Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Wilawan_ch4_Ebook_Fintech

Wilawan_ch4_Ebook_Fintech

Published by wilawan072, 2021-08-08 15:11:32

Description: Wilawan_ch4_Ebook_Fintech

Keywords: Fintech

Search

Read the Text Version

โดย ... ครวู ลิ าวลั ย วัชโรทยั





          

     

1

รปู ที่มา : https://kmc.exim.go.th/detail/20190927191138/20201222140446 2

 ในอดีตการทาํ ธุรกรรมทางการเงินและการลงทุน ถือเปนเรื่องที่คอนขางยากและซบั ซอนสาํ หรบั คนท่วั ไป ทั้ง เงอ่ื นไขและบรกิ ารตา งๆ นับไมถว นทีเ่ ปน อปุ สรรคตอ ความเขา ใจ และการเขา ถงึ บรกิ ารที่ไดมาตรฐาน  ทําใหป จจุบัน มผี ูพฒั นานวตั กรรมทางการเงิน หรือ Financial Innovation เพือ่ แกปญ หาเหลา น้เี ปน จํานวน มาก โดยผสานความรูดา นการเงนิ (Financial) เขากบั เทคโนโลยี (Technology) จนกลายเปนธรุ กจิ FinTech ทท่ี กุ คนนา จะคนุ หูกนั ดี  โดย FinTech ไดเขา มามีบทบาทในการลดตนทุนการทาํ ธุรกรรมทางการเงิน และสรางโอกาสใหค นจํานวนมาก สามารถเขาถงึ บรกิ ารทางการเงินท่ไี ดมาตรฐานมากย่งิ ขนึ้ การกา วเขา มาของ FinTech ยงั สรางความทาทาย ใหกบั ผรู ว มตลาดในแวดวงการเงนิ อน่ื ๆ เชน ผูใหบ ริการทางการเงนิ ดั้งเดมิ (Incumbent) ผทู าํ ธุรกจิ ให คาํ ปรึกษา ผูทาํ ธรุ กิจนายหนา และคนกลาง รวมไปถึงผอู อกกฎระเบยี บ (Regulator) ทตี่ อ งปรบั ตวั ใหทนั ตอ การเปลี่ยนแปลงน้ี 3

4

ยุค FinTech 1.0 : ป ค.ศ. 1866 - 1967  ซง่ึ เปน ยคุ ทน่ี บั เปนจุดเริ่มตนของการนาํ เสนอรปู แบบการใหบ รกิ ารทางการเงนิ แบบ ดจิ ิทลั โดยผใู หบ รกิ ารทางการเงินรายใหญมกี ารนาํ เสนอบัตรเครดติ (Diners’ Club ออกโดย Bank of America และ American Express) ขณะทธ่ี นาคาร Barclays ไดนําเครื่องถอนเงินสดอตั โนมตั ิ (Automated Teller Machine: ATM) ออกมา ใหลองใชเ ปนครง้ั แรก จนมีผลทาํ ใหผูบริโภคปรับเปล่ยี นทัศนคตทิ ่มี ตี อ การใหบ ริการ ทางการเงนิ ของสถาบนั การเงินนบั ต้ังแตน นั้ เปน ตนมา 5

 ยคุ FinTech 2.0 : ป ค.ศ. 1987-2008  ระบบอินเทอรเ นต็ ทีเ่ ร่ิมเติบโตและเปน ทน่ี ิยมใชก นั แพรหลายมากข้นึ สง ผลใหก ารใหบรกิ าร ของกลุม สถาบนั การเงินรายใหญเ ขาสรู ะบบดจิ ทิ ลั และสามารถนําเสนอบริการธุรกรรมทาง การเงนิ ทเ่ี ปน รูปแบบอิเล็กทรอนกิ สเตม็ ข้นั เชน iBanking สอดคลอ งกบั รูปแบบของการคา ทเ่ี รม่ิ มกี ารปรับเปลย่ี นเขา สรู ะบบการคาออนไลนม ากขึน้  FinTech ในยคุ น้ีกย็ งั คงถูกคดิ คนและนําเสนอผานธนาคาร พาณิชยและสถาบันการเงิน ด้ังเดิมประเภทอืน่ ๆ เปน หลัก 6

