Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษิต สำนวนไทย 4 ภาค

ภาษิต สำนวนไทย 4 ภาค

Description: ภาษิต สำนวนไทย 4 ภาค

Keywords: ภาษิต,สำนวนไทย,สำนวนไทย 4 ภาค

Search

Read the Text Version

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 139 ภาษิตอีกบทท่ีสอนในเรื่องเดียวกัน คือ ฟั่งได้บ่ดีเอา เผาไหม้บ่ดีกิน [ฟ่ังได้บ่อดีเอา เผาไหม้บ่อดีก๋ิน] แปลว่า รีบร้อนไปก็ใช้การไม่ได้ เผาจนไหม้ ก็กนิ ไม่ได้ หมายความว่า การรบี ร้อนทำส่งิ ใดสง่ิ หน่ึงเพ่อื ให้ผลโดยเร็ว อาจได้ ส่ิงท่ีไม่พร้อมหรือสมบูรณ์ตามความต้องการ บางทีต้องเสียเวลาทำหลายคร้ัง เปรยี บเหมอื นการทป่ี ง้ิ หรอื จอ่ี าหารเชน่ เนอ้ื หรอื ปลา ตอ้ งไมใ่ จรอ้ น ไมใ่ ชไ้ ฟแรง เพราะจะทำให้ไหม้จนกนิ ไมไ่ ด้ บ่ดีเอา แปลวา่ ไม่ควรเอา, ใช้การไมไ่ ด ้ บ่ดีกิน [บ่อดกี ิ๋น] แปลวา่ ไมค่ วรกนิ , อยา่ กิน, กินไมไ่ ด้ ภาษิตนี้ยังใช้เตือนไม่ให้รีบร้อนด่วนตัดสินใจในการกระทำส่ิงต่าง ๆ เพราะจะเกิดผลเสียได้ง่าย เพราะฉะน้ันการทำงานหรือการตัดสินใจทุกอย่าง จะตอ้ งมคี วามรอบคอบ ดังภาษติ ว่า บด่ จี าควายกลางหนอง [บ่อดีจา๋ ควายกา๋ งหนอง] แปลวา่ ไมค่ วร เจรจาซ้ือขายควายกลางหนองน้ำ หมายความว่าไม่ควรเจรจาซ้ือขายควาย ขณะที่ควายยังอยู่ในน้ำเพราะยังไม่ได้เห็นรูปร่างลักษณะเพ่ือประกอบการ ตดั สนิ ใจวา่ สมควรซอ้ื หรอื ไม่ เปน็ การใหข้ อ้ แนะนำวา่ จะทำอะไรไมค่ วรรบี รอ้ น ควรพิจารณาใหร้ อบคอบกอ่ นตัดสินใจ บ่ดี ในทีน่ ห้ี มายถงึ ไม่ควร จา [จ๋า] แปลวา่ พดู , เจรจา นอกจากน้ีคนล้านนายังมีภาษิตที่สอนไม่ให้รีบร้อนมีความสัมพันธ์กัน ก่อนแต่งงาน ต้องรู้จักอดใจรอเพ่ือให้เป็นไปตามขั้นตอนท่ีถูกต้องเหมาะสม เช่น บ่ดีกินก่อนทาน บ่ดีมานก่อนแต่ง [บ่อดีกิ๋นก่อนตาน บ่อดีมาน ก่อนแต่ง] แปลว่า ไม่ควรกินก่อนทำบุญ ไม่ควรท้องก่อนแต่งงาน หมายถึง

140 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ไมค่ วรกินอาหารทีเ่ ตรยี มจะนำไปถวายพระเพราะถือวา่ เปน็ บาป เชน่ เดียวกบั ผู้หญิงควรรักนวลสงวนตัว ไม่ให้มีเร่ืองเสียหายก่อนท่ีจะแต่งงานให้ถูกต้อง ตามประเพณ ี มาน หมายถงึ ตัง้ ครรภ ์ ภาษิตอกี บทสอนใหร้ ู้จักคอ่ ยเป็นคอ่ ยไปในเรอื่ งของความรกั คอื รกั ชนั้ ๆ มนั ชา่ งพลนั เหย เมนิ ๆ เคย ๆ มนั ชา่ งกมุ้ เฒา่ [ฮกั จน๊ั จน๊ั มนั จ้างปันเหย เมินเมนิ เกยเกย มนั จา้ งกุม้ เถ้า] แปลวา่ ความรกั ที่เกดิ เรว็ มักจะ จืดจางไปเรว็ คุ้นเคยไปนาน ๆ มกั จะรกั กนั ตราบจนแกเ่ ฒา่ หมายถงึ ความรกั ท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ท่ีรีบเร่ง ขาดความยั้งคิดมักจะไม่ยั่งยืน แต่ความรักที่ เกิดจากการเรียนรู้และสร้างความคุ้นเคยระหว่างกันอย่างค่อยเป็นค่อยไปมัก จะเปน็ ความรักท่ียนื ยาวไปจนแกเ่ ฒา่ ชั้น ๆ [จน๊ั จั๊น] ตรงกบั คำว่า กระช้นั หมายถึง รีบเรง่ พลัน [ปัน] แปลวา่ ทันทที ันใด, โดยเร็ว เหย แปลว่า ระเหย ในทน่ี หี้ มายถงึ จืดจาง เมิน แปลว่า นาน เคย [เกย] คอื คนุ้ เคย, สนิทสนม เมิน ๆ เคย ๆ [เมนิ เมินเกยเกย] หมายถงึ ใช้เวลานานในการสร้าง ความคนุ้ เคยสนิทสนมกนั กมุ้ หมายถงึ คมุ้ , ตราบจน, ตราบเทา่ (นายศิริสาร เหมอื นโพธิ์ทอง)

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 141 ภาษติ วา่ ด้วยการทำงานใหเ้ หมาะกบั เวลา คนล้านนามีภาษิตที่สอนหรือเตือนสติไม่ให้คิดหรือทำอะไรล่าช้าจน เกนิ ควร เพราะอาจเสียประโยชน์ท่คี วรได้ เช่น เยียะนาหล้าเปน็ ขา้ ควาย เอาเมียขวายเปน็ ขา้ ลูก [เญียะนาหล้า เป๋นข้าควาย เอาเมยี ขวายเปน๋ ขา้ ลกู ] แปลวา่ ทำนาชา้ เป็นขีข้ ้าควาย มภี รรยา ช้าเป็นขี้ข้าลูก หมายความว่า การทำนาท่ีช้ากว่าฤดูทำนาจะต้องส้ินเปลือง อาหารและเสียเวลาเล้ียงควายนานกว่าปรกติ เพราะไม่ได้ใช้ควายไถนาในต้น ฤดทู ำนา อีกท้งั เวลาทล่ี า่ ชา้ ออกไปนั้นทำให้นาไมเ่ หมาะสมทจ่ี ะทำนาเสียแล้ว เชน่ นำ้ ไมพ่ อทำใหด้ นิ แขง็ หรอื มวี ชั พชื ขนึ้ มาก จงึ ตอ้ งใชแ้ รงควายหรอื ทรพั ยากร อ่นื ๆ มากกว่าปรกตเิ พ่ือที่จะบำรงุ ดูแลนา ทา้ ยที่สดุ อาจได้ผลผลิตไมค่ ุ้มกบั ท่ี ลงทุนไป เช่นเดียวกับการมีลูกเมื่ออายุมากแล้ว ก็ทำให้ต้องเลี้ยงดูลูกไปจน ตัวเองแก่เฒ่าและอาจไม่มีชีวิตอยู่ให้ลูกได้มีโอกาสตอบแทนบุญคุณ เรียกว่า มลี กู ไม่ทนั ใชน้ นั่ เอง หลา้ แปลวา่ ช้ากวา่ กำหนด ขา้ แปลว่า บา่ ว, คนรบั ใช้ ขวาย แปลวา่ สาย, ลา่ ชา้ เอาเมีย แปลว่า แต่งงาน ใช้กับฝ่ายชาย บางคร้ังใช้ว่า เอาลูก เอาเมยี ถ้าเปน็ ฝ่ายหญิงใชว้ ่า เอาผัว หรือ เอาลกู เอาผวั ภาษติ อีกบทวา่ เปน็ พ่อค้าหมั่นไปใช หนั อันใดเอายามเชา้ [เป๋นปอ้ กา๊ หม่นั ไปไจ หนั อนั ไดเอาญามเจา๊ ] แปลวา่ เปน็ พอ่ คา้ ใหห้ มนั่ ไปสำรวจ เหน็ สงิ่ ใดกใ็ หร้ บี เอา หมายความว่า คนเป็นพ่อค้าควรขยันไปเสาะหาสินค้าเพื่อนำมาขาย หรือให้ หมัน่ ตรวจดวู า่ สนิ ค้าของตนว่ามเี พียงพอท่จี ะขายหรือไม่หรอื จะขายไปไดน้ าน เท่าใด เม่ือเห็นสิ่งใดท่ีสมควรนำมาขายก็ให้รีบซ้ือหามา ภาษิตนี้สอนให้คน

142 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ประกอบอาชีพด้วยความเอาใจใส่ กระตือรือร้น ไม่ล่าช้ารีรอ เพ่ือส่งเสริมให้ เกดิ ความเจริญกา้ วหน้าในอาชพี ของตน ใช [ไจ] แปลว่า ไปหา, ไปเย่ียม ในท่ีนีห้ มายถงึ ไปเสาะหา หัน แปลว่า เห็น ยามเช้า [ญามเจ๊า] ตามรูปศัพท์แปลว่า เวลาเช้า ในที่น้ีหมายถึง แต่โดยเรว็ นอกจากนย้ี ังมภี าษติ ทเี่ ตือนสตวิ า่ ไม่ควรลา่ ช้ารีรอทจี่ ะทำการงาน หรอื เรยี นรสู้ งิ่ ใด ๆ เพราะวนั ขา้ งหนา้ กวา่ จะคดิ ไดก้ อ็ าจสายเสยี แลว้ ทจี่ ะทำการงาน หรอื เรียนรู้สงิ่ นน้ั ๆ ดงั ภาษิตว่า เผ่อื รูค้ งิ น้ำปิงพอแหง้ [เผอ่ื ฮคู้ ิง นำ้ ปิงปอแหง้ ] แปลวา่ กวา่ จะ รตู้ วั แมน่ ้ำปงิ กแ็ ห้งเสยี แล้ว หมายความว่า กว่าจะรตู้ ัวกส็ ายเสียแล้ว เผ่อื ในทน่ี ้ีแปลว่า กว่าจะ คงิ แปลว่า ตัว, ร่างกาย ร้คู ิง [ฮคู้ งิ ] แปลวา่ รู้สึกตัว พอ [ปอ] แปลว่า พอดี, จน, จนกระทง่ั เหตุที่ภาษิตบทนี้ใช้แม่น้ำปิงมาเปรียบเทียบ เนื่องจากวิถีชีวิตของชาว เชียงใหม่ท่ีอาศัยแม่น้ำปิงเป็นเส้นทางล่องเรือล่องแพเพื่อค้าขายหรือเดินทาง หากรอจนถงึ ฤดแู ล้งแมน่ ้ำปงิ ตน้ื เขนิ จะไม่สามารถเดินทางได ้ และภาษิตอีกบทว่า เผอื่ รกู้ พ็ อวาย เผอื่ อายกพ็ อเฒา่ เผอ่ื จะรคู้ ำพระเจา้ กพ็ อเขา้ อยใู่ น หล้อง [เผื่อฮู้ก้อปอวาย เผื่ออายก้อปอเถ้า เผื่อจะฮู้กำพะเจ้าก้อปอเข้าอยู่ใน หล้อง] แปลวา่ กวา่ จะร้กู ็วาย กว่าจะอายก็แกเ่ ฒ่า กว่าจะรู้พระธรรมคำสอน ของพระพทุ ธเจา้ กเ็ ขา้ ไปอยใู่ นโลงศพพอดี หมายถงึ กวา่ จะเขา้ ใจเรอ่ื งราว เรอื่ งนน้ั กส็ น้ิ สดุ หรอื เกดิ ความเสยี หายไปแลว้ แกไ้ ขอะไรอกี ไมไ่ ด้ กวา่ จะเกดิ ความละอาย

