Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Report-File-588

Report-File-588

Published by paktholibrary, 2020-04-10 00:51:17

Description: Report-File-588

Search

Read the Text Version

ปปัรจับจเยั ปทลีส่ ีย่ ่งนผวลิถตีกอ่ ากราทรำ�งาน การปรับเปล่ียนวิถีการท�ำงานของครอบครัวเม่ือมีบุตร มิได้เป็น ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเพียงประเทศเดียวเท่าน้ัน แต่เกิดข้ึนกับหลายประเทศทั่วโลก นักวิชาการและผู้ก�ำหนดนโยบาย ในด้านต่างๆ พยายามท�ำความเข้าใจ ศึกษา ปัญหานี้ พร้อมกับ นำ� เสนอและทดลองใช้นโยบายในหลายรูปแบบ ในบทน้ีจะเป็นการสรุปข้อค้นพบที่เก่ียวข้องกับปัจจัยและผลกระทบ ของการปรับเปลี่ยนการท�ำงานในต่างประเทศ รวมถึงแนวนโยบาย ที่ได้มีการพัฒนาข้ึนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาของสังคมทั้งใน ระดบั มหภาคและจลุ ภาค 134

ปจั จัยระดับประเทศ ปจั จยั ในระดบั มหภาคมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การตดั สนิ ใจปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการทำ� งานเมอื่ มบี ตุ รของครอบครวั ได้ ไม่ว่าจะเป็นด้านสภาพเศรษฐกิจ ค่านิยมของสังคม การสนับสนุนของรัฐ หรือนโยบายที่ช่วยเหลือ ครอบครวั ท่มี บี ตุ ร ในด้านเศรษฐกิจ พบว่าอตั ราการมีสว่ นรว่ มในตลาดแรงงานของผูห้ ญงิ โดยมากมีความสัมพนั ธ์กับระดบั การพฒั นาทางเศรษฐกจิ ของประเทศเปน็ ลกั ษณะรปู ตวั ยู (U) (Goldin, 1995; Horton, 1996; Mammen & Paxson, 2000) ในชว่ งทร่ี ะดบั การพฒั นาทางเศรษฐกจิ ของประเทศอยใู่ นระดบั ตำ่� ผหู้ ญงิ มกั เปน็ แรงงาน ในกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของครวั เรอื น เชน่ การเกษตร หรอื งานผลติ ในครวั เรอื น เมอื่ เศรษฐกจิ เรมิ่ พฒั นา มากข้ึน ฐานการผลิตของประเทศจะย้ายจากในครัวเรือนไปอยู่ตามโรงงานมากขึ้น ท�ำให้ผู้หญิงมีต้นทุน มากข้ึนในการท�ำงานเนื่องจากการท�ำงานไปพร้อมๆ กับการดูแลครอบครัวท�ำได้ยากย่ิงขึ้น นอกจากน้ี คา่ ตอบแทนจากการทำ� งานในโรงงานยงั ไมม่ ากเพยี งพอทจี่ ะทดแทนตน้ ทนุ ทเ่ี กดิ จากการตอ้ งออกไปทำ� งาน นอกบ้าน (เช่น ค่าเดินทาง) ในช่วงของการพัฒนาเศรษฐกิจนี้ อัตราการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงานของ ผู้หญิงจึงต่�ำ แต่เม่ือเศรษฐกิจพัฒนาต่อไป จนกระทั่งผู้หญิงมีโอกาสทางการศึกษามากขึ้น และมีระดับ รายได้มากข้ึน การท�ำงานนอกบ้านเริ่มมีความคุ้มค่ามากขึ้น อัตราการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงานจะ กลับมาสงู อกี ครง้ั 135

การท่ีผู้หญิงมีทางเลือกในการท�ำงานพร้อมๆ ไปกับการเล้ียงดูบุตรจะส่งผลให้ต้นทุนในการท�ำงานของ ผู้หญิงลดลง เช่น การมีโอกาสจ้างงานแบบไม่เต็มเวลา การมีงานท่ียืดหยุ่น ความสามารถในการเข้าถึง สถานเลยี้ งดเู ดก็ ทม่ี คี ณุ ภาพในราคาทส่ี มเหตสุ มผล เพมิ่ โอกาสทผี่ หู้ ญงิ ทมี่ ลี กู จะมสี ว่ นรว่ มในตลาดแรงงาน งานศกึ ษาของ Del Boca (2002) พบว่า ในสังคมทีม่ ีสถานเลย้ี งดูเด็กเลก็ และมโี อกาสในการทำ� งานแบบ พารท์ ไทม์ จะเพ่มิ ท้งั โอกาสการทำ� งานและการมบี ตุ รสำ� หรบั ผูห้ ญิง ปจั จยั ระดบั มหภาคทสี่ ง่ ผลตอ่ บทบาทของผหู้ ญงิ ในสงั คม คอื บรรทดั ฐานหรอื คา่ นยิ มของสงั คม โดยทวั่ ไป แล้ว การตดั สินใจของผ้หู ญิงเก่ยี วกบั การเรียน การสรา้ งครอบครัว การมลี ูก และการทำ� งาน ล้วนแลว้ แต่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากคา่ นยิ มของสงั คม ซง่ึ ทศั นคตขิ องผหู้ ญงิ ตอ่ บทบาทตนเองถกู กอ่ สรา้ งมาตงั้ แตใ่ นวยั เยาว์ (Thornton et al., 1983; Vella, 1994; Fortin, 2005) สำ� หรับผหู้ ญิงหลายคนทีม่ มี มุ มองตอ่ รปู แบบ ครอบครวั ในแบบดงั้ เดมิ ทม่ี องวา่ ผชู้ ายมหี นา้ ทหี่ ลกั ในการหาเงนิ และผหู้ ญงิ มหี นา้ ทห่ี ลกั ในการดแู ลบา้ น การออกไปท�ำงานนอกบ้านก่อให้เกิดความรสู้ ึกขดั แย้งภายในตวั เอง เพราะใจหนง่ึ คดิ ว่าผหู้ ญงิ ตอ้ งมหี นา้ ที่ดูแลฟูมฟักลูก ต้องมีความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นกับลูก แต่ในขณะเดียวกันรู้สึกว่าควรมีความเสมอภาค ระหว่างหญิงชายในการทำ� งาน ทำ� ใหเ้ กดิ “ความรู้สึกผดิ ของแม่” หรือ “mother’s guilt” (Buttrose & Adams, 2005) งานศึกษาของ Fortin (2005) ได้ใชต้ วั ช้วี ัดทแี่ สดงทศั นคตทิ ี่ผหู้ ญงิ มีต่อบทบาทชายหญิง ในสังคม เช่น หากงานมีจ�ำกัด ผู้ชายควรมีสิทธิ์ได้งานมากกว่าผู้หญิง การเป็นแม่บ้านก็สามารถรู้สึก เติมเตม็ ได้เท่าๆ กับการท�ำงานมรี ายได้ และ แม่ที่ท�ำงานสามารถมคี วามสมั พันธท์ แ่ี นน่ แฟ้น และอบอุ่น กบั ลกู ไดเ้ ท่าๆ กบั แมท่ ีไ่ ม่ทำ� งาน เมอ่ื พิจารณาความสัมพันธต์ อ่ สถานการณ์ทำ� งานของผ้หู ญิงในประเทศ OECD พบวา่ สำ� หรบั ทศั นคตทิ ง้ั 3 นนั้ สง่ ผลตอ่ สถานการณท์ ำ� งานของผหู้ ญงิ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ คา่ นยิ มของสงั คมจงึ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั หนง่ึ ทส่ี ง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจทำ� งานของผหู้ ญงิ ทมี่ ลี กู หากสงั คมมที ศั นคติ ที่สนับสนุนแม่ท่ีท�ำงาน ความแตกต่างระหว่างรายได้ของผู้หญิงที่มีลูกกับผู้หญิงท่ีไม่มีลูกจะน้อยลงได้ (Boekmann, Misra, & Budig, 2014) นอกจากน้ี บางสงั คมยงั มที ศั นคตทิ ตี่ ตี ราสามที ใี่ หภ้ รรยาทำ� งานทใี่ ชท้ กั ษะตำ�่ โดยในสงั คมเหลา่ นน้ั มองวา่ ผชู้ ายตอ้ งเปน็ ผ้ดู แู ลหาเงนิ ให้กับครอบครวั การทผ่ี ู้หญงิ ต้องออกไปท�ำงานหนกั หมายความวา่ สามีละเลย หนา้ ทข่ี องตนเอง มแี ตผ่ ชู้ ายทข่ี เี้ กยี จและละเลยครอบครวั เทา่ นนั้ ทจ่ี ะยอมใหภ้ รรยาไปทำ� งานทใี่ ชแ้ รงงาน แต่อย่างไรกต็ าม การตีตรานี้เปน็ เฉพาะส�ำหรับงานใช้แรงงานเท่านั้น (Goldin, 1995) สำ� หรบั แมท่ ท่ี ำ� งาน ทศั นคตขิ องสงั คมอาจมกี ารตตี ราความสามารถในการเลยี้ งลกู โดยมองวา่ แมท่ ท่ี ำ� งาน ไม่สามารถดูแลลูกได้ดีเท่ากับแม่ท่ีไม่ท�ำงาน โดยเฉพาะหากผู้หญิงท�ำงานในสายอาชีพท่ีมีผู้ชายมากกว่า มกี ารก้าวหน้าในหน้าทก่ี ารงานสูง (Okimoto & Heilman, 2012) 136

การมีบุตรส่งผลให้ผู้หญิงหลายคนต้องออกจากก�ำลังแรงงาน ยิ่งผู้หญิงออกจากตลาดแรงงานนานเท่าไร ยิ่งยากในการกลับเข้ามาในตลาดแรงงานเท่านั้น ยังไม่นับการสูญเสียประสบการณ์ท�ำงานที่จะส่งผลต่อ ระดบั คา่ ตอบแทน การใหส้ ทิ ธกิ ารลาคลอดเปน็ นโยบายทม่ี องวา่ จะชว่ ยใหผ้ หู้ ญงิ ทม่ี ลี กู สามารถอยใู่ นตลาด แรงงานได้ เพราะไม่จ�ำเป็นตอ้ งลาออกเพือ่ ไปเลยี้ งลกู งานวจิ ยั จำ� นวนมากแสดงให้เห็นถงึ ผลของการเพิม่ สทิ ธกิ ารลาคลอดตอ่ การรกั ษาผหู้ ญงิ ไวใ้ นกำ� ลงั แรงงาน การศกึ ษาในประเทศพฒั นาแลว้ พบวา่ ในประเทศ ท่ีให้สิทธิลาคลอดและยังได้รับเงินค่าจ้างในสัดส่วนที่สูง ผู้หญิงจะเลือกที่ยังคงอยู่ในตลาดแรงงาน ในสัดส่วนท่ีสูง อย่างไรก็ตาม สิทธิการลาคลอดต้องยังคงได้รับเงินค่าจ้างอยู่ด้วย หากได้เพียงสิทธิการ ลาคลอดโดยไม่ได้รับเงินค่าจ้างด้วย ผู้หญิงยังคงมีแนวโน้มเลือกออกจากงานมากข้ึน (Boekmann, Misra, & Budig, 2014) การศึกษาในประเทศฟินแลนด์ นอรเ์ วย์ และสวเี ดน ท่ีขน้ึ ชือ่ เร่อื งให้สิทธิลาคลอดเป็นระยะเวลานานแบบ ไดร้ บั รายได้ พบวา่ แมใ่ นประเทศเหลา่ นน้ั มโี อกาสมากกวา่ แมท่ ไี่ มม่ สี ทิ ธลิ าในลกั ษณะเดยี วกนั ในการกลบั มาทำ� งานอกี ในชว่ ง 3 ปแี รกหลงั จากคลอดบตุ ร ในขณะทแ่ี มส่ ว่ นใหญม่ กั จะใชส้ ทิ ธกิ ารลาอยา่ งเตม็ ที่ การ กลับมาท�ำงานจึงกระจกุ ตวั อยใู่ นช่วงเวลาท่ีระยะเวลาการลาสิน้ สุดลง ยกเวน้ ในกรณขี องประเทศสวเี ดน เน่ืองจากนโยบายเรื่องการลางานมีความยดื หยุ่นมากกวา่ อย่างไรก็ตาม การมสี ทิ ธลิ างานเป็นระยะเวลา นาน ท�ำใหแ้ มก่ ลับมาทำ� งานลา่ ชา้ ด้วยเหมือนกัน นอกจากนง้ี านวิจัยเรอื่ งนี้ยังพบว่าการทแี่ ม่ลางานเป็น เวลานานยงั สง่ ผลในเชงิ ลบตอ่ อาชพี การงานและรายไดข้ องแมอ่ กี ดว้ ย ซงึ่ อาจนำ� ไปสกู่ ารแบง่ หนา้ ทใ่ี นการ ท�ำงานบา้ นอย่างไม่เทา่ เทียมกันไดใ้ นครอบครัว (Rosen & Sundstorm, 2002) ผหู้ ญงิ หลายคนอาจเลอื กทจี่ ะพกั การทำ� งานในชว่ งปแี รก เพอ่ื ทจ่ี ะไดด้ แู ลลกู ดว้ ยตนเอง ดงั นน้ั ผลของการ มีสิทธิลาคลอดอาจยังเห็นไม่ชัดเจนในระยะสั้น แต่จะเห็นมากข้ึนในระยะยาวที่ผู้หญิงตัดสินใจกลับไป ทำ� งาน เชน่ ในประเทศเยอรมนั ทีผ่ หู้ ญิงมสี ิทธิลาคลอดนาน พบวา่ นโยบายสิทธิการลาคลอดไม่ส่งผลตอ่ ระดับการจ้างงานของผู้หญิงในปีแรกหลังคลอด แต่ในปีท่ีสองหลังจากคลอดพบว่าส่งผลต่อชั่วโมงการ ทำ� งานและการมีสว่ นรว่ มในตลาดแรงงานอยา่ งมนี ัยสำ� คัญทางสถิติ (Spiess & Wrohlich, 2008) สหรฐั อเมรกิ าเปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ เพยี งประเทศเดยี วทไี่ มม่ นี โยบายระดบั ประเทศทใี่ หส้ ทิ ธกิ ารลาคลอด แบบได้ค่าจ้าง อย่างไรก็ตาม หลายมลรัฐได้ประกาศนโยบายเพื่อให้สิทธินี้แก่ผู้หญิงท่ีมีลูก เช่นในมลรัฐ แคลิฟอร์เนีย หลังจากท่ีแคลิฟอร์เนียได้มีนโยบายให้สิทธิลาคลอดแบบได้รับค่าจ้างให้กับผู้หญิง พบว่า ระดบั การจา้ งงานของแมท่ มี่ ลี กู อายุ 1-3 ปี เพม่ิ ขนึ้ ถงึ รอ้ ยละ 10-17 และระดบั รายไดก้ เ็ พมิ่ ขน้ึ เชน่ เดยี วกนั 137

งานศึกษานี้จึงสรุปว่าการมีสิทธิลาคลอดท�ำให้ผู้หญิงสามารถคงอยู่ใน ตลาดแรงงานได้ เน่ืองจากไม่ต้องลาออกจากงานเพื่อไปเล้ียงลูก (Rossin-Slater, Ruhm, & Waldfogel, 2013) อย่างไรก็ตาม มกี าร ศกึ ษาบางชน้ิ ทพ่ี บวา่ นโยบายสทิ ธลิ าคลอดของมลรฐั แคลฟิ อรเ์ นยี สง่ ผล ต่อการท�ำงานและระดับรายได้ของผู้หญิงที่มีลูกไม่มากนัก โดยเฉพาะ ในระยะยาวที่ไม่พบความแตกต่างเลย งานวิจัยนี้คาดว่าสาเหตุ ท่ีนโยบายของรัฐไม่ส่งผลเป็นเพราะก่อนหน้าท่ีรัฐจะริเริ่มให้สิทธิลา คลอดนี้ นายจา้ งหลายแหง่ ไดใ้ หส้ ิทธิลาคลอดนอี้ ยแู่ ล้ว เม่ือมนี โยบาย ของรัฐมาจงึ ไม่สรา้ งให้เกดิ ความเปล่ียนแปลงมากนกั (Schönberg & Ludsteck, 2014) การมีสิทธลิ าคลอด ทำ� ใหผ้ ู้หญงิ สามารถ คงอยใู่ นตลาดแรงงานได้ เนื่องจากไม่ตอ้ ง ลาออกจากงาน เพ่อื ไปเล้ียงลูก 138

ปจั จยั ระดบั ครวั เรือน รายไดข้ องครวั เรือน จากการศึกษาในหลายประเทศพบว่า สถานการณ์และแนวโน้มของชีวิตการท�ำงานของพ่อแม่ในต่าง ประเทศ ไม่ได้เน้นไปที่เรื่องบทบาททางเพศดังเช่นในอดีต แต่เปล่ียนไปให้ความส�ำคัญกับการจัดการกับ ชีวิตครอบครัวและงานเปน็ ส�ำคัญ ดงั นนั้ การทีพ่ ่อหรอื แมจ่ ะมบี ทบาทอยา่ งไร จึงเปน็ เรอ่ื งของการตกลง กนั ตามความเหมาะสมในแตล่ ะครอบครวั เชน่ ในออสเตรเลยี กรณที คี่ รอบครวั ประสบปญั หาทางการเงนิ ก็มกั จะเปน็ เร่ืองทีผ่ ู้หญงิ ตัดสนิ ใจเองวา่ จะออกไปท�ำงานนอกบา้ นหรอื ไม่ รายไดใ้ นครัวเรอื น เปน็ ประเด็นท่คี รอบครัวส่วนใหญใ่ ห้ความสำ� คญั ตอ่ การตัดสินใจ เนอ่ื งจากการทคี่ นใด คนหนงึ่ มคี วามจำ� เปน็ หรอื ตอ้ งการออกจากงานหรอื เปลย่ี นงานเพอื่ มาเลย้ี งดบู ตุ ร ซง่ึ สง่ ผลกระทบโดยตรง ตอ่ รายได้ครวั เรอื นในทางทีแ่ ย่ลง กอ็ าจทำ� ใหค้ รอบครัวตอ้ งไตรต่ รองให้ถี่ถ้วน เพราะปัจจุบันคา่ ใชจ้ ่ายใน การดแู ลบตุ รท่คี อ่ นข้างสูงมอี ิทธพิ ลต่อทางเลือกของพ่อแม่ ทีจ่ ะลาออกหรอื ลดชั่วโมงการท�ำงาน โดยพบ ว่า ร้อยละ 96 ของครอบครัวเด่ียวที่มีบุตร 1-2 คน มีพอ่ หรอื แม่คนใดคนหนงึ่ ยงั คงทำ� งานนอกบ้านหรือ ท�ำงานทัง้ คู่ ครอบครวั ท่มี ีบุตรอายตุ ำ�่ กว่า 5 ปี ส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 78 ท�ำงานทั้งคู่ เหมอื นกับพ่อแมเ่ ลย้ี ง เดยี่ ว รอ้ ยละ 40.9 มผี หู้ ญงิ ในกลมุ่ อายุ 16-64 ปี เพยี งรอ้ ยละ 10 เทา่ นน้ั ทอี่ อกจากงานเพอ่ื ดแู ลครอบครวั (Bright Horizons Family Solutions LLC, 2017) ในประเทศอังกฤษ แนวโน้มของผู้หญิงที่ลาออกจากงานหรือลดช่ัวโมงท�ำงานเพ่ือให้มีเวลาออกมาเล้ียง บตุ รมจี �ำนวนมากขนึ้ (Chung & van der Horst, 2018) แต่อยา่ งไรก็ตามในบางครอบครัว ผหู้ ญิงยัง ต้องการที่จะรักษาสถานภาพและสมรรถนะการท�ำงานเอาไว้ จึงมักใช้วิธีการท�ำงานทางไกลหรืองานท่ีมี ความยดื หยนุ่ ในเรอ่ื งเวลาแทนทจ่ี ะลาออกจากงาน ซงึ่ ไดผ้ ลเชงิ บวกในดา้ นทชี่ ว่ ยรกั ษาสมดลุ ชวี ติ และงาน คอื สามารถรกั ษาหนา้ ทกี่ ารงานทท่ี ำ� ไวไ้ ด้ และมรี ายไดช้ ว่ ยเหลอื ครอบครวั ในยามทย่ี งั มคี วามตอ้ งการทาง เศรษฐกจิ ไดด้ ว้ ย รวมทั้งมีเวลาดแู ลบุตรและครอบครวั ในคราวเดียวกัน 139

แม้ว่ารูปแบบดั้งเดิมที่มีพ่อท�ำงานเต็มเวลาและแม่ท�ำงานพาร์ทไทม์ในอังกฤษยังคงปรากฏอยู่ แต่ก็ไม่ใช่ รปู แบบทพ่ี บมากทส่ี ดุ ถงึ แมผ้ หู้ ญงิ ดเู หมอื นจะลดชว่ั โมงทำ� งานมากกวา่ ผชู้ าย แตก่ ป็ รากฏวา่ มแี มท่ ท่ี ำ� งาน เตม็ เวลามากข้นึ ด้วย ซงึ่ อาจจะเป็นเพราะความจำ� เปน็ ในเรื่องรายไดใ้ นครวั เรอื นน่นั เอง ขณะทเี่ บ้อื งหลัง ของการจา่ ยคา่ แรงทีเ่ ขม้ งวดและนโยบายค่าแรงขัน้ ต่�ำ ครอบครวั อาจจะไม่สามารถหารายไดเ้ พียงพอถ้า ไมไ่ ด้ท�ำงานเตม็ เวลาทงั้ คู่ อีกปจั จัยทส่ี ง่ ผลต่อการตดั สินใจทำ� งานของผหู้ ญิง คอื ระดบั รายไดข้ องสามี ผู้หญงิ ทีแ่ ตง่ งานกบั ผูช้ ายท่ีมี ช่วั โมงการทำ� งานทย่ี าวนาน จะมีโอกาสออกจากงานมากกวา่ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ หากระดับคา่ ตอบแทน ของผหู้ ญงิ น้อยกว่าของผู้ชายมาก ในกรณเี ช่นนี้ ผหู้ ญงิ และสามีจะมองวา่ การใหผ้ ูห้ ญิงใชเ้ วลาในการดแู ล ครอบครวั มคี วามคุ้มคา่ กวา่ (Shafer, 2011) ระดับการศึกษาของผู้หญิง จากการศกึ ษา พบวา่ หญงิ ทมี่ รี ะดบั การศกึ ษาสงู มกั ตอ้ งการทำ� งานไปดว้ ยและเลยี้ งบตุ รไปดว้ ย การศกึ ษา ในกลมุ่ ผหู้ ญิงทวั่ โลก พบว่า ร้อยละ 46 ทจี่ บชน้ั มัธยมและร้อยละ 51 ทจี่ บระดบั มหาวิทยาลยั ส่วนใหญ่ ต้องการท�ำงานเพอื่ หารายได้และเลี้ยงลูกไปดว้ ยในคราวเดียวกัน แต่มีผ้หู ญิงทจ่ี บมัธยมรอ้ ยละ 21 และ จบมหาวิทยาลยั ร้อยละ 15 ท่ตี ้องการอยู่บา้ นเลีย้ งลูกมากกว่า ในทางกลับกนั พบวา่ หญิงท่จี บการศึกษา น้อยต้องการอยบู่ ้านมากกวา่ ออกไปท�ำงานรอ้ ยละ 36 ขณะทม่ี ีหญิงประมาณรอ้ ยละ 34 ตอ้ งการท�ำงาน หารายได้และดแู ลครอบครัวไปด้วย และมีเพียงร้อยละ 24 ทต่ี ้องการท�ำงานหารายไดอ้ ยา่ งเดยี ว ที่เป็น เช่นน้ีอาจจะเกิดจากการทผี่ หู้ ญิงท่ีมีระดบั การศกึ ษาน้อย ไม่มีระบบสนบั สนุน หรือมตี น้ ทนุ ต�่ำในการดูแล บุตร (International Labour Organization, 2017) ผลการศึกษาดงั กล่าวสอดคล้องกบั เจษฎา เงินดี และ ปยิ ะลกั ษณ์ พทุ ธวงศ์ (2556) ทพ่ี บวา่ กลมุ่ แรงงานเพศหญงิ ทมี่ จี ำ� นวนปที ใ่ี ชใ้ นการศกึ ษามากมคี วาม นา่ จะเปน็ ในการทำ� งานมากกวา่ กลุ่มตวั อยา่ งท่ีมีจำ� นวนปีท่ีใช้ในการศกึ ษาน้อย ในสหรัฐอเมรกิ า ผหู้ ญิงทเ่ี ขา้ สู่ตลาดแรงงาน ระหวา่ งปี 2000-2015 เป็นผทู้ ่ีมีการศึกษาสูงข้ึน โดยพบวา่ เม่ือปี 2015 ผู้หญงิ อายุระหวา่ ง 25-54 ปี ทมี่ วี ุฒิการศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ มสี ว่ นรว่ มในตลาด แรงงานเพยี งรอ้ ยละ 49.1 แตก่ ลมุ่ ทจ่ี บการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรเี ปน็ อยา่ งนอ้ ยมสี ว่ นรว่ มในตลาดแรงงาน ถงึ ร้อยละ 82.3 (Hipple, 2016) 140

สำ� หรบั ประเทศไทย มขี อ้ มลู พบวา่ สดั สว่ นผทู้ จี่ บการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรรี ะหวา่ งเพศหญงิ กบั เพศชาย อยทู่ ป่ี ระมาณ 2:1 เพมิ่ ขนึ้ จากเมอื่ 50 ปที แ่ี ลว้ ทสี่ ดั สว่ นผทู้ จี่ บการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรรี ะหวา่ งเพศหญงิ กับเพศชายอย่ทู ่ี 2:3 ตวั เลขดงั กล่าว สะท้อนใหเ้ หน็ ว่า อุปสรรคด้านการศกึ ษาของผ้หู ญิงได้หมดไปแล้ว ขณะเดียวกัน เม่ือผู้ชายประสบผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาน้อยกว่าผู้หญิง ก็เป็นตัวกีดขวางด้านการสร้าง ครอบครวั ทางหนึ่งด้วย เพราะโดยทั่วไป ผู้หญิงกจ็ ะรู้สกึ ไม่สะดวกใจทจ่ี ะแต่งงานกับผชู้ ายทีม่ ีการศกึ ษา นอ้ ยกวา่ เน่อื งจากผหู้ ญิงมกี ารศึกษาดีกว่า จงึ มโี อกาสได้งานทำ� ท่ดี กี ว่าตามไปดว้ ย นอกจากจะเป็นผู้หา รายได้เพิ่มเติมใหแ้ ก่ครอบครวั แล้ว ผ้หู ญงิ หลายคนยงั อาจจะเปน็ แหล่งรายได้หลักของครอบครัวเพราะมี การศึกษาสูงกวา่ สมาชิกคนอนื่ ๆ ดังนั้น สำ� หรบั ผูห้ ญงิ ท่มี กี ารศึกษาสูง และมหี นา้ ทก่ี ารงานดี รายได้ดี มี ทางเลอื กดา้ นอาชพี เมอื่ มบี ตุ รอาจจะมคี วามกงั วลไดส้ องทาง เชน่ บางกลมุ่ ตดั สนิ ใจเลอื กออกมาดแู ลบตุ ร แลว้ คอ่ ยกลบั ไปทำ� งาน หรอื หางานทยี่ ดื หยนุ่ กวา่ เพราะคดิ วา่ มตี น้ ทนุ ทงั้ เรอ่ื งการศกึ ษาและความสามารถ พรอ้ มอยแู่ ลว้ หรอื มคี วามพรอ้ มทางสถานะการเงนิ ในขณะทบี่ างกลมุ่ อาจจะมคี วามกงั วลเรอ่ื งหนา้ ทก่ี าร งาน เพราะคดิ วา่ ตนมีการศึกษาสูง และมีโอกาสกา้ วหน้า การจะตอ้ งเลอื กครอบครัวอาจกลายเป็นความ ขดั แยง้ ได้ จำ�นวน/อายุบตุ ร ในอเมรกิ า อตั ราการมสี ว่ นรว่ มของแรงงานหญงิ ทมี่ บี ตุ รอายนุ อ้ ยกวา่ 18 ปเี พมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งในชว่ งทศวรรษ ที่ 1970 และ 1980 การเพ่มิ ข้ึนอยา่ งตอ่ เนื่องน้สี ่งผลต่อการมสี ว่ นร่วมของแรงงานหญงิ โดยภาพรวมในชว่ ง เวลาดงั กลา่ ว ในปี 1999 อัตราการมสี ่วนร่วมในการท�ำงานของมารดาทมี่ ีบตุ รอายุนอ้ ยกว่า 18 ปขี ึน้ ไปลดลง รอ้ ยละ 72.9 เมือ่ ปี 2015 ผหู้ ญิงทมี่ ีบุตรอายรุ ะหวา่ ง 6 ถงึ 17 ปมี แี นวโนม้ ทจ่ี ะมสี ่วนร่วมในก�ำลังแรงงานรอ้ ยละ 74.6 ซ่งึ มากกว่าหญงิ ท่ีบุตรอายรุ ะหว่าง 3 ถงึ 5 ปี ทม่ี ีส่วนรว่ มในตลาดแรงงานรอ้ ยละ 67.3 สว่ นผ้หู ญงิ ทมี่ บี ุตร อายุต่�ำกวา่ 3 ปี เขา้ ร่วมในตลาดแรงงานเพยี งรอ้ ยละ 61.4 ซง่ึ สันนษิ ฐานได้ว่าเมอ่ื ผหู้ ญิงมีบุตรมกั จะมีเวลา จ�ำกดั ในการมสี ่วนรว่ มในตลาดแรงงาน ข้อมลู จากการส�ำรวจการใชเ้ วลาของคนอเมริกัน แสดงให้เห็นว่าพ่อ แมข่ องเดก็ ทารกใช้เวลามากขนึ้ ในการดูแลบุตร ซึ่งไม่ตา่ งจากพ่อแม่ทีม่ บี ุตรทโ่ี ตแล้ว (Hipple, 2016) 141

ผวหิถลลีกกังการราะทรทเำบ�ปงโลาดนีย่ ยนทแวั่ ปไปลง การเปลยี่ นแปลงวิถีการทำ� งานภายหลัง การมบี ุตรแล้ว ส่งผลกระทบต่อเนอ่ื ง หลายอย่าง ไมว่ ่าจะตอ่ ตนเอง ลูก ความสัมพันธ์ในครอบครวั และงานโดยรวม ผลกระทบต่อตวั ผูห้ ญิงเอง การมบี ตุ รถอื เปน็ การเปลย่ี นแปลงสำ� คญั ในชวี ติ ซง่ึ การเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ ยอ่ มสง่ ผลกระทบตอ่ การดำ� เนนิ ชีวิตในหลายๆ ด้านแตกต่างกันไป ผลกระทบท่ีเห็นได้ชัดจากการมีบุตรคือการต้องปรับเปลี่ยนวิถีการ ทำ� งานของผเู้ ปน็ แม่ เนอ่ื งจากต้องจดั สรรเวลาซง่ึ มอี ยอู่ ยา่ งจำ� กัดมาดแู ลลกู โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากไม่มี ผูท้ ี่ชว่ ยดแู ลบตุ ร จากการทบทวนวรรณกรรมจำ� นวนหน่งึ เก่ียวกบั ผลกระทบท่เี กดิ ขน้ึ กบั หญิงทเ่ี ป็นแมใ่ น ประเทศต่างๆ พบว่ามีข้อค้นพบท่ีมีความสอดคล้องไปในทางเดียวกันเป็นส่วนมาก คือ การมีบุตรส่งผล กระทบตอ่ การงานของผหู้ ญงิ ไดแ้ ก่ การมสี ว่ นรว่ มในตลาดแรงงาน การปรบั เปลยี่ นชวั่ โมงการทำ� งาน และ ระดับรายได้ เปน็ ตน้ 142

อุปทานแรงงานของผหู้ ญิง และการมีสว่ นรว่ มในตลาดแรงงาน งานศกึ ษาจ�ำนวนมากพบว่า การมบี ตุ รสง่ ผลตอ่ การมีสว่ นร่วมในตลาดแรงงานของผู้เปน็ แม่ กล่าวคือ การมีบุตรทำ� ใหผ้ ูห้ ญงิ มีสว่ นรว่ มในตลาดแรงงานน้อยลง (Kahn, Garcia-Manglano, & Bianchi, 2014; Bloom, Canning, Fink, & Finlay, 2009; Angrist & Evans, 2008) โดยงานศึกษาของ Bloom และ คณะ (2009) พบวา่ การให้ก�ำเนดิ บตุ รหน่ึงคนจะลดอุปทานแรงงานของผหู้ ญิงมากถงึ 2 ปีในชว่ งวยั เจรญิ พนั ธ์ุ อยา่ งไรกต็ าม ผลกระทบของการมบี ุตรตอ่ การมสี ว่ นรว่ มในตลาดแรงงานมีความแตกตา่ งกัน ขึน้ อยู่ กับอายุและระดบั การศกึ ษาของผ้หู ญงิ ดว้ ย Angrist & Evans (1998) พบวา่ การมีบุตรท�ำให้อุปทาน แรงงานของผ้หู ญิงลดลงในกลมุ่ ผหู้ ญงิ ท่ีมรี ะดบั การศึกษาต�่ำมากกว่ากลุม่ ท่ีมีระดับการศกึ ษาสงู การมบี ตุ รจะสง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจทำ� งานของผเู้ ปน็ แมอ่ ยา่ งไร ขนึ้ อยกู่ บั ปจั จยั ทางโครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ และสังคม รวมถึงบรรทดั ฐาน ธรรมเนียมปฏบิ ัติ หรอื ลักษณะนโยบายของประเทศนน้ั ๆ ดว้ ย ในประเทศ อติ าลี แมม่ กั จะเลอื กกลบั ไปทำ� งานทนั ทหี ลงั จากคลอดบตุ ร ซง่ึ การกลบั ไปทำ� งานทนั ทหี ลงั จากคลอดบตุ ร คนแรกถูกกระตุน้ โดยระยะเวลาท่สี ามารถลางานเพื่อดแู ลบุตรได้ ในขณะทใ่ี นประเทศโปแลนด์ แม่มกั จะ อยู่บ้านเพ่ือดูแลลูกเป็นระยะเวลาค่อนข้างนาน ซ่ึงอาจะเป็นผลมาจากการมีระยะเวลาที่สามารถลางาน เพอ่ื ดูแลบตุ รมากกวา่ แต่เมื่อครบกำ� หนดเวลาแล้วพบว่าแมส่ ว่ นใหญเ่ ลอื กที่จะกลับไปท�ำงาน (Matysiak & Vignoli, 2013) ในขณะทกี่ ารกลบั เขา้ ไปทำ� งานหลงั จากหยดุ งานเพอ่ื มาดแู ลบตุ รเปน็ เรอื่ งทยี่ ากในญป่ี นุ่ และเกาหลี โดยมกี ารประมาณว่าเปน็ ไปไดเ้ พยี ง 5-28% เทา่ นน้ั (Ueda, 2008) ส�ำหรับประเทศสเปน ร้อยละ 40 ของหญิงที่มีงานท�ำลาออกจากงานหลังจากคลอดบุตร โดยส่วนมาก เปน็ การออกจากงานอย่างถาวร ในขณะที่ 1 ใน 3 ออกจากงานและตกอยู่ในภาวะว่างงาน ความน่าจะ เป็นในการยังคงท�ำงานหลังจากคลอดบุตรลดลงตามอัตราท่ีเพิ่มขึ้นของสัญญาการจ้างงานแบบ fixed term และเพมิ่ ขน้ึ ตามประสบการณก์ ารท�ำงานและระดับการศึกษา แต่อัตราการย้ายงานจากงานทกั ษะ สงู มาสงู่ านทที่ กั ษะตำ�่ ลงคอ่ นขา้ งนอ้ ยในกลมุ่ แมท่ ย่ี งั คงทำ� งานอยหู่ ลงั จากคลอดบตุ รแลว้ เนอ่ื งจากแมส่ ว่ น ใหญไ่ มน่ ยิ มเปลย่ี นมาท�ำงานแบบไมเ่ ต็มเวลา (Gutierrez-Domenech, 2005) ดังน้นั ส�ำหรบั ประเทศ สเปน การมีบุตรจึงส่งผลกระทบต่อการท�ำงานของผู้หญิงในระยะยาว ในทางกลับกัน งานวิจัยเรื่อง ผลกระทบในการท�ำงานท่ีเกิดจากการมีบุตรในประเทศเยอรมนีพบว่า ถึงแม้การมีบุตรส่งผลกระทบ ในเชงิ ลบตอ่ การท�ำงานของแม่ แต่ความรนุ แรงของผลกระทบดงั กลา่ วจะลดลงเรอื่ ยๆในระยะเวลา 5 ปี หลังจากคลอดบุตร แม้ระดับความรุนแรงของผลกระทบจะไม่ลดลงจนเป็นศูนย์ก็ตาม (Fitzenberger, 143

Sommerfeld, & Steffes, 2013) ในขณะท่ีงานวิจัยของ Glass และ Riley (1998) พบว่าอัตราการลาออกของแม่หลังคลอดบุตรใน สหรัฐอเมริกาไม่ได้รุนแรงอย่างที่คาดการณ์ไว้ แม่ที่มีงานท�ำก่อนคลอดส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70) กลับไป ท�ำงานหลังจากคลอดได้ 6 เดอื น และมบี างสว่ นท่เี ปลี่ยนงาน (ร้อยละ 11) ในชว่ งหลงั คลอดได้ 6 เดอื น ในขณะท่ีจำ� นวนแมท่ ี่เปลีย่ นงานหลงั คลอดในช่วง 1 ปีมจี �ำนวนสงู ขึน้ คอื ร้อยละ 21 และอีกร้อยละ 16 ออกจากการทำ� งานในชว่ งขวบปแี รกของบตุ ร แม้ว่าการอตั ราการทำ� งานของแมห่ ลงั คลอดจะไมไ่ ด้อยู่ใน ระดบั ทน่ี า่ เปน็ หว่ ง แตก่ ารมบี ตุ รสง่ ผลตอ่ การปรบั เปลย่ี นวถิ ชี วี ติ ในการทำ� งานไมว่ า่ จะเปน็ การลาออกจาก งานหรอื การเปลยี่ นงาน ตา่ งกเ็ ปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ทส่ี ง่ ผลกระทบโดยตรงกบั ความสำ� เรจ็ ทางสายอาชพี และความ ก้าวหน้าทางการงานของผู้หญิงท่ีมีบุตร สิ่งหนึ่งท่ีปรากฏคือการเลือกปฏิบัติในการรับพนักงานผู้หญิง เขา้ ท�ำงาน (Glass & Riley, 1998) การปรบั เปลี่ยนอาชีพ และความก้าวหน้าทางการงาน การมบี ตุ รมผี ลตอ่ การปรบั เปลยี่ นวถิ ชี วี ติ ในการทำ� งานไมว่ า่ จะเปน็ การลาออกจากงานหรอื การเปลย่ี นงาน ต่างก็เป็นจุดเริ่มต้นท่ีส่งผลกระทบโดยตรงกับความส�ำเร็จทางสายอาชีพและความก้าวหน้าทางการงาน ของผูห้ ญงิ ท่มี บี ตุ ร การเลอื กท�ำงานแบบไมเ่ ต็มเวลา (part-time) เป็นทางเลอื กหนงึ่ ของผู้หญงิ ทีม่ ีบตุ รใน การรกั ษาสมดลุ ระหวา่ งการทำ� งานและการเลย้ี งดบู ตุ ร โดยสำ� หรบั ผหู้ ญงิ บางคน การเปลย่ี นไปทำ� งานแบบ ไมเ่ ตม็ เวลาเปน็ ไปเพอ่ื ใหต้ นเองยงั คงมสี ว่ นรว่ มในตลาดแรงงาน ในชว่ งระหวา่ งทรี่ อใหส้ ามารถมเี วลากลบั ไปทำ� งานเตม็ เวลาได้ (Connolly & Gregory, 2010) ดงั นัน้ ในประเทศทไี่ มม่ ีทางเลอื กมากส�ำหรับงานไม่ เต็มเวลา การมีบุตรจึงเป็นต้นทุนท่ีสูงขึ้นส�ำหรับผู้หญิง เน่ืองจากการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงานมีความ ยากข้นึ (Del Boca, 2002) นอกจากการทำ� งานแบบไมเ่ ตม็ เวลา การทำ� งานแบบเปน็ นายจา้ งตนเอง (self-employed) เปน็ อกี แนวทาง หนงึ่ ทสี่ ามารถใหค้ วามยดื หยนุ่ ดา้ นเวลาแกผ่ หู้ ญงิ ทมี่ บี ตุ รได้ Hundley (2000) พบวา่ ผหู้ ญงิ ทเ่ี ลอื กทำ� งาน แบบเป็นนายจ้างตนเอง จะมีระดับรายได้ท่ีลดลงเมื่อแต่งงาน มีสมาชิกในครอบครัวมากข้ึน หรือมีงาน บา้ นมากข้นึ ในขณะทผี่ ู้ชายท่ีทำ� งานประเภทน้จี ะมีระดบั รายได้ทีเ่ พมิ่ ขน้ึ ดงั นนั้ จะเหน็ ได้ว่า ผู้หญิงเลอื ก งานแบบเป็นนายจา้ งตนเอง เพือ่ ใหม้ เี วลาทีย่ ดื หยนุ่ มากขึน้ ในการดแู ลบ้านและดูแลบุตร 144

ถงึ แมว้ า่ ในงานของ Glass & Riley (1998) จะพบวา่ อัตราการเปลย่ี นงานของผ้หู ญงิ ทมี่ บี ุตรไม่ไดแ้ ตกต่าง กับผู้หญิงที่ไมม่ ีบุตรมากนกั แต่ผลตอ่ ความกา้ วหนา้ ทางการงานอาจไดร้ บั ผลกระทบได้ เนอื่ งจากสิ่งหน่ึง ทป่ี รากฏคอื การเลอื กปฏบิ ตั ใิ นการรบั พนกั งานผหู้ ญงิ ทม่ี บี ตุ รเขา้ ทำ� งาน ดงั นน้ั โอกาสในการประสบความ ส�ำเรจ็ ในหน้าทก่ี ารงานของผ้หู ญงิ ทีม่ บี ตุ รภายหลงั การออกจากงาน จึงอาจลดลงได้ ผลการส�ำรวจคนอเมริกนั ในปี 2013 ไดส้ อบถามผูห้ ญงิ ท่ตี ้องลาออกจากงานมาดูแลลูกและครอบครวั ว่า เสียใจท่ีออกจากงานหรือไม่ แม่ส่วนใหญ่ตอบว่าไม่เสียใจที่ต้องออกจากงานมาดูแลลูกๆ แต่หญิงกลุ่มนี้ กลา่ วว่าการออกจากงานมผี ลกระทบต่อความเปน็ มืออาชีพในการทำ� งานของพวกเธอ (Parker, 2015) ระดับรายได้ ในตลาดแรงงานเกอื บทุกประเทศพบว่าอตั ราคา่ จา้ งของผู้หญงิ ทีม่ บี ตุ ร และผหู้ ญงิ ท่ีไมม่ ีบตุ ร มคี วามแตก ต่างกัน โดยผู้หญิงท่ีมีบุตรมักมีระดับค่าจ้างต่�ำกว่าผู้หญิงที่ไม่มีบุตร การมีบุตรจึงถูกเปรียบเสมือนบท ลงโทษในแง่การมรี ายไดท้ ่ีลดลงของผู้หญงิ หรือทเ่ี รยี กว่า “motherhood wage penalty” งานศกึ ษา พบว่าการมีบุตรหนง่ึ คน สง่ ผลใหร้ ะดบั อัตราคา่ จ้างลดลงไดถ้ ึงร้อยละ 7-18 (Budig & England, 2001; Gangl & Ziefle, 2009; Calhoun & Espenshade, 1988) ซ่งึ ผหู้ ญิงที่เป็นแม่ทม่ี รี ายไดต้ ำ�่ จะต้องเจอ ความเสยี เปรยี บนีม้ ากกว่าผหู้ ญงิ ทีเ่ ปน็ แมท่ ี่มรี ายได้สูง (Budig & Hodges, 2014) อยา่ งไรกต็ าม แมแ้ ต่ คนท่ีมีระดับการศึกษาสูง เช่น ผู้หญิงที่จบในระดับปริญญา ต้องประสบกับระดับอัตราค่าจ้างที่ลดลงถึง รอ้ ยละ 15 หากมบี ตุ รมากกว่า 1 คน และยง่ิ มีบุตรมากข้ึนเท่าไร ระดับอัตราคา่ จ้างจะย่ิงลดลงเทา่ นั้น นอกจากนั้น ผ้หู ญงิ ที่มีบตุ ร 3 คนข้นึ ไป จะไดร้ ับผลกระทบจากการไดค้ ่าจา้ งท่ตี �ำ่ ลงตลอดชวี ติ การท�ำงาน (Kahn, Garcia-Manglano, & Bianchi, 2014) สาเหตทุ ่ีระดับอัตราค่าจ้างระหวา่ งผู้หญงิ ท่ีมบี ตุ รและผู้หญิงที่ไมม่ ีบุตรมคี วามแตกตา่ งกนั เชน่ นี้ ส่วนหน่งึ อาจเป็นเพราะการมีบุตรท�ำให้ผู้หญิงหลายคนต้องพักการท�ำงานไว้ชั่วคราว การท่ีต้องออกจากตลาด แรงงานถึงแม้จะเป็นระยะเวลาไม่นาน แตท่ ำ� ใหก้ ารส่ังสมประสบการณใ์ นตลาดแรงงานตอ้ งชะงักไปดว้ ย หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์แสดงให้เหน็ วา่ หากผหู้ ญิงที่มีบุตรแต่ไม่ไดพ้ ักจากตลาดแรงงาน การมบี ุตรไม่ได้ส่ง ผลใหอ้ ตั ราคา่ จา้ งลดลงดว้ ย (Lundberg & Rose, 2000) นอกจากน้ี ความแตกตา่ งระหวา่ งผหู้ ญงิ ทม่ี บี ตุ ร และไม่มบี ตุ รมแี นวโน้มลดลงในชว่ งระยะเวลาทีผ่ า่ นมา (Percheski, 2008) 145

ผลกระทบต่อคุณภาพเด็ก การศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงการท�ำงานของพ่อแม่ที่มีต่อผลลัพธ์ท่ีเกี่ยวข้องกับเด็กโดยตรง เป็นสิ่งท่ีมีความท้าทายในการวิจัยเชิงประจักษ์ เน่ืองจากต้องอาศัยการศึกษาในระยะยาวท่ีเปรียบเทียบ ผลลพั ธก์ อ่ นและหลงั การเปลย่ี นแปลง นอกจากนย้ี งั มปี จั จยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งจำ� นวนมากทไี่ มอ่ าจวดั ได้ เชน่ แรง จงู ใจในการท�ำงาน ผลติ ภาพ ความสามารถ วถิ กี ารเล้ียงดู และคณุ ลักษณะส่วนบคุ คล นอกจากนี้ ทิศทาง ของความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนแปลงภาวะการทำ� งานและผลลัพธ์ที่เก่ียวข้องกับเด็กน้ันอาจเป็นไป ไดใ้ นหลายทศิ ทาง ไมใ่ ชเ่ พยี งแตผ่ ลกระทบของการเปลยี่ นแปลงภาวะการทำ� งานของผปู้ กครองทมี่ ตี อ่ เดก็ เทา่ นน้ั แตผ่ ลลพั ธท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั บตุ รหลานกอ็ าจมอี ทิ ธพิ ลอยา่ งยง่ิ ตอ่ การเปลย่ี นแปลงรปู แบบการทำ� งาน ดว้ ย จงึ ทำ� ใหค้ วามสมั พนั ธข์ องปรากฏการณท์ งั้ สองดา้ นนม้ี กี ลไกยอ้ นกลบั ทที่ ำ� ใหค้ วามสมั พนั ธม์ คี วามซบั ซ้อนมากยงิ่ ขน้ึ (Mosca, O ’sullivan, & Wright, 2017) งานวิจัยจ�ำนวนมากให้ความสนใจกับการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องกับเด็กท่ีพ่อแม่มีรูปแบบการ ทำ� งานทีต่ า่ งกัน เช่น การท�ำงานเตม็ เวลา การทำ� งานไม่เตม็ เวลา (part-time) และการไมม่ งี านท�ำ รวม ไปถึงระยะเวลาในการท�ำงานของผู้ปกครองท่ีแตกต่างกัน ชีวิตและพัฒนาการของเดก็ มีความหลากหลายและซับซอ้ น ดงั น้ันผลลัพธท์ ีเ่ กย่ี วข้องกับเด็กท่ีไดร้ บั ความ สนใจจากนกั วจิ ยั จงึ มคี วามแตกตา่ งหลากหลาย ตงั้ แตก่ ารพจิ ารณาความสำ� เรจ็ และตวั ชวี้ ดั ทางการศกึ ษา พัฒนาการทางร่างกาย สติปัญญาและจิตใจ รวมไปถึงต้นทุนและโอกาสของเด็กในมิติต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง ไมว่ า่ จะเปน็ ตน้ ทนุ มนษุ ย์ (โอกาสทางการศกึ ษาและเศรษฐกจิ ) ตน้ ทนุ ทางสงั คม และตน้ ทนุ ทางวฒั นธรรม ในบทน้ีจะสรุปทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับผลกระทบของภาวะการท�ำงานของผู้ปกครองท่ีมีผลต่อ ผลลพั ธต์ า่ ง ๆ เหล่านโ้ี ดยสงั เขป การท�ำความเข้าใจผลกระทบของรูปแบบการท�ำงานของพ่อแม่ที่มีผลต่อเด็กนั้นอาจเริ่มต้นโดยพิจารณา ว่าภาวะการท�ำงานเป็นตัวช้ีวัดหน่ึงของต้นทุนมนุษย์ (human capital) ซ่ึงรวมไปถึงฐานะทางการเงิน และระดบั การศกึ ษาของผปู้ กครอง แนวคดิ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลสำ� คญั ในการอธบิ ายผลกระทบของตน้ ทนุ ทางมนษุ ย์ 146

ต่อผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องกับเด็ก คือ ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ในกลุ่ม Intergeneration transmission (Becker, 1991; Becker & Tomes, 1976; Ermisch & Francesconi, 2001) ซ่ึงพจิ ารณากระบวนการ ในการสบื ทอดการประสบความสำ� เรจ็ ในชวี ติ จากรนุ่ สรู่ นุ่ โดยมองวา่ ความสำ� เรจ็ ของพอ่ แมม่ ผี ลสำ� คญั ตอ่ ความไดเ้ ปรยี บหรอื เสยี เปรยี บทางสงั คมของเดก็ ทงั้ นกี้ ระบวนการสบื ทอดเหลา่ นเ้ี รมิ่ ตน้ จากการถา่ ยทอด ทางพนั ธกุ รรม รวมไปถงึ การถา่ ยโอนทนุ ทรพั ย์ (endowment) จากผปู้ กครองสลู่ กู หลาน ในขณะเดยี วกนั ผปู้ กครองกย็ งั ลงทนุ กบั เดก็ ไมว่ า่ จะอยใู่ นรปู ของเงนิ เวลา โดยมากเพอ่ื โอกาสในการศกึ ษา การดแู ลสขุ ภาพ การ “ซื้อ” สงั คมรอบข้าง และโอกาสในการทำ� งาน ในขณะเดยี วกันรายได้ของพ่อแมย่ ังมแี นวโน้มท่ีจะ เปน็ ตวั กำ� หนดการเปน็ “ผปู้ กครองทด่ี ”ี อกี ดว้ ย กลา่ วคอื พอ่ แมท่ มี่ ฐี านะยากจนมกั มคี วามเครยี ด ซง่ึ เปน็ ผลกระทบต่อเนื่องไปยังความสามารถในการให้การส่งเสริม สนับสนุนและมีกิจกรรมร่วมกับเด็กของผู้ ปกครองไดด้ ว้ ย รวมไปถงึ คณุ ภาพของปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งเดก็ และผปู้ กครองอกี ดว้ ย ยกตวั อยา่ ง ครอบครวั ทไ่ี ดร้ บั สวสั ดกิ ารจากรฐั อาจยอมรบั บรรทดั ฐานและคณุ คา่ ทางสงั คมทมี่ กั จะเกยี่ วขอ้ งกบั “วฒั นธรรมแหง่ ความจน” หรอื “วัฒนธรรมสวสั ดกิ าร” ก็เป็นได้ นอกจากนป้ี ญั หาสุขภาพและพฤตกิ รรมของผู้ปกครอง ในกลมุ่ ระดับลา่ ง เชน่ การติดสรุ า การเลน่ การพนนั อาจมีผลในทางอ้อมต่อสขุ ภาวะของเดก็ อีกด้วย มากไปกวา่ นนั้ ตน้ ทนุ ทางเศรษฐกจิ ของครอบครวั ยงั อาจสง่ ผลตอ่ ตน้ ทนุ ทางสงั คมและวฒั นธรรมของเดก็ ดว้ ย ยกตวั อย่าง ความสามารถในการใชจ้ า่ ยเพ่อื การจัดหาสินคา้ และบรกิ ารทางวัฒนธรรม เชน่ หนงั สอื มหรสพ และการเขา้ ชมทอ่ งเทยี่ วทางวฒั นธรรม อาจมผี ลตอ่ พฒั นาการของเดก็ นอกจากนส้ี ถานภาพการ จ้างงาน อาชีพ และตำ� แหนง่ ซงึ่ มีผลต่อทัศนคติ บรรทดั ฐาน และคุณค่าทางสงั คมของผู้ปกครอง อาจสง่ ผลต่อการสร้างความคาดหวงั และความม่งุ หวังของเดก็ และผูป้ กครองด้วย ต้นทุนทางสังคมของผู้ปกครอง ยังมีผลท้ังในทางบวกและทางลบต่อความส�ำเร็จทางการศึกษาของเด็ก รวมไปถึงเครอื ข่ายทางสังคม โอกาสทางการศึกษา และโอกาสในการทำ� งานของเด็กในอนาคตอีกดว้ ย หนึ่งในข้อถกเถียงส�ำคัญที่เก่ียวข้องกับผลกระทบของภาวะการท�ำงานของผู้ปกครองที่มีต่อเด็ก คือ ผล กระทบของการให้เวลากบั ครอบครัว นักวิชาการบางกลุ่ม โดยเฉพาะตามแนวคิด Role strain theory ที่ อธิบายว่า บุคคลมีทรัพยากรอันจ�ำกัดในการจัดการไปยังมิติต่าง ๆ ในชีวิต (Greenhaus & Beutell, 1985) ดงั นน้ั ระยะเวลาในการอยกู่ บั ครอบครวั มผี ลตอ่ เนอื่ งตอ่ คณุ ภาพของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผปู้ กครอง และเด็ก รวมไปถึงความสัมพนั ธร์ ะหว่างสามีภรรยาด้วย กลา่ วคอื พอ่ แมท่ ่ีทำ� งานเตม็ เวลามกั จะใช้เวลา อยกู่ บั บตุ รนอ้ ย อย่างไรก็ตามงานวจิ ยั ขนาดเลก็ ท่ีศกึ ษาจากการจดบันทึกการใช้เวลา พบวา่ เดก็ ท่อี ยกู่ ับ ครอบครัวที่พ่อแม่ท�ำงานเต็มเวลาใช้เวลาอยู่กับผู้ปกครองมากกว่าเด็กที่มีแม่ท�ำงานไม่เต็มเวลาหรือไม่มี 147

งานทำ� ในขณะเดยี วกนั ครอบครวั ท่ีพอ่ ท�ำงานเพียงคนเดียวใช้เวลากับเดก็ น้อยที่สดุ (O’Brien & Jones, 1999) ขอ้ ค้นพบดังกลา่ วจึงนำ� ไปสกู่ ารข้อสงั เกตว่าระยะเวลาทอ่ี ยกู่ บั เด็กอาจมิไดเ้ ปน็ ตัวบง่ ช้ถี ึงคุณภาพ ของความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและเด็กเสมอไป ในทางตรงกันข้ามแนวคิด Role accumulation theory ชใี้ ห้เห็นวา่ การเข้าถงึ ทรัพยากรบางอย่างในการทำ� งาน เชน่ กลยทุ ธ์ในการจัดการ การบรหิ าร ประสิทธิภาพของตนเอง อาจล่วงเข้ามามีส่วนและส่งผลในด้านบวกต่อการดูแลบุตรและครอบครัวด้วย (Greenhaus & Powell, 2006) นอกเหนือจากต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมแล้ว รูปแบบการท�ำงานยังมีผลต่อพัฒนาการ ทางพทุ ธปิ ญั ญาและผลลพั ธท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษาดว้ ย (Parcel & Menaghan, 1994) วทิ ยานพิ นธข์ อง Cusworth (2009) ศกึ ษาผลกระทบของภาวะการทำ� งานของผปู้ กครองทม่ี ตี อ่ สขุ ภาวะทางดา้ นการศกึ ษา และอารมณข์ องเดก็ ในประเทศองั กฤษ โดยใชข้ อ้ มลู จาก British Household Panel Survey พบวา่ ภาวะ การทำ� งานของผูป้ กครองส่งผลลพั ธ์ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับเด็กและเยาวชนในหลาย ๆ มิติ ยกตวั อย่าง เดก็ ท่ีอยู่ใน ครอบครัวทไี่ มม่ งี านทำ� จะมแี นวโน้มท่ีมผี ลลัพธใ์ นด้านการเรียนในทางลบ เชน่ การหนโี รงเรียน การออก จากโรงเรียนเมอ่ื อายุ 16 ปี การทำ� งานไมเ่ ตม็ เวลาของแมม่ กั มีการปกปอ้ งสภาวะอารมณ์ในทางลบผ่าน ตน้ ทนุ ทางสงั คมในชอ่ งทางตา่ ง ๆ นอกจากนตี้ น้ ทนุ ทางวฒั นธรรมยงั เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทค่ี วบคมุ ผลกระทบ ของภาวะการท�ำงานท่มี ตี อ่ การสรา้ งทศั นคตแิ ละความคาดหวังทมี่ ีตอ่ การศกึ ษา งานวิจัยจ�ำนวนหน่ึงศึกษาผลกระทบของภาวะการท�ำงานของผู้ปกครองท่ีมีต่อผลลัพธ์เชิงพฤติกรรมของ ลกู ในการศกึ ษาระยะยาวของเดก็ ในประเทศออสเตรเลยี Hadzic, Magee, & Robinson (2013) พจิ ารณา ผลกระทบทีม่ ตี อ่ พฤติกรรมของเดก็ ใน 3 มิติ ไดแ้ ก่ 1) การสรา้ งปัญหา โดยพิจารณาระหวา่ งการเช่ือฟัง ผู้ใหญ่ (obedience) และการมีอารมณฉ์ ุนเฉยี ว (temper) ควบคกู่ นั 2) ภาวะสมาธิส้นั (hyperactive) - การไม่เอาใจใส่ (inattention) และ 3) พฤตกิ รรมทางสังคม พบว่า ภาวะการท�ำงานของมารดาเมือ่ บุตร อายุ 4-5 ปสี ง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมของบตุ รเมอ่ื มอี ายุ 6-7 ปี ทง้ั ในทางตรงและทางออ้ มผา่ นวถิ กี ารเลย้ี งดู ทง้ั นี้ การทผี่ ปู้ กครองทำ� งานแบบเตม็ เวลาและบางเวลาซง่ึ มคี วามสมั พนั ธก์ บั การเลยี้ งดทู เ่ี ปน็ มติ ร (less hostile) อาจช่วยให้เกิดพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหาของลูกน้อยลง ด้วยการส่งเสริมให้เด็กสามารถควบคุมตัวเอง (self-regulation) และการสรา้ งความสมั พนั ธแ์ ละเครอื ข่ายในเด็กท่มี ีความยืดหยุน่ นอกจากน้ียังมีงานวิจัยจ�ำนวนหน่ึงท่ีศึกษาผลกระทบของภาวะการท�ำงานของผู้ปกครองต่อสุขภาพของ เด็ก งานส่วนใหญ่มกั ช้ใี หเ้ หน็ ผลกระทบของภาวะการท�ำงานตอ่ ดชั นมี วลกาย (Body Mass Index) ของ บตุ ร (Gregg & Washbrook, 2003; Hope, Pearce, Whitehead, & Law, 2015; Li et al., 2014; 148

Morrissey, 2013) จากการศกึ ษาประชากรในกรงุ โตเกยี ว ประเทศญปี่ นุ่ พบวา่ เดก็ ทไ่ี ดร้ บั การเลย้ี งดจู าก มารดาท่ีท�ำงานเต็มเวลาหรือธุรกิจส่วนตัวมีอัตราการเป็นโรคหอบหืดมากกว่าเด็กท่ีได้รับการเลี้ยงดูจาก มารดาทท่ี ำ� งานบางเวลา (Hashimoto & Hashimoto, 2016) ผลกระทบทางดา้ นอืน่ ๆ นอกจากผลกระทบจากการมีบุตรที่เกิดต่อการท�ำงานของแม่และ สถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวแล้ว ยังมีผลกระทบทางด้าน อื่นๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ได้ คือ การทแี่ ม่ลางานเปน็ เวลานานยังสง่ ผลในเชิงลบ ต่ออาชีพการงานและรายได้ของแม่ ซ่ึงอาจน�ำไปสู่การแบ่งหน้าที่ใน การท�ำงานบ้านอย่างไม่เท่าเทียมกันได้ในครอบครัว (Rosen & Sundstorm, 2002) และยงั มงี านวจิ ยั ท่คี น้ พบว่าการแตง่ งานว่ามีผล ต่อสถานะทางเศรษฐกจิ ของผู้หญิง คือถา้ มลี กู แต่ไม่แตง่ งาน เปน็ แม่ เลีย้ งเด่ียว จะมคี วามเปราะบางตอ่ ความยากจนมากกว่าแม่ทแี่ ต่งงาน และมีบตุ ร (Cancian & Reed, 2009) การที่แมล่ างาน เป็นเวลานาน ยังสง่ ผลในเชงิ ลบ ต่ออาชพี การงาน และรายไดข้ องแม่ 149

นขทอโีม่ ยงีบบคตุ รารยอแเบลพคะือ่ รกชวั าว่ รยสเง่หเลสือริมคครอุณบภคารพวั ชีวิต นโยบายการลาคลอด ประเทศในยโุ รปทกุ ประเทศตา่ งมนี โยบายใหแ้ มล่ าคลอดได้ โดยสว่ นใหญจ่ ำ� นวนวนั ลาอยรู่ ะหวา่ ง 14 – 20 สปั ดาห์ โดยไดร้ บั คา่ จา้ งในสดั สว่ นรอ้ ยละ 70–100 ประเทศทใี่ หว้ นั ลายาวนานถงึ 3 ปคี อื ประเทศฟนิ แลนด์ ฝรง่ั เศส เยอรมนี และสเปน และประเทศทใ่ี หว้ นั ลาระหวา่ ง 1.5 ปี – 2 ปี คอื ออสเตรยี นอรเ์ วยแ์ ละสวเี ดน แตป่ ระเทศท่ใี หว้ ันลานาน อาจจะใหค้ ่าจ้างน้อยในช่วงเวลาทล่ี า ในขณะที่ประเทศท่ีให้วนั ลาสน้ั กวา่ อาจ จะใหค้ ่าจ้างสูง เชน่ เดนมารก์ ให้วันลาเพียง 12 เดอื น แต่ใหเ้ งนิ ค่าจา้ งสงู ตลอดชว่ งเวลาที่ลางาน ในขณะ ที่ประเทศฝร่ังเศสใหว้ ันลานานมากกว่า 3 ปี แต่ไดร้ ับคา่ จา้ งสูงเพียง 4 เดือน และไดร้ ับคา่ จ้างบางส่วนอกี 10 เดือน (ตาราง 2) ดังนน้ั นโยบายในเรอ่ื งวันลาคลอดจึงมีประเดน็ ต้องพจิ ารณา 2 ประเด็นคอื จ�ำนวน วัน และคา่ จ้างท่จี ะไดร้ บั ระหว่างการลา 150

ส่วนการลาของพ่อเพื่อช่วยภรรยาหลังคลอดน้ัน โดยส่วนใหญ่ประเทศในยุโรปมีนโยบายให้พ่อลางานได้ สนั้ กวา่ แม่ ประเทศทใ่ี หล้ างานนานทสี่ ดุ คอื สเปน รองลงมาคอื สวเี ดนและนอรเ์ วย์ โดยในสเปนพอ่ สามารถ ลาหยดุ ได้นานถึง 3 ปี ส่วนสวเี ดนและนอร์เวย์ ลาหยดุ ได้นาน 18 เดอื น และ 14 เดือน ตามล�ำดบั การ กำ� หนดเงอื่ นไขการลาของพอ่ วา่ ไมส่ ามารถโอนสทิ ธไิ ปใหแ้ มไ่ ดห้ รอื การใหโ้ บนสั เชน่ หากพอ่ หยดุ งานชว่ ย เลยี้ งลูก จะไดโ้ บนัสวันลาของแมเ่ พ่ิมจะเป็นเง่อื นไขทีท่ ำ� ให้พ่อหยุดงานเพ่อื มาช่วยเลยี้ งลูกได้ เปน็ การสง่ เสรมิ ความเทา่ เทียมกันของบทบาทชายหญงิ ในการเลย้ี งดบู ุตร การมีนโยบายเรื่องการลานั้น เพ่ือให้แม่และพ่อสามารถปรับตัวในช่วงแรกหลังคลอด และจัดการความ สมดลุ ระหวา่ งการงานและบทบาทของครอบครวั ไดด้ ยี ิง่ ขึน้ นอกจากน้ี การให้แม่ไดห้ ยุดงานโดยยังรักษา ต�ำแหน่งงานและได้รับค่าจ้าง เป็นการลดช่องว่างระหว่างผู้หญิงและผู้ชายในด้านอาชีพการงานและราย ได้ และการไดเ้ ลยี้ งลกู ในชว่ งขวบวยั แรกของชวี ติ มคี วามสำ� คญั ตอ่ พฒั นาการของเดก็ เปน็ อยา่ งยงิ่ ประเทศ ในยโุ รปหลายประเทศ จึงใช้นโยบายการลาท่ีนาน เป็นการเพิม่ ความเป็นธรรมระหวา่ งหญิงชาย และเพม่ิ อตั ราการเกดิ ของประเทศดว้ ย การมนี โยบายเชน่ นี้ จงึ สง่ ผลดตี อ่ ครอบครวั อยา่ งมาก เพราะเดก็ ไดร้ บั การ ดแู ลเตม็ ท่ี พอ่ ไดม้ บี ทบาทในการดแู ลลกู มากขน้ึ ทำ� ใหแ้ มเ่ หนอื่ ยนอ้ ยลงและมคี วามสขุ มากขน้ึ สมั พนั ธภาพ ในครอบครัวจงึ ดีตามไปด้วย ซ่ึงประเทศในแถบสแกนดเิ นเวยี เชน่ เดนมาร์ก นอรเ์ วย์ และสวเี ดน ตา่ ง ลงทุนอย่างมากกับสวัสดิการสังคม เพื่อจะน�ำไปสนับสนุนและพัฒนานโยบายด้านครอบครัวโดยเฉพาะ อย่างย่ิงครอบครัวที่มีบุตร โดยมุ่งหวังให้พ่อแม่มีสมดุลในเรื่องงานและครอบครัว ทั้งพ่อและแม่สามารถ แบง่ งานกันท�ำได้อยา่ งเท่าเทียม ไมว่ า่ จะเป็นงานทก่ี อ่ ให้เกดิ รายได้ หรอื งานท่ีไม่เกิดรายได้ เชน่ การดูแล บตุ ร และงานบ้าน ซึ่งทา้ ยทีส่ ุดแลว้ ผลประโยชนก์ ็จะตกอยู่ทเี่ ด็กนัน่ เอง (Rostgaard, 2014) 151

ตาราง 2 ตวั อย่างสิทธิการลา และรายได้ที่ได้รับในต่างประเทศ ประเทศ วนั ล(เาดทือ้ังนห)มด วสันำ(ล�เหาดรทือับี่กนพัน)อ่ ไว้ รวานั ยลไดา้ท(เีไ่ ดดือ้รับน) อเยงินา่ ไงดเดนร้ ืออ้ับนยรา2(ยเ/ด3ไดือข้นอ)ง 0 24 4 ออสเตรีย 24 3 9.5 4 เบลเยียม 9.5 0 11.5 0 แคนาดา 12 0.5 11.5 12 เดนมาร์ก 12 1 38 11 ฟินแลนด์ 38 0.5 10 4 ฝร่งั เศส 37.5 2 17.5 15 เยอรมนี 39.5 6.5 10 8 กรีซ 16 6 99 ไอซ์แลนด์ 15 3.5 66 ไอร์แลนด์ 16 4 10.5 4.5 อิตาลี 14.5 6 44 เนเธอร์แลนด์ 16 14 12.5 12.5 นอร์เวย์ 34.5 5 12 6.5 โปรตุเกส 36 36 44 สเปน 72 18 16.5 13 สวีเดน 36.5 0 3.5 3.5 สวิสเซอร์แลนด์ 3.5 3.75 9.5 1.5 สหราชอณาจักร 18.5 ทีม่ า : Christopher J. Ruhm, 2011. Policies to Assist Parents with Young Children, Future Child, 2011; 21(2): 37–68. 152

คนวโยาบมยายืดกหายรนุ่ ใหในม้ กี ารทำ�งาน ประเทศอังกฤษ เริ่มมีกฎหมายใหล้ ูกจ้างสามารถขอยืดหย่นุ เวลาท�ำงานเพ่อื ดแู ลลูกไดต้ ั้งแต่ปี 2002 สทิ ธิ ในการขอท�ำงานแบบยืดหยุ่นได้ขยายไปให้แรงงานทุกคนที่ท�ำงานต่อเนื่องมาแล้วไม่ต่�ำกว่า 26 สัปดาห์ ภายใต้ Children and Families Act 2014 ตัวอยา่ งรปู แบบการท�ำงานท่ียืดหยนุ่ • การท�ำงานพารท์ ไทม์ • Compressed hours คือการเพ่มิ ชั่วโมงการท�ำงานบางวัน เพ่อื เพ่มิ วนั หยุดมากข้นึ • Home working คอื การท�ำงานทีบ่ า้ น • Annualized hours คดิ เวลาท�ำงานเป็นรายปแี ทนทจ่ี ะคดิ เป็นรายสปั ดาห์ ทำ� ใหล้ ูกจา้ งบริหารจัดการเวลาในแตล่ ะช่วงของปไี ด้ • Term-time working ปรับวนั ท�ำงานตามเวลาปิดเทอมของลูก คอื ในชว่ งเปิดเทอมท�ำงานตามปกติ และหยุดงานชว่ งปดิ เทอม • Time off in lieu คอื การขอเวลาหยดุ ตามชั่วโมงทำ� งานที่ท�ำเกินเวลาได้ เวลาทที่ �ำนอกเวลางานเปน็ การออมช่วั โมงทำ� งานไว้ เพ่อื ใช้เป็นวันหยดุ เพม่ิ เตมิ • Job sharing คอื งานเดยี วกัน แต่แบ่งเวลาทำ� งานระหวา่ งพนักงานหลายคน • Varied-hours working or time banking ลกู จ้างแจ้งแก่นายจา้ งวา่ สามารถท�ำงานได้ชว่ งเวลาใด เพ่อื ใหน้ ายจา้ งบรหิ ารจดั การจา้ งใหเ้ หมาะกับ ความตอ้ งการแรงงานน้ันๆ ในแต่ละชว่ งเวลา ประโยชน์ของการท�ำงานแบบยืดหยุ่นเพ่ือให้ลูกจ้างจัดสมดุลระหว่างชีวิตส่วนตัวและชีวิตการงานได้ดี ยงิ่ ขนึ้ จะทำ� ใหล้ กู จา้ งมคี วามพอใจในชวี ติ และความพอใจในการทำ� งานมากขนึ้ เพมิ่ แรงจงู ใจในการทำ� งาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานของลูกจา้ ง ซึ่งกจ็ ะเปน็ ประโยชน์แก่นายจา้ งเชน่ กนั 153

นโยบายการจัดศนู ยเ์ ดก็ เล็ก การจดั ใหม้ ศี นู ยเ์ ดก็ เลก็ ในประเทศในทวปี ยโุ รปจะจดั ควบคไู่ ปกบั สทิ ธวิ นั ลาคลอด ประเทศทมี่ วี นั ลาคลอด นาน การลงทนุ ในศนู ยเ์ ดก็ เล็กจะน้อยกว่าประเทศที่วันลาคลอดส้นั เชน่ ประเทศฟนิ แลนด์ แมไ่ ดส้ ิทธิลา คลอดนาน รัฐบาลจึงลงทุนในศูนย์เด็กเล็กน้อย เม่ือเทียบกับประเทศเดนมาร์กที่มีวันลาคลอดท่ีสั้นกว่า (รูป 31) รปู 31 ความสมั พนั ธ์ระหว่าง สิทธิในการลาคลอดและการ ใช้บริการดแู ลเดก็ เล็ก ท่มี า: Christopher J. Ruhm, 2011. Policies to Assist Parents with Young Children, Future Child, 2011; 21(2): 37–68. 154

การจดั สถานที่ดแู ลบตุ รและป๊มั นมในทีท่ ำ�งาน ในองั กฤษมกี ฎหมายวา่ ดว้ ยการใหน้ มบตุ รของลกู จา้ ง บญั ญตั อิ ยใู่ นพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยความเสมอภาค หรอื ความเท่าเทยี ม ปี 2010 โดยนายจา้ งตอ้ งจัดหาสถานทีส่ ำ� หรบั ลูกจ้างให้ป๊ัมนมหรือให้นมบตุ ร สว่ น กฎหมายของประเทศอารเ์ จนตนิ า อนญุ าตใหล้ กู จา้ งสามารถพกั ไปให้นมหรอื ปัม๊ นมได้ 2 คร้ังต่อวัน และ ในแตล่ ะคร้งั ไมต่ ำ่� กว่า 30 นาที จนกระท่ังเดก็ อายุครบ 1 ปี ประเทศในเอเชียมีนโยบายการสนับสนุนให้ผู้หญิงกลับเข้าสู่ตลาดแรงงาน เช่น ญ่ีปุ่น โดยรัฐบาลนาย ชินโสะ อาเบะ ไดอ้ อกมาตรการจงู ใจเพื่ออดุ หนุนบริษัทใหร้ ับผหู้ ญิงเข้าทำ� งาน จากการด�ำเนินงานตดิ ตอ่ กนั มา 5 ปี พบวา่ เมอื่ ปี 2560 อัตราผ้หู ญงิ อายุ 30-34 ปี ท่กี ลับเข้าสู่ตลาดแรงงานเพมิ่ ข้ึน รอ้ ยละ 75.2 ขณะทอ่ี ัตราการเข้ารว่ มในตลาดแรงงานของหญิงอายรุ ะหว่าง 15-64 ปี เพมิ่ มากขน้ึ อย่างไม่เคยเปน็ มา ก่อนถงึ ร้อยละ 69.4 อย่างไรก็ตาม ญี่ปนุ่ ยังมีความท้าทาย ในเรอ่ื งการขาดแคลนสถานเลี้ยงดูเด็ก และครู ทจ่ี ะมาดแู ลเดก็ ซง่ึ เปน็ อปุ สรรคกบั แมท่ ตี่ อ้ งการกลบั เขา้ สตู่ ลาดแรงงาน เพราะแมจ้ ะอยากกลบั ไปทำ� งาน แตย่ ังไมม่ ีสถานเล้ยี งดูเด็กท่เี พยี งพอ ประเทศเกาหลี ซ่งึ เปน็ OECD เคยเสนอนโยบายครอบครัวเกี่ยวกบั การลาคลอดบุตร การลาคลอดโดยได้ รบั คา่ จา้ ง และการจดั เวลางานใหม้ คี วามยดื หยนุ่ เพอื่ ใหผ้ หู้ ญงิ เกาหลที มี่ คี รอบครวั มสี มดลุ ในชวี ติ และงาน มากข้นึ ในทางปฏบิ ตั กิ ลับไม่ค่อยได้ผลนกั โดยเฉพาะเร่อื งการจัดสรรเวลางานใหม้ ีความยดื หยุน่ ซึ่งแทบ เปน็ ไปไม่ได้เลยในเกาหลี หญงิ ที่มีบตุ รได้รบั สิทธเิ พยี งการลดชั่วโมงทำ� งานเท่านน้ั สว่ นนโยบายการดูแล บุตรอายตุ �่ำกวา่ 3 ปี ใหแ้ ม่ทคี่ ลอดแล้วสามารถกลบั ไปท�ำงานนน้ั ไม่เพียงพอตอ่ ความต้องการ โดยพบว่า เมอ่ื ปี 1998 และ 2007 คา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นการศกึ ษาของเดก็ ในเกาหลตี ำ่� ทสี่ ดุ ในบรรดาประเทศสมาชกิ OECD (Ma, 2014) 155

เอกสารอ้างอิง Angrist, J. D., & Evans, W. N. (1998). Children and their parents’ labor supply: Evidence from exogenous variation in family size. The American Economic Review, 88(3), 450-477. Becker, G. S. (1991). A treatise on the family. Harvard University Press. Becker, G. S., & Tomes, N. (1976). Child Endowments and the Quantity and Quality of Children. Journal of Political Economy, 84(4, Part 2), S143–S162. https://doi.org/10.1086/260536 Boeckmann, I., Misra, J., & Budig, M. J. (2014). Cultural and institutional factors shaping mothers’ employment and working hours in postindustrial countries. Social Forces, 93(4), 1301-1333. Bloom, D. E., Canning, D., Fink, G., & Finlay, J. E. (2009). Fertility, female labor force participation, and the demographic dividend. Journal of Economic Growth, 14(2), 79-101. Bright Horizons Family Solutions. (2017). The Modern Families Index 2017. London: Cambridge House. Budig, M. J., & England, P. (2001). The wage penalty for motherhood. American sociological review, 204-225 Budig, M. J., & Hodges, M. J. (2014). Statistical models and empirical evidence for differences in the motherhood penalty across the earnings distribution. American Sociological Review, 79(2), 358-364. Buttrose, I. (2006). Mother guilt: Australian women reveal their true feelings about motherhood. Viking. Calhoun, C. A., & Espenshade, T. J. (1988). Childbearing and wives’ foregone earnings. Population Studies, 42(1), 5-37. Cancian M., Reed D. (2009). Family Structure, Childbearing, and Parental Employment: Implications for the Level and trend in Poverty. Focus, 26(2). Chung, H. and Van der Horst, Mariska (2018) Women’s employment patterns after childbirth and the perceived access to and use of flexitime and teleworking. Human Relations, 71 (1), 47-72. Connolly, S., & Gregory, M. (2010). Dual tracks: part-time work in life-cycle employment for British women. Journal of Population Economics, 23(3), 907-931. Del Boca, D. (2002). The effect of child care and part time opportunities on participation and fertility decisions in Italy. Journal of population economics, 15(3), 549-573. Ermisch, J., & Francesconi, M. (2001). Family Matters: Impacts of Family Background on Educational Attainments. Economica, 68(270), 137–156. https://doi.org/10.1111/1468-0335.00239 Fitzenberger, B., Sommerfeld, K., & Steffes, S. (2013). Causal effects on employment after first birth: A dynamic treatment approach. Labour Economics, 25, 49-62. Fortin, N. M. (2005). Gender role attitudes and the labour-market outcomes of women across OECD countries. Oxford Review of Economic Policy, 21(3), 416-438. Gangl, M., & Ziefle, A. (2009). Motherhood, labor force behavior, and women’s careers: An empirical assessment of the wage penalty for motherhood in Britain, Germany, and the United States. Demography, 46(2), 341-369. Glass J. and Riley L. (1998). Family Responsive Policies and Employee Retention Following Childbirth. Social Forces, 76(4), 1401-35. Goldin, C. (1995). The U-shaped female labor force function in economic development and economic history (No. w4707). National Bureau of Economic Research. 156

Greenhaus, J. H., & Beutell, N. J. (1985). Sources of Conflict Between Work and Family Roles. Academy of Management Review, 10(1), 76–88. https://doi.org/10.5465/amr.1985.4277352 Greenhaus, J. H., & Powell, G. N. (2006). When Work And Family Are Allies: A Theory Of Work-Family Enrichment. Academy of Management Review, 31(1), 72–92. https://doi.org/10.5465/amr.2006.19379625 Gregg, P., & Washbrook, E. (2003). The Effects of Early Maternal Employment on Child Development in the UK. The Centre for Market and Public Organisation. Retrieved from https://ideas.repec.org/p/bri/cmpowp/03-070.html Gutierrez-Domenech M. (2005). Employment Transitions after Motherhood in Spain. Labour 19 (Special Issue) 123–148 (2005). Hadzic, R., Magee, C. A., & Robinson, L. (2013). Parental employment and child behaviors: Do parenting practices underlie these relationships? International Journal of Behavioral Development, 37(4), 332–339. Retrieved from http://ro.uow.edu.au/cgi/viewcontent.cgi?article=1302&context=sspapers Hashimoto, N., & Hashimoto, H. (2016). The Association Between Maternal Employment and Prevalence of Asthma in Children. Pediatric Allergy, Immunoloty, and Pulmonology, 29(3). https://doi.org/10.1089/ped.2016.0641 Hope, S., Pearce, A., Whitehead, M., & Law, C. (2015). Parental employment during early childhood and overweight at 7-years: findings from the UK Millennium Cohort Study. BMC Obesity, 2(1), 33. https://doi.org/10.1186/ s40608-015-0065-1 Horton, S. (1996). Women and industrialization in Asia. New York: Routledge. Hundley, G. (2000). Male/female earnings differences in self-employment: The effects of marriage, children, and the household division of labor. ILR Review, 54(1), 95-114. International Labour Organization. (2017). Towards a better future for women and work: Voices of women and men. Retrieved from http://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/@dgreports/@dcomm/@publ/documents/ publication/wcms_546256.pdf Kahn, J. R., García-Manglano, J., & Bianchi, S. M. (2014). The Motherhood Penalty at Midlife: Long-Term Effects of Children on Women’s Careers. Journal of Marriage and Family, 76(1), 56-72. Li, J., Johnson, S. E., Han, W.-J., Andrews, S., Kendall, G., Strazdins, L., & Dockery, A. (2014). Parents’ Nonstandard Work Schedules and Child Well-Being: A Critical Review of the Literature. The Journal of Primary Prevention, 35(1), 53–73. https://doi.org/10.1007/s10935-013-0318-z Lundberg, S., & Rose, E. (2000). Parenthood and the earnings of married men and women. Labour Economics, 7(6), 689-710. Ma, L. Economic crisis and women’s labor force return after childbirth: Evidence from South Korea. Demographic Research. Volume 31, Article 18, 511−552, 29 August 2014. http://www.demographic-research.org/Volumes/ Vol31/18/ Mammen, K., & Paxson, C. (2000). Women’s work and economic development. Journal of economic perspectives, 14(4), 141-164. Matysiak A. and Vignoli D. (2013). Diverse Effects of Women’s Employment on Fertility: Insights from Italy and Poland. European Journal of Population, 29, 273–302. Mosca, I., O ’sullivan, V., & Wright, R. E. (2017). Economics Working Paper Series Maternal Employment and Child Outcomes: Evidence from the Irish Marriage Bar. Retrieved from http://www.lancaster.ac.uk/lums/ O’Brien, M., & Jones, D. (1999). Children, parental employment and educational attainment: an English case study. Cambridge Journal of Economics, 23(5), 599–621. https://doi.org/10.1093/cje/23.5.599 157

Okimoto, T. G., & Heilman, M. E. (2012). The “bad parent” assumption: How gender stereotypes affect reactions to working mothers. Journal of Social Issues, 68(4), 704-724. Percheski, C. (2008). Opting out? Cohort differences in professional women’s employment rates from 1960 to 2005. American sociological review, 73(3), 497-517. Rosen M. and Sundstorm M. (2002). Family Policy and After-Birth Employment Among New Mothers – A Comparison of Finland, Norway and Sweden. European Journal of Population, 18, 121–152. Rossin-Slater, M., Ruhm, C. J., & Waldfogel, J. (2013). The effects of California’s paid family leave program on mothers’ leave-taking and subsequent labor market outcomes. Journal of Policy Analysis and Management, 32(2), 224-245. Rostgaard, Tine. (2014). Family policies in Scandinavia. 24 May 2018, http://vbn.aau.dk/files/216735568/Rostgaard_ Family_policies_in_Scandinavia.pdf Shafer, E. F. (2011). Wives’ Relative Wages, Husbands’ Paid Work Hours, and Wives’ Labor-Force Exit. Journal of Marriage and family, 73(1), 250-263. Schönberg, U., & Ludsteck, J. (2014). Expansions in maternity leave coverage and mothers’ labor market outcomes after childbirth. Journal of Labor Economics, 32(3), 469-505. Spiess, C. K., & Wrohlich, K. (2008). The parental leave benefit reform in Germany: costs and labour market outcomes of moving towards the Nordic model. Population Research and Policy Review, 27(5), 575. Thornton, A., Alwin, D. F., & Camburn, D. (1983). Causes and consequences of sex-role attitudes and attitude change. American Sociological Review, 211-227. Ueda A. (2008). Dynamic Model of Childbearing and Labor Force Participation of Married Women: Empirical Evidence from Korea and Japan. Journal of Asian Economics, 19, 170–180. Vella, F. (1994). Gender roles and human capital investment: The relationship between traditional attitudes and female labour market performance. Economica, 191-211. (Ma, 2014) 158

ข้อเสนอเรพุ่นอ่ื ใคหรมอ่ทบี่เคขร้มวั แไทขย็ง แนวนโยบาย 159

คขสอู่ควางวมคามสรอมเปบดรคลุ ารขะัวอบงาเงวลา 160

ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกทั้งจากข้อมูลบนส่ือสังคมออนไลน์ การสัมภาษณ์เชิงลึก รวมถึงการ ประมวลบทเรียนจากตา่ งประเทศทีน่ �ำมาพิจารณาร่วมกัน ท�ำใหเ้ ราเห็นภาพรวมของปัญหาที่ชดั เจนและ เปน็ ระบบมากข้นึ การมลี กู เปน็ การเปลย่ี นแปลงครง้ั สำ� คญั ของชวี ติ โดยเฉพาะสำ� หรบั ผหู้ ญงิ ในแงก่ ารทำ� งาน การเปน็ ผหู้ ญงิ ไม่ส่งผลต่อชีวิตการท�ำงานเท่ากับการเป็นแม่ เม่ือผู้หญิงกลายเป็นแม่ หมายถึงการมีภาระในการดูแล เลี้ยงดูคนอีกหน่ึงคน การจะเลี้ยงลูกอย่างมีคุณภาพ จ�ำเป็นต้องใช้ทั้งเงินและเวลา ผู้หญิงหลายคนจึง เลือกออกจากงาน เพื่อสามารถให้เวลากับลูกได้อย่างเต็มท่ี โดยต้องเสียสละรายได้ท่ีเคยได้ ในขณะท่ี อีกหลายคนจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนงานเพ่ือให้สามารถรักษาสมดุลระหว่างการท�ำงานหาเงินและการมีเวลา ให้กับลกู และครอบครวั การปรับเปลย่ี นชีวิตการท�ำงาน ไมว่ า่ อย่างไรกส็ ่งผลกระทบตอ่ ผหู้ ญิง ลูก และครอบครวั ไม่ทางใดกท็ าง หน่ึง ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลบนส่ือสังคมออนไลน์และการสัมภาษณ์พบว่า ทั้งกลุ่มที่เป็นแม่เต็มเวลา และแม่ทีท่ ำ� งาน ไมว่ ่าจะเปน็ ผู้เลือกออกจากงาน เปลย่ี นงาน หรือทำ� งานเดมิ ค่คู รองมีอทิ ธพิ ลอย่างมาก ในการตัดสินใจด้านการงาน รูปแบบการเลี้ยงดูบุตร รวมถึงคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว คนที่ เปน็ แมเ่ ตม็ เวลามักมาปรกึ ษาในประเด็นเกย่ี วกบั คคู่ รอง ทรพั ยากรในครอบครวั (การเงนิ และการจัดการ เวลา) อารมณค์ วามรสู้ กึ ของตนเอง ในขณะทแี่ มท่ ำ� งานมปี ระเดน็ ทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั แตจ่ ะมปี ระเดน็ เรอ่ื งการ งานและผชู้ ่วยเล้ยี งดูลกู เพิม่ เตมิ โดยรวมแล้วจงึ พบวา่ ทุกกลุ่มครอบครวั ท่มี ีลูกมีความทา้ ทายในแบบของ ตนเอง 161

ตาราง 3 สรุปประเดน็ ของแม่แต่ละกลุ่ม แมท่ ำ�งาน แม่เต็มเวลา ปัจจัย/สาเหตุ • การมรี ายไดเ้ ป็นสาเหตุหลกั ท่ีทำ�ให้แมย่ งั เลือก ปัจจัย/สาเหตุ • อยากเลีย้ งลูกเอง เพราะเชอ่ื ว่าแมค่ อื คนที่ ทำ�งานต่อ เพ่อื ความมน่ั คงของตนเอง เพอ่ื ดูแลคนรอบข้าง เช่น พอ่ แมท่ อ่ี ายุมาก และ จะเลยี้ งลูกไดด้ ีท่ีสุด เพอื่ แบง่ เบาภาระของครอบครวั ตนเอง • ไมม่ คี นชว่ ยเลี้ยง หรอื ไม่มีทางเลือกที่เขา้ ถงึ • ความกา้ วหนา้ ทางการงาน • ความชอบ/ความภมู ใิ จในการทำ�งาน ได้ จงึ จำ�เป็นต้องออกจากงาน • สาม/ี ครอบครวั สนับสนุนใหอ้ อกมาดแู ลลกู ผลกระทบ ข้อดี ผลกระทบ • มรี ายได้ มีความมน่ั คงและอิสรภาพ ข้อดี • ไดม้ เี วลาอยกู่ บั ลูกอย่างเตม็ ท่ี ทางการเงิน • มมี ติ ขิ องชีวติ ท่หี ลากหลายกวา่ การเลี้ยงลูก ได้อบรมลูกในแนวทางท่ตี อ้ งการ • ภาคภูมใิ จและมีความสุขกบั การได้เลยี้ งลูก อย่างเดยี ว ยงั ไดม้ สี ังคมของตนเอง เอง ขอ้ เสีย • จัดสมดลุ ชวี ติ ยาก มักจะ overload ข้อเสีย • ร้สู กึ ขาดคณุ คา่ ในตนเอง เบ่ือ ท้อ ในทัง้ หน้าทก่ี ารงานและการเรอื น ไมส่ ามารถ เต็มทกี่ ับการงานหรือการเล้ยี งลูกได้ และขาดความม่ันคงดา้ นรายได้ • ขดั แยง้ กับสามีในเร่อื งการแบง่ งาน • ความสมั พนั ธก์ บั สามตี อ้ งอยใู่ นสภาพจำ�ยอม ภายในบา้ น • มีเวลาไดอ้ ยกู่ บั ลูกน้อยลง ตอ้ งฝากคนอืน่ เลย้ี ง เนอื่ งจากสามมี ีอำ�นาจเหนอื กว่าเพราะเป็น เปน็ ส่วนใหญ่ เกดิ ความรูส้ กึ ผิดกับลูก ผูม้ รี ายได้หลัก 162

แม่เปลีย่ นงาน ปจั จัย/สาเหตุ • ลกั ษณะงานเดิมไม่อำ�นวยใหม้ เี วลาอยู่กับลูก และครอบครวั เช่น เป็นงานทเ่ี ดินทางบ่อย เวลาทำ�งานไม่แนน่ อน ทท่ี ำ�งานอยูไ่ กล • คนในครอบครวั อยากใหเ้ ปลี่ยน ผลกระทบ อย่างไรก็ตามกลุ่มแม่เต็มเวลาดูเหมือนจะเป็น ข้อดี กลุ่มที่มีความเปราะบางทางการเงินมากท่ีสุด • มเี วลาอยู่กบั ลกู และครอบครัวมากข้ึน เน่ืองจากขาดความม่ันคงทางรายได้ ซ่ึงไม่ได้ ส่งผลต่อตัวผหู้ ญงิ ในระยะส้ันเท่าน้นั แต่สามารถ สามารถจัดสมดลุ ในชวี ติ ได้มากกวา่ ก่อน ส่งผลในตลอดช่วงชีวิตของผู้หญิงได้ การมีเงิน ปรับเปล่ียนวิถีการทำ�งาน ออม หลกั ประกนั ในชวี ติ สำ� หรบั ยามเกษยี ณ หรอื • ยังคงได้ทำ�งาน และมีรายไดเ้ ปน็ ของตนเอง หากมีเหตุการณ์ไม่คาดฝัน เช่น การหย่าร้างกับ โดยสามารถเลือกงานทม่ี ีความยดื หยุน่ ขึน้ ได้ สามี ผู้หญิงเหล่าน้ีจะตกอยู่ในสถานะที่ล�ำบาก ข้อเสีย ทันที ซึ่งผลกระทบน้ีไม่ได้จ�ำกัดอยู่ที่เพียงตัว • ไมไ่ ดใ้ ชศ้ ักยภาพของตนเองอย่างเต็ม ผู้หญิง แต่อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ ท่ี หรือตรงกบั ความสนใจ/ทไี่ ดเ้ คยสั่งสม ลกู อีกดว้ ย ประสบการณ์มา • ในบางครงั้ งานใหม่มคี วามม่นั คงนอ้ ยกวา่ เช่น ถ้าออกจากงานประจำ�เพอ่ื มาทำ�งาน ขายของ 163

ในขณะเดยี วกนั ความเปราะบางของแมท่ ำ� งานเกดิ จากการรกั ษาสมดลุ ในชวี ติ เนอื่ งจากตอ้ งการทำ� หนา้ ท่ี ท้ังด้านการงานและการเล้ียงลูกให้ดีที่สุด ด้วยสังคมไทยทุกวันน้ียังมองว่าหน้าที่การดูแลบ้านและเล้ียงดู ลกู เปน็ หนา้ ทีข่ องผู้หญิงเป็นหลกั ทำ� ใหผ้ ูห้ ญิงจึงมีภาระทห่ี นักทงั้ งานนอกบ้านและงานในบ้าน แมท่ ำ� งาน จ�ำนวนมากจงึ เกดิ ความเครียดและกดดัน ส�ำหรบั แมท่ ำ� งาน ถึงแม้จะยังมีรายได้ แตผ่ ูห้ ญิงหลายคนเลือก ทจ่ี ะเปลย่ี นสายอาชพี ทไ่ี มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชเ้ วลาและความพยายามมาก เพอื่ ใหย้ งั สามารถรกั ษาสมดลุ ในชวี ติ ได้ ผลทต่ี ามมา จึงเปน็ การสญู เสยี ศกั ยภาพในการท�ำงานของผ้หู ญิง และรายได้ทล่ี ดลง ยง่ิ ไปกวา่ นัน้ ผู้ หญิงบางคนเลือกออกจากงานท่ีมั่นคงมาท�ำงานท่ีไม่มีความแน่นอน แต่มีเวลาให้กับลูกและครอบครัวได้ มากขนึ้ เช่น งานขายของออนไลน์ ซงึ่ สรา้ งความเปราะบางทางความมน่ั คงทางรายไดใ้ นระยะยาว การมเี วลาใหล้ ูกอยา่ งเพียงพอ เป็นสงิ่ ท่ที กุ ครอบครวั ตอ้ งการในการเล้ยี งลกู ใหม้ คี ณุ ภาพ แต่ด้วยสภาวะ ทางเศรษฐกิจและสังคม การให้เวลาลูกอย่างเพียงพอตามต้องการมักหมายถึงการต้องเสียสละชีวิตด้าน การงานไม่ว่าทางใดก็ทางหนึ่ง สิ่งส�ำคัญที่งานวิจัยนี้ได้แสดงให้เห็นคือ การมีลูกน้ันท�ำให้เกิดต้นทุนต่อ ครอบครวั มากกวา่ เพยี งคา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี พม่ิ ขนึ้ แตย่ งั มตี น้ ทนุ ดา้ นคา่ เสยี โอกาสทางเศรษฐกจิ ตน้ ทนุ ดา้ นจติ ใจ และตน้ ทนุ ในด้านความสัมพนั ธใ์ นครวั เรอื นอกี ด้วย การตัดสนิ ใจของแม่ในเรื่องการทำ� งานมคี วามซบั ซอ้ น ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆมากมาย ทั้งปจั จัยระดบั มหภาคในด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่มีผลต่อการจ้างงาน นโยบายและ ลกั ษณะของงานทีท่ �ำ รวมทั้งสถานทต่ี ั้ง การเดินทาง ล้วนมอี ิทธิพลต่อการตัดสนิ ใจท้งั สน้ิ นอกจากนี้ ผู้ หญิงท่ีเป็นแม่แต่ละคนก็มีวิธีการในการปรับตัวกับบทบาทใหม่ที่มีได้แตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับลักษณะของ ครอบครวั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมาชกิ ในครอบครวั รวมทงั้ ตวั ผหู้ ญงิ ทเี่ ปน็ แมเ่ อง ทหี่ ากแมม่ รี ายไดด้ ี การ มที างเลือกในการหาคนมาช่วยดแู ลลกู หรอื หากไดร้ ับการสนับสนุนหรอื แบ่งเบาภาระในการดแู ลในบ้าน จากสมาชกิ ในครอบครวั การตดั สนิ ใจของแมก่ จ็ ะมอี สิ ระและทางเลอื กมากกวา่ แมท่ ไ่ี มส่ ามารถหาผมู้ าชว่ ย ดูแลลูกได้ การตัดสินใจในเรื่องการท�ำงานอาจขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่จ�ำเป็นมากกว่าเป็นทางเลือกท่ี ต้องการ ปัจจัยต่างๆเหล่าน้ีประกอบกันน�ำมาสู่การตัดสินใจอย่างใดอย่างหน่ึงของคนเป็นแม่ท่ีจะเลือก ระหวา่ งการเลีย้ งลกู เต็มเวลา หรอื ยงั คงทำ� งานอยู่แต่จัดสรรเวลาให้กับการเล้ียงลกู ใหเ้ หมาะสม ในด้านผลกระทบกเ็ ชน่ กัน การตัดสินใจในเรอ่ื งการทำ� งานของแม่สง่ ผลกระทบตอ่ ทั้งตัวแม่เอง ครอบครัว ทท่ี ำ� งานและสงั คมโดยสว่ นรวม ผลกระทบทช่ี ดั เจนทม่ี ตี อ่ ตวั แมน่ นั้ งานวจิ ยั หลายชน้ิ ชใี้ หเ้ หน็ วา่ แมท่ ต่ี ดั สนิ ใจลาออกจากงานเพอื่ มาเลยี้ งลกู เตม็ เวลานน้ั ในดา้ นหนง่ึ กม็ คี วามสขุ และภมู ใิ จทไี่ ดด้ แู ลลกู ดว้ ยตนเอง แต่ 164

อกี ด้านหนง่ึ กต็ อ้ งแลกกับความกา้ วหน้าในหน้าทก่ี ารงานและต้องขาดความเปน็ อสิ ระทางการเงิน เพราะ ต้องพ่ึงพารายได้จากสามีเป็นหลัก ส่วนแม่ท่ียังคงท�ำงานเต็มเวลา ก็ต้องบริหารจัดการเวลาให้ดีระหว่าง การดูแลลูก การท�ำงาน และการท�ำงานบ้าน ในขณะที่แม่ที่ปรับเปลี่ยนการท�ำงานให้ยืดหยุ่นมากข้ึน ดูเสมือนว่าเป็นทางเลือกที่ลงตัว แต่ในทางเป็นจริง ก็มีปัญหาไปอีกรูปแบบหนึ่ง ผลการตัดสินใจในการ ท�ำงานของแม่นอกจากจะมีผลต่อตัวเองแล้ว ก็ย่อมส่งผลกระทบต่อครอบครัวอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ในท่ี ทำ� งานกเ็ ชน่ กนั การตดั สนิ ใจของแมไ่ มว่ า่ จะเปน็ ไปในทศิ ทางใดกม็ ผี ลตอ่ ทท่ี ำ� งานนน้ั ไมว่ า่ จะเปน็ การขาด บคุ ลากร หากตดั สนิ ใจลาออกไป หรอื หากทำ� งานเตม็ เวลา แตป่ ระสทิ ธภิ าพในการทำ� งานอาจลดลง ความ พึงพอใจในการท�ำงานลดลง ซง่ึ สง่ ผลกระทบต่อไปยังระดบั ประเทศ ทง้ั ในดา้ นการพัฒนาเศรษฐกจิ และ สงั คม โดยเฉพาะเม่อื มองในมติ ดิ ้านการเล้ยี งดูลูกให้มคี ุณภาพ รวมท้ังปัจจัยทางสังคม การท�ำงานต่างๆ ที่ไม่เอื้อตอ่ การมีลูก อาจทำ� ให้ผู้หญิงหลายคนตดั สนิ ใจไมม่ ลี ูก หรอื ชะลอการมีลกู จนกวา่ จะพร้อม ซึ่งมี ผลตอ่ อตั ราเจรญิ พันธ์ุของประเทศ รูป 32 ปจั จัยและผลกระทบจากการตดั สินใจในการทำ�งานของผู้หญิงเมื่อมีลูก 165

นสมกู่อาอโยรนงบสปาราคัจา้ยจตงเบุ คพนัรื่ออบครวั : 166

กแลาระลเงาินคอลุดอหดนบนุ ตุ บรุต/ลราชว่ ยเหลือ ประเทศไทยมีนโยบายชว่ ยเหลือครอบครวั ทมี่ บี ุตร โดยใหส้ ทิ ธสิ ำ� หรับผู้ท่ที ำ� งานราชการ รฐั วิสาหกจิ และ ผทู้ ป่ี ระกอบอาชพี อสิ ระ โดยไดร้ บั สทิ ธติ ามเงอื่ นไขแตกตา่ งกนั ไป ซง่ึ โดยทว่ั ไปขณะนป้ี ระเทศไทยกำ� หนด สทิ ธลิ าคลอดไว้ท่ี 90 วัน ในขณะนี้ผ้ชู ายทร่ี ับราชการสามารถลาได้ 15 วนั ทำ� การเพื่อไปชว่ ยภรรยาดูแล ลกู หลังคลอด โดยไดร้ ับเงนิ เดอื นหากลาภายใน 30 วนั หลังคลอด และใหส้ ทิ ธเิ ฉพาะในกรณที ี่เปน็ ภรยิ าที่ ถกู ต้องตามกฎหมาย สำ� หรับภาคเอกชน ยังคงเป็นไปโดยสมัครใจ โดยภาพรวม การศึกษาเรื่องสวัสดิการของครอบครัว มุ่งไปท่ีเร่ืองสิทธิการลาคลอด และเงินช่วยเหลือ ครอบครัวท่ีมีบุตร โดยพบว่า ปัจจุบัน (ปี 2561) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ร่วมกับกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงสาธารณสุข จัดท�ำโครงการเงินอุดหนุนเพ่ือการเลี้ยงดูเด็กแรก เกิด โดยจ่ายเงินอุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิดในครอบครัวยากจนรายได้น้อยต้ังแต่แรกเกิด-1 ปี รายละ 400 บาท ตอ่ เน่ืองในปีงบประมาณ 2559 และเพม่ิ เงินอดุ หนนุ เปน็ รายละ 600 บาท ตอ่ เน่อื งใน ปงี บประมาณ 2560 โดยเด็กที่เกิดในปีงบประมาณ 2561 (ตงั้ แต่วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2560 ถงึ 30 กันยายน 2561) และมารดา บิดา หรอื ผ้ปู กครอง ทยี่ ืน่ ลงทะเบยี นขอรับสทิ ธเิ งินอุดหนุนเพอ่ื การเลย้ี งดูเดก็ แรกเกิด ภายในวนั ท่ี 30 กนั ยายน 2561 จะได้รบั เงนิ รายละ 600 บาท ตั้งแตเ่ ดือนที่เด็กเกิดจนเดก็ อายุครบ 3 ปี ท้งั น้ี รฐั บาลได้ปรับเกณฑก์ ารเข้ารับสทิ ธิ จากเดมิ ทีจ่ ำ� กดั เฉพาะครอบครวั ท่ีมีรายไดไ้ มเ่ กนิ 3,000 บาท ตอ่ คน /ตอ่ เดอื น หรอื ราว 36,000 บาทต่อคน/ ตอ่ ปี ปรบั เพิม่ เปน็ 100,000 ตอ่ คน/ต่อปี โดยขยายระยะ เวลาในการรบั สทิ ธเิ งนิ อดุ หนนุ แรกเกดิ ของบตุ รทจี่ ากเดมิ 3 ปี ใหเ้ พม่ิ ตอ่ เนอื่ งเปน็ 6 ปเี ตม็ เดก็ ทเ่ี กดิ ตง้ั แต่ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2558 ท่มี คี ณุ สมบัติตามกำ� หนดและไม่เคยรบั สทิ ธมิ ากอ่ น จะได้รบั สิทธติ ั้งแต่ปนี ้จี นอายุ ครบ 6 ปี ส่วนเด็กท่รี ับสิทธิในปี 2559 – 2561 ใหร้ ับตอ่ ไปจนอายคุ รบ 6 ปี ส�ำหรบั เดก็ ทเ่ี กิดในปี 2562 ให้รับสทิ ธิจนอายุครบ 6 ปี 167

นโยบายลดหย่อนภาษี ปจั จบุ นั มกี ารกำ� หนดสทิ ธปิ ระโยชน์ สำ� หรบั ผทู้ มี่ บี ตุ รอยใู่ นความดแู ล สามารถลดหยอ่ นภาษไี ดป้ ลี ะ 30,000 บาท ตอ่ คนตอ่ ปี โดยทงั้ พอ่ และแมม่ สี ทิ ธขิ อลดหยอ่ นภาษลี กู คนเดยี วกนั ไดท้ งั้ คู่ กรณเี ปน็ ลกู ทถี่ กู ตอ้ งตาม กฎหมายจะใช้สิทธิลดหย่อนบุตรกี่คนก็ได้เท่าจ�ำนวนบุตรจริง แต่หากเป็นบุตรบุญธรรมเพียงอย่างเดียว จะใชส้ ิทธิลดหย่อนบตุ รไดส้ ูงสุด 3 คน บุตรทีจ่ ะสามารถใช้ลดหยอ่ นภาษไี ด้ตอ้ งมีอายไุ ม่ถึง 20 ปีหรือยัง ไมบ่ รรลนุ ิตภิ าวะ อายุ 20-25 ปี หรอื บรรลนุ ติ ภิ าวะแลว้ แต่ต้องเรยี นอยู่ระดบั อนปุ ริญญา (ปวส.) หรอื ปริญญาตรีขึ้นไป หรืออายุเท่าไรก็ได้ แต่ต้องถูกศาลส่ังให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความ สามารถ (ศูนยส์ ารสนเทศสรรพากร, 2560) เพื่อกระตุ้นให้คนไทยมีบุตรเพ่ิมขึ้น กรมสรรพากร ได้เสนอร่างกฎหมายให้ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง พิจารณาเพม่ิ การลดหย่อนภาษบี ตุ รคนท่ีสองเปน็ 120,000 บาท จากเดิม 30,000 บาท โดยใหผ้ ู้ท่มี บี ุตร ต้งั แต่คนที่ 2 เป็นตน้ ไป สามารถหักลดหยอ่ นภาษีได้คนละ 120,000 บาท แบง่ เป็นลดหยอ่ นคา่ ใช้จา่ ยลูก คนที่ 2 จำ� นวน 60,000 บาท และลดหย่อนค่าใชจ้ า่ ยในการฝากครรภอ์ กี 60,000 บาท สว่ นบตุ รคนแรก จะยงั ลดหย่อนได้ตามเดมิ คอื 30,000 บาทต่อคนตอ่ ปี ส�ำหรับอัตราการลดหยอ่ นภาษสี �ำหรบั ผมู้ ีบุตรใน ปจั จบุ ันนัน้ กำ� หนดไว้ที่ 30,000 บาทต่อคนต่อปี โดยไมจ่ ำ� กดั จ�ำนวนบุตร และสามารถใช้สิทธิได้ทั้งสามี และภรรยา โดยคาดวา่ การเพ่ิมค่าลดหยอ่ นภาษีดังกล่าว จะสามารถประกาศใช้ได้ในปีภาษี 2561 หรอื ก็ คอื ในชว่ งการยน่ื แบบแสดงรายการเสยี ภาษี เดอื นมกราคม-มนี าคม 2562 (กรมสวสั ดกิ ารแรงงาน, 2561) 168

นโยบายการชว่ ยเหลอื แม่ ทพี่ าลูกไปเลย้ี งท่ีทำ� งาน มแี มจ่ ำ� นวนไมน่ อ้ ยทกี่ งั วลเมอ่ื ตอ้ งกลบั ไปทำ� งานหลงั จากครบกำ� หนดลาคลอด เนอ่ื งจากเมอื่ ไปทำ� งานการ ทล่ี กู จะไดด้ มื่ นมแมก่ อ็ าจมอี ปุ สรรค จากการสำ� รวจของสำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ปี 2555 พบวา่ แมค่ นไทย เลย้ี งลกู ด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน มเี พยี งรอ้ ยละ 12.3 ซึ่งเปน็ อตั ราทีต่ �่ำมาก สาเหตุส�ำคญั หน่งึ มาจาก ทแี่ มต่ อ้ งทำ� งานนอกบา้ น ในขณะทสี่ ภาพแวดลอ้ มในสถานทท่ี ำ� งานไมเ่ ออ้ื ตอ่ การบบี เกบ็ นำ้� นม หลายภาค ส่วนตระหนักในความส�ำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพราะมีความส�ำคัญต่อพัฒนาการของเด็กในทุก ดา้ น จึงมคี วามรว่ มมือท่จี ะสง่ เสริมการเลีย้ งลูกดว้ ยนมแมใ่ นที่ทำ� งาน โดยความร่วมมือของ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน และภาคี 5 หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ ศูนย์เทคโนโลยอี ิเล็กทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอร์แหง่ ชาติ สภาการพยาบาล องคก์ ารยูนิเซฟ ประเทศไทย สำ� นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิศนู ย์นมแมแ่ ห่งประเทศไทย เพ่ือสง่ เสรมิ ใหส้ ถานประกอบการมสี วสั ดกิ ารมมุ นมแม่ โดยมนี โยบายใหพ้ นกั งานหญงิ มเี วลาพกั เพอื่ บบี เกบ็ นำ�้ นม ได้ ซึ่งเป็นสวัสดิการส�ำคัญที่จะช่วยให้แม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างต่อเน่ือง โดยเม่ือปี 2559 มี บรษิ ัทท่เี ข้ารว่ มโครงการสรา้ งงานดี ชีวมี สี ุข ดว้ ยนมแม่ 17 แห่ง พนักงานใหข้ อ้ มูล 885 คน พบว่ามีอัตรา การเลีย้ งลูกด้วยนมแมอ่ ย่างเดียว 6 เดอื นสงู กวา่ ค่าเฉลยี่ ประเทศทีร่ อ้ ยละ 27.9 169

ศูนยเ์ ด็กเลก็ กระทรวงมหาดไทยซึ่งด�ำเนินงานโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้รับถ่ายโอนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มาจากหนว่ ยงานตา่ งๆ ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2545 ตามพระราชบญั ญตั ิการกระจายอำ� นาจ โดยปัจจุบันองคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิ่นมีศูนย์เดก็ เลก็ จำ� นวนเกอื บ 20,000 แห่ง จากการศกึ ษาของอรพรรณ บวั อ่นิ (2017) พบว่าสัดส่วนเด็กในภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือมีโอกาสเข้าเรียนในช้ันปฐมวัยสูงมากเกินกว่า รอ้ ยละ 90 สว่ นกรุงเทพมหานครมีสดั สว่ นน้อยที่สุด คือประมาณรอ้ ยละ 70 การได้เรียนในศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ อายุ 3-4 ปี อายุ 4 ปี 69.97 83.95 ภาค 77.00 86.62 กรุงเทพ 92.57 96.74 ภาคกลาง (ไม่รวมกรุงเทพ) 91.14 96.21 ภาคเหนือ 85.41 95.15 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ที่มา: อรพรรณ บัวอ่นิ (2017). การศกึ ษาปฐมวัยและพฒั นาการเด็กกอ่ นวัยเรยี น ในประเทศก�ำลังพัฒนา: หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์จากประเทศไทย. Development Economic Review Volume 11 No.1 (January 2017). 170

นอกจากการจัดศูนย์เด็กเล็กของภาครัฐแล้ว รัฐบาลยังมีนโยบายส่งเสริมการต้ังสถานเลี้ยงเด็กใน สถานประกอบการ เพื่อให้แม่ที่ต้องท�ำงานนอกบ้านสามารถน�ำบุตรไปเลี้ยงที่ท�ำงานได้ด้วย โดยเม่ือ วันท่ี 16 มกราคม พ.ศ. 2561 คณะรัฐมนตรีมมี ตเิ หน็ ชอบมาตรการภาษีในการส่งเสริมการจัดตงั้ ศูนยร์ ับ เลยี้ งเดก็ เพอื่ เปน็ สวสั ดกิ ารของลกู จา้ งสำ� หรบั สถานประกอบกจิ การของบรษิ ทั หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คล ซึ่งก�ำหนดให้บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีมีค่าใช้จ่ายการจัดต้ังศูนย์รับเลี้ยงเด็กในสถานประกอบ การสามารถนำ� คา่ ใช้จา่ ยดงั กลา่ วมาหักเป็นรายจ่ายไดต้ ามทจ่ี ่ายจริง และสามารถหกั ได้เพิ่มข้ึนอีก 1 เทา่ ตามทจี่ า่ ยจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ 1 ลา้ นบาท ซง่ึ ใชไ้ ดก้ บั คา่ ใชจ้ า่ ยทไ่ี ดจ้ า่ ยในรอบระยะเวลาบญั ชที เ่ี รม่ิ ในหรอื หลงั วนั ท่ี 1 มกราคม 2561 ถงึ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2563 ซึง่ นบั เป็นการกระตุ้นใหภ้ าคเอกชน สรา้ งสถานเลย้ี ง เดก็ มากขนึ้ โดยรเิ ริม่ โครงการตงั้ แต่ปี 2547 กระท่ังปัจจบุ นั มสี ถานประกอบกจิ การท่ีจัดตงั้ ศูนยเ์ ลีย้ งเด็ก แลว้ 60 แห่ง เดก็ ไดร้ บั การเล้ียงดู 1,258 คน โดยกรมสวสั ดกิ ารและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน เป็นหน่วยงานหลักและบูรณาการความร่วมมือกับกระทรวง กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข มาตรการต่างๆ ท่ีกล่าวข้างต้น แม้จะช่วยสนับสนุนครอบครัวท่ีมีบุตร ให้มีทางเลือกในการดูแลบุตร โดยไม่จ�ำเป็นต้องเลือกออกจากงานได้อยู่บ้าง แต่แม้ว่าจะมีมาตรการใดออกมา ก็ใช่จะสามารถกระตุ้น ความต้องการมีบตุ รเพ่ิมขึน้ ได้ อยา่ งไรก็ตาม มาตรการเหลา่ นี้ ก็มีส่วนช่วยให้ผหู้ ญงิ ทม่ี ีบุตรสามารถเลอื ก ที่จะไม่ต้องออกจากภาคแรงงาน ยังคงมีความม่ันคงทางรายได้ และเป็นก�ำลังส�ำคัญของครอบครัว ซงึ่ จะชว่ ยลดผลกระทบตอ่ ผหู้ ญงิ เองในหลายดา้ น นอกจากน้ี มาตรการหรอื นโยบายใดกต็ าม ควรใหค้ วาม ส�ำคัญกับการยกระดับคุณภาพในการเล้ียงดูบุตรของครอบครัว เช่น หากจะต้ังศูนย์เลี้ยงเด็ก ก็ควรมี มาตรฐานในดา้ นความปลอดภยั คณุ ภาพผดู้ แู ล และการสง่ เสรมิ พฒั นาการ เปน็ ตน้ เพอ่ื ใหส้ ามารถพฒั นา ประชากรทม่ี อี ยู่ใหม้ คี ณุ ภาพย่ิงขึ้น โดยไมเ่ ปน็ การผลักภาระไปให้ครอบครวั ต้องรบั ผิดชอบเพยี งลำ� พัง 171

การมีประชากรที่มีคณุ ภาพ จะก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ โดยรวม อย่างไรกต็ าม ภาระต้นทุน ในการสร้างประชากรให้มีคุณภาพ ตกอยู่ทีค่ รอบครัวเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะกบั ผู้หญิงทีต่ ้องแบกรบั ต้นทุนนี้ ด้วยการต้องเสียสละ โอกาส ความก้าวหน้า และความมั่นคงในชีวิต ดังนั้นนอกเหนือจากมาตรการที่มีอยู่ บทบาทของรฐั และหน่วยงานต่างๆ สามารถช่วยเหลือแบ่งเบาภาระที่เกิดขึ้น กับครอบครัวทีม่ ีบตุ ร ผ่านตวั อย่าง แนวนโยบายต่างๆ ดังนี้ 172

1 เพม่ิ มาตรการความยดื หยนุ่ ในการทำ� งานของผมู้ บี ตุ ร 2 เพื่อให้แม่มีโอกาสกลับเข้าท�ำงานได้มากขึ้น โดย สามารถเลอื กชวั่ โมงการทำ� งานทเ่ี หมาะสมกบั ตนเอง พิจารณาปรับวันลาคลอดของแม่ท้ังภาครัฐและ และสามารถจัดสมดุลระหว่างบทบาทในการเลี้ยงดู เอกชน จาก 90 วนั เปน็ 180 วนั เพอ่ื ให้แมเ่ ลี้ยงลกู ลูกและครอบครัวและบทบาทในการท�ำงาน โดย ด้วยนมแม่ 6 เดือน การขยายวันลาคลอดต้อง เฉพาะในชว่ งทล่ี กู ยงั ตอ้ งการการดแู ลใกลช้ ดิ เชน่ การ พิจารณาความเป็นไปได้ทางการเงินในเรื่องการจ่าย มชี ว่ั โมงการทำ� งานทสี่ น้ั ลงและมเี วลาแนน่ อน มคี วาม คา่ จา้ ง โดยจากตัวอย่างนโยบายของตา่ งประเทศ มี ยืดหยุ่นตามความจ�ำเป็น และมีการเดินทางน้อยลง ความหลากหลายระหว่างช่วงเวลาของการลาคลอด ทั้งนี้เพ่ือเป็นทางเลือกในการท�ำงานให้กับครอบครัว กับระยะเวลาของการได้รับค่าจ้าง และสัดส่วนของ ท่ีมีบุตรมากข้ึน ส�ำหรับประเทศไทยงานไม่เต็มเวลา ค่าจ้างท่ีได้รับเทียบกับรายได้ปกติ ซึ่งต้องการการ (part-time) ที่มีความม่ันคงยังมีน้อย ครอบครัวที่ ศึกษาในรายละเอียดเพิ่มเติมเพ่ือความเป็นไปได้ใน เลือกงานที่มีเวลายืดหยุ่นมักต้องแลกกับความม่ันคง ทางปฏบิ ตั ิ ทางการเงนิ 173

3 สง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มระหวา่ งชายหญงิ ดงั จะเหน็ ได้ 4 วา่ ค่สู มรสมอี ิทธพิ ลอยา่ งมากตอ่ การตัดสนิ ใจในการ ปรับเปลี่ยนการท�ำงานและการดูแลครอบครัว โดย ลงทุนในศูนย์ดูแลเด็กเล็กที่มีคุณภาพ ให้มีความทั่ว เฉพาะหน้าท่ีในครัวเรือน การส่งเสริมบทบาทผู้ชาย ถึงโดยเฉพาะในเมืองท่ีเป็นครอบครัวเด่ียวขาดคน ในการเลยี้ งดลู กู มากขนึ้ ผา่ นมาตรการ เชน่ การทำ� ให้ ช่วยเล้ียงดู โดยมุ่งเน้นความส�ำคัญในด้านคุณภาพ วันลาส�ำหรับผู้ชายเพื่อดูแลลูกหลังคลอดเป็นสิทธิ และความสามารถในการเข้าถึงบริการเหล่าน้ี โดย พื้นฐานของทุกครอบครัว จะเป็นการส่งสัญญาณให้ เฉพาะสำ� หรบั กลมุ่ ครอบครวั รายไดต้ ำ่� -ปานกลาง การ สังคมเห็นถึงบทบาทและความรับผิดชอบของผู้ชาย ไมม่ ที างเลอื กของตวั ชว่ ยในการเลยี้ งดบู ตุ รทพ่ี อ่ แมไ่ ว้ ในการเล้ียงดูบุตรเฉกเช่นเดียวกับผู้หญิง โดยให้คน วางใจ ในราคาทส่ี มเหตสุ มผล เปน็ สาเหตสุ �ำคญั ที่แม่ ท�ำงานในภาคเอกชนผู้ชายมีสิทธิลาได้เช่นเดียวกับ หลายคนจำ� เปน็ ตอ้ งออกจากงาน จงึ ควรสนบั สนนุ ให้ ภาครัฐ โดยสิทธิการลาควรให้กับผู้ชาย ไม่สามารถ สถานประกอบการมีศูนย์เด็กเลก็ มากข้ึน โอนสิทธิได้ เพ่ือสนับสนุนให้พ่อได้มีบทบาทในการ เลยี้ งดลู กู มากขน้ึ นอกจากน้ี ควรทบทวนเงอ่ื นไขการ ลาว่าเฉพาะภรรยาท่ีจดทะเบียน เน่ืองจากการ ตั้งครอบครัวในปัจจุบันมีแนวโน้มมากขึ้นท่ีแต่งงาน โดยไม่จดทะเบียน ดังนั้น ควรปรับเง่ือนไขให้ลาได้ กบั พอ่ ทถ่ี ูกตอ้ งตามกฎหมายด้วย 174

5 สนับสนุนหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนในการรับ 6 ผู้ท่ีออกจากงานเน่ืองจากการมีบุตรกลับเข้าสู่ตลาด แรงงาน อนั รวมถึงการมีระยะวันลาทเี่ หมาะสมท่จี ะ สนับสนุนหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในการ ช่วยป้องกันไม่ให้ผู้มีบุตรต้องออกจากตลาดแรงงาน อำ� นวยสถานทใ่ี หแ้ มล่ กู ออ่ นทก่ี ลบั ไปทำ� งาน เชน่ การ ตง้ั แตต่ น้ และการปรบั แรงจงู ใจสำ� หรบั ภาคเอกชนใน มหี อ้ งสำ� หรบั ปม๊ั นมทถี่ กู ตอ้ งตามสขุ ลกั ษณะ เพอื่ เพม่ิ การรับผู้ท่ีออกไปเลี้ยงลูกผ่านมาตรการต่างๆ เช่น อตั ราการกนิ นมแมข่ องเดก็ ไทย โดยเพม่ิ ประเภทของ การลดหย่อนภาษี สวัสดิการในกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดสวัสดิการใน สถานประกอบการ (2548) ใหม้ สี ถานทใ่ี หน้ มหรอื ปม๊ั นมทเี่ หมาะสมด้วย 175

แม้ผลการวิจยั อาจสรุปได้ว่า ราคาของการมีบตุ ร ของครอบครัวไทยในปจั จบุ นั จะอยู่ในระดบั ทีส่ งู ​ โดยเฉพาะเมื่อผู้หญิงจำ�เปน็ ต้องเลือกระหว่าง การทำ�งานหรือการเลี้ยงลกู ที่มีคณุ ภาพ​ การตัดสินใจเช่นนี้​ไม่ว่าจะเลือกทางใด​ ก็ส่งผลกระทบต่อทั้งตัวผู้หญิงเอง​ลูก​ครอบครวั ​ และสงั คมไทยโดยรวมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เราเชื่อว่า​ราคาของการมีลูกในอนาคต​ จะลดลงได้หากได้รับการสนับสนนุ จาก ภาคส่วนต่าง​ๆ​โดยเฉพาะในด้านนโยบาย และการปฏิบัติที่เปิดโอกาสให้ครอบครัว มีทางเลือกในการเลี้ยงดบู ุตรที่มีคุณภาพและ หลากหลาย​มากขึ้น​รวมถึงลดผลกระทบ ที่เกีย่ วข้องกบั การทำ�งานของครอบครวั ทีม่ ีบุตร​ ซึง่ จะส่งผลให้ครอบครวั และสงั คมไทย ในอนาคตเป็นสังคมที่มีคณุ ภาพขึ้นได้ 176



บรรณานกุ รม Angrist, J. D., & Evans, W. N. (1998). Children and their parents’ labor supply: Evidence from exogenous variation in family size. The American Economic Review, 88(3), 450-477. Baker, M., & Milligan, K. (2015). Maternity leave and children’s cognitive and behavioral development. Journal of Population Economics, 28(2), 373-391. Becker, G. S. (1991). A treatise on the family. Harvard University Press. Becker, G. S., & Tomes, N. (1976). Child Endowments and the Quantity and Quality of Children. Journal of Political Economy, 84(4, Part 2), S143–S162. https://doi.org/10.1086/260536 Bernardi, L. (2003). Channels of social influence on reproduction. Population Research and Policy Review, 22(5/6), 527-555. Bright Horizons Family Solutions. (2017). The modern families index 2017. London: Cambridge House. Bloom, D. E., Canning, D., Fink, G., & Finlay, J. E. (2009). Fertility, female labor force participation, and the demographic dividend. Journal of Economic Growth, 14(2), 79-101. Boeckmann, I., Misra, J., & Budig, M. J. (2014). Cultural and institutional factors shaping mothers’ employment and working hours in postindustrial countries. Social Forces, 93(4), 1301-1333. Budig, M. J., & England, P. (2001). The wage penalty for motherhood. American Sociological Review, 66(2),, 204-225. Budig, M. J., & Hodges, M. J. (2014). Statistical models and empirical evidence for differences in the motherhood penalty across the earnings distribution. American Sociological Review, 79(2), 358-364. Buttrose, I. (2006). Mother guilt: Australian women reveal their true feelings about motherhood. Viking. Calhoun, C. A., & Espenshade, T. J. (1988). Childbearing and wives’ foregone earnings. Population Studies, 42(1), 5-37. Cancian, M., & Reed, D. (2008). Family structure, childbearing, and parental employment: Implications for the level and trend in poverty. University of Wisconsin-Madison, Institute for Research on Poverty. Chae, J. (2015). “Am I a better mother than you?” Media and 21st-century motherhood in the context of the social comparison theory. Communication Research, 42(4), 503-525. Chung, H. & Van der Horst, M. (2018) Women’s employment patterns after childbirth and the perceived access to and use of flexitime and teleworking. Human Relations, 71(1), 47-72. Connolly, S., & Gregory, M. (2010). Dual tracks: part-time work in life-cycle employment for British women. Journal of Population Economics, 23(3), 907-931. Cusworth, L. (2009). The impact of parental employment: Young people, well-being and educational achievement. Routledge. Del Boca, D. (2002). The effect of child care and part time opportunities on participation and fertility decisions in Italy. Journal of Population Economics, 15(3), 549-573. Drentea, P., & Moren-Cross, J. L. (2005). Social capital and social support on the web: the case of an internet mother site. Sociology of Health & Illness, 27(7), 920-943. 178

Ermisch, J., & Francesconi, M. (2001). Family Matters: Impacts of Family Background on Educational Attainments. Economica, 68(270), 137–156. Fitzenberger, B., Sommerfeld, K., & Steffes, S. (2013). Causal effects on employment after first birth: A dynamic treatment approach. Labour Economics, 25, 49-62. Fortin, N. M. (2005). Gender role attitudes and the labour-market outcomes of women across OECD countries. Oxford Review of Economic Policy, 21(3), 416-438. Gangl, M., & Ziefle, A. (2009). Motherhood, labor force behavior, and women’s careers: An empirical assessment of the wage penalty for motherhood in Britain, Germany, and the United States. Demography, 46(2), 341-369. Glass, J., & Riley, L. (1998). Family Responsive Policies and Employee Retention Following Childbirth. Social Forces, 76(4), 1401-35. Goldin, C. (1995). The U-shaped female labor force function in economic development and economic history (No. w4707). National Bureau of Economic Research. Greenhaus, J. H., & Beutell, N. J. (1985). Sources of Conflict Between Work and Family Roles. Academy of Management Review, 10(1), 76–88. Greenhaus, J. H., & Powell, G. N. (2006). When Work And Family Are Allies: A Theory Of Work-Family Enrichment. Academy of Management Review, 31(1), 72–92. Gregg, P., & Washbrook, E. (2003). The effects of early maternal employment on child development in the UK. Bristol, UK: The Centre for Market and Public Organisation. Retrieved from https://ideas.repec.org/p/bri/cmpowp/03-070. html Gutierrez-Domenech, M. (2005). Employment transitions after motherhood in Spain. Labour, 19(Special Issue), 123–148 (2005). Hadzic, R., Magee, C. A., & Robinson, L. (2013). Parental employment and child behaviors: Do parenting practices underlie these relationships? International Journal of Behavioral Development, 37(4),332–339. Hashimoto, N., & Hashimoto, H. (2016). The Association Between Maternal Employment and Prevalence of Asthma in Children. Pediatric Allergy, Immunoloty, and Pulmonology, 29(3), 143-148. Hipple, S. F. (2016, September). Labor force participation: what has happened since the peak? Monthly Labor Review. Washington, DC: U.S. Bureau of Labor Statistics. Hope, S., Pearce, A., Whitehead, M., & Law, C. (2015). Parental employment during early childhood and overweight at 7-years: findings from the UK Millennium Cohort Study. BMC Obesity, 2(1), 33. https://doi.org/10.1186/ s40608-015-0065-1 Horton, S. (1996). Women and industrialization in Asia. New York: Routledge. Hundley, G. (2000). Male/female earnings differences in self-employment: The effects of marriage, children, and the household division of labor. ILR Review, 54(1), 95-114. International Labour Organization. (2017). Towards a better future for women and work: Voices of women and men. Retrieved from http://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/@dgreports/@dcomm/@publ/documents/publication/ wcms_546256.pdf Johnson, S., Li, J., Kendall, G., Strazdins, L., & Jacoby, P. (2013). Mothers’ and fathers’ work hours, child gender, and behavior in middle childhood. Journal of Marriage and Family, 75(1), 56-74. Kahn, J. R., García-Manglano, J., & Bianchi, S. M. (2014). The motherhood penalty at midlife: long-term effects of children on women’s careers. Journal of Marriage and Family, 76(1), 56-72. 179

Li, J., Johnson, S. E., Han, W.-J., Andrews, S., Kendall, G., Strazdins, L., & Dockery, A. (2014). Parents’ nonstandard work schedules and child well-being: A critical review of the literature. The Journal of Primary Prevention, 35(1), 53–73. Logsdon, M. C., Mittelberg, M., & Myers, J. (2015). Use of social media and internet to obtain health information by rural adolescent mothers. Applied Nursing Research, 28(1), 55-56. Lundberg, S., & Rose, E. (2000). Parenthood and the earnings of married men and women. Labour Economics, 7(6), 689-710. Ma, L. (2014). Economic crisis and women’s labor force return after childbirth: Evidence from South Korea. Demographic Research, 31, 511-552. Mammen, K., & Paxson, C. (2000). Women’s work and economic development. Journal of Economic Perspectives, 14(4), 141-164. Matysiak, A., & Vignoli, D. (2013). Diverse effects of women’s employment on fertility: Insights from Italy and Poland. European Journal of Population/Revue européenne de Démographie, 29(3), 273-302. McDaniel, B. T., Coyne, S. M., & Holmes, E. K. (2012). New mothers and media use: Associations between blogging, social networking, and maternal well-being. Maternal and child health journal, 16(7), 1509-1517. McGinn, K. L., Ruiz Castro, M., & Lingo, E. L. (2015). Mums the word! Cross-national effects of maternal employment on gender inequalities at work and at home. Retrieved from https://www.med.uni-muenchen.de/einrichtungen/ fb_mentoring/_dateien/kinder-berufstaetige-frauen.pdf Miller, D., Costa, D. E., Haynes, N., McDonald, T., Nicolesu, R., Sinanan, J., Spyer, J., Venkatraman, S., & Wang, X. (2016). How the world changed social media. London: UCL Press. Mincer, J. (1962). Labor force participation of married women: A study of labor supply. In Aspects of labor economics (pp. 63-105). Princeton University Press. Morrissey, T. W. (2013). Trajectories of growth in body mass index across childhood: Associations with maternal and paternal employment. Social Science & Medicine, 95, 60–68. Mosca, I., O’sullivan, V., & Wright, R. E. (2017). Economics Working Paper Series Maternal Employment and Child Outcomes: Evidence from the Irish Marriage Bar. Retrieved from http://www.lancaster.ac.uk/lums/ Nagase, N. (2018). Has Abe’s Womanomics worked? Asian Economic Policy Review, 13, 68–101. O’Brien, M., & Jones, D. (1999). Children, parental employment and educational attainment: an English case study. Cambridge Journal of Economics, 23(5), 599–621. Okimoto, T. G., & Heilman, M. E. (2012). The “bad parent” assumption: How gender stereotypes affect reactions to working mothers. Journal of Social Issues, 68(4), 704-724. Parcel, T. L., & Menaghan, E. G. (1994). Parents’ Jobs and Children’s Lives. New York: Aldine De Gruyter. Parker, K. (2015). Women more than men adjust their careers for family life. Retrieved from https://www.pewresearch. org/fact-tank/2015/10/01/women-more-than-men-adjust-their-careers-for-family-life/. Percheski, C. (2008). Opting out? Cohort differences in professional women’s employment rates from 1960 to 2005. American Sociological Review, 73(3), 497-517. Pew Reasearch Center. (2015, November 4). Raising Kids and Running a Household: How Working Parents Share the Load. Retrieved from https://www.pewsocialtrends.org/2015/11/04raising-kids-and-running-a-household-how- working-parents-share-the-load/ 180

Rønsen, M., & Sundström, M. (2002). Family policy and after-birth employment among new mothers–A comparison of Finland, Norway and Sweden. European Journal of Population/Revue europeenne de demographie, 18(2), 121-152. Rossin-Slater, M., Ruhm, C. J., & Waldfogel, J. (2013). The effects of California’s paid family leave program on mothers’ leave-taking and subsequent labor market outcomes. Journal of Policy Analysis and Management, 32(2), 224-245. Rostgaard, T. (2014, May 24). Family policies in Scandinavia. Retrieved from http://vbn.aau.dk/files/216735568/ Rostgaard_Family_policies_in_Scandinavia.pdf Ruhm, C. J. (2011). Policies to assist parents with young children. Future Child, 21(2): 37–68. Schönberg, U., & Ludsteck, J. (2014). Expansions in maternity leave coverage and mothers’ labor market outcomes after childbirth. Journal of Labor Economics, 32(3), 469-505. Shafer, E. F. (2011). Wives’ relative wages, husbands’ paid work hours, and wives’ labor-force exit. Journal of Marriage and family, 73(1), 250-263. Spiess, C. K., & Wrohlich, K. (2008). The parental leave benefit reform in Germany: costs and labour market outcomes of moving towards the Nordic model. Population Research and Policy Review, 27(5), 575. Thornton, A., Alwin, D. F., & Camburn, D. (1983). Causes and consequences of sex-role attitudes and attitude change. American Sociological Review, 211-227. Ueda A. (2008). Dynamic model of childbearing and labor force participation of married women: Empirical evidence from Korea and Japan. Journal of Asian Economics, 19, 170–180. Vella, F. (1994). Gender roles and human capital investment: The relationship between traditional attitudes and female labour market performance. Economica, 61(242), 191-211. Wills, J. B., & Brauer, J. R. (2012). Have children adapted to their mothers working, or was adaptation unnecessary? Cohort effects and the relationship between maternal employment and child well-being. Social Science Research, 41(2), 425-443. คาสปาร์ พีค, วาสนา อิ่มเอม และ รัตนาภรณ์ ตงั ธนเศรษฐ.์ (2558). รายงานสถานการณ์ประชากรไทย พ.ศ. 2558 โฉมหน้าครอบครวั ไทยยุค เกิดน้อย อายุยืน. กรงุ เทพ: กองทนุ ประชากรแห่งสหประชาชาตปิ ระจ�ำประเทศไทย. เจษฎา เงินดี และ ปยิ ะลักษณ์ พุทธวงศ.์ (2556). การตดั สนิ ใจเข้ารว่ มการทำ� งาน รายได้ และจำ� นวนชั่วโมงการท�ำงานของแรงงานไทย. CMU Journal of Economics, 17(1). กระทรวงแรงงาน. (2561). ศูนย์เลยี้ งเด็ก, 20 พฤษภาคม 2561. เข้าถึงจาก http://www.mol.go.th/employee/center_children กรมสวสั ดิการแรงงาน. (2561). การส่งเสริมการจดั ตง้ั ศนู ย์เลีย้ งเด็กในสถานประกอบกจิ การ, 20 พฤษภาคม 2561. เขา้ ถงึ จาก http:// welfare.labour.go.th/index.php/2014-08-25-08-53-01/23-2014-09-05-08-44-07 พรนภา ต้งั สขุ สันต์ และ เอมพร รตินธร. (2011). ประสบการณแ์ ละปจั จยั เชิงบริบททเ่ี ก่ียวกบั การเลย้ี งลูกดว้ ยนมแม่อยา่ งเดียวในมารดาที่ ท�ำงานนอกบ้านเตม็ เวลา. Journal of Nursing Science, 29(3). ส�ำนักงานสถติ ิแหง่ ชาติ. (2560). การสํารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2560. กรงุ เทพมหานคร: กองสถิตพิ ยากรณ.์ ศูนยส์ ารสนเทศสรรพากร. (2560). ร้อยเรือ่ งลดหย่อนปภี าษี 2560, 21 พฤษภาคม 2561. เข้าถงึ จาก http://www.rd.go.th/ publish/60053.0.html อรพรรณ บวั อิน่ . (2017). การศกึ ษาปฐมวยั และพฒั นาการเด็กก่อนวัยเรยี น ในประเทศกำ� ลงั พัฒนา: หลักฐานเชิงประจักษ์จากประเทศไทย. พัฒนาการเศรษฐกิจปริทรรศน,์ 11(1), 73-107. 181

ดชั นี Annualized hours, 153 การเกษตร, 135 British Household Panel Survey, 148 การเงนิ , 17, 21, 29, 37, 38, 48, 62, 70, 72, 74, 86, Children and Families Act 2014, 153 96, 99, 100, 102, 139, 141, 146, 161, 162, 165, Compressed hours, 153 167, 173 Job sharing, 153 คา่ ใช้จา่ ย, 17, 19, 22, 60, 62, 74, 79, 88, 89, 93, 94, OECD, 136, 155 96, 100, 108, 110, 139, 155, 164, 168, 171 Role accumulation theory, 148 ระดบั รายได้, 20, 151, 153, 154, 156, 158, 160, 161 Term-time working, 153 รายได้, iv, 3, 4, 5, 6, 16, 17, 19, 22, 26, 29, 33, 35, time banking, 153 37, 45, 47, 51, 60, 62, 66, 74, 86, 88, 90, 91, 92, Time off in lieu, 153 93, 99, 100, 102, 104, 106, 108, 109, 115, 116, Varied-hours working. See Time banking 120, 124, 136, 139, 141, 144, 145, 147, 149, 151, VOSViewer, 23 152, 161, 162, 163, 164, 165, 167, 171, 173, 174 Word Embedding, 13, 23 รายได้ของครอบครวั , 109 เฟซบ๊กุ , i, ii, 12, 15, 27, 29, 35, 38, 41, 43, 47, 51, การเดนิ ทาง, 5, 21, 22, 45, 82, 164, 173 53, 62, 64, 70, 72, 80, 82, 84, 86, 87, 89, 90, 93, การจดั สรรเวลา, 5, 155 100, 102, 103, 108, 117, 118, 124, 125, 127, 129, การตัดสนิ ใจมบี ุตร, 3 131 การมบี ตุ ร, iii, 9, 2, 3, 5, 6, 7, 10, 14, 15, 21, 112, แม่เตม็ เวลา, iv, 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20, 21, 22, 116, 136, 137, 142, 143, 144, 145, 149, 171, 175, 24, 27, 29, 31, 35, 38, 39, 41, 43, 45, 47, 48, 51, 176 52, 53, 55, 85, 86, 87, 88, 89, 90, 91, 92, 93, 94, การอปุ โภคบรโิ ภคของครัวเรือน, 4 95, 96, 97, 98, 100,101, 102, 103, 104, 105, 106, คนชว่ ยเลยี้ ง, 47, 90, 91, 150, 117, 163, 174 131, 161, 162, 163 ผชู้ ่วยเลี้ยงดูบตุ ร, 21, 56, 79 แม่บ้าน, 5, 6, 17, 19, 33, 35, 38, 47, 98, 104, 124, ความคดิ เห็นของคู่สมรส. See อทิ ธพิ ลของค่คู รอง 136 ความคดิ เหน็ ของคสู่ มรส, 91, 120 แมฟ่ ูลไทม.์ See แม่เตม็ เวลา อิทธพิ ลของค่คู รอง, 17, 22, 26 โอกาสทางการศกึ ษา, 135, 146, 147 ความรสู้ ึก, ii, iii, iv, 3, 5, 10, 13, 16, 18, 21, 22, 24, กรมสรรพากร, 168 31, 39, 45, 47, 48, 53, 56, 60, 62, 64, 74, 91, 93, กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ , 169 94, 96, 97, 98, 102, 122, 125, 126, 128, 131, 136, กระทรวงมหาดไทย, 167, 170, 171 161, 162 182

เครียด, ii, 18, 19, 22, 39, 42, 43, 47, 51, 62, 66, 88, ผ้ชู ่วยเลย้ี งดูบุตร, 21, 56, 79 89, 93, 94, 95, 96, 98, 110, 113, 123, 147, 164 พเี่ ลย้ี ง, 21, 22, 55, 62, 74, 79, 87, 89, 90, 100, 114, เหนอ่ื ย, 18, 19, 22, 31, 33, 35, 37, 39, 41, 43, 45, 120 47, 52, 53, 55, 60, 62, 64, 66, 68, 70, 74, 82, 93, สถานรบั เลยี้ งเด็ก, 89 97, 101, 114, 122, 123, 124, 125, 126, 127, 129, พ่อเต็มเวลา, 15, 37 131, 151 พนั ทิป, ii, 12, 15, 27, 29, 31, 35, 37, 41, 43, 45, 47, ความสขุ , v, 18, 19, 22, 27, 29, 31, 33, 38, 39, 45, 52, 55, 64, 66, 68, 72, 79, 86, 87, 88, 89, 91, 94, 47, 51, 53, 55, 72, 80, 86, 93, 95, 101, 102, 127, 95, 96, 97, 98, 99, 100, 101, 104, 105, 106, 108, 131, 151, 162, 164 110, 111, 112, 116, 119, 124, 126, 130 ความสัมพันธ์ในครอบครวั , ii, 74, 142, ลาคลอด, iv, 7, 22, 62, 137, 138, 150, 154, 155, คคู่ รอง, 16, 17, 20, 22, 24, 26, 48, 56, 58, 68, 72, 167, 169, 173 161 ศนู ย์เทคโนโลยอี ิเล็กทรอนิกสแ์ ละคอมพิวเตอร์ ภรรยา, 15, 17, 19, 20, 22, 26, 31, 32, 37, 58, 61, แหง่ ชาติ, 169 74, 91, 92, 96, 119, 136, 147, 151, 167, 168, 174 สภาการพยาบาล, 169 สาม,ี 6, 15, 17, 19, 20, 22, 26, 27, 28, 29, 30, 31, สัมภาษณ์, ii, iii, iv, 7, 10, 13, 85, 86, 89, 93, 101, 37, 38, 41, 43, 47, 51, 55, 58, 59, 62, 64, 66, 68, 105, 106, 108, 109, 113, 114, 115, 116, 118, 120, 70, 72, 74, 79, 82, 87, 89, 91, 92, 94, 95, 96, 97, 121, 123, 128, 129, 130, 131, 161 98, 99, 100, 102, 104, 106, 108, 109, 116, 119, ส�ำนกั งานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ 124, 126, 127, 129, 136, 140, 147, 162, 163, 165, (สสส.), 169 168 สทิ ธล์ิ าคลอด, 7 ชสู้ าว, 27, 30, 62, 74 องคก์ ารยูนเิ ซฟ ประเทศไทย, 169 ต้นทนุ ทางสงั คม, ii, 146, 147, 148 อายุบตุ ร, 141 ทฤษฎอี ุปสงคใ์ นการพกั ผ่อน, 4, 5 อิทธพิ ลของคู่ครอง, 17, 22, 26 ประเทศ เดนมารก์ , 150,151, 152, 154 นอรเ์ วย์, 137, 150, 151, 152 ฝรัง่ เศส, 150, 152 ฟินแลนด์, 137, 150, 152, 154 สเปน, 143, 150, 151, 152 สวเี ดน, 137, 150, 151, 152 183


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook