อาหาร? ความหลากหลาย ทางชวี ภาพของส่ิงแวดลอ้ มคือ ความมน่ั คง ความงดงาม การมชี วี ติ อยู่ อย่างอสิ ระ ในวนั นีเ้ ราแทบจะไมเ่ หลอื พันธพุ์ ชื และพนั ธุส์ ัตวห์ ลากหลาย พอทลี่ กู หลานจะอยู่ได้ ตอ่ ไปเวลาลูกหลานเราจะกินเราอาจตอ้ งจา่ ย ลขิ สิทธ์ิ เราไม่เคยซอ้ื ขายเมล็ดพนั ธ์ุแตใ่ นอนาคตหากเมล็ดพนั ธ์ตุ กอยู่ใน ลิขสทิ ธข์ิ องจีเอม็ โอจะแพงย่ิงกวา่ ทองคา” “เมล็ดพนั ธุค์ ืออาหาร อาหารคอื ชวี ิต ไม่มอี าหารก็ไมม่ ชี ีวติ เมลด็ พันธ์ุจงึ เป็นสว่ นหนึง่ ของชวี ติ อย่างแยกกนั ไมไ่ ด้ หากเมลด็ พนั ธุ์ หายไป ชีวิตเราก็จะแย่ลง” “พชื แต่ละพันธ์จุ ะมีการทนทานโรคระบาด ฝนแลง้ สภาพอากาศ อ่นื ๆ ท่ีแตกต่างกันออกไป แตเ่ มื่อเนน้ พัฒนาเพยี งแคส่ ายพันธ์ุเดยี ว เมือ่ เผชิญกับวกิ ฤตอะไรสักอย่างก็จะจบความม่ันคงก็จะลดนอ้ ยลงเมลด็ พันธ์ุ เปน็ ความม่ันคงของทุกชวี ิตบนโลกใบน้ที ุกอยา่ งอยู่ได้ด้วย ความ หลากหลายของสรรพส่ิง ทุกอยา่ งเช่ือมโยงกนั หมด วนั นช้ี ีวติ เรากลับ ไมใ่ ช่ของเรา แตเ่ ป็นของบริษทั ไม่กี่บรษิ ทั เราไดก้ ินพืชพนั ธอุ์ าหารเพียงไม่กี่ พันธุ์ เพราะบริษทั เป็นเจา้ ของพันธเุ์ หล่าน้นั ซึง่ ไมไ่ ดพ้ ัฒนามาเพอื่ คนกนิ แต่ เพอ่ื ยึดครองตลาดเป็นหลกั ” คณุ โจน จันได ผูก้ ่อต้ังพนั พรรณศูนย์เรียนรู้เพื่อการพง่ึ ตนเองและศนู ยเ์ มลด็ พนั ธ์ุ ภาพท่ี 9 ภาพตัวอยา่ งเมล็ด 2 2-8

WHAT DOES https://www.pinterest.com/pin/426997608410999448/ HERBARIUM DO ? 2.4 พพิ ิธภัณฑ์พืช (Herbarium) มีหนา้ ท่เี ก็บรวบรวมตวั อยา่ งพรรณไม้ โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ใชเ้ ป็นหลกั ฐาน อ้างองิ สาหรับการตรวจสอบชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ทถ่ี กู ต้อง อันเป็นชอ่ื สากลและเป็นที่ยอมรับใน ระดับนานาชาติ อาจเปรียบเทยี บได้กับหอสมดุ พรรณไม้ โดยเปน็ แหล่งข้อมูลตา่ งๆ สาหรบั งาน คน้ คว้าวิจยั พชื และสว่ นสาคญั ท่ีสดุ คอื เปน็ ทเ่ี ก็บรวบรวมพนั ธุไ์ ม้รักษาสภาพ ซง่ึ ทาการ เกบ็ เป็นตวั อยา่ งแหง้ ทจี่ ัดเปน็ หมวดหมู่อยา่ งมรี ะบบ นอกจากนยี้ งั มตี ัวอย่างในสภาพอื่นๆ เช่น ตัวอยา่ งดอง ภาพถ่าย ภาพวาด ตวั อยา่ งเนือ้ ไม้ เปลือกไม้ ซากดึกดาบรรพ์ (fossil) หนงั สอื ตาราเกีย่ วกับพนั ธ์ุไม้ท้งั ทางดา้ นอนุกรมวธิ าน นิเวศวิทยา ธรรมชาตวิ ทิ ยา พฤกษศาสตรเ์ ศรษฐกิจ เป็นตน้ ท่มี า : http://ka.mahidol.ac.th/herbarium/ ภาพท่ี 10 ภาพตัวอยา่ งพืชแห้ง 12-9

https://www.kew.org/science/collections ภาพท่ี 11 ภาพคลงั เก็บตวั อยา่ งพชื2 - 10

