~ 177 ~ 12.5 วัฏจกั รชวี ิตโดยทัว่ ไปของพืชดอก 12.5.1 มวี ัฏจักรชีวิตแบบสลบั (alternation of two generations) โดยมสี ปอโรไฟต์ (sporo- phyte) เดน่ และอย่อู ย่างอิสระ ส่วนแกมโี ทไฟต์ (gametophyte) ท่ีมีจาํ นวนโครโมโซมชดุ เดยี ว (n) เป็นช่วง สั้นๆ ในเวลามดี อก (ภาพที่ 12.4) 12.5.2 แกมโี ทไฟต์ขนาดเลก็ อาศัยอยบู่ นต้นสปอโรไฟต์ 12.5.3 มีสปอร์ 2 แบบ (heterosporous plant) ภาพท่ี 12.4 วงจรชวี ิตของพืชดอก (ท่มี า: Campbell & Reece, 2009: 627) พฤกษศาสตร์ Botany
~ 178 ~ 12.6 ระบบการจดั จาแนกพืชดอก การจัดจําแนกพืชดอกในปัจจุบัน ยึดระบบการจัดจําแนกใหม่ล่าสุด ที่เรียกว่า APG IV (Angiosperm Phylogeny Group IV) ท่ีตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 2016 ระบบการจัดจําแนกน้ีนักพฤกษศาสตร์มีการปรับปรุงจัด จาํ แนกใหมต่ ้งั แต่ระบบ APG I ตีพิมพใ์ นปี ค.ศ. 1998 และมีการปรับปรุงอีก ได้แก่ APG II ปี ค.ศ. 2003, APG III ปี ค.ศ. 2009 (Simpson, 2006) โดยอาศัยงานด้านชีวโมเลกลุ มาช่วยจัดจาํ แนกตามความสมั พันธ์พืช เพ่ือให้ การจัดจาํ แนกทีถ่ กู ต้องตามธรรมชาติ (natural group) พืชในกลุ่มเดียวกันต้องเป็นวงศ์วานเด่ียว (monophy- letic group) เท่าน้ัน แต่จากการนําพืชดอกมาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า มีพืชหลายวงศ์ตามระบบเก่ามี ความสัมพันธ์ไม่เป็นวงศ์วานเด่ียว ทําให้นักพฤกษศาสตร์จําเป็นต้องจัดจําแนกใหม่ โดยเฉพาะระดับอันดับ (order) และวงศ์ (family) สว่ นระดบั ทสี่ งู กวา่ อันดบั มีการจดั จําแนกเปน็ กล่มุ อยา่ งไม่เป็นทางการก่อน เรียกว่า เคลด (clade) หรือ เกรด (Grade) แทนหน่วยอนุกรมวิธานตามระบบ ICBN (The International Code of Botanical Nomenclature) ไดแ้ ก่ monocots, eudicots, rosids และ asterids ระบบ APG I จัดจําแนกพืชดอกออกเป็น 40 อันดับ จํานวน 462 วงศ์ (The Angiosperm Phyloge- ny Group, 1998) ระบบ APG II จัดจําแนกพืชดอกออกเป็น 45 อันดับ จํานวน 457 วงศ์ (Angiosperm Phylogeny Group, 2003) ระบบ APG III จัดจําแนกพืชดอกออกเป็น 45 อันดับ จํานวน 413 วงศ์ (Angio- sperm Phylogeny Group, 2003) ส่วน ระบบ APG IV จัดจําแนกพืชดอกออกเป็น 64 อันดับ จํานวน 416 วงศ์ (Angiosperm Phylogeny Group, 2016) โดยการต้ังอันดับใหม่เพิ่มอีกจาก ระบบ APG III ได้แก่ Bo- raginales, Dilleniales, Icacinales, Metteniusales และ Vahliales ส่วนระดับวงศ์มีการบรรยายวงศ์ใหม่ จากระบบเดิมเช่นกัน อย่างไรก็ตาม การจัดจําแนกพืชดอกยังคงต้องจัดจําแนกใหม่เพิ่มเติมเมื่อครอบคลุมพืช ทุกชนิด และมีข้อมูลด้านชีวโมเลกุลเพิ่มข้ึน โดยเฉพาะจีโนมท้ังหมดของพืชแต่ละชนิดมาช่วยจัดจําแนกและ เพ่ือได้ความสัมพนั ธข์ องพชื ทีถ่ ูกตอ้ งมากท่ีสดุ ท่เี รียกว่า สปชี สี ท์ รี (species tree) มากกวา่ ยีนทรี (gene tree) 12.7 บทสรุป บรรพบุรุษของพืชดอก คือ พวกเทอริโดสเปิร์ม (pteridosperms) หรือเฟิร์นมีเมล็ด (Seed ferns) มี การพบฟอสซลิ นกั พฤกษศาสตร์หลายท่านลงความเห็นวา่ เป็นพวก Gymnosperms แต่เม่ือดูสายสัมพันธ์ทาง ววิ ัฒนาการแล้วเป็นพวกพืชดอก เพราะว่ามันมีเมล็ด ใน คูพูล (cupule) ซ่ึงเปล่ียนแปลงมาจากใบ แต่ละคูพูล มีกลุ่มของออวุลหรือเมล็ด ใบเป็นใบประกอบแบบฝ่ามือ มี 3-6 ใบย่อย ยาว 2-6 ซม ละอองเรณูมีปีกคล้าย พวกเมลด็ เปลอื ย และเป็นแบบ bisaccate คล้ายกับพวกสน พืชสกุลที่มีลักษณะนี้ คือ สกุล Caytonia ในทาง ทฤษฎีเชื่อว่า คูพูล เป็น โฮโมโลกัสกันกับคาร์เพลของพืชดอก อย่างไรก็ตาม คูพูลมีความแตกต่างจากคาร์เพล หรือเมกะสปอโรฟิลล์ และพบละอองเกสรที่รูไมโครไพล์ เป็นหลักฐานชี้ชัดว่ามีการถ่ายละอองเกสรเข้าสู่ออวุล โดยตรง พืชดอก (flowering plants) หรือพวกเมล็ดมีรังไข่หุ้ม เรียกว่า พวก แองจิโอสเปิร์ม (angiosperms) หรอื พวก แมกโนลิโอไฟตา (Magnoliophyta) หรือแอนโทไฟตา (Anthophyta) มีลักษณะแตกต่างจากพืชบก ชนิดที่ต่ํากว่า ท่ีสําคัญคือ มีดอก ประกอบด้วยกลีบเล้ียงและกลีบดอกที่สวยงาม เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย ซึ่งแกมีโทไฟต์ลดรูป รังไข่ ทําหน้าท่ีปกป้องออวุล มีการเกิดการปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) และผล มักเจริญมาจากรงั ไข่ การจัดจําแนกพชื ดอกยังคงตอ้ งจัดจําแนกใหมเ่ พ่ิมเติมเมื่อมขี ้อมลู ด้านชีวโมเลกุลเพ่ิมข้ึน พฤกษศาสตร์ Botany
~ 179 ~ ภาพท่ี 12.5 ความสันพันธพ์ ืชดอกตามระบบการจดั จําแนก APG IV (Angiosperm Phylogeny Group, 2016) พฤกษศาสตร์ Botany
~ 180 ~ คาถามท้ายบทที่ 12 1. พชื ดอกมีบรรพบุรษุ กําเนิดมาจากพืชกลุ่มใด 2. เหตใุ ดพชื ดอกจงึ ถือว่าเป็นพชื ที่มวี วิ ฒั นาการสงู ท่ีสดุ 3. จงอธบิ ายการววิ ฒั นาการของรงั ไข่พชื ท่ีมี 3 คาร์เพล 3 ลอคคูล พฤกษศาสตร์ Botany
~ 181 ~ เอกสารอ้างอิง Angiosperm Phylogeny Group (2003). An update of the Angiosperm Phylogeny Group classification for the orders and families of flowering plants: APG II. Botanical Journal of the Linnean Society 141(4): 399-436. Angiosperm Phylogeny Group. (2016). An update of the Angiosperm Phylogeny Group classification for the orders and families of flowering plants: APG IV, Botanical Journal of the Linnean Society, 181 (1): 1–20 Campbell, N.A. & Reece, J.B. (2009). Biology 9th edition. San Francisco: Pearson Benjamin Cummings. Ji, Q., H. Li, L.M. Bowe, Y. Liu & D.W. Taylor. (2004). Early Cretaceous Archaefructus eoflora sp. nov. with Bisexual Flowers from Beipiao, Western Liaoning. Acta Geologica Sinica 78(4): 883–896. Simpson, M. (2006). Plant Systematic. Canada: Elsevier Academic Press. The Angiosperm Phylogeny Group (1998). An ordinal classification for the families of flowering plants. Annals of the Missouri Botanical Garden. 85 (4): 531–553. พฤกษศาสตร์ Botany
~ 182 ~ พฤกษศาสตร์ Botany
~ 183 ~ แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 13 นิเวศวทิ ยาของพืช (Plant Ecology) หวั ข้อเน้ือหาประจาบท 13.1 ความสําคัญทางระบบนเิ วศ 13.2 ระบบนเิ วศป่าไม้ของประเทศไทย 13.3 บทสรปุ คาํ ถามท้ายบท วตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม หลังจากศกึ ษาบทเรียนน้ีแลว้ ผูเ้ รียนควรมีความรคู้ วามสามารถ ดังน้ี 1. บอกนิเวศวทิ ยาแบบต่างๆได้ 2. ยกตัวอยา่ งชนดิ พืชในแตล่ ะระบบนิเวศได้ 3. อธิบายประเภทของปา่ ในประเทศไทยได้ วิธีสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอนประจาบท 1. นาํ เขา้ สูบ่ ทเรียนดว้ ยการบรรยายประกอบ Power point presentation 2. จัดกลุ่มค้นคว้าเนื้อหาที่ได้รับมอบหมายจากเว็บไซต์หรือเอกสารท่ีเกี่ยวข้องและอภิปรายผลเป็นราย กลุม่ สื่อการเรยี นการสอน 1. เนือ้ หา power point ประจาํ บทท่ี 13 2. ตวั อยา่ งหนงั สือ ตํารา เอกสารประกอบการเรียน และงานวิจยั ทางชวี วิทยา การวัดและการประเมินผล การวดั ผล 1. ความสนใจและการตอบคาํ ถามระหว่างเรยี น 2. ตอบคําถามทา้ ยบทและสง่ งานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลาท่ีกําหนด การประเมนิ ผล 1. ผูเ้ รียนตอบคําถามผู้สอนในระหวา่ งเรียนถูกตอ้ งไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 2. ตอบคาํ ถามท้ายบทและส่งงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายตรงตามเวลาทีก่ าํ หนด และมคี วามถูกตอ้ งไม่น้อย กว่ารอ้ ยละ 80 พฤกษศาสตร์ Botany
~ 184 ~ พฤกษศาสตร์ Botany
~ 185 ~ บทที่ 13 นิเวศวทิ ยาของพชื (Plant Ecology) พื้นที่บนโลกมีความแตกต่างกันทําให้ส่ิงมีชีวิตอาศัยและปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับชนิด ระบบนิเวศแต่ละประเภท หากแบ่งระบบนเิ วศสามารถแบ่ง ได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1. ระบบนิเวศทางธรรมชาติ เป็นระบบนิเวศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติบนโลก มีความหลากหลายทาง ชวี ภาพซึ่งซบั ซ้อน เช่น ป่า ทุง่ หญ้า ทะเลสาบ ภูเขา เปน็ ต้น 2. ระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างข้ึน เป็นระบบนิเวศท่ีมนุษย์สร้างข้ึนมาเพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หน่ึง มีความหลากหลายทางชีวภาพน้อยกว่าระบบนิเวศทางธรรมชาติ เช่น ทุ่งนา อ่างเก็บนํ้า เขื่อน เป็นต้น ซ่ึง ระบบนเิ วศประเภทน้ี อาจทําใหส้ ่งิ มีชีวิตถ่นิ เดิมอาจลดลงหรือสญู พันธุไ์ ด้ 13.1 ความสาคญั ทางระบบนเิ วศ ระบบนิเวศแต่ละระบบเป็นแหล่งของถ่ินอาศัยของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ซึ่งมีปัจจัยทางกายภาพและ ชวี ภาพที่เหมาะสมกับการดํารงชวี ติ แต่ละชนิดในระบบนิเวศน้ัน ดังน้ันระบบนิเวศมีความสําคัญต่อสิ่งมีชีวิตบน โลก ไดแ้ ก่ 13.1.1 เป็นแหล่งอนรุ กั ษท์ รัพยากรทางธรรมชาติ 13.1.2 เพือ่ การสะสมและการหมนุ เวยี นของสารอาหาร 13.1.3 เปน็ แหลง่ การดูดซมึ และทาํ ลายมลพษิ ทางอากาศ 13.1.4 สภาพอากาศ ลมฟ้าอากาศ ปรากฏการเอล นิโญ่ (El Niño) ลานญี า (La Niña) 13.2 ระบบนเิ วศปา่ ไม้ของประเทศไทย 13.2.1 ปา่ ผลดั ใบ (deciduous forests) ปา่ ผลัดใบ เปน็ ปา่ ไมท้ ผี่ ลัดใบตามฤดกู าล (seasonal) ปา่ ชนดิ น้ีประกอบด้วยพันธ์ุไม้ชนิดผลัดใบจะทิ้ง ใบในฤดูแล้ง พบท่ัวไปทุกภาคท่ีมีช่วงฤดูแล้งยาวนาน ยกเว้นภาคใต้และภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี และตราดเมื่อถึงฤดูแล้ง ต้นไม้ในป่าประเภทนี้จะผลัดใบร่วง ใบไม้แห้งจะกองทับถมบนพ้ืนป่า ทําให้เกิดไฟป่า ได้ง่ายแทบทุกปีและผลิใบอ่อนข้ึนมาใหม่เมื่อถึงต้นฤดูฝน หรือเม่ือมีความชุ่มช้ืนมาก ป่าผลัดใบในช่วงฤดูฝนมี เรือนยอดเขียวชอมุ่ เชน่ เดียวกับป่าไม่ผลัดใบ ป่าผลัดใบขึ้นท่ัวไปบนที่ราบเชิงเขาและบนภูเขาสูงท่ีไม่เกินระดับ 1,000 เมตร (ยกเว้นปา่ เต็งรัง-สนเขา) มักพบป่าชนิดน้ีตั้งแต่ระดับความสูง 50-800 เมตร เหนือระดับนํ้าทะเล พรรณไม้ท่ีเป็นไม้ต้นมักมีเปลือกที่หนามาก เพื่อปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม ส่วนไม้พ้ืนล่างมักมีลําต้นใต้ดินหรือ รากสะสมอาหาร แม้ไฟป่าจะเกิดผลเสียมากมายต่อระบบนิเวศ แต่ผลดีคือทําให้ผลหรือลูกไม้สามารถงอกได้ งา่ ยเม่อื ถูกไฟปา่ เผาและเม่ือมคี วามช้นื ในตน้ ฤดูฝนกจ็ ะงอกทันที ป่าผลดั ใบแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ พฤกษศาสตร์ Botany
~ 186 ~ 1) ปา่ เบญจพรรณ (mixed deciduous forest) ป่าเบญจพรรณมีลักษณะเป็นป่าโปร่งประกอบด้วยไม้ต้นขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็กปนกัน หลากชนิด โดยเฉพาะพรรณไม้ของวงศ์ถั่ว (Fabaceae) วงศ์สมอ (Combretaceae) และวงศ์สัก (Verbena- ceae) แต่จะไม่ปรากฏพรรณไม้วงศ์ยางนา (dipterocarpaceae) ป่าชนิดนี้มักมีไผ่ชนิดต่างๆ ข้ึนกระจัด กระจาย พ้ืนดินมักเป็นดินร่วนปนทราย มีความชุ่มชื้นในดินไม่มากนักอาจพบเขาหินปูนขึ้นได้ด้วย ป่าเบญจ พรรณหรือปา่ ผลัดใบผสมสามารถพบมากทางภาคเหนอื ภาคกลาง และพบกระจัดกระจายเปน็ หย่อมเล็กๆ ทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาพที่ 13.1) ในฤดูแล้งป่าจะโปร่ง ค่อนข้างแห้งแล้งและมีไฟป่าในฤดูแล้งเป็น ประจํา ต้นไม้จะมีลักษณะแคระแกร็น เป็นพุ่มเต้ียๆ ตามลําต้นมีเปลือกหนา เมื่อเข้าฤดูฝนต้นไม้จะผลิใบและ เขยี วชอุ่มเหมือนเดิม พรรณไม้เด่น เช่น กระถินพิมาน (Vevetchia harmandiana) สีฟันคนฑา (Harrisonia perforata) มะสัง (Feroniella lucida) ตะแบก (Lagerstroemia spp. ) ประดู่ป่า (Pterocarpus macro- carpus) มะค่า (Afzelia xylocarpa) เป็นต้น ภาพท่ี 13.1 ป่าเบญจพรรณ (ทมี่ า: ผเู้ ขียน) Botany พฤกษศาสตร์
~ 187 ~ 2) ปา่ แดง ป่าแพะ หรือป่าเต็งรัง (deciduous dipterocarp forest) พบข้นึ สลับกับปา่ เบญจพรรณ ลักษณะเป็นป่าโปร่ง มีต้นไม้ขนาดเล็ก และขนาดกลาง ไม้เด่น อันเป็นไม้ดัชนีประกอบด้วยไม้ในวงศ์ยาง ฤดูแล้งจะผลัดใบ และมีไฟป่าเป็นประจํา ป่าเต็งรังมีถิ่นกระจายโดย กว้างๆ ซ้อนทบั กันอยู่กบั ป่าเบญจพรรณ (ภาพที่ 13.2) แต่อาจแคบกว่าเล็กน้อยทั้งนี้เนื่องจากมีปัจจัยกําหนด ท่เี กีย่ วขอ้ งกับความแห้งแล้ง ปา่ ชนดิ นพ้ี บมากทีส่ ุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 80 เปอร์เซนต์ของป่า ชนิดต่างๆ ที่มีอยู่ในภาคน้ีท้ังหมด นอกจากน้ียังพบท่ัวไปในภาคเหนือ และค่อนข้างกระจัดกระจายลงมาทาง ภาคกลาง พบทัง้ ในท่ีราบและเขาที่ต่ํากว่า 1,000 เมตรลงมา ลักษณะของป่าเต็งรัง เป็นป่าโปร่ง ประกอบด้วย ต้นไม้ผลัดใบขนาดกลางและขนาดเล็กข้ึนห่างๆ กระจัดกระจายไม่ค่อยแน่นทึบ ไม้พ้ืนล่างมีหญ้าและไผ่แคระ จําพวกไผเ่ พ็ก ไผโ่ จด ข้ึนท่วั ไป มลี กู ไมค้ อ่ นข้างหนาแน่น (ภาพท่ี 13.2) ทุกปจี ะมีไฟปา่ เกดิ ขึ้นเป็นประจํา ทําให้ ลูกไม้บางส่วนถูกไฟ บางพื้นท่ีมักเป็นที่ราบมีดินทรายค่อนข้างลึกและหินทราย ลานหินปะปนขึ้นด้วย ต้นไม้ มักจะมีขนาดสูงและใหญ่ ข้ึนเป็นกลุ่มๆ แน่นคล้ายป่าเบญจพรรณเช่น ป่าเต็งรัง บนที่ราบทางภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื บางแห่งมักจะพบกลุ่มไม้ที่มีลักษณะสมบูรณ์ พรรณไม้ท่ีมักพบ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง ปา่ เต็งรังท่คี อ่ นข้างแคระแกร็น พบบนภูเขาภาคเหนือท่ีมีดินตื้นตามไหล่เขาและสันเขา ผักซึ่งจะหมุนเวียนตาม ฤดูกาล เช่น ผักต้ิว (Cratoxylum formosium (Jack) Dyer ssp. formosum) กระโดน (Careya sphaerica Roxb.) ผักหวาน (Melientha suavis Pierre) กระเจียวโคก (Curcuma singularis Gagnep.) เป็นต้น ผลไม้ป่า เช่น หว้าชนิดต่างๆ (Syzygium spp.) ส้านใหญ่ (Dillenia obovata (Blume) Hoogland) ตะค้อ (Schleicher oleosa (Lour.) Oken) มะขามป้อม (Phyllantus emblica L.) เปน็ ต้น ป่าเต็งรัง ที่อยู่บนภูเขาสูงจากระดับน้ําทะเลต้ังแต่ 700 เมตร ถึง 1,350 เมตร มักจะพบสนสอง ใบ (Pinus merkusii Jungh. & de Vriese) และสนสามใบ (Pinus kesiya Royle ex Gordon) ขึ้นปะปนใน ช้ันเรือนยอด เรียกป่าชนิดน้ีว่าป่าเต็งรังผสมสนเขา พบมากในป่าเต็งรังบนภูเขาทางภาคเหนือ เช่น อุทยาน แห่งชาตินํ้าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ทางภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน เชน่ เขตรักษาพนั ธุ์สตั ว์ปา่ ภูเขยี ว จ.ชัยภมู ิ และอุทยานแหง่ ชาติภูเรือ จงั หวัดเลย 3) ปา่ หญา้ (savanna forest) ป่าหญ้าเกิดจากการทําลายสภาพป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์ ดินมีความเสื่อมโทรม มีฤทธิ์เป็นกรด ต้นไม้ไม่ สามารถเจรญิ เติบโตได้ จึงมีหญ้าต่างๆ เข้าไปแทนที่ แพร่กระจายท่ัวประเทศในบริเวณท่ีป่าถูกทําลายและเกิด ไฟป่าเปน็ ประจาํ ทุกปี บริเวณพ้ืนดนิ ที่ขาดความสมบูรณ์และถูกทอดทงิ้ หญ้าชนิดตา่ งๆจะเกิดขึ้นทดแทน พรรณ ไมท้ พี่ บมากท่ีสดุ ในปา่ หญา้ ในประเทศไทย ได้แก่ หญ้าคา หญ้าขนตาช้าง หญ้าเพ็กและปุ่มแป้ง แขม ป่าชนิดนี้ อาจมีไม้ต้นบางชนิดทนไฟขึ้นปะปนอยู่ด้วย เช่น กระโดน ตับเต่า รกฟ้า ติ้วและแต้ว ป่าชนิดน้ีสามารถพบได้ เช่น อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง จังหวัดพิษณุโลก ทุ่งกะมัง จังหวัดชัยภูมิ (ภาพท่ี 13.3) หรือพบในบริเวณ ในป่าเต็งรังไดใ้ นภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พรรณไมท้ ่ีพบ เชน่ หญ้าชนิดต่างๆ ถ่ัวชนิดต่างๆ และกระดมุ เงนิ พฤกษศาสตร์ Botany
~ 188 ~ A B C1 C2 ภาพที่ 13.2 ปา่ เต็งรัง A. ลานหนิ ทรายในปา่ เต็งรัง น้ําตกถ้าํ พระ จงั หวัดบึงกาฬ B. ลานหนิ ในป่าเตง็ รงั ใน ฤดูฝน ตน้ ฤดูหนาว อุทยานแหง่ ชาติภพู าน และ C1 และ C2 ปา่ เต็งรังในฤดูแลง้ (ท่มี า: ผเู้ ขียน) พฤกษศาสตร์ Botany
~ 189 ~ ภาพที่ 13.3 ปา่ หญา้ ทุ่งกะมงั จังหวัดชยั ภูมิ (ที่มา: ผู้เขยี น) 13.2.2 ป่าไมผ่ ลดั ใบ (evergreen forests) ป่าซงึ่ เขยี วชอุ่มตลอดปี แม้จะมีพันธุ์ไม้บางชนิดจะมีการทิ้งใบไปตามธรรมชาติ แต่ก็จะเกิดใบใหม่ข้ึนมา ทดแทนตลอดเวลาจงึ ไม่เหน็ ความเปลี่ยนแปลง ซ่ึงแบ่งปา่ ไมป้ ระเภทนไ้ี ดเ้ ปน็ 4 ชนิด คอื 1) ป่าดงดบิ (tropical evergreen forest) ปา่ ดงดิบเปน็ ปา่ ท่ีมอี ยทู่ ัว่ ทกุ ภาคของประเทศไทย มักกระจายอย่บู รเิ วณท่ีมีความชุ่มช้ืนมาก ๆ เช่น ตามหุบเขาริมแม่น้ําลําธาร ห้วย แหล่งนํ้า และบนภูเขา มีฝนตกมากและมีความชื้นมาก สามารถแยก ออกเป็นชนดิ ตา่ ง ๆ ดงั นี้ ป่าดงดบิ ชน้ื (tropical rain forest) ป่าดงดบิ ชน้ื ในประเทศไทยมีการกระจายส่วนใหญ่อยู่ทางภาคใต้และภาคตะวันออกของประเทศ อาจ พบในภาคอ่ืนบา้ ง แตม่ ักมีลกั ษณะโครงสรา้ งที่เปน็ สงั คมย่อยของสังคมป่าชนิดนี้ ป่าดงดิบชื้นข้ึนอยู่ในที่ราบบน ภูเขาที่ระดับความสูงไม่เกิน 600 เมตรจากระดับน้ําทะเล ในภาคใต้พบได้ต้ังแต่ตอนล่างของจังหวัด พฤกษศาสตร์ Botany
~ 190 ~ ประจวบคีรีขันธ์ลงไปจนถึงชายเขตแดน ส่วนทางภาคตะวันออกพบในจังหวัดตราด จันทบุรี ระยอง และ บางสว่ นของจังหวดั ชลบรุ ี อุทศิ กุฏอนิ ทร,์ 2541) ปา่ ดงดบิ แล้ง (Dry evergreen forest) ป่าดงดิบแล้งของเมืองไทยพบกระจายตั้งแต่ตอนบนของทิวเขาถนนธงชัยจากจังหวัดชุมพรข้ึนมาทาง เหนือ ปกคลุมลาดเขาทางทิศตะวันตกของทิวเขาตะนาวศรีไปจนถึงจังหวัดเชียงราย ส่วนซีกตะวันออกของ ประเทศปกคลุมต้งั แตท่ วิ เขาภพู านตอ่ ลงมามาถึงทวิ เขาบรรทัด ทวิ เขาพนมดงรักลงไปจนถึงจังหวัดระยองข้ึนไป ตามทิวเขาดงพญาเย็น ทิวเขาเพชรบูรณ์จนถึงจังหวัดเลยและน่าน นอกจากน้ี ยังพบในจังหวัดสกลนคร และ ทางเหนือของจังหวัดหนองคายเลียบลําน้ําโขงในส่วนท่ีติดต่อกับประเทศลาว ป่าชนิดน้ีพบต้ังแต่ระดับความสูง จากนาํ้ ทะเลปานกลางประมาณ 100 เมตรขน้ึ ไปถึง 800 เมตร ปา่ ดงดบิ เขา (Hill evergreen forest) ป่าดงดิบเขาอาจพบได้ในทุกภาคของประเทศในบริเวณท่ีเป็นยอดเขาสูง พบตั้งแต่เขาหลวง จ. นครศรีธรรมราช เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ขึ้นไปจนถึงยอดเขาสูง ๆ ในภาคเหนือ เช่น ยอดดอยอิน ทนนท์ ดอยปุย และยอดดอยอ่ืนๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน เป็นต้น ส่วนทางภาค ตะวันออกพบได้บนยอดดอยภูหลวง ภูกระดึง ยอดเขาสูงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว อุทยานแห่งชาติเขา ใหญ่ เป็นต้น (อุทิศ กุฏอินทร์, 2541) ป่าชนิดน้ีแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ป่าดิบเขาตํ่า และป่าดิบเขาสูง หรือปา่ เหนอื เมฆ (ธวัชชยั สันติสขุ , 2549) ป่าดิบเขาต่า (lower montane rain forest) ป่าดิบเขาต่ําด้ังเดิมปัจจุบันเหลืออยู่เป็นหย่อมๆ บนภูเขา ความสูงของเรือนยอดชั้นบนประมาณ 20- 35 เมตร พบได้ทุกภาคของประเทศไทย เช่น ดอยอินทนนท์ ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ดอยภูคา จังหวัด น่าน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่ จังหวัดกาญจนบุรี เขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ภูหลวง จังหวัดเลย และ ภาคใต้ เช่น เขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช ป่าชนิดนี้มักพบบนภูเขาท่ีสูงกว่าระดับนํ้าทะเลตั้งแต่ประมาณ 1,000 เมตร จนถึง 1,900 เมตร สภาพป่ามีเรือนยอดแน่นทึบมีไม้พื้นล่างหนาแน่นคล้ายคลึงกับป่าดิบชื้นและ ป่าดิบแล้ง แต่ชนิดพรรณไม้มีความแตกต่างกัน ส่วนใหญ่เป็นพรรณไม้วงศ์ก่อ (Fagaceae) พรรณพืชจําพวก หมากปาล์ม (Palmae/Arecaceae) หรอื หวาย แต่มีน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับป่าดิบชื้น หรือดิบแล้ง นอกจากน้ี ยงั มีพรรณไมช้ นิดอ่ืน ดังน้ี วงศ์จําปี (Magnoliaceae) เช่น จําปีหลวง (Michelia rajaniana) จําปีป่า (Michelia baillonii) มณฑาดอย (Manglietia garrettii) วงศ์ชา (Theaceae) เช่น ทะโล้ (Schima wallichii), ตองลาด (Actinodaphne henryi) วงศ์อบเชย (Lauraceae) เช่น แกง (Cinnamomum tamala (Buch.-Ham.) T. Nees & Nees) เชยี ดขาว (Lindera pulcherrima) สะหม่ี (Litsea monopetala) ทัน (Phoebe tavoyana) วงศ์มะลิ (Oleaceae) จนั ทร์ทอง (Fraxinus floribundus) มวกกอ (Olea salicifolia) พฤกษศาสตร์ Botany
~ 191 ~ วงศ์มะกอกเล่ีอม (Burseraceae) มะกอกเลอื่ ม (Canarium subulatum) วงศพ์ งั แหร (Ulmaceae) ลูกลบี (Ulmus lancaefolia) วงศล์ ําไย ก่วม (Acer spp.) มะชัก (Sapindus rarak) มะเนยี งน้าํ (Aesculus assamica) วงศ์มะมว่ ง (Anacardiaceae) แกนมอ (Rhus succedanea) มะมว่ งขใ้ี ต้ (Mangifera sylvatica) วงศส์ ะเดา (Meliaceae) ประสงค์ (Aglaia chittagonga) ยมหอม (Toona ciliata) ขีอ้ ้าย (Walsura robusta) วงศ์มังคดุ (Guttiferae) สารภีดง (Mammea harmandii) กะนวน (Garcinia merguensis) วงศ์มนุ่ ดอย (Elaeocarpaceae) มนุ่ ดอย (Elaeocarpus braceanus) กุนเถื่อน (E. floribundus) มุน่ ดอย (E. prunifolius)กอ่ เรยี น (Sloanea sigun) สตี (S. tomentosa) ตีนจําดง (Adinandra integerrima) วงศเ์ หมือด (Symplocaceae) เหมือดหอม (Symplocos racemosa) เหมอื ดปลาซิว (S. sumuntia) วงศค์ างคก (Nyssaceae) คางคก (Nyssa javanica) วงศส์ า้ นเหบ็ (Actinidiaceae) ช้าส้าน (Saurauia nepaulensis) ส้านเหบ็ (S. roxburghii) วงศ์กหุ ลาบ (Rosaceae) ตะเกรานาํ้ (Eriobotrya bengalensis) วงศ์ เหมือดคน (Proteaceae) เหมอื ดคนดง (Helicia formosana var. oblanceolata) เหมอื ดคน (Heliciopsis terminalis) วงศ์หว้า (Myrtaceae) หวา้ เขา (Syzygium angkae) วงศข์ างขาว (Xanthophyllaceae) ขางขาว (Xanthophyllum virens) นอกจากนี้มีพรรณไม้เมล็ดเปลอื ย (Gynosperms) ปะปนข้ึนดว้ ย ได้แก่ มะขามป้อมดง (Cephalotaxus mannii) (Cephalotaxaceae) พญาไม้ (Podocarpus neriifolius) และขุนไม้ (Nageia wallichianus) (Podocarpaceae) มะพร้าวเต่า (Cycas simplicipinna) (Cyc- adaceae) พืชใบเลย้ี งเด่ียว เช่น พืชวงศ์ปาล์ม พบข้นึ กระจัดกระจาย ได้แก่ พืชวงศ์ปาร์ม (Palmae) เตา่ รา้ ง (Caryota spp. เขือง (Wallichia caryotoides) ค้อ (Livistona speciosa) พชื วงศเ์ ตย (Pandanaceae) เกยี๋ งปา่ (Pandanus furcatus) พชื ชน้ั ตา่ํ กลุ่มเฟริ ์น เชน่ กูดตน้ หรือเฟริ ์นต้น (Cyathea spp.) (Cyatheaceae) เฟิร์นบวั แฉก (Dipteris conjugata) (Dipteridaceae) ป่าดบิ เขาสงู หรอื ปา่ เมฆ (upper montane rain forest หรือ cloud forest) ป่าดิบเขาสูงข้ึนปกคลุมตามสันเขาและยอดเขา ท่ีสูงกว่า 1900 เมตรขึ้นไป ส่วนใหญ่มีเมฆ/หมอกปก คลมุ ตลอดทงั้ ปี เรียกอีกชื่อหน่ึงคือ \"ป่าเมฆ\" ป่าชนิดน้ีขึ้นปกคลุมสันเขาและยอดดอย ป่าดิบเขาสูงมีเรือนยอด ชั้นบนระหวา่ ง 16-23 เมตร แน่นทึบเรือนยอดของไม้ช้ันบนแต่ละต้นจรดกันต่อเน่ืองสมํ่าเสมอแน่นทึบและปก คลมุ ดว้ ยหมอก ทําให้อากาศหนาวเย็นและมีความชุ่มชื้นในป่าสูงมาก ชายป่าดิบเขาสูงจะปรากฏช้ันของไม้พุ่ม สูง 1-2 เมตร ได้แก่ ฮ้อมดง (Strobilanthes involucratus) (Acanthaceae) พรรณพืชพวกเฟิร์นพบขึ้นตาม พฤกษศาสตร์ Botany
~ 192 ~ พืชป่า (terrestrial fern) และอิงอาศัย (epiphytic fern) ตามลําต้นและกิ่งไม้หนาแน่น พรรณไม้ในป่าดิบเขา สูงจะแตกต่างจากพรรณไม้ในป่าดิบเขาต่ํา เช่น ยางน่อง (Antiaris toxicaria) ไทร-มะเด่ือ (Ficus spp. ) (Moraceae) มะกอกเล่ือม (Canarium spp.) (Burseraceae) โพบาย (Balakata baccata.) (Euphorbia- ceae) สมอ (Terminalia spp.) (Combretaceae) ค้างคาว (Aglaia spp.) ยมหอม (Toona spp.) (Me- liaceae) ขนาน (Pterospermum spp.) (Sterculaiceae) ฯลฯ พรรณไม้เด่นหลายชนิดของป่าดิบเขาต่ํา เช่น จําปีหลวง (Michelia rajaniana) มณฑาดอย (Manglietia garrettii) ตองแขง็ (Magnolia hodgsonii) (Magnoliaceae) ไม้กอ่ อกี หลายชนิดจะไม่พบในป่าดิบเขาสูง เช่น (Castanopsis acuminatissima) กอ่ ใบเล่ือม (C. tribuloides) กอ่ หมน่ (Lithocarpus grandifolius) ก่อแอบหลวง (Quercus helferiana) ก่อแดง (Q. kingiana) ไม้ต้นที่พบท่ัวไปในป่าดิบเขาสูง เช่น ก่อตลับ (Quercus eumorpha) ก่อจุก (Lithocarpus aggregatus) ก่อดาน (Castanopsis purpurea) (Fagaceae) ทะโล้ (Schima wallichii) แมงเม่านก (Eurya nitida) ขี้ผ้ึง (Gordonia dalglieshiana) (Theaceae) เอียน (Neolitsea foliosa) เมียดต้น (Litsea martabarnica) มะเขื่อขื่น (Beilschmiedia spp.) แกง (innamomum tamala) จวงหอม (Neocinnamomum caudatum) (Lauraceae) พันชุลี (Mastixia euonymoides) (Cornaceae) เอ้ียบ๊วย (Myrica esulenta) (Myricaceae) เหมือดคนดง (Heli- cia formosana var. oblanceolata) เหมือดคน (Heliciopsis terminalis) (Proteaceae) ก่วมขาว (Acer laurinum) ก่วมแดง (A. calcaratum) (Aceraceae) โพสามหาง (Symingtonia populnea) (Hamameli- daceae) เหมือดดอย (Myrsine semiserrata) (Myrsinaceae) เข็มดอย (Osmanthus fragrans) (Oleace- ae) เหมือดเงิน (Symplocos dryophila) (Symplocaceae) ต้าง (Macropanax dispermus) (Araliace- ae) มะก้อม (Turpinia cochinchinensis) (Staphyleaceae) ตามชายป่าดิบเขาสูงทีเ่ ป็นท่ีทุ่งโลง่ บนไหล่เขาที่ ลาดชันจะพบกลุ่มไม้ขนาดเล็ก ได้แก่ กุหลาบพันปี (Rhododendron arboreum subsp. delavayi) (Erica- ceae) และไม้พุ่มจําพวกช้ามะยมดอย (Gaultheria crenulata) (Ericaceae) ไม้พุ่มอิงอาศัยที่พบมาก เช่น สะเภาลม (Agapetes hosseana) กายอม (Rhododendron veitchianum) (Ericaceae) และโพอาศัย (Neohymenopogon parasiticus) (Rubiaceae) 2) ป่าบึง (swamp Forest) พบตามทร่ี าบลุ่มมนี ้ําขังอยเู่ สมอ และตามรมิ ฝัง่ ทะเลทม่ี โี คลนเลนทั่วๆ ไป แบ่งออกเปน็ ป่าพรุ (peat Swamp) เป็นสังคมป่าท่ีอยู่ถัดจากบริเวณสังคมป่าชายเลน โดยอาจจะเป็นพื้นที่ลุ่มที่มีการทับถมของซากพืช และอินทรียวัตถุที่ไม่สลายตัว และมีน้ําท่วมขังหรือชื้นแฉะตลอดปี พื้นท่ีท่ีเป็นพรุส่วนใหญ่พบทางภาคใต้ของ ไทย ส่วนตะวันออกพบมากในจังหวัดตราดจํานวน 11980 ไร่ ภาคเหนือพบใน อ.พร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื พบที่คําชะโนด จังหวัดอุดรธานี ปา่ ชายเลน (mangrove swamp forest or mangrove forest) เป็นสังคมป่าไม้บริเวณชายฝ่ังทะเล ป่าชนิดนี้มีน้ําขึ้น-น้ําลงอย่างเด่นชัดในรอบวัน เช่น ภาคกลาง ได้แก่ บริเวณท่ีติดกับชายฝ่ังทะเลของจังหวัดสมุทรปราการ กรุงเทพฯ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี พฤกษศาสตร์ Botany
~ 193 ~ และประจวบครี ีขนั ธ์ ภาคตะวันออก แพรก่ ระจายอยตู่ ามชายฝง่ั ทะเลของจงั หวัดชลบรุ ี ระยอง จันทบุรี (อ่าวคุ้ง กระเบน มีขนาดใหญ่ที่สุดของภาค) ตราด และฉะเชิงเทรา ภาคใต้ ส่วนมากจะเกิดเป็นแนวยาวติดต่อกันทาง ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกหรือด้านทะเลอันดามัน ในเขตจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล ส่วน ชายฝ่ังด้านตะวันออกหรือด้านอ่าวไทย จะพบตามปากนํ้าและลําน้ําใหญ่ๆ ในจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา และปัตตานี จังหวัดท่ีมีพื้นที่ป่าชายเลนมากที่สุดของประเทศไทยจะพบทางภาคใต้ ไดแ้ ก่ จงั หวดั พงั งา สตูล กระบี่ และ ตรงั ปา่ ชายเลนประกอบด้วยพันธ์ุไมห้ ลายชนดิ และเปน็ พนั ธุ์ไม้ไม่ผลดั ใบ ส่วนใหญป่ ระกอบด้วยพันธ์ุไม้ สกุลโกงกาง (Rhizophora spp.) และมีไม้ชนิดอื่นๆ เช่น พังกาหัวสุมดอกแดง โปรงขาว โปรงแดง ตะบูนดํา ตะบูนขาว แสมขาว แสมทะเล ลาํ พู ลาํ พูแพน เปน็ ตน้ และปา่ ชายเลนยังเป็นแหลง่ ทอ่ี ยู่อาศัย อนุบาลสัตว์นา้ํ เป็นท่หี ลบภยั ของสัตว์ตามธรรมชาติ นอกจากนี้ยังเปน็ แนวป้องกนั ฝั่งทะเลจากการกัดเซาะพังทลาย กําบังคล่ืน ลม กระแสนา้ํ และพายุซึนามิ เป็นแหลง่ วัตถุดบิ ผลติ ภณั ฑ์จากไม้ และเป็นแหล่งเช้ือเพลิง เป็นต้น 13.3 บทสรปุ ประเทศไทยมีระบบนิเวศป่าไม้ ได้แก่ ป่าผลัดใบ (deciduous forests) ซ่ึงประกอบด้วยป่าผลัดใบ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1) ปา่ เบญจพรรณ (Mixed deciduous forest) 2) ป่าแดง ป่าแพะ หรือป่าเต็งรัง (deciduous dipterocarp forest) และ3) ป่าหญ้า (savanna forest) ส่วนป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen forest) ประกอบด้วย 1) ป่าดงดิบ (tropical evergreen forest) และ2) ป่าพรุ (swamp forest) พืชหลายชนิดท่ีพบ ได้ในป่าบางประเภท และเป็นดัชนีชีว้ ดั ชนดิ ของปา่ คาถามทา้ ยบทที่ 13 1. ยกตัวอยา่ งพืชท่ีพบเฉพาะป่าบางประเภททีเ่ หมาะสมเท่านนั้ มา 2 ชื่อ 2. จงบอกประเภทป่าที่พบในอทุ ยานแหง่ ชาติภูรือ จงั หวดั เลย 3. จงบอกช่อื พืชในป่าเตง็ รังมา 5 ชนิด พฤกษศาสตร์ Botany
~ 194 ~ เอกสารอา้ งองิ ธวัชชยั สนั ตสิ ุข. (2549). ปา่ ของประเทศไทย. สาํ นักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพนั ธ์พุ ืช. กรุงเทพฯ: บริษัท ประชาชน จาํ กัด. อทุ ิศ กุฏอนิ ทร์. (2544). นเิ วศวิทยาพื้นฐานเพือ่ การป่าไม้. กรงุ เทพฯ: คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พฤกษศาสตร์ Botany
~ 195 ~ บรรณานุกรม จิตราภรณ์ ธวชั พันธ์ุ. (2548). หลกั อนุกรมวธิ านพชื . กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เต็ม สมิตินันทน.์ (2544). ชอื่ พรรณไม้แห่งประเทศไทย พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2 (ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม) สว่ น พฤกษศาสตร์ป่าไม้กรงุ เทพฯ: สานกั วิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, ประชาชน จากัด. เทยี มใจ คมกฤส. (2542). กายวิภาคศาสตร์ของพฤกษ์. พมิ พค์ ร้ังที 4. กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พ์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ธวัชชยั สนั ติสุข. (2549). ป่าของประเทศไทย. สานกั หอพรรณไม,้ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่าและพันธุพ์ ืช. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท ประชาชน จากัด. ประนอม จนั ทรโณทัย. (2544). อนกุ รมวิธานพืช. ภาควิชาชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . พวงผกา สุนทรชัยนาคแสง. (2548). กายวภิ าคและสัณฐานวิทยาของพชื มดี อก. กรุงเทพฯ: ภาควิชา พฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์. วยิ ดา เทพหตั ถี. (2552). ศัพทพ์ ฤกษศาสตร์ สาขาอนกุ รมวิธานพืช. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. สานักงานหอพรรณไม.้ (2018) หอพรรณไม.้ Retrieved June, 2018, from http://web3.dnp.go.th/botany/index.aspx สานกั งานราชบณั ฑิตยสภา. (2560). พจนานุกรมศพั ท์พฤกษศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรงุ เทพฯ: สานักงานราชบัณฑติ ยสภา. อทุ ศิ กุฏอินทร์. (2544). นิเวศวิทยาพื้นฐานเพื่อการปา่ ไม้. กรงุ เทพฯ: คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. Adema, F. (2006). Note on Malesian Fabaceae (Leguminosae-Papilionoideae) 12. The genus Crotalaria. Blumea 51: 309–332. Adema, F. & Barham, J. (2002). A New Species of Cruddasia (Leguminosae) from Thailand. Kew Bulletin 57(1): 223–226. Angiosperm Phylogeny Group (2003). An update of the Angiosperm Phylogeny Group classification for the orders and families of flowering plants: APG II. Botanical Journal of the Linnean Society 141(4): 399–436. Angiosperm Phylogeny Group. (2016). An update of the Angiosperm Phylogeny Group classification for the orders and families of flowering plants: APG IV, Botanical Journal of the Linnean Society, 181 (1): 1–20 Awasthi, D.K. (2009). Cryptogams (Algae, Bryophyta & Pteriodphyta). Meerut: Vimal Offset Printers. Backer, J.G. (1879). Flora of British India vol. 2. L. London: Reeve. Backer, C.A. & Bakhuizen van den Brink, R.C. (1963). Flora of Java. Vol. 1. N. V. P. Groninigen: Noordhoff. Beentje, H., & Williamson, J. (2010). The Kew Plant glossary: An illustrated dictionary of plant terms. Richmond, Surrey: Kew.
~ 196 ~ Bhojwani, S.S., Bhatngagar, S.P. & Dantu, P.K. (2015). The Embryology of Angiosperms 6th edition. Vikas publishing House PVT LTD. Buck, W.R. & Goffinet, B. (2000). Morphology and classification of mosses. In A.J. Shaw & B. Goffinet (eds.), Bryophyte Biology. Cambridge University Press. Campbell, N.A. & Reece, J.B. (2009). Biology 9th edition. San Francisco: Pearson Benjamin Cummings. Christenhusz, M. J. M. & Byng, J. W. (2016). The number of known plants species in the world and its annual increase. Phytotaxa. 261 (3): 201–217. Dittmer, H. J. (1964). Phylogeny and Form in the Plant Kingdom. New York: Van Norstrand Company, Inc. Duff, R.J., Villarreal, J.C., Cargill, D.C. & Renzaglia, K.S. (2007). Progress and challenges toward a phylogeny and classification of the hornworts. The Bryologist 110(2): 214–243. Goffinet, B. & William R.B. (2004). Systematics of the Bryophyta (mosses): From molecules to a revised classification. Harris, J. G., & Harris & M. W. (2001). Plant identification terminology: an illustrated glossary. 2nd edition. Spring Lake, Utah: Spring Lake Pub. Hickey, M. & King, C. (2000). The Cambridge Illustrated Glossary of Botanical Terms. Cambridge: Cambridge University Press. Hill, K. D., & Yang, S.-L. (1999). The Genus Cycas (Cycadaceae) in Thailand. Brittonia 51(1), 48. Hilton, J. & R. M. Bateman. 2005. Reassessing seed ferns in seed plant systematics, evolution and phylogeny. XVII International Botanical Congress, Vienna. Abstract 4.9.3, p. 68. James, M. (2003). An introduction to plant biology, 3rd edition. Canada and UK: Jones and Bartlett Publishers, Inc. Ji, Q., Li, H., Bowe, L.M., Liu, Y. & Taylor, D.W. (2004). Early Cretaceous Archaefructus eoflora sp. nov. with Bisexual Flowers from Beipiao, Western Liaoning. Acta Geologica Sinica 78(4): 883–896. Judd et al. (2015). Plant Systematics: A Phylogenetic Approach. Sunderland, MA: Sinauer Associates is an imprint of Oxford University Press. Kirkbride, J. (2005). Dupuya, a New Genus of Malagasy Legumes (Fabaceae). Novon 15(2), 305–314. Lack, A.J. & Evans, D.E. (2001). Plant Biology. Oxford: BIOS Scientific Publisher Ltd. Legume Phylogeny Working Group (LPWG). (2017). A new subfamily classification of the Leguminosae based on a taxonomically comprehensive phylogeny. Taxon 66(1): 44–77.
~ 197 ~ Lehtonen, S. (2011). Towards resolving the complete fern tree of life. PLoS ONE 6: e24851. Lewis, G.P. & Forest, F. (2005) Cercideae. In Lewis, G.P., Schrire, B., Mackinder, B. & Lock, M. (eds.) Legumes of the World. Royal Botanic Gardens, Kew, U.K. pp. 57–67. Leubner, G. (2000). The seed biology place. Retrieved July 29, 2018, from http://www.seedbiology.de/evolution.asp Mali, N.S., Tembhurne, R.R., Satpute, S.M. & Bhise, D.S. (2016). Hand book of practical botany. Solapur University. Mattapha, S. & Chantaranothai, P. (2012). The genus Indigofera L. (Leguminosae) in Thailand. Tropical Natural History 12(2): 207–244. Mattapha, S., Chantaranothai, P., & Suddee, S. (2017). Flemingia sirindhorniae sp.nov. (Leguminosae-Papilionoideae), a new species from Thailand. Thai Journal of Botany 9(1): 7–14. Mattapha, S. & Chantaranothai, P. (2018). Indigofera. In Balslev, H. & Chantaranothai, P. (eds), Flora of Thailand, 345–371, The Forest Herbarium, Department of National parks, Widlife and Plant Conservation., Bangkok, Thailand. Mauseth, J.D. (2009). Botany: an introduction to plant biology 4th ed. Replika Press. Niyomdham, C. (1978). In: Smitinand, T. (ed), A revision of the genus Crotalaria Linn. (Papilionaceae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 11: 105–181. Niyomdham, C. (1994). In: Santisuk,T. (ed), Key to the genera of Thai Papilionaceous plants. Thai Forest Bulletin (Botany) 22: 26–88. Niyomdham, C., HÔ, P.H., Phon, P.D. & Vidal, J.E. (1997). Flore du Cambodge Laos et du Viêt-Nam 23, Musêum National D’Histoire Naturelle, Paris. Niyomdham, C., HO, P.H., Phon, P.D. & Vidal, J.E. (1997). Flore du Cambodge Laos et du Viêt-Nam 29, Musêum National D’Histoire Naturelle, Paris. Niyomdham, C. (2002). In: Santisuk,T. (ed), An account of Dalbergia (Legumiosae- Papilionoideae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 30: 124–166. Norstog, K. and Long, R. W. (1976). Plant biology. Saunders College Publishing. Pendarvis, M.P. and Crawley, J.L. (2018). Exporing Biology in the Laboratory 3rd. Morton Publishing Company, USA. Pp 832. Phengklai, C. (2005). Two new species of Diospyros (Ebenaceae) from Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 33: 157–160. Polhill, R.M. & Raven, P.H. (1981). Advances in legume systematics. Part 1. Kew, U.K. Pooja, D. (2004). Pteridophyta. New Delhi: Discovery Publishing House. PPG, I. (2016). A community-derived classification for extant lycophytes and ferns. Journal of Systematics and Evolution. 54: 563–603. Pryer, K. M., & Schuettpelz, E. (2009). Ferns (Monilophyta). In S. B. Hedges and S. Kumar [eds.], The time tree of life, 53–156. New York: Oxford University Press.
~ 198 ~ Pryer, K. M., Schuettpelz, E., Wolf , P. G., Schneider, H., Smith A.R. & Cranfill, R. (2004). Phylogeny and evolution of ferns (monilophytes) with a focus on the early leptosporangiate divergences. American Journal of Botany 91: 1582–1598. Rai, H. & Graham, S. W. (2010). Utility of a large, multigene plastid data set in inferring higher-order relationships in ferns and relatives (monilophytes). American Journal of Botany 97: 1444–1456. Saxena, N.P. (2011). Objective Botany. Meerut: Vimal Offset Printers. Simpson, M. (2006). Plant Systematic. Canada: Elsevier Academic Press. Singh, V., Pande, P.C. & Jain, D.K. (2008). A Textbook of Botany: Diversity of Microbes and Cryptogams 4th edition. New Delhi: Capital Offset Press. Sumesh N. D., Subhash C. M. D. & Ramachandra, T. V. (2011). Conservation of pteridophytes to maintain vital link between lower and higher group of plants (pdf) diversity of pteridophytes in western ghats. available from: https://www.researchgate.net/publication/257160594_Diversity_of_Pteridophytes_in_ Western_Ghats?_sg=53VP4w0elGkORwd95xP38R6aJZK50lquL- LdyKvTiRwSwrMiwq87PfSzaAjWkKrZ0OaNwj75ng [accessed July 16 2018]. Söderström et al. (2016). World checklist of hornworts and liverworts. Phytokeys 59: 1–826. The Angiosperm Phylogeny Group (1998). An ordinal classification for the families of flowering plants. Annals of the Missouri Botanical Garden. 85 (4): 531–553. Vashishta, P.C., Sinha, A.K., Kumar, A. (2009). Botany for Degree students Pteridophyta (Vascular Cryptogams. Rajendra Ravindra Printers (Pvt.) Ltd. Villareal, J. C., Cargill, D. C., Hagborg, A., Söderström, L. & Renzaglia, K. S. (2010). A synthesis of hornwort diversity: Patterns, causes and future work. Phytotaxa 9: 150–166. Walton & Aston Classification In: the Manual of Pteridology, Verdoorn, F., ed. (1938): Manual of Pteridology: J. Walton and A. H. G. Alston, Lycopodinae, pp. 500-506. Martinus Nijhoff, The Hague. 640 pp. Weststrand, S. & Korall, P. (2016), A subgeneric classification of Selaginella (Selaginellaceae). American Journal of Botany 103 (12): 2160–2169. Wikipedia contributors. (2018). International Code of Nomenclature for algae, fungi, and plants. In Wikipedia, The Free Encyclopedia. Retrieved August 22, 2018, from https://en.wikipedia.org/w/index.php?title=International_Code_of_Nomenclature_for_ algae,_fungi,_and_plants&oldid=863441369. Zhou, X.-M. & Zhang, L.-B. (2015). A classification of Selaginella (Selaginellaceae) based on molecular (chloroplast and nuclear), macromorphological, and spore features. Taxon 64 (6): 1117–1140.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224