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 143 หรอื สำนกึ ผดิ กแ็ กแ่ ลว้ และกวา่ จะซาบซงึ้ ในพระธรรมคำสอนของพระพทุ ธเจา้ ก็ตายพอดี วาย แปลว่า เลิก, สนิ้ สุด, เสียหาย คำพระเจ้า [กำพะเจา้ ] แปลวา่ พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจา้ หลอ้ ง แปลว่า โลงศพ ภาษิตบทนี้แสดงให้เห็นว่าคนล้านนาให้ความสำคัญของการเรียนรู้ พระธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนาและส่งเสริมให้เรียนรู้ต้ังแต่อายุยังน้อย ไมร่ อจนแก่เฒา่ เพื่อจะได้นำคำสอนนน้ั มาใชใ้ นการดำรงชวี ติ ภาษติ หลายบทชใ้ี หเ้ หน็ ประโยชนข์ องการตนื่ แตเ่ ชา้ และยงั สอนโดยออ้ ม ให้เห็นข้อดีของการทำงานอย่างไม่ล่าช้ารีรอโดยยกเอาเรื่องของการต่ืนเช้า ตน่ื สายมาแสดง ซง่ึ คนลา้ นนาเหน็ วา่ การตนื่ เชา้ จะชว่ ยใหเ้ รามเี วลาทำงานไดม้ าก ทำให้เจรญิ ก้าวหน้าได้มีตำแหนง่ สูง ดงั ภาษิตว่า ลกุ เชา้ เปน็ ขนุ ลกุ ลนู เปน็ ขา้ [ลกุ เจา๊ เปน๋ ขนุ ลกุ ลนู เปน๋ ขา้ ] แปลวา่ ตนื่ แตเ่ ชา้ ไดเ้ ปน็ ขนุ ตน่ื ทหี ลงั เปน็ ขข้ี า้ กลา่ วคอื คนทก่ี ระตอื รอื รน้ ตน่ื ขนึ้ ทำงาน แตเ่ ชา้ จะไดเ้ ปน็ เจา้ คนนายคน สว่ นคนทตี่ น่ื สายเปน็ คนขเี้ กยี จ จะตอ้ งเปน็ ขข้ี า้ เขา และช้ีใหเ้ ห็นประโยชนข์ องการตืน่ เชา้ ว่า ลุกเช้าได้กินผักยอดปลาย ลุกขวายได้กินผักยอดเค้า [ลุกเจ๊า ได้ก๋ินผั๋กญอดป๋าย ลุกขวายได้ก๋ินผ๋ักญอดเก๊า] แปลว่า ต่ืนเช้าได้กินยอดผัก ตื่นสายได้กินผักยอดแก่ หมายถึง คนท่ีต่ืนแต่เช้าจะได้เก็บยอดอ่อนของผัก มาประกอบอาหาร แต่คนท่ีตื่นสายก็จะเก็บได้แต่ยอดแก่หรือส่วนท่ีเหลือจาก ท่คี นตื่นเชา้ เก็บไปหมดแล้ว วถิ ชี วี ติ ของคนลา้ นนาสมัยกอ่ น จะเกบ็ ผกั พ้ืนบ้าน เช่น ชะอม ตำลึง มาประกอบอาหาร ดังนั้นคนที่ตื่นนอนมาเก็บผักก่อนย่อม ได้ผักส่วนท่ีเป็นยอดอ่อน ขณะท่ีคนต่ืนสายจะได้เก็บแต่ส่วนท่ีเหลือซ่ึงเป็น ใบแก่ แขง็ และเหนยี ว ภาษติ นส้ี อนวา่ คนทท่ี ำการงานใดอยา่ งไมล่ า่ ชา้ รรี อกจ็ ะ มีโอกาสดีกวา่ คนอื่น

144 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค ลุก หมายถงึ ตนื่ นอน ขวาย แปลว่า สาย เค้า [เกา๊ ] หมายถึง โคน, ต้น ภาษิตวา่ ลุกขวายซำ้ นอนวนั เยียะหยงั บ่ทนั แล้ว [ลุกขวายซำ้ นอนวนั เญียะหยังบ่อตันแล้ว] แปลว่า ต่ืนสายซ้ำนอนแต่หัวค่ำ ทำอะไรไม่ทันเสร็จ หมายถงึ คนท่ีต่นื สายซำ้ ยงั เขา้ นอนเร็ว กจ็ ะไม่มีเวลาทจี่ ะทำการงานให้สำเร็จ ลุลว่ งไปได้ นอนวนั หมายถึง นอนแตห่ ัวค่ำ เยียะ [เญียะ] แปลว่า ทำ หยงั แปลว่า อะไร และภาษติ วา่ ลกุ เชา้ หอื้ จกั ตอกเปน็ สาย คำ่ มาผายมเี ชอื กปา่ น [ลกุ เจา๊ หื้อจั๋กตอกเป๋นสาย ค่ำมาผายมีเจื้อกป่าน] แปลว่า ตื่นเช้าให้จักตอกเป็นเส้น ค่ำมาก็ใหท้ ำเชือกปา่ น หมายถงึ ตน่ื เช้ามาก็ใหจ้ ักตอก เวลาค่ำกใ็ ห้ขยบั ขยาย มาทำเชือกป่านเก็บไว้ใชง้ าน ภาษิตนส้ี อนว่า ให้ขยนั ขันแข็งทำงานตลอดเวลา ผาย แปลวา่ ผันผาย, เคล่อื นยา้ ย, เปลย่ี นมา, ขยับขยาย (นายศริ ิสาร เหมือนโพธ์ทิ อง) ภาษิตวา่ ดว้ ยการเตรียมการล่วงหนา้ คนล้านนามภี าษติ ท่ีเตอื นใหร้ ู้จักเตรยี มการลว่ งหนา้ เพือ่ ปอ้ งกนั ผลเสีย ท่อี าจจะเกิดข้นึ เชน่ ภาษิตว่า งูใกล้หน้าแข้ง ฟ่ังแล่นหาค้อน [งูไก้หน้าแค่ง ฟ่ังแล่นหาค้อน] แปลวา่ งูมาถึงหน้าแข้งแล้ว แต่เพ่ิงจะรบี วิ่งหาทอ่ นไม้เพื่อจะตีง ู ฟงั่ แปลว่า รีบ แล่น แปลว่า ว่ิง

ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 145 ค้อน แปลวา่ ท่อนไม ้ ภาษิตบทน้ีหมายถึง ภัยมาถึงตัวแล้วแต่เพิ่งจะเร่ิมเตรียมการรับมือ ทำให้แก้ไขสถานการณไ์ มท่ ัน ยังมีภาษติ อกี บทท่มี คี วามหมายทำนองเดียวกนั กล่าวว่า งูใกล้แข้งแล้ว ช่างหุมฉกหวัน เอาไหนบ่ทัน มันมารอดใกล้ [งไู กแ้ ค่งแลว้ จา้ งหุมสก๋ หวัน เอาไหนบอ่ ตัน มนั มาฮอดไก]้ แปลวา่ งเู ข้ามาใกล้ หน้าแข้ง จะฉกหรือรดั อยู่แล้ว ทำอะไรไมท่ ัน มนั มาถงึ ตัว หุม แปลว่า ชอบ หวนั แปลวา่ พนั , กอดรัด, พัวพัน เอาไหนบ่ทัน [เอาไหนบ่อตัน] แปลว่า ทำอะไรไม่ทัน, ทำอะไร ไมถ่ กู รอด [ฮอด] แปลว่า ถึง ภาษิตบทนี้ให้ความหมายท่ีหนักแน่นข้ึน ว่าเมื่อปล่อยให้ภัยมาถึงตัวแล้ว ทำใหแ้ กไ้ ขไม่ได้ ใคร่ข้ลี ่นหาขอน ใคร่นอนล่นหาสาด [ไคข่ ี้ล่นหาขอน ไค่นอนลน่ หาสาด] แปลวา่ อยากจะถา่ ยทกุ ขค์ อ่ ยวง่ิ หาขอนไม้ อยากจะนอนคอ่ ยวง่ิ หาเสอื่ คนในสมัยโบราณเม่ือจะถ่ายทุกข์มักจะน่ังบนขอนไม้ หรือน่ังบนหลุมท่ีขุดข้ึน เฉพาะคราว ภาษิตนหี้ มายถึง การทำอะไรท่ีจวนตวั ทำใหม้ ีเวลานอ้ ยหรือไมม่ ี เวลาในการแกไ้ ขสถานการณ์ ดังน้ันจะทำอะไรจงึ ต้องรู้จักเตรยี มตัวแต่เน่ิน ๆ โดยเฉพาะเร่ืองทีต่ ้องเกิดขึ้นเปน็ ประจำ ใคร่ [ไค่] แปลว่า อยาก, ต้องการ ลน่ แปลว่า วิ่ง สาด แปลว่า เส่ือ ในภาษาไทยกรุงเทพมักปรากฏในคำซ้อนว่า เส่อื สาด

146 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ล้านนาเป็นสังคมเกษตรกรรม มีภาษิตที่เตือนให้เตรียมการให้พร้อม สำหรับการทำนา ว่า เถิงยามนามาไคว่ ควรป่าวไพร่ขุดเหมือง [เถิงญามนามาไคว่ กวนป่าวไพ่ขุ๋ดเหมือง] แปลว่า เม่ือฤดูทำนามาถึง ควรที่จะป่าวประกาศให้ ประชาชนได้ขุดลอกเหมือง หมายถึง เม่ือถึงฤดูทำนา ผู้ท่ีดูแลเหมืองฝาย จะตอ้ งป่าวประกาศให้ประชาชนขดุ ลอกเหมืองไวล้ ว่ งหนา้ เพ่ือรองรบั นำ้ และ ให้นำ้ ไหลผ่านไดส้ ะดวกทวั่ ถึงผนื นา เถิง คือ ถงึ ยาม [ญาม] แปลว่า เวลา, ฤดูกาล ยามนา [ญามนา] หมายถึง ฤดทู ำนา ไคว่ แปลวา่ ครบรอบ, ถงึ , ทัว่ ถงึ ปา่ ว คอื ประกาศ บอกใหร้ ทู้ ่วั กัน เหมือง แปลวา่ รอ่ งน้ำทีข่ ดุ ขนึ้ เพอื่ ชักนำ้ มาใชใ้ นการเกษตร (นายศริ ิสาร เหมือนโพธิ์ทอง) ภาษติ ว่าดว้ ยการรจู้ กั ประมาณตน ภาษิตที่สอนให้รู้จักประมาณตน ได้แก่ ภาษิตท่ีสอนหรือเตือนสติให้ คำนึงถึงฐานะของตน โดยการกระทำส่งิ ตา่ ง ๆ อย่างพอดี พอควร เหมาะสม กบั ฐานะ กำลังและความสามารถ ไม่ทำอะไรเกนิ ตัว การร้จู ักประมาณตนจะ ช่วยใหม้ ีความสขุ ในการดำรงชีวติ ภาษิตล้านนาหลายบทสอนให้รู้จักประมาณตนเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต ในเรื่องตา่ ง ๆ คอื การกิน การอยู่ การแตง่ กาย การใช้จา่ ยเงินทอง และการ ทำการงาน ซง่ึ มที งั้ สอนโดยตรงและสอนในเชงิ เปรยี บเทยี บ ภาษติ ทสี่ อนใหร้ จู้ กั ประมาณตนเรอ่ื งการกนิ วา่ ควรกนิ อาหารแตพ่ อดี พออมิ่ ไมก่ นิ มากจนเกนิ ไป

ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 147 เชน่ ภาษติ วา่ กนิ ข้าวห้อื ไว้ต่าน้ำ [ก๋นิ เขา้ ห้ือไวต้ า่ นำ้ ] แปลวา่ กินข้าวให้เผ่อื น้ำ คือ กินข้าวให้เหลือที่ไว้ให้น้ำ หมายความว่า ควรกินอาหารแต่พอประมาณ เมื่อดื่มนำ้ แลว้ จะไดอ้ ิ่มพอดี ไม่ควรกนิ อาหารมากเกนิ ไป การกินมากเกนิ พอดี จะทำให้เกิดอาการจุกเสียด แน่นท้อง อึดอัด อันส่งผลให้ระบบย่อยอาหาร ทำงานผดิ ปรกตแิ ละเกดิ การเจ็บปว่ ยได ้ ห้อื แปลวา่ ให ้ ตา่ แปลว่า สว่ น, ส่วนเฉพาะ, ที ภาษิตบทน้ีนอกจากใช้สอนเกี่ยวกับเรื่องการกินโดยตรงแล้ว ยังให้ข้อ ช้ีแนะในเชิงเปรียบเทียบกับการทำกิจการงานต่าง ๆ ว่าควรให้มีความพอดี ไมค่ วรทำอะไรเกินกำลังและฐานะของตนดว้ ย ภาษิตท่สี อนเรื่องควรกนิ ใหพ้ อดีอกี บทหนงึ่ คอื ทวยใจปาก ลำบากทอ้ ง [ตวยไจป๋ าก ลำบากตอ๊ ง] แปลวา่ ตามใจ ปากลำบากทอ้ ง หรือบทที่กล่าวแตกตา่ งออกไปวา่ ตามใจปาก ชา่ งยากใจทอ้ ง [ต๋ามไจป๋ าก จา้ งญากไจ๋ต๊อง] แปลว่า ตามใจปาก มกั จะยากใจท้อง มคี วามหมายวา่ หากไม่รจู้ ักยบั ยั้งช่งั ใจในการกนิ คอื กนิ อาหารรสอรอ่ ยตามใจปากมากเกนิ พอดี จะเกดิ ความผดิ ปรกตกิ บั ระบบ ทางเดินอาหาร หรืออาหารอาจเปน็ พษิ ทำให้เกดิ โรคภยั ไขเ้ จบ็ ต่าง ๆ ได ้ ทวยใจ [ตวยไจ๋] แปลว่า ตามใจ ชา่ ง [จา้ ง] แปลวา่ มักจะ และยงั มภี าษิตอกี บทหน่งึ ที่เตือนสติเรื่องเดยี วกนั น้ีได้แก่ภาษิตวา่ ปากกวา้ งกวา่ ทอ้ ง [ปากกวา้ งกวา่ ตอ๊ ง] แปลวา่ มคี วามตอ้ งการกนิ อาหารเกินกวา่ ทที่ ้องจะรับได้ หมายความว่า มีความอยากกินเพราะเห็นอะไร ก็น่ากินไปหมด บางทีก็ติดใจรสชาติของอาหารเลยกินมากจนเกินความ