 ยคุ FinTech3.0 : ป ค.ศ. 2009ถงึ ปจจบุ ัน  ซง่ึ เปนยคุ ท่มี ผี ูใหบ ริการทางการเงนิ รายใหมเ ขา สตู ลาดเปนจํานวนมาก ดงั นัน้ FinTech จึงไมไ ดถกู จํากัดอยเู ฉพาะกบั สถาบนั การเงิน เทาน้นั ขณะทใี่ นดา นผบู รโิ ภคเรม่ิ คาดหวงั ถงึ บรกิ ารทางการเงินท่แี ตกตา งไปจากเดิม ซงึ่ สภาพแวดลอ มที่เปลยี่ นแปลงดังกลา ว นํามาสูการ เตบิ โตอยางกา วกระโดดของกระแส FinTech  FinTech 3.0 หรือยคุ หลงั เกิดวิกฤติ Subprime อนั มาจากภาวะฟองสบขู องสถาบันการเงินขนาดใหญแตก ทาํ ใหผบู ริโภคลดความเชอ่ื ถือ ตอ สถาบันการเงินลง และนําไปสคู วามนยิ มในการระดมทุนทางเลอื ก เชน การทาํ การระดมทุน (Crowdfunding) อยา ง Kickstarter หรอื ผานสกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั (Cryptocurrency) อยาง Bitcoin  หลังวิกฤติ Subprime ทาํ ใหภ าคการเงนิ หันมาใชเทคโนโลยมี ากขนึ้ หลากหลายภาคธรุ กิจเร่มิ มีการปรบั ตวั สถาบนั การเงนิ หลายแหงนาํ เทคโนโลยมี าใชท ดแทนมนุษยเพ่อื ลดตนทนุ เชน Robo-advisor มาชว ยนกั ลงทนุ รายยอยวางแผนการลงทนุ แบบอตั โนมตั ิ  นอกจากน้กี ารเขา มาของสมารทโฟนยังทําใหผ บู รโิ ภคสามารถเขาถงึ บรกิ ารทางการเงินไดทุกทท่ี กุ เวลา จึงการเกดิ ของผเู ลนหนา ใหมอยาง Startup ท่สี รา งแพลตฟอรม สาํ หรบั Peer-to-Peer (P2P) ใหบ คุ คลทั่วไปทําธุรกรรมการเงินโดยไมจําเปน ตองผานสถาบนั ตัวกลาง โดยมี บริการตางๆ ท้งั การโอนเงิน การใหและรับสินเช่อื และสําหรบั การซื้อขายแลกเปลยี่ นหนุ 7

8

 การกาํ หนดกระบวนการท่ฟี น เทคจะนาํ มาใชจ งู ใจผรู ับบริการหรือลกู คา โดยนําเทคโนโลยที ีจ่ ําเปนและทําใหเกดิ ประสทิ ธิภาพมาก ทสี่ ุด ประกอบดว ย 1. ปญญาประดษิ ฐ (Artificial Intelligence) 2. การเรยี นรดู ว ยเครื่องจกั ร (Machine Learning) 3. วทิ ยาศาสตรขอมูลและการวิเคราะหขน้ั สงู (Data Science and Advanced Analytics) 4. บรกิ าร Cloud (Cloud services)  ทั้งนี้ 3 เทคโนโลยแี รกถูกจัดประเภทกวา งๆ อยใู น “การวเิ คราะหขอ มลู ” อันเปน อนาคตขององคกรตางๆ ทีจ่ ะลดคาใชจ า ย เกยี่ วกับการวิเคราะหข อ มูลแบบ Manual หรือดวยการใชแรงงานมนุษยมหาศาล เทคโนโลยเี หลานจ้ี ะชว ยพัฒนาสินคา ตามความ ตองการของลกู คา ในการนาํ Artificial Intelligence (AI) และการเรียนรูดวยเคร่ืองจักรมาใชจรงิ  ซงึ่ ฟน เทคจะตองเกบ็ ขอมลู จากการทาํ ธุรกรรม (มากทส่ี ดุ และ real-time ทส่ี ดุ เทา ที่จะเปนไปได) และจะตอ งมแี พลตฟอรมที่ เชอื่ ถอื ไดเ พอ่ื จะประสาน รวบรวม และเกบ็ ขอ มูลทัง้ หมด ซ่งึ เปน เหตผุ ลวาทาํ ไมเทคโนโลยลี ําดบั ท่สี ีอ่ นั ไดแ กแพลตฟอรมและ บรกิ าร Cloud ที่เชอื่ ถือไดจงึ มีความสําคัญ 9

10

 การนําเทคโนโลยีมาใชก บั ระบบธนาคาร ซง่ึ ฟนเทคประเภทนีค้ อื Mobile Banking ท่มี ขี ึ้นเพอื่ ให ลูกคา ของธนาคารสามารถทาํ ธรุ กรรมตาง ๆ ทเ่ี ปนการบริหารจัดการเงินของตัวเองไดดวยตัวเอง ทํางานในฟง กชันเดียวกบั ที่ธนาคารแบบดง้ั เดิมทํา ทงั้ เชก็ ยอดบญั ชี โอนเงนิ จายบิล และอ่ืนๆ 11

 เทคโนโลยเี พอื่ การระดมทนุ หรือ คราวดฟนดงิ แพลตฟอรม เปนแพลตฟอรม ตวั กลางระหวางผูประกอบการและนกั ลงทุนผาน เวบ็ ไซด ชว ยอาํ นวยความสะดวกในเรอื่ งการสมคั รขอระดมทนุ ตรวจสอบเครดิตและอนุมัติ  โดยมีจดุ ประสงค คอื  เพอื่ ใหเกดิ การขอและใหเ งินทนุ แทนท่ีผปู ระกอบการจะตองไปขอกูสนิ เช่อื จากธนาคาร ก็สามารถระดมทุนจากนักลงทุน หลาย ๆ คนได  โดยนกั ลงทุนสามารถเลือกลงทุนในธรุ กิจทนี่ าสนใจผา นแพลตฟอรมดงั กลาวได  ตวั อยา ง ผูใหบริการ เชน “เพยี ร พาวเวอร (Peer Power)” ซ่ึงใหบ รกิ ารสินเช่อื SME ออนไลน จดั อยูในฟนเทคประเภทน้ี โดยการระดมทุนผา นแพลตฟอรม ของ เพียร พาวเวอร จะอยูในรูปแบบของหุนเพ่ืการระดมทุนทีใ่ หผ ลตอบแทนเปนดอกเบี้ย 12

 สกุลเงินดิจิทัล หรือ คริปโทเคอรเรนซี เปนสกุลเงินที่ใชกันอยางแพรกลายบนโลกอินเทอรเน็ต เกิดขึ้นจากการนํา กลไกทางคณติ ศาสตรท่ีกําหนดจํานวนไวจํากดั ซึ่งตอ งใหเ คร่ืองพวิ เตอรมาถอดรหัส เพ่ือสกัดเงินออกมาในรูปแบบ สกุลเงินดิจิทัล เชน Bitcoin, Ethereum, Ripple, Bitcoin Cash, และ Litecoin เปน ตน  สกุลเงินดิจทิ ัลกําลังไดร บั การยอมรับอยางแพรห ลายมากขน้ึ ในปจจบุ นั ดวยการโอน จาย แลกเปล่ียนท่ีสะดวก ตนทุน ตาํ่ และโปรง ใส 100 % ผา นการโอนไปยงั เครอื ขา ยสกลุ เงินตา ง ๆ ดว ย เทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Blockchain)  ขอดี ทําใหมีนักลงทุนเขามาสูวงการขุดสกุลเงินดิจิทัลกันเปนจํานวนมาก แตอยางไรก็ตามสกุลเงินดิจิทัลก็มีความผัน ผวนทางมลู คาเปนอยา งมากคลายกบั ทนุ  นักลงทุนในวงการนี้ จงึ นยิ มนาํ ไปเทรดแลกเปล่ียน เพอื่ เพ่มิ กําไรเปน สวนใหญ 13

14

 ระบบการจายเงนิ ทดี่ าํ เนนิ การดว ยเทคโนโลยี เปน ระบบตัวแทนการใชจา ย ทผี่ ใู ชต อ งเปดบัญชกี ับ ทางแพลตฟอรม จึงจะสามารถใชง านได ตัวอยาง เชน ระบบ E-Wallet ตาง ๆ เชน Pay Pal, True Wallet, AIS MPay หรือเครดิตการด  ซึ่ ง ร ะ บ บ Payment จ ะ ต า ง จ า ก Mobile Banking ตรงที่เจาของแพลตฟอรมไมใชธ นาคาร และใหบรกิ ารเฉพาะการใชจ ายเทา น้ัน 15

 ซอฟตแวรสําหรับองคกร เปนเทคโนโลยีที่จะชวย ผูประกอบการในเรื่องการจัดการทางดานการเงิน ไดแก การจัดการบัญชี ระบบจายเงินเดือน-ภาษีและการจัดการ พนักงาน รวมไปถงึ การครอบคลุมถึงสวสั ดกิ ารดานการเงนิ  โดยเทคโนโลยีดังกลาวจะชว ยลดเวลา และทรัพยากรท่ตี อง ใชง าน ทําใหประสิทธภิ าพของกระบวนการภายในองคก รดี ข้ึน  ตวั อยาง ผใู หบ ริการ เชน SAP, Oracle เปน ตน 16

 เทคโนโลยที ี่จะชว ยจดั การทางดา นลงทนุ ในปจ จุบนั จะเหน็ ไดว า มแี พลตฟอรมการลงทนุ ท่ี หลากหลายมากขน้ึ เชน  แอปพลิเคชนั ลงทุน ไดแก กองทุนสว นบคุ คล (Private Fund) , ทองคํา, กองทนุ รวม (Mutual Fund)  เปนแพลตฟอรม ที่ใช AI มาใชเ รยี นรพู ฤตกิ รรมการลงทนุ แบบตาง ๆ และมาชวยในการวเิ คราะหหนุ  การนําเทคโนโลยีอยา ง Robo-Advisor มาชว ยในการจดั พอรต การลงทนุ (Asset Allocation)  ตวั อยาง ผใู นบริการ เชน Wealthfront เปน บรษิ ทั ใหบ ริการดานการลงทนุ อตั โนมัติ และ Betterment เปน บรษิ ทั ทปี่ รกึ ษาทางการเงนิ ของอเมริกาซ่งึ ใหบ รกิ ารใหค าํ ปรกึ ษาดานหนุ ยนตแ ละการจัดการเงนิ สด 17

 การใชเทคโนโลยีทางการเงินดานประกันภัย ประกันชีวิต เขามาชวยในดานการคํานวณเบี้ย ประกัน ผลตอบแทน ความเส่ียง รวมถึง อัตราสวนลดอยางเปนเหตุเปนผล ชวยใหท้ัง ผูซื้อและผูเสนอขายประกันภัย/ประกันชีวิต บริหารจดั การระบบประกันไดง ายขน้ึ 18

19

2109

21

FinTech 22

FinTech 23

24

FinTech 25

FinTech 26

27

FinTech  แบงประโยชน ตามกลุม ผใู ชง านได ดงั น้ี 1. บคุ คลทัว่ ไป ไดประโยชนจ ากเทคโนโลยที างการเงนิ ในลกั ษณะการขยายโอกาสการเขาถงึ บริการทางการเงิน ที่ทําใหค นท่ี ไมม บี ญั ชีธนาคารสามารถใชจ ายทําธุรกรรม รวมถงึ สามารถขอสินเช่อื ลงทนุ ไดด ว ยตนเอง 2. สถาบันการเงิน ใชป ระโยชนจากเทคโนโลยีทางการเงนิ ไดด วย การสรา งระบบธนาคารยอย ๆ แบบ Mobile Banking ลงมา ใหอยใู นโทรศพั ทมือถอื เปน อกี ชองทางในการเขาถงึ ลูกคา และเกบ็ ขอ มลู ธรุ กรรมตา งๆของลกู คา ไดง า ยขน้ึ 28

FinTech แบงประโยชน ตามกลุมผูใชง านได ดงั นี้ 3. ผใู หบ รกิ าร E-Commerce ใชป ระโยชนไดท้งั ในรปู แบบของระบบ Payment จากการเชอ่ื มตอ API Data และ Banking Technology ทาํ ใหคาขายในออนไลนง ายขนึ้ จากการจายเงนิ ผา นแพลตฟอรม ออนไลนด งั กลา ว 4. นักลงทนุ เทคโนโลยีทางการเงนิ เอ้ือตอ การลงทนุ ทัง้ ในรูปแบบตลาด Cryptocurrency, Insurtech และ Crowdfunding Platforms ซ่ึงถือเปน โอกาสสําหรบั นักลงทนุ ทอ่ี ยากลองลงทุนในรูปแบบใหม ๆ 29

FinTech  แบงประโยชน ตามกลุมผใู ชง านได ดงั น้ี 5. ผปู ระกอบการ สามารถเขาถึงแหลงเงินทุนไดง า ยขึ้น ผาน Crowdfunding Platforms รวมถึง สามารถจัดการ บริหารระบบตาง ๆ ในองคกรไดดีย่ิงข้ึน จากเทคโนโลยีซอฟตแวร ที่พัฒนามาเพ่ือใชกับองคกร โดยเฉพาะ 30

31

 1. ธนาคารหรือสถาบนั การเงนิ แมเทคโนโลยีทางการเงิน จะมหี ลายประเภทเพอ่ื ตอบสนองความตอ งการในการบรหิ ารจัดการการเงนิ แตไมไดม ีทไ่ี หนรับฝากเงนิ เหมอื นที่ธนาคารทาํ การไดรบั เงนิ สดจากเทคโนโลยที างการเงนิ นน้ั เปน ไปไดยาก ดังน้นั ธนาคารไมไ ดม ีบทบาทลดลงจากการเขามา ของเทคโนโลยีทางการเงนิ พรอมกนั นนั้ ธนาคารก็ยายตัวเองลงไปอยใู นโทรศพั ทม ือถือทใ่ี กลชิดกบั ผใู ชมากข้นึ ไดด ว ยเทคโนโลยี เชน กนั การทสี่ าขาของธนาคารปดตวั ลง อาจมีผลกระทบตอ คนทาํ งานดา นปฏบิ ัติการในธนาคาร แตหากมองในแงส ถานะและความ ม่ันคงของธนาคารแลว นอ่ี าจเปน ขอดมี ากกวา กไ็ ด ธนาคารเองกเ็ ปนหน่งึ ในผไู ดรบั ประโยชนจ ากเทคโนโลยีทางการเงนิ ดังนั้นจงึ ไมนา แปลกใจทีธ่ นาคารขนาดใหญห ลายแหง ท่วั โลก จะ เลือกหนุนหลงั ธุรกจิ ท่พี ัฒนาเทคโนโลยที างการเงิน เพราะเปนโอกาสดีทีจ่ ะไดใชประโยชนจากเทคโนโลยโี ดยไมต องลงมือพฒั นาเอง 32

 2. หา งสรรพสินคา เม่ือมีการซอื้ ขายออนไลนแบบครบขัน้ ตอนในแพลตฟอรม เกิดขน้ึ ดวยความชวยเหลอื จากเทคโนโลยที างการเงนิ การซ้ือขายสินคาทต่ี อ งเดนิ ทางออกไป เพื่อคน หาจงึ มคี วามจําเปน ลดลง รวมถงึ ขณะนี้ประเทศไทยมีอัตราการใช จา ยออนไลนส ูงทส่ี ุดในเอเชยี หางสรรพสินคาจงึ เปน สว นหนงึ่ ท่อี าจไดรบั ผลกระทบ แตพ ฤติกรรมของผูบรโิ ภคที่ ชอบซื้อของที่ไดสัมผัสดว ยมือ มองเหน็ ดว ยตา รวมถงึ ตองการทนี่ ัง่ เลน พบเจอกบั เพ่อื นกย็ ังมอี ยเู ชนกนั 33

34

35

36

37

38

39

1) การยนื ยันตัวตนในการทําธรุ กรรมการเงินผานเทคโนโลยี Biometric (Biometric Technology) เปนการนําเอาเทคโนโลยีมาใชในการจําแนกอัตลักษณ ทางกายภาพของบุคคล เชน ใบหนา ลายนิ้วมือ หรือ อัตลักษณทางพฤติกรรมของบุคคล เชน การพูด การเขียน เพอื่ ระบุพิสูจนห รอื ยืนยนั ตวั ตนบคุ คล รูปที่มา : https://www.spaceo.ca/biometrics-authentication-types-technology-trends/ 40

2. สังคมไรเ งนิ สด (Cashless Society) การนําเอาเทคโนโลยี QR Payment มาใชใ นการชาํ ระเงิน เพิ่มความสะดวกในการลดการใชเงินสด และทําใหการเขาถึง บริการทางการเงนิ ทีท่ ่ัวถงึ เชน บรกิ ารพรอมเพย การจา ยดว ย QR CODE รปู ท่ีมา : https://paymentexpert.com/2019/05/15/motion-pay-partner-with-unionpay-to-offer-qr-code-payments-in-canada/ 41

3) การปลอ ยสินเชื่อดจิ ทิ ลั (Digital Lending) สินเช่ือดิจทิ ลั หมายถงึ กระบวนการใหก ยู มื เงิน (รับสมคั ร/ปลอยสนิ เช่อื ) ทม่ี กี ารบริหาร จัดการหรือดําเนินงานผานชองทางดิจิทัล ในทางปฏิบัติผูใหกูจะนําเทคโนโลยีในรูปแบบ ตา ง ๆ มาปรบั ใชในกระบวนการใหบ ริการสนิ เชื่อ ในการปลอยสินเช่ือท่ียอดการขอสินเช่ือไมมากนัก จะเจาะกลุมไปที่กลมุ ผูมีรายไดนอย ซง่ึ จะอาศัยขอ มูลจากสถาบันการเงินและสามารถนําขอมูลอืน่ ๆ (Alternative Data) เชน ประวัติการจายคานํ้า คาไฟ คาโทรศัพท มาประกอบการวิเคราะหความสามารถในการชําระ หนี้ไดแมนยํามากข้ึน โดยลูกคาหลักมักจะเปนกลุมบุคคลที่เขาไมถึงบริการทางการเงิน (Unbanked) เชน ไมมีประวัติการผอนกับธนาคารเลย เชน อาชีพอิสระ พนักงานในธุรกิจ SME หรอื บริษัทขนาดเลก็ เปนตน อกี หน่งึ เทรนดที่นาจบั ตาคือ 2p2 lending ที่ใหบ ุคคลท่วั ไปสามารถลงทนุ ปลอ ยกู แก บุคคลธรรมดาไดอยา งสะดวก และมีหลกั ประกนั ทป่ี ลอดภยั เชน www.finnotech.co.th รปู ทม่ี า : https://today.line.me/th/v2/article/Rkp7gZ 42

4. การเขา ถึงความตองการใหมข องผใู ชบรกิ าร (Solution to support Financial Literacy) บรกิ าร Fintech จะถกู พฒั นาขึ้นกเ็ พ่ือตอบสนองความตอ งของผคู นหรือแกป ญ หา Pain Point ของลูกคา ยงิ่ ผูใชบรกิ ารมี ความสนใจตระหนักรูเกยี่ วกบั การทาํ งานของระบบการเงินมากขึน้ เทาไร กย็ ่ิงมโี อกาสทีจ่ ะเกดิ ความตอ งการใหม ท่จี ะมบี ริการ Fintech มาตอบสนองและสง เสรมิ ใหผูพ ฒั นาออกแบบบริการทางการเงินใหม จากการสาํ รวจพบวา ผูบริโภคมีความสนใจบริการทางการเงนิ ใน 5 หวั ขอ ไดแก 1) การวางแผนการเงินและทําบัญชรี ายรับ รายจา ย 2) การออมเงินและการลงทนุ เพ่อื สรางผลตอบแทน 3) การขอสนิ เชื่อ 4) ประกันชีวติ 43

รปู ที่มา : https://www.kalpratech.com/block-chain/ 5. Blockchain Technology and Distributed Ledgers การนาํ เอาเทคโนโลยีการบนั ทึกขอมลู แบบกระจายศูนย (Distributed Ledger/Data Base) ท่ีมกี ารเขา รหสั และ การกําหนดสิทธกิ ารเขา ถึงขอมลู เพ่อื เพิ่มความปลอดภยั และความนา เชอ่ื ถือตอ การแกไข ทาํ ซา้ํ และไมมีใครมีอาํ นาจ เบ็ดเสร็จในการควบคุม 44

(1) การสนบั สนนุ การสรา งนวตั กรรมทางการเงนิ ผานกลไก Regulatory Sandbox* ทีเ่ ออื้ ใหผใู หบริการ ทางการเงนิ ทั้งสถาบันการเงนิ และท่ีไมใ ชส ถาบันการเงิน สามารถ พฒั นาบริการดวยเทคโนโลยสี มัยใหมแ ละใหบรกิ ารได รวดเรว็ ข้ึน โดยเร่มิ จากการ ทดสอบการใหบ รกิ ารในขอบเขตจํากดั เพื่อใหสามารถควบคมุ ความเส่ยี งได และมีการ ติดตามประเมินผลจาก ธปท. อยา งใกลช ิดกอ นนําออกใหบริการในวงกวา ง * Regulatory Sandbox หมายถึง การทดสอบบรกิ ารทางการเงิน ทนี่ าํ นวตั กรรม FinTech มาใชภายใตส ภาพแวดลอมของการ ประกอบธรุ กจิ และการใหบ ริการทีจ่ าํ กัด โดยการทดสอบอยูภายใตการกํากับดูแลของธนาคารแหง ประเทศไทย (ธปท.) 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook