Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 100ชนิดปลาสวยงามของไทย pink

100ชนิดปลาสวยงามของไทย pink

Description: 100ชนิดปลาสวยงามของไทย

Search

Read the Text Version

100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 100 Species of Thai Ornamental Fish

100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 100 Species of Thai Ornamental Fish โดย สุจินต หนูขวญั อรณุ ี รอดลอย สถาบันวจิ ยั สตั วน้ำสวยงามและพรรณไมน ำ้ สำนกั วิจยั และพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ท่ปี รกึ ษา สมหวงั พมิ ลบตุ ร (ผูอ ำนวยการสำนกั วิจยั และพัฒนาประมงน้ำจืด) ดร. อมรรตั น เสรมิ วฒั นากลุ (ผเู ชย่ี วชาญดา นสตั วน ำ้ และพรรณไมน ำ้ สวยงาม) ดร. อภชิ าติ เตมิ วิชชากร (ผูเชย่ี วชาญดา นอนกุ รมวธิ านสตั วน้ำจืด) เรยี บเรียง สจุ ินต หนูขวัญ อรณุ ี รอดลอย ภาพประกอบ ชาญทอง ภูน ิยม อรุณี รอดลอย นณณ ผาณิตวงศ ชวลติ วทิ ยานนท Koji Yamazaki สมเกยี รติ เมฆานิมิตดี ขอ มูลทางบรรณานุกรม สุจนิ ต หนขู วัญ และอรณุ ี รอดลอย. 2552. 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย. สถาบันวิจัยสัตวน้ำสวยงามและพรรณไมน้ำ สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 116 หนา. จดั ทำโดย สถาบันวจิ ยั สัตวน ้ำสวยงามและพรรณไมน ้ำ สำนกั วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจดื กรมประมง พมิ พค ร้งั ท่ี 1 : กนั ยายน 2552 จำนวนพมิ พ 800 เลม ISBN : 978-974-19-4698-3 พิมพ - ศลิ ปกรรม โรงพิมพด อกเบีย้ เลขท่ี 1032/203 - 208 ซอยรวมศิริมติ ร แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กทม. 10900 โทรศัพท 0-2272-1169-72 โทรสาร 0-2272-1173 e-mail : [email protected]

คำนำ ประเทศไทยเปนประเทศในเขตรอน มีภูมิอากาศและสภาพแวดลอมที่เหมาะสม ตอการเจริญเติบโตของสัตวน้ำสวยงาม และพรรณไมน้ำที่สำคัญแหงหนึ่งของโลก ปจจุบัน ประเทศไทยสง ออกสัตวน ้ำสวยงาม และพรรณไมนำ้ ปล ะกวา 1,000 ลา นบาท ในขณะท่ีมูลคา การซอ้ื ขายท่วั โลกประมาณ 35,000 ลานบาท จากขอ มูลการสง ออกของสำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตร และกรมศลุ กากร ในป 2550 มมี ูลคา 571 ลานบาท และยังมอี ัตราการขยายตวั เพิม่ ขึน้ ตามลำดบั ประมาณรอยละ 90 ผลิตเพอ่ื การสง ออก รอ ยละ 10 ผลติ เพ่ือการจำหนา ย ภายในประเทศ แหลงผลิตสัตวน้ำสวยงาม อันดับแรกอยูที่ กรุงเทพฯ ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา และในหลายพื้นที่มีศักยภาพในการผลิตสัตวน้ำสวยงาม ปจจุบัน การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำของประเทศไทย ไดพัฒนาและมีการนำเทคโนโลยีใหมๆ มาประยุกตใช ในกระบวนการผลิตสัตวน้ำ จากผลการศึกษาคนควาวิจัยพันธุสัตวน้ำชนิดใหมๆ ที่มีศักยภาพ ในการพัฒนาดานการผลิตสามารถขยายตลาดเปนอีกแนวทางหนึ่งในการพัฒนาปลาสวยงาม ของประเทศไทย กรมประมง ไดจัดทำยุทธศาสตรปลาสวยงาม และพรรณไมน้ำ โดยมีวัตถุประสงค สำคัญในการเพิ่มผลผลิต และความหลากหลายของชนิดสัตวน้ำสวยงามที่ไดมาตรฐาน เพื่อการสงออก สรางโอกาสในการขยายตลาดทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ เชน ทรงเครื่อง กาแดง น้ำผึ้ง ซิวขางขวาน กางพระรวง และเสือตอ เปนตน ซึ่งในบางชนิดมี การศึกษาคนควาวิจัย และพัฒนาสายพันธุ เพื่อเพิ่มความหลากหลายในเชิงธุรกิจ การตลาด เชนปลากัดหางมงกฎุ ปลากัดหางพระจนั ทรคร่งึ เส้ยี ว ปลากัดประเภทสีเดยี่ ว สองสี สีแฟนซี และปลากดั สองหาง เปน ตน กรมประมง โดยสำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด ไดตระหนัก และเล็งเห็นคุณคา ของพันธุปลาสวยงามของไทยจึงไดจัดทำหนังสือ “100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย” เพื่อ เผยแพรความรูใหแกนิสิต นักศึกษา และประชาชนผูสนใจศึกษาคนควา รวมถึงผูเพาะเลี้ยง และผูป ระกอบอาชีพธุรกจิ ปลาสวยงามตอไป (นายสมหวัง พิมลบตุ ร) ผูอำนวยการสำนกั วจิ ัยและพัฒนาประมงน้ำจดื สำนกั วจิ ัยและพัฒนาประมงน้ำจดื กรมประมง กนั ยายน 2552

สารบญั หนา บทนำ............................................................................................................................................................ 7 ชนดิ ปลาสวยงามไทย............................................................................................................................. 9 ซิวขา วสาร................................................................................................................................ 10 แปน แปนแกว กระจก.......................................................................................................... 11 แปนแกว ยกั ษ........................................................................................................................... 12 หวั ตะก่วั ..................................................................................................................................... 13 หมอแคระแมนำ้ แคว.............................................................................................................. 14 กดหมอ กดดำ สิงหด ำ.......................................................................................................... 15 แขยงธง แขยงธงเผอื ก......................................................................................................... 16 แขยงใบขา ว.............................................................................................................................. 17 แขยงขา งลาย.......................................................................................................................... 18 แขยงนวล.................................................................................................................................. 19 ชะโอนทอง ชะโอน สยุมพร หนาสนั้ ............................................................................. 20 แขยงหิน กดหนิ แคห มู ยางบอน...................................................................................... 21 กดหัวเสยี ม............................................................................................................................... 22 คอหางแดง............................................................................................................................... 23 กระทงุ เหว กระทุงเหวเมือง สบธง.................................................................................... 24 หมอจำปะ หมอจำปา............................................................................................................ 25 ชอนงเู หา ชอนดอกจันทร..................................................................................................... 26 ชะโด แมลงภู........................................................................................................................... 27 ชอ นเผอื ก ชอนทอง............................................................................................................... 28 รากกลว ย ซอนทราย............................................................................................................. 29 ปลอ งออย.................................................................................................................................. 30 หมลู ายเสอื ................................................................................................................................ 31 หมูขางลาย............................................................................................................................... 32 หมเู หลอื ง หมขู าว หมมู นั ..................................................................................................... 33 หมคู อ หมูคอก......................................................................................................................... 34 หมูนาน....................................................................................................................................... 35 หมอู ารีย..................................................................................................................................... 36 หางไหม หางเหย่ยี ว หนามหลังหางดำ.......................................................................... 37 ตะเพียนทอง ตะเพยี นทองเผือก........................................................................................ 38 กระแห........................................................................................................................................ 39 ซวิ เพชรนอย............................................................................................................................. 40 นวลจนั ทรน ำ้ จืด นวลจนั ทร................................................................................................. 41 4 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

หนา เล็บมือนาง............................................................................................................................... 42 ซิวใบไผเ ลก็ แถบขาว จุกกี.................................................................................................... 43 ซิวใบไผ ซวิ ใบไผราชนิ ี จกุ กี.............................................................................................. 44 ทรงเคร่ือง................................................................................................................................. 45 กาแดง นวลจันทร กาแดงเผอื ก........................................................................................ 46 ซวิ หนวดยาว............................................................................................................................ 47 เลยี หิน....................................................................................................................................... 48 กระสบู ขดี กระสบู สูด.......................................................................................................... 49 สรอยขาว.................................................................................................................................. 50 กาดำ เพย้ี กาเผือก............................................................................................................... 51 บา............................................................................................................................................... 52 น้ำหมึก....................................................................................................................................... 53 แปบควาย................................................................................................................................. 54 จาด............................................................................................................................................. 55 ยส่ี กไทย..................................................................................................................................... 56 เสอื ปา พรุ.................................................................................................................................. 57 ตะเพยี นลาย ตะเพียนขา งลาย......................................................................................... 58 แกม ช้ำ....................................................................................................................................... 59 เสอื ขา งลาย เสือสมุ าตราไทย............................................................................................ 60 มะไฟ มุงหมาย........................................................................................................................ 61 ซวิ หางแดง............................................................................................................................... 62 ซิวทอง....................................................................................................................................... 63 ซิวควาย..................................................................................................................................... 64 ซิวแถบเหลือง.......................................................................................................................... 65 ซิวหางกรรไกร........................................................................................................................ 66 ซวิ ขางขวานเล็ก..................................................................................................................... 67 ซิวขางขวานใหญ.................................................................................................................... 68 ซวิ สมพงษ................................................................................................................................. 69 กระเบนกติ ตพิ งษ.................................................................................................................... 70 เสือตอลายใหญ....................................................................................................................... 71 เสอื ตอลายเลก็ ........................................................................................................................ 72 บูหมาจู....................................................................................................................................... 73 บูก ลว ย....................................................................................................................................... 74 น้ำผ้ึง ลูกผ้ึง อดี ดู .................................................................................................................. 75 หมอตาล.................................................................................................................................... 76 เข็ม เข็มเผือก.......................................................................................................................... 77 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 5

หนา กระทิงไฟ.................................................................................................................................. 78 หลด หลดจดุ .......................................................................................................................... 79 หลดลาย หลดภเู ขา.............................................................................................................. 80 เฉย่ี วหิน.................................................................................................................................... 81 เสอื ดำ....................................................................................................................................... 82 ตองลาย................................................................................................................................... 83 กราย......................................................................................................................................... 84 กดั หวั โมง.................................................................................................................................. 85 กัดอีสาน................................................................................................................................... 86 กัด กดั ภาคกลาง................................................................................................................... 87 ชอนเข็ม.................................................................................................................................... 88 แรด แรดเผอื ก....................................................................................................................... 89 กระด่ีมกุ ................................................................................................................................... 90 กระด่ีนาง กระเดิด................................................................................................................ 91 กระด่ี กระดห่ี มอ .................................................................................................................... 92 กระดีน่ างฟา ............................................................................................................................ 93 กรมิ สี......................................................................................................................................... 94 กรมิ ควาย................................................................................................................................. 95 ตะพดั มังกร............................................................................................................................ 96 สวายเผือก สวาย................................................................................................................ 97 เทพา.......................................................................................................................................... 98 หนวดพราหมณ...................................................................................................................... 99 มา.............................................................................................................................................. 100 กางพระรวง............................................................................................................................ 101 ขาไก.......................................................................................................................................... 102 ปกไก. ........................................................................................................................................ 103 นำ้ เงนิ ....................................................................................................................................... 104 ปกเปาสมพงษ........................................................................................................................ 105 ปลาปก เปา ซีลอน.................................................................................................................. 106 ปก เปาดำ ปก เปาตาแดง..................................................................................................... 107 ปกเปา เขียวจุด....................................................................................................................... 108 เสอื พนนำ้ เสอื ....................................................................................................................... 109 บรรณานุกรม............................................................................................................................................ 110 ดัชนชี ่ือไทย............................................................................................................................................... 111 ดชั นชี ือ่ วทิ ยาศาสตร. ............................................................................................................................ 114 6 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

บทนำ…. ประเทศไทยมีทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ ดังคำที่กลาวกันมาชานานวา “ในน้ำมปี ลา ในนามขี า ว” ปจจบุ นั แมว ิถีชีวติ ของคนไทยเปลีย่ นไปจากอดีต อาชีพการเกษตร เชน การทำนา ทำไร และประมง ยังคงมีอยูคูคนไทย แตวิธีการใชทรัพยากรธรรมชาติ อาจมีการเปลี่ยนรูปแบบไปบาง เชน การเลี้ยงปลาที่มิใชเพียงเพื่อการบริโภค หากยังนำ ลักษณะเดนและสวยงามของพันธุปลาบางชนิดมาเลี้ยงเปนปลาสวยงาม ทั้งเลี้ยงเพื่อความ เพลิดเพลินและเพาะเลี้ยงเปนอาชีพ แลวสงออกไปขายยังตลาดตางประเทศ สรางชื่อเสียง ใหแกป ระเทศไทยและนำเงนิ เขา มาในประเทศเปน จำนวนมากในแตละป ประเทศไทยสงออกปลาสวยงามไปสูประเทศตาง ๆ มากกวา 50 ประเทศทั่วโลก ทั้งปริมาณและมูลคาการสงออกเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ปลาสวยงามน้ำจืดเขตรอนรอยละ 75 มาจากภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ซงึ่ ประเทศไทยมีปรมิ าณการสง ออกอยใู นอนั ดับตน ๆ ปลาสวยงามท่ีสงออกไปขายตางประเทศมีทง้ั พนั ธุป ลาพื้นเมอื งของไทยและพันธปุ ลาสายพันธุ ตางประเทศทน่ี ำเขามาเพอ่ื เพาะเล้ียงแลว สง ออกไปจำหนายยงั ตา งประเทศ ชนดิ ปลาสวยงาม ของไทยที่เปนที่รูจักกันมาชานานและสรางชื่อเสียงใหแกประเทศไทย มีหลายชนิด เชน ปลากัด ทรงเคร่อื ง กาแดง กา งพระรวง ซิวขา งขวาน ซิวหางกรรไกร นำ้ ผ้ึง ปลองออย เสือตอ เสอื พน น้ำ หางไหม ตะเพยี นทอง กระแห เปนตน โดยเฉพาะปลากดั เปน ที่รูจ กั กัน ท่วั โลกในชอ่ื “Siamese fighting fish” และเกษตรกรไทยมีความรูความชำนาญในเรื่อง การคัดและปรบั ปรุงสายพนั ธปุ ลากัดจนไดค วามหลากหลายของสายพันธุ เปนทนี่ ยิ มกันท่ัวโลก เชน ปลากัดครบี ยาว (Long-finned) หางสามเหล่ยี ม (Delta-tailed) หางมงกุฏ (Crown- tailed) หางพระจันทรค รึ่งเส้ยี ว (Halfmoon-tailed) 2 หาง (Double-tailed) เปน ตน ปลาสวยงามของไทยหลายชนิดที่ตลาดตางประเทศนิยมเลี้ยง เปนปลาที่รวบรวม จากแหลงน้ำธรรมชาติ พันธุปลาบางชนิดอยูระหวางการศึกษาเพื่อการเพาะพันธุ และยัง ผลิตไดในปริมาณที่ไมเพียงพอกับความตองการของตลาด เชน กางพระรวง ซิวขางขวาน และ ปลองออย ดังนั้นผูเกี่ยวของควรตระหนักถึงการใชทรัพยากรเหลานี้เพื่อใหมีอยูใน 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 7

แหลงน้ำธรรมชาติของไทยตอไป โดยการอนุรักษแหลงที่อยูอาศัยในธรรมชาติและมีการวาง แผนการอนุรักษและใชทรัพยากรสัตวน้ำอยางยั่งยืน ปลาสวยงามไทยหลายชนิดที่เกษตรกร ของไทยมีความชำนาญในการเพาะพันธุและกรมประมงไดมีการปลอยคืนสูแหลงน้ำธรรมชาติ อยา งสมำ่ เสมอ เชน ทรงเคร่ือง กาแดง น้ำผ้งึ หางไหม ตะเพยี นทอง กระแห เปน ตน ชนิดปลาสวยงามที่นำมาเสนอตอไปนี้เปนการรวบรวมขอมูลของปลาโดยจัดเรียง ตามลำดับของวงศ (Family) ซึ่งเปนเพียงสวนหนึ่งของปลาไทยสวยงามที่ไดรับความนิยม เลี้ยงกันในปจจุบันและยังมีอีกจำนวนมากที่นิยมเลี้ยงกันอยางแพรหลายซึ่งจะนำมาเสนอ ในโอกาสตอ ไป 8 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

100 ชนดิ ปลาสวยงามไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย ซิวขาวสาร ชอ่ื สามญั Dwarf medaka ช่อื วิทยาศาสตร Oryzias minutillus Smith, 1945 ช่ือวงศ Adrianichthyidae ถน่ิ อาศยั อาศัยเปนฝูงในแหลงน้ำนิ่งที่มีหญาและพรรณพืชน้ำหนาแนน รวมถึง พ้ืนท่ีปา พรุ ลักษณะทัว่ ไป มรี ปู รา งลำตวั ยาวเรยี ว ตาโต จะงอยปากเรียว ปากเลก็ ครบี มีขนาดเลก็ ตัวใสมีสีน้ำตาลออน สวนรอบตาและทองมีเหลือบสีฟาเงิน ตัวผูมักมี ขนาดเล็กกวาตัวเมีย ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 1.8 ซม. ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 1.5 ซม. ถูกจับรวบรวมเปนปลาสวยงาม เปนครั้งคราว ใชชื่อการคาวา Blue eye Ricefish หรือ Medaka อาหาร แพลงกตอน การเล้ยี งในตูป ลา เปน ปลาขนาดเลก็ เลีย้ งเปน ฝงู ในตูที่มพี รรณไมนำ้ 10 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : ชวลติ วิทยานนท ช่อื ไทย แปน แปน แกว กระจก ชอ่ื สามญั Siamese glassfish ชอื่ วทิ ยาศาสตร Parambassis siamensis (Fowler, 1937) ชือ่ วงศ Ambassidae ถิ่นอาศัย แมนำ้ ลำคลอง พบมากท่ีบริเวณลมุ แมน้ำแมก ลอง ลกั ษณะทัว่ ไป เปนปลานำ้ จืดขนาดเล็ก ลำตวั แบนขา งมาก หวั โต ตาโต รูปรางคอนขา ง ไปทางสี่เหลี่ยม มีครีบหลัง 2 อัน ครีบหลังอันแรกมีกานครีบแข็งเปน หนามแหลมอยู 7 กา น ครบี หลังอนั ทส่ี องมีเฉพาะกานครีบฝอย ครบี กน มีกานครีบที่เปนหนามแหลมอยู 3 กาน มีเกล็ดกลมบางใสและหลุดงาย ตัวใสหรือสีขาวคลายสีขาวเมา โปรงใสจนมองเห็นอวัยวะภายใน อยรู วมกันเปน ฝงู รกั สงบไมร บกวนปลาอนื่ ขนาดเฉลีย่ ความยาวประมาณ 3-6 ซม. อาหาร จลุ นิ ทรยี และตวั ออนแมลงน้ำ การเลีย้ งในตปู ลา เปน ปลาขนาดเล็ก เลย้ี งเปน ฝงู ในตทู ีม่ พี รรณไมน้ำ นยิ มนำมาฉีดสีสะทอน แสงเขา บรเิ วณขางลำตัวเพ่ือใหมีสสี ันสวยงามแลว สงขายตา งประเทศ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 11

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย แปนแกวยักษ ชอ่ื สามัญ Duskyfin glassy perchlet ชือ่ วทิ ยาศาสตร Parambassis wolffii (Bleeker, 1851) ชอื่ วงศ Ambassidae ถ่นิ อาศยั ลุมน้ำแมกลอง เจาพระยา แมน้ำโขง และในประเทศเวียดนาม ลาว กมั พูชา บรไู น และ อนิ โดนีเซยี ลกั ษณะทั่วไป รูปรางเปนรูปไข สวนหัวและทองกวาง ลำตัวแบนขาง หัวโต ตาโต ปากกวา ง ขากรรไกรลางยน่ื ยาว ครีบหลังแบง ออกไดเ ปน 2 ตอน ตอนแรก เปนกานแข็งแรงและแหลมคม ตอนหลังเปนครีบออน ครีบหางเวาลึก ครบี กน มีกานแขง็ 3 ชนิ้ ครีบทองมีกานแขง็ 1 ชิ้น ครีบอกเลก็ ลำตวั มัก มีสีใสหรือขุนจนสามารถมองเห็นกระดูกภายในลำตัวได ดานทองมีสีเงิน มีขนาดเฉล่ียความยาวประมาณ 20 ซม. อาหาร จลุ ินทรียแ ละตวั ออ นแมลงนำ้ การเล้ียงในตปู ลา เปนปลาขนาดเลก็ เล้ยี งเปนฝูงในตูท ม่ี พี รรณไมนำ้ นยิ มนำมาฉดี สสี ะทอน แสงเขา บรเิ วณขา งลำตวั เพอ่ื ใหมสี ีสันสวยงามแลว สง ขายตางประเทศ 12 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : ชวลติ วิทยานนท ชอื่ ไทย หัวตะกว่ั ชื่อสามัญ Blue panchax ชื่อวทิ ยาศาสตร Aplocheilus panchax (Hamilton, 1822) ชื่อวงศ Aplocheilidae ถ่ินอาศยั พบทั้งในแหลงน้ำตื้นและแหลงน้ำไหลที่มีพรรณไมปกคลุม ทั้งใน นำ้ กรอ ยและน้ำจดื ลักษณะท่ัวไป ลำตัวคอนขางกลม ยาวเรียว ลำตัวดานหลัง สีน้ำตาลออน ขอบนอก ของเกล็ด มีสนี ำ้ ตาลเขม บรเิ วณกลางหวั มจี ุดสขี าวเงนิ ขนาดใหญ 1 จุด ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 4 ซม. อาหาร ตวั ออ นแมลงน้ำ การเล้ียงในตูปลา เปนปลาขนาดเลก็ เล้ยี งในตูขนาดเล็กทม่ี ีพรรณไมน ้ำ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 13

ภาพโดย : Koji Yamazaki ชื่อไทย หมอแคระแมนำ้ แคว ชอ่ื สามญั Khwae badis ชอื่ วทิ ยาศาสตร Badis khwae Kullander & Britz, 2002 ชือ่ วงศ Badidae ถิ่นอาศยั แมนำ้ แคว จงั หวดั กาญจนบุรี ลกั ษณะทวั่ ไป ลักษณะลำตัวเพรียวยาว แบนขาง หัวเล็ก นัยนตาเล็ก พื้นลำตัว สีน้ำตาลอมขาว มีแถบสีน้ำตาลเขมพาดขวางลำตัว ครีบหลังและ ครบี กน ยาวเลยโคนหาง ครบี ทกุ ครบี มสี เี หลอื งอมสม ครีบหลงั มีแถบสดี ำ ตามความยาวครีบ และมีแตม สีดำบรเิ วณโคนครบี ขอบครีบขาว ครีบกน มีลักษณะคลายครีบหลังแตไมมีแตมสีดำ ครีบหางกลมปลายตัด มี แถบสีดำพาดขวาง โคนครบี หางมจี ุดสดี ำขนาดใหญ 1 จดุ ขนาดเฉลี่ย ความยาวประมาณ 3 ซม. อาหาร สตั วน ้ำขนาดเล็ก แมลงนำ้ การเล้ยี งในตปู ลา เปนปลาขนาดเล็ก เล้ียงในตขู นาดเลก็ ท่มี ีพรรณไมน้ำ 14 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอื่ ไทย กดหมอ กดดำ สิงหด ำ ชอ่ื สามัญ Black catfish ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Hemibagrus wyckii (Bleeker, 1858) ช่ือวงศ Bagridae ถ่นิ อาศัย แมน้ำและอา งเกบ็ นำ้ ขนาดใหญใ นภาคกลางภาคเหนอื และภาคตะวันออก เฉยี งเหนอื ของประเทศไทย ประเทศอนิ โดนเี ซยี พบทเ่ี กาะชวาและสมุ าตรา ลักษณะท่วั ไป ลกั ษณะลำตัวเพรยี ว หวั แบนและกวาง สลี ำตัวบรเิ วณดา นหลังและดาน ขางลำตัวเปนสมี วงดำหรือดำ บรเิ วณทอ งสีขาว ครีบหลงั มี 2 อัน ครบี หลงั อนั แรกมกี า นครบี หยกั เปน ฟน ซ่ีเลอื่ ย สว นครบี หลังอันท่ี 2 เปนครีบไขมนั ครีบหางเวาลึก ขอบบนและขอบลางของครีบหางมีสีขาวหรือสีครีม สวนหนาของครีบและครีบกนก็มีสีขาวหรือสีครีมเชนเดียวกัน ปากกวางมาก จะงอยปากปา น มีหนวด 4 คู ปลากดหมอ จัดเปนปลา ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 80 ซม. อาหาร ปลาขนาดเล็ก ซากสัตว เปน ปลาชอบหากินในเวลากลางคนื กลางวนั มัก จะหลบซอ นท่ีกำบัง การเล้ียงในตูปลา เปนปลาขนาดใหญ เลีย้ งในตูข นาดใหญ ตกแตง ดว ยกรวดและกอ นหิน 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 15

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย แขยงธง แขยงธงเผือก ช่ือสามัญ Bocourt’s river catfish ชอื่ วทิ ยาศาสตร Mystus bocourti (Bleeker, 1864) ชื่อวงศ Bagridae ถ่นิ อาศยั ลุมน้ำเจา พระยา แมน ำ้ แมกลอง แมนำ้ โขง ลกั ษณะทวั่ ไป รูปรางยาว ลำตัวแบนขางมาก หัวเล็กแหลม หนวดที่มุมปากยาวถึงหาง กระโดงหลังยาวไมมีหยัก ครีบไขมันยาวอยูชิดกับครีบหลัง ตาคอน ขางโต ครีบหางเปนแฉกเวาลึก แฉกบนยาวกวาแฉกลาง พื้นลำตัวมี สีเหลืองอมเขียวครีบหลงั และครบี ทองสเี ขยี วบรเิ วณฐานของครบี มสี แี ดง ครีบไขมนั และครบี หางสีเขียว ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 15 ซม. อาหาร ปลาขนาดเลก็ ลูกกุง แมลงน้ำ ซากสตั วและพชื ทเ่ี นา เปอ ย การเลี้ยงในตปู ลา เลี้ยงในตูรวมกับปลาไมมีเกล็ดชนิดอื่นที่มีขนาดใกลเคียงกัน จัดตู โดยวางวัสดุตกแตงประเภทกอ นหินหรือขอนไม เพือ่ ใหม ีท่ีหลบซอน 16 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอ่ื ไทย แขยงใบขา ว ช่ือสามัญ Long-fatty finned mystus ชื่อวิทยาศาสตร Mystus singaringan (Bleeker, 1846) ช่ือวงศ Bagridae ถ่นิ อาศัย แหลง น้ำไหล เชน แมน ำ้ ลำคลอง และลำธาร ทกุ ภาคของประเทศไทย ลักษณะทัว่ ไป เปน ปลาไมมเี กล็ดขนาดเลก็ ลำตัวคอนขางกลมและยาวแบนขางเล็กนอ ย หลังโคง หัวคอนขางเล็ก ปากทู มีหนวด 4 คู เฉพาะคูท ีร่ ิมฝปากยาวจรด โคนหาง ครีบไขมันยาวถึงโคนครีบหลัง หางเปนแฉกลึก แฉกบนยาว กวาแฉกลางพน้ื ลำตวั สเี หลืองออ นอมเทาหรอื เขยี วมะกอกสว นทองสีจาง ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 20 ซม. อาหาร ปลาขนาดเล็ก ลูกกงุ แมลงน้ำ ซากสตั ว และพชื ท่ีเนาเปอ ย การเลยี้ งในตปู ลา เลี้ยงในตูรวมกับปลาไมมีเกล็ดชนิดอื่นที่มีขนาดใกลเคียงกัน จัดตูโดยวาง วสั ดุตกแตง ประเภทกอ นหินหรือขอนไม เพอื่ ใหมีที่หลบซอน 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 17

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย แขยงขางลาย ช่ือสามัญ Blue-stripped catfish, Striped dwarf catfish ชื่อวทิ ยาศาสตร Mystus vittatus (Bloch, 1794) ชอ่ื วงศ Bagridae ถ่นิ อาศยั แมน้ำ อางเก็บน้ำทั่วทุกภาคของไทย และในประเทศอินเดีย พมา ศรีลังกา ลักษณะ เปนปลาไมมีเกล็ดขนาดเล็ก พื้นลำตัวสีเทาเงินหรือสีน้ำตาลเทา สวนหัว และแผนหลังมีสีคล้ำกวาขางลำตัว ใตทองสีขาว ขางลำตัวมีแถบลาย เสนสีน้ำตาลเทา 2 แถบ คาดตามยาวจากหลังเหงือกจรดโคนหาง หลัง ชองเหงือกมีจุดสีดำลอมรอบดวยวงแหวนสีขาว สวนหัวใหญ ครีบแตละ ครีบลักษณะโปรงใสมีสีดำแซมประปราย ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 13 ซม. อาหาร ปลาขนาดเล็ก ลูกกงุ แมลงนำ้ ซากสตั ว และพชื ทีเ่ นาเปอ ย การเลี้ยงในตปู ลา เลีย้ งในตรู ว มกับปลาไมม เี กลด็ ชนิดอนื่ ท่มี ขี นาดใกลเ คียงกัน จดั ตูโดยวาง วสั ดุตกแตงประเภทกอนหินหรอื ขอนไม เพอ่ื ใหมที ่หี ลบซอน 18 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ช่ือไทย แขยงนวล ชอ่ื สามัญ - ชือ่ วทิ ยาศาสตร Mystus wolffi (Bleeker, 1851) ชอ่ื วงศ Bagridae ถน่ิ อาศัย แมน้ำเจาพระยา แมน้ำบางปะกง แมน้ำตาป และในประเทศแถบเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต พบทงั้ ในบรเิ วณ แหลงนำ้ จืดและน้ำกรอ ย ลักษณะทว่ั ไป เปนปลาไมมีเกล็ดขนาดเล็ก มีรูปรางคอนขางสั้น สวนหัวโตปากเล็ก มีหนวด 4 คู ครีบอกและครีบหลังเปนกานแข็ง ครีบไขมันคอนขางสั้น ครีบหางเวาลึก ลำตัวมีสีเทาเขียวมะกอกหรือเหลืองทอง ดานทองสีเขียวออน ขนาดที่พบใหญสุด 20 ซม. ขนาดเฉลี่ยความยาว ประมาณ 12 ซม. อาหาร ปลาขนาดเล็ก ลูกกงุ แมลงนำ้ ซากสัตว และพชื ทีเ่ นาเปอ ย การเล้ียงในตปู ลา เลี้ยงในตูรวมกับปลาไมมีเกล็ดชนิดอื่นที่มีขนาดใกลเคียงกัน จัดตูโดยวาง วสั ดุตกแตงประเภทกอ นหินหรอื ขอนไม เพือ่ ใหม ีท่ีหลบซอน 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 19

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย ชะโอนทอง ชะโอน สยุมพร หนา สัน้ ช่ือสามัญ Butter catfish ชื่อวทิ ยาศาสตร Ompok bimaculatus (Bloch, 1797) ช่ือวงศ Bagridae ถน่ิ อาศยั ลมุ น้ำเจา พระยา แมก ลอง จันทบุรี พทั ลุง ลกั ษณะทั่วไป ลำตัวเรียวยาวแบนขาง ไมมีเกล็ด พื้นลำตัวมีสีน้ำตาลและเปนลวดลาย จาง ๆ เปนลักษณะกระดำกระดาง เหนือครีบอกมีจุดดำขนาดใหญ ขา งละจดุ ปากเชดิ ข้ึน มหี นวด 2 คู หนวดทขี่ ากรรไกรบนยาว หนวดท่ี ขากรรไกรลางสั้นมาก ครีบหางเวาลึก ครีบหลังมีขนาดเล็ก ครีบกน เปน แผงยาว ขนาดเฉลยี่ ความยาวประมาณ 22 ซม. อาหาร ปลาขนาดเลก็ ลกู กุง แมลงนำ้ การเลยี้ งในตปู ลา เลยี้ งในตรู ว มกับปลาไมม ีเกล็ดชนิดอืน่ ท่มี ขี นาดใกลเ คยี งกัน จัดตโู ดยวาง วัสดุตกแตงประเภทกอนหินหรือขอนไมและพรรณไมน้ำเพื่อใหมีที่ หลบซอน 20 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย แขยงหิน กดหิน แคห มู ยางบอน ช่อื สามญั Asian bumblebee catfish ช่ือวทิ ยาศาสตร Pseudomystus siamensis (Regan, 1913) ช่ือวงศ Bagridae ถนิ่ อาศัย แมน ้ำในทกุ ภาคของประเทศไทย ลักษณะท่ัวไป เปนปลาไมมีเกล็ดขนาดเล็ก ลำตัวเรียวยาวแบนขางเล็กนอย หัวแบน ลงเล็กนอย ลำตัวสีเหลืองออนหรือสีน้ำตาลออน มีแถบสีดำขนาดใหญ พาดขวางลำตัว 4 แถบ แถบที่ 1 พาดขวางสวนหัวทั้งหมด แถบที่ 2 พาดจากบริเวณครีบหลังและแผนกวางไปคลุมดานลางของลำตัว ตั้งแตค รีบอกจนถึงครบี ทอง แถบที่ 3 เริ่มจากบรเิ วณครบี ไขมนั พาดผาน ลำตัวไปยังครีบ สวนแถบที่ 4 พาดคลุมบริเวณโคนหางทั้งหมด ปากขนาดเล็กอยูคอนขางต่ำ มหี นวด 4 คู หนวดทีข่ ากรรไกรบนยาวท่ีสุด ยาวจนถึงครีบอก สวนหนวดคูอื่น ๆ ยาวไมถึงครีบอก ครีบทุกครีบ ยกเวน ครบี อกสีเหลืองออ น มีแถบสดี ำพาดขวางครบี ประมาณ 1-2 แถบ ครีบอกสีเหลืองออนมีจุดประสีดำ มีกานครีบแข็งใหญแข็งแรงเปน ซ่ีฟน เล่ือย ครบี หลงั มี 2 อนั ครีบหางเวาลึก ขนาดเฉลีย่ ความยาวประมาณ 10 ซม. ขนาดใหญส ุดทีพ่ บความยาวประมาณ 20 ซม. เปนปลาที่มสี ีสัน และลวดลายสวยงามมากชนิดหนึ่ง นิยมนำมาเลี้ยงในตูปลาและสงไป จำหนายยังตางประเทศ อาหาร ลกู ปลา ลกู กงุ ขนาดเลก็ ตวั ออ นแมลงนำ้ แพลงกต อน ซากพชื และซากสตั ว การเลย้ี งในตปู ลา เลีย้ งในตูร วมกบั ปลาไมม ีเกลด็ ชนิดอื่นท่มี ขี นาดใกลเ คยี งกัน จัดตโู ดยวาง วสั ดุตกแตง ประเภทกอ นหนิ หรอื ขอนไม เพอ่ื ใหม ีทหี่ ลบซอน 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 21

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย กดหัวเสยี ม ชื่อสามญั Giant river-catfish ชือ่ วิทยาศาสตร Sperata seenghala (Sykes, 1839) ช่อื วงศ Bagridae ถ่นิ อาศัย แหลง น้ำสาละวินและสาขา แมนำ้ ตะนาวศรีในพมา ลกั ษณะท่วั ไป เปน ปลาไมม ีเกล็ดขนาดคอ นขา งใหญ หัวและจะงอยปากยน่ื ยาวมากที่สุด ในกลมุ ปลากด หวั แบนราบเล็กนอ ย ลำตัวทรงกระบอกแตด า นหลังอกสงู เพรียวไปทางดานทาย ตาเล็กอยูดานบนของหัว ริมฝปากตัดตรง อยูปลายของจะงอยปาก หนวดที่ริมฝปากยาวมาก ครีบหลังไมมี กานครีบแข็ง ครีบไขมันยาวมาก ครีบหางใหญเวาลึก ตัวมีสีเทาอมฟา ดานทองสีจาง ครีบสีจาง ครีบไขมันมันดวงสีดำขอบขาวทต่ี อนปลายสดุ ครบี หางมสี แี ดงเรอ่ื ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 70 ซม. อาหาร ลกู ปลา ลกู กุง ตัวออ นแมลงนำ้ การเล้ียงในตูป ลา เปน ปลาขนาดใหญ เล้ียงในตขู นาดใหญ ตกแตงดว ยกรวดและกอ นหิน 22 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย คอ หางแดง ชือ่ สามญั - ชอื่ วิทยาศาสตร Schistura nicholsi Smith, 1933 ชื่อวงศ Balitoridae ถนิ่ อาศยั แมนำ้ โขงในประเทศไทย และลาว ลกั ษณะทว่ั ไป ลำตัวเพรียวยาว พื้นลำตัวขาวขุน มีแถบสีดำตามขวางของลำตัว 8-10 แถบ สว นหวั ดานบนมจี ุดประสีเขม กระจายทว่ั ครีบหางเวา ต้นื สแี ดง ครีบหลงั สีเหลอื งออนมจี ดุ แดงใตค รบี ครีบอื่น ๆ สเี หลอื งออ น ขนาดเฉล่ีย ความยาวประมาณ 10 ซม. อาหาร แพลงกตอนสัตว ตวั ออ นแมลงนำ้ การเล้ียงในตปู ลา เลี้ยงในตูขนาดเล็กรวมกับปลาชนิดอื่น ตกแตงตูดวยกรวดแมน้ำและ กอ นหิน อปุ นสิ ยั ชอบนอนน่งิ ๆ บนพ้ืนกรวด 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 23

ภาพโดย : ชาญทอง ภนู ยิ ม ชื่อไทย กระทงุ เหว กระทงุ เหวเมือง สบธง ช่อื สามญั Freshwater garfish, Round-tail garfish ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Xenentodon cancila (Hamilton.1822) ชอ่ื วงศ Belonidae ถ่ินอาศยั ในแหลงน้ำน่ิงและแมน ้ำ ลกั ษณะท่ัวไป รูปรางยาวเรียวทรงกระบอก เกล็ดเล็ก จะงอยปากยื่นยาวแหลม ตอนปลายของจะงอยปากมีสแี ดงเปนแตม มีฟนซแ่ี หลมเลก็ บนขากรรไกร ท้งั สอง ครบี อกใหญซงึ่ มีสว นชวยในการกระโดดพน ผวิ นำ้ ได ครีบทอ งเล็ก ครีบหลังและครีบกนอยูคอนไปทางดานทาย ครีบหางตัดตรงเวาเล็กนอย ตัวผูมีสวนหลังยกสูงที่บริเวณตอจากทายทอยและเปนสันมีสีแดง ลำตัว ของปลากระทุงเหวมีสีเหลืองออนหรือสีเหลืองขุน ดานบนมีสีเขียวออน ดานขางลำตัวมีสีเงินและมีแถบสีคล้ำพาดขวางตามแนวยาวถึงโคน หางครีบใส ดานทองสีขาว ปลาวัยออนมีลายประสีคล้ำบนตัว ขนาด เฉลี่ยความยาวประมาณ 25 ซม. มักวา ยอยูใกลผ ิวน้ำและวอ งไวมาก อาหาร ปลาขนาดเล็ก ลูกกงุ และแมลง มกั จะใชจ ะงอยปากคีบจับอยางวองไว การเล้ียงในตปู ลา เลยี้ งในตขู นาดกลางท่ตี กแตงดวยพรรณไมนำ้ 24 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอ่ื ไทย หมอจำปะ หมอจำปา ชอื่ สามัญ Malay combtail ช่อื วทิ ยาศาสตร Belontia hasselti (Cuvier, 1831) ชื่อวงศ Belontiidae ถิน่ อาศัย พบเฉพาะในถิ่นอาศัยแบบพรุดั้งเดิม ตั้งแตพรุโตะแดงถึงสุมาตราและ บอรเนยี ว ลักษณะทว่ั ไป รูปรางเปนรูปไขคอนขางทรงเหลี่ยมคลายปลาหมอแตกวางกวา ลำตัวแบนขางมาก หัวโต ตาโต ปากเล็ก มีเกล็ดใหญ เสนขางตัวไม ตอเนื่องกัน ครีบหลังและครีบกนมีฐานยาว มีกานครีบแข็งที่ครีบหลัง 12-13 อัน ที่ครีบกน 16 อัน ปลายครีบหลังและครีบกนเรียวแหลม โดยเฉพาะในตัวผูจะมีครีบยาวใหญกวาตัวเมีย ครีบหางมีปลายมน ครีบ ทองเล็กมีปลายของกานครีบเรียวเปนเสนยาว 2 เสน ตัวมีสีเหลืองทอง หรือเหลืองคล้ำถึงน้ำตาลแดง ขอบเกล็ดมีสีคล้ำและที่ฐานครีบหลัง ตอนทายมีจุดสีดำ ครีบหลังและครีบกนตอนหนาสีคล้ำ ตอนทายรวมถึง ครบี หางมลี ายเสน เปน ตาขา ย ขนาดใหญส ดุ ทพ่ี บความยาวประมาณ 20 ซม. อาหาร กุง แมลง แพลงกต อนสัตว การเล้ยี งในตูป ลา เลี้ยงในตูขนาดกลางที่ตกแตงดวยกอนหิน ขอนไมและพรรณไมน้ำ เลี้ยง รวมกับปลาชนดิ อนื่ ทม่ี ขี นาดใกลเ คียงกันได 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 25

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย ชอ นงเู หา ชอ นดอกจันทร ชอื่ สามญั Great snakehead ชอ่ื วิทยาศาสตร Channa marulia (Hamilton, 1822) ชอ่ื วงศ Channidae ถนิ่ อาศัย แมน้ำสายใหญ ๆ ของประเทศไทย และยังพบในประเทศอื่น ๆ ตั้งแต ประเทศอินเดียจนถงึ ประเทศจีน ลกั ษณะทวั่ ไป ลำตัวยาวเรยี วรปู ทรงกระบอก สว นหัวจะเรียวแหลมกวา ปลาชอ น สีลำตวั จะแตกตางกันออกไปตามอายุและสภาพแวดลอมที่ปลาอาศัยอยู โดยทั่วไปมักมีสีคล้ำ เชน ดำ น้ำตาลอมเทาหรือเทาอมเขียว ในขณะ ปลาอายุจะมีแถบสีสมสดพาดไปตามความยาวลำตัวถึงโคนหาง เมื่อ ปลาเจริญขึ้นอกี ระยะหนงึ่ จะมีแถบสีดำ 5-6 แถบอยูบ รเิ วณใตเ สน ขา งตวั บรเิ วณทอ งจะมสี ม บรเิ วณฐานะเกลด็ จะมสี คี ลำ้ บรเิ วณสว นทา ยของลำตวั ครีบหางและครีบกนจะมีจุดสีขาว บริเวณโคนครีบหางหรือสวนตน ของครีบหางมีจุดสีดำที่มีขอบขาวขนาดใหญ ซึ่งเปนลักษณะเดนของปลา ชนิดนี้และทำใหไดชื่อวา “ชอนดอกจันทร” ครีบหลังและครีบกนมีฐาน ครีบยาว ครบี หางกลม ขนาดเฉลยี่ ความยาวประมาณ 35 ซม. อาหาร สัตวน ำ้ อื่น ๆ ที่มขี นาดเล็กกวา การเลยี้ งในตปู ลา เลี้ยงในตูขนาดใหญที่ตกแตงดวยกอนหินขอนไม อุปนิสัยชอบนอนนิ่ง ๆ บนขอนไม 26 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ช่ือไทย ชะโด แมลงภู ช่ือสามัญ Giant snakehead fish, Red snakehead fish ช่ือวิทยาศาสตร Channa micropeltes (Cuvier, 1831) ชอ่ื วงศ Channidae ถ่นิ อาศยั แมน ำ้ และอา งเกบ็ น้ำขนาดใหญท ุกภาคของประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย อนิ เดีย หมเู กาะอินเดยี ตะวันออกและประเทศอ่ืน ๆ ในแถบอินโดจีน ลกั ษณะท่วั ไป ลำตัวยาวเรียวเปนรูปทรงกระบอก จัดเปนปลาที่มีขนาดใหญที่สุดของ ปลาในสกุลนี้ ขนาดโตเต็มที่มีความยาวลำตัวเกือบถึง 1 เมตร และมี น้ำหนักมากกวา 20 กิโลกรัม เกลด็ ตามลำตัวมสี นี ้ำตาลปนดำหรือปนเทา ทองสีขาว ดานขางลำตัวมีแถบสีดำ 2 แถบ พาดตามความยาวลำตัว จากลูกตาและมุมปากไปจรดโคนหาง ในขณะปลายงั เล็กระหวางแถบสีดำ ทั้งสองจะมีแถบสีแดงหรือสีสมปรากฏใหเห็นอีก 1 แถบ ปากกวางมาก มุมปากยาวถึงขอบตาดานหลงั อาหาร สตั วน้ำอืน่ ๆ ท่ีมขี นาดเล็กกวา การเลี้ยงในตูปลา ปลาขนาดเล็กนิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงามเพราะมีสีสันสดใส เลี้ยงในตูที่ ตกแตงดวยกอ นหนิ และขอนไม อุปนสิ ัยชอบนอนนิง่ ๆ บนขอนไม 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 27

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย ชอ นทอง ชอนเผือก ชอน ชอื่ สามญั Snakehead fish ชอ่ื วิทยาศาสตร Channa striata (Bloch, 1797) ชอ่ื วงศ Channidae ถิ่นอาศัย แมนำ้ และอางเก็บน้ำขนาดใหญท ุกภาคของประเทศไทย ลักษณะท่วั ไป ลำตัวกลมยาวเรียว ทอนหางแบนขาง หัวแบนลง เกล็ดมีขนาดใหญ ปากกวาง ครีบทุกครีบไมมีกานครีบแข็ง ครีบหลังและครีบกนยาวไป จนเกือบติดครีบหาง ครีบหางกลม พื้นลำตัวสีทอง เปนปลาสวยงามที่ คัดสายพันธุมาจากปลาชอนพื้นเมืองของไทย ขนาดเฉลี่ยความยาว ประมาณ 35 ซม. อาหาร สตั วน ำ้ อ่ืน ๆ ทมี่ ีขนาดเลก็ กวา การเลย้ี งในตูปลา เล้ียงในตทู ่ตี กแตงดวยกรวดแมน ำ้ และกอ นหนิ 28 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : ชวลิต วทิ ยานนท ชอื่ ไทย รากกลวย ซอนทราย ช่ือสามญั Horseface loach, Long-nose loach ชอื่ วทิ ยาศาสตร Acantopsis choirorhynchos (Bleeker, 1854) ชื่อวงศ Cobitidae ถิ่นอาศยั แมน้ำ ลำธารหรืออางเก็บน้ำทุกภาคของประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี และพมา ลกั ษณะทั่วไป ลำตัวยาวเรียวแบนขางเล็กนอย ลำตัวสีน้ำตาลออน ทองสีขาว ตามแนวสันหลังมีแถบสั้น ๆ สีน้ำตาลดำพาดขวางประมาณ 10 แถบ ตามแนวเสนขางตัวมีแถบสีน้ำตาลขนาดเล็กพาดไปตามความยาวลำตัว ขางละ 1 แถบ มีจุดสีน้ำตาล 8-12 จุด เรียงไปตามความยาวของ แนวเสนขางตัว หัวมีขนาดใหญเรียวแหลมและแบนขาง ตามีขนาดเล็ก อยูคอนไปทางดานบนของสวนหัว บริเวณหนาตามีหนามแหลมเล็ก ๆ ปลายแยกเปนสองแฉกซอนอยูในรองใตผิวหนัง จะงอยปากคอนขาง ยาวแหลมและงุมต่ำ มีหนวดสั้น ๆ 3 คู ครีบหลังและครีบหางมี สีน้ำตาลออน ครีบอื่น ๆ ใสไมมีสี ครีบตาง ๆ ไมมีกานครีบแข็ง ครีบหลังมีกานครีบเดี่ยว 3-4 อัน กานครีบแขนง 10 อัน ครีบกนมี ขนาดเลก็ ครีบหางเวาไมลกึ 8-10 ซม. ขนาดใหญสดุ ความยาวประมาณ 25 ซม. อาหาร แพลงกต อน ไรน้ำ ตวั ออนแมลงน้ำ การเล้ยี งในตปู ลา เลี้ยงในตขู นาดเล็กรว มกับปลาชนิดอนื่ ที่ไมกา วราว อุปนสิ ัยชอบนอนนิ่ง ๆ บนพื้นทราย 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 29

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย ปลอ งออ ย ชอ่ื สามัญ Coolie loach ชอ่ื วิทยาศาสตร Pangio kuhlii (Valenciennes, 1846) ชอื่ วงศ Cobitidae ถน่ิ อาศยั ลำธารที่มพี น้ื เปนทราย พบในภาคกลางและภาคใตของประเทศ ลกั ษณะท่วั ไป ลำตัวกลมยาว ขนาดเล็กคลายหนอน สีลำตัวเปนสีน้ำตาลหรือเทาดำ มีสีเหลืองทองพาดขวางอยูตามลำตัวเปนปลอง ๆ คลายงู ครีบใส โคนครบี หางและครีบกน มสี ดี ำ ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 5 ซม. อาหาร แพลงกตอน ไรน้ำ ตวั ออ นแมลงน้ำ การเล้ยี งในตูป ลา เลี้ยงในตูขนาดเล็กรวมกับปลาชนิดอื่นที่ไมกาวราว ตกแตงตูดวยกอนหิน หรอื ขอนไม อปุ นสิ ยั มกั หลบตามท่หี ลบซอ น 30 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : ชาญทอง ภนู ยิ ม ชอื่ ไทย หมูลายเสอื ชือ่ สามญั Tiger spiny loach, Tiger botia, Chameleon botia ช่ือวิทยาศาสตร Syncrossus beauforti (Smith, 1931), Botia beauforti Smith, 1931 ชอ่ื วงศ Cobitidae ถน่ิ อาศยั แมน้ำเจา พระยาและสาขา แมนำ้ ทา ดี จังหวัดนครศรธี รรมราช ลกั ษณะทัว่ ไป รูปรางปอม ลำตัวแบนขาง หัวเรียวแหลม ปากแหลม ลำตัวเปน สีเทาปนเหลืองหรืออมเขียว มีแถบคาดตามลำตัวคลายลายเสือ และมีจุดดำเรียงเปนแถวตลอดลำตัว ครีบทุกครีบมีสีเหลืองอมสม ครีบหลังและครีบหางมีสีสมและมีแถบดำและจุดดำกระจายทั่ว หากิน ตามพน้ื ทอ งนำ้ ตามโขดหนิ และกอ นหนิ ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 7 ซม. อาหาร แพลงกต อน ไรน้ำ ตัวออนแมลงนำ้ การเล้ียงในตปู ลา เลี้ยงในตูขนาดเล็กรวมกับปลาชนิดอื่นได ตกแตงตูดวยกอนหินหรือ ขอนไม อุปนิสัยมักหลบตามที่หลบซอน วัสดุตกแตงไมควรมีรูขนาดเล็ก เม่ือปลาตกใจจะมดุ เขา ไปติดแลวออกไมไ ด 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 31

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย หมขู างลาย ชอ่ื สามัญ Tiger loach ชื่อวิทยาศาสตร Syncrossus hymenophysa (Bleeker, 1852) ชอ่ื วงศ Cobitidae ถ่นิ อาศยั แหลงน้ำไหล แมน้ำ ลำคลอง ชอบซุกซอนตามตอไม ซอกหิน และ พืน้ ดินโคลน ลักษณะท่ัวไป ลำตัวเรียวแบนทางดานขาง ปากแหลมสีชมพู ลำตัวเปนสีเทาปนเหลือง มสี ีน้ำเงินแกมเขยี วประเปนจดุ ๆ และมแี ถบคาดตามลำตัว 11-14 แถบ คลายลายเสอื ครบี ทกุ ครบี มสี ีสมเหลือง ขนาดเฉลี่ยความยาว 10-15 ซม. จะหากนิ ตามพน้ื ทอ งน้ำตามโขดหนิ และกอนหนิ อาหาร แพลงกต อน ไรน้ำ ตัวออนแมลงนำ้ การเลย้ี งในตูปลา เลี้ยงในตูขนาดเล็กรวมกับปลาชนิดอื่นได ตกแตงตูดวยกอนหินหรือ ขอนไม อุปนิสัยมักหลบตามที่หลบซอน วัสดุตกแตงไมควรมีรูขนาดเล็ก เม่ือปลาตกใจจะมดุ เขาไปตดิ แลว ออกไมไ ด 32 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย หมเู หลือง หมูขาว หมูมัน ชื่อสามญั Yellow-tail, Orange-n loach ช่ือวทิ ยาศาสตร Yasuhikotakia modesta (Bleeker, 1864) ชื่อวงศ Cobitidae ถน่ิ อาศัย แมน ำ้ และอา งเกบ็ นำ้ ในภาคกลาง ภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย ลกั ษณะทั่วไป ลำตวั แบนขา งเล็กนอยและคอ นขา งปอ มกวา ปลาหมูชนิดอ่ืนๆสีลำตวั เปน สีเทาหรือเทาอมเขียว บริเวณดานหลังสีเขมกวาดานขางลำตัว ทองสเี หลอื งออนหรือขาว บริเวณโคนหางมจี ดุ สีดำ สำหรับปลาวยั ออนท่ี ยังไมโตเต็มที่ จนมีแถบสีดำเล็ก ๆ พาดขวางลำตัว 4-5 แถบ และเมื่อ ปลามีอายุมากขึ้นแถบเหลานี้จะหายไป จะงอยปากคอนขางยาว ปลายจะงอยปากมีหนวด 2 คู และมมุ ปากมหี นวดอกี 1 คู ปากอยปู ลายสุด และอยูในระดับต่ำ บริเวณหนาตามีหนามแหลมปลายแยกเปน 2 แฉก ขนาดใหญและแข็งแรง ครีบทุกครีบไมมีกานครีบแข็ง ครีบหลังครีบกน และครีบหางมีสีเหลืองจนถึงสีสมหรือแดง โดยเฉพาะครีบหางจะมีสีสด กวา ครบี อน่ื ๆ ครบี อกและครบี ทอ งสเี หลอื งจาง ๆ เปนปลาที่มีขนาดใหญ ที่สุดในสกุลปลาหมูที่พบในประเทศไทย ขนาดใหญที่สุดเทาที่เคยสำรวจ พบมีความยาวถงึ 23.5 ซม. ขนาดเฉลยี่ ความยาวประมาณ 12 ซม. อาหาร ตัวออนแมลงน้ำ หนอนและซากสตั ว การเล้ยี งในตูป ลา เลี้ยงในตูขนาดเล็กรวมกับปลาชนิดอื่นได ตกแตงตูดวยกอนหินหรือ ขอนไม อุปนิสัยมักหลบตามที่หลบซอน วัสดุตกแตงไมควรมีรูขนาดเล็ก เมอ่ื ปลาตกใจจะมุดเขาไปติดแลวออกไมได 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 33

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย หมูคอ หมคู อก ชอ่ื สามัญ Skunk botia ช่ือวทิ ยาศาสตร Yasuhikotakia morleti (Tirant, 1885) ชื่อวงศ Cobitidae ถิ่นอาศยั แมนำ้ แมกลอง เจา พระยาและแมน ำ้ โขง ลักษณะท่วั ไป รูปรางปอมสั้น ลำตัวแบนขาง หลังโคง ครีบหลังอยูตรงขามครีบทอง พ้ืนลำตัวสเี ขียวแกมเหลอื ง ทองสีขาวซดี มีแถบดำพาดตามแนวหลังจาก ปลายจะงอยปากจรดโคนหาง มีแถบดำขนาดใหญพาดขวางคอดหาง ครบี หางสีเหลอื งจาง ๆ มีจดุ ดำเลก็ ๆ ประปราย ขนาดเฉลีย่ ความยาว ประมาณ 9 ซม. อาหาร แมลง ตัวออนแมลงนำ้ หนอนและซากสัตว การเลยี้ งในตูปลา เลี้ยงในตูขนาดเล็กรวมกับปลาชนิดอื่นได ตกแตงตูดวยกอนหินหรือ ขอนไม อุปนิสัยมักหลบตามที่หลบซอน วัสดุตกแตงไมควรมีรูขนาดเล็ก เมอ่ื ปลาตกใจจะมุดเขาไปตดิ แลว ออกไมไ ด 34 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย หมูนาน ชอื่ สามญั Mekong clawn loach ชื่อวิทยาศาสตร Yasuhikotakia nigrolineata (Kottelat & Chu, 1987) ชื่อวงศ Cobitidae ถน่ิ อาศยั พบท่ีแมน ้ำวา อำเภอแมจรมิ จงั หวัดนา น ลกั ษณะทวั่ ไป มีรูปรางและสีสันคลายคลึงปลาหมูอารีย (Y. sidthimunki) ซึ่งเปน ปลาที่อยูในสกุลเดียวกัน แตปลาหมูนานลายจะเปนแถบยาว เมื่อปลา มีขนาดใหญข น้ึ ลายตามยาวจะขาดเปน ทอ น ๆ และจะเกิดลายขวางเพิ่ม มากขึ้น โดยที่ลายแถบของปลาหมูนานจะมีราว 8-10 แถบ ในขณะที่ ปลาหมูอารียจะมีแค 5-8 แถบ ดังนั้นเมื่อมองดวยตาเปลาแลวจะ พบวา ลายเสนของปลาหมูนานจะใหญและหนากวาของปลาหมูอารีย อีกทั้งเมื่อโตเต็มที่แลวจะมีขนาดลำตัวใหญกวาปลาหมูอารีย คือ ขนาดเฉล่ียความยาวประมาณ 10 ซม. อาหาร ตัวออนแมลงน้ำ หนอนและซากสัตว การเลี้ยงในตปู ลา เลี้ยงในตูขนาดเล็กรวมกับปลาชนิดอื่นได ตกแตงตูดวยกอนหินหรือ ขอนไม อุปนิสัยมักหลบตามที่หลบซอน วัสดุตกแตงไมควรมีรูขนาดเล็ก เมื่อปลาตกใจจะมุดเขา ไปติดแลว ออกไมไ ด 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 35

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย หมูอารยี  ชอ่ื สามัญ Dwarf botia, Dwarf loach, Chain botia ชือ่ วทิ ยาศาสตร Yasuhikotakia sidthimunki (Klausewitz, 1959) ชื่อวงศ Cobitidae ถิน่ อาศยั แมน ้ำแมกลอง แมน ้ำโขง และสาขา ลกั ษณะท่วั ไป ลำตัวแบนขางเล็กนอย คอนขางยาวเรียว สีลำตัวเหลืองนวลหรือขาว ถามองจากดานบนจะเห็นแถบสีดำพาดไปตามความยาวลำตัวตาม แนวสันหลังจากหัวไปถึงโคนหาง 2 แถบ ขนานไปกับแนวครีบหลังและ ระหวางแถบทั้ง 2 นี้ จะมีแถบสำดำเล็ก ๆ เชื่อมติดตอกันเปนระยะ ๆ ทำใหเห็นเปนจุดสีขาวหรือสีเหลืองนวลขอบดำ บริเวณดานขางตัว มีแถบสีดำพาดไปตามความยาวลำตัวจากปลายจะงอยปากผานตาไปถึง โคนครีบหางอีก 1 แถบ ระหวางแถบสีดำดานขางลำตัวกับแถบที่ อยูแนวสันหลังจะมีแถบสีดำเล็ก ๆ เชื่อมติดตอกันเปนระยะ ๆ เชนเดียวกัน และจะทำใหเห็นเปนจุดสีขาวหรือเหลืองนวลขอบดำ ประมาณ 6 จุด อยูในแนวเหนือเสนขางตัว ปากขนาดเล็กอยูปลายสุด มีหนวดสั้น ๆ 3 คู บริเวณหนาตามีหนามแหลมปลายแยกเปน 2 แฉก ซึ่งเปนลักษณะเดนของปลาในสกุลนี้ ครีบทุกครีบใสโปรงแสงยกเวนครีบ หางจะมจี ดุ สดี ำบนแพนหางบนและลา ง ขนาดใหญส ดุ มคี วามยาวประมาณ 6 ซม. ไดรับความนิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงามเพราะมีสีสันสวยงามและ หายากในท่สี ดุ ในสกุลน้ี อาหาร แพลงกต อนสตั ว ตัวแมลงนำ้ ขนาดเลก็ การเลย้ี งในตูปลา เลี้ยงในตูขนาดเล็กรวมกับปลาชนิดอื่นได ตกแตงตูดวยกอนหินหรือ ขอนไม อุปนิสัยมักหลบตามที่หลบซอน วัสดุตกแตงไมควรมีรูขนาดเล็ก เมือ่ ปลาตกใจจะมุดเขาไปติดแลว ออกไมไ ด 36 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย หางไหม หางเหยี่ยว หนามหลงั หางดำ ชื่อสามัญ Silver shark, Bala shark, Tricolor sharkminnow ช่อื วทิ ยาศาสตร Balantiocheilos melanopterus (Bleeker, 1851) ช่อื วงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศยั ประเทศอนิ โดนเี ซยี มาเลเซยี และเขมร ในประเทศไทยปจ จบุ นั หายากมาก ลกั ษณะทั่วไป ลำตัวสีเงิน ครีบสีเหลืองออน ขอบนอกของครีบทุกครีบยกเวนครีบอกมี ขอบสีดำคอนขางหนา บริเวณโคนหางและโคนหลังมีสีดำจาง ๆ ปากเล็กไมมีฟน ปากยึดหดได ริมฝปากบนยื่นยาวกวาริมฝปากลาง ขนาดใหญส ุดความยาวประมาณ 25 ซม. อาหาร แพลงกต อนพืช แพลงกตอนสัตวแ ละตัวออนแมลงนำ้ การเลีย้ งในตปู ลา เลีย้ งเปนฝูงในตปู ลาขนาดใหญ รว มกับปลาชนิดอืน่ ๆ ตกแตง ตูโดยใช กอนหินหรือขอนไม ไมนำพรรณไมนำมาตกแตง เพราะเปนปลาที่ชอบ กินพืช เปนปลาสวยงามที่ไดรับความนิยมสูง มีรูปรางปราดเปรียว สวยงาม วายน้ำรวดเร็วจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “ฉลามหางไหม” ปจจุบันปลาที่มีจำหนายในประเทศไทยเปนปลาที่นำพอแมพันธุมาจาก ประเทศอนิ โดนีเซียแลวนำมาเพาะพนั ธโุ ดยวิธีผสมเทียม 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 37

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ช่อื ไทย ตะเพยี นทอง ตะเพยี นทองเผือก ชื่อสามญั Red tinfoil barb, Goldfoil barb, Red tailed tinfoil ชื่อวิทยาศาสตร Barbonymus altus (Günther, 1868) ชื่อวงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศัย แมน ำ้ และอางเก็บนำ้ ทุกภาคของประเทศไทย ลักษณะทวั่ ไป ลักษณะลำตัวแบนขางและกวาง บริเวณกระพุงแกมและบริเวณลำตัว โดยเฉพาะบริเวณทองจะมีสีเหลืองเห็นไดชัดเจน มีหนวด 2 คู ครีบหลังบริเวณโคนครีบมีสีเทา สวนปลายเปนสีเทาอมดำไมดำเขม เชนปลากระแห ครีบทองและครีบกนสีแดงสด ครีบอกสีเหลือง ครีบหางสีแดงออน บริเวณขอบบนและขอบลางของครีบหางมีสีเทา ไมเห็นเปนขอบสีดำชัดเจนเชนปลากระแห ขนาดใหญสุดความยาว ประมาณ 25 ซม. ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 15 ซม. อาหาร พรรณไมน้ำ แพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตวและตัวออนแมลงน้ำ การเลย้ี งในตปู ลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดใหญรวมกับปลาชนิดอื่น ๆ ตกแตงตูโดยใช กอนหินหรือขอนไมไมนำพรรณไมนำมาตกแตงเพราะเปนปลา ที่ชอบกินพืชปจจุบันมีการคัดพันธุจนไดพันธุเผือกสีทองทั้งตัว เรียกชื่อ ทางการคา วา “ตะเพยี นทองเผอื ก” ไดรับความนิยมสงู 38 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : ชาญทอง ภนู ยิ ม ชอื่ ไทย กระแห ชอื่ สามัญ Tinfoil barb, Schwanenfeld’s barb ชือ่ วทิ ยาศาสตร Barbonymus schwanenfeldii (Bleeker, 1853) ชื่อวงศ Cyprinidae ถ่นิ อาศยั แมนำ้ และอา งเก็บน้ำทัว่ ไปทกุ ภาคของประเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศ อนิ โดนีเซยี ที่เกาะสุมาตรา และเกาะบอรเ นียว ลักษณะท่วั ไป ลำตัวคอนขางกวาง ความลาดจากสวนหัวถึงหลังชันมากโดยเฉพาะใน ปลาทีม่ ีอายมุ าก เกลด็ ตามลำตวั มีสเี งนิ บรเิ วณกระพงุ แกมมีสเี หลืองจางๆ มีหนวด 2 คู ที่ขากรรไกรบน 1 คู และที่จะงอยปาก 1 คู ครีบหลังมี สีแดงอมสมและมีจุดสีดำเขมตรงปลาย ครีบทองและครีบกนสีแดง ครบี อกสเี หลืองอมสม ครบี หางสแี ดงอมสม เชนเดียวกับครบี หลัง ขอบบน และขอบลา งของครีบหางมีแถบสดี ำขางละ 1 แถบ ขนาดเฉลีย่ ความยาว ประมาณ 25 ซม. อาหาร พรรณไมน้ำ แพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตวและตัวออนแมลงน้ำ การเลี้ยงในตูปลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดใหญ รวมกับปลาชนิดอื่น ๆ ตกแตงตูโดยใช กอ นหนิ หรอื ขอนไม ไมน ำพรรณไมน ำ้ มาตกแตง เพราะเปน ปลาทช่ี อบกนิ พชื 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 39

ภาพโดย : ชวลิต วทิ ยานนท ชื่อไทย ซวิ เพชรนอย ชื่อสามญั Dwarf rasbora ชอ่ื วิทยาศาสตร Boraras maculates (Duncker, 1904) ชือ่ วงศ Cyprinidae ถนิ่ อาศยั พบเปนฝูงเล็ก ๆ ปะปนกับปลาซิวชนิดอื่น ๆ ในบริเวณพรุ พบนอยใน พรุโตะแดง จังหวัดนราธิวาส และเคยพบครั้งแรกที่พรุในอำเภอทาใหม จงั หวดั จนั ทบุรี ลกั ษณะท่ัวไป รปู รางเรียวยาว หวั โต ปากเลก็ ตาโต เกลด็ คอ นขา งใหญ เสน ขา งลำตัว ไมสมบูรณ ครีบอกเล็ก ครีบกนคอนขางใหญ ครีบหางเวาลึก ตัวมีสี น้ำตาลออนถึงสีแดงสม มีดวงสีคล้ำที่เหนือครีบอก ครีบกน และ จุดสีดำที่โคนหาง ครีบกน ครีบหลังมีแตมสีแดงสดและประสีคล้ำ ขนาดใหญสดุ ความยาวประมาณ 2 ซม. อาหาร แพลงกต อนสัตวข นาดเลก็ การเล้ียงในตปู ลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดเล็กที่มีพรรณไมน้ำ เปนปลาสวยงามที่แปลก แตเลี้ยงไดยากตองปรับคุณภาพน้ำใหมีลักษณะใกลเคียงกับน้ำในปาพรุ ไมเปล่ยี นถา ยน้ำบอ ยจนเกนิ ไป 40 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอื่ ไทย นวลจันทรนำ้ จดื นวลจนั ทร ช่ือสามญั Small scale mud carp ชอื่ วทิ ยาศาสตร Cirrhinus microlepis Suavage, 1878 ชื่อวงศ Cyprinidae ถนิ่ อาศยั แมนำ้ เจาพระยา แมน ้ำโขง ลกั ษณะท่ัวไป มีรูปรางทรงกระบอกเรียว สวนหัวโต ปากเล็ก สวนปลายจะงอยปากมี ตมุ เลก็ ๆ ขึน้ ประปราย ตาเลก็ เกลด็ เล็ก ครบี หลังยกสงู ครบี หางเวาลึก ครีบกนเล็ก หัวและลำตัวสีเงินอมเหลือง ครีบหลังและครีบหางสีน้ำตาล ปนเทา ปลายครีบสีชมพู ครีบอกสีสม ขนาดเฉลี่ยมีความยาวประมาณ 35 ซม. ขนาดใหญสุดพบความยาวประมาณ 69 ซม. อาหาร อินทรียสาร สตั วหนาดินขนาดเล็ก แพลงกตอน แมลง การเล้ยี งในตูปลา เลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นในตูปลาขนาดใหญ ตกแตงดวยกอนหินและ ขอนไม 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 41

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย เล็บมอื นาง ชอ่ื สามญั - ช่อื วทิ ยาศาสตร Crossocheilus reticulatus (Fowler, 1934) ช่อื วงศ Cyprinidae ถิ่นอาศัย แมน ้ำสายหลกั และแกง แหลงนำ้ หลาก ลกั ษณะทั่วไป มีรูปรางลำตัวเพรียว หัวเล็ก ปากเล็กอยูดานลางของจะงอยปากและ มีแผนหนังคลุม มีหนวดสั้น 1 คู เกล็ดเล็ก ลำตัวสีเงินอมเหลือง มีลายสีคล้ำที่ขอบเกล็ด โคนครีบหางมีจุดสีดำเห็นชัดเจน ครีบใส สีเหลืองเรื่อ ๆ ขนาดเฉลี่ยมีความยาว 8-10 ซม. ขนาดใหญสุดพบ ความยาวประมาณ 17 ซม. อาหาร แพลงกตอนพชื และแพลงกต อนสัตว ตะไครนำ้ การเล้ยี งในตปู ลา เลยี้ งรว มกบั ปลาชนิดอ่นื ในตูปลาทีม่ ีพรรณไมนำ้ อุปนิสัยชอบและเลม็ กนิ ตะไครนำ้ และเศษใบไมใ นตปู ลา คลา ยกบั ปลานำ้ ผ้งึ 42 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอื่ ไทย ซวิ ใบไผเล็กแถบขาว จกุ กี ช่ือสามัญ Pearl danio ชอื่ วิทยาศาสตร Danio albolineatus (Blyth, 1860) ชอ่ื วงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศัย แมนำ้ บริเวณท่เี ปนตน น้ำ ลำธาร ลกั ษณะทวั่ ไป ลำตัวเพรียวยาวและแบนขาง ลำตัวสวนบนมีสีเทาอมชมพู สวนทอง มีประกายสีเขียวสดใส ดานขางลำตัวสีชมพูปนเงิน มีแถบสีดำขางลำตัว และมีจดุ ดำจาง ๆ อยหู ลังชองเหงือก หนวดสน้ั 2 คู ครบี หลงั ครีบหาง ครีบอก มีสีชมพูอมแดง ครีบทองสีขาว ครีบกนสีเงินมีจุดดำเล็ก ๆ ตามขอบครีบ ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 5-8 ซม. อาหาร แพลงกต อนสตั วขนาดเลก็ ลูกนำ้ ตัวออ นแมลง การเลย้ี งในตูปลา เลยี้ งเปน ฝงู ในตปู ลาขนาดเลก็ ท่มี พี รรณไมน ำ้ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 43

ภาพโดย : สมเกียรติ เมฆานมิ ิตดี ชื่อไทย ซวิ ใบไผ ซิวใบไผราชนิ ี จุกกี ชอ่ื สามัญ Blue danio ชื่อวิทยาศาสตร Devario regina (Fowler, 1934) ชื่อวงศ Cyprinidae ถิ่นอาศยั นำ้ ตก ลำธาร ลำหว ย บรเิ วณใกลนำ้ ตกทว่ั ไป ลักษณะทว่ั ไป ลำตัวกลมเรียวยาว พื้นลำตัวมีสีเทาออน มีเสนสีเหลืองเขม 2 เสน ชัดเจนยาวตลอดลำตัว กลางตัวเปนสีเหลือบฟา ทองสีขาววาว ดานบนสีเหลืองคล้ำ มีจุดดำเล็ก ๆ กระจายอยูที่ชองเปดเหงือก ครีบหางใหญแ ละเวา ต้ืน ขนาดเฉลีย่ ความยาวประมาณ 6 ซม. อาหาร แพลงกตอนสตั วขนาดเลก็ ตัวออนแมลง การเลย้ี งในตปู ลา เลีย้ งเปน ฝงู ในตูปลาขนาดเลก็ ทมี่ ีพรรณไมน ้ำ 44 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย ทรงเครอื่ ง ชื่อสามญั Redtail sharkminnow ชื่อวิทยาศาสตร Epalzeorhynchos bicolor (Smith, 1931) ชื่อวงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศยั พบชกุ ชุมในแมนำ้ สายหลกั ทั่วทุกภาค ลกั ษณะทัว่ ไป ลำตัวเพรียวกลม ปากเล็ก มีหนวด 2 คู เกล็ดเล็ก ลำตัวสีเทาเขมถึง ดำ ทอ งสีจาง ครบี ดำหรอื คล้ำ ยกเวน ครีบหางสแี ดงสด ครบี หางเวา ลึก ขนาดเฉล่ยี มคี วามยาวประมาณ 10-12 ซม. อาหาร สารอินทรยี เล็ก ๆ ตะไครน้ำ และตัวออ นแมลงน้ำขนาดเล็ก การเล้ยี งในตปู ลา เลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นในตูปลาที่มีพรรณไมน้ำ อุปนิสัยชอบและเล็ม กินตะไครน้ำและเศษสารอินทรียในตูปลา เปนปลาสวยงามที่เปน ที่รูจักกันดีทั่วโลกเพราะมีรูปรางปราดเปรียวลำตัวสีดำคล้ำตัดกับสีแดง ของครีบหาง ทำใหมองดูสวยเดนสะดุดตา มีชื่อเรียกกันอีกชื่อวา “ฉลามหางดำ” 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 45

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย กาแดง นวลจันทร กาแดงเผือก ชื่อสามญั Red-finned shark ช่อื วทิ ยาศาสตร Epalzeorhynchos munense (Smith, 1934) ช่อื วงศ Cyprinidae ถ่ินอาศยั แมน ำ้ ในภาคกลาง ภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ลกั ษณะทว่ั ไป ลกั ษณะท่วั ๆ ไป คลา ยปลาทรงเครื่องมาก แตกตางกันคอื ลำตวั คอนขา ง ยาวเรียวกวา เมื่อเปรียบเทียบปลาที่มีขนาดเดียวกัน ลำตัวมีสีน้ำตาล อมเทาไมดำเขมเหมือนปลาทรงเครื่อง ครีบทุกครีบสีสมอมแดง บริเวณดานขางหัวทั้ง 2 ขาง มีแถบสีดำพาดตามยาวจากปลายปากไป ถงึ ตา โคนหางมีจดุ สีดำรปู ไขขา งละ 1 จุด ขนาดเฉลยี่ ความยาวประมาณ 10 ซม. อาหาร สารอินทรยี เลก็ ๆ ตะไครน ้ำ และตัวออนแมลงนำ้ ขนาดเลก็ การเลี้ยงในตูปลา เล้ยี งรวมกบั ปลาชนิดอืน่ ในตูปลาที่มีพรรณไมน ำ้ อุปนิสัยชอบและเลม็ กนิ ตะไครน้ำและเศษสารอินทรียในตูปลา ลักษณะคลายกับปลาทรงเครื่อง แตร ูปรา งและสีสันเดน นอยกวา ปลาทรงเคร่อื ง ปจจุบนั มีการคัดสายพนั ธุ เปน ปลาเผอื กซง่ึ ไดร บั ความนยิ มเรยี กวา “กาแดงเผอื ก” ไดร บั ความนยิ มสงู 46 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : สมเกยี รติ เมฆานมิ ติ ดี ช่อื ไทย ซวิ หนวดยาว ชอ่ื สามัญ Striped flying barb ชื่อวทิ ยาศาสตร Esomus metallicus Ahl, 1923 ชื่อวงศ Cyprinidae ถ่นิ อาศัย แมน้ำ หนอง บึง น้ำตก ลำธาร ทวั่ ไป ลกั ษณะทว่ั ไป รูปรางทรงกระบอกแบนขางเล็กนอย ปากกวางเฉียงขึ้นดานบน มีหนวด 2 คู คบู นขากรรไกรยาวถงึ โคนหาง พน้ื ลำตัวมสี นี ้ำตาลออนอมเหลือง มีแถบสีคล้ำพาดกลางลำตัวตั้งแตหลังชองเหงือกถึงโคนหาง ครีบใส ครีบอกใหญ ครีบหลังคอนไปทางดานทาย ครีบหางใหญและเวาลึก คอดหางคอนขางเรยี ว ขนาดเฉลยี่ ความยาวประมาณ 5 ซม. อาหาร แพลงกต อนสตั วขนาดเล็ก ตวั ออนแมลง พชื นำ้ การเล้ียงในตปู ลา เล้ียงเปน ฝูงในตปู ลาขนาดเลก็ ท่มี ีพรรณไมน ้ำ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 47

ภาพโดย : ชวลติ วทิ ยานนท ชื่อไทย เลียหิน ชื่อสามัญ Stone-lapping minnow ช่ือวทิ ยาศาสตร Garra cambodgiensis (Tirant, 1883) ช่ือวงศ Cyprinidae ถิน่ อาศยั แมน ้ำเจา พระยา แมน ้ำโขง นำ้ ตกหรือลำธาร ลักษณะทัว่ ไป ลำตัวเพรียวยาวรูปทรงกระบอกแบนขางเล็กนอย หัวโตแบนราบ ทางดานลาง ปากอยูดานลางลักษณะเปนปากดูด มีหนวดที่ปลายปาก 1 คู ลำตวั ดา นหลงั มสี เี ขยี วอมนำ้ ตาล ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 6 ซม. อาหาร แพลงกต อนสตั ว ตวั ออ นแมลง ตะไครน้ำและสาหรา ย การเลย้ี งในตูปลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดเล็ก อุปนิสัยชอบใชปากดูดติดกับกอนหินและ ดูดกินตะไครน้ำ สาหรา ย หรอื อนิ ทรยี วัตถตุ าง ๆ ปลาในกลุม น้ปี จจบุ นั นิยม นำมาใชในธรุ กิจสปา เรียกวา Fish spa หรอื Doctorfish โดยตน ตำรับ ธุรกจิ น้ใี ชป ลาชนิด Garra rufa จากประเทศตรุ กี และในประเทศไทย ดัดแปลงมาใชปลาสกุล Garra ของไทย 48 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย กระสูบขดี กระสูบ สูด ช่อื สามญั Banded shark, Transverse-bar barb, Hampala barb ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Hampala macrolepidota Kuhl & Van Hasselt, 1823 ชือ่ วงศ Cyprinidae ถ่ินอาศัย แมน้ำ หนอง บงึ ในประเทศแถบเอเซยี ตะวนั ออกเฉียงใต ลกั ษณะท่วั ไป รูปรางกลมเพรียวยาวแบนขางเล็กนอย ดานขางลำตัวมีแถบขวาง บริเวณใตครีบหลังลงมาถึงทอง ลำตัวสีขาวเงินสวนหลังมีสีคล้ำ ครีบมีสีแดงเรื่อ ขอบบนและขอบลางของครีบหางมีแถบสีคล้ำ ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 25 ซม. ในปลาขนาดเล็กมีแถบ 2 แถบท่กี ลางลำตัวและโคนหาง และมีแถบใตต าดว ย อาหาร ปลาขนาดเล็ก การเลี้ยงในตปู ลา เล้ยี งเปน ฝูงในตูปลาขนาดกลาง วา ยน้ำรวดเร็ว มีสสี ันสวยงาม อปุ นิสยั คอนขางกา วราว เล้ียงรวมกับพนั ธุปลาชนิดอ่ืนท่มี ขี นาดใกลเ คยี งกนั ได 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 49