148 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค ต้องการของร่างกาย กล่าวคือ เป็นการกินที่แม้ท้องจะอิ่มแต่ใจก็ยังส่ังให้กิน ตอ่ ไปเรอ่ื ย ๆ หรอื มคี วามหมายเปน็ การกลา่ วเปรยี บผทู้ ที่ ำอาหารหรอื ซอ้ื อาหาร มาเปน็ จำนวนมากเพราะความอยากกนิ แตก่ นิ ไมห่ มดกไ็ ด้ ภาษติ บทนน้ี อกจาก สอนเรือ่ งการกินแลว้ ยงั เปรียบเทียบไมใ่ ห้เปน็ คนโลภมากอกี ดว้ ย ภาษิตบางบทเตือนสติไม่ให้กินอาหารที่มีราคาแพงเกินฐานะ โดย เอาอย่างรสนิยมของคนร่ำรวย เชน่ ภาษิตทวี่ า่ กินเหมือนเพ่ิน จะไปกินเหมือนเพิ่น [กิ๋นเหมือนเปิ้น จะไปก๋ิน เหมอื นเปน้ิ ] แปลวา่ กนิ เหมอื นทา่ น แตอ่ ยา่ กนิ อยา่ งทา่ น หมายความวา่ ควรกนิ อาหารเหมือนคนทั่วไปเขากินกัน คอื กินเพอ่ื ดำรงชวี ิต แต่อยา่ กินอยา่ งบางคน ทร่ี ำ่ รวย คอื กนิ อาหารทม่ี รี าคาแพงหรอื กนิ อาหารหลายอยา่ งเกนิ ความจำเปน็ นบั เปน็ การสอนไมใ่ หเ้ อาอยา่ งการกินทฟ่ี มุ่ เฟอื ยเกินฐานะ เพ่นิ [เปนิ้ ] แปลว่า ท่านหรอื คนอนื่ เหมอื น ในวรรคท่ี ๒ แปลวา่ อย่างหรือเย่ียงอยา่ ง ภาษิตน้ี นอกจากชี้แนะเร่ืองการกินแล้ว ยังให้ข้อคิดเก่ียวกับการรู้จัก ประมาณตนในเรื่องตา่ ง ๆ อกี ด้วย นอกจากนี้ยังมีภาษิตท่ีเตือนสติให้รู้จักใช้จ่ายในการกินอยู่อย่างพอดีไม่ ฟ่มุ เฟอื ย ดังภาษิตว่า ยามมีกนิ ติก ๆ ยามบ่มีพบั ตาหยบิ ๆ [ญามมกี ิน๋ ต๋กิ ติ๋ก ญามบ่อมี พบั ตา๋ หยบ๋ิ หยบิ๋ ] แปลวา่ ยามมี กนิ ไมห่ ยดุ ไมห่ ยอ่ น ยามไมม่ ี ไดแ้ ตก่ ระพรบิ ตา ปรบิ ๆ หมายความวา่ หากไมม่ คี วามพอดใี นการกนิ และการใชจ้ า่ ยจะตอ้ งลำบาก ในภายหลัง โดยช้ีให้เห็นว่า เมื่อมีเงินหรือมั่งมี ก็ใช้จ่ายซ้ือหาของกินของใช้ อย่างฟุ่มเฟือยตลอดเวลา ไม่ได้คำนึงว่าเงินจะต้องหมดลง คร้ันเงินหมดหรือ จนลง ก็ไม่รู้จะทำอย่างไร ได้แต่ทำตาปริบ ๆ เพราะไม่มีอะไรจะกินหรือไม่มี เงินทองจะใช้จ่าย

ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 149 ติก ๆ [ติ๋กติก๋ ] แปลวา่ เร่อื ย ๆ, บ่อย ๆ พับตา [พับตา๋ ] แปลวา่ กระพรบิ ตา หยิบ ๆ [หยบ๋ิ หยบิ๋ ] ออกเสยี งได้ ๒ แบบ เป็น [หยบ๋ิ หยบิ๋ ] หรือ [หญ๋ิบหญบ๋ิ ] แปลวา่ ปริบ ๆ ใช้กับการกะพรบิ ตา ภาษิตทม่ี ีเนอ้ื ความทำนองเดยี วกันนม้ี ีอีกหลายบท เชน่ ยามมีกินพอแสน ยามบ่มีแมนตาอยู่ [ญามมีก๋ินปอแสน ญาม บ่อมีแมนต๋าอยู่] แปลว่า ยามมี กินนับเป็นแสน ยามไม่มี ได้แต่ลืมตาอยู่ หมายความวา่ เม่ือมั่งมกี ใ็ ชจ้ า่ ยในการกนิ เป็นจำนวนมาก เม่ือไม่มเี งนิ หรอื เงนิ หมดลงก็ได้แตล่ มื ตาหรือกลอกตา แมน แปลว่า โผล ่ แมนตา [แมนตา๋ ] แปลว่า ลืมตา และ ยามมีกิน กินจนพอแหงน ยามบ่มีแมนตาผ่อ [ญามมีก๋ิน ก๋ินจน๋ ปอแหงน ญามบ่อมแี มนตา๋ ผอ่ ] แปลว่า ยามมกี ิน กนิ จนต้องแหงนหน้า ยามไม่มีได้แต่จ้องดู หมายความว่า เม่ือมีเงินหรือมีกิน ก็กินจนเกินพอดี คือ กินจนจุกถึงคอ จนต้องแหงนหน้า แต่คร้ันเงินหมดไม่มีอะไรจะกินก็ได้แต่ดู คนอ่นื เขากนิ ผอ่ แปลวา่ ดหู รือมอง นอกจากจะมีภาษิตที่สอนให้รู้จักประมาณตนเรื่องการกินและการ ใชจ้ า่ ยเร่ืองการกินแลว้ ภาษิตลา้ นนาบางบทสะทอ้ นให้เหน็ การใหค้ วามสำคัญ กบั เรอ่ื งการแตง่ กายมากกว่าเรอื่ งอาหารการกนิ เช่น ทุกข์บ่มีกิน บ่มีใผตามไฟส่องท้อง ทุกข์บ่ได้นุ่งได้หย้อง พี่น้อง ดูแควน [ตุ๊กบ่อมีกิ๋น บ่อมีไผต๋ามไฟส่องต๊อง ตุ๊กบ่อได้นุ่งได้หย้อง ป้ีน้อง ดูแควน] แปลว่า ยากจนไม่มีอะไรจะกิน ไม่มีใครจุดไฟส่องดูท้องของเรา แต่ยากจนไม่ไดน้ งุ่ ไมไ่ ดใ้ ส่เคร่ืองประดบั ญาตพิ น่ี อ้ งจะดแู คลน หมายความว่า

150 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค อาหารทอี่ ยใู่ นทอ้ งไมม่ ใี ครมองเหน็ ได้ จงึ ไมต่ อ้ งพถิ พี ถิ นั ในเรอ่ื งการกนิ ตา่ งกบั เครื่องแต่งกายเคร่ืองประดับเป็นส่ิงที่มองเห็นได้ชัดเจน ผู้ที่แต่งกายดีจะ ได้รับความไว้เนื้อเชื่อใจ และเป็นที่ยอมรับของผู้อ่ืน ทั้งน้ีเพราะสังคมล้านนา มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ ผคู้ นไมต่ อ้ งกงั วลเรอื่ งอาหารการกนิ จงึ ใหค้ วามสำคญั กบั เร่ืองการแต่งกาย ว่าควรแต่งกายให้ดูดี ไม่ให้ใครมาดูถูกดูแคลน แต่ใน ขณะเดียวกันก็มีภาษติ ท่ีสอนว่าไมค่ วรแต่งกายให้เกินฐานะ เชน่ คันเจ้านุ่งผ้างาม อย่านุ่งผ้าเปรียบ [กันเจ้านุ่งผ้างาม อย่านุ่ง ผา้ เผยี บ] แปลวา่ ครน้ั เจา้ นงุ่ ผา้ งาม อยา่ นงุ่ ผา้ เทยี มทา่ น หมายความวา่ หากเหน็ เจ้านายแต่งกายงดงามด้วยเสื้อผ้าช้ันดีราคาแพง ก็ไม่ควรคิดอยากจะแต่ง เทยี บกบั ทา่ น ซง่ึ การแตง่ กายเทยี บหรอื เสมอเจา้ นายเปน็ การกระทำทเี่ กนิ ฐานะ ของตน คัน [กัน] แปลวา่ ครน้ั หรอื หาก เปรยี บ [เผียบ] แปลว่า เทยี บ, เสมอ อย่างไรก็ตาม ยังมีภาษิตท่ีสอนให้มีความพอดีในเรื่องการกินและการ แต่งกายไปพรอ้ มกันดว้ ย เชน่ ภาษติ ที่ว่า กินหือ้ พอทอ้ ง หย้องห้ือพองาม [กน๋ิ ห้ือปอต๊อง หย้องหื้อปองาม] แปลวา่ กนิ ให้พอดีท้อง แต่งตัวให้พองาม หรอื กนิ หือ้ มนั พอทอ้ ง หย้องก็หือ้ พอตวั [ก๋นิ ห้ือมันปอต๊อง หย้องก้อห้ือปอต๋วั ] แปลว่า กินให้พอดีทอ้ ง แตง่ กาย กใ็ หพ้ อเหมาะกบั ตวั และฐานะ หรอื กนิ กห็ อ้ื กนิ พอทอ้ ง หยอ้ งกห็ อ้ื หยอ้ งพอตวั [กน๋ิ กอ้ หอ้ื กน๋ิ ปอตอ๊ ง หยอ้ งกอ้ หอ้ื หยอ้ งปอตวั๋ ] แปลวา่ กนิ กก็ นิ ใหพ้ อดกี บั ทอ้ ง แตง่ กายก็ให้เหมาะสมกบั ตัวและฐานะ พอ [ปอ] แปลวา่ พอด ี หยอ้ ง แปลว่า แต่งตัว

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 151 ภาษติ ข้างตน้ มีความหมายเหมือนกนั คือ เตือนสติว่าควรใหม้ คี วามพอดี ท้ังเรื่องการกินและการแต่งกาย คือกินพออิ่มท้อง ไม่กินมากจนเกินไปหรือ สรรหาอาหารหลากหลายชนิดมากินจนเกินความจำเป็น ในขณะเดียวกันก็ สอนวา่ ควรแตง่ กายใหพ้ องาม เหมาะกบั รปู รา่ งหนา้ ตาและฐานะของตน ไมค่ วร สรรหาเสือ้ ผา้ เครื่องประดับทมี่ ีราคาแพงมาแต่งกายใหเ้ กนิ ฐานะ ภาษติ ทสี่ อนไมใ่ หก้ ระทำสงิ่ ตา่ ง ๆ เกนิ ฐานะและความสามารถของตนนน้ั นอกจากเร่ืองการกินและการแต่งกายแล้วยังเตือนสติเรื่องความอยากมีอยาก เป็นใหเ้ ทา่ เทียมคนอ่ืนดว้ ย เช่นบทท่ีว่า เงินบ่นักจะไปเยียะอย่างเศรษฐี บุญบ่มีจะไปใคร่เป็นเจ้า [เงิน บ่อนักจะไปเญียะอย่างเสดถี บุญบ่อมีจะไปไค่เป๋นเจ้า] แปลว่า เงินไม่มาก อยา่ ทำอย่างเศรษฐี ไม่มีบญุ อย่าอยากเป็นเจา้ หมายความวา่ ถ้ามเี งนิ ไมม่ าก หรือไม่ร่ำรวย ก็อย่าใช้จ่ายหรือทำตัวเหมือนอย่างเศรษฐี และถ้าไม่มีบุญ วาสนาแลว้ ละกอ็ ย่าปรารถนาท่ีจะเป็นเจ้านาย จะไป แปลว่า อยา่ เยียะ [เญียะ] แปลวา่ ทำ และมีภาษิตอีกบทหน่ึงที่สอนให้พอใจในส่ิงที่ตนมีอยู่และไม่ให้ดูถูกคน ทยี่ ากจนกว่า ได้แก่ หันเพ่ินมีจะไปใคร่ได้ หันเพ่ินขี้ไร้จะไปดูแควน [หันเป้ินมีจะไป ไคไ่ ด้ หนั เป้นิ ขไี้ ฮ้จะไปดูแควน] แปลวา่ เห็นคนอน่ื มอี ยา่ อยากได ้ เหน็ คนอน่ื ยากจนอย่าดูแคลน หมายความว่า เมื่อเห็นคนอ่ืนม่ังมีร่ำรวยก็อย่าอิจฉา อยากได้ทรัพย์สมบัติของเขาหรืออยากมีเหมือนอย่างเขา และเมื่อเห็นคนที่ ยากจนต่ำตอ้ ยกวา่ ตนกไ็ มค่ วรดหู มนิ่ ดูแคลนเขา ขไี้ ร้ [ขไ้ี ฮ้] แปลวา่ ยากจน ดแู ควน แปลว่า ดถู ูก ดูแคลน

152 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค และมอี ีกบทหนึ่งว่า จะไปตกี ลองเอยี่ งฟา้ จะไปขมี่ า้ เอย่ี งตะวนั [จะไป ตก๋ี ๋องเอยี่ งฟ้า จะไปขี่ม้าเอี่ยงตะวัน] แปลว่า อยา่ ตีกลองแข่งกับฟา้ อย่าข่ีม้า แขง่ ตะวนั หมายความวา่ ไมค่ วรกระทำสง่ิ ใดแขง่ กบั คนทมี่ สี ถานภาพหรอื ความ สามารถสูงกว่า เพราะถึงอย่างไรก็ไม่มีศักยภาพท่ีจะทำเช่นนั้นได้ เหมือนกับ การตีกลองแข่งกับเสียงฟ้าร้อง เสียงกลองไม่อาจจะดังสู้เสียงฟ้าร้องได้ และ การขี่ม้าเพอื่ หวังจะแข่งกับดวงอาทิตย์กไ็ มส่ ามารถแข่งได้ เอี่ยง แปลว่า แขง่ , แข่งขัน อาจใช้วา่ เขย่ี ง หรือ เถี่ยง กไ็ ด ้ ภาษิตดังกล่าวข้างต้นจึงสอนให้รู้จักประมาณฐานะ และความสามารถ ของตน และควรพอใจกบั สิ่งทม่ี ีทเ่ี ปน็ เพราะการอยากได้ อยากมี อยากเปน็ ทีเ่ กินฐานะของตนจะทำใหเ้ กิดความทกุ ข์ มีภาษิตล้านนาบางบทท่สี อนให้รจู้ ักประมาณตนเฉพาะเรือ่ งการทำงาน ได้แก่ภาษติ ที่วา่ เยยี ะอะหยงั หอื้ รจู้ กั ประมาณ กระทำการหอ้ื รจู้ กั ผอ่ น แรงตวั ออ่ น อย่าไปหาบหนัก คันแอวบ่หักหลังก็จักก่อง [เญียะอะหญังหื้อฮู้จั๋กผะหมาน กะตำกา๋ นหอื้ ฮจู้ กั๋ ผอ่ นแฮงตวั๋ ออ่ นอยา่ ไปหาบหนก๋ั กนั แอวบอ่ หกั๋ หลงั กอ่ จก๋ั กอ่ ง] แปลวา่ ทำอะไรใหร้ จู้ กั ประมาณ ทำงานใหร้ จู้ กั ผอ่ น กำลงั นอ้ ยไมค่ วรหาบหนกั ถึงเอวไม่หักหลังก็จะโกงได้ หมายความว่า ทำการงานอะไรให้รู้จักประมาณ กำลงั ของตน ไมห่ กั โหมหรอื ทำงานเกนิ กำลงั ถา้ กำลงั เรานอ้ ยกไ็ มค่ วรหาบของ หนัก เพราะการหาบของหนักเกนิ กำลังอาจทำใหไ้ ด้รับบาดเจบ็ ได้ อะหยงั [อะหญัง] แปลวา่ อะไร แอว แปลวา่ เอว ก่อง แปลวา่ โกง่ , โกง หลังก่อง คอื หลงั โกง

ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 153 และมีภาษิตอีกบทหนึ่งว่า กินหื้อพอคาบ หาบหื้อพอแรง แปลงหื้อ พอใช้ ไข้ห้ือพอหมอน [ก๋ินห้ือปอคาบ หาบหื้อปอแฮง แป๋งห้ือปอไจ๊ ไข้ห้ือ ปอหมอน] แปลว่า กนิ ใหพ้ อมือ้ หาบใหพ้ อแรง สร้างใหพ้ อใช้ ไขใ้ หพ้ อหมอน หมายความวา่ ควรรู้จกั ทำสงิ่ ตา่ ง ๆ ในชีวติ อย่างพอเหมาะพอดี คอื กินใหพ้ อ อม่ิ ในแตล่ ะมอ้ื ทำงานใหพ้ อดกี บั กำลงั จะสรา้ งหรอื ทำสงิ่ ใดขนึ้ มากใ็ หเ้ พยี งพอ สำหรบั การใชส้ อย และหากปว่ ยไขก้ ต็ อ้ งดวู า่ เหมาะทจี่ ะนอนพกั หรอื ยงั หากรจู้ กั ทำกจิ การงานตา่ ง ๆ อย่างจรงิ จงั และพอเหมาะพอควรก็จะไดร้ ับผลสำเรจ็ คาบ แปลวา่ มือ้ อาหาร แปลง [แป๋ง] แปลวา่ สร้าง, ทำ, ประดิษฐ์ นอกจากนย้ี งั มภี าษติ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ การกระทำอยา่ งไรเปน็ การกระทำ ทไี่ มร่ ้จู กั ประมาณตน ไม่รูจ้ ักการเตรียมการในการทำงาน เช่นภาษติ ทวี่ า่ กินข้าวบ่ไว้ต่าน้ำ เข้าถ้ำบ่ตามไฟ เทียวทางไกลบ่มีเพ่ือน [กิ๋นเข้าบ่อไว้ต่าน้ำ เข้าถ้ำบ่อต๋ามไฟ เตียวตางไก๋บ่อมีเปื้อน] แปลว่า กินข้าว ไม่เหลือท่ีไว้ให้น้ำ เข้าถ้ำไม่จุดไฟ เดินทางไกลไม่มีเพ่ือน มีความหมายเป็น การเปรยี บเทยี บใหเ้ หน็ วา่ หากกระทำสง่ิ ตา่ ง ๆ ในลกั ษณะเชน่ นจี้ ะสง่ ผลใหเ้ กดิ อุปสรรคข้ึนได้ ดังน้ันก่อนท่ีจะกระทำการสิ่งใดควรรู้จักประมาณตนว่า จะตอ้ งทำอยา่ งไรจงึ จะไมก่ ่อให้เกิดผลเสียตามมา ตามไฟ [ต๋ามไฟ] แปลวา่ จุดไฟ เทียว [เตียว] แปลวา่ เดนิ ภาษิตล้านนาท่ีสอนให้รู้จักประมาณตนดังกล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่า เปน็ ภาษติ ทเี่ ตอื นสตใิ หท้ ำเชน่ น ้ี ไมค่ วรทำเชน่ นนั้ แตย่ งั มภี าษติ อกี บทหนง่ึ ทใี่ ห้ ข้อคิดเป็นแนวทางว่า การประมาณตนในการดำรงชีวิตน้ัน ควรทำอย่างไร โดยการยกธรรมชาตมิ าเปรยี บเทยี บให้เหน็ ภาษิตดังกล่าวมวี า่

154 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ค่อยอยู่ตามนำ้ ทำไปตามตัว นำ้ เพยี งใด ดอกบวั เพยี งอนั้ [กอ้ ย อยูต่ ๋ามนำ้ ทำไปต๋ามตั๋ว นำ้ เปียงได ดอกบวั เปยี งอัน้ ] แปลว่า ค่อยอยู่ตามน้ำ ทำไปตามตัวน้ำเพียงใด ดอกบัวเพียงน้ัน หมายความว่า ให้ระมัดระวัง การกินการอยู่และการกระทำส่ิงต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับฐานะและความรู้ ความสามารถของตน เหมือนกับดอกบัวท่ีมีก้านยาวหรือส้ันตามระดับลึกต้ืน ของน้ำ ค่อย [ก้อย] แปลวา่ ระมดั ระวัง, สำรวม นำ้ ในที่นี้หมายถงึ ความสามารถ, ความด,ี ความสำคญั เพียง [เปยี ง] แปลวา่ เสมอหรอื อยใู่ นระดบั เดยี วกนั อั้น แปลว่า น้นั (ผศ.วีรฉตั ร วรรณด)ี ภาษติ ว่าด้วยการพดู จา การพดู หรอื การใชว้ าจามคี วามสำคญั ตอ่ การสอื่ สาร เพราะคนเราจะรกั กนั เข้าใจกัน หรือขัดแย้งเป็นศัตรูกันก็อยู่ท่ีคำพูดและการใช้คำพูดให้ถูกต้อง เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลเป็นสำคัญ ทางล้านนามีภาษิตเกี่ยวกับการ พูดจาซง่ึ ใหข้ ้อคิดทงั้ ผู้พดู และผู้ฟงั หลายประเด็น ดังน้ี ๑. ภาษิตสอนให้มีความระมัดระวังในการพูดจาและรู้จักคิดพิจารณา ใหถ้ ถี่ ว้ นก่อนที่จะพูด ว่าจะทำให้ใครเสยี หายหรือจะเกิดผลเสยี เชน่ ไร เช่น กินปลาช่างไซ้ก้าง จะฟู่อ้างห้ือพิจารณา [ก๋ินป๋าจ้างไซ้ก้าง จะฟู่อ้างหื้อป๊ิดจ๋าละนา] หมายความว่า จะกินปลาต้องรู้จักเอาก้างออกก่อน จะพูดจากลา่ วอา้ งอะไรกต็ ้องพจิ ารณาใหถ้ ว้ นถ่ ี ชา่ ง [จ้าง] แปลวา่ ทำเปน็ , รจู้ ัก, รู้วิธ ี ไซ้ แปลว่า เลอื ก, คัดเลอื ก

ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 155 อู้ห้ือเพ่ินรัก ยากนักจักหวัง อู้ห้ือเพิ่นชัง คำเดียวก็ได้ [อู้หื้อ เปนิ้ ฮกั ญากนกั จก๋ั หวงั อหู้ อ้ื เปนิ้ จงั กำเดยี วกอ้ ได]้ หมายความวา่ พดู ใหค้ นอน่ื รักชอบเรานน้ั ยากหรือใชเ้ วลานาน แต่พดู ให้คนเกลียดน้ันเพยี งประเดย๋ี วเดียว กเ็ กดิ ขึ้นได้ เพิ่น [เปน้ิ ] แปลว่า ท่าน, เขา อู้ แปลว่า พดู คำวา่ คำเดียว [กำเดียว] แปลว่า ประเดีย๋ วเดยี ว ๒. สอนใหม้ ปี ยิ วาจา เพราะจะทำใหเ้ กดิ ความเปน็ มติ ร มคี นรกั คนชอบ หรอื ทำให้การทำงานสำเร็จได้ มภี าษติ หลายบทดังนี้ คันว่าจะมัด บ่ต้องมัดด้วยปอ คำปากคำคอ มัดกันก็ได้ [กันว่า จะมัด บ่อต้องมัดด้วยป๋อ กำปากกำคอ มัดก๋ันก้อได้] แปลว่า หากจะผูกมัด ไม่ต้องมัดด้วยเชือกปอ ใช้คำพูดคำจาผูกมัดกันก็ได้ หมายความว่า คำพูดจา นัน้ สามารถผกู หรือมดั จติ ใจกันไดด้ กี ว่ามัดด้วยเชือก คนั วา่ [กันว่า] ตรงกับคำว่า ครน้ั ว่า คำปากคำคอ [กำปากกำคอ] ตรงกับสำนวนภาคกลางว่า คำพูด คำจา ใคร่ห้ือเพิ่นรัก ช่างอู้ปากหวาน ใคร่ไป่ใคร่สาน ห้ือถามคนแก่ [ไคห่ ื้อเป้นิ ฮัก จา้ งอปู้ ากหวาน ไคไ่ ป่ไคส่ าน หอื้ ถามคนแก่] แปลวา่ อยากให้ คนรักก็ต้องรู้จักพูดจาให้ไพเราะ อยากสานข้าวของเครื่องใช้เป็นก็ต้องไปถาม คนเฒ่าคนแก่ให้สอนให ้ ไป่ แปลวา่ สาน ชา่ งอู้ [จา้ งอ]ู้ แปลวา่ รูจ้ กั พูด คนเฒ่าปากหวานลูกหลานรัก คนเฒ่าปากนักลูกหลานชัง [คนเถา้ ปากหวานลกู หลานฮกั คนเถา้ ปากนกั ลกู หลานจงั ] แปลวา่ คนแกพ่ ดู จา

156 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค ไพเราะลูกหลานรัก คนแก่พูดมากลูกหลานชัง หมายความว่า ถ้าคนแก่หรือ ผใู้ หญพ่ ดู ไพเราะลกู หลานกร็ กั ใครพ่ อใจ ในทางตรงกนั ขา้ มถา้ พดู มากหรอื ขบ้ี น่ ลกู หลานก็จะรำคาญ ไม่อยากอยใู่ กล ้ ปากนัก หมายถงึ พดู มาก, จู้จขี้ ี้บ่น คนเฒา่ ขจี้ ม่ ลกู หลานชัง คนข้ีชิขช้ี ำ บม่ ีเพ่ือนพ้อง [คนเถ้าขจี้ ่ม ลูกหลานจัง คนข้ีจ๊ขิ ้จี ำ บ่อมเี ปือ้ นปอ๊ ง] แปลวา่ คนแก่ทจ่ี จู้ ้ขี ี้บน่ ลูกหลานชงั คนตระหนถี่ เ่ี หนยี ว ไมม่ เี พอ่ื นพอ้ ง หมายความวา่ คนแกท่ จ่ี จู้ ขี้ บี้ น่ ลกู หลานกจ็ ะ เบอ่ื หนา่ ยหรอื รำคาญ สว่ นคนทตี่ ระหนถี่ เี่ หนยี วมากเกนิ ไปกจ็ ะทำใหไ้ มม่ เี พอ่ื น หรือไม่มคี นอยากคบคา้ สมาคมด้วย จม่ แปลวา่ บ่น ขี้ชิ [ขจ้ี ]ิ๊ แปลว่า ข้ีเหนยี ว, ตะหนถี่ ่ีเหนยี ว ขช้ี ำ [ขจ้ี ำ] เปน็ คำสรอ้ ยของคำ ข้ีชิ [ขจ้ี ๊ิ] คำติอย่าห้ือมี คำดีหื้อกล่าวไว้ [กำติ๋อย่าห้ือมี กำดีหื้อก่าวไว้] แปลว่า คำติเตียนอย่าให้มี คำดีให้พูด หมายความว่า ไม่ควรพูดติเตียนผู้อื่น ให้รจู้ ักพดู แต่ส่งิ ท่ดี ขี องเขา แรงคนอยู่ท่ีน้ำลาย แรงควายอยู่ที่น้ำแม่ [แฮงคนอยู่ตี้น้ำลาย แฮงควายอยู่ต้ีน้ำแม่] แปลว่า เร่ียวแรงของคนอยู่ท่ีน้ำลาย เร่ียวแรงของ ควายอยทู่ แ่ี มน่ ำ้ หมายความวา่ คนจะมกี ำลงั ใจหรอื เรยี่ วแรงในการทำงานอยทู่ ่ี คำพูดที่ดีหรือคำชมเชย ส่วนควายจะมีเรี่ยวแรงทำงานอยู่ท่ีได้แช่น้ำ ซึ่งเป็น การสอนให้ร้จู ักวธิ พี ูดจาเพือ่ ขอให้ผอู้ ื่นช่วยทำงาน เพอื่ ให้งานน้ันสำเรจ็ ได้ น้ำลาย ในทีน่ ห้ี มายถงึ คำพูด น้ำแม่ คอื แม่น้ำ ๓. สอนให้รู้จักเก็บงำความ หรือควรรู้ว่าเร่ืองใดควรพูดไม่ควรพูด เชน่

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 157 ยินคำเข้าหู อย่าถูออกปาก จักยากใจเมื่อภายลูน [ญินกำเข้าหู อยา่ ถอู อกปาก จกั๋ ญากไจเ๋ มอ่ื ปายลนู ] แปลวา่ ไดย้ ินคำพดู เข้าทางหู อยา่ นำไป พูดออกทางปาก หมายความว่าได้ยินอะไรแล้วไม่ควรพูดต่อ อาจจะทำให้มี เร่ืองยงุ่ ยากใจภายหลังได ้ ยนิ แปลว่า ได้ยนิ ยากใจ [ญากไจ]๋ แปลวา่ ลำบากใจ คำในบค่ วรออก คำนอกบค่ วรเข้า [กำไนบ่อกวนออก กำนอกบ่อ กวนเขา้ ] หมายความวา่ เรอื่ งราวภายในบา้ นไมค่ วรนำไปเลา่ ใหค้ นทอ่ี ยนู่ อกบา้ น ฟงั เรอื่ งของคนนอกบา้ นกไ็ มค่ วรนำมาเลา่ หรอื ถกเถยี งกนั ภายในบา้ น จะทำให้ บาดหมางใจกนั ได้ คำ [กำ] หมายถงึ ความ, เร่อื งราว ภาษิตน้ีตรงกับสำนวนภาคกลางว่า ความในอย่านำออก ความนอก อย่านำเขา้ หรือ ไฟในอย่านำออก ไฟนอกอย่านำเข้า คำบ่ดบี ่ควรเอามาเลา่ คำปางเก่าบ่ดีเอามายาย [กำบอ่ ดีบอ่ กวน เอามาเล่า กำป๋างเกา่ บ่อดเี อามายาย] หมายความวา่ เร่อื งไม่ดไี มค่ วรนำมาเลา่ เรอื่ งในอดตี ไมค่ วรนำมาขยายความ จะทำให้เกิดเร่อื งขน้ึ อีกได ้ ยาย [ญาย] แปลว่า เรียงราย ในที่นี้หมายถึง การเล่าซ้ำหรือ ขยายความ ๔. สอนใหร้ ักษาคำพูดของตน ดังภาษิตวา่ กนิ แลว้ ลมื อยาก ปากแลว้ ลมื คำ [กน๋ิ แลว้ ลมื อยาก ปากแลว้ ลมื กำ] หมายความว่า ได้กินอิ่มแล้วลืมความหิวความอยาก หรือลืมว่าความทุกข์ท่ี เกิดจากความอยากความหิวเป็นเช่นไร พูดอะไรหรือสัญญาอะไรไว้แล้วก็ลืม ไม่ทำตามท่พี ดู ปาก แปลว่า พูด

158 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ๕. สอนไมใ่ หฟ้ งั คำยุยงสอ่ เสียด ดงั ภาษติ ว่า อยา่ อกู้ นั ดงั อยา่ ฟงั คำส่อ [อยา่ อู้ก๋ันดงั อยา่ ฟังกำส่อ] คำสอนนีม้ ี ความหมายตรงตัวคือไม่ควรพูดคุยเสียงดัง เพราะจะทำให้ผู้อ่ืนรำคาญหรือ ไมพ่ อใจ และไมค่ วรเชอ่ื คำยยุ งสอ่ เสยี ด เพราะจะทำใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจผดิ กนั ได้ สอ่ แปลว่า ฟ้อง, ยยุ ง, บอก และขณะเดียวกันก็สอนว่าอย่ายุยงให้ผู้อื่นผิดใจหรือทะเลาะกัน ดงั ภาษิตวา่ อยา่ สอ่ หือ้ ชาวบา้ นผดิ กนั [อยา่ สอ่ หือ้ จาวบา้ นผ๋ิดก๋นั ] ๖. สอนใหร้ จู้ กั พจิ ารณาคำพดู ของคน เพราะบางครง้ั กม็ คี นทปี่ ากกบั ใจ ไม่ตรงกัน จงึ ไม่ควรเชื่ออะไรท่ไี ด้ยินท้ังหมด มภี าษติ ดงั น้ี ปากเปน็ ธรรม ใจดำเหมือนหม่ินหมอ้ [ปากเปน๋ ทำ ไจด๋ ำเหมอื น หมิน่ หม้อ] แปลวา่ พดู จาเป็นคนดีมศี ลี ธรรม แต่ใจดำเหมือนมินหม้อ ภาษิตน้ี ใจความตรงกบั สำนวนภาคกลางว่า มอื ถอื สากปากถือศีล หมน่ิ หมอ้ คือ มินหม้อ หมายถงึ เขมา่ ดำทต่ี ิดก้นหมอ้ ปากหวานก้นส้ม ทางในขมเหมือนบ่าแคว้ง [ปากหวานก้นส้ม ตางไนขมเหมือนบ่าแคว้ง] แปลว่า ปากหวานก้นเปรี้ยว ภายในใจขมเหมือน มะเขอื พวง ภาษติ นี้ตรงกับสำนวนภาคกลางว่า ปากหวานก้นเปรย้ี ว ส้ม แปลว่า เปรยี้ ว บา่ แคว้ง คือ มะเขอื พวง ๗. สอนให้รู้จักพิจารณาการพูดหรือการฟังคำพูดของคนฉลาดหรือ คนโง่ เช่น กำฟนู่ กั ปราชญ์ เหมือนดาบสองคม กำฟู่คนโง่ (ง่าว) งมเหมือน ลมพัดยอดไม้ [กำฟู่นกั ปาด เหมือนดาบสองคม กำฟคู่ นโง่ (งา่ ว) งมเหมือน ลมป๊ัดญอดไม้] หมายความว่า คำพูดของนักปราชญ์นั้นมีความเฉียบแหลม

ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 159 หรือมีประโยชน์เหมือนกับดาบท่ีมี ๒ คม ส่วนคำพูดของคนโง่เหมือนลมพัด ยอดไม้ ไมม่ ีสาระแกน่ สารอะไร บทนต้ี อ้ งการสอนวา่ คำพดู ของนักปราชญน์ ้ัน มีคุณค่าควรนำมาประพฤติปฏิบัติจะทำให้เกิดประโยชน์ได้ ดาบสองคม ใน ภาษติ นีห้ มายถงึ สงิ่ ทใ่ี ช้ประโยชนไ์ ด้ท้ัง ๒ ทาง ต่างกบั สำนวนของภาคกลางท่ี หมายถึง สง่ิ ท่มี ีท้ังคณุ และโทษ (รศ.กรรณกิ าร์ วมิ ลเกษม) ภาษติ ท่ีมีทม่ี าจากการขับรอ้ งและฟ้อนรำ ซอ ถา้ ใชเ้ ปน็ คำกรยิ าหมายถงึ ขบั รอ้ ง ถา้ เปน็ คำนาม หมายถงึ การแสดง ทช่ี า่ งซอขบั รอ้ งโตต้ อบกนั ผขู้ บั รอ้ งเปน็ อาชพี เรยี กวา่ ชา่ งซอ ตรงกบั พอ่ เพลง แม่เพลง ของภาคกลาง ซอ หรือ ขับซอ เป็นที่นิยมชมชอบของชาวล้านนา เป็นอย่างมาก เพราะเป็นการแสดงที่ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินแก่ผู้ชม ผูฟ้ งั โอกาสทมี่ กั จะจดั ให้มซี อ ได้แก่ ประเพณีทำบญุ ต่าง ๆ เช่น ปอยหลวง ซง่ึ หมายถงึ งานฉลองศาสนสถานทสี่ รา้ งใหม่ หรอื งานประจำปขี องวดั ปอยนอ้ ย หมายถงึ งานบวช นอกจากนยี้ งั นยิ มมซี อในการทำบุญขึ้นบา้ นใหม่ เครื่องดนตรีประกอบการซอ ได้แก่ ปี่ ที่นิยมใช้กันก็คือ ปี่ชุม ๓ [ปีจ่ ุมสาม] ซ่งึ ประกอบด้วยปี่ ๓ ขนาด เรียกตามลำดบั จากปีข่ นาดใหญไ่ ปหา ขนาดเล็กว่า ป่ีแม่ ป่กี ลาง และ ปีก่ ้อย เม่อื จะซอชา่ งป่ีจะต้องเปา่ นำกอ่ นแล้ว ชา่ งซอจึงจะขับซอโดยมเี สียงปีค่ ลอไป มภี าษิตอนั เกิดจากวงซอคอื บ่ดีหฺลฺวักก่อนหมอ บ่ดีซอก่อนป่ี [บ่อดีหฺลฺวั๋กก่อนหมอ บ่อดีซอ ก่อนปี่] หรือ จะไปหฺลฺวักก่อนหมอ จะไปซอก่อนป่ี [จะไปหฺลฺวั๋กก่อนหมอ จะไปซอก่อนปี่] แปลว่า อย่าอวดฉลาดก่อนหมอยา อย่าขับซอก่อนเสียงป่ี ภาษติ นสี้ อนวา่ อยา่ อวดฉลาด อวดรู้ ลงมอื ทำการขา้ มหนา้ ผทู้ มี่ คี วามรใู้ นเรอ่ื ง นัน้ ๆ หรอื ทำการลดั ขนั้ ตอน

160 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค บ่ดี แปลว่า อยา่ ไม่ควร หลฺ วฺ กั [หลฺ ฺวัก๋ ] แปลวา่ ฉลาด หมอ แปลวา่ หมอยา, หมอรกั ษาโรค จะไป แปลว่า อยา่ ซอบ่ช่าง ติช่างป่ี [ซอบ่อจ้าง ติ๋จ้างป่ี] แปลว่า ขับซอไม่เป็น ติช่างป่ี โดยทั่วไปแล้วในการซอจะมีการฟ้อนรำด้วย ช่างซอที่รักอาชีพนี้จะมี ความมุ่งมนั่ อดทนเพ่อื ฝกึ ฝนขบั ซอและฟ้อนรำ ช่างซอ ช่างฟ้อนทไ่ี มม่ คี วาม สามารถมักจะปา้ ยความผิดไปใหผ้ อู้ น่ื ภาษิตน้มี ีความหมายเชน่ เดยี วกบั ภาษิต อีกบทหน่งึ ว่า ฟ้อนบ่ช่าง ตแิ ผ่นดิน [ฟ้อนบอ่ จา้ ง ตแิ๋ ผน่ ดนิ ] หรอื ฟอ้ นบช่ ่าง ติแผน่ ดนิ บ่เพยี ง [ฟ้อนบ่อจ้าง ตแิ๋ ผ่นดนิ บ่อเปยี ง] แปลวา่ รำไม่เปน็ ติแผ่นดนิ หรอื รำไม่เป็น ติว่าพ้ืนดินไมเ่ รยี บไม่เสมอกัน ภาษติ ขา้ งต้น ใช้เปรยี บเทียบคน ท่ีไม่ยอมรับความผิดพลาดของตน มักโทษผู้อื่น ตรงกับสำนวนภาคกลางว่า รำไมด่ ี โทษป่โี ทษกลอง มภี าษติ บทหน่งึ ใช้เปน็ คำคอ่ นแคะ ซึง่ ช่างซออาจไม่พึงใจคอื ช่างซอขีข้ อ พ่อหมอขอี้ ู้ [จา้ งซอข้ขี อ ป้อหมอขอ้ี ู]้ แปลวา่ ช่างซอ ข้ีขอ พ่อหมอช่างพดู หมายความว่า ชา่ งซอมักชอบขอเงิน ขอรางวลั จากผู้ฟงั ส่วนหมอยามักช่างพูดพรรณนาสรรพคุณของยาและพูดให้กำลังใจคนไข้ ในอดีต อาชีพช่างซอมักได้ค่าตอบแทนน้อย บางงานก็เป็นการไป ฮอมปอย คือไปช่วยงานเอาบุญโดยไม่มีค่าจ้าง ผู้ฟังที่พอใจในความสามารถของช่างซอ ก็มักตกรางวัลเป็นพิเศษ ปรกติในการซอ เจ้าภาพปลูก ผามซอ คือ ปะรำ หรือเวทีเล็ก ๆ ยกพื้นสูงเพื่อแสดงซอ เมื่อใกล้จะเลิกซอ ซึ่งเรียกว่า ลาผาม ช่างซอจะซอเป็นการกล่าวลาและเว้าวอนขอน้ำใจจากผู้ฟัง เช่น ขอเศษเงิน เพอื่ เอาไปเปน็ ขวญั ถงุ บางครง้ั ในการขอ ชา่ งซอกเ็ อย่ ชอื่ ผวู้ า่ จา้ งหรอื เจา้ ของงาน

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 161 ซงึ่ ไม่รรี อที่จะตกรางวลั ให้ ภาษิตข้างต้นอาจมีท่ีมาจากการซอเก็บนกด้วย ซอเก็บนกนี้มักจะเป็น การซอตอนก่อนจะลาผาม ซ่ึงช่างซอชายหญิงจะแสดงเป็นสามีภรรยา ชวนกนั เขา้ ปา่ เพอ่ื หาอาหาร ครน้ั พบนายอา่ ยหรอื นายดา่ นกข็ ออนญุ าตเขา้ ปา่ และมกี ารซอชมนกและดกั นก ในตอนทา้ ยของการซอ ชา่ งซอจะนำนกตวั เลก็ ๆ ทส่ี านดว้ ยใบมะพรา้ วหอ้ ยอยปู่ ลายกา้ นมะพรา้ วออกมาขายใหผ้ ฟู้ งั ดว้ ยเหตนุ ี้ จึงเกิดมคี ำกล่าวว่า ช่างซอข้ีขอ พ่อหมอข้ีอู้ [จ้างซอข้ีขอ ป้อหมอขี้อู้] อันเป็นการ บอกบุคลิกลักษณะของช่างซอ และหมอยาแห่งสงั คมลา้ นนาในอดีต เนอื้ หาทซ่ี อ อาจจะมาจากนทิ านชาดก คตธิ รรมคำสอน เรอ่ื งราวในชวี ติ ประจำวัน การตัดพ้อต่อว่า นอกจากนี้ยังมีการเกี้ยวพาราสีหยอกล้อกันซึ่ง มีเนื้อหาและภาษาค่อนข้างโลดโผน ล่อแหลม จงึ มีคำสอนวา่ น้อยบ่ดีเป็นปู่จารย์/อาจารย์ หนานบ่ดีเป็นช่างซอ [น้อยบ่อดี เปน๋ ปจู่ า๋ น/อาจา๋ น หนานบอ่ ดเี ป๋นจา้ งซอ] น้อย เปน็ คำเรียกผทู้ ี่ลาสิกขาขณะเปน็ สามเณร ปูจ่ ารย์ [ปจู่ ๋าน] หรอื อาจารย์ [อาจ๋าน] แปลว่า มคั นายก หนาน เป็นคำเรียกผู้ที่ลาสิกขาขณะเป็นภิกษุ ตรงกับที่ภาคกลาง เรยี กวา่ ทดิ ภาษิตนี้หมายความว่า ผู้ที่สึกจากสามเณรไม่ควรเป็นมัคนายก เพราะ ยงั มคี วามรนู้ อ้ ย ไมอ่ าจเปน็ ผนู้ ำทางพทุ ธศาสนพธิ ไี ด้ สว่ นผทู้ เ่ี คยเปน็ ภกิ ษมุ าแลว้ มีความรู้ด้านพุทธศาสนามากกว่าใคร ไม่ควรมาเป็นช่างซอ เพราะบางคร้ัง บางงานก็ต้องขับซอท่ีมีเนื้อหาและภาษาสองแง่สองง่าม แบบท่ีชาวล้านนา เรียกว่า คำใต้ซ่ินใต้ผ้า [กำไต้สิ้นไต้ผ้า] ทำให้เส่ือมราศี และเส่ือมความ นบั ถือจากชาวบ้าน ดงั น้นั คำสอนว่า นอ้ ยบด่ ีเป็นปจู่ ารย/์ อาจารย์ หนานบด่ ี

162 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค เปน็ ช่างซอ [น้อยบอ่ ดเี ป๋นป่จู ๋าน/อาจา๋ น หนานบอ่ ดีเปน๋ จ้างซอ] จึงเป็นการ เตือนสติคนท่ัวไปในเร่ืองการวางตัวให้เหมาะสมแก่ฐานะทางสังคมและบุคลิก ของตน ปัจจุบันมีคณะซอเกิดข้ึนแทบทุกจังหวัดในล้านนาและรับซอในงาน ตา่ ง ๆ ทวั่ ไป ชใี้ หเ้ หน็ ถงึ ความนยิ มในศลิ ปะการแสดงประเภทนี้ ภาษติ ทเี่ กดิ จาก อาชพี ชา่ งซอกย็ งั มกี ารนำมาใชแ้ ละเป็นทีเ่ ขา้ ใจกนั ท่วั ไป (รศ.เรณู วิชาศิลป)์

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 163 ดัชนีสำนวนไทยภาคกลาง กลวั จนขขี้ ึน้ สมอง..........................๓ แทรกแผน่ ดินหน.ี .......................๑๓ กนิ เศษกนิ เลย................................๔ นำ้ รอ้ นปลาเปน็ นำ้ เยน็ ปลาตาย..๑๔ ไก่ไดพ้ ลอย....................................๕ เบย้ี บน.......................................๑๕ ไก่รองบ่อน....................................๕ เบีย้ ล่าง.......................................๑๕ ข้าวเหลือเกลอื อิ่ม..........................๖ ปลาซวิ ปลาสรอ้ ย........................๑๕ ขชี่ ้างจับตก๊ั แตน............................๓ ปน้ั นำ้ เปน็ ตวั ..............................๑๖ ข่ีชา้ งวางขอ...................................๖ ปากว่าตาขยบิ ............................๑๗ ควนั หลง........................................๗ เป็นกษตั รยิ ์ตรัสแลว้ ไมค่ นื คำ......๒๔ คอสูง.............................................๓ เป็นปี่เปน็ ขลุ่ย............................๑๗ โค้งสดุ ท้าย....................................๘ ผดิ ฝาผดิ ตวั ....................................๓ ฆ่าควายเสยี ดายพรกิ .....................๓ พิจารณาตามเนือ้ ผ้า...................๑๑ ฆ่าช้างเอางา..................................๙ มวยแทน.......................................๖ แฉโพย...........................................๙ มัดมือชก.................................... ๑๘ ชา้ งเท้าหน้า................................๑๐ แม่ครัวหวั ปา่ ก.์ ...........................๑๙ ช้างเทา้ หลงั ................................๑๐ ไมร้ ่มนกจับ.................................๑๙ ชา้ งเหลอื ขอ..................................๗ ไมล้ ม้ เงาหาย..............................๑๙ เดก็ เหลือขอ..................................๗ ไม้หลกั ปักขคี้ วาย.......................๒๐ ตาบอดไดแ้ ว่น...............................๕ ไมห้ ลกั ปักเลน............................๒๐ ตามเนื้อผ้า.................................. ๑๑ ร่มโพธิร์ ม่ ไทร..............................๒๑ ตที า้ ยครัว...................................๑๒ ราชรถมาเกย.............................. ๒๑ แตกฝูง........................................ ๑๒ เรือขาดหางเสอื ..........................๒๒ เทศน์ตามเนอ้ื ผา้ .........................๑๑ ลงิ ไดแ้ ก้ว.......................................๕

164 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค ลิงตกตน้ ไม.้ ................................๒๓ หัวปา่ กพ์ อ่ ครวั ............................๑๙ วาจาเหมอื นงาชา้ ง.....................๒๓ หัวลา้ นได้หว.ี .................................๕ วานรได้แกว้ ...................................๕ เหอ่ สักหลาด...............................๒๖ สำนวน..........................................๓ เหลอื ขอ.........................................๗ สต่ี นี ยังรูพ้ ลาด แหกคอก.................................... ๑๒ นกั ปราชญย์ งั รู้พลงั้ ..............๒๓ องุ่นเปรย้ี ว..................................๒๗ เสือ ...............................................๓ ออกจากแอกเขา้ ไถ.....................๒๘ หนอนบอ่ นไส.้ ............................๒๔ เอาทองไปรกู่ ระเบื้อง..................๒๙ หน้างอเปน็ ตวกั ..........................๒๕ เอาเนอื้ ไปแลกกบั หนงั ................๒๙ หนา้ เป็นจวัก..............................๒๕ เอาปนู หมายหัว..........................๒๙ หน้าเปน็ ตวกั ..............................๒๕ เอาพิมเสนไปแลกกบั เกลือ ........๒๙ หลกี เรอื ใหห้ ลีกขวา....................๒๕ เอามอื ซุกหบี ..............................๓๐ หัวปกั หัวปำ................................๒๖ ดชั นีสำนวนไทยภาคใต้ กินจนสนิ้ ยัง................................................................................................๖๐ กนิ ด.ี ..........................................................................................................๓๔ กินเหมอื นจอบนำ้ นอ้ ย...............................................................................๔๒ ขวดโหลฟดั เสาพาน....................................................................................๓๕ ขีบ้ นขอน นอนหวันสาย ไดเ้ มยี สาว กนิ ข้าวขาว........................................๓๓ ข้ไี มใ่ หห้ มากิน............................................................................................๓๓ คนชังกั้งไม่เพ่ือน.........................................................................................๔๙ คนปลิน้ พูดหวาน คนพาลพดู โกง คนโคลงพดู เพราะ..................................๓๓

ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 165 คมเหมือนพรา้ นาป้อ..................................................................................๔๒ เคยจอี ยู่ในไม้ตับ หาไมก่ ับกินกบั เคยจ.ี .......................................................๓๗ แคระหมอ้ ยา..............................................................................................๓๘ งูบองเวียนโคน............................................................................................๔๐ จนี ไมต่ ายผ้าลายโข.....................................................................................๓๓ ฉีกขากรวมเปรว.........................................................................................๕๔ ดีเหมือนเหลา้ เครยี ะ...................................................................................๔๑ ได้แรงอก....................................................................................................๓๔ ตม้ ปไู ม่แดงแกงหอยไม่เปือ่ ย......................................................................๓๓ ตากาหลายายกาหลี...................................................................................๕๔ ตามใจปาก ยากถึงวาน...............................................................................๕๘ ตีนฉดั เมน่ ...................................................................................................๓๓ เตนิ สายให้ทำสวนพรา้ ว เตนิ เช้าใหท้ ำสวนยาง...........................................๔๒ แถกเด........................................................................................................๔๓ แถกเหมอื นโลกคลัก...................................................................................๔๓ ทำเฒา่ ........................................................................................................๓๓ ทำหนา้ เหมอื นหวกั .....................................................................................๕๗ ทำเหมอื นผขี ่มเหงเปรว..............................................................................๕๔ นายรักเหมอื นเสอื กอด หนีนายรอดเหมือนเสือหา.....................................๓๓ นงุ่ แพรขุดดิน..............................................................................................๔๔ เนง่ เขาว่าโม่โฉเขาวา่ บา้ ..............................................................................๓๓ ปนู นอกเตา้ ข้าวนอกหม้อ...........................................................................๓๓ ไปไม่พ้นเหมือนผีห่วงเปรว.........................................................................๕๔ ผิดทา่ ..........................................................................................................๕๖

166 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค พเี หมอื นหมลู ด...........................................................................................๓๓ พูดเหมือนนกยางขใี้ สเ่ ล..............................................................................๓๓ มาเหมอื นฝงู เหมา.......................................................................................๔๖ เมืองคอนพุงปลา สงขลาผกั บุ้ง เมอื งลงุ ลอกอ............................................๓๓ เมืองลุงมีดอน เมืองคอนมที ่า เมอื งตรังมีนา สงขลามีบ่อ...................๓๓, ๔๗ โมโหไม่หมฺ ฺลัง ชงั กง้ั ไมเ่ พื่อน......................................................................๔๘ ไม่เขา้ ทา่ .....................................................................................................๕๖ ยนื งงเหมอื นผหี ลงเปรว..............................................................................๕๔ รกั กับใครอยา่ สนิ้ ยัง....................................................................................๕๐ รกั แบบสิน้ ยัง..............................................................................................๕๐ รำในวร.......................................................................................................๕๑ สงขลายอน นครปลิ้น................................................................................๕๒ สงขลาหอน นครหมา................................................................................๕๒ สำนวนเกย่ี วกบั เปรว..................................................................................๕๓ สำนวนชาวใต้.............................................................................................๓๓ สงู เหมือนเจา้ เปรว......................................................................................๕๔ เสอื กไมเ่ ขา้ ทา่ .............................................................................................๕๕ หนอยช้างเหยยี บ........................................................................................๓๓ หนา้ เหมือนเหล็กขดู ...................................................................................๕๖ หยาจกเหมอื นเปรตเดือนสิบ......................................................................๓๓ หรอยจงั หู...................................................................................................๕๗ หรอยใจ......................................................................................................๕๗ หรอยได้แรงอก...........................................................................................๓๔ หรอยตาย...................................................................................................๕๘

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 167 หรอยแตป่ าก ยากถงึ วาน...........................................................................๕๘ หรอยถงึ หวัน..............................................................................................๕๗ หรอยบอกเขากนั ........................................................................................๕๙ หรอยปากยากรขู ี้........................................................................................๕๘ หรอยแรง....................................................................................................๕๘ หรอยอต้ี าย................................................................................................๕๘ หวานไดแ้ รงอก...........................................................................................๓๔ อยา่ ขา้ มหวั ฤๅษ.ี .........................................................................................๓๓ ดชั นีผญาภาคอสี าน กกบ่เตือ้ ง ตงิ ตายตงั้ แตง่ ่า ง่าบ่เหล้อื ง ไปเตือ้ งต้งั แตใ่ บ..............................๗๔ ข้ึนปลายตาลแล้ว ใหเ้ หลยี วลงต่ำ ขึ้นดอยสงู ยอดด้อแด้ ให้เหลยี วพื้นแผ่นดิน...........................................................................๖๔ ครน้ั เจ้าไดข้ ี่ชา้ งกั้งร่มเป็นพระยา อยา่ สุลมื คนจนผูแ้ หน่ ำตนี ช้าง................๗๕ คร้ันไดก้ ินชนิ้ ใหญ่ ให้เจา้ ฝากนำกา คนั ไดก้ ินชิ้นปลา ให้เจา้ ฝากนำแร้ง ครนั้ ได้กินหมากแคง่ ให้เจา้ แกวง่ นำลมเดอ้ ลูกหล้าเอ้ย...................๙๓ ครั้นไปให้ลา คร้นั มาใหค้ อบ.......................................................................๖๔ ครั้นมไี หมบม่ เี ข็มรอ้ ย สิเอาหยังหยิบแสว่ มีเข็มครั้นบ่ร้อย สพิ นั แส่วฮอ่ มใด........................................................๗๐ คิดไจไ้ จใ้ นใจใหแ้ จง้ กอ่ น จึงคอ่ ยควั่ เวยี กค้น ผลไดเ้ คร่ืองคณู การบ่คดิ ถถี่ ว้ น สโิ อโ้ อ่ยภายหลงั มนั สิเสียของขวัญเครือ่ งคูณควรได้..........................๘๑ เครง่ หลายมนั ขาด ยานหลายมนั ข้อง.........................................................๙๑ งว้ นกินเบ่ืออยา่ ไว้ในเรอื น คนใจเบอื นอยา่ เอาเปน็ พน่ี ้อง............................๖๘

168 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค งูอย่าขืนใจแข้ หางยาวเสมอภาคกันแลว้ พรา้ อย่าหวงั หนา่ ยดา้ ม คมสเิ หีย้ นก่อนสัน...............................................................................๘๒ เงนิ คำแก้ว บแ่ ม่นของใผ ผ้ใู ดมใี จเพยี ร หากสหิ ลวงหลอนผ้อ....................๘๐ จองคร้ันบม่ ดี ้าม สิเปน็ บว่ งตักแกงไดบ้ ่ บุงครน้ั บม่ สี าย กเ็ ปน็ ทอยาร้าง.....๘๔ ใจคิดสรา้ ง กลางดงกว็ า่ ท่งุ ใจขคี้ รา้ น กลางบ้านก็ว่าดง.............................๘๕ เช้อื ชาตมิ า้ บ่หลีกทางกระแส ตีตามลม บ่เหน็ รอยเตน้ ..............................๘๗ ไทไกลน้จี ูงแลนเข้าป่า บท่ ่อหพู ี่ว่ี ไทใกล้โกก้ ลงิ ดอกต้ี................................๘๗ เช้อื ชาติแรง้ บห่ อ่ นเวน่ิ นำแหลว แนวหงส์คำ บบ่ ินนำร้งุ ............................๙๙ ทางคนละเส้น ตาเว็นคนละหนว่ ย..............................................................๗๖ ทกุ ขบ์ ม่ ีเสอื้ ผ้า ฝาเรอื นเพพอลอ้ี ยู่ ทกุ ขบ์ ่มขี ้าวอยูท่ อ้ ง นอนลี้อย่บู เ่ ปน็ .....๘๓ นกเขาตู้ พรากค่กู ย็ งั ขนั กาเหว่าวอน พรากรังก็ยงั รอ้ ง น้องพรากอา้ ย ความเดยี วบ่เอ้นิ สงั่ ครน้ั บเ่ อนิ้ สัง่ ใกล้ ขอให้เอน้ิ สงั่ ไกล......................................................๙๘ นง่ึ ขา้ วให้มีทา่ ป้งิ ปลาให้มวี าด...................................................................๖๔ แนวเดก็ น้อยมคี วามรสู้ องสามความมันกอ็ ง่ ผู้ใหญ่รตู้ งั้ ล้าน กอ็ ำไว้บ่หอ่ นไข...........................................................๗๗ แนวบวยบม่ ีดา้ ม สิเสียทรงทางวาด เขาสิเอิ้นวา่ โปห๋ มากพรา้ ว บเ่ อ้ินว่าบวย.......................................................................................๘๖ เป็นคนอยา่ ได้เรียนปากเกลีย้ ง ตวั๋ ะหลายกินของเพิน่ ครน้ั แมน่ หลายปลี ำ้ เงนิ คำสเิ ปน็ ดอกไปแลว้ โทษสมิ าแล่นต้อง เป็นข้อยเพ่ินสหิ ยัน บอ่ ยา่ แลว้ ...............................๙๖ เปน็ เด็กนอ้ ย อยา่ ลืมคุณผใู้ หญ่ ครนั้ ผใู้ หญบ่ ่พรอ้ ม ไปไดก้ บ็ เ่ ถิง.................๗๕ ผญา ...........................................................................................................๖๓ ใผสมิ าสร้าง แปลงรวงรังให้หนอู ยู่ ครัน้ ปากบ่กัด ตีนบ่ถีบ สังสไิ ดอ้ ยรู่ งั .....๖๔

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 169 ฝนตกยังรเู้ อือ้ น นอนกลางคนื ยังรู้ตื่น บาดอา้ ยคดิ ฮอดนอ้ ง สังมาเอ้ือนอ่มิ บ่เป็น............................................................................๖๖ เพิน่ ว่ากำข้ไี ว้ ยงั สิไคกวา่ กำตด กำปลาหลดข้ีตมควาย ไคกวา่ กำปลาค้าว...............................................................................๙๒ มาหลูตนโตเด้ รกั เพนิ่ ขา้ งเดยี ว แสนสิเทยี วมาจา เพ่ินบเ่ หลยี วพอนอ้ ย...........................................................................๖๗ มาเหน็ นำ้ วงั ใส ใจอยากอาบ ยา่ นแต่มีเงือกเฝ้าในน้ำ ส่องบ่เหน็ ................๖๕ แม้นเจ้ามีความร้เู ต็มพงุ เพียงปาก คร้ันสอนโตบไ่ ด้ ใผสยิ ่องวา่ ด.ี ...............๙๔ ยามยงั น้อย ให้เจ้าหมั่นเรียนคณุ ลางเท่ือบญุ เรามี สยิ ศสงู เพียงฟ้า ไปทางหน้า หาเงนิ ไดพ้ นั หมืน่ ใผผู้ความร้ตู ื้น เงนิ เบย้ี บแ่ กน่ ถงุ ดอกนา....................................................................๗๘ เรือไหลแล้ว ขอนสิยังค้างทา่ ไฟไหมป้ ่าไม้ ดอนน้อยหากสยิ งั ใหค้ ่อยอดเพียรล้ำ ยงั สิได้ค่าคำ ดอกนา.............................................๘๙ สถิ ม่ิ ก็เสียดาย สบิ ายกข็ ีเ้ ดยี ด....................................................................๙๐ เหลยี วเหน็ ชนิ้ วางปลาปละไปล่ บาดวา่ ไฟไหม้ช้นิ สมิ าโออ้ า่ วปลา..........๖๙ ให้คอ่ ยเพียรเรยี นรคู้ ำสอนของปราชญ์ หากชา่ งอยชู่ า่ งเวา้ ออละอว้ นอุ่นเรือน..............................................................................๙๕ อย่าสหุ วังสุขย่อน บญุ เขามาพึ่ง สขุ ก็สุขเพิ่นพู้น บม่ าฮอดหมเู่ รา ดอกนา......................................................................๗๑ อนั วา่ ผวั เมยี นี้ กมู งึ อยา่ ได้วา่ ให้เอิ้นข้อยและเจ้า ผองเฒา่ ชั่วชีวัง ยามนอนน้ัน ให้ผวั แพงนอนกอ่ น ใหเ้ อาขันดอกไม้ สมมาแล้วจึงค่อยนอน........................................................................๗๒ ฮตี เกา่ คองหลัง...........................................................................................๙๖ ฮีตสบิ สองฉองสิบสี.่ ....................................................................................๙๖

170 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค ดชั นภี าษิตภาคเหนือ กำฟู่นกั ปราชญ์ เหมอื นดาบสองคม กำฟคู่ นโง่ (งา่ ว) งม เหมือนลมพดั ยอดไม.้ .......................................................................๑๕๘ กนิ ก็ห้อื กนิ พอทอ้ ง หยอ้ งก็ห้อื หยอ้ งพอตวั ..............................................๑๕๐ กินข้าวบไ่ วต้ า่ น้ำ เขา้ ถำ้ บต่ ามไฟ เทียวทางไกลบม่ ีเพื่อน........................๑๕๓ กินขา้ วแลว้ บ่เยียะการ พาลกู หลานเปน็ หนี้เป็นข้า..................................๑๒๐ กินข้าวห้ือไวต้ า่ น้ำ...................................................................................๑๔๗ กินปลาช่างไซ้ก้าง จะฟอู่ ้างห้ือพจิ ารณา..................................................๑๕๔ กินแลว้ นอน ผปี ันพรวันละเจด็ เทื่อ กนิ แลว้ เยยี ะการ พาลูกหลานเป็นเจา้ เป็นนาย............................................................๑๑๙ กนิ แลว้ ลมื อยาก ปากแล้วลืมคำ..............................................................๑๕๗ กินหื้อพอคาบ หาบหอ้ื พอแรง แปลงห้อื พอใช้ ไข้หือ้ พอหมอน...............๑๕๓ กนิ หอื้ พอท้อง หย้องหอ้ื พองาม...............................................................๑๕๐ กนิ ห้อื มันพอทอ้ ง หย้องก็ห้ือพอตวั .........................................................๑๕๐ กนิ เหมอื นเพน่ิ จะไปกนิ เหมือนเพนิ่ ........................................................๑๔๘ เก้าเหล้ยี มสิบเหล้ียม บ่เทา่ เหลยี้ มใบคา เก้าหนาสิบหนา บ่เท่าหนาความร.ู้ .............................................................................๑๑๖ เกิดมาเปน็ คน เข้าหว้ ยใดห้ือมนั สดุ ขดุ หว้ ยใดหอื้ มันทกึ .........................๑๒๐ แกบ่ ่ดอกบ่ดาย........................................................................................๑๑๐ แกเ่ พราะกินข้าว เฒา่ เพราะเกิดเมิน.......................................................๑๑๐ ขะยมดเี พื่อทุเจ้า ลกู เต้าดีเพื่อพ่อแม่ คนแก่ดีเพอ่ื ฟงั ธรรม......................๑๑๐ ขะยมดีย้อนทุเจา้ ลกู เต้าดีย้อนพอ่ แม่ คนแก่ดยี ้อนฟงั ธรรม....................๑๑๐ ข้าวบ่ตากตำปึก คนหลกึ สอนยาก...........................................................๑๒๙

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 171 คนเฒา่ ข้ีจ่ม ลูกหลานชัง คนข้ีชขิ ช้ี ำ บ่มเี พอ่ื นพ้อง.................................๑๕๖ คนเฒ่าปากหวานลูกหลานรัก คนเฒา่ ปากนกั ลูกหลานชงั ......................๑๕๕ คนหลฺ วฺ ักค้าใกล้ คนใบค้ ้าไกล..................................................................๑๓๓ ความรบู้ ท่ นั ความหันบ่กว้าง...................................................................๑๑๕ ความรู้มีไว้บว่ ายหายสูญ เท่ยี งจกั เป็นคุณ สืบไปภายหน้า.......................๑๑๖ ความหลฺ วฺ กั มีชผุ ู้ ความรซู้ ำ้ ตา่ งกนั ...........................................................๑๑๕ คอ่ ยอยตู่ ามน้ำ ทำไปตามตวั นำ้ เพยี งใด ดอกบวั เพียงอนั้ .......................๑๕๔ คันคา้ อยา่ หอ้ื ล่มเสยี ดาย คนั ขายอย่าหอ้ื หายเสียเปล่า............................๑๓๘ คนั ใครม่ นู ทนุ่ เทา้ หอื้ หม่ันเยยี ะไร่เยียะนา...............................................๑๒๔ คันเจา้ นุ่งผา้ งาม อยา่ นุ่งผ้าเปรียบ...........................................................๑๕๐ คนั ว่าจะมดั บต่ อ้ งมัดดว้ ยปอ คำปากคำคอ มัดกันกไ็ ด.้ ..........................๑๕๕ ค้าใกล้ดกี ว่าคา้ ไกล..................................................................................๑๓๓ คำติอย่าห้อื มี คำดหี ือ้ กลา่ วไว้..................................................................๑๕๖ คำใตซ้ ิน่ ใตผ้ ้า..........................................................................................๑๖๑ คำในบค่ วรออก คำนอกบ่ควรเขา้ ............................................................๑๕๗ คำบด่ บี ่ควรเอามาเล่า คำปางเกา่ บด่ ีเอามายาย......................................๑๕๗ คดึ ไร่นาสวนสร้างเวียก คา้ ขายเรยี กหาเงิน..............................................๑๓๒ ใครก่ นิ ข้าว ห้ือหมนั่ ใชทง่ ใชนา................................................................๑๒๖ ใคร่ข้ีล่นหาขอน ใคร่นอนล่นหาสาด........................................................๑๔๕ ใครเ่ ปน็ ขา้ หื้ออยู่ดาย ใครเ่ ปน็ เจา้ เปน็ นายหือ้ หมัน่ รำ่ หมน่ั เรียน..............๑๑๗ ใครเ่ ป็นเจา้ หอ้ื หมน่ั เรียนคณุ ใครเ่ ปน็ ขนุ ห้อื หม่นั เฝ้าเจ้า.........................๑๑๗ ใคร่เป็นดหี อ้ื หมัน่ คา้ ใคร่เปน็ ข้าหอ้ื อยู่บด่ าย...........................................๑๓๒ ใครเ่ ป็นดีหือ้ หม่ันค้า ใครเ่ ปน็ ข้ขี ้าห้อื เปน็ นายประกนั .............................๑๓๔ ใครเ่ ป็นดหี ือ้ หาบไปคา้ ใคร่เป็นขา้ ห้ืออยูด่ าย..........................................๑๓๑

172 ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ใครเ่ ปน็ เศรษฐีห้ือหมั่นคา้ ใคร่เปน็ ข้ีข้าหอื้ เลน่ ภ้ายหลังลาย....................๑๓๒ ใครม่ ีสนิ หอื้ หมั่นคา้ คันใครฉ่ ลาดห้ือปฏิบตั พิ านิโช..................................๑๓๔ ใคร่หื้อเพน่ิ รกั ชา่ งอู้ปากหวาน ใคร่ไป่ใคร่สาน ห้อื ถามคนแก.่ ................๑๕๕ งูใกลแ้ ข้งแลว้ ชา่ งหมุ ฉกหวัน เอาไหนบท่ ัน มันมารอดใกล.้ ....................๑๔๕ งูใกลห้ น้าแขง้ ฟ่งั แล่นหาคอ้ น.................................................................๑๔๓ เงินคำบ่ใชเ้ ปน็ หินเป็นผา พี่นอ้ งบข่ นึ้ สลู่ งหาเปน็ เพิ่นคนอืน่ ....................๑๐๗ เงนิ บน่ ักจะไปเยียะอยา่ งเศรษฐี บญุ บม่ ีจะไปใคร่เป็นเจ้า........................๑๕๑ เงินบ่หลายอย่าไปคา้ ม้า ผา้ หม่ บห่ นาบ่ดีนอนริมไฟ.................................๑๓๖ เงินอยใู่ นน้ำ คำอยู่ในดิน.........................................................................๑๒๓ จกทา้ งบอ่ งแท.........................................................................................๑๒๗ จอมปลวกเปน็ แสงแก่ข้าว คนแกค่ นเฒา่ เป็นแสงแก่หอแก่เรือน.............๑๐๙ จอมปลวกอยู่ยังนาวา่ เป็นแสงข้าว คนแกค่ นเฒ่าอยูย่ ังเรอื นวา่ เป็นแสงเรือน.........................................๑๐๙ จะซอื้ เม่ือยามเพนิ่ ใครข่ าย จะขายเมอ่ื ยามเพนิ่ ใครซ่ อ้ื ............................๑๓๖ จะไปตกี ลองเอ่ยี งฟา้ จะไปขี่ม้าเอ่ยี งตะวนั ..............................................๑๕๒ จะไปหลฺ ฺวกั ก่อนหมอ จะไปซอก่อนป่ี......................................................๑๕๙ จะหดั ค้าห้ือหดั คำหนอ้ ย จะเป็นนายรอ้ ยหอื้ ใจกลา้ ๆ.............................๑๓๕ จักคา้ งวั หือ้ ผอ่ ดตู า่ ง หม่ันซอ่ มหา้ งบ่ดดู าย..............................................๑๓๓ จกั ตกี ลองห้อื ผ่อดูเมอื่ จกั ปลกู ข้าวเชือ้ ห้ือผอ่ ดูยาม.................................๑๒๕ จพี่ ริกตอ้ งมีครู จ่ปี ูต้องมลี าย...................................................................๑๑๘ ชา่ งซอข้ีขอ พ่อหมอข้อี .ู้ ..........................................................................๑๖๐ ชาติว่าน้ำบห่ ลา้ งเขียมปลา ชาตวิ า่ นาบ่หลอนไรข้ า้ ว...............................๑๒๙ ซอบช่ า่ ง ติชา่ งป.ี่ .....................................................................................๑๖๐ ซ้ือควายยามนา ซอ้ื คายามฝน.................................................................๑๒๘

ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค 173 ซื้อควายหนา้ นา ซือ้ ผา้ หน้าหนาว............................................................๑๒๘ ดำน้ำหือ้ ถึงทราย นอนหงายหื้อหันฟ้า....................................................๑๒๑ ตอกสัน้ ห้ือมดั ท่กี ิว่ สวิ่ ส้นั หอ้ื ส่ิวไม้บาง ๆ................................................๑๒๑ ตามใจปาก ช่างยากใจท้อง......................................................................๑๔๗ ถามนักไดป้ ญั ญา นง่ั ผอ่ หน้าไดค้ า่ กน้ ด้าน...............................................๑๑๖ เถิงยามนามาไคว่ ควรป่าวไพรข่ ุดเหมือง.................................................๑๔๖ ทวยใจปาก ลำบากท้อง...........................................................................๑๔๗ ทา่ นไปนามันพ้อยซ่อนอยู่บา้ น ญิงผนู้ ั้นบด่ .ี ............................................๑๒๔ ทกุ ขบ์ ่มกี นิ บ่มใี ผตามไฟสอ่ งท้อง ทุกข์บ่ได้นุ่งไดห้ ยอ้ ง พี่น้องดูแควน....๑๔๙ นอ้ ยบ่ดีเป็นป่จู ารย์/อาจารย์ หนานบ่ดีเปน็ ช่างซอ..................................๑๖๑ นอ้ ยบ่ดีเอาเป็นอาจารย์ หนานบ่ดเี อาเปน็ ช่างซอ..................................๑๒๒ นาดใี ผบล่ ะเปน็ ร้าง..................................................................................๑๒๘ บก่ ินผกั บ่มเี หยื้อทอ้ ง คนบเ่ อาพ่ีเอาน้อง เสียหนอ่ เสียแนว.....................๑๐๗ บด่ กี ินกอ่ นทาน บด่ ีมานกอ่ นแตง่ ............................................................๑๔๐ บ่ดีจาควายกลางหนอง............................................................................ ๑๓๙ บด่ ีสิหมาเน่าลงฝาย บ่ดสี หิ มาตายลงแม่น้ำ.............................................๑๒๘ บด่ ีหลฺ ฺวกั ก่อนหมอ บด่ ซี อกอ่ นปี่.............................................................๑๕๙ บม่ เี หมอื งฝาย ขา้ วชา่ งตายแดด..............................................................๑๒๗ แบ่งเชื้อไว้หลายทา่ หม่าข้าวไวห้ ลายเมอื ง...............................................๑๓๗ โบราณว่าไว้ เยยี ะไรน่ าขวาย ช่างเสียแรงควาย บ่มูนมงั่ ข้าว...................๑๒๕ ปากกวา้ งกวา่ ท้อง...................................................................................๑๔๗ ปากเปน็ ธรรม ใจดำเหมือนหมิ่นหม้อ......................................................๑๕๘ ปากหวานกน้ ส้ม ทางในขมเหมือนบา่ แคว้ง.............................................๑๕๘ เป็นพอ่ ค้าหม่ันไปใช หันอนั ใดเอายามเช้า.................................... ๑๓๖, ๑๔๑

174 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค เป็นพ่อคา้ อย่าอวดว่าข้าวของหลาย ห้ือไดซ้ อนดูทีข่ ายทีซ่ อ้ื ...................๑๓๗ ไปไถนาลืมควาย...................................................................................... ๑๒๘ ผวั แก้วเมียเทพ........................................................................................๑๑๑ ผวั แก้วเมยี แสง............................................................................. ๑๑๑, ๑๑๒ ผวั บ่นบั ถอื เมยี คำกองเทา่ เรอื กบ็ ่ค้าง เมียบน่ ับถอื ผวั คำกองเทา่ หวั กเ็ ส้ยี ง.........................................................................๑๑๓ ผวั เป็นหิง เมียเปน็ ข้อง................................................................. ๑๑๒, ๑๑๓ ผัวเปรตเมียผี................................................................................ ๑๑๑, ๑๑๒ ผัวเปรตเมยี ยักษ.์ .....................................................................................๑๑๑ ผวั รกั เมยี แพง............................................................................... ๑๑๑, ๑๑๒ เผ่อื รู้กพ็ อวาย เผ่อื อายก็พอเฒา่ เผอื่ จะร้คู ำพระเจ้า ก็พอเข้าอยูใ่ นหลอ้ ง.........................................................................๑๔๒ เผ่ือรู้คิง นำ้ ปิงพอแห้ง.............................................................................๑๔๒ พอ่ ชายลกุ เช้าผ่อสแ่ี จ่งบ้าน แมญ่ งิ ลุกเชา้ ผ่อสี่แจง่ เรือน...........................๑๑๒ พอ่ นาคึดไปหน้า พ่อคา้ คดึ ไปหลัง...........................................................๑๓๐ พักเรือไว้หลายท่า หมา่ ขา้ วไวห้ ลายเมือง.................................................๑๓๗ พ่ีนอ้ งกนั อยู่ไกลกินของฝาก อยู่ใกล้กินสากมอง....................................๑๐๔ พ่ีนอ้ งเปน็ ดี บ่ดีไปกราย สหายเปน็ ดี ห้ือหมนั่ ไปใกล.้ .............................๑๐๕ พนี่ ้องผดิ กนั เหมือนพรา้ ฟนั น้ำ.................................................................๑๐๗ พน่ี ้องเหมือนทอ้ งขันหมาก คนใดอยากกก็ ิน...........................................๑๐๗ เพิ่งพีเ่ จ็บทอ้ ง เพิง่ น้องเจ็บใจ...................................................................๑๐๖ ฟอ้ นบ่ช่าง ตแิ ผน่ ดิน...............................................................................๑๖๐ ฟอ้ นบ่ชา่ ง ตแิ ผน่ ดนิ บ่เพยี ง.....................................................................๑๖๐ ฟั่งกินช่างแค้น ฟงั่ แล่นชา่ งท่าว...............................................................๑๓๘

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 175 ฟง่ั ได้บ่ดีเอา เผาไหมบ้ ด่ ีกิน.....................................................................๑๓๙ ภาษิตลา้ นนา...........................................................................................๑๐๓ มีเมียงามทุกขใ์ จเมือ่ ไปค้า เมียบ่งามทุกขใ์ จเมือ่ พาไปพอย......................๑๓๔ ไมต้ น้ เดยี วบเ่ ป็นเหล่า บ่มีคนเฒา่ บเ่ ป็นบา้ นเป็นเมอื ง.............................๑๐๙ ไมเ้ ล่มเดียวยงั ตา่ งปล้อง พ่ีนอ้ งยังตา่ งใจ.................................................๑๐๖ ยามนอนอยา่ นอนสงู กวา่ ผวั เจา้ คนั เมอ่ื ลกุ เชา้ หอ้ื คอ่ ยหยอ่ งเทยี วเรอื น......๑๑๔ ยามมกี ิน กนิ จนพอแหงน ยามบม่ ีแมนตาผ่อ..........................................๑๔๙ ยามมีกินตกิ ๆ ยามบ่มพี บั ตาหยบิ ๆ.......................................................๑๔๘ ยามมกี ินพอแสน ยามบ่มีแมนตาอยู่........................................................๑๔๙ ยินคำเขา้ หู อยา่ ถอู อกปาก จักยากใจเมอื่ ภายลนู .................................๑๕๗ เยียะนาหลา้ เปน็ ขา้ ควาย เอาเมยี ขวายเปน็ ข้าลูก....................................๑๔๑ เยยี ะนาหล้าเสยี แรงควาย มีเมยี ขวายเปน็ ข้าลูก......................................๑๒๘ เยียะไรไ่ กลตา เยียะนาไกลบ้าน..............................................................๑๒๙ เยยี ะไร่ชา่ งหว่านงา เยียะนาชา่ งหวา่ นกลา้ .............................................๑๒๖ เยียะไร่นาปี เช้า ๆ แควนดี บม่ ที ขี่ อ้ ง หลา้ ๆ ขวาย ๆ เสียดายกลา้ ปล้อง บห่ อ่ นจกั ดี เนอนอ้ ง...........................................๑๒๕ เยยี ะอะหยังหือ้ รู้จักประมาณ กระทำการหือ้ รจู้ ักผ่อน แรงตัวออ่ นอยา่ ไปหาบหนัก คนั แอวบ่หักหลังก็จักกอ่ ง...................๑๕๒ รกั ชน้ั ๆ มันช่างพลันเหย เมนิ ๆ เคย ๆ มนั ช่างกุ้มเฒ่า..........................๑๔๐ แรงคนอยู่ท่ีนำ้ ลาย แรงควายอยู่ทีน่ ้ำแม.่ .................................................๑๕๖ ไร่บ่มีสกั วา นาบ่มสี กั แวน่ ........................................................................๑๒๓ ละอ่อนบด่ เี อาไปนา หมาบ่ดีเอาไปทง่ .....................................................๑๒๗ ลกุ ขวายซ้ำนอนวนั เยยี ะหยงั บท่ นั แลว้ ...................................................๑๔๓ ลกุ เชา้ ไดก้ นิ ผกั ยอดปลาย ลกุ ขวายได้กนิ ผักยอดเค้า...............................๑๔๓

176 ภาษติ สำนวนไทย ๔ ภาค ลุกเชา้ เป็นขนุ ลกุ ลนู เป็นขา้ .....................................................................๑๔๓ ลกุ เชา้ ห้ือจกั ตอกเปน็ สาย ค่ำมาผายมเี ชือกปา่ น.....................................๑๔๓ ลูกผวั เปน็ เจ้า นอนลนุ ลกุ เช้า แตง่ คาบขา้ วงายทอน................................๑๑๔ ลูกอยู่ไกลได้กนิ หัวไก่ ลูกอยูใ่ กล้ได้กนิ หวั มยุ ...........................................๑๐๕ วัดบ่เขา้ พระเจา้ บไ่ หว้ คอื คนหนา...........................................................๑๑๐ ศษิ ยต์ า่ งครู อาจารยต์ า่ งวดั หนงั สอื ก้อมตา่ งคนตา่ งม.ี ............................๑๑๗ สองฉลาดค้าจักมีครวั เรือน......................................................................๑๓๑ สตั วท์ ังหลายอยา่ คา้ ................................................................................๑๓๕ สิบเรือคา้ บเ่ ทา่ นาแวน่ เดยี ว....................................................................๑๒๔ สบิ เรอื ค้า บเ่ ท่านาพ่นั เดยี ว.......................................................... ๑๒๔, ๑๓๐ สขุ เพ่ือมขี า้ วกนิ สุขเพอื่ มีแผน่ ดินอย่.ู .....................................................๑๒๓ เสยี มบค่ มหื้อใส่ด้ามหนกั ๆ คำรู้บ่นักหอ้ื หม่นั รำ่ หม่ันเรยี น.....................๑๑๖ หนุ่มเอาเคา้ เฒ่าเอาปลาย......................................................................๑๐๘ หมน่ั เข้ากาดเงนิ หลาย หมน่ั คา้ ขายเงนิ คำนัก..........................................๑๓๒ หมน่ั ค้าขายเทย่ี งได้ ใผบ่ผกู มอื ไว้ เยียะได้หากเปน็ ของเรา.....................๑๓๐ หมนั่ ค้าขายเท่ียงได้ดี ใผบบ่ อกมีไว้ เยยี ะไดห้ ากเปน็ ของพรองดี บ่เป็นหนี้ท่านแล หลานเหย.............................................................๑๓๔ หมั่นไปหาบค้าหาบขาย มีข้าวของหลายมาก..........................................๑๓๑ หว่านกลา้ ชา่ งตกตม ปูลมชา่ งหนีบขา้ ว...................................................๑๒๖ หวา่ นกลา้ ไวเ้ หลอื นา...............................................................................๑๒๖ หันเพิ่นมจี ะไปใคร่ได้ หันเพ่นิ ข้ีไร้จะไปดแู ควน........................................๑๕๑ ห้อื ปากมว่ นสบเครือ................................................................................๑๓๗ อย่าค้าของฆ่าทา่ นทุกเยื่อง......................................................................๑๓๕ อย่าซ้ือของตอ่ นาย อย่าขายของตอ่ เจ้า...................................................๑๓๘

ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค 177 อย่าซื้อพิษง้วนกล้าเป็นของขาย.............................................................. ๑๓๕ อยา่ ยา้ ยคันนา อยา่ คาตาชั่ง....................................................................๑๓๗ อยา่ ส่อหือ้ ชาวบ้านผดิ กัน........................................................................๑๕๘ อย่าใส่เหล้าหุงขาย.................................................................................. ๑๓๕ อยา่ อ้กู ันดงั อยา่ ฟังคำส่อ........................................................................๑๕๘ อนั ใดบแ่ จง้ เร่งหาครู บุญหลังชูจกั ชว่ ย....................................................๑๑๘ อู้หื้อเพน่ิ รกั ยากนกั จักหวงั อู้หอื้ เพิน่ ชัง คำเดยี วก็ได.้ ...........................๑๕๕ เอากันเปน็ นา พากันเป็นบา้ นเป็นเมือง...................................................๑๒๙