ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 89 ผญาคำสอน : ให้รจู้ กั ขยันหมน่ั เพียรอดทน เรือไหลแล้ว ขอนสยิ ังค้างทา่ ไฟไหมป้ ่าไม้ ดอนน้อยหากสยิ งั ใหค้ อ่ ยอดเพียรล้ำ ยงั สไิ ดค้ า่ คำ ดอกนา [เฮอื ไหลแลว่ ขอนสยิ งั ค่างทา่ ไฟไหม่ป่าไม่ ดอนนอ่ ยหากสิยัง ไห่คอ่ ยอดเพยี นลำ่ ยงั สไิ ดค้ ่าคำ ดอกนา] ผญาทว่ี า่ เรือไหลแล้ว ขอนสยิ ังคา้ งท่า [เฮือไหลแลว่ ขอนสยิ งั คา่ งทา่ ] หมายความวา่ ถึงแมเ้ รือจะไหลไปตามน้ำแลว้ แต่กย็ งั มขี อนไมค้ า้ งอยทู่ ่ีท่าน้ำ ไมไ่ ดไ้ หลไปตามกระแสน้ำ ผญาที่ว่า ไฟไหม้ป่าไม้ ดอนน้อยหากสิยัง [ไฟไหม่ป่าไม่ ดอนน่อย หากสิยัง] หมายความว่า ป่าไม้ในภาคอีสานตามลักษณะทางภูมิศาสตร์โดย ทั่วไป จะมีต้นไม้นานาพรรณ ท้ังต้นไม้ใหญ่และเล็กขึ้นปะปนกัน เมื่อเกิด ไฟไหม้ขึ้นเมื่อใด เปลวไฟจะลุกลามไปตามต้นไม้ แต่จะมีบางแห่งท่ีไฟไหม้ไป ไมถ่ งึ หรือไหมไ้ มห่ มด ดอน โดยทั่วไปหมายถึง เนินสูง แต่ ดอนน้อย [ดอนน่อย] ในทีน่ ้ี หมายถึง บริเวณท่มี ตี น้ ไม้ที่ไฟไหม้ไม่ถึงหรือไหม้ไมห่ มด ผญาท่วี ่า ให้ค่อยอดเพียรล้ำ ยังสไิ ดค้ ่าคำ ดอกนา [ไหค่ ่อยอดเพียนล่ำ ยังสิได้ค่าคำ ดอกนา] หมายความว่า ให้ค่อย ๆ อดทนขยันหมั่นเพียรต่อไป ไมล่ ดละก็จะมที รัพย์สนิ เงินทองไดใ้ นทสี่ ดุ คำ หมายถงึ ทองคำ หรือทรัพยส์ ินเงนิ ทองของมคี ่า ดังนนั้ คำผญาทวี่ ่า เรือไหลแลว้ ขอนสิยังคา้ งท่า ไฟไหม้ปา่ ไม้ ดอนน้อยหากสิยงั ใหค้ อ่ ยอดเพียรล้ำ ยังสไิ ด้ค่าคำ ดอกนา [เฮอื ไหลแล่ว ขอนสยิ งั ค่างท่า ไฟไหม่ปา่ ไม่ ดอนนอ่ ยหากสิยัง ไห่ค่อยอดเพียนลำ่ ยงั สิได้คา่ คำ ดอกนา]
90 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค เป็นคำสอนทสี่ อนไม่ให้หมดสิ้นความพยายาม แมโ้ อกาสท่ดี ีจะผ่านพน้ ไปแลว้ ยงั มสี ง่ิ อนื่ รออยอู่ ยา่ สนิ้ ความหวงั ใหร้ จู้ กั อดทนขยนั หมน่ั เพยี รกจ็ ะหาทรพั ยส์ นิ เงนิ ทองได้ (นายนิรนั ดร์ บุญจิต) ผญาคำสอน : ให้รู้จกั คณุ คา่ ของสิง่ ของที่มอี ยู่ สถิ มิ่ ก็เสียดาย สบิ ายกข็ ีเ้ ดยี ด [สิถิม่ กะเสียดาย สิบายกะขี่เดยี ด] ผญาที่ว่า สิถ่ิมก็เสียดาย [สิถิ่มกะเสียดาย] แปลว่า จะท้ิงก็เสียดาย หมายถึง สิ่งของบางอย่างดูเหมือนจะไร้ค่า หรือไม่มีประโยชน์แล้ว หรือมี ประโยชนน์ อ้ ย เกบ็ ไวก้ เ็ กะกะรกรงุ รงั ทำใหบ้ า้ นเรอื นดไู มส่ ะอาดสวยงาม ตดั ใจ จะโยนท้งิ ไปเสีย ครัน้ ต้ังใจจะโยนท้งิ เมื่อหยิบมาไวใ้ นมอื ก็กลบั นึกเสียดายวา่ ของส่ิงนย้ี งั อยูใ่ นสภาพท่ดี ี ไม่แตก ไมห่ ัก หรอื ไม่มีร่องรอยขดี ข่วนแตอ่ ยา่ งใด อาจจะใช้ประโยชน์ได้ในวันหนา้ จึงตัดสนิ ใจไม่ท้งิ ตามท่ตี ้งั ใจไวแ้ ล้ว ถม่ิ แปลวา่ ทงิ้ ผญาที่ว่า สิบายก็ขี้เดียด [สิบายกะขี่เดียด] แปลว่า จะจับก็รังเกียจ หมายถึง สิ่งของบางอย่างเห็นวางอยู่ก็อยากจะหยิบจะจับต้อง พอเอื้อมมือ ออกไปจะจบั กลับเปลีย่ นใจไม่อยากหยบิ หรอื จบั ตอ้ ง เพราะร้สู กึ รังเกียจ บาย แปลว่า หยบิ , จบั ตอ้ ง ข้เี ดยี ด [ข่เี ดยี ด] แปลว่า รงั เกียจ ดงั นั้นผญาท่ีว่า สิถิม่ กเ็ สียดาย สบิ ายก็ขเ้ี ดยี ด [สถิ ิ่มกะเสยี ดาย สิบาย กะข่ีเดยี ด] จึงหมายความวา่ สิง่ ของบางอย่างอยากจะท้ิงกท็ ้ิงไมล่ งเพราะร้สู กึ เสยี ดาย แตถ่ า้ จะเอามาจบั ตอ้ งหรอื ใชส้ อย กท็ ำไมไ่ ดเ้ พราะรสู้ กึ รงั เกยี จ เปรยี บ เหมือนสิ่งของมีค่ามากที่แปดเป้ือนส่ิงสกปรกโสโครก จะท้ิงก็เสียดาย เพราะ ยังสามารถใช้ประโยชน์ได้อยู่ แต่จะจับก็รู้สึกขยะแขยง หรือกรณีสามีภรรยา
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 91 ถงึ แมจ้ ะมเี รอื่ งขนุ่ ขอ้ งหมองใจกนั แตก่ ต็ ดั กนั ไมข่ าด เพราะยงั มสี ง่ิ ทตี่ อ้ งผกู พนั กนั อยู่ (นางพจนยี ์ เพ็งเปลย่ี น) ผญาคำสอน : ให้รจู้ ักปฏิบัติตนในทางสายกลาง เคร่งหลายมันขาด ยานหลายมันข้อง [เค่งหลายมันขาด ญานหลาย มันขอ่ ง] ผญาท่ีว่า เคร่งหลายมันขาด [เค่งหลายมันขาด] แปลว่า ถ้าดึงเชือก ตงึ เกินไป เชอื กมักขาด เครง่ [เคง่ ] แปลวา่ ตึง หลาย แปลว่า มาก ผญาทว่ี า่ ยานหลายมนั ขอ้ ง [ญานหลายมนั ขอ่ ง] แปลวา่ ถา้ ปลอ่ ยเชอื ก ให้หย่อนยานจนเกินไปเชือกก็จะพันกันหรือไปพันเอาเศษไม้หรือหนามหรือ สง่ิ อื่น ๆ ทำให้เสียเวลาแก้เชือกหรือแกะสง่ิ ท่ตี ิดกับเชือกออก ดังนั้นคำผญาที่ว่า เคร่งหลายมันขาด ยานหลายมันข้อง [เค่งหลาย มนั ขาด ญานหลายมนั ขอ่ ง] จงึ มคี วามหมายวา่ ถา้ ทำอะไรเครง่ ครดั เกนิ ไปหรอื หย่อนยานเกินไปโดยไม่คำนึงถึงความพอดพี อเหมาะ อาจจะเกดิ ผลเสยี ไม่ได้ ตามท่ีมุ่งหวัง ดังนั้น คนเฒ่าคนแก่ ปู่ย่าตายาย จึงมักจะสอนลูกสอนหลาน อยู่เสมอว่า จะคดิ ทำการทำงานอะไร ควรไตร่ตรองให้รอบคอบ ใหย้ ดึ หลักทาง สายกลางตามคำสอนเรื่องมัชฌิมาปฏิปทาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเข้าไว้ กจ็ ะประสบผลสำเร็จ (นายเกษียร มะปะโม)
92 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ผญาคำสอน : ใหร้ จู้ กั พอเพยี ง เพนิ่ วา่ กำขีไ้ ว้ ยงั สิไคกวา่ กำตด กำปลาหลดขต้ี มควาย ไคกวา่ กำปลาคา้ ว [เพิน่ วา่ กำขีไ่ ว่ ยังซิไคกว่ั กำตด กำปาหลดขตี่ มคว้ ย ไคก่ัวกำปาคา่ ว] ผญาที่ว่า เพ่ินว่ากำข้ีไว้ ยังสิไคกว่ากำตด [เพ่ินว่ากำข่ีไว ่ ยังซิไคก่ัว กำตด] แปลว่า เขาว่ากำข้ีไว้ ยังดกี วา่ กำตด ตรงกับสำนวนภาคกลางว่า กำข้ี ดีกวา่ กำตด หมายถงึ ได้บา้ งดีกวา่ ไม่ได้อะไรเลย เพนิ่ ในท่นี เี้ ป็นสรรพนามบรุ ษุ ที่ ๓ หมายถงึ ผ้ทู ี่ถกู กลา่ วถึง เช่น ทา่ น, เขา ไค แปลวา่ ด,ี ดขี ้นึ , ค่อยยงั ชัว่ ไคกวา่ [ไคกั่ว] ในท่นี ีห้ มายถึง ดกี วา่ ผญาท่ีว่า กำปลาหลดขี้ตมควาย ไคกว่ากำปลาค้าว [กำปาหลดขี่ ตมคว้ ย ไคกวั่ กำปาคา่ ว] แปลวา่ จบั ปลาหลดในขตี้ มควายได้ ดกี วา่ จบั ปลาคา้ ว เนื่องจากปลาหลดจับด้วยมือได้ง่ายเพราะชอบอยู่ในขี้ตมควาย ส่วนปลาค้าว จับดว้ ยมอื ไมไ่ ด้ ต้องใช้อุปกรณ์จับปลา เพราะตวั ใหญอ่ ยใู่ นน้ำลกึ กำ ในท่นี ี้หมายถึง จับ ขี้ตมควาย [ขี่ตมค้วย] หมายถึง โคลนท่ีผสมกับข้ีควายตาม แหลง่ นำ้ ท่ีแห้งขอด ดังนัน้ ผญาทวี่ ่า เพน่ิ วา่ กำขไ้ี ว้ ยงั สไิ คกวา่ กำตด กำปลาหลดขต้ี มควาย ไคกวา่ กำปลาคา้ ว [เพิ่นวา่ กำขี่ไว่ ยงั ซไิ คกั่วกำตด กำปาหลดขตี่ มค้วย ไคกั่วกำปาคา่ ว] เปน็ คำสอนเตอื นใจลกู หลานชาวอสี านวา่ การแสวงหาทรพั ยส์ นิ เงนิ ทองโชคลาภ ใด ๆ กต็ าม หากไดท้ รพั ยส์ นิ แลว้ แมจ้ ะไดเ้ พยี งเลก็ นอ้ ยกใ็ หเ้ อาไวก้ อ่ น อยา่ ปลอ่ ย ให้หลุดมือไป อย่าหวังแต่ทรัพย์สินเงินทองโชคลาภก้อนใหญ่ ๆ ที่ยังมาไม่ถึง หรอื ท่ยี ังทำไมไ่ ด้ ตรงกับสำนวนภาษากรงุ เทพว่า โลภมากลาภหาย (นายนริ ันดร์ บญุ จติ )
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 93 ผญาคำสอน : ให้ร้จู กั ระลึกถึงบุญคุณของพอ่ แม่ ครัน้ ได้กินช้นิ ใหญ่ ให้เจา้ ฝากนำกา คันได้กินชิน้ ปลา ใหเ้ จา้ ฝากนำแรง้ ครน้ั ไดก้ นิ หมากแคง่ ใหเ้ จา้ แกวง่ นำลมเดอ้ ลกู หลา้ เอ้ย [คนั ได้กินซีน่ ไหญ่ ไห่เจา้ ฝากนำกา คนั ไดก้ ินซี่นปา ไห่เจา้ ฝากนำแฮ่ง คันไดก้ ินหมากแคง่ ไห่เจา้ แก่งนำลมเดอ้ ลูกหล่าเอ้ย] ผญาทว่ี า่ ครนั้ ไดก้ นิ ชนิ้ ใหญ่ ใหเ้ จา้ ฝากนำกา [คนั ไดก้ นิ ซน่ี ไหญ่ ไหเ่ จา้ ฝากนำกา] หมายถึง เม่ือได้กินเน้ือสัตว์ซึ่งชาวอีสานถือว่าเป็นอาหารช้ันเลิศ ที่ไมไ่ ดก้ ินบอ่ ยนักในชีวติ ประจำวัน ก็ฝากกบั กาไปให้กนิ บา้ ง ผญาท่ีวา่ คนั ได้กินช้ินปลา ใหเ้ จา้ ฝากนำแร้ง [คันได้กนิ ซ่นี ปา ไห่เจา้ ฝากนำแฮ่ง] หมายถึง เมื่อได้กินเนื้อปลารวมทั้งอาหารดี ๆ มีรสชาติอร่อย ก็ฝากกับแรง้ ไปใหก้ ินบา้ ง ผญาท่ีวา่ ครนั้ ได้กินหมากแคง่ ใหเ้ จ้าแกว่งนำลม [คนั ได้กินหมากแค่ง ไหเ่ จา้ แก่งนำลม] หมายถึง เมอ่ื ไดก้ นิ มะเขอื พวงรวมทั้งผักผลไมท้ อี่ ร่อย กฝ็ าก กับลมไปให้กนิ บ้าง แล้วสง่ ใจไปถึงพอ่ แมท่ แ่ี กเ่ ฒา่ ทรี่ อคอยอยขู่ า้ งหลัง คนั คือ ครัน้ ช้นิ [ซน่ี ] แปลว่า เนื้อสตั ว์ เช่น ช้ินงัว [ซน่ี งวั ] แปลวา่ เนอื้ ววั ชนิ้ หมู [ซ่นี หมู] แปลว่า เน้อื หมู นำ แปลวา่ ตาม, ไปดว้ ย นำกา แปลวา่ ไปกบั กา นำแฮง่ แปลวา่ ไปกับแรง้ นำลม แปลวา่ ไปกับลม หมากแค่ง แปลวา่ มะเขือพวง ครน้ั ไดก้ ินช้ินใหญ่ ให้เจา้ ฝากนำกา คันได้กนิ ชน้ิ ปลา ให้เจา้ ฝากนำแรง้ ครั้นได้กินหมากแคง่ ใหเ้ จา้ แกว่งนำลมเดอ้ ลกู หลา้ เอย้
94 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค [คนั ได้กนิ ซีน่ ไหญ่ ไห่เจ้าฝากนำกา คนั ได้กนิ ซ่ีนปา ไห่เจ้าฝากนำแฮ่ง คนั ได้กินหมากแคง่ ไหเ่ จา้ แกง่ นำลมเดอ้ ลูกหล่าเอย้ ] ผญาบทนเ้ี ปน็ ผญาคำสอนทพ่ี อ่ แม่ คนเฒา่ คนแกใ่ ชส้ อนลกู หลาน ใหร้ จู้ กั ระลึกถึงบุญคุณของพ่อแม่ปู่ย่าตายายที่เคยอุ้มชูเลี้ยงดูเรามาแต่เล็กจนโต การฝากกา ฝากแรง้ ฝากลม เปน็ อุบายเปรียบให้เห็นว่าไม่วา่ จะทำอะไร จะสขุ หรือทุกขอ์ ยา่ งไรก็ตาม ให้นกึ ถงึ พ่อแม่หรือผ้มู ีพระคุณบา้ ง (นายนิรันดร์ บญุ จติ ) ผญาคำสอน : ให้ร้จู กั วางตน แม้นเจ้ามีความรเู้ ตม็ พุงเพียงปาก คร้นั สอนโตบไ่ ด้ ใผสยิ อ่ งวา่ ดี [แมน่ เจ้ามคี วมฮ่เู ตม็ พุงเพยี งปาก คนั สอนโตบไ่ ด้ ไผสญิ ่องวา่ ดี] ผญาท่ีว่า แม้นเจ้ามีความรู้เต็มพุงเพียงปาก [แม่นเจ้ามีควมฮู่เต็มพุง เพียงปาก] แปลว่า ถึงแม้เจ้าจะมีความรู้มากล้นจนเต็มพุงอัดแน่นจนเสมอ ปาก แมน่ แปลวา่ แม ้ เพียง แปลวา่ เสมอ ผญาที่ว่า ครั้นสอนโตบ่ได้ ใผสิย่องว่าดี [คันสอนโตบ่อได้ ไผสิญ่อง ว่าดี] แปลว่า ถ้าสอนตนเองไมไ่ ด้ ใครเล่าจะยกย่องสรรเสรญิ ว่าเป็นคนดี โต แปลวา่ ตวั ใผ แปลวา่ ใคร, ผู้ใด สิ แปลว่า จะ ย่อง [ญ่อง] แปลวา่ ยกยอ่ ง, สรรเสรญิ ดงั นน้ั คำผญาทว่ี า่ แมน้ เจา้ มคี วามรเู้ ตม็ พงุ เพยี งปาก ครน้ั สอนโตบไ่ ด้ ใผสิย่องว่าดี [แม่นเจ้ามีควมฮู่เต็มพุงเพียงปาก คันสอนโตบ่ได้ ไผสิญ่อง