HOW TO 2.4.1 วิธเี ก็บตัวอย่ำง COLLECT SPECIMEN ? พนั ธุไมนนั้ แลว้ แต่ประเภทของพนั ธุไมการเกบ็ ไผปาลม เตยกระบองเพชรและ พืชทม่ี ีใบหนาและอวบใหญ่ เชน่ ศรนารายณ์ พลบั พลงึ เปน็ ต้น มีวิธเี กบ็ ตวั อยา่ ง2 - 11 พิเศษแตกตา่ งจากไมดอกทว่ั ๆ ไป สาหรบั ไมดอกทัว่ ๆ ไปมีวธิ เี กบ็ ดังนี้ 1. ประเภทไมตน้ หรอื ไมพุ่มหรือไมล้มลกุ บางชนิดเก็บเป็นกิ่งทม่ี ีดอกหรอื ชอดอกตดิ กับใบและผล ขนาดยาวประมาณ 30 ซม. หากชอดอกหรือใบมีลกั ษณะยาวเกนิ หนา กระดาษอัดกค็ วรหักพบั ให้พอดไี มตองตัดทิ้ง เพราะจะไดทราบขนาดแท้จรงิ ควร เก็บใบ ดอก ผล และเนอ้ื ไมจากต้นเดยี วกนั ใบ เลือกเกบ็ แต่ใบทส่ี มบรู ณไมถกู แมลงหรอื สัตวก์ ัดทาลายหรือใบเปน็ โรค หงิกงอ ไมควรเก็บใบทีเ่ กดิ ตามหน่อท่ีแตกจากตอ หรอื กิง่ ทถ่ี ูกตดั ไป หรือใบของกล้าไม้เพราะมักจะมีขนาดสัดส่วนผิดไปจากปกตคิ วรเก็บใบท่ี แกจัดและเก็บมาท้งั กง่ิ ไมใช่เด็ดมาเปน็ ใบๆ ดอก เก็บเปน็ ช่อควรเกบ็ ให้ไดท้ังดอกตมู และดอกบานเต็มทแี่ ลว้ และเกบ็ ชอ่ ดอก ให้ติดกับใบดว้ ย ผล เก็บใหต้ ิดกบั ใบเชน่ กัน ควรเก็บให้ไดท้ังผลออ่ นและผลแกจดั ซง่ึ ติดอยู่บน ตน ถ้าผลเปน็ ผลแหง้ ขนาดใหญ่ หรือผลสด ก็ใหต้ ากแห้งแลว้ ติดปา้ ย หมายเลขใหต้ รงกบั หมายเลขของตัวอย่างใบและดอก ผลสด ควรตากแห้งโดยฝานผ่าครึ่งตามยาวของผล เพือ่ รกั ษารูปทรงของ ผลน้นั ไวหรอื อาจใชด้ องในขวดในแอลกอฮอล์ 70% และปิดปา้ ยไว เช่นกัน 2. ประเภทไมลม้ ลกุ ต้นเล็กๆ เช่น หญา้ ให้เก็บทงั้ ต้นพรอ้ มทง้ั ราก 3. พันธุไมชนดิ หนง่ึ เกบ็ ตัวอยา่ งประมาณ 3-5-10 ชิ้น แลว้ แตก่ รณแี ตล่ ะชิ้นผูก ปา้ ยหมายเลขพันธุไมชนิดหน่งึ ๆ ถ้าเกบ็ หลายช้ินทกุ ๆ ชิน้ จะมีหมายเลขเดยี วกัน พันธุไมตา่ งชนิดจะมีหมายเลขตา่ งกัน

4. บันทึกลกั ษณะตา่ งๆ ของพันธุไมแต่ละชนิดทเี่ กบ็ ลงในสมุดบนั ทึกใสหมายเลขให้ https://www.pinterest.com/pin/245798092135012430/ ตรงกนั กับป้ายหมายเลขทีผ่ กู พันธุไมแตล่ ะชนดิ บนั ทึกตามหัวขอ้ ต่างๆ ดงั นี้ Date : วัน เดือน ปทเี่ กบ็ พันธุไมน้ัน จะเป็นการทราบถงึ ฤดูออกดอกออกผล 2 - 12 ของพันธุไม Locality : ทองท่ที ่ีเกบ็ ตองบนั ทกึ จังหวดั อาเภอตาบล หรอื ถ่ินฐานอน่ื ๆ เชน่ ภูเขา ลาหว้ ย เปน็ ตน้ Altitude : ระดับความสูง ใช้เครอื่ งวัดความสงู จากระดบั น้าทะเล (Altimeter) หรอื สอบถามไดตามจังหวดั ต่างๆ Local Name : ช่ือพื้นเมือง ชื่อที่เรียกพนั ธุไมในทอ้ งที่ท่ีเก็บ ควรสอบถามชื่อ จากชาวบา้ นแถบน้นั Note : บนั ทกึ ลักษณะเดนของพนั ธุไมทีอ่ าจเปลยี่ นแปลงได หรอื ไมสามารถ สงั เกตไดจากตัวอยา่ งพันธุไมแหง้ เช่น ลักษณะเดนของพนั ธุไม ขนาดความสงู โดยประมาณปรมิ าณจานวนพันธุไมท่พี บวา่ หายาก หรือมมี ากนอ้ ยเพยี งใด ชนดิ ของป่าทพ่ี ันธุไมขึน้ ปา่ ดงดิบ ป่าชายเลน เปน็ ตน้ นอกจากนลี้ ักษณะของดอก เช่น สี จานวนของส่วนประกอบ กลนิ่ การมยี างของต้น สีของผลหรอื ลักษณะเดน่ อื่นๆ ประโยชนและ โทษของพันธุไมนั้นถ้าทราบ Collector......No….. ลงชอ่ื ผเู้ ก็บและหมายเลขเรียง ตามลาดับไว ผู้ เกบ็ แต่ละคนใชห้ มายเลขของตนตดิ ตอ่ กันไป ไมวา่ จะเดนิ ทางไปเก็บพันธุ ไมในท้องทใ่ี ด5. เกบ็ ตัวอย่างพนั ธุไมใสถุงพลาสติก มัดปากถุงดว้ ยยางรดั แล้วนาออกมาอดั แผง เมอื่ กลับถึงท่ีพักที่มา คณาจารยภ์ าควิชาพฤกษศาสตร์คณะวทิ ยาศาสตร์จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.๒๕๓๐ . การเกบ็ รักษาตวั อย่างพนั ธุไม.อมรนิ ทรพ์ ริ้นติ้งกรุพ จากัด ภาพท่ี 12 ภาพตัวอยา่ งพชื แห้ง 2

