Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รองเท้านารีดอยตุง

รองเท้านารีดอยตุง

Description: รองเท้านารีดอยตุง

Search

Read the Text Version

รองเทา้ นารที ด่ี อยตงุ The Lady’s Slipper Orchid at Doi Tung







บทน�ำ “ถ้าเผื่อไมม่ ีโครงการพัฒนาดอยตุง ก็ไม่มาสร้างที่น่ี ไมม่ าอยู่ทนี่ ี่ เพราะมีโครงการพฒั นาดอยตงุ จงึ ไดม้ าอยทู่ ่ีน”ี่ พระราชด�ำ รสั สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี ดอยตุุงในอดีีต เป็็นพื้�้นที่่�ป่่าสงวนบนเทืือกดอยสููงที่�่แทบจะตััดขาดจากโลกภายนอก ไม่่มีีแม้้แต่่สาธารณููปโภคขั้�นพื้้�นฐาน ถนน หนทาง ทางการเข้้ามาดููแลได้้ไม่่ทั่่�วถึึง ผู้้�คนในพื้้�นที่�่เป็็นกลุ่่�มชาติิพัันธุ์�ที่�่ไม่่มีีสััญชาติิ เอาชีีวิิตรอดด้้วยการถางป่่า ทำำ�ไร่่หมุุนเวีียน ผืืนป่า่ จึงึ ถูกู รุกุ รานจนกลายเป็น็ ภูเู ขาหัวั โล้น้ มีเี พียี งทุ่�งดอกฝิ่น่� ที่บ�่ านสะพรั่่ง� เป็น็ ความงามที่บ่� ันั ดาลได้ท้ ั้้ง� เงินิ ตราและความหายนะ แก่ธ่ รรมชาติติ ลอดจนชีวี ิติ มนุษุ ย์์ ชีวี ิติ แร้น้ แค้น้ ไม่รู่้�ว่าวันั ต่อ่ ไปจะมีอี ะไรให้ค้ รอบครัวั ได้ป้ ระทังั ชีวี ิติ ต้อ้ งหันั ไปพึ่่ง� พิงิ สิ่่ง� ผิดิ กฎหมาย ไม่่ว่่าจะปลููกฝิ่่�น ค้้ายาเสพติดิ หรืือแม้แ้ ต่่ขายลููกสาว ในปีี 2530 สมเด็็จพระศรีีนคริินทราบรมราชชนนีีหรืือสมเด็็จย่่าของปวงชนชาวไทย เสด็็จพระราชดำ�ำ เนิินมายัังพื้้�นที่�่บริิเวณหน่่วย อนุุรัักษ์์ต้้นน้ำ�ำ� 31 ดอยตุุง ทอดพระเนตรสภาพพื้�้นที่่� และเข้้าพระทััยดีีว่่า เรื่�องที่่�เห็็นไม่่ว่่าเรื่�องการตััดไม้้ทำ�ำ ลายป่่า ยาเสพติิด กองกำ�ำ ลังั ต่า่ งด้า้ วที่แ�่ ฝงตัวั ในดินิ แดนไทยมีตี ้น้ เหตุสุ ำำ�คัญั คืือความยากจนและขาดโอกาสในชีวี ิติ จึงึ ทรงมีพี ระราชดำ�ำ ริทิ ี่จ่� ะแก้ไ้ ขปัญั หา ฟื้้�นฟููทั้้�งป่่าและธรรมชาติิ พร้้อมกัันกัับทำำ�ให้้คนมีีชีีวิิตที่�่ดีี ชีีวิิตที่่�สุุจริิต ไม่่ต้้องหลบหนีี ซุุกซ่่อน เกรงกลััวกฎหมายอีีกต่่อไป โดยทรงเน้น้ เสมอว่า่ “ช่ว่ ยเขาให้เ้ ขาช่ว่ ยตัวั เอง ต้อ้ งนึกึ ว่า่ ถ้า้ ไม่ม่ ีเี ราอยู่่�ตรงนี้้� เขาจะอยู่�ได้ไ้ หม หรืือจะเลิกิ ไปเลย” นี่่ค� ืือจุดุ กำำ�เนิดิ ของ โครงการพัฒั นาดอยตุงุ (พื้น้� ที่ท่� รงงาน)อันั เนื่่อ� งมาจากพระราชดำำ�ริิและทรงตัดั สินิ พระทัยั ที่จ�่ ะสร้า้ ง“บ้า้ นที่ด่� อยตุงุ ”เพื่่อ� เป็น็ ที่ท�่ รงงาน พัฒั นาฟื้้น� ฟูปู ่่าและคุุณภาพชีวี ิิตราษฎรควบคู่่�กันั ด้ว้ ยพระราชดำำ�ริขิ องสมเด็จ็ ย่า่ ที่ท�่ รงเชื่อ� มั่่น� ในศักั ยภาพของมนุษุ ย์์ มูลู นิธิ ิแิ ม่ฟ่ ้า้ หลวง ในพระบรมราชูปู ถัมั ภ์์ ดำ�ำ เนินิ โครงการพัฒั นา ดอยตุุงฯ ตั้้�งแต่่ปีี 2531 เป็็นต้้นมา อัันเป็็นจุุดเริ่�มต้้นของแนวทางการพััฒนาทางเลืือกในการดำำ�รงชีีวิิตที่่�ยั่่�งยืืน (Sustainable Alternative Livelihood Development-SALD) ที่่�เห็็นผลเชิงิ ประจัักษ์์ มีตี ัวั ชี้�วัดั ชัดั เจนและสามารถขยายผลไปช่่วยพื้้�นที่อ�่ ื่่�น ๆ ทั้้�งในและต่า่ งประเทศ ได้ร้ ับั การยอมรับั ให้เ้ ป็็นต้น้ แบบของการพััฒนาที่ย�่ ั่่�งยืืน ดอยตุงุ ในอดีตี นั้้น� ไม่เ่ พียี งไม้ใ้ หญ่จ่ ะถูกู ตัดั โค่น่ ทำ�ำ ลายลง แต่พ่ ันั ธุ์ไ� ม้ข้ นาดเล็ก็ เช่น่ กล้ว้ ยไม้ร้ องเท้า้ นารีดี อยตุงุ (Paphiopedilum charlesworthii) ซึ่ง� มีีถิ่่น� กำำ�เนิดิ บริเิ วณผืืนป่า่ หินิ ปูนู “ผาฮุ้้�ง” อัันเป็น็ ป่า่ ดั้้ง� เดิมิ แห่ง่ สุดุ ท้า้ ยบนดอยตุุงก็็เกืือบจะสูญู หายไปด้้วย สมเด็็จย่่าสนพระทััยและทรงศึึกษาต้้นกล้้วยไม้้รองเท้้านารีีมานานแล้้ว เมื่่�อเสด็็จประพาสพื้้�นที่�่ทุุรกัันดารเพื่่�อเยี่่�ยมเยีียนราษฎร ในพื้้�นที่่�ใดที่ม่� ีตี ้น้ กล้ว้ ยไม้ร้ องเท้า้ นารีี จะเสด็จ็ ไปทอดพระเนตรถึึงที่�ท่ ี่เ่� ป็น็ ถิ่่น� กำำ�เนิดิ ทรงมีีความห่่วงใยว่า่ ต้้นกล้ว้ ยไม้ร้ องเท้า้ นารีี มีีจำำ�นวนลดลง ถููกนำำ�ออกมาจากป่่าเพื่่�อขาย จนอาจจะสููญพัันธุ์�ไปได้้ในที่�่สุุด อย่่างเช่่น รองเท้้านารีีดอยตุุง ในปีี 2537 ทรงมีี พระราชดำ�ำ ริใิ ห้ม้ ูลู นิธิ ิแิ ม่ฟ่ ้า้ หลวงฯ ดำ�ำ เนินิ การรวบรวมพันั ธุ์ร� องเท้า้ นารีตี ่า่ ง ๆ เพื่่อ� ศึกึ ษา วิจิ ัยั และขยายพันั ธุ์� ปลูกู คืืนสู่่�ป่า่ และผลิติ เพื่่อ� จำ�ำ หน่า่ ยให้แ้ ก่ผ่ ู้�้ที่น�่ ิยิ มไม้น้ ี้้� 3

มููลนิิธิิแม่่ฟ้้าหลวงฯ จััดทำ�ำ หนัังสืือเล่่มนี้้�ขึ้�น เพื่่�อเป็็นความรู้้�เบื้้�องต้้นเกี่่�ยวกัับรองเท้้านารีีสกุุลต่่าง ๆ ที่�่โครงการพััฒนาดอยตุุงฯ ได้้ รวบรวม ศึกึ ษาและพัฒั นาสายพันั ธุ์ม� านานกว่า่ 20 ปีี เป็น็ รองเท้า้ นารีที ี่ม่� ีถี ิ่่น� กำำ�เนิดิ ในประเทศไทย รองเท้า้ นารีที ี่ม�่ ีถี ิ่่น� กำำ�เนิดิ ในต่า่ ง ประเทศ และรองเท้้านารีีลููกผสม โดยหวังั ที่จ�่ ะเผยแพร่่เรื่�องราวของกล้ว้ ยไม้้รองเท้า้ นารีใี ห้้เป็น็ ที่ร�่ ู้้�จักั มากขึ้น� ทั้้�งยัังแสดงให้้เห็น็ ว่่า ในการพัฒั นาอย่า่ งยั่่ง� ยืืนนั้้น� ไม่่เพียี งใส่ใ่ จแค่่ด้า้ นเศรษฐกิิจ สังั คม แต่่จะต้้องรวมถึงึ การดููแลรักั ษาสิ่่�งที่่�มีอี ยู่�ให้้ดีี และทำำ�ให้้ดีีขึ้�นได้้ แม้จ้ ะเป็็นเพีียงต้้นไม้้กอเล็็ก ๆ ในป่่า ด้้วยการทำำ�ให้้ทั้้�งคนและป่า่ อยู่่�ร่ว่ มกััน และเจริญิ เติิบโตไปพร้้อมกััน นอกจากนี้้� การรวบรวม และขยายพัันธุ์� ยังั เปิิดโอกาสให้ร้ องเท้า้ นารีี สามารถเข้้าสู่่�ตลาดการค้้าได้อ้ ย่่างถูกู กฎหมาย และธรรมชาติิไม่ถ่ ููกรุุกรานอีีกต่่อไป 4

Introduction “If there was no the Doi Tung Development Project, I would not have built here. The only reason I came to live here is because of the Doi Tung Development Project.” Statement by Her Royal Highness Princess Srinagarindra, the Princess Mother In the past, Doi Tung was a forest preserve located on a high mountain range that was almost cut off from the rest of the world. It lacked any of the basic public amenities; and the absence of access by road meant that the local people were effectively forgotten and ignored by the authorities. These villagers were stateless ethnic minorities who survived by cutting down the forests to fuel their shifting cultivation. Thriving and ancient forests soon gave way to denuded hillsides, covered instead by beautiful but deadly poppy fields. Opium may have brought in much-needed cash but it also caused the destruction of the environment and human lives – increasingly addicted to opium. This forgotten population, mired in poverty, had no other way to feed their families than to turn to the apparent rewards promised by illicit livelihoods – narcotic crop cultivation, drug trafficking and even human trafficking. In 1987, Her Royal Highness Princess Srinagarindra, the Princess Mother visited the 31st Ton Nam Conservation Unit, Doi Tung. When she saw the condition of the surroundings, she immediately understood the nature and the scale of the problems she saw - the forest degradation, drugs, the militia embedded among the locals - were all the result of one main factor - poverty and the lack of opportunity in life. It was at this moment that she decided to try and solve these problems and to restore the forest and the natural environment. In so doing, she would improve the well-being of the people. In addition, she realised that they would move into honest livelihoods and the legal economy and would no longer have to keep hiding from the arms of the law. The Princess Mother always emphasised, “We have to help people to help themselves. We have to keep in mind that when we are no longer here, will they be able to continue to survive, or will they give up - reverting to their old ways?” So, these were the origins of the Doi Tung Development Project, and with them came the decision to build “the house at Doi Tung” which she used as her base to carry out both her reforestation and development projects. AsaresultofthePrincessMother’sfaithinhumanpotential,theMaeFahLuangFoundationunderRoyalPatronage(MFLF) initiated the Doi Tung Development Project (DTDP) in 1988, and this became the starting point of the Sustainable Alternative Livelihood Development (SALD) model that has earned an internationally recognised and proven track 5

record, confirmed through clear and measurable indicators, and which can and has been replicated in various outreach projects both within and outside the country. It is now recognized as the model for sustainable develop- ment. But during this environmentally-challenging past, Doi Tung had not only lost its unique and original forest cover; but also smaller plants such as the Lady’s Slipper orchid (Paphiopedilum charlesworthii) which is endemic to the limestone cliffs of Pha Hung; Both the forest and the orchid were almost on the verge of extinction. The Princess Mother had long been interested in the Lady’s Slipper orchid and had done much research on the plant. Whenever she visited villagers in remote areas where the Lady’s Slipper grew, she would go and observe them in their natural habitat. The Princess Mother was in particular concerned about the dwindling numbers due to poaching for commercial purposes and the volumes involved threatened to wipe them out – as indeed was the situation in 1994. At this point The Princess Mother instigated a programme through the MFLF to collect as many species of the orchid as possible for the purpose of research and propagation in order to return them to the forest, and then – the population restored - to sell to orchid collectors. The MFLF has published this book to provide basic information about the different species of the Lady’s Slipper orchid compiled, studied and developed by the DTDP for over 20 years. These include species that are endemic to Thailand and to other countries, as well as hybrids, with the aim of promoting knowledge of the Lady’s Slipper orchid. It also shows that sustainable development is not only limited to the economic and social well-being of a community, but also to all existing elements within that community, from the smallest elements such as tiny wild plants, to ensuring that man and nature can coexist in harmony, mature together and benefit each other. The Lady’s Slipper propagation programme has also allowed the Lady’s Slipper to become a legal and commercially viable product, returning to its place in the local environment. 6

สารบญั Contents โครงการพฒั นาดอยตุง (พน้ื ท่ที รงงาน) อันเน่อื งมาจากพระราชด�ำ ริ 9 THE DOI TUNG DEVELOPMENT PROJECT ปา่ ดงั้ เดมิ ของดอยตุง 21 DOI TUNG’S ORIGINAL FOREST รองเทา้ นาร ี 31 THE LADY’S SLIPPER ORCHID การปลกู เลีย้ งรองเทา้ นาร ี 147 LADY’S SLIPPER CULTIVATION 7

8

โครงการพฒั นาดอยตงุ (พนื้ ที่ทรงงาน) อนั เนือ่ งมาจากพระราชด�ำ ริ THE DOI TUNG DEVELOPMENT PROJECT 9

10

11

“ไมม่ ีใครอยากเปน็ คนไม่ดี แตท่ เี่ ขาไม่ดี เพราะไมม่ โี อกาสและทางเลือก” พระราชด�ำ รสั สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี โครงการพััฒนาดอยตุุง (พื้้�นที่่�ทรงงาน) อัันเนื่่�องมาจากพระ เกษตรกรดููแลต้้นกาแฟแล้้ว ยัังต้้องรัักษาพื้้�นที่�่ป่่าที่่�ใช้้เป็็นที่�่ทำ�ำ ราชดำำ�ริิ ตั้้�งอยู่�ที่่�อำำ�เภอแม่่ฟ้้าหลวง จัังหวััดเชีียงราย เป็็นหนึ่่�ง กินิ ด้ว้ ยและสำำ�หรับั พืืชเศรษฐกิจิ อย่า่ งแมคคาเดเมียี พืืชเคี้้ย� วมันั ในโครงการหลัักของมููลนิิธิิแม่่ฟ้้าหลวง ในพระบรมราชููปถััมภ์์ ที่�่ราคาแพงที่�่สุุด เป็็นไม้้ลำ�ำ ต้้นใหญ่่ อายุุยืืนถึึง 80-100 ปีี เริ่�มโครงการในปีี 2531 ตามพระราชดำำ�ริิของสมเด็็จย่่าที่�่จะ ทำ�ำ หน้้าที่่�เป็็นทั้้�งป่่าที่�ไ่ ม่ท่ ิ้้ง� ใบและป่่าที่่�สร้้างรายได้้ที่่�มั่่น� คง สร้้างทางเลืือก สร้้างโอกาสในการดำ�ำ รงชีีวิิต หลัักการคืือ การ การพััฒนาคน คืือการสร้้างงานสร้้างโอกาสให้้ทุุกคนทุุกวััย แก้้ปััญหาที่�่วนเวีียนเป็็นวงจรชีีวิิตของคนบนดอยตุุง คืือ ความ ผู้�้หญิิงของทุุกชนเผ่่ามีีทัักษะการเย็็บปัักถัักทอ ผลิิตภััณฑ์์งาน เจ็บ็ ความจน และความไม่รู่้� การแก้ป้ ัญั หาของคนจึงึ ต้อ้ งเริ่ม� จาก ฝีีมืือภายใต้้แบรนด์์ดอยตุุงจึึงเกิิดขึ้�น ทั้้�งผ้้าทอ เสื้�้อผ้้า เครื่�อง “การพัฒั นาคน” ชาวบ้า้ นต้อ้ งอิ่่ม� ท้อ้ ง มีรี ่า่ งกายที่แ่� ข็ง็ แรง ปลอด แต่่งบ้้าน เซรามิิก กระดาษสา ล้้วนรองรัับความสามารถหลาก โรคก่อ่ นแล้ว้ ช่ว่ ยให้เ้ ขามีงี านทำ�ำ พัฒั นาทักั ษะ สอนวิธิ ีกี ารทำ�ำ งาน หลายของชาวดอยตุงุ แบบใหม่่ สร้า้ งงาน สร้า้ งรายได้้ที่่ม� ั่่�นคง ควบคู่�ไปกัับการฟื้น้� ฟูปู ่่า และสิ่่ง� แวดล้อ้ ม เพราะทุกุ เรื่อ� งล้ว้ นเกี่่ย� วพันั กันั ทั้้ง� คุณุ ภาพชีวี ิติ “ชว่ งทโ่ี ครงการพฒั นาดอยตงุ ฯ ตงั้ หอ้ งแลบ็ เพาะเนอ้ื เยอ่ื เปน็ ชว่ ง ของคนในพื้้น� ที่่� ป่่า สิ่่�งแวดล้อ้ ม รวมทั้้ง� ความมั่่�นคงของประเทศ ท่ี มอี าชพี พิสดารในดอยตุง คือ ตกเขียว บางพวกพอ่ แมเ่ อาไปขาย โดยนำำ�แนวพระราชดำ�ำ ริิการพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืนตามศาสตร์์พระราชา เขาก็ไม่ได้อยากไป เขาไม่ได้ฝักใฝ่จะไปทำ�อาชีพนั้น แต่แม่จะเอา ของพระบาทสมเด็จ็ พระบรมชนกาธิเิ บศร มหาภูมู ิพิ ลอดุลุ ยเดช บ้านใหม่บ้างล่ะ จะดูทีวีบ้างล่ะ จะเอามอเตอร์ไซค์ให้ลูกชายข่ีไป มหาราชบรมนาถบพิิตร และตำำ�ราแม่่ฟ้้าหลวงของสมเด็็จย่่ามา โรงเรียน ส่วนใหญ่เป็นเรื่องกตัญญูซะเยอะ พอตอนหลังกลับมา เป็น็ หลัักในการทำ�ำ งาน แล้วก็มาอยู่กับผมที่ห้องแล็บ เพราะฉะนั้น นโยบายเราคือสร้าง โครงการพััฒนาดอยตุุงฯ เริ่�ม “ปลููกคน” ด้้วยการสร้้างโอกาส งานให้ได้มากท่ีสุด แม้จะตรวจเลือดเจอว่าเป็นเอดส์ก็ไม่เป็นไร สร้้างทางเลืือกสุุจริิตที่�่หลากหลายในการดำำ�รงชีีวิิต เปลี่่�ยนคน ยังไงเราก็จ้าง เราช่วยรักษาความลับให้และให้กำ�ลังใจอย่างดี ให้ ที่�่เคยปลููกฝิ่่�นให้้เป็็นคนงานปลููกป่่า สร้้างรายได้้ระยะสั้้�น และ โอกาสทำ�งาน พยายามทุกอย่างที่จะสกัดการตกเขียว ไม่ให้กลับ เกิิดการเรีียนรู้�การเกษตรที่�่ถููกต้้อง จากนั้้�นก็็สร้้างทัักษะเกษตร ไปขายตัวอกี ” ประณีีต ปลููกไม้้ดอกเมืืองหนาว จััดตกแต่ง่ แปลงดอกไม้้ในสวน ดร.อุทัย จารณศรี นักวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืช (2487-2562) แม่่ฟ้้าหลวง คนสวนที่่�มีีความสามารถก็็ออกไปทำ�ำ กิิจการปลููก ผกู้ ่อตัง้ หนว่ ยงานเพาะเลย้ี งเนอื้ เย่ือของมูลนธิ แิ มฟ่ ้าหลวงฯ เป็น ไม้้ดอกส่่งขายสวนแม่่ฟ้้าหลวง คนรุ่�นใหม่่หนุ่่�มสาวก็็เรีียนรู้�การ หนึ่งในหน่วยงานท่ีสร้างงานให้คนดอยตุงโดยเฉพาะกลุ่มผู้หญิง เพาะเลี้้�ยงเนื้�้อเยื่่�อ (Tissue culture) ที่่�ใช้้เทคนิิคและความ เพิ่มทางเลือกอาชีพสุจริต ลดจำ�นวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีได้อย่างมี ละเอีียดอ่่อนสููงขึ้ น� นัยส�ำ คัญ บางกลุ่่�มได้ร้ ับั การอบรมเรื่อ� งเกษตรเชิงิ อุตุ สาหกรรม โครงการฯ ได้ป้ ลูกู พืืชเศรษฐกิจิ เพื่่อ� แปรรูปู อันั เป็น็ การสร้า้ งรายได้ร้ ะยะยาว จากการฟื้้�นฟููธรรมชาติิ ป่่าเขา และการพััฒนาศัักยภาพของคน กาแฟเป็น็ ไม้ท้ ี่อ�่ าศัยั ร่ม่ เงาของป่า่ ปลูกู ในความสูงู ที่เ�่ หมาะสมจะ ดอยตุุงจึึงเป็็นจุุดหมายปลายทางสำ�ำ คััญของการท่่องเที่่�ยวของ ให้ค้ ุณุ ภาพที่ด�่ ีี เกษตรกรไร่ก่ าแฟได้ร้ ับั การอบรมจากผู้เ�้ ชี่ย� วชาญ ภาคเหนืือ สร้้างสีีสััน ศัักดิ์์�ศรีี และชีีวิิตที่�่มีีอนาคตแก่่ชาวบ้้าน ระดัับโลก กาแฟที่�่ผลิิตได้้จึึงเป็็นกาแฟระดัับพรีีเมี่่�ยม นอกจาก ทั้้ง� บนดอยและพื้น�้ ที่ใ�่ กล้เ้ คีียง ผลจากการพััฒนา “ปลููกป่่า ปลููกคน” เพิ่่�มพื้�้นที่�่ป่่าดอยตุุง ซึ่ง� เคยเหลืือเพียี งร้อ้ ยละ 28 ในปีี 2531 กลับั กลายเป็น็ ร้อ้ ยละ 86.8ในอีกี 30ปีถี ัดั มาจากการปลูกู “ป่า่ อนุรุ ักั ษ์์”อันั เป็น็ ป่า่ ต้น้ น้ำ��ำ 12

ลำ�ำ ธารร้อ้ ยละ68.5“ป่า่ เศรษฐกิจิ ”ที่ส�่ ร้า้ งรายได้ร้ ะยะยาวร้อ้ ยละ ของโครงการพััฒนาดอยตุุงฯ ด้้วย “การพััฒนาทางเลืือกในการ 14.9 รวมไปถึงึ “ป่า่ ยังั ชีพี หรืือป่า่ ใช้ส้ อย” ที่ช�่ าวบ้า้ นสามารถใช้ข้ อง ดำ�ำ รงชีีวิิตที่่�ยั่่�งยืืน” (Sustainable Alternative Livelihood ป่า่ ในชีวี ิติ ประจำ�ำ วันั ได้้ ร้อ้ ยละ 3.4 ทำ�ำ ให้ช้ าวบ้า้ นยืืนได้ด้ ้ว้ ยตัวั เอง Development-SALD) นำำ�ไปสู่่�โครงการขยายผลในพื้�น้ ที่�่อื่่�น ๆ อย่า่ งสุจุ ริติ มีรี ายได้เ้ พิ่่ม� ขึ้้น� จากเมื่่อ� แรกดำ�ำ เนินิ โครงการฯ3,772บาท ทั้้ง� ในประเทศ เช่น่ น่่าน เชียี งใหม่่ และต่า่ งประเทศ เช่น่ เมียี นมา ต่อ่ คนต่อ่ ปีี เป็น็ 106,774 บาทต่อ่ คนต่อ่ ปีี ในปีี 2561 ลูกู หลาน อัฟั กานิสิ ถาน และอินิ โดนีเี ซียี สามารถยกระดับั คุณุ ภาพชีวี ิติ คน ได้้รัับการศึึกษาสามารถเรีียนต่่อในระดัับอุุดมศึึกษา โดยมููลนิิธิิ ทั้้�งด้้านเศรษฐกิิจ สัังคม วััฒนธรรม สิ่่�งแวดล้้อม นำ�ำ พาคนหลุุด แม่ฟ่ ้า้ หลวงฯ สนับั สนุนุ ทุนุ การศึกึ ษาทุกุ ปีี ประมาณ 20 ทุนุ ต่อ่ ปีี พ้้นจากวงจรแห่่งความเจ็็บ ความจน และความไม่่รู้� ได้้เป็็นผล ความสำ�ำ เร็็จในการแก้้ปััญหาความยากจนและฟื้�้นฟููสิ่่�งแวดล้้อม สำำ�เร็็จ กระทั่่�งได้้รัับการยอมรัับในเวทีีโลกว่่า เป็็นการพััฒนาที่�่ เห็น็ ผลจับั ต้อ้ งได้้ 13

การพัฒนาทางเลือกในการดำ�รงชีวิตอย่างยั่งยืน (Sustainable Alternative Livelihood Development-SALD) เป็นแนวทางการ พัฒนาแบบองคร์ วมที่ยึดการพัฒนาคนเปน็ ศูนยก์ ลาง แกป้ ญั หาความยากจนและการขาดโอกาส ซึ่งเปน็ รากเหงา้ ของปญั หาสงั คมตา่ ง ๆ เช่น การปลูกและค้ายาเสพติด การค้ามนุษย์ สังคมอ่อนแอ ส่งิ แวดล้อมเสื่อมโทรม ตลอดจนปัญหาสุขภาพ เพื่อให้คนมีคุณภาพชีวิตท่ี ดีอย่างยัง่ ยนื มีรายไดเ้ ลย้ี งตัวเองได้ด้วยอาชีพทชี่ อบด้วยกฎหมาย เป็นแนวทางการพัฒนาท่ี มลู นธิ ิแมฟ่ ้าหลวงฯ ใช้ด�ำ เนนิ งานพฒั นาใน พื้นท่ีโครงการพัฒนาดอยตุงฯ รวมถึงในพื้นท่ีโครงการอื่นทั้งในไทยและต่างประเทศ และสามารถเปล่ยี นคนยากจน ชุมชนท่ีอ่อนแอไม่ ม่ันคง และต้องการการพ่ึงพาทางเศรษฐกิจ ไปสู่ชุมชนที่มีภูมิคุ้มกัน ยืนด้วยตัวเองได้ สามารถพัฒนาตัวเองต่อไปได้ และมีสำ�นึกรับผิด ชอบตอ่ สังคมและสิ่งแวดลอ้ มในที่สุด 14

Sustainable Alternative Livelihood Development (SALD) is a holistic development concept based on a people- centric approach, aimed at addressing poverty and lack of opportunity that are the scourge of various social issues such as narcotic crop cultivation and trafficking, human trafficking, vulnerable societies, environmental degradation, and health issues. It has enabled the target group to have an improved and sustainable quality of life, and sufficient income gained through legitimate means. This was the development model used by the MFLF in the DTDP and other outreach projects in Thailand and overseas. It changed communities that were poor, vulnerable and unstable, ones that needed economic support, to communities that had developed immunity, were self-sufficient and capable of taking ownership of their own development – all with a sense of responsibility towards their own society and the environment. 15

“No one wants to be bad, but not everyone has the opportunity to be good.” Her Royal Highness Princess Srinagarindra, the Princess Mother The Doi Tung Development Project (DTDP) is located created Mae Fah Luang Gardens. Skilled gardeners at Mae Fah Luang District, Chiang Rai Province. It is the were able to set up their own flower nurseries flagship project of the Mae Fah Luang Foundation under and become suppliers to the gardens. Through Royal Patronage (MFLF), established in 1988 following this the younger generation learned even more the vision of the Princess Mother to provide alternatives sophisticated techniques such as tissue culture and livelihood opportunities for the local people. that required even greater technical knowhow. At the heart of the issue was the vicious life-cycle of “DuringtheperiodwhentheDTDPwassettingupthetissue people living on Doi Tung – sickness, poverty and lack culturelaboratory,arevoltingtradewasrevealed –child of education. The solution to this problem, therefore, trafficking for the sex industry. Sometimes parents sold had to begin with filling the people’s stomachs, making their children without their consent. The children had themhealthyandgivingthemvocationalskills,providing no wish to work in this industry, but perhaps the mother jobs and a stable income. In addition projects were wanted a new house, a TV set, or a motorcycle so her conceived that restored the forests and the natural son could ride to school. It was usually undertaken due environment and which had a direct impact on to a sense of obligation towards the parents. When the quality of life for the villagers in the area and they eventually returned to their homes in Doi Tung, for the stability of the country. The development they would come and work with me at the tissue culture work was based on the sustainable development laboratory, so our policy was to create as many jobs as practices of His Majesty King Bhumibol Adulyadej the possible to absorb them. Even if they tested positive for Great, known as “the King’s Wisdom”, and was combined HIV/Aids, it was not a problem; we would still employ with the Mae Fah Luang Development Model. them. We would protect their secret and give them The DTDP began with a phase that sought to medical and moral support and job opportunities, in “cultivate people” by offering them opportunities short anything that would prevent sex trafficking of and alternatives for legitimate livelihoods, children, and prevent young girls from reverting to moving from their former dependency on opium the sex industry.” cultivation to reforestation. This provided not only Dr Uthai Charanasri, plant research specialist (1944- immediate wage income, but also gave them 2019), founder of the MFLF tissue culture laboratory an insight into proper agricultural techniques. which created jobs for Doi Tung villagers particularly From there, they moved into more sophisticated girls, providing them with an alternative and legal agricultural methods, growing temperate climate occupation, thereby reducing the rate of HIV/Aids flowers and landscaping flower beds at the newly infections drastically. Some groups were trained in industrial agriculture, since the DTDP had started to plant economic forests where the products required further down-stream processing and this provided opportunities for longer-term income. Coffee plants could be grown 16

under a forest canopy (tree-shaded), and when As a result of the “cultivate land, cultivate people” grown at a suitable altitude, would yield quality crops. development concept, the forest cover on Doi Tung, Coffee farmers received training from international which had dropped to 28% in 1988, increased to experts enabling them to produce premium coffee in 86.8% within 30 years. This comprised 68.5% of an ideal environment. Not only did the coffee farmers watershed conservation forest, and 14.9% economic have to care for their coffee plants, they also had to forest that provided long-term incomes, as well as protect the surrounding forests which protected their 3.4% utility forest for local foraging purposes. In this source of income. way, villagers were able to become self-sufficient Macadamia was another attractive commercial crop, through legitimate means. Their per capita income at since macadamia nuts are the most expensive nuts in the start of the project was 3,772 baht, and this had the world. They are large trees and live up to 80-100 grown to 106,774 baht in 2018. All children received years, providing a perennial forest cover that creates an education and many continued to university level a stable income for farmers. through approximately 20 scholarships per year offered by the MFLF. “Cultivatepeople”meanscreatingjobsandopportunities The success of the DTDP’s efforts to eradicate poverty for people of all age groups. The women of every and restore the natural environment through ethnic tribe possess skills in sewing and embroidery, “Sustainable Alternative Livelihood Development which led to the development of products under the (SALD)” led to further outreach projects in other areas DoiTung brand, ranging from handwoven textiles of the country such as Nan and Chiang Mai Province, and clothing to home decorative items, ceramics and as well as overseas in countries andculturesasdiverse mulberry paper. All these items reflect the diverse as Myanmar, Afghanistan and Indonesia. In all cases, skills of the Doi Tung villagers. they succeeded in improving the well-being of the As a result of the reforestation efforts and the people in various aspects, from their social and development of human potential, Doi Tung became economic well-being to their culture and environment, a popular tourist destination in the north of Thailand, helping to break the vicious cycle of poverty, sickness bringing additional jobs and revenue to the area, and lack of education. Doi Tung has been acknowledged vitality, dignity and a chance for a better life for the on the world stage as a very successful development villagers on the mountain and surrounding areas. model that has provided tangible results. 17

18

“เจา้ หนา้ ท่ี ปา่ ไมค้ วรจะปลกู ตน้ ไมล้ งในใจคนเสยี กอ่ น แลว้ คนเหลา่ นน้ั กจ็ ะพากนั ปลกู ตน้ ไมล้ งบนแผน่ ดนิ ” พระราชด�ำ รสั พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร “Forestry officials should reforest people’s hearts first, and together they will go on and reforest the land.” Statement by His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great 19

20

ป่าดงั้ เดมิ ของดอยตุง DOI TUNG’S ORIGINAL FOREST 21

22

PHAผาHฮUุ้งNG 23

24

ในอดีีต ป่่าดอยตุุงคืือหนึ่่�งในผืืนป่่าอัันอุุดมสมบููรณ์์ของภาค ในป่่าหิินปููนผาฮุ้�้ง มีีความหลากหลายของพัันธุ์�พืืชมากกว่่า เหนืือ ปััจจััยทางสภาพอากาศ ปริิมาณน้ำ��ำ ฝน อุุณหภููมิิ ตลอด 1,000 ชนิิด ซึ่�งล้้วนแล้้วแต่่มีีลัักษณะเฉพาะถิ่่�น หลายชนิิด จนระดัับความสููงที่่�มีีความแตกต่่างกัันตั้้�งแต่่ 400-1,520 เป็็นพัันธุ์�ไม้้หายาก ได้้รัับการขึ้�นทะเบีียนในบััญชีีแดงไอยููซีีเอ็็น เมตร เหนืือระดัับน้ำ�ำ�ทะเล ส่ง่ ผลให้้ป่า่ ดอยตุุงประกอบด้้วย ป่่า (IUCN Red List) ซึ่�งเป็็นดััชนีีที่่�บ่่งชี้�ภาวะเสี่่�ยงต่่อการสููญพัันธุ์� เบญจพรรณ ป่่าดิิบเขา และป่่าหิินปููน มีีความหลากหลายทาง ของสายพัันธุ์�พืืชและสััตว์์ในโลก อาทิิ ต้้นม่่วงกำ�ำ มะหยี่่� (Pet- ชีวี ภาพสูงู และมีชี นิดิ ของพันั ธุ์พ� ืืชและสัตั ว์์ป่า่ แตกต่า่ งกันั ไปตาม rocosmea pubescens) แหล่่งที่อ่� ยู่�อาศััย นอกจากนั้้�น ที่�่ผาฮุ้�้งยังั พบพืืชในวงศ์์ชาฤาษีี ซึ่�งจัดั เป็น็ พืืชหายาก ที่�่ระดัับความสููงต่ำำ��กว่่า 1,000 เมตร คืือพื้้�นที่่�ของ “ป่่า และพืืชถิ่่�นเดีียวพบเฉพาะในประเทศไทย พระบาทสมเด็็จ เบญจพรรณ” ผสมผสานด้้วยไม้้หลากหลายพรรณ ล้้วนแล้้ว พระบรมชนกาธิิเบศร มหาภููมิิพลอดุุลยเดชมหาราช บรมนาถ แต่่มีีค่่าทางเศรษฐกิิจ เช่่น ไม้้สััก ไม้้แดง และไม้้ประดู่� บพิิตร ทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าโปรดกระหม่่อมพระราชทาน ช่ว่ งระดับั ความสูงู 700-1,100 เมตร คืือป่า่ ที่�ผ่ สมผสานทั้้ง� ป่า่ ชื่�อพรรณไม้้นี้้�ว่่า “นคริินทรา” (Paraboea sangwaniae) เบญจพรรณและป่่าดิิบเขา อัันอุุดมสมบููรณ์์ตามธรรมชาติิ ล้้วน ตามพระนามสมเด็็จพระราชมารดา มีีความหมายว่่า พรรณไม้้ แล้้วแต่่มีีต้้นสะเดาช้้าง ต้้นมะเดื่่�อ ต้้นแดงน้ำ��ำ ต้้นยางแดง และ ที่่�เป็็นศรีีสง่่าแด่่สมเด็็จพระศรีีนคริินทราบรมราชชนนีี เมื่่�อวัันที่่� ต้้นลำ�ำ พููป่่า เป็็นทั้้�งบ้้านของสััตว์์ป่่า แหล่่งอาหาร และยาของ 5 มีีนาคม ปีี 2554 ชาวบ้า้ น ส่ว่ นพื้�้นที่�่ซึ่�งสูงู กว่า่ 1,000 เมตรขึ้�นไป คืือ “ป่่าดิบิ เขา” จากการสำำ�รวจ ยังั พบพืืชอีกี หลายชนิดิ ที่เ�่ ป็น็ สายพันั ธุ์ใ� หม่่ ยังั ไม่่ เขีียวครึ้�มด้้วยไม้้ใหญ่่ เช่่น ต้้นมะเดื่่�อ ต้้นจำำ�ปีี ต้้นจำ�ำ ปา ต้้นก่่อ พบที่่�อื่่น� และยัังไม่่มีกี ารจดทะเบีียนตั้้�งชื่อ� ต้น้ หว้า้ ต้น้ ลำ�ำ พููป่่า และต้น้ ยางแดง เป็น็ ต้้น ผาฮุ้ง�้ เป็น็ ป่า่ หินิ ปูนู ดั้้ง� เดิมิ แห่ง่ สุดุ ท้า้ ยในดอยตุงุ และที่เ่� หลืืออยู่� “วัันนี้้� ที่่�ป่่าหิินปููนยัังมีีเลีียงผาอยู่� เพราะป่่าหิินปููนอยู่�ในพื้�้นที่�่ที่่� เพีียงไม่่กี่่�แห่่งในประเทศไทย ตั้้�งอยู่่�ทางทิิศตะวัันตกของพื้�้นที่่� มนุษุ ย์์เข้า้ ถึึงยาก ปกติิถ้า้ คนรู้�ว่าอยู่�ที่่ไ� หน เขาล่า่ แน่น่ อน” โครงการพัฒั นาดอยตุงุ ฯ ไม่ห่ ่า่ งจากพรมแดนประเทศเมียี นมา มีี มาร์์ติิน ฟาน เดอ บััลท์์ ขนาดพื้น�้ ที่ร�่ าว 5 ตารางกิโิ ลเมตร และอยู่่�สูงู 1,425 เมตร เหนืือ นัักพฤกษศาสตร์์ประจำ�ำ โครงการพััฒนาดอยตุุงฯ ระดับั น้ำ�ำ� ทะเล สภาพพื้น้� ที่เ�่ ป็น็ เขาลาดชันั และโตรกหินิ แหลมคม ลัักษณะของพื้�้นที่�่จำำ�กััดชนิิดของพัันธุ์�ไม้้ที่�่ขึ้�นในบริิเวณนั้้�น ให้้ นอกจากนี้้� ยัังพบสััตว์์ป่่าหลายชนิิดที่�่อาศััยในพื้�้นที่่�เพีียงไม่่กี่่� เป็็นต้้นไม้้ที่่�ส่่วนใหญ่่สููงไม่่เกิิน 8 เมตร และมีีพืืชที่่�เติิบโตบน ตารางกิิโลเมตรแห่่งนี้้� หนึ่่�งในสััตว์์ป่่าที่่�ยึึดภููเขาหิินปููนบนผาฮุ้้�ง ก้อ้ นหินิ และบนต้น้ ไม้้ แม้ว้ ่า่ ป่า่ หินิ ปูนู สูงู ชันั ยากต่อ่ การเข้า้ ถึงึ แต่่ เป็็นบ้้าน คืือ เลีียงผา สััตว์์ป่่าสงวนของไทยที่�่จำ�ำ นวนประชากร กล้ว้ ยไม้ร้ องเท้า้ นารีดี อยตุงุ (Paphiopedilum charlesworthii) ลดลงอย่่างรวดเร็็ว ด้้วยถิ่่น� ที่�อ่ ยู่�อาศััยถููกรุุกราน และถูกู มนุุษย์์ ซึ่�งมีีถิ่่�นกำ�ำ เนิิดอยู่�บนโขดหิินในป่่าแห่่งนี้้� ก็็ยัังไม่่รอดพ้้นมืือคน ล่า่ เอาชีวี ิติ มูลู และรอยเท้า้ ของเลียี งผาที่พ่� บบนผาฮุ้ง้� ชี้ช� ัดั ให้เ้ ห็น็ ที่่�รุุกรานป่่า ลัักลอบเก็็บไปปลููกเลี้้�ยงและจำ�ำ หน่่าย เมื่่�อแรกที่่� ว่า่ เมื่่อ� สภาพป่า่ สมบูรู ณ์์ ปราศจากการรุกุ ราน ชีวี ิติ ต่า่ ง ๆ ที่อ่� าศัยั โครงการพัฒั นาดอยตุงุ ฯ เข้า้ สำ�ำ รวจพื้น้� ที่่� รองเท้า้ นารีดี อยตุงุ หลง อยู่�ในป่่าก็จ็ ะกลัับคืืนมาตามธรรมชาติิอีีกครั้�ง เหลืือเพียี ง 5 ต้น้ อยู่�ใต้บ้ ริเิ วณวััดพระธาตุุดอยตุงุ 25

“...สมััยก่่อนป่่าดอยตุุงเป็็นป่่าไม้้ทึึบมากต้้นไม้้ที่�่เยอะ ๆ ก็็เช่่นต้้นก่่อที่�่ลููกมีีหนามรอบ ๆ และต้้นจำำ�ปีี จำำ�ปา ดอกหอม ๆ เป็็นไม้้เนื้�้อแข็็ง รองจากไม้้สักั ใช้ส้ ร้า้ งบ้า้ นได้้ คนพื้น�้ เมืืองขึ้น� มาเลื่่อ� ยเป็น็ ไม้แ้ ผ่น่ แล้ว้ ก็เ็ อาช้า้ งลากลงไป ต่อ่ มาต้น้ ไม้ท้ ี่เ�่ คยมีเี ยอะ ๆ ก็ถ็ ูกู ตัดั เพื่่อ� ทำ�ำ ไร่ป่ ลูกู ฝิ่น�่ ปลูกู ข้า้ วโพดหมด บ้า้ งก็็เผาป่า่ เพื่่อ� ทำ�ำ ไร่่ เผาเพื่่อ� ทำ�ำ กินิ สััตว์์ป่า่ เมื่่อ� ก่อ่ นก็็เยอะ เสีียงสััตว์์ป่า่ ดัังอื้�อ้ อึึง วัวั ป่่าก็็ยัังมีีให้เ้ ห็็นนะ ที่เ่� ยอะที่�ส่ ุุด คืือ ลิิง หมููป่า่ เก้ง้ กวาง ต้น้ ไม้ห้ มดจากดอยตุงุ ไปประมาณ 20-30 ปีี ก่่อนที่�โ่ ครงการพัฒั นาดอยตุงุ ฯ จะเข้้ามา...” สมพล อภิิรัตั นชััย ชาวเขาเผ่่าลาหู่�ที่�่อพยพมาอาศัยั บนดอยตุงุ ก่อ่ นเริ่�มต้้นโครงการพััฒนาดอยตุุงฯ การปลูกู ป่า่ ก่อ่ นที่โ�่ ครงการพัฒั นาดอยตุงุ ฯ จะเข้า้ มาดำ�ำ เนินิ การ พัันธุ์�ไม้้ที่่�เป็็นอาหารของคนและสััตว์์ เพาะกล้้าและนำ�ำ ไปปลููก เป็็นป่่าไม้้สน แม้้จะเป็็นพืืชพื้�้นเมืือง แต่่ถููกนำ�ำ มาปลููกเป็็นป่่า ในแปลงทดลอง และปลูกู เสริมิ ในพื้น้� ที่ซ�่ึ่ง� เสียี หายจากไฟป่า่ การ เชิิงเดี่่�ยวทั้้�งภููเขา โตเร็็ว ไม่่ต้้องดููแล ด้้วยความเป็็นกรดของ ปรับั และเปลี่่ย� นป่า่ บนดอยตุงุ ให้ก้ ลับั มาอุดุ มสมบูรู ณ์์เหมืือนใน ต้้นสน ใต้้ป่่าจึึงไม่่มีีพืืชที่่�เป็็นอาหารของคนและสััตว์์ ขาดความ อดีีต เป็็นความท้า้ ทายที่ย่� ิ่่ง� ใหญ่อ่ ย่า่ งหนึ่่ง� เพราะต้้องใช้เ้ วลาใน หลากหลายทางชีวี ภาพ และเป็็นไม้้ที่่�ติดิ ไฟง่า่ ย แตกต่า่ งจากป่า่ การปลููกจิิตสำำ�นึึก สร้้างความร่่วมมืือ และความรัับผิิดชอบ ดั้้ง� เดิมิ อย่า่ งป่า่ หินิ ปูนู ผาฮุ้ง�้ ที่ห�่ ลงเหลืืออยู่� โครงการพัฒั นาดอยตุงุ ฯ ต่่อสัังคม สร้้างความเป็็นเจ้้าของในทุุกภาคส่่วนตั้้�งแต่่ผู้้�นำ�ำ นอกจากดููแลรัักษาป่่าผาฮุ้�้งให้้คงอยู่�รอดพ้้นจากการบุุกรุุก ระดับั ต่า่ งๆจากส่ว่ นกลางท้อ้ งถิ่่น� ชุมุ ชนชาวบ้า้ นและผู้้�มาเยืือน จากภายนอกที่ม�่ ีแี ผนมาพัฒั นาพื้น�้ ที่ป่� ่า่ ดั้้ง� เดิมิ แห่ง่ นี้้� ยังั ได้ส้ ำำ�รวจ ทุกุ คนที่เ�่ กี่่ย� วข้อ้ งในปัจั จุบุ ันั และต่อ่ ไปในอนาคตให้ช้ ่ว่ ยกันั ฟื้น�้ ฟูู และศึึกษาป่่าที่่�เคยมีีบนดอยตุุง คััดเลืือกพัันธุ์�ไม้้ท้้องถิ่่�น และ พื้�้นที่บ่� นดอยตุงุ ให้เ้ ป็็นป่่าที่�อ่ ุุดมสมบูรู ณ์์อีกี ครั้ง� 26

พันั ธุ์�์ไม้ห้ ายากในป่า่ ผาฮุ้�ง มืือพระนารายณ์์ขน Rare plant species in the forest of Pha Hung: พัันธุ์ไ� ม้ป้ ระจำำ�ถิ่่�นผาฮุ้�้ง พบที่�่ยอดผาฮุ้�้ง Schefflera petelotii – เทียี นดอยตุุง a typical epilithic limestone tree พันั ธุ์�ไม้ใ้ หม่่ พบที่ใ่� กล้้ยอดผาฮุ้�้ง species found at the summit of Impatiens doitungensis – Pha Hung. a new plant species found near the summit of Pha Hung. ก่ว่ มเชียี งดาว ปาหนันั ยูนู าน พบแค่เ่ พียี งที่�ย่ อดเขาเชียี งดาว จังั หวััด พบที่ผ�่ าฮุ้ง�้ แห่ง่ เดียี วในไทย ส่ว่ นต่า่ ง เชีียงใหม่่ และที่่�ผาฮุ้�้ง ดอยตุุง ประเทศพบที่ป�่ ระเทศจีนี ตอนใต้้ Acer chiangdaoensis – Goniothalamus cheliensis – found only on the limestone foundonlyatPha HunginThailand, slopes of Chiang Dao and in the south of China. mountain, Chiang Mai Province, and at Pha Hung in Doi Tung. นครินิ ทรา พบที่ผ่� าฮุ้ง�้ และดอยผู้้�เฒ่่า ลำ�ำ ดวนดอย Paraboea sangwainae – ไม้ไ้ ม่่ผลััดใบขนาดกลาง พบใกล้ว้ ัดั พระ found only at Pha Hung and Doi ธาตุุดอยตุงุ Phu Tao. Mitrephora wangii – amedium-size evergreen tree ป่่าหินิ ปูนู species found limestone slopes ระดัับความสูงู 1,425 เมตร at the base of Pha Hung near Wat Phra That Doi Tung. Limestone forest 1,425 m elevation ป่าดิบเขา ระดับความสูงกว่า 1,000 เมตรข้ึนไป Evergreen forest above 1,000 m elevation ป่าเบญจพรรณ ระดับั ความสููงต่ำ�ำ �กว่า่ 1,000 เมตร Deciduous forest under 1,000 m elevation 27

In the past, the Doi Tung forest cover was one of the These limestone forests at Pha Hung are storehouses most abundant forests in the north of Thailand. The of biodiversity, with over 1,000 unique indigenous climate, abundant rainfall, temperature and altitudes species of flora, many of which are rare plants that are ranging from 400-1,520 m above sea level resulted on the IUCN Red List of Threatened Species including in a deciduous forest, evergreen forest and limestone the Petrocosmea pubescens. forest providing great biodiversity according to altitude. Other rare plant species found at Pha Hung include At less than 1,000 m we found deciduous forest with Sauropus poomae, Paraboea doitungensis and a variety of trees that had great economic value Paraboea sangwaniae, a few of several species such as Teakwood, Burmese rosewood and Black which are endemic to Pha Hung and Doi Tung. His Rosewood; from700-1,100mwasbothdeciduousand Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great graciously evergreen forests, with huge dipterocarp and fig trees, bestowed the name “Nagarindra” (Paraboea sang- Duabanga, and Needle wood, all of which provide a waniae) in tribute to HRH Princess Srinagarindra, the safe habitat forwildanimalsaswellasasourceoffood Princess Mother, on 5 March 2011. and medicinal herbs for local villagers. At altitudes above 1,000 m were evergreen forests, with majestic Surveys have continued to discover more new plant Magnolias and a wide variety of chestnut, Oak and species that have never been found anywhere else, Java plum (Syzygium ssp.) trees. and have not yet been registered. Pha Hung is Doi Tung’s last remaining original limestone forest, and one of the few left in Thailand. “Presently, serow still can be found in Pha Hung because It is located to the west of the DTDP, not far from the the inhospitable limestone forests are difficult to access. border with Myanmar. It covers an area of approximately However, hunting is a problem and if people know where 5 sq km, and is 1,425 m above sea level. The area comprises steep cliffs and sharp limestone crags, they dwell, they will hunt them for sure. limiting the variety of plants to those not over 8 m Martin van de Bult, high, and plants that can grow on rocky surfaces and on other trees. resident botanist of the Doi Tung Development Project Despite the harsh terrain that is difficult to access, the indigenous Lady’s Slipper orchid (Paphiopedilum There is also an abundance of wildlife that make their charlesworthii), grows well and is still poached for home in this area covering a few square kilometers. cultivation, sale to collectors and export. When the One of these is the serow or mountain goat, now on DTDP was founded, surveys identified only 5 Lady’s Thailand’s list of preserved animals whose numbers are Slipper orchid plants in the vicinity of Phra That Doi dwindling as a result of encroachment and poaching. Tung temple. However,evidenceofserowdungandhoofprintsindicate the return of wildlife when forests are restored and left un-encroached. Before the start of the DTDP, reforestation concentrated on evergreen trees that, despite being an endemic 28

“…Originally the forests of Doi Tung were dense jungle, abundant with such trees as dwarf chestnut with spiny fruit, white champaka, and champak with their fragrant flowers. The wood is as hard as teakwood and is perfect for building houses. Locals used to cut them down into lumber and elephants would haul them downhill. Later, the remaining trees would be razed to grow opium crops and maize. Forests were also burnt for farming and other sustenance activities. In the old days, there was abundant wildlife, and the calls of wild animals - the music of the jungle - could be heard everywhere. In the past, there were guar, but mostly there were monkeys, wild boar, barking deer and deer. Many different species of trees disappeared from Doi Tung some 20-30 years before the establishment of the DTDP.” Somphol Aphiratanachai, Lahu tribesman who settled on Doi Tung before the advent of the DTDP plant, were grown as a mono-culture, covering the Additionally, the project worked in forest areas ravaged entire mountain. They grew quickly and didn’t require by wild fire through the “assisted tree regeneration” intensive care. But the acidity of the evergreens meant method, restoring the original forest cover of Doi Tung. that other plants that could provide sustenance for This reforestation effort was a truly challenging task, man and animals could not survive, and this led to a because it took time to plant the seeds of social lack of biodiversity. In addition, the wood was easily responsibility in the minds of the locals in order to flammable, unlike the original surviving limestone gain their cooperation, and by so doing they created a forests of Pha Hung. sense of ownership for all stakeholders, from leaders at In this way, the DTDP not only protected the forests central and local government levels, community of Pha Hung from encroachment that came in the leaders, villagers and visitors. This is an on-going task form of “forest development”, it also conducted for now and the future, so that this joint reforestation surveys and studies on the original forest cover of Doi effort will bring back and maintain the original lush Tung, selected and cultivated indigenous plants and forest cover. sustenance plants for man and animals, and planted them in pilot plots. 29

30

รองเทา้ นารี THE LADY’S SLIPPER ORCHID 31

แรงบันดาลใจจากแม่ฟ้าหลวง Inspired by the Princess Mother สมเด็จ็ ย่า่ ทรงโปรดและสนพระทัยั ศึกึ ษาต้น้ กล้ว้ ยไม้ร้ องเท้า้ นารีี ปีี 2510 เมื่่อ� คราวที่ส�่ มเด็จ็ ย่า่ เสด็จ็ พระราชดำ�ำ เนินิ เยี่่ย� มราษฎรในจังั หวัดั ภาคใต้้ ด้า้ นอ่า่ วไทยบริเิ วณหมู่�เกาะอ่า่ งทอง ได้เ้ สด็จ็ ขึ้น� บนเกาะ ทรงปีนี ภูเู ขาหินิ ปูนู ที่ส�่ ูงู ชันั เพื่่อ� ทอดพระเนตรรองเท้า้ นารีอี ่า่ งทองที่แ�่ หล่ง่ กำ�ำ เนิดิ เมื่่อ� ความทราบถึงึ พระองค์์ท่า่ นว่า่ บริเิ วณผาฮุ้ง�้ ป่า่ หินิ ปูนู ที่ย�่ ังั สมบูรู ณ์์เหมืือนในอดีตี เป็น็ ถิ่น� กำ�ำ เนิดิ ของกล้ว้ ยไม้ร้ องเท้า้ นารีดี อยตุงุ (Paphiope- dilumcharlesworthii)และจากการสำ�ำ รวจพบรองเท้า้ นารีดี อยตุงุ หลงเหลืืออยู่�เพียี งไม่ก่ี่ต� ้น้ ทรงเห็น็ ว่า่ โครงการพัฒั นาดอยตุงุ ฯควรเข้า้ ไปดูแู ล รักั ษาพื้น�้ ที่บ�่ ริเิ วณผาฮุ้ง�้ และทำ�ำ โครงการเพาะเลี้้ย� งรองเท้า้ นารีเี พื่่อ� ปลูกู คืืนสู่�ผืนป่า่ โครงการเพาะเลี้้ย� งรองเท้า้ นารีเี ริ่ม� ดำ�ำ เนินิ การมาตั้้ง� แต่ป่ ีี2537เริ่ม� ตั้้ง� แต่ศ่ ึกึ ษาวิจิ ัยั รวบรวมปรับั ปรุงุ พัฒั นาและขยายพันั ธุ์ร� องเท้า้ นารีสี ายพันั ธุ์ต� ่า่ งๆ HerRoyalHighnessPrincessSrinagarindra,thePrincessMotherhadagreatfondnessfortheLady’sSlipperorchid,andbegan tostudythemindetail.In1967,duringavisittothesouthernprovincesonthecoastoftheGulfofSiam,the Princess Mother passed through the Ang Thong Islands where she stopped to climb up one of the steep limestone cliffs to check out the prevalence of the indigenous Lady’s Slipper orchid. The Princess Mother learned that the healthy limestone forests of Pha Hung were the native habitat of the Doi Tung Lady’s Slipper (Paphiopedilum charlesworthii), but after surveys were conducted, only a few orchid plants could be found. The Princess therefore decided that the DTDP should become the caretaker of Pha Hung, and she initiated a Lady’s Slipper propagation programme to return the orchid to its native habitat. The Lady’s Slipper Propagation Project began in 1994, and included research, development and propagation of various species of Lady’s Slipper orchids. 32

33

34

กล้วยไม้สกลุ รองเทา้ นารี The Lady’s Slipper Orchid (Paphiopedilulm) รองเท้้านารีี เป็็นสกุุลกล้้วยไม้้ที่�่มีีหลากหลายสายพัันธุ์� ดอกมีี The Lady’s Slipper (Paphiopedilum) is an orchid that รููปทรงสวยแปลกตา ลัักษณะที่่�เด่่นชััดของดอก คืือ กลีีบดอก has numerous species. The flower has a striking shape หรืือกระเป๋๋าที่่�มีีลัักษณะคล้้ายรองเท้้าของสตรีี มีีถิ่่�นกำ�ำ เนิิด with its most outstanding feature being the pouch อยู่�ในเขตอบอุ่�นและเขตร้อ้ น พบเฉพาะประเทศในภูมู ิภิ าคเอเชียี that makes it look like a lady’s slipper. It is indigenous ตั้้ง� แต่อ่ ินิ เดียี จีนี ไทย ลาว เวียี ดนาม กัมั พูชู า ฟิิลิปิ ปิินส์์ มาเลเซียี to the tropics, and is found in various Asian countries และอิินโดนีีเซีีย ในประเทศไทยพบต้้นกล้้วยไม้้รองเท้้านารีี from India, China and Thailand to Vietnam, Cambodia, มีีถิ่่�นกำำ�เนิิดในเกืือบทุุกภาคของประเทศ รองเท้้านารีีเติิบโต the Philippines, Malaysia and Indonesia. In Thailand, ในพื้น้� ที่ท่� ี่แ่� ตกต่า่ งกันั จำ�ำ แนกได้เ้ ป็น็ 3 กลุ่่�ม คืือ กลุ่่�มที่อ่� าศัยั ตาม the Lady’s Slipper orchid can be found in almost every พื้น้� ดินิ ที่ม่� ีเี ศษซากใบไม้ท้ ับั ถมกันั อยู่�กลุ่่�มที่อ�่ ิงิ แอบตามร่ม่ เงาบน region of the country. There are three groups according คาคบไม้ใ้ หญ่่และกลุ่่�มที่เ่� ติบิ โตอยู่่�ตามหน้า้ ผาหินิ ปูนู บริเิ วณรอย to habitats: terrestrials that grow in humus layers on แยกของผาหิินที่ม�่ ีเี ศษซากต้้นไม้้ใบหญ้า้ ทับั ถมกันั the forest floor, epiphytes that are attached to large รองเท้้านารีีเป็็นไม้้ประดัับ ดอกอยู่่�ทน เป็็นที่�่นิิยมของนัักเลี้้�ยง trees, and lithophytes that grow on limestone rocks, in สะสม เพราะแต่่ละต้้นให้้ดอกที่่�สวยงามและแตกต่่างกััน การ cracks that contain humus layers. ขยายพัันธุ์�รองเท้้านารีีเพื่่�อการค้้า โดยการเพาะเลี้้�ยงเนื้�้อเยื่่�อ The Lady’s Slipper is a decorative orchid, with sturdy ทำ�ำ ได้้ยาก เพราะหากจะขยายพัันธุ์�ต้้นที่่�ดีีให้้ได้้ดอกเหมืือน blooms that have a long life span, and are therefore เดิิม ทำ�ำ ได้้โดยการแยกกอเท่่านั้้�น และที่่�สำำ�คััญคืือ รองเท้้านารีี very popular among orchid cultivators and collectors. เป็็นกล้้วยไม้้ที่่�อยู่ �ในบััญชีีของอนุุสััญญาว่่าด้้วยการค้้าระหว่่าง Each plant gives a beautiful and unique flower. ประเทศ ซึ่�งชนิิดสััตว์์ป่่าและพืืชป่่าที่�่ใกล้้จะสููญพัันธุ์� (The Propagation by tissue culture is very difficult, since Convention on International Trade in Endangered division is the only way to ensure the flower remains Species of Wild Fauna and Flora: CITES) ซึ่ง� เรีียกกัันโดย the same as the original plant. Furthermore, the Lady’s ทั่่ว� ไปว่า่ อนุสุ ัญั ญาไซเตส รองเท้า้ นารีจี ึงึ จัดั ว่า่ เป็น็ ไม้ห้ ายากและ Slipper orchid is on the list of The Convention on Inter- มีีราคาสููง national Trade in Endangered Species of Wild Fauna จากการดำำ�เนิินโครงการรองเท้้านารีีมากว่่า 20 ปีี ปััจจุุบััน and Flora (CITES), and is therefore considered a rare โครงการพัฒั นาดอยตุุงฯ รวบรวมกล้้วยไม้ร้ องเท้า้ นารีีสายพันั ธุ์� and valuable orchid. ที่ม�่ ีถีิ่่น� กำำ�เนิดิ ในภูมู ิภิ าคเอเชียี ไว้ท้ั้้ง� หมด85ชนิดิ ในจำ�ำ นวนนี้้เ� ป็น็ After 20 years of conducting the project, the DTDP รองเท้้านารีที ี่่ม� ีีถิ่่�นกำ�ำ เนิิดในต่า่ งประเทศ 68 ชนิิด อีีก 17 ชนิิด has succeeded in cultivating 85 species of the Asian พบกระจายพันั ธุ์�อยู่�ในประเทศไทย Lady’s Slipper, including 68 species from other countries, and 17 indigenous species from various regions of Thailand. 35

รองเทา้ นารที ีม่ ีถน่ิ ก�ำ เนิดในทวีปเอเชีย และพบกระจายพันธุ์ในประเทศไทย 17 ชนดิ 17 Species of Lady’s Slipper indigenous to Asia and Thailand 36

รองเท้านารชี ่องอา่ งทอง รองเทา้ นารี : ดอกเด่ียว ใบด่าง ตน้ ขนาดกลาง ก้านดอกยาวปานกลาง สีขาวมีประจุดสีกระจาย สันนิษฐานว่า เปน็ ลกู ผสมธรรมชาติระหวา่ งรองเทา้ นารขี าวสตลู กบั เหลอื งตรงั พบในหมเู่ กาะอา่ งทอง จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี และทางตอนใตข้ อง ประเทศไทยเทา่ นน้ั บางครง้ั มชี อ่ื เรยี กที่ตา่ งกนั ออกไปตามแหลง่ ท่ี พบ เชน่ ขาวชมุ พร เกาะพร้าว ปลูกเลี้ยงได้ดใี นอากาศร้อนชนื้ ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-พฤษภาคม Paph. godefroyae var. angthong Lady’s Slipper: single flower; mottled leaves; medium size plant. The stem is medium length, with white mottled flowers, and is believed to be a natural hybrid between Paph.niveum and Paph.leucochilum. It is found in the Angthong Islands, Surat Thani Province, and in the south of Thailand only. The name varies according to habitat such as Khao Chumphon and Ko Prao. It thrives in hot and humid climates, and flowers from January to May. 37

รองเท้านารีเหลืองกระบ่ี รองเท้้านารีี : ดอกเดี่่ย� ว ใบเขีียว ต้้นขนาดกลาง ก้า้ นดอกยาวถิ่่น� กำ�ำ เนิดิ อยู่่�ทางภาคใต้ข้ องประเทศไทยในจังั หวัดั กระบี่่�และจัังหวััดพัังงา ที่่�ระดัับความสููง 250 เมตรจาก น้ำ�ำ� ทะเล สามารถปลููกเลี้้�ยงได้้ง่่ายในทุุกสภาพแวดล้้อม ตั้้�งแต่่ หน้า้ ผา ชายฝั่่ง� ทะเล พื้น�้ ราบ จนบนภูเู ขาทางภาคเหนืือ ออกดอก ระหว่่างเดืือนมกราคม-มีีนาคม Paph. exul Lady’s Slipper: single flower; green leaves; medium size plant. It has a long stem and is endemic to the south of Thailand in Krabi and Phangnga provinces. It can be found at elevations of 250 m above sea level. It thrives in all terrains from steep coastal cliffs, at ground level or on the mountains of the north, and flowers from January to March. 38

รองเท้้านารีีขาวพัังงา รองเท้า้ นารีี : ดอกเดี่่ย� ว ใบลาย ต้น้ ขนาดเล็็ก ดอกมีีขนาดเล็็ก ก้้านยาว มีีดอกสีีขาวมีีรอยแต้้มสีีม่่วงแดง ด้้านในของปาก และมีีกลิ่่�นหอม ถิ่่�นกำำ�เนิิดอยู่่�ทางตอนใต้้ของ ประเทศไทยที่�่เขานางหงส์์ จัังหวััดพัังงา ที่่�ระดัับความสููง 350- 450 เมตรจากน้ำ�ำ� ทะเล สามารถปลูกู เลี้้ย� งได้ด้ ีใี นที่ม�่ ีอี ากาศร้อ้ น ในภาคใต้้มาถึึงภาคกลางของประเทศไทย ออกดอกระหว่่าง เดืือนมีนี าคม-พฤษภาคม Paph. thaianum Lady’s Slipper: single flower with mottled leaves; small size plant. The flowers are small in size, with a long stem, white blooms mottled with magenta spots on the pouch, and a fragrance. It is endemic to the south of Thailand at Khao Nang Hong mountains, Phangnga Province, at elevations of 350-450 m above sea level. It thrives in the humid tropical climate of the south and central Thailand, and flowers from March to May. 39

รองเท้้านารีีเวศย์์วรุตุ ม์์ หรืือ ดอยตุงุ กาญจน์์ รองเท้้านารีี : ดอกเดี่่ย� ว ใบสีีเขีียว ต้้นขนาดกลาง ลักั ษณะต้น้ คล้า้ ยกับั รองเท้า้ นารีดี อยตุงุ แต่่ลัักษณะดอกคล้้าย Paph. barbigerum มีกี ลีบี แคบ ก้า้ นยาวประมาณ 20-25 ซม. พบบริเิ วณดอยหัวั หมดในอำำ�เภออุ้้�มผางจังั หวัดั ตากและจังั หวัดั กาญจนบุุรีี ที่่�ระดัับความสููง 500-750 เมตร เหนืือระดัับน้ำ�ำ� ทะเล สามารถปลูกู เลี้้ย� งได้ด้ ีใี นที่ม่� ีอี ากาศเย็น็ ออกดอกระหว่า่ ง เดืือนสิงิ หาคม-กันั ยายน Paph. vejvarutianum Lady’s Slipper: single flower; green leaves; medium size plant. It is similar to the Paph. charlesworthii though the flower resembles the Paph. barbigerum. It has narrow petals, a long stem of 20-25 cm. It is endemic to Doi Hua Mot, Umphang District, Tak Province, and Kanchanaburi Province, and can be found at elevations of 500-750 m above sea level. It thrives in cool temperatures, and flowers from August to September. 40

รองเท้า้ นารีีเหลืืองตรัังบก รองเท้า้ นารีี : ดอกเดี่่ย� ว ใบลาย ดอกกลม ต้้นขนาดกลาง ก้้านดอกสั้้�น ลัักษณะเด่่นของดอกขาวมัักจะมีีลายประจุุดต่่อ กันั ชัดั เจน พบทางภาคใต้ข้ องประเทศไทย ที่ร�่ ะดับั ความสูงู 100 เมตร เหนืือระดับั น้ำ��ำ ทะเล และมีคี ุณุ สมบัตั ิทิ นต่อ่ อากาศร้อ้ นได้ด้ ีี ออกดอกระหว่่างเดืือนมิถิ ุนุ ายน-กันั ยายน Paph. godefroyae Lady’s Slipper: single round flower; mottled leaves, medium size plant. It has a short stem, white flowers with vivid mottled spots. It can be found in the south of Thailand at elevations of 100 m above sea level. It is sturdy and withstands heat well. Flowers from June to September. 41

รองเท้้านารีดี อยตุุง รองเท้้านารีี : ดอกเดี่่�ยว ใบเขีียว ต้น้ ขนาดกลาง รองเท้้านารีีที่่�ดอกมีีสีีชมพููสวย จนได้้รัับฉายาว่่า รองเท้้านารีี สีีชมพููที่่�สวยที่่�สุุดชนิิดหนึ่่�ง พบที่่�บริิเวณผาหิินปููน “ผาฮุ้�้ง” ใน พื้น�้ ที่ป�่ ่่าดั้้�งเดิมิ ของดอยตุุง จังั หวััดเชียี งรายเป็็นที่�แ่ รก ต่อ่ มาพบ ที่อ�่ ำำ�เภอแจ้ห้ ่ม่ จังั หวัดั ลำำ�ปาง ส่ว่ นในต่า่ งประเทศ พบที่ร�่ ัฐั อัสั สัมั ประเทศอิินเดีีย เมีียนมา และทางตะวัันตกเฉีียงใต้้ของจีีน ที่�่ ระดัับความสููง 1,200-1,600 เมตรเหนืือระดัับน้ำำ��ทะเล ปลููก เลี้้�ยงได้้ดีีในที่่�มีีอากาศเย็็น ออกดอกระหว่่างเดืือนกัันยายน- ตุุลาคม Paph. charlesworthii Lady’s Slipper: single flower; green leaves; medium size plant. Its striking pink blossom have earned this orchid the reputation as one of the most beautiful pink Lady’s Slipper orchid species. It was first found in the lime- stone cliffs of Pha Hung in the primary forests of Doi Tung, Chiang Rai Province, then later at Chae Hom District, Lampang Province. It can also be found in Assam State, India, in Myanmar, and in the southwest of China at elevations of 1,200-1,600 m above sea level. It thrives in cool temperatures, and flowers from September to October. 42

43

รองเท้า้ นารีีเหลือื งตรังั รองเท้้านารีี : ดอกเดี่่ย� ว ใบลาย ต้น้ ขนาดกลาง ดอกใหญ่ส่ ีเี หลืืองและกลีบี ดอกส่ว่ นปากที่ค�่ ล้า้ ยรองเท้า้ จะไม่ม่ ีจี ุดุ ก้้านดอกไม่่ยาว พบขึ้�นบนเขาหิินปููนที่�่ระดัับ 6-100 เมตร เหนืือระดับั น้ำ�ำ� ทะเลกระจายพันั ธุ์ใ� นภาคใต้้ตั้้ง� แต่จ่ ังั หวัดั พังั งาถึงึ จังั หวัดั สตูลู หมู่�เกาะฝั่่ง� อันั ดามันั และหมู่�เกาะลังั กาวีี ในประเทศ มาเลเซีีย มีีคุุณสมบััติิทนร้้อน สามารถปลููกเลี้้�ยงได้้ดีีในภาคใต้้ จนถึึงภาคกลางของประเทศไทย ออกดอกระหว่่างเดืือน เมษายน-กรกฎาคม Paph. leucochilum Lady’s Slipper: single flower; mottled leaves; medium size plant. The large yellow flower and the pouch is not mottled. It has a short stem, and can be found in the limestone cliffs at elevations of 6-100 m above sea level, in various southern provinces from Phangnga to Satun, on islands alongtheAndamancoastandonLangkawiinMalaysia.It withstandsheat,andgrowseasilyinthesouthandcentral Thailand. Flowers from April to July. 44

รองเท้า้ นารีเี กาะช้า้ ง รองเท้า้ นารีี : ดอกเดี่่ย� ว ใบลาย ต้้นขนาดกลาง ลููกผสมธรรมชาติิระหว่่างรองเท้้านารีีคางกบคอแดงกัับรองเท้้า นารีีคางกบ ก้้านดอกยาว แรกพบที่�่บริิเวณเกาะช้้างจึึงตั้้�งชื่�อ ตามแหล่่งที่�่มา ยัังพบในพื้้�นที่�่อื่่�น ๆ ทางภาคตะวัันออกของ ประเทศไทย ตลอดจนกััมพููชาและเวีียดนามตอนใต้้ สามารถ ปลููกเลี้้�ยงได้้ดีีทั้้�งในที่่�อากาศร้้อนและเย็็น ออกดอกระหว่่าง เดืือนกันั ยายน-ตุลุ าคม Paph. x siamense Lady’s Slipper: single flower; mottled leaves; medium size plant. This is a natural hybrid between the Paph. apple- tonianum and Paph. callosum. It has a long stem. It can also be found in other parts of eastern Thailand and in Cambodia and southern Vietnam. It thrives in both tropical and cool climates, and flowers from September to October. 45

รองเท้า้ นารีคี างกบคอแดง รองเท้้านารีี : ดอกเดี่่�ยว ใบลาย ต้้นขนาดกลาง ลัักษณะเด่่นอยู่�ที่�่ก้้านดอกยาว มีีความพลิ้้�วไหวสวยงาม พบ ในภาคตะวัันออกของประเทศไทย เช่่น จัังหวััดจัันทบุุรีี ระยอง ตราด และพบในต่า่ งประเทศ เช่น่ จีนี ตอนใต้ข้ องเวียี ดนาม ลาว และกััมพููชา สามารถปลููกเลี้้�ยงได้้ดีีทั้้�งในที่่�อากาศร้้อนและเย็็น ออกดอกระหว่า่ งเดืือนพฤศจิกิ ายน–มีนี าคม Paph. appletonianum Lady’s Slipper: single flower; mottled leaves; medium size plant. It has a long stem that creates a gentle movement. Found in the east of Thailand including Chantaburi, Rayong and Trat provinces, and also in China, southern Vietnam, Laos and Cambodia. It thrives in both tropical and cool climates, and flowers from November to March. 46

รองเท้้านารีีฝาหอย รองเท้า้ นารีี : ดอกเดี่่ย� ว ใบลาย ต้้นขนาดกลาง ลัักษณะเด่่นคืือทรงดอกกลมใหญ่่ พื้�้นขาวลายน้ำ�ำ�ตาลแดง-ดำ�ำ มัักมีีก้้านดอกสั้้�นและอ่่อน และดอกบานวางอยู่�บนใบ พบใน ประเทศไทยที่�่อำ�ำ เภอเชีียงดาว จัังหวััดเชีียงใหม่่ อำำ�เภอแจ้้ห่่ม อำำ�เภองาว จังั หวัดั ลำำ�ปาง และจังั หวัดั พะเยา ส่ว่ นในต่า่ งประเทศ พบในรััฐอััสสััมของประเทศอิินเดีีย เมีียนมา และตอนกลาง มณฑลยููนนาน จีีน ที่�่ระดัับความสููง 900–1,500 เมตร เหนืือ ระดับั น้ำ�ำ� ทะเลปลูกู ได้ด้ ีใี นที่ม่� ีอี ากาศเย็น็ ออกดอกระหว่า่ งเดืือน พฤษภาคม-มิถิ ุนุ ายน Paph. bellatulum Lady’s Slipper: single flower; mottled leaves; medium size plant. It has a large, round white flower, mottled with dark magenta spots. It has a short, soft stem, and the bloom lies right on the leaves. It can be found in Chiang Dao District, Chiang Mai Province, Chae Hom and Ngao districts in Lampang Province and in Phayao Prov- ince. It can also be found in Assam State in India, in Myanmar and central Yunnan in China at elevations of 900-1,500 m above sea level. It thrives in cool temperatures and flowers from May to June. 47

รองเท้า้ นารีีคางกบ รองเท้้านารีี : ดอกเดี่่ย� ว ใบลาย ต้น้ ขนาดกลาง ก้้านยาว พบการกระจายพัันธุ์ �กว้้างขวางตามป่่าดิิบชื้้�นในภููมิิภาคเอเชีีย ตะวัันออกเฉีียงใต้้ ลัักษณะดอกจะแตกต่่างกัันในแต่่ละแหล่่ง ที่�่พบ ในประเทศไทยพบที่่ภ� าคเหนืือ ภาคตะวันั ออกเฉีียงเหนืือ และภาคใต้้ ส่ว่ นในต่า่ งประเทศพบที่ก่� ัมั พูชู า เวียี ดนาม และลาว ที่ร่� ะดับั ความสูงู 300-1,300 เมตร เหนืือระดับั น้ำ�ำ� ทะเล ปลูกู ได้้ ทั่่ว� ไป ออกดอกระหว่่างเดืือนเมษายน-มิถิ ุนุ ายน Paph. callosum Lady’s Slipper: single flower; mottled leaves, medium size plant with long stalk. Can be widely found in tropical forests in Southeast Asia. The flowers differ according to habitat. In Thailand it can be found in the north, northeast and the south. It is also found in Cambodia, Vietnam and Laos at elevations of 300-1,300 m above sea level. It is easily grown anywhere, and flowers from April to June. 48