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 95 ว่าดี] คนเฒ่าคนแก่ปยู่ ่าตายาย มักจะหยิบยกนำมาสอนลกู สอนหลานอยู่เสมอ เพอื่ เปน็ การเตอื นสตไิ มใ่ หล้ มื ตวั เมอื่ มโี อกาสไดเ้ รยี นไดร้ มู้ าก ๆ กค็ วรจะวางตน ใหเ้ หมาะสม เปน็ แบบอยา่ งทด่ี แี กผ่ อู้ นื่ และนำความรทู้ ม่ี อี ยไู่ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ ตอ่ ตนเองและสังคม ไมป่ ระพฤตปิ ฏิบตั ติ นในทางเส่อื มเสีย จะคิดจะพดู จะทำ อะไรก็ให้มีสติระลึกอยู่เสมอและใช้ปัญญาพินิจพิจารณาให้รอบคอบเสียก่อน สงั คมก็จะยกย่องว่าเป็นคนดคี นเกง่ นัน่ เอง (นายเกษียร มะปะโม) ผญาคำสอน : ใหห้ มั่นศึกษาหาความรูต้ ามแนวทางของปราชญ์ ใหค้ อ่ ยเพยี รเรียนร้คู ำสอนของปราชญ์ หากช่างอยูช่ ่างเวา้ ออละอว้ นอนุ่ เรือน [ไหค่ อยเพยี นเฮยี นฮ่คู ำสอนของปาด หากซ่างอยูซ่ า่ งเว่า ออละอว้ นอ่นุ เฮอื น] ผญาที่ว่า ให้ค่อยเพียรเรียนรู้คำสอนของปราชญ์ [ไห่คอยเพียน เฮยี นฮู่คำสอนของปาด] แปลว่า ใหห้ ม่นั ศึกษาหาความรู้ในวิชาการตามอย่าง นกั ปราชญ์ ผญาทว่ี า่ หากช่างอย่ชู ่างเวา้ ออละอ้วนอ่นุ เรือน [หากซ่างอย่ซู า่ งเว่า ออละอ้วนอุ่นเฮือน] แปลว่า อยู่ตามประสา พูดจาไพเราะน่าฟัง มีเหตุมีผล ภายในบ้านเรอื นของตนเองกม็ ีแตค่ วามสขุ เวา้ [เว่า] แปลวา่ พูดจา ออละอว้ น แปลว่า สุขสบาย อนุ่ เรอื น [อนุ่ เฮอื น] แปลวา่ บา้ นเรอื นมแี ตค่ วามอบอนุ่ มคี วามสขุ ดังนั้นคำผญาที่ว่า ให้ค่อยเพียรเรียนรู้คำสอนของปราชญ์ หากช่าง อยู่ช่างเว้า ออละอ้วนอุ่นเรือน [ไห่คอยเพียนเฮียนฮู่คำสอนของปาด หาก
96 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค ซา่ งอยู่ซ่างเวา่ ออละอ้วนอุน่ เฮอื น] จงึ หมายความวา่ เกดิ เป็นคนให้หมั่นศึกษา หาความรตู้ ามอยา่ งนกั ปราชญ์ ใหร้ อบรจู้ นแตกฉานในวชิ าการดา้ นตา่ ง ๆ เพอื่ จะนำเอาความรู้น้ันไปประกอบสัมมาอาชีพของตนต่อไป ในท่ีนี้น่าจะหมาย ความรวมถึงให้รอบรถู้ งึ ฮตี เก่าคองหลัง หมายถึง ฮตี สิบสองคองสบิ ส่ี ทเ่ี ปน็ หลักการประพฤติปฏิบัติตนในกรอบจารีตประเพณีอันดีงามมาแต่โบราณ เพื่อจะให้ดำรงตนอยู่ในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ (นายนิรันดร์ บญุ จติ ) ผญาคำสอน : อยา่ เปน็ คนโกหกและเปน็ หนจ้ี ะทกุ ขย์ ากในภายหลงั เปน็ คนอยา่ ไดเ้ รยี นปากเกลยี้ ง ตว๋ั ะหลา่ ยกนิ ของเพน่ิ ครนั้ แมน่ หลายปี ลำ้ เงนิ คำสเิ ปน็ ดอกไปแลว้ โทษสมิ าแลน่ ตอ้ ง เปน็ ขอ้ ยเพน่ิ สหิ ยนั บอ่ ยา่ แลว้ [เป็นคนอย่าได้เฮียนปากเก้ียง ตั๋วะหล่ายกินของเพิ่น คันแม่นหลายปี ลำ่ เงนิ คำสเิ ปน็ ดอกไปแลว่ โทดสมิ าแลน่ ตอ้ ง เปน็ ขอ่ ยเพน่ิ สหิ ยนั บอ่ อยา่ แหลว่ ] ผญาทวี่ า่ เปน็ คนอย่าได้เรียนปากเกลย้ี ง ต๋วั ะหล่ายกนิ ของเพนิ่ [เปน็ คนอยา่ ไดเ้ ฮยี นปากเกย้ี ง ตวั๋ ะหลา่ ยกนิ ของเพน่ิ ] แปลวา่ เกดิ เปน็ คนอยา่ ไดเ้ รยี น เปน็ คนโกหกหลอกกนิ ของผ้อู น่ื ปากเกล้ยี ง [ปากเกยี้ ง] แปลวา่ ปากสะอาด, ปากดี, พูดดี ตรงกนั ขา้ ม กับคำวา่ ปากมอม ตว๋ั ะ แปลวา่ โกหก หลา่ ย [หลา่ ย] แปลวา่ โกหก เพิ่น เป็นสรรพนามบรุ ษุ ท่ี ๓ ผญาที่ว่า คร้ันแม่นหลายปีล้ำเงินคำสิเป็นดอกไปแล้ว [คันแม่น หลายปีล่ำเงินคำสิเป็นดอกไปแล่ว] แปลว่า เม่ือหลายปีผ่านไป เงินทองที่ไป กู้ยืมเขามา ยังไม่ส่งเงินต้นส่งดอกเบ้ีย ดอกเบ้ียก็จะเพิ่มข้ึนจนทบต้นทบดอก
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 97 อยา่ งแนน่ อน ลำ้ [ลำ่ ] แปลวา่ มาก เช่น มคี ่าล้ำ [มีคา่ ล่ำ] แปลว่า มคี า่ มาก คำ แปลวา่ ทองคำ สิ แปลว่า จะ เช่น ข้อยสิไปมื้ออ่ืน [ข้อยสิไปม่ืออื่น] แปลว่า ผมจะไปพรงุ่ น,้ี สิไปฮอดบ่ แปลวา่ จะไปถึงไหม ดอก แปลว่า ดอกเบ้ีย คำว่า สิเป็นดอก แปลว่า จะเป็น ดอกเบย้ี ไปแลว้ [ไปแหลว่ ] ในทน่ี ห้ี มายถงึ อยา่ งแนน่ อน, อยา่ งนน้ั แหละ ผญาท่ีว่า โทษสิมาแล่นต้อง เป็นข้อยเพิ่นสิหยัน บ่อย่าแล้ว [โทดสิ มาแลน่ ตอ้ ง เป็นขอ่ ยเพิน่ สหิ ยนั บ่ออยา่ แหล่ว] แปลว่า โทษทณั ฑ์จะมาถงึ ตน เมอื่ ตกเปน็ ขา้ ทาสของเจา้ หน้ีหรอื นายเงนิ คนอน่ื จะดถู กู เหยยี ดหยามเยย้ หยนั อย่างแน่นอน โทษ แปลว่า โทษทณั ฑ์ แล่น แปลว่า วิง่ ต้อง แปลว่า ถึง, ถกู , โดน เปน็ ขอ้ ย [เปน็ ข่อย] แปลว่า เป็นข้ีขา้ , เปน็ ทาสรบั ใช้ บางทีใช้วา่ ข้ีข้อยขี้ข้า [ข่ีข่อยข่ีข่า] แปลว่า คนคอยรับใช้ ข้าทาส มักจะพูดรวมว่า เปน็ ขข้ี ้อยขีข้ า้ เขา [เปน็ ข่ขี อ่ ยขข่ี ่าเขา] แปลว่าเป็นขา้ ทาสคอยรับใช้เขา หยนั แปลว่า เยาะเย้ย บ่อย่าแล้ว [บ่ออย่าแหล่ว] แปลว่า อย่าเลย, อย่าทำเลย, ในที่น้หี มายถงึ แน่นอน, จรงิ ทีเดียว เป็นคนอย่าได้เรียนปากเกล้ียง ตั๋วะหล่ายกินของเพิ่น คร้ันแม่น หลายปีล้ำเงินคำสิเป็นดอกไปแล้ว โทษสิมาแล่นต้อง เป็นข้อยเพ่ินสิหยัน บอ่ ย่าแล้ว
98 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค [เป็นคนอยา่ ไดเ้ ฮยี นปากเก้ยี ง ตั๋วะหลา่ ยกินของเพิน่ คันแมน่ หลายปี ล่ำเงินคำสิเป็นดอกไปแล่ว โทดสิมาแล่นต้องเป็นข่อยเพ่ินสิหยัน บ่ออย่า แหลว่ ] หมายความว่า อย่าเป็นคนโกหกพกลมหลอกกินแต่ของของคนอื่น โดยไม่คิดละอายแก่ใจแต่อย่างใด และอย่ากู้ยืมเงินทองของคนอื่นมาแล้ว ไม่ส่งคืน ดอกเบ้ียก็จะเพิ่มขึ้นทบต้นทบดอกเป็นหน้ีเป็นสินล้นพ้นตัว จน ไมส่ ามารถหนโี ทษทณั ฑไ์ ปได้ ในทส่ี ดุ กจ็ ะตกเปน็ ขา้ ทาสบรวิ ารของผอู้ น่ื ใหเ้ ขา เย้ยหยัน เปน็ สิ่งไมด่ ี อย่าไดก้ ระทำเลย (นายนิรันดร์ บญุ จติ ) ผญาเปรยี บเทียบ : การพลดั พรากจากคนรกั นกเขาตู้ พรากคู่กย็ งั ขนั กาเหว่าวอน พรากรังก็ยังรอ้ ง น้องพรากอา้ ย ความเดยี วบเ่ อ้นิ สัง่ ครนั้ บเ่ อน้ิ สง่ั ใกล้ ขอให้เอ้ินส่งั ไกล [นกเขาตู้ พากค่กู ะยังขัน กาเวาวอน พากฮังกะยังฮ้อง น่องพากอ้าย ควมเดียวบอ่ เอิน้ สัง่ คันบ่อเอ้นิ ส่งั ไก้ ขอใหเ้ อน้ิ สั่งไก] ผญาทว่ี ่า นกเขาตู้ พรากคู่กย็ งั ขนั [นกเขาตู้ พากคูก่ ะยังขัน] แปลว่า นกเขาตู้พรากจากคกู่ ย็ งั ส่งเสยี งขนั นกเขาตู้ หมายถึง นกเขาชนิดหนึ่ง ตัวโตกว่านกเขาธรรมดา ปรกติจะอาศยั อยตู่ ามสวนในหมูบ่ ้าน ผญาทวี่ า่ กาเหวา่ วอน พรากรงั กย็ งั รอ้ ง [กาเวาวอน พากฮงั กะยงั ฮอ้ ง] แปลว่า นกกาเหว่าจากรังไปกย็ งั สง่ เสียงรอ้ ง ผญาท่วี า่ นอ้ งพรากอา้ ย ความเดียวบ่เอน้ิ สัง่ [นอ่ งพากอา้ ย ควมเดยี ว บ่อเอิ้นส่งั ] แปลว่า นอ้ งจากพี่ คำเดียวกไ็ ม่บอก
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 99 อ้าย แปลวา่ พี่ชาย ความ [ควม] แปลว่า คำ เอ้ิน แปลวา่ เรียก, ร้อง ผญาที่ว่า ครนั้ บเ่ อน้ิ สงั่ ใกล้ ขอใหเ้ อิน้ สั่งไกล [คันบ่อเอิน้ สัง่ ไก้ ขอให้ เอน้ิ ส่ังไก] แปลว่า หากไมบ่ อกเม่ืออยใู่ กล ้ ก็ขอให้บอกเม่ืออยู่ไกลกนั ดังนน้ั คำผญาท่ีวา่ นกเขาตู้ พรากคกู่ ย็ ังขัน กาเหว่าวอน พรากรงั กย็ ังร้อง นอ้ งพรากอ้าย ความเดยี วบเ่ อน้ิ สงั่ คร้นั บ่เอนิ้ ส่งั ใกล้ ขอใหเ้ อิ้นสง่ั ไกล [นกเขาตู้ พากคกู่ ะยังขนั กาเวาวอน พากฮังกะยงั ฮอ้ ง น่องพากอา้ ย ควมเดียวบอ่ เอิ้นสงั่ คันบ่อเอ้ินสงั่ ไก้ ขอให้เอน้ิ สั่งไก] หมายความว่า คนเคยรักกันเมอ่ื จะจากกันก็ตอ้ งรูจ้ ักรำ่ ลา บอกกลา่ ว แตน่ อ้ ง หนจี ากพี่ไป แมเ้ พยี งคำคำเดยี วก็ไม่สั่งลา หากวา่ ถ้าน้องจะตอ้ งไปจรงิ ๆ ขอ ได้บอกพ่ีสักคำแม้จะอยู่ใกล้หรืออยู่ห่างไกลเพียงใดก็ตาม พี่ก็ยินดีที่ได้รับรู้ ความในใจจากปากของนอ้ งเอง เปรยี บดงั นกเขาตหู้ รอื นกกาเหวา่ เมอื่ จะพราก จากรังไปก็ยังสง่ เสยี งขัน หรอื ส่งเสยี งร้องเพ่ือเปน็ สญั ญาณบอกคู่ของตน (นางพจนยี ์ เพ็งเปล่ียน) ผญาเปรียบเทียบ : นกใหญไ่ ม่พึ่งพาใคร เชือ้ ชาติแร้ง บ่หอ่ นเว่ินนำแหลว แนวหงส์คำ บบ่ นิ นำรุง้ [เซือ่ ซาดแฮง่ บอ่ หอ่ นเว่ินนำแหลว แนวหงคำ บบ่ นิ นำฮุ่ง] คำผญาท่ีว่า เชื้อชาติแร้ง บ่ห่อนเว่ินนำแหลว [เซ่ือซาดแฮ่ง บ่ห่อน เวิน่ นำแหลว] แปลว่า ธรรมชาตขิ องแรง้ หรืออีแรง้ จะไมบ่ ินไปตามเหยย่ี ว เวน่ิ แปลว่า ร่อนถลา นำ แปลวา่ ตาม
100 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค แหลว แปลวา่ เหยี่ยว, นกเหยย่ี ว คำผญาทีว่ ่า แนวหงส์คำ บบ่ ินนำรงุ้ [แนวหงคำ บ่บินนำฮงุ่ ] แปลวา่ ธรรมชาตขิ องหงสท์ องจะไมบ่ นิ ตามเหยย่ี ว แนว แปลวา่ เชื้อสาย, เผ่าพนั ธ์ุ รงุ้ [ฮุ่ง] หมายถึง เหย่ียวรุ้ง เปน็ เหยีย่ วขนาดใหญ่ชนิดหนงึ่ ดงั นน้ั คำผญาทวี่ า่ เชอ้ื ชาตแิ รง้ บห่ อ่ นเวน่ิ นำแหลว แนวหงสค์ ำ บบ่ นิ นำรงุ้ [เซือ่ ซาดแฮง่ บอ่ หอ่ นเว่ินนำแหลว แนวหงคำ บ่บนิ นำฮุง่ ] หมายความ ว่า คนเราตอ้ งร้จู กั ทะนงในศักดิศ์ รีของเช้อื สายหรอื เผ่าพนั ธุ์ของตน ไม่คลุกคลี เกลอื กกลว้ั กบั คนไมด่ ี เปรยี บเหมอื นแรง้ ทไี่ มบ่ นิ รอ่ นตามฝงู เหยยี่ วไปหาอาหาร และพญาหงส์ทองที่ไม่บินตามเหยี่ยวรุ้ง ธรรมชาติของแร้งจะทำรังบนต้นไม้ ใหญ่ โบราณเช่ือว่าในรังของแร้งน้ีจะมีก่ิงไม้ เรียกว่า ไม้ตาทิพย์ ทำให้แร้ง สามารถมองเห็นซากสัตว์ซ่ึงอยู่ท่ีไกล ๆ ได้ แร้งจะบินมาทันทีและมาอย่าง รวดเร็ว ราวกับมคี นไปบอก หรอื มองเหน็ ดว้ ยตัวเอง (นางพจนยี ์ เพง็ เปล่ยี น)
ภาษิต ภาคเหนือ
102 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค คณะกรรมการจดั ทำเน้ือหาวิชาการด้านภาษาไทยถิ่น ภาคเหนือ ๑. ศ. ดร.ประคอง นมิ มานเหมินท ์ ประธานกรรมการ ๒. รศ.กรรณกิ าร ์ วมิ ลเกษม กรรมการ ๓. นายยทุ ธพร นาคสขุ กรรมการ ๔. ผศ.วรี ฉัตร วรรณดี กรรมการ ๕. นายศริ สิ าร เหมือนโพธท์ิ อง กรรมการ ๖. ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะสาขาวิชา กรรมการ ( ๑. ศ. ดร.ประเสรฐิ ณ นคร ๒. รศ.เรณู วิชาศลิ ป์) ๗. เลขาธกิ ารราชบัณฑิตยสถาน กรรมการ (นางสาวกนกวลี ชูชยั ยะ) ๘. ผอู้ ำนวยการกองธรรมศาสตรแ์ ละการเมือง กรรมการ (นางแสงจนั ทร ์ แสนสุภา) ๙. นางสาวชลธชิ า สุดมขุ กรรมการ ๑๐. นายปยิ ะพงษ ์ โพธเิ์ ย็น กรรมการและเลขานกุ าร ๑๑. นางสาวศยามล แสงมณี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๑๒. นางสาววรรณทนา ปติ ิเขตร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 103 ภาษติ ลา้ นนา ล้านนามีภาษิตเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะที่ใช้กล่าวในชีวิตประจำวัน เป็นจำนวนมากซึง่ ใหค้ ตแิ กบ่ ุคคลทกุ ระดับ แสดงใหเ้ ห็นภูมปิ ญั ญาทีบ่ รรพชน ลา้ นนานำขอ้ คดิ จากประสบการณใ์ นชวี ติ ตลอดจนคตคิ วามเชอื่ และคำสงั่ สอน ในศาสนามาถ่ายทอดเป็นถ้อยคำท่ีมีความกระชับ มีจงั หวะ มคี วามคล้องจอง ทำให้จดจำไดง้ ่าย ใช้วธิ ีการเปรียบเทยี บทำใหม้ ีความหมายลกึ ซ้งึ เขา้ ใจได้ง่าย นอกจากนี้ยังมีวรรณกรรมลายลักษณ์ที่เป็นวรรณกรรมคำสอนของ ลา้ นนาหลายเรอื่ ง เชน่ เรอ่ื งคำสอนพระยามงั ราย ปสู่ อนหลาน ธรรมดาสอนโลก คดีโลกคดีธรรม เจ้าวิฑูรสอนหลาน พระลอสอนโลก มีเนื้อหาสอดคล้องกับ ภาษิตที่มีมาแต่โบราณ คำสอนเหล่าน้ีเป็นคำสอนเก่ียวกับเรื่องการพูดจา ความประพฤติ กริ ยิ ามารยาท การทำมาหากนิ ขนบธรรมเนยี ม ขอ้ หา้ ม ซง่ึ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การอยรู่ ่วมกนั ของคนในสงั คม บรรพชนล้านนาได้ใช้ภาษิตเหล่าน้ีอบรม สั่งสอน กล่อมเกลา ปลูกฝัง คุณธรรมให้แก่ผคู้ นทกุ เพศทุกวยั ทุกสถานภาพ มาอยา่ งยาวนาน จึงส่งผลให้ คำสอนล้านนามีบทบาทสำคัญต่อทัศนคติและวิถีการดำรงชีวิตคนในสังคม เป็นอย่างมาก และสำหรับสังคมไทยปัจจุบันคำสอนเหล่านี้มิได้ล้าสมัย หาก แตย่ งั สามารถนำมาใชอ้ บรมสง่ั สอนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี อาจกลา่ วไดว้ า่ ภาษติ ลา้ นนา น้ันนอกจากจะให้คติสอนใจโดยตรงแล้ว ยังให้ความรู้ในเร่ืองคำศัพท์ สำนวน ความเปรียบ รวมท้ังให้ความรู้เกี่ยวกับทัศนะและวัฒนธรรมของคนล้านนาไป พรอ้ มกนั อีกดว้ ย โดยเหตุที่มีผู้รวบรวมภาษิตล้านนา พร้อมทั้งแปลความหมายและ พิมพ์เผยแพร่กันบ้างแล้ว แต่ส่วนใหญ่จะนำเสนอภาษิตตามลำดับอักษร คณะกรรมการจดั ทำเน้อื หาวิชาการด้านภาษาไทยถน่ิ ภาคเหนือ จึงเหน็ วา่ ใน การเผยแพร่คร้ังน้ีน่าจะรวบรวมและจัดทำคำอธิบายภาษิตล้านนาที่มีความ
104 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค สอดคล้องเช่ือมโยงกันในแต่ละเรื่อง จัดเป็นหมวด เพื่อให้เห็นภาพรวมของ ขอ้ คดิ ในเรอ่ื งนนั้ ๆ นอกจากนยี้ งั ใหเ้ สยี งอา่ นภาษาไทยถนิ่ เหนอื คำอธบิ ายศพั ท์ บางภาษิตที่ไม่มีคำอธิบายโดยละเอียดมาก่อน คณะกรรมการได้ตีความใหม่ เพื่อให้ชดั เจนย่ิงขนึ้ ภาษิตว่าดว้ ยความสัมพันธร์ ะหว่างเครอื ญาติ ครอบครัวของคนล้านนามีลักษณะเช่นเดียวกับครอบครัวของคนไทย ทั่วไป ความสัมพนั ธร์ ะหว่างคนในครอบครัวตลอดจนเครือญาติ มที ้ังท่ีเปน็ ใน ทางสงเคราะหเ์ กอ้ื กลู กนั และเหนิ หา่ งหมางเมนิ กนั บางครงั้ ถงึ ขนั้ แกง่ แยง่ ชงิ ดี ชิงเด่นกันก็มี จึงมีภาษิตท่ีกล่าวถึงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัวอยู่หลาย บทด้วยกัน คนลา้ นนาเรียก ญาติ ว่า พ่ีนอ้ ง [ปีน้ ้อง] บางครง้ั พูดเป็นคำซอ้ นกบั คำ ภาษาบาลเี ปน็ ญาตพิ น่ี อ้ ง [ญา-ตปิ๋ นี้ อ้ ง] คำวา่ พนี่ อ้ ง [ปนี้ อ้ ง] ในภาษติ ลา้ นนา จึงอาจหมายถึงพี่น้องท่ีสืบสายเลือดกันโดยตรง หรืออาจหมายถึงเครือญาติ ก็ได้ คนทเ่ี ปน็ พน่ี อ้ งหรอื ญาตทิ อี่ ยใู่ กลช้ ดิ กนั เหน็ กนั อยเู่ ปน็ ประจำ บางครง้ั จงึ มองขา้ มความดแี ละความสำคญั ของกนั และกนั ไป ตรงขา้ มถา้ หากนาน ๆ พบกนั กจ็ ะเห็นว่าเป็นคนดีหรอื มคี วามสำคัญมากกวา่ ดงั มภี าษิตว่า พี่น้องกัน อยู่ไกลกินของฝาก อยู่ใกลก้ นิ สากมอง [ปน้ี อ้ งกน๋ั อยู่ไก๋กนิ๋ ของฝาก อยไู่ ก้ก๋ินสากมอง] หมายถึง พน่ี อ้ งหรอื ญาติที่อยูไ่ กลกันมกั คดิ ถึงกนั เมื่อมาเย่ียมเยียนก็จะมีของให้กันและกัน แต่พ่ีน้องหรือญาติที่อยู่ใกล้กันย่อม มีโอกาสท่ีจะมีเร่ืองกระทบกระท่ังหรือทะเลาะเบาะแว้งกันได้มากกว่าพี่น้อง หรอื ญาติที่อยู่ไกลกัน บางคร้ังอาจลงไมล้ งมือกันถึงขัน้ ใชอ้ าวธุ
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 105 มอง แปลวา่ ครกตำข้าว สากมอง แปลวา่ สากตำขา้ ว มักทำจากท่อนไม้ ภาษิตนี้ได้นำสากตำข้าวมาเปรียบเทียบกับการกระทบกระท่ังกัน เหมอื นสากกบั มองหรอื ครก นอกจากน้ี สากยังเปรยี บกบั อาวธุ ท่หี นาและหนกั อีกด้วย มีภาษิตอกี บทหน่ึงท่คี ล้ายคลึงกับภาษิตขา้ งตน้ คอื บทที่ว่า ลกู อยไู่ กลไดก้ นิ หวั ไก่ ลกู อยใู่ กลไ้ ดก้ นิ หวั มยุ [ลกู อยไู่ กไ๋ ดก้ น๋ิ หวั ไก่ ลูกอยู่ไกไ้ ดก้ น๋ิ หวั มยุ ] แปลวา่ ลูกอยูไ่ กลไดก้ นิ หวั ไก่ ลกู อยู่ใกลไ้ ดก้ ินสนั ขวาน หวั มุย แปลว่า สนั ขวาน, หัวค้อน ภาษติ นเ้ี ปรยี บวา่ ลกู ทอี่ ยไู่ กลพอ่ แม่ นาน ๆ จะมาเยยี่ มครงั้ หนงึ่ กม็ กั จะ มขี องมาฝากและเอาอกเอาใจสารพดั พอ่ แมก่ ม็ กั จะปลม้ื ใจ ทมุ่ เทความรกั ใหแ้ ก่ ลูกคนน้ันเสมือนการให้ลูกได้กินหัวไก่ซึ่งเป็นส่วนท่ีมีสมองไก่ มีรสชาติอร่อย ต่างกับลูกท่ีอยู่ใกล้ชิดหรืออยู่ปรนนิบัติดูแลพ่อแม่ย่อมมีโอกาสทำให้ท่าน ขัดเคืองใจหรอื ไมพ่ อใจไดง้ ่ายเปน็ ธรรมดา เพราะอยดู่ ว้ ยกันทกุ วนั พ่อแมก่ ม็ ัก จะตำหนิติเตียน ด่าทอ หรือพ่อแม่บางคนก็อาจถึงข้ันลงโทษเฆี่ยนตีให้ลูก คนน้นั ได้รับความเจ็บช้ำน้ำใจหรือน้อยใจเหมือนกบั ทำโทษลูกด้วยสันขวาน ภาษิตบางบทยังสะท้อนให้เห็นถึงทัศนคติของคนล้านนาว่า บางคร้ัง คนอื่นท่ีไม่ใช่ญาติพี่น้องยังจะสามารถพึ่งพาได้มากกว่าญาติของตนเสียอีก ดังภาษิตทว่ี า่ พ่ีน้องเป็นดี บ่ดีไปกราย สหายเป็นดี ห้ือหม่ันไปใกล้ [ป้ีน้อง เปน๋ ดี บอ่ ดไี ปกา๋ ย สหายเปน๋ ดี หอื้ หมน่ั ไปไก]้ แปลวา่ ถา้ ญาตพิ น่ี อ้ งไดด้ ี อยา่ ไป ใกล้กราย แต่ถา้ เพอ่ื นฝงู ไดด้ ี ให้หมั่นไปใกล้ชดิ เปน็ ดี [เป๋นดี] หรือ เป็นดีมีรัง่ [เปน๋ ดมี ฮี ่งั ] แปลวา่ มฐี านะด,ี มัง่ ค่ัง รำ่ รวย
106 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ภาษติ นสี้ อนวา่ ไมค่ วรไปขอ้ งแวะกบั ญาตพิ นี่ อ้ งทไี่ ดด้ มี ฐี านะแลว้ เพราะ อาจถกู มองวา่ ไปรบกวนหรอื ไปขอความช่วยเหลอื จากเขา และอาจจะถูกมอง ดว้ ยสายตาดถู กู เหยยี ดหยามวา่ ไมม่ คี วามสามารถจะสรา้ งฐานะไดอ้ ยา่ งเขาทง้ั ๆ ทมี่ าจากพน้ื ฐานครอบครวั แบบเดยี วกนั ไมเ่ หมอื นกบั เพอ่ื นฝงู ทมี่ กั จะไมค่ ดิ เลก็ คดิ นอ้ ย และมคี วามปรารถนาดมี ากกวา่ ภาษติ อกี บทหนง่ึ กลา่ วในทำนองเดียวกนั วา่ เพิ่งพี่เจ็บท้อง เพ่ิงน้องเจ็บใจ [เป้ิงป้ีเจ๋บต๊อง เป้ิงน้องเจ๋บไจ๋] หมายถึง การพึ่งพาอาศัยพี่น้องหรือญาติมักจะทำให้อึดอัดคับข้องหรือ เจ็บช้ำน้ำใจได้ เพราะอาจจะถูกค่อนแคะหรือลำเลิกบุญคุณ ภาษิตน้ีมุ่งสอน ให้รจู้ ักพึ่งตัวเองมากกวา่ ไปหวงั พง่ึ คนอ่นื แมแ้ ตญ่ าตพิ น่ี ้อง ภาษิตที่กล่าวมาทั้งหมดแสดงว่าคนล้านนามองความสัมพันธ์ระหว่าง ญาติพ่ีน้องว่าเป็นเรื่องละเอียดอ่อนและเปราะบาง จึงมีภาษิตที่สอนให้รักษา ระยะหา่ งระหวา่ งกนั และพยายามไมร่ บกวนหรอื ขอความชว่ ยเหลอื กนั ถา้ ไมม่ ี เหตจุ ำเปน็ จริง ๆ เพราะแมจ้ ะเปน็ พน่ี ้องหรอื ญาตกิ นั ก็ต่างจติ ตา่ งใจอาจทำให้ เกิดปญั หาได้ ดังภาษิตที่ว่า ไม้เล่มเดียวยังต่างปล้อง พ่ีน้องยังต่างใจ [ไม้เหล้มเดียวญัง ต่างป้อง ป้นี ้องญังต่างไจ๋] แปลวา่ ไมล้ ำเดียวกัน ปล้องยังยาวต่างกัน พนี่ อ้ ง กย็ ่อมตา่ งจติ ตา่ งใจเปน็ ของธรรมดา แม้ว่าภาษิตท่ียกมาข้างต้นจะแสดงให้เห็นว่าคนล้านนามองความ สัมพันธ์ระหว่างญาติพี่น้องนั้นเป็นเรื่องละเอียดอ่อน ไม่ควรรบกวนหรือขอ ความช่วยเหลือหากไม่มีความจำเป็น โดยเฉพาะการไปขอความช่วยเหลือ เร่ืองเงินทองหรือเข้าไปก้าวก่ายผลประโยชน์ แต่อย่างไรก็ตามคนล้านนาก็ยัง ให้ความสำคัญต่อคนในครอบครัวหรือญาติพี่น้องมากกว่าคนนอกครอบครัว ดงั ภาษติ ท่ีวา่
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 107 เลอื ดขนุ้ กวา่ นำ้ ตรงกบั ภาษติ ภาคกลางวา่ เลอื ดขน้ กวา่ นำ้ นน่ั เอง ข้นุ คอื ขน้ คนล้านนาเชื่อว่าญาติพี่น้องถึงอย่างไรก็ตัดกันไม่ขาด โกรธกันไม่นาน ประเดย๋ี วกจ็ ะกลบั มาดีกันได้ ดังภาษิตท่ีว่า พ่ีน้องผิดกันเหมือนพร้าฟันน้ำ [ป้ีน้องผิ๋ดก๋ันเหมือนพ้าฟันน้ำ] หมายความว่า ญาติพ่ีน้องถึงจะทะเลาะหรือโกรธกันรุนแรงเพียงใด ก็ตัดกัน ไม่ขาด เหมอื นกบั เอามดี พร้าฟันน้ำ ตัดอยา่ งไรนำ้ ก็ไม่มวี ันขาดออกจากกนั ผิด [ผ๋ิด] หมายถงึ ทะเลาะ, โกรธ มภี าษติ บทหนง่ึ วา่ พน่ี อ้ งเหมอื นทอ้ งขนั หมาก คนใดอยากกก็ นิ [ปนี้ อ้ ง เหมอื นตอ๊ งขนั หมาก คนไดอยากกอ้ กน๋ิ ] แปลวา่ ญาตพิ นี่ อ้ งเหมอื นเชยี่ นหมาก คนใดอยากกินหมากก็กินได้ทุกเวลา หมายถึง เม่ือมีความเดือดร้อนสิ่งใด ก็สามารถไปพึ่งพาญาติพี่น้องได้ตลอด เหมือนสำรับหมากท่ีมีหมากให้กิน อยู่เสมอ ขันหมาก หมายถงึ เชยี่ นหมาก ท้องขันหมาก [ต๊องขันหมาก] หมายถึง ส่วนของเชี่ยนหมาก ซ่ึงใช้บรรจหุ มากพลู ตลอดจนเครอื่ งใช้เกี่ยวกับการกินหมาก มีภาษิตที่สอนใหห้ มั่นรกั ษาสัมพนั ธภาพระหวา่ งหมู่ญาตพิ ่นี ้องอย่เู สมอ ว่า เงินคำบ่ใช้เป็นหินเป็นผา พ่ีน้องบ่ข้ึนสู่ลงหาเป็นเพิ่นคนอ่ืน [เงนิ คำบอ่ ไจเ๊ ปน๋ หนิ เปน๋ ผา ปนี้ อ้ งบอ่ ขนึ้ สลู่ งหาเปน๋ เปนิ้ คนอนื่ ] แปลวา่ เงนิ ทอง ไม่ใชเ้ ปน็ ก้อนหนิ ก้อนผา พ่ีน้องไมไ่ ปมาหาส่กู ันก็เปน็ คนอื่น หมายถึง เงนิ ทอง เมื่อไม่ใช้ก็ไม่มีค่าอะไร ญาติพ่ีน้องหากไม่ไปมาหาสู่กันก็ย่อมจะห่างเหินกัน เหมอื นเปน็ คนอนื่ คนไกลไปเสีย ภาษิตอีกบทหนึ่งกล่าวว่า บ่กินผักบ่มีเหย้ือท้อง คนบ่เอาพ่ีเอาน้อง
108 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค เสียหน่อเสียแนว [บ่อก๋ินผ๋ักบ่อมีเหย้ือต๊อง คนบ่อเอาปี้เอาน้อง เสียหน่อ เสียแนว] แปลว่า ไมก่ ินผักไมม่ กี ากใยในท้อง คนไมเ่ อาพ่เี อานอ้ ง เสียเชอ้ื แถว หมายถึง คนที่ไม่ไปมาหาสู่หรือติดต่อสัมพันธ์กับญาติพ่ีน้อง คนนั้นก็จะเสีย ญาติพี่น้องไป ไม่มีใครนบั เป็นญาต ิ เหยือ้ หมายถึง กากใย (นายยุทธพร นาคสขุ ) ภาษิตว่าดว้ ยการวางตวั ของคนแกแ่ ละคนหนุ่ม ลา้ นนามภี าษติ ทมี่ เี นอื้ ความเกยี่ วกบั คนแกแ่ ละคนหนมุ่ หลายบท ภาษติ บทหน่ึงมวี ่า หนมุ่ เอาเคา้ เฒ่าเอาปลาย [หนฺ มุ่ เอาเก๊า เถา้ เอาปา๋ ย] เค้า [เกา๊ ] แปลว่า ตน้ หรือ โคน หมายถงึ สว่ นโคนของตน้ ไม้ ภาษิตบทนี้เปรียบเทียบการแบกไม้ คนหนุ่มมีความแข็งแรงควรแบก สว่ นโคนซง่ึ มขี นาดใหญ่และหนกั ส่วนคนแก่ควรยกสว่ นปลายซง่ึ เบากว่า เมื่อ ท้ังสองฝ่ายช่วยกันแบกก็สามารถนำไม้ไปใช้ประโยชน์ได้ ภาษิตบทน้ีสะท้อน ให้เห็นว่าตามทัศนะของคนล้านนานั้นทั้งคนแก่และคนหนุ่มต่างก็มีบทบาท และมคี วามสำคญั ในสงั คม หากช่วยกนั ทำงานตามกำลังความสามารถของตน กจ็ ะช่วยใหก้ ารงานสำเรจ็ ลุลว่ งไปได ้ สงั คมลา้ นนาใหค้ วามสำคญั กบั ประสบการณแ์ ละการเรยี นรวู้ รรณกรรม คำสอนของล้านนาเช่น เร่ืองเจา้ วิทรู สอนโลก ให้ข้อคดิ ว่า ควรใหค้ วามเคารพ นบั ถอื คนแก่ เพราะเปน็ ผู้มีประสบการณ์มาก ในขณะเดยี วกนั ก็ไมใ่ หป้ ระมาท คนหนมุ่ เพราะคนหนมุ่ บางคนมปี ญั ญา สามารถเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ วรรณกรรมคำสอนเรอื่ งเจา้ วทิ รู สอนโลกเปรยี บเทยี บคนแกท่ ม่ี ปี ระสบการณว์ า่ เหมือนช้างที่ผ่านศึกมามาก ย่อมเชี่ยวชาญในการชน และเปรียบคนหนุ่มท่ี
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 109 เฉลียวฉลาดว่าเหมือนช้างหนุ่มที่มีความกล้าและมีไหวพริบก็สามารถมีชัยใน การตอ่ ส้ไู ด้ ภาษิตล้านนาบทหน่ึงสะท้อนให้เห็นว่า คนล้านนาเห็นว่าคนแก่เป็นผู้มี คณุ ค่า โดยเปรียบเทยี บว่า ไม้ต้นเดียวบ่เป็นเหล่า บ่มีคนเฒ่าบ่เป็นบ้านเป็นเมือง [ไม้ ตน้ เดยี วบอ่ เป๋นเหลา่ บอ่ มีคนเถา้ บอ่ เป๋นบา้ นเป๋นเมอื ง] หมายถึง ไม้ต้นเดียว ไมส่ ามารถจะเปน็ ปา่ ได้ ไมม่ คี นแกค่ นเฒา่ กเ็ ปน็ บา้ นเปน็ เมอื งไมไ่ ด้ ภาษติ บทนี้ ชี้ให้เห็นว่าคนแก่คนเฒ่ามีความสำคัญต่อบ้านเมือง เป็นหลักของบ้านเมือง เพราะนอกจากมสี ว่ นในการสรา้ งและทำนบุ ำรงุ บา้ นเมอื งมา ยงั เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามรู้ มีประสบการณ์มาก โดยเฉพาะเร่ืองขนบธรรมเนียมประเพณีซึ่งจำเป็นต่อ บ้านเมือง เหลา่ แปลวา่ ปา่ ละเมาะ ในทนี่ ี้หมายถึง ป่า ภาษติ ทีใ่ หค้ วามสำคัญกบั คนแก่อกี บทหน่งึ วา่ จอมปลวกเป็นแสงแกข่ ้าว คนแกค่ นเฒา่ เป็นแสงแกห่ อแกเ่ รอื น [จอ๋ มปวกเปน๋ แสงแกเ่ ขา้ คนแกค่ นเถา้ เปน๋ แสงแกห่ อแกเ่ ฮอื น] หรอื จอมปลวก อยยู่ งั นาวา่ เปน็ แสงขา้ ว คนแกค่ นเฒา่ อยยู่ งั เรอื นวา่ เปน็ แสงเรอื น [จอ๋ มปวก อยญู่ งั นาว่าเปน๋ แสงเขา้ คนแก่คนเถา้ อยู่ญงั เฮอื นวา่ เปน๋ แสงเฮือน] แสง ในภาษาไทยถ่ินเหนือและภาษาชนชาติไทหลายกลุ่มแปลว่า แก้วซ่ึงถือว่าเป็นส่ิงมีค่าย่ิง ล้านนาเชื่อว่าจอมปลวกท่ีเกิดข้ึนในนาเป็นมงคล แก่นา จึงถือว่าเป็นแก้วหรือเป็นมิ่งขวัญของข้าวของนา เช่นเดียวกับบ้าน ทม่ี คี นแกน่ บั วา่ เปน็ มงคลแกบ่ า้ น ถอื วา่ เปน็ แกว้ หรอื เปน็ มงิ่ ขวญั ของบา้ นเรอื น เพราะคนแก่เป็นบุคคลที่มีคุณค่า เน่ืองจากได้เลี้ยงดูลูกหลานมาและมี ประสบการณม์ าก นอกจากใหค้ วามรกั ความอบอนุ่ แกล่ กู หลานแลว้ ยงั เปน็ ทพ่ี ง่ึ ในดา้ นความคิดและความรใู้ นการดำเนินชวี ิตได้
110 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค อย่างไรก็ดี คนแก่ท่ีน่าเคารพนับถือในทัศนะของคนล้านนานั้นควร เป็นคนดีมีศีลธรรม โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็นพุทธศาสนิกชนท่ีดี คนล้านนาให้ ความสำคัญกับการอบรมสั่งสอนและการไปวัดเพ่ือฟังพระธรรมคำสอนของ พระพทุ ธเจา้ ภาษติ ทีส่ ะท้อนใหเ้ ห็นความคดิ นม้ี ใี จความว่า ขะยมดีย้อนทุเจ้า ลูกเต้าดีย้อนพ่อแม่ คนแก่ดีย้อนฟังธรรม [ขะญมดีญ้อนตุ๊เจ้า ลูกเต้าดีญ้อนป้อแม่ คนแก่ดีญ้อนฟังทำ] บางทีก็ใช้ว่า ขะยมดีเพื่อทุเจ้า ลูกเต้าดีเพื่อพ่อแม่ คนแก่ดีเพื่อฟังธรรม [ขะญมดีเป้ือ ตุ๊เจ้า ลูกเต้าดเี ปื้อป้อแม่ คนแกด่ ีเปือ้ ฟังทำ] ขะยม [ขะญม] แปลวา่ เด็กวดั ทเุ จา้ [ต๊เุ จา้ ] มาจากคำวา่ สาธุเจา้ หมายถึง พระภกิ ษุ ยอ้ น [ญ้อน] และ เพอ่ื [เปือ้ ] มคี วามหมายตรงกัน แปลว่า เพราะ, เนอื่ งจาก ภาษิตที่ยกมานี้แปลว่า เด็กวัดดีเพราะพระสงฆ์ ลูกเต้าดีเพราะพ่อแม่ และคนแก่ดีเพราะฟังธรรม หมายความว่า เด็กวัดจะเป็นคนดีก็เพราะได้รับ การอบรมจากพระสงฆ์ ลูกเต้าจะเป็นคนดีก็เพราะมพี อ่ แม่อบรมส่ังสอน ส่วน คนแกท่ เี่ ป็นคนดีก็เพราะได้ฟงั พระธรรมคำสอนของพระพทุ ธเจา้ ภาษิตล้านนากล่าวถึงคนแก่ท่ีไม่น่านับถือว่าได้แก่คนท่ี แก่เพราะ กนิ ข้าว เฒ่าเพราะเกิดเมนิ [แก่เพาะกิน๋ เข้า เถา้ เพาะเกิดเมนิ ] เมนิ แปลวา่ นาน หมายความว่า คนแก่ประเภทนบ้ี งั เอิญมีอายุยนื เพราะมอี าหารรบั ประทานและเกดิ มานานเทา่ นนั้ ไมส่ นใจทปี่ ระพฤตติ นอยใู่ น ศีลธรรม ล้านนามีสำนวนเรียกคนแก่ประเภทนี้ว่า เป็นคนท่ี แก่บ่ดอกบ่ดาย ตรงกบั ภาษาไทยกรงุ เทพวา่ แก่เปล่า ๆ ปลี้ ๆ คนล้านนาตำหนิคนที่ไม่นับถือศาสนา คือ ไม่เข้าวัด ไม่ไหว้พระว่า เป็นคนบาปหนา ดังมีภาษิตบทหนึ่งว่า วัดบ่เข้า พระเจ้าบ่ไหว้ คือคนหนา
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 111 [วดั บ่อเขา้ พะเจา้ บอ่ ไหฺว้ กอื คนหนา] พระเจา้ [พะเจา้ ] หมายถงึ พระพุทธเจ้าหรอื พระพุทธรปู คนหนา หมายถึง คนกเิ ลสหนา หรือ คนบาป (ศ. ดร.ประคอง นมิ มานเหมนิ ท)์ ภาษิตว่าด้วยหน้าทข่ี องสามภี รรยา ภาษิตล้านนาทีม่ ีเนอื้ ความวา่ ดว้ ยสามภี รรยามีอยู่หลายบท สามีภรรยา ท่ีต่างก็รักกันอย่างแน่นแฟ้นนั้น คนล้านนาเรียกว่าเป็น ผัวรักเมียแพง [ผวั ฮกั เมียแปง] แพง [แปง] ในภาษาไทยถ่ินเหนือและภาษาชนชาติไทหลายกลุ่ม นอกจากแปลว่ามีราคาสงู แลว้ ยงั แปลว่า รกั ไดด้ ว้ ย ผวั รกั เมียแพง ตรงกบั ผวั รักเมียรัก น่นั เอง สามีและภรรยาท่ีเปน็ คนดที ัง้ คู่ คนล้านนาเปรียบเทียบว่าเป็น ผัวแก้ว เมียแสง แสง แปลวา่ แกว้ ผวั แกว้ เมยี แสง ตรงกบั ผวั แกว้ เมยี แกว้ หมายถงึ ทงั้ สามแี ละภรรยาตา่ งกเ็ ปน็ คนดมี าก ถอื วา่ เปน็ คนทม่ี คี ณุ คา่ ประหนงึ่ แกว้ แกว้ ในที่น้ีหมายถึงหนิ ท่จี ดั ว่าเป็นรัตนชาติเพราะหายากและราคาแพง เชน่ เพชร ทบั ทิม มรกต จึงมผี นู้ ยิ มนำมาใช้เปรียบเทยี บกบั สิ่งท่ีดมี ีคุณค่ามาก นอกจาก น้ยี ังมีการเปรียบเทียบสามีภรรยาทีเ่ ปน็ คนดีทง้ั ควู่ า่ ผัวแก้วเมยี เทพ [ผวั แก้ว เมยี เตบ้ ] ส่วนสามีภรรยาท่ีเป็นคนไม่ดีทั้งคู่น้ัน คนล้านนาเปรียบเทียบว่าเป็น ผัวเปรตเมยี ผี [ผวั เผดเมียผ]ี หรอื ผวั เปรตเมียยักษ์ [ผวั เผดเมียญัก] ภาษติ นี้ เป็นการเปรียบเทียบว่าผัวเลวประหนึ่งเปรตและเมียก็เลวประหนึ่งผีหรือยักษ์ คือเลวท่ีสุดทง้ั สองคน
112 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค ในวันแต่งงานตามประเพณีที่สืบทอดมาแต่โบราณนั้น ผู้เฒ่าผู้แก่ท่ีมา อวยพรและอาจารยห์ รอื ปอู่ าจารยผ์ ทู้ ำหนา้ ทเี่ รยี กขวญั มกั กลา่ วเตอื นใหค้ สู่ มรส เป็น ผวั รกั เมียแพง คือ ใหท้ ะนถุ นอมน้ำใจกัน มคี วามรักกนั อย่างม่ันคง และ ให้เป็น ผัวแก้วเมียแสง คือ ประพฤติตนเป็นคนดีท้ังคู่ อย่าเป็นคนเลวอย่าง ทเ่ี รยี กว่า ผัวเปรตเมยี ผี ภาษิตล้านนาที่สอนเร่ืองบทบาทหน้าท่ีของชายหญิงหรือสามีภรรยา เชน่ พ่อชายลุกเชา้ ผอ่ สี่แจง่ บา้ น แมญ่ งิ ลกุ เช้าผ่อสแ่ี จ่งเรือน [ป้อจาย ลุกเจ๊าผอ่ ส่แี จ่งบ้าน แม่ญงิ ลุกเจ๊าผ่อสแี่ จ่งเฮือน] พอ่ ชาย [ปอ้ จาย] และ แมญ่ งิ ในภาษาไทยถนิ่ เหนอื มคี วามหมาย ตรงกบั ผู้ชายและผูห้ ญิง ในภาษาไทยกรงุ เทพ ลุก แปลวา่ ต่นื นอน ผอ่ แปลว่า ดู หรือ ดแู ล แจ่ง แปลวา่ มุม พ่อชายลุกเช้าผ่อส่ีแจ่งบ้าน แปลว่า ผู้ชายหรือสามีต่ืนเช้าดูแล สี่มมุ บา้ น คอื ดแู ลบรเิ วณบ้านหรอื รอบ ๆ บ้าน แม่ญิงลุกเช้าผ่อสี่แจ่งเรือน แปลว่า ผู้หญิงหรือภรรยาต่ืนเช้า ดูแลสี่มมุ เรือน คือ ดแู ลพน้ื ท่ีบนเรอื น หมายความวา่ หนา้ ทก่ี ารดแู ลการงาน บนบ้านเช่นการทำความสะอาดและทำอาหารเป็นหน้าท่ีของสตรีหรือภรรยา สว่ นผู้ชายหรือสามมี ีหนา้ ที่ดแู ลการงานบรเิ วณรอบบา้ น เช่น ขดุ ดนิ ปลกู ตน้ ไม้ ดแู ลวัวควาย ตลอดจนซอ่ มแซมร้ัวใหเ้ รยี บร้อยเพ่ือความปลอดภัย ภาษิตอีกบทหนึ่งเปรียบเทียบหน้าท่ีของสามีภรรยาว่า ผัวเป็นหิง เมยี เปน็ ข้อง
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 113 หงิ แปลวา่ สวิง ซ่ึงเปน็ เคร่ืองช้อนจับปลา ถักเปน็ รา่ งแห ลักษณะ เป็นถงุ ใช้ไมห้ รอื หวายทำเปน็ ขอบปาก ส่วน ข้อง ในภาษาไทยถ่ินเหนือตรงกับภาษาไทยกรุงเทพ หมายถึง เคร่อื งจักสานสำหรบั ใส่ปลา ปู กบ หรือเขียดทจ่ี บั ได ้ ภาษิต ผัวเป็นหิง เมียเป็นข้อง แปลเป็นภาษาไทยกรุงเทพได้ว่า ผัวเป็นสวงิ เมยี เป็นข้อง เป็นการเปรียบเทียบสามเี ป็นสวิง คือเป็นผูห้ ารายได้ มาเล้ียงครอบครัว ภรรยากต็ อ้ งทำหนา้ ทีเ่ ปน็ ขอ้ งคือเกบ็ รักษาทรัพยส์ ินที่สามี หามาได้ให้ดี หรอื หมายถงึ ท้ังสามีและภรรยาต้องช่วยกนั ทำมาหากิน ภาษิตล้านนาที่สอนว่าสามีภรรยาท่ีดีต้องนับถือซ่ึงกันและกัน ยกย่อง ให้เกยี รติกนั มใี จความวา่ ผัวบ่นับถือเมีย คำกองเท่าเรือก็บ่ค้าง เมียบ่นับถือผัว คำกอง เท่าหัวก็เส้ียง [ผัวบ่อนับถือเมีย คำก๋องเต้าเฮือก้อบ่อค้าง เมียบ่อนับถือผัว คำก๋องเต้าหัวก้อเส้ียง] คำ ในทีน่ ้ีแปลว่า ทองคำ บค่ ้าง แปลวา่ ไม่เหลอื เสยี้ ง แปลว่า หมดสน้ิ ภาษิตบทนี้แปลว่า สามีไม่นับถือให้เกียรติภรรยา ต่อให้มีทองกองเท่า ลำเรือก็ไม่เหลือ เช่นเดียวกับภรรยาท่ีไม่นับถือให้เกียรติสามี ต่อให้มีทอง กองเท่าศีรษะก็หมด หมายความว่า ท้ังสามีและภรรยาต้องยกย่องเชิดชู ให้เกียรติกัน ให้ความนับถือซึ่งกันและกัน ร่วมกันคิดร่วมกันสร้างครอบครัว สรา้ งฐานะใหม้ น่ั คง ไมป่ ดิ บงั อำพรางกนั โดยเฉพาะในเรอื่ งการใชจ้ า่ ย ทงั้ นเี้ พราะ เม่ือไม่นับถือยกย่องให้เกียรติกัน ต่างฝ่ายก็เห็นแก่ตัว ใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย ไม่ร่วมกันเก็บรักษาทรัพย์สินไว้เพ่ือครอบครัว แม้มีทรัพย์สมบัติมากมาย เพียงใด ในท่ีสุดกจ็ ะหมดสิน้ ไปได้
114 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค อยา่ งไรกด็ ี ภาษติ บางบทสะทอ้ นให้เห็นว่า ในทศั นะของคนลา้ นนานัน้ ผชู้ ายมสี ถานภาพสงู กวา่ ผหู้ ญงิ สตรผี เู้ ปน็ ภรรยาตอ้ งเคารพสามี ภรรยามหี นา้ ที่ หุงหาอาหารให้สามีและลูกรับประทาน น่าจะเป็นเพราะคนล้านนาส่วนใหญ่ นับถือพระพุทธศาสนา และผู้ชายมักผ่านการบวชเรียนมาก่อนแต่งงาน จึง ตอ้ งให้ความเคารพ ดงั ภาษิตว่า ยามนอนอย่านอนสูงกว่าผัวเจ้า คันเมื่อลุกเช้า หื้อค่อยหย่อง เทียวเรือน [ญามนอนอย่านอนสูงกว่าผัวเจ้า กันเม่ือลุกเจ๊า หื้อก้อยหย่อง เตียวเฮือน] คนั [กัน] คือ ครนั้ ลุก แปลว่า ต่นื นอน หื้อ คือ ให ้ หยอ่ ง ตรงกับคำวา่ ย่อง ในภาษาไทยกรงุ เทพ เทียว [เตยี ว] แปลว่า เดิน ยามนอนอย่านอนสูงกว่าผัวเจ้า คันเมื่อลุกเช้า ห้ือค่อยหย่อง เทยี วเรอื น หมายความวา่ เวลานอนภรรยาไมค่ วรนอนในทสี่ งู กวา่ สามี แมน้ อน บนทน่ี อนเดยี วกนั กไ็ มน่ ยิ มวางหมอนของภรรยาสงู กวา่ หมอนของสามี ตอ้ งวาง คู่กันหรือให้หมอนของภรรยาอยู่ต่ำกว่า ภรรยาจะต้องต่ืนก่อนและนอนหลัง เมอื่ ต่ืนนอนเวลาเดนิ ตอ้ งค่อย ๆ ย่องไมใ่ หเ้ สียงดัง เพราะสามียังนอนอยู่ ภาษิตอกี บทหนึ่งมีวา่ ลกู ผวั เปน็ เจา้ นอนลนุ ลกุ เชา้ แตง่ คาบขา้ วงายทอน [ลกู ผวั เปน๋ เจา้ นอนลุนลุกเจา๊ แต่งคาบเข้างายตอน] ลูกผัว ในที่นี้เนน้ ความสำคญั ที่สามี ลุน แปลว่า ทีหลัง คาบขา้ ว [คาบเขา้ ] แปลวา่ อาหารแตล่ ะมอ้ื งาย หมายถงึ ยามเช้า, ยามสาย
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 115 ขา้ วงาย [เขา้ งาย] หมายถงึ อาหารเชา้ ทอน [ตอน] หรอื เม่ือทอน [เม่อื ตอน] หมายถงึ เวลากลางวนั ข้าวทอน [เข้าตอน] คอื อาหารกลางวนั ภาษิตบทน้ีแปลว่า สามีเป็นเจ้าเป็นนาย นอนทีหลังต่ืนแต่เช้าจัดหา อาหารม้ือเช้าม้ือกลางวันให้ หมายความว่า ภรรยาจะต้องให้ความสำคัญแก่ สามีประหน่ึงเป็นเจ้าเป็นนาย ภรรยาจะต้องนอนทีหลัง ต่ืนเช้าข้ึนมาก็ต้อง เตรียมอาหารแตล่ ะมือ้ ไวใ้ ห้สามี (ศ. ดร.ประคอง นิมมานเหมินท)์ ภาษติ วา่ ด้วยการศกึ ษาหาความรู้ คนลา้ นนามีความเชื่อวา่ ทกุ คนมีสมอง มีสติปัญญาอยู่ในตัว แตส่ ่งิ ที่ทำ ใหแ้ ตกต่างกนั กค็ ือความร้ทู ี่มาเรยี นรไู้ ด้ในภายหลัง ดงั ภาษิตท่วี ่า ความหลฺ ฺวักมชี ผุ ู้ ความร้ซู ้ำต่างกัน [ความหฺลฺวั๋กมีจผุ๊ ู้ ควฺ ามฮู้ซำ้ ต่างกั๋น] แปลว่า ความฉลาดมีกนั ทกุ คน แตค่ วามรู้ย่อมต่างกนั ความหลฺ ฺวกั [ความหลฺ วฺ ๋กั ] แปลว่า ความฉลาด หฺลฺวัก ตรงกับภาษาไทยกรุงเทพว่า หลัก อย่างในคำซ้อนว่า ฉลาดหลกั แหลม ชผุ ู้ [จุ๊ผ]ู้ แปลว่า ทกุ คน ถ้าหากใครมีการศึกษาเล่าเรียนน้อยก็จะทำให้ไม่รู้เท่าทันผู้อื่นและมี โลกทศั นค์ บั แคบ ดังภาษติ ทวี่ ่า ความรู้บ่ทนั ความหันบก่ ว้าง [ความฮบู้ อ่ ตัน ความหนั บอ่ กว้าง] บท่ นั [บอ่ ตนั ] แปลวา่ ไมท่ ันหรือไม่เทา่ ทัน ความหนั แปลวา่ ความเหน็ หรือความคิดเหน็ ดังนั้นผู้ท่ีรู้ตัวว่าความรู้ของตัวเองยังไม่กว้างขวางก็จะต้องปฏิบัติตาม
116 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ภาษิตที่ว่า ถามนกั ไดป้ ญั ญา นงั่ ผอ่ หนา้ ไดค้ า่ กน้ ดา้ น [ถามนกั ไดป้ น๋ั ญา นง่ั ผอ่ หนา้ ได้ก้าก้นด้าน] แปลวา่ ถามมากได้ปญั ญา นัง่ มองหน้าไดแ้ ค่กน้ ด้าน เปน็ การสอนให้รู้จักซักถามครูบาอาจารย์หรือผู้รู้ เพ่ือเป็นการเพ่ิมพูนปัญญา แต่ ถา้ หากอย่ใู กลบ้ คุ คลเหล่าน้ีแล้วไม่รจู้ ักถาม กเ็ ปล่าประโยชน ์ ไดค้ า่ [ได้ก้า] แปลว่า ไดแ้ ต,่ ไดแ้ ค่ เม่ือตระหนักว่าการศึกษาเป็นส่ิงสำคัญแล้ว คนล้านนาจึงส่ังสอนให้ กลุ บุตรกุลธิดาของตนได้ใฝห่ าความรู้อยเู่ ป็นนจิ ดงั มีภาษิตบทหน่ึงว่า เสียมบ่คมหื้อใส่ด้ามหนัก ๆ คำรู้บ่นักหื้อหม่ันร่ำหมั่นเรียน [เสียมบ่อคมหื้อไส่ด้ามหน๋ักหนั๋ก กำฮู้บ่อนักห้ือหม่ันฮ่ำหม่ันเฮียน] แปลว่า เสียมไม่คมใหใ้ สด่ า้ มหนัก ๆ ความรูไ้ มม่ ากให้หมั่นร่ำหมนั่ เรียน ภาษิตน้เี ปรียบ เสียมที่ไม่คมเวลาจะใช้ขุดดินก็ต้องใส่ด้ามให้หนัก ๆ เพ่ือให้มีแรงส่ง เหมือน คนทมี่ ีความรู้นอ้ ย ก็ต้องขยนั หมัน่ เพยี รรำ่ เรยี นใหเ้ ป็นคนทมี่ ีความรมู้ ากยง่ิ ขนึ้ ภาษิตอีกบทหน่ึงที่แสดงให้เห็นว่าคนล้านนาให้ความสำคัญกับการมี ความรอู้ ยา่ งลกึ ซึ้ง คือภาษิตทวี่ า่ เก้าเหลี้ยมสิบเหลี้ยม บ่เท่าเหลี้ยมใบคา เก้าหนาสิบหนา บเ่ ท่าหนาความรู้ [เกา้ เหลีย้ มสบ๋ิ เหลย้ี ม บ่อเตา้ เหล้ยี มไบคา เก้าหนาสิบ๋ หนา บ่อเต้าหนาความฮู้] แปลว่า เก้าแหลมสิบแหลมไม่เท่ากับความแหลมของ ใบหญา้ คา เก้าหนาสบิ หนาไมเ่ ท่าหนาความรู ้ เหลี้ยม แปลวา่ แหลม นอกจากนค้ี นล้านนายังมองเห็นคณุ คา่ ของความรู้ ดงั ภาษิตทีว่ า่ ความรมู้ ไี วบ้ ว่ ายหายสญู เทย่ี งจกั เปน็ คณุ สบื ไปภายหนา้ [ความฮู้ มีไว้บ่อวายหายสูน เต้ียงจั๋กเป๋นกุน สืบไปปายหน้า] แปลว่า ความรู้ไม่มีวัน สูญหายไปไหน ย่อมจะเป็นประโยชนต์ อ่ ตนเองตอ่ ไปในภายภาคหน้า
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 117 วาย แปลวา่ หมดสนิ้ ไป เที่ยง [เต้ียง] แปลว่า ย่อม คนล้านนาถือว่าการศึกษาเป็นบันไดไปสู่ความสำเร็จ คนท่ีมีการศึกษา สงู ยอ่ มจะมโี อกาสที่ดีกวา่ คนมีการศึกษาน้อย ดังมีภาษติ ที่วา่ ใคร่เป็นข้าห้ืออยู่ดาย ใคร่เป็นเจ้าเป็นนายหื้อหม่ันร่ำหม่ันเรียน [ไคเ่ ปน๋ ขา้ หอ้ื อยดู่ าย ไคเ่ ปน๋ เจา้ เปน๋ นายหอื้ หมน่ั ฮำ่ หมน่ั เฮยี น] แปลวา่ อยากเปน็ ข้ขี า้ ให้อย่เู ฉย ๆ ถ้าอยากเป็นเจา้ คนนายคนใหข้ ยนั หมัน่ เรยี น อย่ดู าย แปลว่า อย่เู ฉย ๆ ภาษิตอกี บทหน่ึงกก็ ล่าวในทำนองเดยี วกนั ว่า ใครเ่ ปน็ เจ้าหื้อหม่ันเรยี นคณุ ใครเ่ ป็นขนุ หือ้ หมัน่ เฝา้ เจา้ [ไค่เป๋น เจา้ หอ้ื หมน่ั เฮยี นกนุ ไคเ่ ปน๋ ขนุ หอ้ื หมน่ั เฝา้ เจา้ ] แปลวา่ ถา้ หากอยากเปน็ เจา้ คน นายคนกใ็ ห้หม่นั เรยี นศิลปวิทยาการ ถา้ หากอยากเป็นขุนนาง คอื ขา้ ราชการ ชั้นผใู้ หญ่ ก็ใหเ้ ขา้ เฝา้ เจา้ นายบอ่ ย ๆ คณุ [กุน] ในท่ีนีห้ มายถึง ศลิ ปวิทยาการ ความร้พู เิ ศษ หรอื คาถา อาคม การศกึ ษาในสมยั กอ่ นลกู ศษิ ยก์ ม็ กั จะแสวงหาครบู าอาจารยท์ มี่ ชี อ่ื เสยี ง ตามสำนักตา่ ง ๆ ท้ังท่เี ป็นพระสงฆ์และเป็นฆราวาส จนมีสำนวนท่วี ่า ศิษย์ต่างครู อาจารย์ต่างวดั หนังสอื กอ้ มต่างคนตา่ งมี [ส๋ิดต่างคู อาจา๋ นตา่ งวัด หนงั สือก้อมต่างคนต่างมี] แปลว่า ศษิ ยต์ ่างครูกัน พระอาจารย์ คนละวัด ต่างคนก็ต่างมีตำราเป็นของตนเอง หมายความว่า ให้รู้จักยอมรับ ความหลากหลายของความรู้ ไม่ให้ลบหลู่ดูหมิ่นครูบาอาจารย์ตลอดจนวิชา ของสำนักอ่ืน หนังสือก้อม หมายถึง ใบลานหรือพับสาขนาดสั้น โดยมากมัก เปน็ ตำราสว่ นตัวของอาจารย์แต่ละคน
118 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ก้อม แปลว่า สั้น สำหรับครูบาอาจารย์ที่เป็นฆราวาสน้ัน ลูกศิษย์มักจะไปพักอาศัยและ รับใช้ครูบาอาจารย์อยู่ที่บ้านของท่าน เพราะในอดีตการเดินทางไปกลับไม่ สะดวก ครูจึงเป็นเสมือนพ่อแม่คนที่สองของศิษย์ ลูกศิษย์จึงเรียกท่านว่า พ่อครู [ป้อคู] หรือ แม่ครู [แม่คู] ด้วยเหตุน้ีครูจึงเป็นบุคคลสำคัญผู้หนึ่งใน ชีวิตของแต่ละคน ไม่ว่าจะทำอะไรก็ตามจะต้องมีครูคอยสอนส่ังทั้งนั้น ดงั ภาษติ ว่า จี่พริกต้องมีครู จ่ีปูต้องมีลาย [จ่ีพิกต้องมีคู จ่ีปู๋ต้องมีลาย] แปลวา่ จีพ่ รกิ ตอ้ งมคี รสู อน จปี่ ตู ้องมชี ้ันเชงิ หรอื เทคนคิ จี่ แปลวา่ เผา ลาย แปลวา่ ลวดลาย ชั้นเชิง หรือเทคนิค ภาษติ นใี้ หข้ อ้ คดิ วา่ แมก้ ารประกอบอาหารทแ่ี สนจะงา่ ยอยา่ งการจพ่ี รกิ หรือจ่ีปูก็จะต้องมีครูสอนเทคนิควิธีให้ เพราะไม่เช่นน้ันพริกหรือปูก็จะไหม้ ใชท้ ำอาหารไม่ได้ และมภี าษติ อกี บทหนึง่ ท่ีสอนใหเ้ หน็ ความสำคญั ของครวู า่ อันใดบ่แจ้งเร่งหาครู บุญหลังชูจักช่วย [อันไดบ่อแจ้งเฮ่งหาคู บุญหลังจูจ๋ักจ้วย] แปลว่า หากมีส่ิงใดไม่กระจ่างหรือยังรู้ไม่ชัดเจน ให้รีบ ไปแสวงหาความร้นู ั้น ๆ จากครู บญุ แตป่ างหลงั จะมาชว่ ยค้ำชูให้ได้พบครูบา อาจารย์หรอื ใหไ้ ดค้ วามรู้ บแ่ จ้ง แปลวา่ ไม่กระจ่างแจ้ง เรง่ [เฮ่ง] แปลว่า รีบ ชู [จ]ู แปลวา่ มาหา, คำ้ ชู (นายยุทธพร นาคสขุ )
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 119 ภาษิตว่าด้วยการทำงาน ภาษิตที่สอนในเร่ืองการทำงานของล้านนามีหลายบท โดยมากจะสอน ให้คนรู้จักทำงานหรือการทำสิ่งใดด้วยความมานะอดทน ขยันขันแข็ง เต็ม กำลงั สตปิ ญั ญา เอาชนะอุปสรรคจนประสบผลสำเร็จ เชน่ กนิ แลว้ นอน ผปี นั พรวนั ละเจด็ เทอ่ื กนิ แลว้ เยยี ะการ พาลกู หลาน เป็นเจ้าเป็นนาย [กิ๋นแล้วนอน ผีปั๋นปอนวันละเจ๋ดเต้ือ กิ๋นแล้วเญียะก๋าน ปาลกู หลานเปน๋ เจา้ เปน๋ นาย] แปลวา่ กนิ แลว้ นอนผใี หพ้ รวนั ละเจด็ ครงั้ กนิ แลว้ ทำงานทำใหล้ กู หลานไดเ้ ปน็ เจา้ คนนายคน หมายความวา่ คนทข่ี เี้ กยี จไมท่ ำการ ทำงาน เอาแต่กินแล้วก็นอน จะต้องตกต่ำ ไม่มีความสุขความเจริญ เหมือน ได้รับพรจากผี (ผีสาปแช่ง) ถึงวันละ ๗ ครั้ง ดังน้ัน คนเราไม่ควรจะข้ีเกียจ ต้องรู้จักทำงานสร้างฐานะให้ม่ันคงเพ่ือตนเองจะได้มีชีวิตท่ีม่ันคง มีความสุข และยงั จะนำพาใหล้ ูกหลานมอี นาคตทีด่ ีได้เป็นเจ้าเป็นนายคนอีกดว้ ย ภาษิตนี้ บางครั้งอาจพูดสั้น ๆ เพียง ๒ วรรคแรก คือ กินแล้วนอน ผีปันพรวันละ เจด็ เทอ่ื [กิน๋ แล้วนอน ผีป๋นั ปอนวนั ละเจด๋ เต้ือ] ก็ได ้ ปนั แปลวา่ แบ่งปนั ออกเสยี งวรรณยุกต์จัตวาว่า ปั๋น พร ออกเสียงว่า ปอน คำที่ภาคกลางขึ้นต้นด้วยอักษร พ จะ เปล่ียนเป็นเสียง ป ในภาษาไทยถิ่นเหนือ ดังนั้น คำว่า ปันพร จึงออกเสียง เป็น ปั๋นปอน หมายถึง อวยพร เช่น ตอนปีใหม่เมืองแม่อุ๊ยปันพรห้ือ ลูกหลานอยู่เย็นเป็นสุข [ต๋อนปี๋ใหม่เมืองแม่อุ๊ยป๋ันปอนห้ือลูกหลานอยู่เย็น เป๋นสุก๋ ] แปลวา่ ตอนสงกรานต์คุณยายให้พรแกล่ ูกหลานอยู่เยน็ เปน็ สุข แต่ในทีน่ ้ี คำวา่ ผปี ันพร [ผีป๋ันปอน] น่าจะเป็นการประชด คำว่า ผีปันพร [ผปี ๋ันปอน] จงึ น่าจะหมายถึง ผสี าปแชง่ หรือใหส้ ิ่งทไ่ี ม่ด ี
120 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค เท่อื [เตอ้ื ] หมายถงึ ครงั้ เยียะการ [เญยี ะกา๋ น] หมายถึง ทำงาน มีภาษิตอีกบทหน่ึงท่ีมีความหมายใกล้เคียงกันว่า กินข้าวแล้วบ่เยียะ การ พาลกู หลานเปน็ หนเ้ี ปน็ ขา้ [กนิ๋ เขา้ แลว้ บอ่ เญยี ะกา๋ น ปาลกู หลานเปน๋ หนี้ เป๋นข้า] แปลว่า กินข้าวแล้วไม่ทำงาน พาให้ลูกหลานเป็นหน้ีหรือเป็นข้า ของผู้อื่น ภาษิตบทนี้มีใจความค่อนข้างจะตรงไปตรงมาว่า ถ้ากินข้าวอ่ิมแล้ว ไม่ทำการทำงานสร้างฐานะให้มั่นคง ก็จะทำให้ลูกหลานต้องลำบากยากจน เป็นหน้ีเป็นสินผู้อ่ืน หรืออาจสร้างหน้ีสินไว้ให้เป็นภาระของลูกหลานก็ได้ จึงเป็นคำสอนท่ีใหค้ นขยันหมนั่ เพยี รทำมาหากินนัน่ เอง ภาษติ บทต่อไปคอื เกดิ มาเป็นคน เขา้ ห้วยใดหอื้ มนั สุด ขุดห้วยใดห้ือมันทกึ [เกิดมา เป๋นคน เข้าห้วยไดห้ือมันสุ๋ด ขุ๋ดห้วยไดหื้อมันต๊ึก] แปลว่า เกิดเป็นคนเข้าไป ในลำห้วยใดก็ให้ไปจนสุด จะขุดลำห้วยใดก็ให้ถึงก้นลำห้วย คำสอนนี้เป็น ความเปรียบหมายถึง คนเราเม่ือจะทำสิ่งใดก็ให้ทำอย่างจริงจัง ทำให้ถึงท่ีสุด เพื่อจะได้ประสบผลสำเร็จ คำสอนน้ีสะท้อนภาพวิถีชีวิตการทำมาหากินของ คนล้านนาที่ต้องพ่ึงพาตนเอง ต้องไปหาปู ปลา ตามลำห้วยมาทำเป็นอาหาร รับประทาน สัตว์บางอย่างอาจอยู่ตอนเหนือของลำห้วยก็จะต้องไปให้ถึง หรืออยู่ในรูก็ต้องขุดให้ถึงพ้ืนจึงจะได้ตามต้องการ หรือหมายถึง การดูแล ลำห้วยต้องดูแลให้ตลอดลำห้วย ไม่ให้ตื้นเขิน ให้มีน้ำไหลโดยตลอด จะได้ นำมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ หอ้ื คือ ให ้ ทกึ [ตกึ๊ ] หมายถึง สดุ , สุดทาง, ถงึ ภาษติ บทตอ่ ไปที่มคี วามหมายเหมือนกัน คือ
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 121 ดำนำ้ หอ้ื ถงึ ทราย นอนหงายหอ้ื หนั ฟา้ [ดำนำ้ หอื้ ถงึ ซาย นอนหงาย หอื้ หันฟ้า] แปลวา่ ดำน้ำให้ถงึ ทราย นอนหงายใหเ้ หน็ ฟ้า หมายถงึ การจะทำ อะไรก็ให้ทำอย่างจริงจังหรือต้องพยายามทำให้ถึงท่ีสุด จึงจะประสบความ สำเร็จ (รศ.กรรณกิ าร์ วิมลเกษม) ภาษติ วา่ ด้วยการเลือกใชค้ นให้ตรงกบั งาน ภาษิตนี้มุ่งสอนผู้ท่ีเป็นหัวหน้าหรือผู้ที่จะต้องใช้งานผู้อ่ืน ให้รู้จักใช้คน ให้ตรงตามคุณสมบัติ ความสามารถ และวัยวุฒิ เพ่ือทำให้การงานประสบ ผลสำเรจ็ ดงั ภาษิตต่อไปนี้ ตอกสั้นห้ือมัดท่ีกิ่ว สิ่วส้ันห้ือส่ิวไม้บาง ๆ [ตอกส้ันหื้อมัดต้ีก่ิว สว่ิ ส้นั หื้อส่วิ ไมบ้ างบาง] แปลว่า ตอกส้นั ใหม้ ดั ตรงท่ีคอดกิว่ สว่ิ สั้นให้ใช้สวิ่ ไม้ บาง ๆ หมายความวา่ เมอ่ื มตี อกสน้ั ควรเอาไปมดั ของทม่ี ขี นาดเลก็ หรอื มจี ำนวน นอ้ ย ถา้ เอาไปมดั ของทม่ี ขี นาดใหญห่ รอื มจี ำนวนมาก กจ็ ะมดั ไมไ่ ด้ เชน่ เดยี วกบั สิ่วสั้นให้ใช้เจาะรูหรือเซาะไม้แผ่นบาง ๆ คำสอนดังกล่าวน้ีใช้วิธีเปรียบเทียบ การใช้ของใหต้ รงกับคณุ สมบัติ เช่นเดยี วกบั ผ้ทู ่เี ป็นหวั หน้าตอ้ งรจู้ กั เลือกใช้คน ให้เหมาะสมตามความสามารถและตามประเภทของงาน จึงจะทำให้การงาน ประสบผลสำเร็จอย่างท่ีต้องการได้ คำสอนน้ีแสดงให้เห็นความฉลาดของ บรรพชนล้านนาที่นำของใช้ในการทำงานหรือส่ิงพบเห็นปฏิบัติอยู่เป็นประจำ เชน่ การใชต้ อกมามดั สงิ่ ของหรอื การใชส้ วิ่ ในการทำงานเกยี่ วกบั ไม้ ทำใหเ้ ขา้ ใจ ง่ายเพราะเปน็ สงิ่ ทีท่ ำหรอื พบเหน็ อยเู่ สมอ กิ่ว หมายถงึ คอด ส่ิว เป็นชอ่ื เครอ่ื งมือของช่างไม้ ใช้สำหรบั ตอก เจาะ สลกั หรอื เซาะ
122 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ภาษติ ทีส่ อนใหร้ ูจ้ กั เลือกใชค้ นให้ตรงกับงานบทตอ่ ไปคือ น้อยบ่ดีเอาเป็นอาจารย์ หนานบ่ดีเอาเป็นช่างซอ [น้อยบ่อดี เอาเป๋นอา๋ จาน หนานบ่อดีเอาเปน๋ จ้างซอ] แปลว่า คนท่เี ปน็ นอ้ ยไมค่ วรเอามา เป็นมัคนายก หรืออาจารย์ผู้ทำพิธีต่างๆ คนที่เป็นหนานไม่ควรเอามาเป็น ชา่ งซอ ทสี่ อนเชน่ นเ้ี ปน็ เพราะวา่ ถา้ ใหน้ อ้ ยไปทำหนา้ ทขี่ องหนาน แลว้ ใหห้ นาน ไปทำงานของน้อย ก็จะทำได้ไม่ดีทั้ง ๒ คน เพราะคนท่ีบวชเป็นเณรย่อมได้ ร่ำเรียนน้อยกว่าคนท่ีบวชเป็นพระจึงไม่เหมาะจะทำหน้าท่ี “ปู่อาจารย์” ซึ่ง เปน็ ทเ่ี คารพนบั ถอื ของผคู้ น เปน็ ผรู้ ภู้ าษาบาลี รเู้ กย่ี วกบั ขนั้ ตอนการทำพธิ แี ละ ทำหน้าท่ีในการประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาและพิธีกรรมต่าง ๆ ให้แก่คนในชุมชน เช่น พิธีขึด พิธีส่งเคราะห์ ส่วนการท่ีจะให้คนท่ีบวชเป็น พระทม่ี อี ายมุ ากแลว้ มาหดั เปน็ ชา่ งซอกค็ งจะไมท่ นั การณเ์ พราะมหี ลายทำนอง ที่จะต้องฝึกหัดและอาจมีเสียงไม่เพราะเหมือนคนอายุน้อย หรืออาจหมายถึง วา่ มคี วามรเู้ กนิ กวา่ การทจ่ี ะเปน็ ชา่ งซอ อกี ทงั้ ในการแสดงซอมกั มถี อ้ ยคำสองแง่ สองง่าม และอาจถูกกระเซ้าเย้าแหย่จากผู้ชมด้วยคำคะนองต่าง ๆ ทำให้คน เสื่อมความนบั ถอื ศรัทธาได ้ นอ้ ย หมายถงึ ผทู้ ่ลี าสิกขาขณะเปน็ สามเณร อาจารย์ [อาจ๋าน] หมายถึง มัคนายก ซึ่งทางล้านนาจะเรียกว่า อาจารย์วัด [อาจ๋านวัด] หรือ ปู่อาจารย์ [ปู่อาจ๋าน] เป็นผู้ทำพิธีเก่ียวกับ ศาสนาหรอื พธิ ที เ่ี กย่ี วเนอ่ื งกบั ความศกั ดสิ์ ทิ ธโิ์ ดยเปน็ ตวั กลางระหวา่ งผตู้ อ้ งการ ทำพธิ ีและสิ่งท่ีศกั ดิ์สิทธ์ินัน้ ๆ หนาน เปน็ คำเรียกผทู้ ล่ี าสิกขาขณะเป็นพระภกิ ษุ ผู้ที่เป็นน้อยและหนานน้ีคนทางล้านนาจะให้ความนับถือ ยกย่องและ มักจะใช้เป็นคำนำหน้าช่ือของบุคคลผู้นั้น เช่น น้อยไชยา [น้อยไจญา] หนานสขุ [หนานส๋กุ ] และถา้ จะเรียกผู้ท่เี คยบวชเรยี นมาแล้วก็จะเรยี กรวม ๆ
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 123 วา่ พนี่ อ้ ยพีห่ นาน [ป้นี อ้ ยปี้หนาน] ช่างซอ คือ ผู้ขับซอซึ่งเป็นเพลงพ้ืนบ้านของภาคเหนือที่มักจะ เป็นการขับโตต้ อบกนั ระหวา่ งชายหญงิ โดยมีปช่ี ดุ เป่าประกอบ ดังนั้นในการใช้ลูกน้อง ผู้ท่ีเป็นหัวหน้าต้องพิจารณาให้ตรงกับความรู้ ความสามารถ รวมท้ังวัยวุฒิที่เหมาะสมของแต่ละคน งานน้ันจึงจะดำเนินไป ดว้ ยดเี พราะผทู้ ำงานมคี วามสบายใจ มคี วามมน่ั ใจในการทำงานนน้ั ๆ มากขน้ึ (รศ.กรรณิการ์ วมิ ลเกษม) ภาษิตว่าด้วยการทำไรท่ ำนา อาชีพหลักของคนไทยตั้งแต่โบราณคือการทำนา เพราะข้าวคืออาหาร หลัก มคี ำกล่าววา่ สขุ เพอื่ มีขา้ วกิน สขุ เพ่อื มีแผ่นดนิ อยู่ [สุ๋กเปอื้ มเี ข้ากิน๋ ส๋กุ เปื้อมี แผ่นดินอยู่] เพือ่ [เปื้อ] แปลวา่ เพราะ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ความสขุ พน้ื ฐานของชวี ติ คอื มขี า้ วไวบ้ รโิ ภคอยา่ งเพยี งพอ และมแี ผ่นดินให้อาศยั อย่อู ย่างเป็นอิสระ ตราบใดท่ีมีน้ำมีดนิ บา้ นเมืองย่อมมี ความอดุ มสมบรู ณ์ ดังภาษิตอีกบทหน่ึงว่า เงินอยู่ในนำ้ คำอย่ใู นดิน คำ ในท่ีนีห้ มายถงึ ทองคำ คนลา้ นนาเห็นว่าไร่นาเป็นทรัพยส์ นิ ทใ่ี ช้ไมม่ วี นั หมดสน้ิ ใครท่ี ไรบ่ ม่ สี ักวา นาบม่ สี กั แวน่ [ไฮ่บอ่ มสี กั๋ วา นาบ่อมสี ั๋กแหว้น] หมายถงึ ไรไ่ ม่มสี ักวา นาไมม่ แี มแ้ ตแ่ ปลงเล็ก ๆ สักแปลงเดยี ว ถือวา่ เปน็ คน ยากจน
124 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค แว่น [แหว้น] เป็นลักษณนามใช้กับสิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่นกลม และแบน ในที่นใ้ี ช้เปรยี บเทียบว่ามพี นื้ ทเ่ี พยี งเลก็ น้อย การมนี าเปน็ ของตวั เอง แมเ้ ปน็ เพียงพนื้ ท่ีเล็กน้อยยอ่ มดีกว่าไปค้าขาย ดงั มภี าษติ วา่ สิบเรือค้า บ่เท่านาแว่นเดียว [ส๋ิบเฮือก๊า บ่อเต้านาแหว้นเดียว] หรอื สบิ เรอื คา้ บเ่ ทา่ นาพนั่ เดยี ว [สบิ๋ เฮอื กา๊ บอ่ เตา้ นาปนั้ เดยี ว] เพราะการคา้ ย่อมมีความเส่ียงสูงต่อการขาดทุน ไม่เหมือนการทำนา ถึงอย่างไรก็ยังได้ ขา้ วกิน พนั่ [ปนั้ ] ตรงกบั คำวา่ แปลง ในภาษาไทยกรงุ เทพ เปน็ ลกั ษณนาม ใช้กับท่ีนา นอกจากนี้ยังส่ังสอนลูกหลานว่าหากขยันทำไร่ทำนาก็ร่ำรวยได้ ดังภาษิตว่า คันใคร่มูนทุ่นเท้า หื้อหม่ันเยียะไร่เยียะนา [กันไค่มูนตุ้นเต๊า ห้ือหม่ันเญียะไฮ่เญียะนา] หมายถึง ถ้าอยากมีฐานะดีเพิ่มขึ้น ให้หมั่นทำไร่ ทำนา มูน แปลว่า เพิ่มพูน, สะสม ทุน่ เท้า [ตุน้ เต๊า] แปลวา่ มากมาย, สมบูรณ,์ บางทีใชว้ า่ ทูนเทา้ [ตูนเต๊า] อย่างไรก็ตาม การทำนาเป็นงานหนักและต้องคอยเอาใจใส่ดูแลทุก ข้ันตอนต้ังแต่เตรียมขุดลอกเหมือง ซ่อมแซมฝายก้ันน้ำ ไถคราดเตรียมดิน การปลูก การเกบ็ เก่ียว จนกระทัง่ ขนขา้ วขน้ึ ย้งุ ดงั นัน้ สมาชิกในครอบครัวจงึ ตอ้ งชว่ ยกนั แม้แต่ผหู้ ญงิ ซึ่งมีงานบา้ นหนักอยแู่ ล้ว พอถงึ หน้านากต็ อ้ งออกมา ช่วย หากหลบซ่อนตัวอยู่แต่ในบ้านก็จะถูกตำหนิว่าเป็นผู้หญิงที่ประพฤติตัว ไมส่ มควร ดังมคี ำกลา่ ววา่ ท่านไปนามันพ้อยซ่อนอยู่บ้าน ญิงผู้นั้นบ่ดี [ต้านไปนามัน ป๊อยซ่อนอยูบ่ า้ น ญงิ ผู้นนั้ บอ่ ดี] แปลว่า คนอน่ื ไปทำนาแตก่ ลับหลบตวั อย่บู ้าน
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 125 หญิงผู้นัน้ ไม่ด ี พ้อย [ปอ๊ ย] เปน็ คำเช่อื ม แปลว่า กลับ, ไฉน, ทำไม เมื่อถึงฤดูทำนาควรรีบเร่งลงมือทำ จะได้ไม่มีอุปสรรคใดๆ ถ้าทำล่าช้า จะไมไ่ ด้ผลดี เพราะกลา้ ขา้ วจะแคระแกรน็ นา่ เสียดาย ดังคำกลา่ วว่า เยียะไรน่ าปี เชา้ ๆ แควนดี บ่มีทข่ี อ้ ง หล้า ๆ ขวาย ๆ เสียดาย กล้าปล้อง บ่ห่อนจักดี เนอน้อง [เญียะไฮ่นาป๋ี เจ๊าเจ๊าแควนดี บ่อมีต้ีข้อง หลา้ หลา้ ขวายขวาย เสียดายกา้ ป้อง บ่อห่อนจัก๋ ดี เนอน้อง] แปลว่า ทำไรแ่ ละ ทำนาปี สมควรทำแต่ต้นฤดู จะได้ไม่มีอุปสรรค ถ้าทำล่าช้า เสียดายต้นกล้า มันจะเสยี หายนะนอ้ ง เช้า ๆ [เจา๊ เจ๊า] แปลว่า แตเ่ น่ิน ๆ ขอ้ ง แปลว่า ขัดขอ้ ง, สะดุด, มอี ปุ สรรค หล้า แปลว่า ลา่ ช้า, ทหี ลงั ขวาย แปลว่า สาย แควนดี แปลว่า ยิง่ ดี, ดกี วา่ , สมควร กล้าปลอ้ ง [ก้าป้อง] แปลว่า ท่อนกลา้ ในท่ีนีห้ มายถงึ ตน้ กล้า เนอน้อง แปลวา่ นะน้อง ถา้ โอ้เอ้ลา่ ช้ากม็ ีภาษิตวา่ โบราณว่าไว้ เยียะไร่นาขวาย ช่างเสียแรงควาย บ่มูนมั่งข้าว [โบลานวา่ ไว้ เญียะไฮ่นาขวาย จา้ งเสยี แฮงควาย บ่อมูนมั่งเข้า] แปลว่า โบราณ กล่าวไว้วา่ ทำนาทำไรล่ า่ ช้า จะเสยี แรงควายไปเปล่า ๆ เพราะจะทำนาไม่ได้ ผลดี ไดผ้ ลผลติ ข้าวน้อยไม่คุ้มกับท่ลี งทนุ ลงแรงไป ในการหว่านกล้า มีภาษิตไว้วา่ จักตกี ลองหือ้ ผอ่ ดูเม่อื จกั ปลกู ขา้ วเชื้อหอ้ื ผอ่ ดยู าม [จัก๋ ตี๋กอ๋ งหอื้ ผ่อดูเมื่อ จ๋ักปูกเข้าเจ๊ือห้ือผ่อดูญาม] แปลว่า จะตีกลองให้ดูเวลา จะหว่าน
126 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค พันธุข์ ้าวใหด้ เู วลาหรอื ฤกษ์ยามทเ่ี หมาะสม ผ่อ แปลวา่ ด ู เมอ่ื แปลว่า เวลา, ฤกษ์ยาม ผ่อเม่ือ หรือ ดูเมื่อ หมายถึง ดูตำราโหราศาสตร์ หรือปรึกษา หมอด ู ข้าวเช้ือ [เขา้ เจ๊ือ] แปลวา่ ข้าวเปลือกทเ่ี กบ็ ไวท้ ำพันธุ์ นอกจากน้ียังต้องรู้จักคำนวณปริมาณเมล็ดพันธ์ุท่ีจะนำไปหว่านด้วย มภี าษิตวา่ หวา่ นกลา้ ไวเ้ หลอื นา [หวา่ นกา้ ไวเ้ หลอื นา] คอื หวา่ นเมลด็ พนั ธขุ์ า้ ว ให้ได้ต้นกล้าเกินกว่าเนื้อท่ีนา เพ่ือเผื่อไว้สำหรับเมล็ดข้าวท่ีไม่งอกหรือปลูก ซ่อมต้นขา้ วทอ่ี าจถูกแมลงหรือสัตว์อนื่ รบกวนทำให้เสียหาย ดังมีภาษิตวา่ หวา่ นกลา้ ชา่ งตกตม ปลู มชา่ งหนบี ขา้ ว [หวา่ นกา้ จา้ งตก๋ ตม๋ ปลู๋ ม จ้างหนีบเข้า] แปลว่า หว่านเมล็ดข้าวมักจะตกลงไปในโคลนตมนอกแปลง ไม่งอกเปน็ ต้นกลา้ ปูลมมักจะหนบี ต้นข้าวใหเ้ สียหาย ชา่ ง [จา้ ง] ในบทนแี้ ปลวา่ มกั จะ นอกจากนย้ี งั เผอ่ื สำหรบั เพอื่ นบา้ น ทมี่ ตี น้ กลา้ ไม่พอปลกู จะได้ใหเ้ ขาเอาขา้ วเชอ้ื พันธ์มุ าแลก ชาวนาต้องชำนาญ ในการหวา่ นกลา้ ด้วย ดังภาษิตว่า เยยี ะไรช่ า่ งหวา่ นงา เยยี ะนาชา่ งหวา่ นกลา้ [เญยี ะไฮจ่ า้ งหวา่ นงา เญียะนาจ้างหวา่ นกา้ ] แปลวา่ ทำไรต่ ้องชำนาญการหวา่ นเมลด็ งา ทำนาต้อง ชำนาญการหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว ชาวนาต้องรู้จักวิธีการหว่าน เพื่อให้เมล็ด พันธขุ์ า้ วกระจายไปทัว่ ไม่กระจุกอยู่ทีใ่ ดที่หน่ึง จะทำใหไ้ ด้ตน้ กล้าที่แข็งแรง ชา่ ง [จา้ ง] ในบทน้แี ปลว่า ชำนาญ, ทำเป็น เมื่อดำนาแลว้ ตน้ ขา้ วเจริญงอกงามก็ตอ้ งหมัน่ ไปดูแล ดังภาษติ ที่ว่า ใคร่กินข้าว หื้อหมั่นใชท่งใชนา [ไค่กิ๋นเข้า หื้อหม่ันไจต้งไจนา]
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 127 แปลวา่ อยากกนิ ขา้ ว ให้หมน่ั ไปดแู ลทุง่ นา ใช [ไจ] แปลวา่ ไปเยยี่ ม, ไปดแู ล แตไ่ มค่ วรพาเดก็ และสนุ ขั ไปทงุ่ นา ดว้ ย ดงั ภาษิตว่า ละอ่อนบ่ดีเอาไปนา หมาบ่ดีเอาไปท่ง [ละอ่อนบ่อดีเอาไปนา หมาบ่อดีเอาไปตง้ ] เพราะความซุกซน จะไปเหยียบยำ่ ถกถอน ทำใหต้ ้นข้าว เสยี หาย ทง่ [ต้ง] แปลว่า ทงุ่ , ทงุ่ นา ระหว่างการทำนาก็ต้องหม่ันไปดูเหมืองฝายว่าชำรุดหรือมีสิ่งกีดขวาง ทางน้ำบ้างหรือไม่ จะได้ซ่อมแซมขุดลอก เพราะ บ่มีเหมืองฝาย ข้าวช่าง ตายแดด [บ่อมีเหมืองฝาย เข้าจ้างต๋ายแดด] แปลว่า ไม่มีเหมืองฝาย ไม่มี นำ้ ข้าวมักจะตายเพราะแดดเผา เหมืองฝายสำคัญมากสำหรับการทำนา การผันน้ำเข้านาจึงต้องทำ เป็นระบบและมีความเป็นธรรม โดยกลุ่มชาวนาต้องถือกติกาในการใช้น้ำ ตามท่ไี ด้จดั สรร ตกลงกันอย่างเครง่ ครัด ไม่เหน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนตนถา่ ยเดยี ว เชน่ มีภาษติ สอนไม่ให้ จกท้างบ่องแท [จ๋กต๊างบ่องแต] คือ ไปเจาะทำนบหรือทาง ระบายน้ำ เพอื่ ใหน้ ้ำไหลเขา้ นาตัวเองเท่านั้น จก [จก๋ ] แปลว่า ควัก, ลว้ ง, ขดุ บ่อง แปลวา่ เจาะใหเ้ ป็นรู เป็นช่อง แท [แต] แปลวา่ ทำนบกัน้ นำ้ ในเหมอื งหรอื คลองส่งน้ำทแ่ี ยกจาก ฝายหรือเข่อื นกอ่ นท่ีจะไปสทู่ ้าง ท้าง [ต๊าง] แปลว่า ช่องทางระบายน้ำเข้าหรือออกจากนาหรือ สวน นอกจากน้ันยังต้องช่วยกันรักษาความสะอาดของเหมืองฝายหรือแม่น้ำ ดว้ ย อย่าทำให้มสี งิ่ ปฏิกูลลงไปในนำ้ ดงั ภาษิตทีว่ ่า
128 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค บ่ดีสิหมาเน่าลงฝาย บ่ดีสิหมาตายลงแม่น้ำ [บ่อดีสิ๋หมาเน่า ลงฝาย บ่อดีส๋ิหมาต๋ายลงแม่น้ำ] คือไม่ควรเอาไม้เข่ียหมาเน่าหรือหมาตาย ลงฝายหรือแมน่ ำ้ บ่ดี แปลวา่ ไม่ควร สิ [ส]๋ิ แปลวา่ เอาไมส้ อยหรอื เอาไม้เขีย่ การท่ีคนล้านนาทำนามาตลอดหลายช่ัวคน จึงมีข้อสังเกตจาก ประสบการณ์ทีส่ ามารถนำมาเปรียบเทยี บเปน็ ภาษิตคำสอน ดังตัวอย่างเช่น เยียะนาหล้าเสียแรงควาย มีเมียขวายเป็นข้าลูก [เญียะนาหล้า เสียแฮงควาย มีเมียขวายเป๋นข้าลกู ] แปลว่า ทำนาล่าชา้ เสียแรงควาย มีเมีย ชา้ เปน็ ขข้ี า้ ลกู หมายถงึ การตดั สนิ ใจชา้ ทำใหเ้ สยี โอกาสดี ๆ ไป เชน่ การมภี รรยา ช้า กจ็ ะต้องลำบากเลยี้ งลูกยามแก่ เยยี ะนา [เญยี ะนา] แปลวา่ ทำนา ซ้ือควายยามนา ซื้อคายามฝน [ซ้ือควายญามนา ซอ้ื คาญามฝน] หรือ ซอ้ื ควายหน้านา ซ้อื ผ้าหนา้ หนาว [ซอ้ื ควายหน้านา ซื้อผา้ หนา้ หนาว] แปลว่า ซ้ือควายในฤดูทำนา ซื้อหญ้าคาในฤดูฝน หรือซื้อควายในฤดูทำนา ซ้ือผ้าในฤดูหนาว เป็นการสอนให้เตรียมการแต่เน่ิน ๆ หรือทำกิจการให้ถูก กาลเทศะ ภาษิตว่า นาดีใผบ่ละเป็นร้าง [นาดีไผบ่อละเป๋นฮ้าง] แปลว่า ท่ีนาดีไม่มีใครปล่อยทิ้งร้าง ใช้เปรียบกับผู้หญิงดี สามีย่อมไม่ท้ิงไปให้เป็น แมร่ ้าง ไปไถนาลมื ควาย [ไปไถนาลมื ควาย] แปลว่า เวลาไปไถนากลับลืม เอาควายไปดว้ ย หมายถงึ หลงลืมสงิ่ ท่สี ำคัญทส่ี ดุ ในเรื่องนั้น ๆ เปน็ การเตอื น ให้มสี ตอิ ยู่เสมอ เอาใจใสง่ านของตน
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 129 ชาติว่าน้ำบ่หล้างเขียมปลา ชาติว่านาบ่หลอนไร้ข้าว [จาต๋ิว่า น้ำบ่อหล้างเขยี มป๋า จาติว๋ ่านาบอ่ หลอนไฮ้เขา้ ] แปลว่า ธรรมชาตขิ องน้ำย่อม ไม่ขาดปลา ธรรมชาติของนาย่อมไม่ไร้ข้าว หมายความว่า ถ้าขยันก็ไม่หมด หนทางหากิน เพราะในน้ำย่อมมีปลา ในนายอ่ มมีข้าว ชาติ [จาต]๋ิ แปลวา่ ปรกต,ิ ธรรมชาต ิ หล้าง แปลว่า คงจะ, นา่ จะ เขียม แปลว่า หายาก หลอน แปลวา่ น่าจะ, อาจจะ ข้าวบ่ตากตำปึก คนหลึกสอนยาก [เข้าบ่อตากต๋ำปึ๋ก คนหล๋ึก สอนญาก]แปลวา่ ขา้ วทไ่ี มไ่ ดต้ ากจะตำยาก คนโงห่ รอื ดอื้ รนั้ มกั สอนยาก ภาษติ นี้ เปรยี บคนที่สอนยากเหมอื นข้าวท่ีตากไมแ่ ห้งจะตำลำบาก ปึก [ปึก๋ ] แปลวา่ ฝืด, ไม่คลอ่ ง, ไมฉ่ ลาด หลกึ [หลฺ กึ๋ ] แปลวา่ โง,่ ท่ึม, ดื้อรั้น เยียะไรไ่ กลตา เยียะนาไกลบา้ น [เญยี ะไฮ่ไกต๋ า๋ เญยี ะนาไก๋บ้าน] ภาษิตน้ีหมายความว่า ไมค่ วรทำไรท่ ำนาอยไู่ กลบ้าน เพราะจะไมส่ ามารถดแู ล ได้อย่างเต็มท่ี อาจถูกสัตว์อื่นมาทำลายให้เสียหายและได้ผลผลิตน้อย ใช้ เปรียบเทียบกับการมีคนรักไม่ควรอยู่ห่างไกลกัน เพราะจะดูแลซ่ึงกันและกัน ได้ไม่เต็มท่ี ทำให้ความรักจืดจางหรือมีคนอ่ืนมาข้องแวะ และทำให้คนรัก เปล่ยี นใจได้ คนล้านนาเช่ือมั่นว่าหากคนรู้จักทำนาจนสันทัดจัดเจนแล้วจะทำให้ บ้านเมืองมน่ั คงเป็นปึกแผน่ เพราะประชาชนจะไมอ่ ดอยาก มีอาหารเพียงพอ สำหรบั บรโิ ภค ดงั ภาษติ ท่ีสอนสืบกันมาวา่ เอากันเป็นนา พากันเป็นบ้านเป็นเมือง [เอากั๋นเป๋นนา ปากั๋น เปน๋ บา้ นเปน๋ เมอื ง] แปลวา่ ชว่ ยกนั บกุ เบกิ ทดี่ นิ ใหเ้ ปน็ นา และชว่ ยกนั สรา้ งบา้ น
130 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค แปลงเมอื ง อีกประการหนง่ึ เกษตรกรตอ้ งคิดไกลไปถึงอนาคตว่าจะหาวิธีการ อย่างไรจึงจะทำให้ได้ผลผลิตมากข้ึน ในขณะที่พ่อค้ากลับคำนึงถึงต้นทุน ทไ่ี ด้ลงทนุ ไปแล้ว ดังภาษติ วา่ พ่อนาคึดไปหน้า พ่อค้าคึดไปหลัง [ป้อนาก๊ึดไปหน้า ป้อก๊าก๊ึด ไปหลงั ] แปลวา่ ชาวนาคิดไปถงึ ภายหน้า พ่อคา้ คิดย้อนหลงั (รศ.เรณู วชิ าศิลป์) ภาษติ วา่ ดว้ ยการคา้ ขาย การค้าขายเปน็ อาชีพของชาวล้านนา รองจากเกษตรกรรม พ่อค้าก็คอื ชาวนาชาวไร่ซึ่งออกไปขายหลังฤดูกาลเก็บเก่ียว ไม่ว่าจะโดยใช้ระบบแลก เปลี่ยนสินค้าหรือใช้ระบบเงินตรา มีทั้งการค้าในท้องถิ่นและค้าขายทางไกล โดยใชส้ ตั วต์ า่ ง เช่น ววั ต่าง มา้ ต่าง หรอื ทางเรอื โดยปรกติแล้วชาวล้านนาส่วนใหญ่ไม่ชอบยึดอาชีพค้าขายเป็นหลัก เพราะถอื ว่าเสี่ยงต่อการขาดทนุ ดังภาษติ ว่า สิบเรือค้า บ่เท่านาพั่นเดียว [สิบเฮือก๊า บ่อเต้านาปั้นเดียว] หมายความว่า มีเรือสินค้าสบิ ลำยังไม่เท่ากบั มีนาแปลงเดียว พนั่ [ปน้ั ] ตรงกบั คำวา่ แปลง ในภาษาไทยกรงุ เทพ เปน็ ลกั ษณนาม ใชก้ บั ที่นา การค้าขายท่ีทำกันหลังเสร็จฤดูทำนาแล้ว มักเป็นการค้าย่อยที่ไม่ต้อง ลงทุนมากนอกจากนำผลผลิตส่วนเกินของครอบครัวไปแลกเปลี่ยนกับสิ่งของ ทีต่ ้องการหรอื นำไปขาย ผใู้ หญ่มักบอกลกู หลานวา่ หมั่นค้าขายเท่ียงได้ ใผบ่ผูกมือไว้ เยียะได้หากเป็นของเรา [หม่ันก๊าขายเต้ียงได้ ไผบ่อผูกมือไว้ เญียะได้หากเป๋นของเฮา] แปลว่า ขยัน ค้าขาย ต้องได้ผลตอบแทนแน่นอน ไม่มีใครผูกมือไว้ ทำมาหาได้ ย่อมเป็น
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 131 ของเรา หมายความว่า ถา้ ขยนั ค้าขาย กย็ อ่ มไดผ้ ลตอบแทนแน่นอน ไม่มใี คร ห้ามไว้ ค้าขายไดเ้ งินเทา่ ใดก็เป็นของเราทัง้ หมด เท่ยี ง แปลวา่ เที่ยงแท้, แนน่ อน ใผ แปลว่า ใคร ผูกมอื แปลว่า มดั มอื ไว้ ในท่ีนีห้ มายถึง ห้ามปราม, หนว่ งเหน่ยี ว เยียะ แปลว่า ทำ และให้ หมั่นไปหาบค้าหาบขาย มีข้าวของหลายมาก [หม่ันไป หาบกา๊ หาบขาย มเี ข้าของหลายมาก] คือยิง่ ขยนั ค้าขายกย็ ่ิงมสี ิ่งของเครอ่ื งใช้ มากขึ้น ถ้าเป็นคู่สามีภรรยากันและฉลาดในการช่วยกันค้าขายแล้ว ย่อมมี เคร่ืองครัวเรอื นใช้อย่างเพยี งพอ ดังภาษิตว่า สองฉลาดคา้ จักมีครวั เรือน [สองสะหลาดก๊าจก๋ั มคี ัวเฮือน] ครัว [ควั ] แปลวา่ ขา้ วของ ครวั เรอื น [คัวเฮอื น] แปลวา่ ขา้ วของเคร่ืองใช้ในบา้ น มภี าษติ ทีแ่ สดงใหเ้ หน็ วา่ คนลา้ นนามองเหน็ ว่าการค้าขายมีความสำคญั ทำใหม้ ฐี านะดไี ด้ ซ่งึ อาจเปน็ ทัศนคตทิ ี่เกิดข้นึ ในภายหลงั เชน่ ใคร่เป็นดีหื้อหาบไปค้า ใคร่เป็นข้าหื้ออยู่ดาย [ไค่เป๋นดีหื้อหาบ ไปกา๊ ไคเ่ ปน๋ ขา้ หอ้ื อยดู่ าย] แปลวา่ ถา้ อยากฐานะดี ใหห้ าบของไปขาย ถา้ อยาก เป็นข้ีข้า ให้อยู่เฉย ๆ หมายความว่า ถ้าอยากได้ดีมีเงินให้รู้จักค้าขาย แต่ถ้า อยากเปน็ ขข้ี า้ รบั ใช้ผ้อู ่ืน กใ็ หอ้ ย่เู ฉย ๆ ใคร่ [ไค่] แปลวา่ ต้องการ, อยาก เปน็ ดี [เป๋นด]ี แปลวา่ ม่งั มี มฐี านะดี ขา้ แปลวา่ ขข้ี ้า, คนรับใช้ ดาย แปลวา่ เปล่า ๆ, เฉย ๆ
132 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค ภาษิตบทน้ี พบอีกสำนวนหน่ึงที่มีการใช้คำแตกต่างกันเล็กน้อย ว่า ใครเ่ ป็นดีหอื้ หม่ันคา้ ใคร่เปน็ ข้าหอ้ื อยู่บด่ าย [ไค่เป๋นดีหื้อหมน่ั กา๊ ไค่เปน๋ ขา้ หือ้ อยูบ่ ่อดาย] การค้าขายในล้านนาสมัยก่อนส่วนมากเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้ากัน มีหลักฐานท่ีแน่ชัดว่าเมื่อมีการติดต่อการค้ากับอังกฤษ ผ่านอินเดีย และพม่า จงึ มกี ารใชเ้ งนิ รปู ี เรยี กวา่ เงนิ แถบ ซงึ่ เปน็ เงนิ ทใ่ี ชใ้ นการซอ้ื ขายในบรเิ วณพมา่ อนิ เดยี มากอ่ น สนั นษิ ฐานวา่ ภาษติ คำสอนของลา้ นนาทใ่ี หค้ วามสำคญั เกย่ี วกบั การคา้ มเี พ่ิมขนึ้ และส่วนใหญ่น่าจะปรากฏในชว่ งน้ี เชน่ ใคร่เป็นเศรษฐีหื้อหม่ันค้า ใคร่เป็นข้ีข้าห้ือเล่นภ้ายหลังลาย [ไค่เป๋นเสดถีหื้อหม่ันก๊า ไค่เป๋นขี้ข้าหื้อเหล้นพ้ายหลังลาย] หมายความว่า ถา้ อยากเป็นเศรษฐีให้ขยันค้าขาย ถา้ อยากเปน็ ขา้ ทาสก็ใหเ้ ล่นไพ่ ภา้ ย [พ้าย] แปลว่า ไพ่ ภา้ ยหลงั ลาย คือ ไพท่ ่ีดา้ นหลังมลี วดลาย หมายถึง ไพ่ฝร่ัง คึดไร่นาสวนสร้างเวียก ค้าขายเรียกหาเงิน [ก๊ึดไฮ่นาสวน สา้ งเวยี ก กา๊ ขายเลียกหาเงิน] แปลว่า คิดทำนาทำสวนสรา้ งงาน คา้ ขายเรยี ก หาเงนิ หมายความวา่ คดิ ทำนาทำสวนเปน็ การสรา้ งงานหนกั เพราะมภี าระตอ้ ง ดูแลมาก แต่ค้าขายเป็นงานเบาสามารถหาเงินไดง้ า่ ยกวา่ เวยี ก แปลว่า งาน ในท่ีน้ีหมายถึง งานหนกั ภาษติ อีกบทหนง่ึ มีวา่ หมั่นเข้ากาดเงินหลาย หม่ันค้าขายเงินคำนัก [หมั่นเข้ากาด เงินหลาย หมั่นก๊าขายเงินคำนัก] หมายความว่า ขยันเข้าตลาดจะมีเงินมาก เพราะเอาสนิ คา้ ไปขาย ขยนั ค้าขายได้เงินทองมาก คนล้านนาไม่เก่งเร่ืองการค้าทางไกลเท่าพ่อค้าไทใหญ่และพ่อค้าพม่า ดงั น้ันชาวล้านนาจงึ สอนกันว่า
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 133 ค้าใกล้ดีกว่าค้าไกล [ก๊าไก้ดีกว่าก๊าไก๋] และ คนหฺลฺวักค้าใกล้ คนใบค้ ้าไกล [คนหฺลวฺ ัก๋ ก๊าไก้ คนไบ้ก๊าไก]๋ หมายความวา่ คนฉลาดมกั คา้ ขาย ใกล้ ๆ ละแวกท้องถ่นิ ของตน แต่คนโง่มกั เดนิ ทางไปคา้ ไกล หลฺ ฺวัก [หลฺ วฺ ั๋ก] แปลวา่ ฉลาดหลักแหลม ใบ้ แปลว่า พดู ไมไ่ ด้ ในท่นี หี้ มายถงึ โง่ เนอ่ื งจากการคา้ ในระยะใกล้ ลงทนุ นอ้ ยทง้ั เรอื่ งของเงนิ ทนุ เวลาเดนิ ทาง แรงงานคน แรงงานสัตว์ต่าง แต่อย่างไรก็ตามยังมีพ่อค้าชาวล้านนาบางกลุ่ม ท่ีค้าขายทางไกลโดยใช้วัวหรือม้าบรรทุกสินค้าไปแลกเปล่ียนหรือค้าขายกับ พ่อค้าเมืองอ่ืน ๆ บางครั้งยังนำสินค้าไปขายถึงเมืองมะละแหม่งและเชียงตุง ประเทศพมา่ เข้าไปขายในประเทศลาว และเดนิ ทางไปถึงแคว้นสบิ สองพนั นา ประเทศจีน ขากลับก็นำสินค้าจากเมืองเหล่านั้นกลับมาขายในท้องถิ่นของ ตนด้วย มีภาษิตสำหรับพอ่ ค้าววั ต่างสำนวนหนึง่ ว่า จกั คา้ งวั หื้อผ่อดตู ่าง หม่ันซอ่ มห้างบ่ดดู าย [จั๋กก๊างัวหอ้ื ผอ่ ดตู า่ ง หมั่นส้อมห้างบ่อดูดาย] แปลว่า จะค้าขายโดยใช้วัวต่างก็ให้ดูแลต่าง หม่ัน ซอ่ มแซมและตระเตรยี มไมอ่ ย่เู ฉย งัว คือ ววั ต่าง ในภาษิตนี้หมายถึง กระทอซึ่งเป็นภาชนะสานทรงกระบอก ทใ่ี ช้บรรทกุ บนหลังสัตว์ต่าง เชน่ ม้า หรือ ววั ซ่ึงเปน็ พาหนะบรรทกุ ส่ิงของใน การเดนิ ทาง ซอ่ ม [สอ้ ม] แปลวา่ ทำให้ดีเหมือนเดมิ , เตมิ ส่วนทข่ี าดใหค้ รบ ห้าง แปลวา่ ตระเตรียม, จัดเตรียม คำสอนนี้เตือนสติให้พ่อค้าต้องหม่ันสำรวจต่างซึ่งเป็นเคร่ืองใช้สำคัญ ในขบวนวัวต่าง ว่าบรรทุกข้าวของมีน้ำหนักพอดีกับกำลังของวัวที่จะรับได้
134 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค หรือไม่ หากต่างชำรดุ กต็ ้องซ่อมแซม หรอื หากสินค้าพร่องไปใหห้ ามาเติม เรอื่ งความหว่ งบ้านห่วงลูกเมยี เปน็ เรือ่ งสำคญั โดยเฉพาะพ่อคา้ ทางไกล ทม่ี ีภรรยางาม เปน็ เร่ืองทกุ ข์ใจอย่างย่ิงท่ตี ้องจากบา้ น ในขณะทชี่ ายผมู้ ภี รรยา ไมง่ ามกลบั เปน็ ทกุ ข์ยามพาไปงานบญุ เพราะอายเขา ดังมีคำกลา่ วว่า มีเมียงามทุกข์ใจเมื่อไปค้า เมียบ่งามทุกข์ใจเมื่อพาไปพอย [มีเมียงามตุก๊ ไจ๋เมอ่ื ไปกา๊ เมียบ่องามตกุ๊ ไจ๋เม่อื ปาไปปอย] ทกุ ขใ์ จ [ตุ๊กไจ๋] แปลวา่ เปน็ ทกุ ข,์ กลมุ้ ใจ พอย [ปอย] แปลวา่ งานฉลอง, งานบญุ อาชีพค้าขายเป็นงานท่ีต้องอาศัยความขยันหม่ันเพียรและความอดทน ทำอย่างต่อเนื่อง ดังน้ันจึงมีภาษิตท่ีเน้นในเรื่องนี้มาก โดยมีคำว่า หม่ัน ซ่ึง แปลวา่ ขยนั อยูใ่ นภาษิตนนั้ ด้วย ดงั ตัวอย่างเช่น ใคร่เป็นดีหื้อหม่ันค้า ใคร่เป็นข้ีข้าหื้อเป็นนายประกัน [ไค่เป๋นดี หื้อหม่ันก๊า ไค่เป๋นข้ีข้าหื้อเป๋นนายปะกั๋น] แปลว่า ถ้าอยากร่ำรวยให้ขยันทำ การคา้ ถา้ อยากเปน็ ขข้ี ้าให้เปน็ นายประกนั เพราะต้องใชห้ นแ้ี ทนคนอ่นื ใคร่มีสินหื้อหมั่นค้า คันใคร่ฉลาดห้ือปฏิบัติพานิโช [ไค่มีสิน หอ้ื หมั่นก๊า กนั ไค่สะหลาดห้ือป๋ะต๋บิ ั๋ดปานโิ จ] แปลวา่ ถา้ อยากมีทรัพย์สินมาก ให้ขยันค้าขาย ถ้าอยากฉลาดให้เปน็ พอ่ คา้ พานโิ ช [ปานิโจ] คือ พานชิ หมายถงึ พอ่ ค้า หมนั่ คา้ ขายเทย่ี งไดด้ ี ใผบบ่ อกมไี ว้ เยยี ะไดห้ ากเปน็ ของพรองดี บ่เป็นหนี้ท่านแล หลานเหย [หมั่นก๊าขายเต้ียงได้ดี ไผบ่อบอกมีไว้ เญียะได้ หากเป๋นของพองดี บ่อเป๋นหนี้ต้านแล หลานเหย] แปลว่า ขยันค้าขายย่อม ได้ดีอย่างแน่นอน ไม่ต้องมีใครบอก ทำได้ก็เป็นสิ่งท่ีดี จะได้ไม่เป็นหน้ีคนอ่ืน นะหลานเอ๋ย
ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 135 นอกจากน้ยี งั มีภาษิตที่เกีย่ วกบั ขอ้ ห้าม ขอ้ ควรปฏิบัตอิ ่ืน ๆ สำหรบั คน คา้ ขายอกี หลายประเด็น เช่น ๑. มีขอ้ หา้ มคา้ ขายของทขี่ ัดตอ่ ศลี ธรรม เชน่ คา้ อาวุธ สรุ า สัตว์และ ยาพิษ ดังตวั อย่างในวรรณกรรมเร่ืองปู่สอนหลานว่า อย่าค้าของฆา่ ทา่ นทุกเย่ือง [อย่ากา๊ ของข้าตา้ นทกุ เญ่อื ง] แปลว่า อยา่ คา้ อาวุธทกุ อยา่ ง ของฆ่า [ของข้า] คือ ของท่ีทำให้ตาย หมายถงึ อาวธุ ตา่ ง ๆ อยา่ ใส่เหล้าหงุ ขาย แปลวา่ อย่าต้มสรุ าขาย สัตว์ทังหลายอย่าค้า [ส๋ัดตังหลายอย่าก๊า] แปลว่า อย่าค้าสัตว์ หรือสิ่งมีชวี ิต อย่าซือ้ พษิ ง้วนกลา้ เปน็ ของขาย [อยา่ ซอ้ื ปิ๊ดง้วนก้าเป๋นของขาย] แปลวา่ อยา่ ค้าขายยาพษิ หรอื สง่ิ ท่เี ปน็ พษิ งว้ น แปลว่า ยาพษิ , ยาเบอ่ื กลา้ [กา้ ] แปลวา่ รุนแรง ๒. ให้เร่ิมต้นค้าขายเล็ก ๆ น้อย ๆ กอ่ น แล้วจึงคอ่ ยขยายกจิ การ ให้ ทำตามกำลังทนุ ท่มี ี มิฉะน้ันอาจขาดทุนหรอื ตอ้ งลม้ เลิกกจิ การ ดังภาษิตวา่ จะหัดค้าห้ือหดั คำหน้อย จะเป็นนายร้อยหื้อใจกล้า ๆ [จะห๋ดั ก๊า ห้ือห๋ัดกำหน้อย จะเป๋นนายฮ้อยหื้อไจ๋ก้าก้า] แปลว่า ถ้าจะหัดค้าขายให้ค้า ทลี ะเลก็ ทลี ะนอ้ ย คือขายสนิ คา้ จำนวนนอ้ ยเสียก่อน เพอื่ เรียนรวู้ ธิ กี ารค้าขาย หรือถ้าการค้าไม่ประสบความสำเร็จก็จะขาดทุนไม่มาก ถ้าอยากเป็นคนคุม ขบวนสัตว์ต่าง ต้องมีใจกล้าหาญ เพราะต้องควบคุมคนหมู่มากและต้องดูแล ความปลอดภัยของขบวนสตั วต์ า่ ง คำ [กำ] แปลวา่ คร้งั คราว คำหนอ้ ย [กำหนอ้ ย] แปลวา่ ทีละนอ้ ย
136 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค นายรอ้ ย [นายฮอ้ ย] แปลวา่ ผคู้ วบคุมขบวนสัตว์ตา่ งไปคา้ ขาย เงนิ บห่ ลายอยา่ ไปคา้ มา้ ผา้ หม่ บห่ นาบด่ นี อนรมิ ไฟ [เงนิ บอ่ หลาย อยา่ ไปกา๊ มา้ ผา้ หม่ บอ่ หนาบอ่ ดนี อนฮมิ ไฟ] แปลวา่ เงนิ ไมม่ ากอยา่ คา้ มา้ เพราะ ต้องใช้เงินลงทุนสูง ผ้าห่มไม่หนาอย่านอนริมกองไฟ เนื่องจากเวลาค้างแรม ในป่าจะต้องก่อกองไฟเพ่ือป้องกันสัตว์ร้ายหรือแมลง และคนต้องอยู่ใกล้ กองไฟนน้ั จงึ ตอ้ งมผี า้ หม่ หนา ๆ เพอ่ื กนั ประกายไฟและใชด้ บั ไฟเมอ่ื ไฟลกุ ลาม ๓. เป็นคนค้าต้องรู้จักอดทน รอคอยโอกาสหรือจังหวะที่จะขายของ และฉลาดพลกิ แพลงวธิ ีการขาย ดังมีภาษิตวา่ จะซ้ือเม่ือยามเพิ่นใคร่ขาย จะขายเม่ือยามเพ่ินใคร่ซื้อ [จะซ้ือ เม่ือญามเป้ินไค่ขาย จะขายญามเปิ้นไค่ซื้อ] แปลว่า จะซื้อให้ซื้อเวลาท่ีเขา อยากขาย จะขายใหข้ ายเวลาทเ่ี ขาอยากซอื้ หมายความวา่ ควรซอื้ ของในขณะท่ี มคี นอยากขาย และควรจะขายในขณะทมี่ คี นอยากซอ้ื เพราะหากเขาอยากขาย เราจะซอื้ ได้งา่ ย ได้ราคาถูก หากเขาอยากซ้ือ เราก็จะขายได้เร็ว ได้ราคาด ี เพ่นิ [เปิน้ ] แปลว่า ท่าน, เขา ๔. ต้องมีวิสัยทัศน์กว้างไกล รู้จักสำรวจความต้องการของตลาด มีมนุษยสัมพันธ์ดี รู้จักเลือกคบคนเพื่อหาความรู้ใส่ตัวอันจะเป็นประโยชน์ต่อ การค้า เปน็ พ่อค้าหมนั่ ไปใช หันอนั ใดเอายามเช้า [เปน๋ ปอ้ ก๊าหมนั่ ไปไจ หันอันไดเอาญามเจา๊ ] แปลวา่ เป็นพ่อค้าตอ้ งขยันสำรวจตลาด เหน็ สง่ิ ใดท่จี ะ ซื้อไดก้ ็ใหร้ ีบซ้อื หาเอาไวแ้ ต่เนนิ่ ๆ ไปใช [ไปไจ] แปลว่า ไปดูแล, ไปเยี่ยม ยามเช้า [ญามเจา๊ ] ในทน่ี ี้แปลวา่ แต่โดยเรว็ , แตเ่ น่ิน ๆ เป็นพ่อค้าอย่าอวดว่าข้าวของหลาย หื้อได้ซอนดูที่ขายที่ซื้อ [เปน๋ ปอ้ กา๊ อยา่ อวดวา่ เขา้ ของหลาย หอื้ ไดซ้ อนดตู ข้ี ายตซ้ี อื้ ] แปลวา่ เปน็ พอ่ คา้
ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 137 อยา่ ถอื ดวี ่ามสี นิ ค้ามากแลว้ ให้หมน่ั ตระเวนเสาะหาดูตลาดและดสู นิ คา้ ซอน แปลว่า ซอกซอน, เสาะหา พักเรือไว้หลายท่า หม่าข้าวไว้หลายเมือง [พักเฮือไว้หลายต้า หม่าเข้าไว้หลายเมือง] แปลว่า จอดเรือไว้หลายท่าน้ำ แช่ข้าวไว้หลายเมือง หมายความวา่ ให้สร้างความสมั พนั ธก์ ับผูค้ นในทอ้ งถ่นิ ทกุ แหง่ ทีต่ นค้าขาย หมา่ ข้าว [หม่าเข้า] แปลวา่ แช่ขา้ วเหนยี วไว้น่ึงในวันรงุ่ ข้ึน หรืออีกภาษิตว่า แบ่งเชื้อไว้หลายท่า หม่าข้าวไว้หลายเมือง [แบ่งเจื๊อไว้หลายต้า หม่าเข้าไว้หลายเมือง] แปลว่า แบ่งเช้ือไว้หลายท่าน้ำ แช่ข้าวเหนียวไว้หลายเมือง หมายความว่า ควรผูกมิตรกับคนหลายกลุ่ม เพอื่ จะได้พงึ่ พาอาศัยกัน เหมือนแบ่งเมลด็ พนั ธขุ์ า้ วไวเ้ พาะหลายแหง่ ทำใหม้ ี ขา้ วเหนียวไว้แช่เพื่อนงึ่ รับประทานหลายเมอื ง ห้อื ปากมว่ นสบเครือ [หอื้ ปากมว่ นส๋บเคอื ] แปลว่า ให้พูดเพราะ หมายความวา่ ใหร้ ูจ้ ักพูดจาไพเราะ มสี าระ ลกู ค้าจะไดป้ ระทับใจ ปาก แปลวา่ พดู ม่วน แปลว่า ไพเราะ สบ [ส๋บ] แปลวา่ ปาก, พดู เครอื [เคอื ] แปลวา่ สอดคลอ้ ง, ตอ่ เนื่อง, คล้องจอง ๕. ต้องซื่อสัตยต์ อ่ ลูกค้า ไม่โกงตราช่งั อย่าย้ายคันนา อย่าคาตาชั่ง [อย่าญ้ายคันนา อย่ากาต๋าจั้ง] หมายความว่า อย่าขยับคันนา เพื่อโลภเอาท่ีดินของคนอ่ืน อย่าเอาของถ่วง ตาชงั่ เพ่ือโกงน้ำหนัก ๖. อยา่ คา้ ขายกบั เจา้ ขนุ มลู นาย จะเสยี ราคาทง้ั ขนึ้ ทงั้ ลอ่ ง เพราะมคี วาม เกรงใจเจ้านาย ทำใหต้ อ่ รองราคาไม่ได้ ดงั ภาษติ วา่ อยา่ ซื้อของตอ่ นาย อย่า ขายของต่อเจ้า
138 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค ๗. เมื่อตั้งใจค้าขายแล้วอย่าให้ขาดทุนหรือเสียของเปล่า ดังภาษิตว่า คันค้าอย่าหื้อล่มเสียดาย คันขายอย่าห้ือหายเสียเปล่า [กันก๊าอย่าห้ือหล้ม เสยี ดาย กันขายอยา่ ห้ือหายเสียเปา่ ] เสยี แปลวา่ หาย ลม่ เสีย [หล้มเสีย] แปลวา่ เสยี หาย, ขาดทนุ จากภาษติ คำสอนดังกล่าวทั้งหมด แสดงให้เห็นว่าชาวลา้ นนาประกอบ อาชพี ค้าขายมากขนึ้ แต่เปน็ การค้ายอ่ ยมากกว่าเป็นธุรกิจขนาดใหญ ่ มภี าษติ ท่ีชี้แนะให้คนค้าขายรู้จักปรับตัวทันต่อกลไกของตลาด สอนให้เป็นพ่อค้าที่ ขยนั ซอ่ื สตั ย์ มศี ลี ธรรม ไมม่ งุ่ หวงั กำไรมากจนกลายเปน็ การเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภค ภาษติ เหล่าน้สี ามารถนำมาประยุกตใ์ ชไ้ ด้ในโลกการค้าปจั จุบนั ด้วย (รศ.เรณู วชิ าศิลป์) ภาษิตว่าด้วยการรบี ร้อนทำงานหรือด่วนตดั สนิ ใจ คนล้านนามีภาษิตท่ีสอนไม่ให้รีบร้อนกระทำการซึ่งอาจนำผลเสียมาให้ เช่นภาษิตวา่ ฟง่ั กนิ ชา่ งแคน้ ฟง่ั แลน่ ชา่ งทา่ ว [ฟง่ั กนิ๋ จา้ งแกน๊ ฟงั่ แลน่ จา้ งตา้ ว] แปลวา่ รบี กนิ มักจะสำลัก รบี วงิ่ มักจะลม้ หมายความว่า ทำอะไรอยา่ งรีบร้อน กม็ ักจะมีผลเสยี ตามมา ฟ่งั แปลวา่ รีบ, เร่ง ช่าง [จ้าง] แปลว่า มักจะ แค้น [แกน๊ ] แปลว่า ตดิ คอ, สำลัก ทา่ ว [ต้าว] แปลว่า ล้ม แล่น แปลวา่ เคลื่อนทีไ่ ปอย่างรวดเรว็ , ว่ิง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192