HOW TO COLLECT SPECIMEN ? 2.4.2 กำรเก็บและรกั ษำตัวอย่ำงพนั ธุไม ทาได้ 2 วธิ ีคอื 1. การเกบ็ แห้งโดยการอัดพันธุไมแล้วอบหรือผ่งึ ให้แห้งแลว้ นาไปติดบนกระดาษสาหรบั ติด ตัวอยา่ งพันธไุ ม เป็นวธิ ีทีน่ ยิ มกันมาก 2. การดอง มกั ใช้กับพชื บางกลมุ่ ทมี่ ีปัญหาในการทาตัวอย่างแหง เช่น พวกไมน้า พชื ทม่ี ีตน้ และใบอวบน้า พวกทีม่ ีดอกบอบบางหรือตวั อยา่ งผลเนื้อ เป็นต้น นอกจากนีต้ วั อย่างพนั ธุไมที่ ตอ้ งการจะต้ังแสดง หรือประกอบการสอนกอ็ าจเกบ็ รักษาดว้ ยการดองการอัดแห้งพันธไ์ุ ม การอัดพันธไุ มเพือ่ ให้ไดตวั อยา่ งทีด่ คี วรทาทนั ที เม่ือเก็บตวั อยา่ งพันธุไมมาไดวางตวั อยา่ งพันธุไมลง บนกระดาษ หนังสือพิมพ์ 1 คูท่ีพับคร่งึ ใช้กรรไกรตัดกิ่งไมตกแต่งใหไ้ ดขนาดพอเหมาะ จัดใหข้ นาดพอดีอยา่ ให้เกินหนา้ กระดาษและแผงอัดเรียงใหใ้ บควา่ บ้างหงายบ้าง เพือ่ จะไดเหน็ ลกั ษณะของใบ ท้งั สองด้านขณะแหง้ แลว แล้วพลกิ กระดาษแผ่นทีเ่ ป็นคูนัน้ ปิดทับลงไป ระหว่างชน้ั วางกระดาษ 2-3 แผน่ ซ้อนไวเพ่อื ดดู ซมึ ความชื้นจากพนั ธุไม ระหวา่ งพนั ธุไมชนิดหนง่ึ ๆ นนั้ สอดกระดาษลูกฟูก ไว เพอื่ ช่วยให้ความชนื้ ระเหยออกไปไดเร็ว เสร็จแล้วกอ่ นปดิ แผงใช้กระดาษลูกฟกู ปดิ ทับทัง้ สองด้านและผกู มัดใหแ้ น่น เพ่ือเวลาแห้งพนั ธ์ุไมจะไดเรียบพันธุไมที่มีดอกบอบบาง ดอกหนาหรอื เปน็ ก่ิง ขนาดใหญค่ วรทาดังน้ี 1. พันธุไมท่มี ีดอกบอบบาง เซน ผกั บุง ดอกกล้วยไมใชก้ ระดาษไข หรือกระดาษเซลโลเฟนวางทง้ั ดา้ นบนและดา้ นลา่ งของดอก เพื่อกันไมใหต้ ดิ กระดาษหนังสอื พิมพ์ซ่ึงจะทาให้ฉกี ขาดง่ายเวลา เปล่ยี นกระดาษ 2. พนั ธุไมท่มี ดี อกหนา เชน่ ดอกชบา พดุ ตาน ซง่ึ มกั จะขน้ึ ราไดงา่ ย และมักจะตดิ กับกระดาษทอ่ี ดั ใชก้ ระดาษบางๆ ทด่ี ดู ซับนา้ ไดขนาดพอดกี ับดอกรองท้ังด้านล่าง และดา้ นบน ก่อนท่ีจะอัดมักจะ จมุ่ ในแอลกอฮอล์ 70-95% หรอื ฟอร์มาลนิ เพอ่ื ฆ่าเซลลจ์ ะทาให้แหง้ เรว็ ขึ้น 3. พนั ธุไมทม่ี ดี อกติดกบั ก่ิงท่ีมขี นาดใหญ่เวลาอดั ใบดอกมกั จะร่วงง่ายเน่ืองจากถูกแรงกดรดั ของแผงจึงควรใช้กระดาษฟางตดั เปน็ ช้นิ เลก็ ๆ ให้พอดกี ับใบหรอื ดอก หมนุ ใบหรือดอกให้ไดระดับ เดยี วกับกิง่ ที่มีขนาดใหญแ่ ละควรคน่ั กระดาษลูกฟกู ระหวา่ งพันธุไม พวกนีท้ กุ ช้ิน 4. พนั ธุไมทมี่ หี นามแข็งใหต้ ดั หนามดา้ นท่กี ดเขาหากระดาษลูกฟูกก่อนอดั ยกเว้นหนามทใี่ บของพวกเตย ดอกหรอื ผลท่ีเหลือจากการตกแตง่ ดอก หรอื ชอดอกใสถงุ พลาสตกิ เล็กๆ เกบ็ ไวใช้ ตรวจหาชอื่ วิทยาศาสตรห์ รอื อัดและเก็บใสซองแล้วติดลงบนกระดาษติดพันธุไมแหง เพื่อท่ีจะไดศึกษาลกั ษณะต่างๆ ไดงา่ ยโดยไมตองทาให้ตวั อย่างพันธุไมท่ีตดิ ไวเสยี หาย ทม่ี า https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/july8/pl_gen.htm2 - 13

DRY https://www.pinterest.com/pin/211528513718605671/SPECIMEN 2 - 142.4.3 กำรทำตวั อย่ำงพรรณพชื แหงกำรอดั พรรณพืช1. แผงอดั พรรณพชื มีขนาด 10.5 x 16.5 น้วิ มีลกั ษณะเป็นแผ่นตาราง สีเ่ หลย่ี มผนื ผ้าสองอันประกบกนั ตารางแตล่ ะตารางมขี นาด ประมาณ 3/4x1 น้ิว วัสดทุ ี่ใชอ้ าจเป็นไมหรอื โลหะ แตต่ ้องมนี ้าหนกั เบาเพือ่ ความคลองตวั ในการ เคล่อื นยา้ ย เช่นใชไ้ มไผผา่ เป็นซีกแล้วสานแบบขดั แตะ2. เชือกรัดแผงอัดพรรณพชื เชอื กที่ใชรัดมีขนาดประมาณ 1 x 36 นว้ิ จานวน 2 เสน เชือกทใ่ี ช้ควรมีลกั ษณะแบน ๆ เช่น ไสตะเกียง หรือเข็มขดั ผา้ ใบหรือเข็ม ขัดหนงั เปน็ ต้น เพ่อื ใช้รัดแผงอดั พรรณพชื ทาให้ตัวอยา่ งพรรณพชื นนั้ ไม หงิกงอเมื่อแหง (ปลายเชือกข้างหนึ่งควรทาเป็นหว่ ง เพ่อื ความสะดวกในการ ร้อยเชอื กผูกเวลารัดแผง)3. กระดาษอดั พรรณพืช ขนาด 10.5 x 16.5 น้วิ สาหรบั ใชด้ ูดซับความชน้ื จาก พรรณพชื ทาใหพ้ รรณพืชแหง้ เรว็ ขึน้ โดยมากใช้กระดาษฟางหรือเพื่อการ ประหยดั กใ็ ช้กระดาษหนงั สอื พิมพ์แทน4. กระดาษลอนลกู ฟกู ขนาด 10.5 x 16.5 นิว้ กระดาษนจ้ี ะช่วยระบายอากาศใน แผงอัดพรรณพชื ให้ระบายไดดขี ้ึน5. กรรไกรตดั กง่ิ ไม เพ่อื ตัดตวั อยา่ งพรรณพชื ทจ่ี ะอดั บนแผงอดั พรรณพชื ให้ได และมลี กั ษณะทส่ี มบรู ณซึ่งจะทาใหไ้ ดตวั อย่างพรรณพืชทด่ี ีทมี่ า https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/july8/pl_gen.htm ภาพท่ี 13 ภาพการอัดตวั อยา่ งพชื

HOW TO KEEP DRY SPECIMEN ? วธิ ีอบหรอื ผ่งึ พันธุไมให้แหง พนั ธุไมท่อี ัดลงแผงเรยี บร้อยดีแลว ควรท่าให้แหง้ ทนั ทีอยา่ ปลอ่ ยทงิ้ ไวนานราอาจจะขน้ึ ไดการทาพนั ธุไมทอี่ ัดให้แหง้ อาจทาโดย 1. การตากแดดควรหมนั่ เก็บแผงทต่ี ากแดด เม่อื หมดแสงอาทติ ยอ์ ยา่ ปล่อยท้ิงใหต้ ากนา้ ค้าง หรือตากฝน จะทาใหต้ วั อย่างทอ่ี ัดเสียหายได 2. การอบดว้ ยความร้อนโดยใช้อุปกรณ์ตามภาพ (เตาอบพนั ธไุ มชนิดใช้ความร้อนจากหลอดไฟ) หรอื ใช้ความรอ้ นจากการผงิ ไฟ ในกรณไี ปเกบ็ ตัวอย่างในแหล่งธรรมชาติเป็นระยะเวลาหลาย วัน และไมมวี ธิ อี บแหงอยา่ งอนื่ ไมวา่ จะทาวิธีใดจะต้องคอยหมน่ั เปลีย่ นกระดาษท่ีชนื้ เนือ่ งจากซบั น้าจากพนั ธุไม วันแรกทที่ าแหง้ ควรเปลี่ยนกระดาษ 2 ครัง้ กระดาษทีใ่ ช้แล้วทาให้แหง้ แลว้ ใช้ใหมไ่ ดแผงที่ อัดพนั ธไุ ม หลงั จากทีอ่ บแห้งหรืออตากแดดแล้วประมาณครงึ่ วันตอ้ งคอยดึงเชอื กรัดแผงให้แนน่ อยูเสมอ เพราะว่าพันธุ์ไมทอี่ ดั แหง้ จะยุบตัวลง เชอื กทีร่ ดั จะหลวมถา้ ปล่อยไวไมคอยรดั ใหต้ ึงใบ หรือดอกอาจจะ เหย่ี วยน่ ได้ วิธีอำบนำ้ ยำพนั ธไุ มที่แหง้ แลว พันธุไมทอี่ บแหง้ สนทิ ดแี ล้วก่อนที่จะนาไปตดิ บนกระดาษติดพันธุไม จะต้องอาบนา้ ยากนั แมลงเสียก่อน น้ายาท่ใี ชม้ สี ว่ นผสมดังน้ี 85% เอทธลิ แอลกอฮอล์ 5 ลิตร เมอรคูรคิ คลอไรด์* 75 กรัม (สารนเี้ ปน็ พษิ ร้ายแรงไดควรระวงั ) วธิ ีอาบน้ายา เทนา้ ยาทผี่ สมเข้ากนั ดีแล้วลงในถุงพลาสตกิ แล้วใชป้ ากคีบท่ีทาด้วยไมหรอื พลาสตกิ คบี พนั ธุไมแห้งแชล่ งในน้ายาประมาณ 1 นาที แล้วนา กลบั มาวางบนกระดาษซบั หรือกระดาษฟาง วางท้งิ ไวจนแห้งสนทิ หรอื อาจจะนามาอบใหมอ่ กี ครงั้ ระหว่างพนั ธุไมแตล่ ะชนิ้ จะต้องไมลมื แทรกกระดาษลูกฟูกเพอ่ื ช่วยกดพนั ธุไมทีอ่ าบน้ายาแลว(มกั จะ พอง) ใหแ้ บนราบในขณะที่ชบุ น้ายาต้องระวงั อย่าให้สว่ นต่างๆ ของรา่ งกายถกู นา้ ยาเป็นอันขาด ควรจะใสถงุ มือยางขณะทค่ี ีบพันธุไมชุบนา้ ยาดว้ ยไมเล็กน้อยหมุ้ ไว้ท่ดี ้านหนา้ ของปกเขยี นช่อื วิทยาศาสตร์และวงศข์ องพนั ธไุ มชนิดนนั้ ๆพันธุไมแตล่ ะชนิดทอี่ ยู่ในสกุลเดียวกนั ใสไวในปกอีกชนั้ หนง่ึ เพ่อื สะดวกในการยกพันธุไมทัง้ ตงั้ ออกมาดกู ารเกบ็ จะเกบ็ ใสในตไู มขนาดประมาณดังนี้สงู 2.5 เมตร กว้าง 1.5 เมตร ลกึ 0.75 มม. ภายในตูแบ่งเป็นช่องๆแต่ละชอ่ งใสลกู เหมน็ ไวภายในเพื่อกันแมลงห้องพพิ ิธภัณฑพ์ ืชทีจ่ ะเกบ็ ตูใสตัวอย่างพันธุไมแห้งควรเป็นหอ้ งที่โปร่งอากาศถ่ายเทสะดวก ไมอบั ชื้น เพอ่ื ป้องกนั เชื้อราขนึ้ ในตู ทม่ี า คณาจารย์ภาควิชาพฤกษศาสตรค์ ณะวิทยาศาสตร์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.๒๕๓๐ . การเกบ็ รกั ษาตัวอย่างพันธุไม.อมรินทรพ์ รน้ิ ตงิ้ กรุพ จากัด2 - 15

วิธตี ดิ พนั ธุไมบนกระดำษตดิ พันธไุ ม https://img0.etsystatic.com/064/0/8386769/il_570xN.761966550_e49p.jpgพันธุไมทอ่ี าบน้ายาแห้งสนิทดีแลว นามาตดิ บนกระดาษสขี าวขนาดกวา้ งยาวประมาณ 30 ซม. X 42 ซม. ชนดิ 300 กรัม เพื่อชว่ ยให้กิง่ พันธุไมตัวอย่างไมเปราะหกั งา่ ย เวลานาตัวอย่างพันธไุ มออกจากตมู าศกึ ษาการติดพันธุไมมีวิธีงา่ ยๆ ดงั นี้1. ใชแ้ ปรงจุ่มกาวทาลงบนกระจกเรียบ ขนาดประมาณ 30 ซม. X 45 ซม. โดยทา บางๆใหพ้ อดีกบั ขนาดของพนั ธุไมที่จะตดิ2. ใชป้ ากคีบวางพันธุไมด้านทจี่ ะตดิ กับกระดาษแตะกาวบนกระจกกดให้ติดกาวจนท่วั3. นากลับมาวางบนกระดาษตดิ พันธไุ ม กะให้วางตรงกลางคอ่ นไปทางขวาใหเ้ หลือ ท่ีมุมซ้าย สาหรบั ตดิ ป้ายบนั ทึกขอ้ มูล4. ใช้กระดาษฟางหรือกระดาษหนังสอื พิมพป์ ูทบั แลว้ ใช้ถุงทรายวางทับอีกทใี ห้ เรยี บเสมอกนั5. เมื่อกาวแหง้ ดแี ล้วเยบ็ พันธไุ มให้ตดิ กระดาษ โดยใช้ด้ายสขี าวทีม่ ีความเหนียวเย็บ เริม่ จากโคนกง่ิ หรือโคนต้น แลว้ โยงไปตามสว่ นตา่ งๆ ให้มนั่ คงและดสู วยงาม หรือจะใช้แถบกาวผา้ ปิดทบั ไวเปน็ ระยะๆ6. ปิดปา้ ยบันทึกข้อมลู ซ่งึ จะต้องเขยี นรายละเอยี ดต่างๆที่ลอกมาจากสมุดบนั ทกึ ข้อมลู ที่จะต้องเขยี นเพม่ิ เตมิ คือ ชือ่ ผเู้ ก็บ (collector) หมายเลขลาดับท่ีเก็บ (collecting number) ช่ือวทิ ยาศาสตร์และช่อื ผูต้ รวจสอบหาชอ่ื ของพันธุไมวิธรี ักษำตวั อย่ำงพนั ธไุ มแหง พันธุไมทีต่ ิดลงบนกระดาษตดิ พนั ธุไมเรียบรอ้ ยแล้ว เม่ือไดตรวจหาชอื่วทิ ยาศาสตรท์ ี่ถกู ตอ้ งแล้วนาไปเก็บใหเ้ ข้าหมวดหมูว่าอยใู่ นวงศ์ (family) ใด สกลุ(genus) ใด และชนดิ (species) ใด ในตเู กบ็ พรรณไมของพพิ ิธภณั ฑพ์ ชื พันธุไมแต่ละชนดิ จะมกี ระดาษปกสขี าวขนาดใหญ่กวา่ กระดาษแขง็ ทต่ี ิดพนั ธุทีม่ า คณาจารย์ภาควิชาพฤกษศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .๒๕๓๐ . การเกบ็ รักษาตวั อยา่ งพันธุไม.อมรินทร์พร้นิ ตงิ้ กรุพ จากัด ภาพท่ี 14 ภาพการติดตวั อยา่ งพืช 2 - 16

HOW TO 2.4.4 กำรดองพืช PRESERVE SPECIMEN ? การเก็บรักษาตวั อย่างพรรณพชื ดว้ ยวิธีการดองมกั นยิ มใช้กบั พชื บาง กลุ่มทม่ี ปี ญั หา ถ้าเก็บรักษาด้วยวิธีการทๆแหง เชน่ พชื ทอ่ี วบนา้ เป็นต้น และ2 - 17 สารเคมที จี่ ะนามาใช้ดองมีหลายชนดิ ทั้งนขี้ ้ึนอยูก่ ับว่าจะใชด้ องพรรณพืชชนิดใด หรอื ส่วนใดของพรรณพืชและมีวัตถปุ ระสงค์ในการดองอย่างไร การดองควรจะ ทาทนั ทที ี่สามารถทาได และควรบันทึกลกั ษณะที่อาจเปลี่ยนไปทาให้ไมสามารถสังเกต ไดจากตวั อย่างดอง เช่น สี หรือลกั ษณะของยางเพราะการดองส่วนใหญ่จะทาใหส้ ี และยางของพรรณพชื เปลยี่ นไปจากเดิม ดงั นน้ั ควรต้องเลือกใช้สารเคมีสาหรบั ดองใหเ้ หมาะสมชนิดใดชนิดหนง่ึ ต่อไปน้ี 1. การดองในสารละลายเอทธลิ แอลกอฮอล์70 % 2. การดองในสารละลายเอทธลิ แอลกอฮอล์50 % ใช้สาหรับดองสาหร่าย (algae) ทมี่ ลี ักษณะบอบบาง 3. การดองในสารละลายฟอรม์ าลิน 10 % 4. การดองในสารละลายสูตร 6-3-1 ผสมโดยใชน้ ้า : แอลกอฮอล์: ฟอรม์ าลนิ ในอตั ราส่วน 6 : 3 : 1 5. การดองในสารละลายเอฟเอเอ (FAA) หรือ ฟอร์มาลนิ -อะซีโท -แอลกอฮอล์ 6. การดองในสารละลายสาหรบั เก็บรักษาพืชใหค้ งลักษณะสเี ขียว 7. การดองในสารละลายสาหรบั เกบ็ รักษาพชื สแี ดงโดยการดองด้วยน้ายาดองของ เฮสเลอร์ (Hesler’s solution) ทมี่ า http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:http:// science.mcru.ac.th/main/filedata/ Bio03.pdf&gws_rd=cr&dcr=0&ei=OK_0WbLsEMjpvASbuIto

https://www.pinterest.com/pin/584271751627542242/ ภาพท่ี 15 ภาพโหลดอกตวั อยา่ งพชื2 - 18

HOW 2.4.5 กำรเก็บรกั ษำตัวอย่ำงเหด็ TO KEEP FUNGUS SPECIMEN ? 1.การอบแหง้ นาตัวอย่างเห็ดทีม่ ลี ักษณะกระด้างมาอบแห้งในตู้อบท่ีอุณหภมู ิ 40- 60 องศาเซลเซยี ส ประมาณ 1-2 วัน หรือจนกว่าเห็ดจะแหง้ เมอื่ อบแหง้ แล้วจะ2 - 19 นามาใส่ถงุ ซิปล็อคและติดฉลากขอ้ มูลเหด็ หนา้ ถงุ ทกุ ตัวอยา่ ง จากนัน้ นาถุง บรรจตุ ัวอยา่ งเห็ดเกบ็ ใสก่ ล่องทมี่ ีฝาปดิ มิดชดิ และใส่เม็ดดดู ความช้ืนไว้ในกลอ่ ง เพือ่ ปอ้ งกนั ไม่ใหค้ วามชนื้ กลับเข้าไปในเห็ดอีกเพราะจะทาให้ตัวอย่างเห็ดข้นึ รา และ เกดิ ความเสียหายได้ 2. การดองตัวอย่างเหด็ ทมี่ ีลกั ษณะชุม่ น้าหรอื อวบนา้ มาดองแอลกอฮอลท์ ี่ความ เขม้ ขน้ 70 % ในขวด โหลแกว้ จากน้ันปดิ ฝาให้สนิทแลว้ พนั รอบฝาขวดด้วย แผ่นพาราฟิน เพอื่ ปอ้ งกันไมใ่ หแ้ อลกอฮอลร์ ะเหยออกจากภาชนะ เปลี่ยน แอลกอฮอลใ์ หม่เมอื่ นา้ ในขวดโหลเรมิ่ เป็นสเี หลือง และ เปลีย่ นจนกว่านา้ ในโหลจะ ใสและไม่กลบั ไปเหลืองอกี 3. การทารอยพมิ พ์สปอร์ (spore print) คัดเลือกเห็ดมีครีบที่ลกั ษณะดอก สมบรู ณ์ และอยใู่ นระยะเจริญเตม็ ท่ี นามาตดั ก้านออกเอาเฉพาะดอกเห็ด จากนั้น นาดอกเห็ดมาควา่ เอาดา้ นทม่ี ีครบี ลงกับกระดาษที่มสี ตี ดั กับครีบของเห็ดหากเหด็ มีครีบสีเข้มจะใชก้ ระดาษสีขาว หากมสี อี อ่ นจะใชก้ ระดาษสดี าหรืออาจจะใชก้ ระดาษ อยา่ งละคร่งึ ก็ได 2.4.6 วธิ เี ก็บตัวอย่ำงเหด็ 1.เกบ็ ตัวอย่างในชว่ งอายุต่างๆ ตั้งแตด่ อกอ่อนจนดอกแกม่ าเปรยี บเทยี บ เนอ่ื งจากในสภาพธรรมชาตจิ ะพบเหด็ ทม่ี ีขนาดและอายแุ ตกตา่ งกนั 2.การเกบ็ ตวั อยา่ งเหด็ นิม่ ควรเกบ็ อยา่ งเบามอื ทสี่ ุดและควรใชเ้ สียมขุดดนิ รอบฐาน ดอกกอ่ นเก็บตวั อยา่ งไมค่ วรดึงดอกเห็ดออกจากดินโดยตรงเพราะอาจทาให้ ก้านดอกเสียหาย เนื่องจากเหด็ บางชนิดกา้ นดอกอาจอยลู่ กึ 3.การเกบ็ เหด็ กระดา้ งหรอื เห็ดทมี่ ลี กั ษณะแข็งอาจใช้มดี หรอื คัตเตอรใ์ นการชว่ ย เฉือนตัวอยา่ งเห็ดทีต่ ิดกบั เปลือกไม้ ท่ีมา โครงงานวิจัย ความหลากหลายทางชนดิ พันธ์ุของเหด็ ในสวนวนเกษตรบ้านหลา่ ยโพธิ์

https://www.pinterest.com/pin/426997608410898049/ 2.4.7 กำรเก็บข้อมูลเบ้ืองตน้ 1. บันทึกชื่อผู้สารวจ ผลู้ งข้อมูล วันที่ทเ่ี ขา้ สารวจพบเห็ดราแตล่ ะชนดิ 2. ลงรายละเอยี ดชอ่ื ปา่ ชนดิ ปา่ บริเวณท่สี ารวจ ลกั ษณะพืน้ ที่ สภาพอากาศ ความชืน้ ในวันทเี่ ขา้ สารวจและรายละเอียดตา่ งๆ ตามแบบ สคล. 3. ใสช่ อื่ เหด็ ที่พบในการสารวจอาจเปน็ ช่อื ท้องถ่ินท่ีชาวบา้ นนิยมเรียก หรือชอื่ ที่ รจู้ ักกนั โดยทวั่ ไป 4. บนั ทกึ แหลง่ อาศัยของเห็ด เช่น พบบนพืน้ ดนิ ใกล้ตน้ พลวงพบบนจอมปลวก พบบนขอนไม้ เปน็ ต้น โดยให้ระบชุ ื่อพชื ทอ่ี ยู่ใกล้เนือ่ งจากเห็ดแตล่ ะชนดิ จะเจรญิ บนพชื แตกต่างชนิดกนั ไป 5. บันทึกลกั ษณะต่างๆ ท่ีสงั เกตเหน็ ของเห็ดในขณะทดี่ อกเห็ดยังสดอยู่ เชน่ ลกั ษณะของหมวก ครีบ กา้ น ดอก วงแหวน เยอื่ หมุ้ เป็นต้นลกั ษณะผิวหน้า หมวกของเห็ดแต่ละชนดิ จะแตกต่างกัน จงึ ตอ้ งบันทึกลกั ษณะทีพ่ บให้ชัดเจน 6. ความสดของเนอ้ื เย่ือเหด็ ทหี่ มวกและกา้ นดอก เนือ้ เย่อื ทก่ี า้ นดอกอาจจะ แข็ง นม่ิ กลวง เป็นตน้ ในการศึกษาใหใ้ ช้มดี แบง่ กลางหมวกเร่อื ยมาจนถึงฐานดอก เพ่อื ให้เห็นลักษณะการจัดเรยี งตัวของเนื้อเยื่อและการเปลยี่ นสีของเนอ้ื เยือ่ เห็ด เม่อื ถกู ตัดให้สมั ผัสอากาศ 7. วงแหวน บนั ทกึ ว่าพบหรือไม่ และบันทกึ ลกั ษณะของวงแหวนอย่างละเอยี ด 8. กล่ิน เนอ่ื งจากประสาทสัมผัสการรบั รู้กลนิ่ ของมนษุ ย์แตกต่างกัน แตก่ ็ สามารถที่จะบนั ทึกไว้ เป็นขอ้ มลู เบอ้ื งต้นได้จากการสัมผัสดว้ ยตนเอง 9. ควรบนั ทกึ ลักษณะขอบของครีบด้วยเช่นกนั นอกจากน้ียังตอ้ งบนั ทึกสีของ ครบี ดว้ ย เนือ่ งจากเหด็ บางชนิดครีบจะเปล่ยี นสเี มือ่ ดอกเหด็ มกี ารพฒั นาและ เมอ่ื สปอร์แก่ ดงั น้ัน ควรศึกษาดอกเห็ดทัง้ อายุออ่ นและแก่ เพ่ือให้เห็นลกั ษณะ การเปล่ยี นแปลงน้ี 10.สัมภาษณแ์ ละสอบถามผู้รเู้ ก่ียวกับเรื่องเห็ดว่าเปน็ เหด็ กนิ ได้ หรือกนิ ไม่ได้ หรือ เป็นเห็ดพษิ ถา้ ทราบวธิ กี ารแก้พิษให้บนั ทึกลงในแบบฟอรม์ ดว้ ย 11.การบันทึกข้อมูลดา้ นภูมปิ ัญญาสาขาต่างๆ ถ้ามีการเก็บมาใชป้ ระกอบอาหาร ถือเปน็ สาขาการดารงชีพและโภชนาการพนื้ บา้ นโดยให้ระบวุ ิธีการใช้ประโยชนท์ นี่ า มาใช้และเดอื นท่ีเก็บเห็ดมาใชป้ ระโยชน์ 12.ปัจจยั คกุ คามในเรื่องการสารวจเห็ด เช่น เกิดไฟไหม้ปา่ หรอื อากาศแห้งแลง้ มาก ทาใหเ้ หด็ บางชนิดนอ้ ยกวา่ ปกตสิ ามารถบันทึกขอ้ มูลนล้ี งในแบบฟอร์มได้ 13.สารวจราคาซอื้ ขายเหด็ ตามตลาดชมุ ชนเพอ่ื เปน็ การประเมินรายไดข้ องชุมชนที่ ไดร้ ับประโยชน์จากป่า ท่มี า สานักงานความหลากหลายทางชวี ภาพด้านป่าไม้ ภาพท่ี 16 ภาพเหด็ 2 - 20

WHAT DOES 2.5 ธนำคำรเมล็ดพันธ์ุ SEEDBANK DO ? Kew Millennium Seed Bank ต้ังอยู่ที่ Wakehurst Place ในลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็นแหล่งท่ีเก็บพนั ธ์ุพืชที่มคี วามหลากหลายทีส่ ดุ ในโลก ซ่ึงไดท้ าการรวบรวมจากทั่วโลกโดยได้2 - 21 รว่ มมอื กับเครอื ขายเปน็ จานวนมากกว่า 80 ประเทศ และยงั เปน็ แหลง่ ทีใ่ หญ่ทีส่ ดุ ทนี่ าสายพนั ธ์ุจาก ประเทศอนื่ ๆมาอนุรกั ษ์ไว้ Kew Millennium Seed Bank เป็นหน่วยงานแรกๆท่เี ริ่มเกบ็ เมลด็ พนั ธุ์ เร่ิมแรกพฒั นา เพอื่ เก็บสายพันธทุ์ เี่ ปน็ อาหาร หลังจากนน้ั ก็เพิ่มสว่ นท่เี ป็นพืชป่าด้วย โดยเมล็ดพนั ธุส์ ่วนมาก (ประมาณ90%) จะเป็นสายพนั ธ์ทุ ่ีสามารถอยูร่ อดในอากาศที่ถกู ทาใหแ้ ห้งและการแชเ่ ยน็ ซึ่งเปน็ การ ต่ออายุที่เรยี กวา่ ‘orthodox’ จุดประสงคก์ ารสร้างส่งิ อานวยความสะดวกตา่ งๆ ใน Wakehurst คอื เพ่ือการวจิ ยั และ อนรุ ักษ์ รวมท้ังเพอ่ื เก็บชุดตวั อยา่ งตา่ งๆ เมลด็ พันธ์ุจะถูเกเตรยี มและถกู ทาให้แห้ง (มคี วามชื้นอยู่ ประมาณ 4-6%) กอ่ นถูกจะนาไปแชเ่ ยน็ ในอุณหภูมิ –18 ถงึ –20 ๐C ในอโุ มงค์ตาม มาตรฐานสากล 2.5.1 ขั้นตอนกำรจัดกำรเมล็ดพนั ธ์ุ 1. หลงั จากเก็บเมลด็ แล้วเมลด็ จะถกู สง่ มาท่ีสถานปฏบิ ตั ิการเมล็ดจะถูกนาไปเกบ็ ไวใ้ นหอ้ งทีม่ ี ความชื้นเพียง 15% ( ± 3% ) นาน 4 สปั ดาห์ (สาหรบั เมลด็ ทม่ี าขนาดจ๋วิ มากจะใช้เวลาอย่าง มาก 1 สปั ดาห์) 2. ตวั อย่างเมลด็ จะถกู นามาทาความสะอาด คัดเอาส่วนทเ่ี สียออกไปรวมทั้งแมลงทีอ่ าจจะตดิ มา 3. ตัวอย่างเมลด็ จะถูกนามาตรวจสอบความสะอาดสมบรู ณ์โดยการ X-ray หรือ การทดสอบตดั 4. ตวั อย่างเมลด็ จะตอ้ งถกู นาเข้าเกบ็ ใน seed bank ให้เรว็ ทส่ี ดุ หลังจากถกู ทาให้แหง้ ด้วยความช้นื 15% ( ± 3% ) ภายใน 6 เดือนของการเก็บตัวอยา่ ง (สาหรับเมลด็ ทม่ี าขนาดจิว๋ มากจะใช้เวลา ภายใน 1 สปั ดาหข์ องการเกบ็ ตัวอย่าง) 5. ชุดตัวอยา่ งเมลด็ จะถูกบรรจุลงบรรจภุ ัณฑ์ท่อี ากาศเข้าไมไ่ ด้ 6. ชดุ ตวั อยา่ งจะถูกเก็บในอุณหภูมิ –20 ๐C ±3๐C 7. ตรวจสอบการงอกของเมล็ดทกุ ๆ 10 ปี ท่มี า https://www.kew.org/science/collections/seed-collection/what-is-in-the-bank

https://grist.files.wordpress.com/2015/09/seeds.jpg?w=970&h=647 2.5.2 ข้ันตอนกำรเกบ็ เมลด็ พันธ์ุ 1. ทาการขออนุญาตเจา้ ของพ้ืนท่ีทีจ่ ะทาการเก็บเมล็ด 2. เดนิ ทางไปเก็บเมลด็ 3. ระบแุ ละประเมนิ ผลเมเลด็ 4. ทาการเก็บเมลด็ 5. เกบ็ ขอ้ มูลเบอ้ื งต้นและระบุที่มาของเมล็ด 6. ดแู ลไมใ่ หเ้ มล็ดสมั ผสั ความรอ้ นสงู และความชืน้ 7. สง่ เมล็ดไปที่สถานีวิจยั 2.5.3 กำรเกบ็ รกั ษำเมลด็ และศกึ ษำเมล็ดพันธ์ุ - นาเมลด็ มาตรวจสอบหาแมลงทอ่ี าจจะติดมาดว้ ย ตอ้ งตรวจสอบในสถานทีท่ ี่เป็น ระบบปิด - ตรวจสอบข้อมลู เมลด็ พนั ธต์ุ รวจขอ้ มลู ท่ีมา ขอ้ มูลเบอื้ งตน้ ของเมลด็ พนั ธ์ุ - บันทึกข้อมลู เบื้องตน้ ของเมลด็ ลงฐานข้อมูล - เก็บขอ้ มูลเมลด็ ผา่ นกระบวนการการทดสอบตา่ งๆ X-ray analysis, คุณภาพ เมล็ด, กาหนด วิธกี ารเกบ็ เมลด็ ฯลฯ - ประเมนิ เงื่อนไขวธิ ีการเกบ็ เมล็ดเมลด็ สว่ นใหญใ่ ช้วิธี “orthodox” ซง่ึ เป็นการทาให้ เมล็ดแหง้ วธิ ี นจ้ี ะไมท่ าให้เมล็ดตาย แต่จะทาใหเ้ มล็ดมคี วามชน้ื ต่าเปน็ กระบวนการท่ี จาเปน็ เพ่ือใหเ้ ก็บเมลด็ ได้ เปน็ ระยะเวลายาวนาน - วิเคราะหผ์ ล x-ray - ประเมนิ คุณภาพเมลด็ - ตากแห้งเมล็ดลดความชนื้ ลงเหลือ 15% ในห้องอุณหภมู ิ 15 oC - บรรจเุ มล็ดลงบรรจุภณั ฑ์ - นาไปเก็บใน seed vault ลดความชื้นลงเหลอื 15% ในห้องอุณหภูมิ -20 oC - ตรวจเชค็ การงอกของเมล็ด - เพาะเมลด็ เพ่อื เก็บเก่ยี วเมลด็ ใหม่ - แบง่ ปันเมล็ดเพ่ือการวิจัย ท่มี า Kew's Millennium Seed Bank แปล : อัจจิมา สุขวิเศษ ภาพท่ี 17 ภาพตัวอย่างเมล็ด 3 2 - 22

WHY STORE 2.6 ธนำคำรดีเอ็นเอและเนื้อเยื่อ DNA & TISSUE SAMPLE ? 2.6.1 ทำไมถึงต้องเกบ็ ตัวอย่ำง ดเี อ็นเอและเนือ้ เยือ่2 - 23 ธนาคารดีเอน็ เอและเน้ือเย่อื เป็นทรพั ยากรที่มีคา่ สาหรับการพฒั นาเทคโนโลยีใหมๆ่ เนอ่ื งจากการเก็บวตั ถดุ บิ จากแหล่งกาเนิดนนั้ เป็นไปดว้ ยความลาบาก เหลา่ นกั วจิ ยั ได้เปล่ียนการเกบ็ ประวัติศาสตรธ์ รรมชาตไิ ปเป็นคาตอบใหก้ บั ววิ ฒั นาการและความหลากหลายทางชวี ภาพ ดเี อ็นเอและเนอ้ื เยือ่ จะถกู เก็บไวใ้ นอณุ หภูมิ –80 ๐C ในฟซี เซอร์ แท็งก์ หรือหอ้ งคมุ อุณหภมู สิ าหรับตวั อยา่ งเน้อื เยื่อ 2.6.2 หลกั กำรทำงำนของเทคโนโลยีลำยพิมพ์ดเี อน็ เอ ขั้นตอนที่หนึ่ง กค็ อื การเกบ็ ตวั อยา่ งเพ่อื หาลายพมิ พ์ดีเอน็ เอ ตัวอยา่ งท่จี ะทาการหาลายพมิ พ์ ตอ้ งมีดเี อน็ เอทม่ี คี ณุ ภาพ ถ้าดีเอน็ เอเสอ่ื มสลาย ก็ไม่สามารถหาลายพมิ พด์ เี อน็ เอ ได้ (ปจั จัยทีจ่ ะทาให้ดเี อ็นเอเสอ่ื มสลายคอื ระยะเวลา อณุ หภมู ิ ความชื้น แสงแดด สารเคมี จุลนิ ทรีย์ ฯลฯ) โดยปกติดีเอน็ เอสามารถคงอยไู่ ด้เป็นเวลาหลายปี หาก เก็บไวด้ ้วยวิธีที่เหมาะสมและตอ้ งมปี ริมาณทเี่ หมาะสมเพยี งพอท่ีจะตรวจหาดีเอ็นเอได้ ขน้ั ตอนทส่ี อง กค็ ือการสกดั ดเี อ็นเอจากเซลลข์ องตัวอย่าง อันท่ีจริงกอ่ นท่จี ะมาถึงข้ันตอนน้ี ต้องเลอื กตวั อย่างวา่ ควรเปน็ เลือด นา้ ลาย เยื่อ บุขา้ งแกม้ กระดูก ผม ฯลฯ จะ ไดเ้ ลือกวธิ ีการสกัดดีเอ็นเอให้เหมาะสมกบั ตวั อยา่ งแต่ละชนดิ ขนั้ ตอนทส่ี าม ก็คือการตรวจวเิ คราะหล์ ายพิมพด์ ีเอน็ เอ โดยทว่ั ไปมสี องวิธีคือทา โดยนกั วจิ ัยและ ใช้เคร่ืองมืออัตโนมัติโดยใชเ้ อนไซม์ทีม่ ลี กั ษณะตัดเฉพาะจากนั้นแยกท่อนดเี อน็ เอท่ี ถกู ตัดออกจากกดั ด้วยเทคนิคจาเพาะถึงตอนนก้ี จ็ ะไดแ้ ถบดีเอ็นเอที่มขี นาดแตกตา่ ง กันหากใชว้ ธิ ตี ิดฉลากทอ่ นดีเอ็นเอโดยสารกมั มนั ตรงั สผี ลจะปรากฏออกมาใน ลกั ษณะโดยอตั โนมัติ ขน้ั สดุ ท้าย กเ็ ปน็ การแปลผลลายพมิ พด์ ีเอน็ เอโดยการอา่ นผลจากลกั ษณะ ตาแหนง่ ของแถบดี เอน็ เอหรือเสน้ กราฟที่ได้ เม่ือไดผ้ ลการตรวจมาแลว้ กน็ ามาเปรียบเทียบกบั ลาย พิมพ์ดเี อ็นเอท่ีเราศกึ ษาอีกชุดวา่ มคี วามสมั พันธก์ นั เชน่ ใด ที่มา https://sites.google.com/site/biotechnology510/dna-fingerprinting https://www.kew.org/science/collections/dna-and-tissue-bank


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook