Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โคก หนอง นา โมเดล

โคก หนอง นา โมเดล

Description: โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
กิจกรมย่อยที่ 1 สร้างและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่
กิจกรรมย่อยที่ 1.1 สร้างแกนนำขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

Keywords: โคก หนอง นา โมเดล

Search

Read the Text Version

ก คำนำ กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายใหศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี ดำเนินงานโครงการ พัฒนาหมูบา นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กจิ กรรมยอยที่ 1 สรางและพัฒนา กลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นท่ี กิจกรรมยอยที่ 1.1 สรางแกนนำขับเคลื่อนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเกิดผูนำพัฒนา (Change Leader) ที่อยูในชุมชน และนำการพัฒนาให สอดคลอ งกับบรบิ ทชมุ ชน และนำไปสสู ง่ิ ท่ชี ุมชนตอ งการ ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี ไดดำเนินงานโครงการฯเรียบรอยแลว จึงไดจัดทำ เอกสารรายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมยอยที่ 1 สรางและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมยอยที่ 1.1 สรางแกนนำขับเคลื่อนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหผูเกี่ยวของไดทราบผลการดำเนินงาน คณะผูจัดทำหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารรายงานผลการดำเนินงานเลมนี้จะเปนประโยชนตอการ ปฏิบัติงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ และผูที่สนใจตอไป ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี เมษายน 2564

ข สารบญั หนา คำนำ ก สารบัญ ข บทสรุปสำหรับผูบริหาร ง สวนท่ี 1 บทนำ 1 1. หลกั การและเหตุผล .................................................................................................... 1 2. วตั ถุประสงค 2 3. กลมุ เปาหมาย 2 4. ข้นั ตอนและวธิ ีการดำเนนิ งาน 3 5. งบประมาณ 3 6. ระยะเวลาดำเนนิ การ 3 7. ผลที่คาดวาจะไดรบั 3 8. ตวั ชว้ี ัดความสำเรจ็ สว นท่ี 2 สรุปผลการฝก อบรมรายวิชา 2.1 วชิ า บรรยายพิเศษการขับเคลอื่ นโครงการพัฒนาพนื้ ที่ตนแบบ การพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหมป ระยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” 5 ๒.2 วิชา กิจกรรมกลุม สมั พันธ/ละลายพฤติกรรรม 7 2.3 วชิ า เรียนรูตำราบนดนิ : กิจกรรมเดนิ ชมพืน้ ท่ี 8 2.4 วชิ า เขาใจ เขาถึง พัฒนา ศาสตรพ ระราชากบั การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื 10 2.5 วชิ า การแปลงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสูการปฏิบัติแบบเปน ขนั้ เปน ตอน 14 2.6 วชิ า ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง “ทฤษฎบี ันได 9 ข้ัน สูค วามพอเพยี ง 16 2.7 วชิ า หลกั กสกิ รรม ธรรมชาติ 19 2.8 วชิ า แบง กลมุ ฝก ปฏิบัตฐิ านเรียนรู จำนวน 10 ฐาน 23 2.9 วชิ า ถอดบทเรยี นผา นสื่อ “วถิ ภี ูมิปญญาไทยกยการพึง่ ตนเองในภาวะวิกฤต 53 2.10 วชิ า เรยี นรผู านส่อื การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทย 55 2.11 วิชา การออกแบบเชิงภูมสิ งั คมไทยตามหลักการพฒั นาภมู สิ งั คมอยางยงั่ ยนื เพื่อการพ่ึงตนเองและรองรบั ภยั พิบัติ 56 2.12 วชิ า ฝกปฏบิ ัต/ิ นำเสนองาน การสรางหุน จำลอง การจดั การพน้ื ท่ีตามหลัก ทฤษฎใี หมป ระยกุ ตสู โคก หนอง นา โมเดง 58 2.13 วชิ า ถอดบทเรยี นการจดั การพืน้ ท่ีตามหลกั ทฤษฎีใหมประยกุ ตส ู โคก หนอง นา โมเดล 60

ค 2.14 วชิ า “สขุ ภาพพง่ึ ตน พัฒนา 3 ขุมพลงั ” พลงั กาย พลงั ใจ พลังปญญา 62 2.15 วิชา ฝกปฏบิ ตั ิ “จติ อาสาพฒั นาชุมชน เอาม้ือสามัคคีพัฒนาพน้ื ที่ตาม หลักทฤษฎีใหม 63 2.16 วชิ า Team Building ฝก ปฏิบตั ิการบริหารจดั การในภาวะวิกฤต (หาอยู หากิน) 64 2.17 วิชา ถอดบทเรียนฝกปฏบิ ัติการบรหิ ารจดั การในภาวะวกิ ฤต หาอยู หากิน และฝกปฏิบัติจติ อาสาพัฒนาชมุ ชน 66 2.18 วชิ า กตญั ตู อสถานทีพ่ ัฒนาจติ ใจ 68 2.19 วชิ า การขบั เคล่อื นสบื สานศาสตรพระราชากลไก 357 69 2.20 จัดทำแผนปฏิบัตกิ าร/นำเสนอ ยุทธศาสตรการขบั เคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูการปฏิบตั ิ 73 สว นท่ี 3 ผลการประเมินโครงการ 3.1 รูปแบบและวิธกี ารประเมิน 75 3.2 การเก็บรวบรวมขอ มลู .............................................................................................. 75 3.3 การวเิ คราะหข อ มลู 75 3.4 เกณฑก ารประเมนิ 76 3.5 ผลการประเมิน 76 ภาคผนวก - ภาพกิจกรรม/โครงการฯ .............................................................. 107 - รายช่ือผูเขา อบรมฯ ...................................................................................................................120 - ตารางการฝกอบรม....................................................................................................................124 - แบบประเมินผลโครงการ ..........................................................................................................125 - แบบประเมนิ ผลรายวิชา............................................................................................................127 - แบบบันทกึ การทบทวนหลังการปฏบิ ตั งิ านประจำวัน (AAR) 128

ง บทสรุปผบู รหิ าร การดำเนนิ งานโครงการโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพยี ง ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กจิ กรรมยอยที่ 1 สรา งและพัฒนากลไกขับเคล่อื นในระดบั พนื้ ท่ี กิจกรรมยอยที่ 1.1 สรางแกนนำขับเคลอ่ื นหมบู า นเศรษฐกจิ พอเพียง กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายใหสถาบันการพัฒนาชุมชน ดำเนินโครงการพัฒนาหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียง ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กจิ กรรมยอยท่ี 1 สรา งและพัฒนากลไกขบั เคล่ือน ในระดบั พืน้ ท่ี กิจกรรมยอ ยท่ี 1.1 สรา งแกนนำขบั เคลอ่ื นหมูบานเศรษฐกจิ พอเพียง ณ ศูนยศึกษาและ พัฒนาชุมชน จำนวน 11 แหง ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรีไดดำเนินโครงการฯ จำนวน 1 รุน ในระหวางวนั ที่ 15-19 มีนาคม 2564 โดยมีกลุม เปา หมายประกอบดวย ผูแทนครวั เรือนพัฒนาพื้นท่ี เรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” ประจำปงบประมาณ 2564 จากจังหวัดชลบุรี จำนวน 58 คน จังหวัด สระแกว จำนวน 21 คน และจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 28 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 107 คน งบประมาณ 481,500 บาท (สี่แสนแปดหมื่นหน่งึ พันหารอยบาทถว น) โดยมีวัตถุประสงค เพือ่ ใหเกิด ผูนำพัฒนา (Change Leader) ที่อยูในชุมชน และนำการพัฒนาใหสอดคลองกับบริบทชุมชน และ นำไปสสู ่งิ ทีช่ ุมชนตอ งการ การดำเนินโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมยอยที่ 1 สรางและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมยอยที่ 1.1 สรางแกนนำ ขับเคลื่อนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดวยประเด็นเนื้อหาวิชาการหลักตามหลักสูตร และ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร จำนวน 20 วิชา ดังนี้ 1. วิชา การขบั เคลื่อนโครงการพฒั นาพืน้ ที่ตน แบบ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม ประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” 2. วิชา กจิ กรรมกลุมสัมพนั ธ/ละลายพฤติกรรรม 3. วิชา เรียนรู ตำราบนดนิ : กิจกรรมเดนิ ชมพืน้ ที่ 4. วชิ า เขาใจ เขา ถงึ พฒั นา ศาสตรพ ระราชากับการพฒั นาท่ีย่งั ยนื 5. วิชา การแปลงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสูก ารปฏิบัตแิ บบเปนข้นั เปนตอน 6. วชิ า ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎบี นั ได 9 ขน้ั สคู วามพอเพียง 7. วิชา หลักกสกิ รรม ธรรมชาติ 8. วิชา แบงกลุม ฝก ปฏิบัตฐิ านเรยี นรู จำนวน 10 ฐาน 9. วชิ า ถอดบทเรยี นผา นสอื่ “วถิ ภี ูมิปญ ญาไทยกับการพ่ึงตนเองในภาวะวกิ ฤต 10. วิชา เรยี นรผู านสื่อการออกแบบเชงิ ภมู สิ งั คมไทย 11. วิชา การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอยางยั่งยืนเพื่อการ พึ่งตนเองและรองรบั ภยั พิบตั ิ 12. วิชา ฝกปฏิบัติ/นำเสนองาน การสรางหุนจำลอง การจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม ประยกุ ตส ู โคก หนอง นา โมเดง 13. วชิ า ถอดบทเรยี นการจดั การพืน้ ท่ตี ามหลักทฤษฎีใหมประยุกตสู โคก หนอง นา โมเดล

งจ 14. วิชา “สุขภาพพงึ่ ตน พฒั นา 3 ขุมพลัง” พลงั กาย พลังใจ พลงั ปญ ญา 15. วิชา ฝกปฏิบตั ิ “จิตอาสาพฒั นาชุมชน เอามื้อสามคั คพี ฒั นาพน้ื ท่ตี ามหลกั ทฤษฎใี หม 16. วิชา Team Building ฝกปฏิบัตกิ ารบรหิ ารจัดการในภาวะวกิ ฤต (หาอยู หากิน) 17. วิชา ถอดบทเรียนฝก ปฏิบัติการบริหารจัดการในภาวะวิกฤต หาอยู หากิน และฝกปฏิบัติ จิตอาสาพฒั นาชมุ ชน 18. วิชา กตญั ตู อ สถานทีพ่ ฒั นาจิตใจ 19. วิชา การขบั เคล่ือนสืบสานศาสตรพระราชากลไก 357 20. จัดทำแผนปฏิบตั ิการ/นำเสนอ ยุทธศาสตรการขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สูการปฏิบตั ิ ผลการประเมินภาพรวมโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมยอยที่ 1 สรางและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมยอยที่ 1.1 สรางแกนนำขับเคลื่อนหมบู านเศรษฐกิจพอเพียง ใชแบบประเมนิ ผลโครงการฯ โดยสามารถสรุปผลการ ประเมินไดด งั น้ี ตอนที่ ๑ ขอ มลู ทัว่ ไป เพศ ผูเขาอบรมสวนใหญเ ปน เพศชาย จำนวน 60 คน คิดเปนรอยละ 56.10 และ เพศหญงิ จำนวน 47 คน คิดเปน รอยละ 43.90 ตำแหนง ผูเขาอบรมสวนใหญมีตำแหนงครัวเรือนพัฒนาพื้นทีแ่ หลงเรียนรู จำนวน 95 คน คดิ เปนรอยละ 88.80 และตำแหนงอืน่ ๆ จำนวน 12 คน คิดเปน รอยละ 11.20 การศึกษา ผูเขาอบรมสวนใหญจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 30 คน คิดเปน รอยละ 28.00 รองลงมาจบการศกึ ษาระดับปริญญาตรี จำนวน 27 คน คดิ เปน รอ ยละ 25.20 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน จำนวน 23 คน คิดเปนรอยละ 21.50 จบการศึกษาระดับอื่น ๆ (ประถมศึกษา, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ, ปริญญาโท) จำนวน 18 คน คิดเปนรอยละ 16.80 และ จบการศกึ ษาระดบั อนปุ ริญญาตรี จำนวน 9 คน คิดเปนรอ ยละ 8.40 อายุ ผูเขาอบรมสวนใหญมีชวงอายุ 51 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 55.10 รองลงมา ชวงอายุ 41 – 50 ป คิดเปนรอยละ 29.90 ชวงอายุ 31 – 40 ป คิดเปนรอยละ 10.30 และ ชว งอายุท่ีตำ่ สุด คือ ชวงอายุ 25 – 30 ป คิดเปนรอยละ 4.70 ตอนที่ ๒ ความพงึ พอใจตอโครงการ ดานกระบวนการ ขั้นตอนการใหบริการ ประเด็นที่มีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ความเหมาะสมของสถานท่ี มีคาเฉลี่ย 4.66 รองลงมา การจัดลำดับขั้นตอนของการจัดกิจกรรมมี คาเฉลี่ย 4.57 และประเดน็ ทีม่ ีความพึงพอใจนอยทีส่ ดุ คอื ความเหมาะสมของระยะเวลามีคา เฉล่ีย 4.27 ดานวิทยากร ประเด็นที่มีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ความรอบรูในเนื้อหาของวิทยากร มีคาเฉลี่ย 4.76 รองลงมา การสรางบรรยากาศการเรียนรู มีคาเฉลี่ย 4.71 และประเด็นที่มี ความพึงพอใจนอยทสี่ ุด คอื การเปดโอกาสใหซักถามแสดงความคิดเห็น มคี า เฉลยี่ 4.67 ดานเจาหนาที่ผูใหบริการ/ผูประสานงาน (ของหนวยงานที่จัด) ประเด็นที่มีความ พึงพอใจมากที่สุด คือ การแตงกาย และ ความสุภาพ มคี าเฉลีย่ 4.72 รองลงมา คือ การตอบคำถาม มีคา เฉลยี่ 4.69 และประเด็นทีม่ คี วามพึงพอใจนอยทส่ี ดุ คือ การประสานงาน มีคา เฉล่ีย 4.66

ฉง การอำนวยความสะดวก (ของหนวยงานที่จัด) ประเด็นที่มีความพึงพอใจมากทีส่ ุด คือ เจาหนาทส่ี นับสนนุ มีคา เฉลี่ย 4.63 รองลงมา เอกสาร มคี า เฉลี่ย 4.58 และประเดน็ ทม่ี ีความพึงพอใจ นอ ยทสี่ ดุ คือ อาหาร, เคร่ืองดื่มและสถานท่ี มีคา เฉลย่ี 4.48 ความพึงพอใจตอ ภาพรวมโครงการ ประเด็นทีม่ ีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ประโยชนที่ ทานไดรับจากโครงการ/กิจกรรม มีคาเฉลี่ย 4.79 รองลงมา ทานไดรับความรู แนวคิด ทักษะและ ประสบการณใหม ๆ จากโครงการ/กิจกรรมน้ี มคี าเฉลย่ี 4.72 และประเด็นที่มคี วามพึงพอใจนอยทีส่ ุด คือ สัดสวนระหวางการฝกอบรมภาคทฤษฎีกับภาคปฏบิ ัติ (ถามี) มีความเหมาะสม มีคาเฉลี่ย 4.56 ตามลำดบั ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะ 3.1 สง่ิ ทีท่ า นพึงพอใจในการรว มโครงการ/กิจกรรมคร้ังน้ี - คณะวิทยากร เจาหนาที่ของศูนยฯ มีความเปนกันเอง ใจดีมาก ใหบริการดีมาก นา รักทกุ คน - ไดเ ครอื ขายจากเพือ่ นใหม - ไดรับความสนกุ สนาน ความรกั และความสามคั คีจากการฝกอบรมครัง้ น้ี - วิทยากรมีความรูความเชี่ยวชาญ สามารถถายทอดความรูไดดี ชัดเจน เขาใจงาย และเปดโอกาสใหแลกเปลย่ี นเรยี นรเู ปน อยา งดี - มคี วามพึงพอใจมาก เปน โครงการท่ีดีมาก สามารถนำความรูไ ปใชประโยชนไ ดจรงิ - ไดเรียนรูจากการปฏิบัติ ทำใหเขาใจอยางชัดเจน สามารถนำไปตอยอดและ ประยกุ ตใชใ นชีวติ ประจำวันไดเปนอยา งดี - อาหารอรอ ย สถานทฝี่ ก อบรม ทพี่ กั ดี สะอาด สะดวกสบาย 3.2 ส่ิงทีค่ วรเสนอแนะนำไปพฒั นาการจัดโครงการ/กจิ กรรมคร้งั ตอไป - กิจกรรมควรเริ่มเวลา 08.00 และไมค วรเกนิ เวลา 19.00 น. เพอื่ ใหม ีเวลาพักผอน ที่เพียงพอ จะทำใหสมองพรอมทจี่ ะเรียนรสู ิ่งใหม ๆ ในทกุ วัน - ขอใหมีโครงการแบบนตี้ อ ไปอีก เพือ่ สรา งโอกาสใหก ับคนรนุ ตอ ไป - ควรมีเสือ้ รนุ แจกใหฟรี - วิทยากรควรมีปา ยชือ่ ติดประจำตวั เพอื่ ใหผ ูเขาอบรมจำชื่อวิทยากรไดงา ยข้ึน ขอ เสนอแนะเชิงนโยบาย โครงการพฒั นาหมูบานเศรษฐกจิ พอเพียง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กจิ กรรม ยอยที่ 1 สรางและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมยอยที่ 1.1 สรางแกนนำขับเคลื่อน หมูบา นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ควรมีการเสริมสมรรถนะแกนนำเปน ประจำทุกป และใหทำการสำรวจความ คิดเห็นหรือความตอ งการของกลุมเปาหมายกอนวาอยากเรียนรูใ นเรือ่ งใดบา ง เพื่อเปนประโยชนส ูงสดุ ในการเพ่ิมประสทิ ธิภาพงานในพื้นท่ีไดจ ริง

1 สวนท่ี 1 บทนำ 1. หลกั การและเหตุผล สถานการณโลกในปจจุบัน มีความผันแปรสูงทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ เทคโนโลยี ซึ่งลว นสง ผลถึงประเทศไทยที่เร่ิมเปลี่ยนจากสงั คมเกษตรอุตสาหกรรม อีกทั้ง ประเทศไทย เปนประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเปด การคาระหวางประเทศจึงมีบทบาทสำคัญในฐานะกลไก ในการพัฒนาและนำความเจริญรงุ เรอื งมาสูป ระเทศ รวมทั้งมสี วนสำคัญในการผลักดันใหเศรษฐกจิ ของ ประเทศขยายตัวอยางรวดเร็ว เศรษฐกิจและการคาของประเทศไทยในระยะที่ผานมาขยายตัวในอัตราที่สูงมาก แตจาก สถานการณเศรษฐกจิ และการคาของโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงไป ไดมีการนำมาตรการใหม ๆ มาเปน ขอ อา งในการกีดกนั การคา มากขึ้น ผูทีสามารถเขาถึงทรัพยากรไดม ากกวา ก็สามารถสรางความมั่งคัง่ ได มากกวา กลาวคือ “คนรวยก็รวยขึ้น คนจนก็จนลง” เกิดเปนปญหาความเลื่อมล้ำดานรายได สงผล กระทบเปนลกู โซ ทง้ั ในสวนของเศรษฐกิจ สังคม และการเมอื ง ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ท่ีมงุ เนน การพัฒนาประเทศไทยใหบ รรลวุ ิสัยทัศน “ประเทศมคี วามมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” จึงเปนการพัฒนาใหประชาชนคนไทยมีคุณภาพชีวติ ท่ดี ี มคี วามสขุ สรา งพน้ื ฐานการพ่ึงตนเอง ลดความเหลือ่ มลำ้ ในระดบั ครวั เรือน ชุมชน และสง ผลใหประเทศมีความเขมแข็ง ในการใชค วามสามารถ บริหารจัดการชีวิตและบริหารจัดการชุมชน สงเสริมการสรางรายได พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก สงเสริม ความเสมอภาคและเปนธรรม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนการนอมนำแนวพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไปสูการปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาทีส่ มดุลเปน ธรรมและมีภูมิคุมกันกับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงทั้งจากภายในชุมชน ประเทศและภายนอกจาก สังคมโลก ทจี่ ะสงผลตอ ครอบครวั การเตรียมความพรอมแตละครวั เรือนใหไดรับการพัฒนา อยางบูรณา การตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งและศาสตรพระราชา โดยสอดคลอ งกบั ภมู ิสังคมที่แตละพื้นท่ีมีความ แตกตางกันของปจ จยั พืน้ ฐาน ดานศักยภาพ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรมและอัตลักษณ ตัวอยางเชน การบรหิ าร จัดการน้ำและพื้นที่เการเกษตรดวย “โคก หนอง นา โมเดล” ดานการทำเกษตรทฤษฎีใหมตามแนว เศรษฐกิจพอเพียงมาใชบรหิ ารจัดการน้ำและพื้นที่การเกษตร ผสมผสานกับภูมิปญญาพื้นบานไดอยาง สอดคลองกนั 2. วตั ถุประสงค เพื่อใหเกิดผูนำพัฒนา (Change Leader) ที่อยูในชุมชน และนำการพัฒนาใหสอดคลองกับ บรบิ ทชมุ ชน และนำไปสสู ่ิงท่ชี มุ ชนตองการ

2 3. กลุมเปา หมาย ผูแทนครัวเรือนพัฒนาพื้นที่เรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” ป 2564 จากจังหวัดชลบุรี จำนวน 58 คน จงั หวัดสระแกว จำนวน 21 คน และจังหวัดสมทุ รปราการ จำนวน 28 คน รวมจำนวน ท้ังสน้ิ 107 คน 4. ขัน้ ตอนและวิธีดำเนินงาน จดั ฝกอบรมผูแทนครัวเรือนเปาหมาย “โคก หนอง นา โมเดล” ป 2564 ใหมีความรูความเขาใจ ในหลักการแนวทางการพัฒนาหมูบานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถขับเคลื่อน การพฒั นาหมบู านใหเปนแหลง เรียนรตู นแบบรว มกนั ของชมุ ชน โดยมขี ั้นตอนดำเนนิ งาน ดังน้ี 1) สำนักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั อำเภอ คดั เลือกหมบู านเปา หมายท่มี ีความพรอมในการพัฒนา เปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงและมีพื้นที่ของครัวเรือนที่สมัครในที่จะพัฒนาพ้ืนที่ใหเปนแหลงเรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” (1 หมบู าน 1 แปลง) และคัดเลือกผูแ ทนครวั เรือนในหมบู านเปาหมายดังกลาว เขา รว มอบรมฯ จำนวน 1 คน / 1 หมูบา น 2) จัดทำทะเบียนรายช่อื หมูบ านเปาหมายและรายชื่อผแู ทนครัวเรือนฯ ท่จี ะเขารับการอบรมฯ ตามแบบทกี่ รมฯ กำหนด และสงใหกรมการพฒั นาชมุ ชนทราบ 3) สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กำหนดรูปแบบ หลักสูตร และวิธีการจัดฝก อบรมผูแทนครัวเรือน เปา หมายทจ่ี ะพฒั นาพนื้ ท่ีใหเ ปน แหลงเรยี นรู “โคก หนอง นา โมเดล” ป 2564 4) กำหนดสถานที่ดำเนินการจัดฝกอบรมผูแทนครัวเรือนพัฒนาพื้นที่เรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” จำนวน 114 รุน รุนละ 5 วัน ณ ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชน และศูนยฝกอบรมของภาคีเครือขาย ตามพ้นื ทใ่ี หบริการแตล ะจงั หวดั 5) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด/อำเภอแจงประสานผูแทนครัวเรือนเปาหมาย “โคก หนอง นา โมเดล” เขา รว มอบรมฯ หมบู า นละ 1 คน ตามกำหนดการทส่ี ถาบันการพฒั นาชมุ ชนกำหนด 6) จัดอบรมผูแทนครัวเรือนเปาหมายพื้นที่เรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” ตามรูปแบบและ วิธกี ารที่กำหนด โดยมุงเนนปรบั กรอบความคดิ /กระบวนการทางความคดิ (Mindset) ใหกลุมเปาหมาย ตระหนักถึงความสำคัญของการทำหนาที่ และสามารถนำไปปฏิบัติใชในการบริหารจัดการพื้นที่ของ ตนเองได 7) มอบหมายภารกิจใหตัวแทนครัวเรือนพัฒนาพื้นที่เรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” ไปขับเคลื่อนการพัฒนาในหมูบา นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับครัวเรือน ระดับชุมชน ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และดำเนินการจัดการพื้นที่ใหเปนแหลงเรียนรูชุมชน “โคก หนอง นา โมเดล” ใหเหมาะสมกับพน้ื ท่ี 8) สง เสริมและสนับสนนุ การขบั เคลือ่ นกิจกรรมการพฒั นาพ้ืนที่เรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” ของผูแทนครัวเรือนพัฒนาพน้ื ทเ่ี รยี นรูเ ปา หมายที่ผา นการฝก อบรมอยางตอเนอื่ ง 9) สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน พรอมทั้งรายงานผลการดำเนินงานในระบบ BPM ภายใน 7 วัน หลงั ดำเนนิ การแลวเสรจ็

3 5. งบประมาณดำเนินการ งบประมาณดำเนนิ โครงการฯ รวมท้งั สน้ิ 481,500 บาท (ส่แี สนแปดหมน่ื หน่ึงพนั หา รอยบาทถวน) 6. ระยะเวลาดำเนินการ ดำเนนิ การฝกอบรม จำนวน 1 รุน ในระหวางวันที่ 15-19 กมุ ภาพันธ 2564 7. ผลทค่ี าดวาจะไดร ับ ครัวเรือนพัฒนาพื้นที่เรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” มีความรูความเขาใจหลักการแนวทาง การพัฒนาหมูบานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถเปนแกนนำในการขับเคลื่อน การนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหมประยุกตสูการปฏิบัติในรูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ในพน้ื ทเ่ี ปา หมายได 8. ตวั ชี้วดั ความสำเร็จ จำนวนผแู ทนครวั เรือนพฒั นาพื้นท่ีเรยี นรู “โคก หนอง นา โมเดล” ทไ่ี ดร ับการพัฒนา 107 คน

4 สว่ นที่ 2 สรุปผลการฝึกอบรมรายวิชา กรมการพฒั นาชมุ ชน โดยสถาบันการพฒั นาชมุ ชน มอบหมายให้ศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนชลบุรี ดำเนินงานโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมยอ่ ยที่ 1 สร้างและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 สร้างแกนนำขับเคลื่อนหมู่บ้าน เศรษฐกจิ พอเพยี ง จำนวน 1 รนุ่ ดำเนนิ การในระหว่างวันท่ี 15-19 มีนาคม 2564 ณ ศูนย์ศึกษาและ พัฒนาชุมชนชลบุรี โดยมีกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ผู้แทนครัวเรือนพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” ประจำปีงบประมาณ 2564 จากจังหวัดชลบุรี จำนวน 58 คน จังหวัดสระแก้ว จำนวน 21 คน และจงั หวดั สมุทรปราการ จำนวน 28 คน รวมทั้งสิน้ จำนวน 107 คน งบประมาณ 481,500 บาท (สแี่ สนแปดหมนื่ หน่งึ พนั ห้ารอ้ ยบาทถว้ น) การดำเนินโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมย่อยที่ 1 สร้างและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 สร้างแกนนำ ขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วยประเด็นเนื้อหาวิชาการหลักตามหลักสูตร และ กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร จำนวน 20 วชิ า ดงั น้ี 1. วิชา การขบั เคล่ือนโครงการพฒั นาพ้ืนท่ีต้นแบบ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” 2. วชิ า กจิ กรรมกลุ่มสมั พันธ์/ละลายพฤติกรรรม 3. วิชา เรยี นรู้ ตำราบนดนิ : กจิ กรรมเดินชมพน้ื ที่ 4. วิชา เข้าใจ เขา้ ถึง พฒั นา ศาสตร์พระราชากับการพฒั นาท่ียัง่ ยนื 5. วชิ า การแปลงปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ัติแบบเปน็ ข้นั เปน็ ตอน 6. วชิ า ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎีบนั ได 9 ขั้น สู่ความพอเพียง 7. วิชา หลักกสกิ รรม ธรรมชาติ 8. วิชา แบ่งกลุม่ ฝึกปฏบิ ตั ฐิ านเรียนรู้ จำนวน 10 ฐาน 9. วิชา ถอดบทเรียนผ่านสอื่ “วถิ ภี ูมปิ ัญญาไทยกับการพ่ึงตนเองในภาวะวิกฤต 10. วชิ า เรียนรผู้ า่ นสือ่ การออกแบบเชิงภูมสิ งั คมไทย 11. วิชา การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืนเพื่อการ พ่งึ ตนเองและรองรบั ภัยพบิ ตั ิ 12. วิชา ฝึกปฏิบัติ/นำเสนองาน การสร้างหุ่นจำลอง การจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดง 13. วชิ า ถอดบทเรยี นการจัดการพน้ื ท่ีตามหลักทฤษฎีใหมป่ ระยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล 14. วิชา “สขุ ภาพพึง่ ตน พัฒนา 3 ขุมพลัง” พลังกาย พลังใจ พลังปัญญา 15. วชิ า ฝกึ ปฏบิ ัติ “จติ อาสาพัฒนาชมุ ชน เอามอ้ื สามคั คีพัฒนาพื้นท่ีตามหลักทฤษฎใี หม่ 16. วิชา Team Building ฝึกปฏบิ ตั กิ ารบริหารจดั การในภาวะวิกฤต (หาอยู่ หากนิ ) 17. วิชา ถอดบทเรียนฝึกปฏิบัติการบริหารจัดการในภาวะวิกฤต หาอยู่ หากิน และฝึกปฏิบัติ จิตอาสาพฒั นาชุมชน

5 18. วชิ า กตัญญูต่อสถานทีพ่ ัฒนาจิตใจ 19. วชิ า การขบั เคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชากลไก 357 20. จัดทำแผนปฏิบัติการ/นำเสนอ ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สกู่ ารปฏิบัติ การเรียนรู้แต่ละรายวิชาจะเป็นการบรรยายให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ สร้างความรู้ความเข้าใจ ถึงกระบวนการดำเนินงานโครงการฯ โดยเชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละหัวข้อ วิชามาให้ความรู้ ทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้อย่างเต็มที่และมีโอกาสซักถามวิทยากรถึง ปัญหาและข้อสงสัยต่างๆ ได้ทันที รวมถึงเน้นการลงมือฝึกปฏิบัติจริง ทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจ ขั้นตอนและแนวทางการดำเนินงานอย่างชัดเจน รวมทั้งมีกิจกรรมการถอดองค์ความรู้รายวิชาในแต่ ละวันเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจร่วมกัน และเติมเต็มความรู้จากการฝึกอบรม โดยในกระบวนการ ฝึกอบรมมเี ทคนิค/วธิ กี าร ดังนี้ 1. การบรรยายประกอบส่อื Power point 2. การจัดเวทแี ลกเปล่ียนเรียนรู้ ใหผ้ ูเ้ ข้าอบรมไดซ้ กั ถาม 3. การฝึกปฏิบตั ิ 4. การจัดกิจกรรมการถอดบทเรียนในวิชาท่ีได้รบั การฝกึ อบรม จากกระบวนการฝึกอบรมสามารถสรุปเน้ือหารายวิชาไดด้ ังนี้ 1. วิชา การขบั เคลอื่ นโครงการพฒั นาพน้ื ทต่ี น้ แบบ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” วิทยากร นายอิรยศ อเนก ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการศนู ย์ศึกษและพัฒนาชมุ ชนชลบุรี ระยะเวลา 1.00 ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงค์ สร้างความเขา้ ใจแนวทางการดำเนนิ โครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบ การพัฒนาคุณภาพชวี ิตตาม หลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ขอบเขตเน้ือหา 1. ความเป็นมาของโครงการ 2. วตั ถุประสงค์ 3. ขนั้ ตอนการดำเนินงาน สรปุ เน้อื หาวชิ า วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ในประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1. ความเป็นมาของโครงการ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ส่งผล กระทบไปถึงวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการสาธรณสุข ด้านการคมนาคม และอื่นๆ โดยยุทธศาสตร์ ชาติ พ.ศ. 2561-2580 และนโยบายรัฐบาลที่จะสืบสาน รักษา ต่อยอด และพัฒนาประเทศตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร กระทรวงมหาดไทยมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน น้อมนำหลักปรัชญาของ

6 เศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน็ หลักในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนรว่ มของประชาชน โดยใช้ หมู่บ้านเป็นฐานของการพัฒนามุ่งสร้างภูมิคุ้มกันให้ทุกครัวเรือน และพัฒนาคนให้มีความรู้และปรับตัว ให้สามารถดำเนนิ ชวี ติ อย่างมีความสุข มอี าชพี สร้างรายไดท้ า่ มกลางวกิ ฤตโลกทมี่ ีการเปล่ียนแปลงอย่าง รวดเรว็ ด้วยการจัดทำโครงการที่ประยุกต์การใชศ้ าสตร์พระราชาและน้อมนำเอาแนวคิดด้านทฤษฎีการ พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดริกว่า 40 ทฤษฎี มาประยุกต์กับแนวคิดการพัฒนาพื้นที่และการ ออกแบบเชงิ ภูมิสงั คมไทยเพ่อื การพ่งึ ตนเอง และรองรบั ภัยพบิ ตั ิในรูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 2. วัตถุประสงค์ เพื่อใหเ้ กิดผนู้ ำพัฒนา (Change Leader) ทอ่ี ยู่ในชมุ ชน และนำการพัฒนาใหส้ อดคล้องกับ บรบิ ทชมุ ชน และนำไปสู่สงิ่ ที่ชมุ ชนต้องการ 3. ข้ันตอนการดำเนนิ งาน 9 ขนั้ ตอน ดงั น้ี ๑) สำนักงานพัฒนาจังหวัด/อำเภอ คัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมายที่มีความพร้อมในการ พัฒนาเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง และมีพื้นที่ของครัวเรือนที่สมัครใจที่จะพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ \"โคก หนอง นา โมเดล\" (๑ หมู่บ้าน /๑ แปลง) และคดั เลอื กผู้แทนครวั เรือนในหมู่บ้านเป้าหมาย ดงั กล่าวเข้ารว่ มอบรมฯ จำนวน ๑ คน /๑ หมู่บ้าน ๒) จัดทำทะเบียนรายชื่อหมู่บ้านเป้าหมายและรายชื่อผู้แทนครัวเรือนฯ ที่จะเข้ารับ การอบรมฯ ตามแบบท่ีกรมฯ กำหนด และสง่ ใหก้ รมการพัฒนาชุมชนทราบ ๓) สถาบันการพัฒนาชุมชน กำหนดรูปแบบ หลักสูตร และวิธีการจัดฝึกอบรมผู้แทน ครวั เรอื นเปา้ หมายท่ีจะพฒั นาพืน้ ที่ให้เป็นแหล่งเรยี นรู้ \"โคก หนอง นา โมเดล\" ปี ๒๕๖๔ 4) กำหนดสถานที่ดำเนินการจัดฝึกอบรมผู้แทนครัวเรือนพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ \"โคก หนอง นา โมเดล\" จำนวน ๑๑๔ รนุ่ รุ่นละ ๕ วนั ณ ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชน และศูนย์ฝกึ อบรมของ ภาคเี ครอื ขา่ ย ตามพ้ืนทใี่ หบ้ ริการแต่ละจงั หวดั ๕) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด/อำเภอแจ้งประสานผู้แทนครัวเรือนเป้าหมาย \"โคก หนอง นา โมเดล\" เข้าร่วมอบรมฯ หมู่บ้านละ ๑ คน ตามกำหนดการที่สถาบันการพัฒนาชุมชน กำหนด ๖) จัดฝึกอบรมผู้แทนครัวเรือนเป้าหมายพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ \"โคก หน่อง นา โมเดล\" ตามรูปแบบ และวิธีการที่กำหนด โดยมุ่งเน้นการปรับกรอบความคิด/กระบวนการทางความคิด (Mindset) ใหก้ ล่มุ เป้าหมายตระหนกั ถงึ ความสำคัญของการทำหน้าที่ และสามารถนำไปปฏบิ ัตใิ ช้ในการ บรหิ ารจดั การพ้นื ท่ีของตนเองได้ ๗) มอบหมายภารกิจให้ตัวแทนครัวเรือนพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ \"โคก หนอง นา โมเดล\" ไปขับเคลื่อนการพัฒนาในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในระดับครัวเรือน ระดับชุมชน ตามหลักปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง และดำเนินการจัดการพื้นที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน \"โคก หนอง นา โมเดล\" ใหเ้ หมาะสมกับพน้ื ที่ ๘) ส่งเสริมและสนับสนนุ การขับเคลื่อนกิจกรรมการพัฒนาพ้ืนท่ีเรยี นร้\"ู โคก หนอง นา โมเดล\" ของผแู้ ทนครวั เรือนพัฒนาพนื้ ทเี่ รยี นร้เู ป้าหมายท่ผี ่านการฝึกอบรมอย่างตอ่ เนอื่ ง ๙) สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน พร้อมทั้งรายงานผลการดำเนินงานในระบบ BPM ภายใน ๗ วัน หลังดำเนนิ การแล้วเสรจ็

7 สรปุ ผลการเรียนรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจกระบวนการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามแนวทางการปฏิบัติ ของกรมการพัฒนาชมุ ชนมากยิง่ ขึน้ 2. วิชา กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ/์ ละลายพฤติกรรรม วทิ ยากร นายเทวิน ชูชพี วทิ ยากรจากมูลนธิ ิกสิกรรมธรรมชาติ และคณะวิทยากรศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนชลบุรี ระยะเวลา ๑.00 ชวั่ โมง วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเป้าหมายดว้ ยกันและทีมวิทยากรเพ่ือใหเ้ กดิ บรรยากาศ ทีด่ ใี นการเรยี นรู้ ๒. เพอ่ื แบง่ กลุม่ ในการรว่ มกจิ กรรมในแตล่ ะรายวิชา ขอบเขตเนอ้ื หา ๑. การสรา้ งกจิ กรรมกลุ่มสัมพันธ์ ละลายพฤติกรรม การสรา้ งผู้นำกลุ่ม/ผนู้ ำรุ่น ๒. การแนะนำตนเองและทำความรู้จกั กนั ๓. การสร้างสัญลักษณ์รว่ ม ๔. การปรบั ฐานการเรยี นรู้ ๕. กจิ กรรมกล่มุ สมั พนั ธ์ (แบ่งกล่มุ เล่นเกมส์) ๖. การรบั ผา้ พนั คอ ๗. การมอบหมายบทบาทหน้าที่ ๘. ความคาดหวัง เทคนิค วิธีการ 1. ละลายพฤตกิ รรมดว้ ยเกม เพลง และกิจกรรมนันทนาการ 2. ถอดหวั โขน ลดอายุใหเ้ หมาะแก่กจิ กรรม โดยใชห้ ลัก ๓ค (คกึ คัก คล่องแคล่ว ครื้นเครง) 3. แบ่งกลมุ่ 4 กล่มุ (ผา้ สี 4 สี) คัดผู้นำกลุ่ม ๑ ทา่ น เลขาฯ ๑ ทา่ น (รบั ตำแหน่งผ้ใู หญ่บ้าน และผู้ช่วยในแตล่ ะกลุ่มส)ี คัดผนู้ ำรุน่ 1 ทา่ น (รบั ตำแหนง่ กำนนั คัดเลอื กตวั แทนจากผู้ใหญบ่ ้านในแต่ ละกลุ่มสีมารบั ตำแหนง่ กำนนั ๑ ท่าน) 4. พิธรี ับมอบ ผ้าสี มอบภารกิจดแู ลบา้ น (กว.ประจำวนั และกจิ กรรมทร่ี ับผดิ ชอบ) สรุปเนอ้ื หาวิชา วทิ ยากรสร้างความคุ้นเคยโดยใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เพอ่ื เป็นการละลายพฤติกรรมของบุคคล ในกลุ่มที่มีที่มาแตกต่างกันให้มีความสัมพันธ์ มีความเป็นมิตรที่ดีต่อกันในกลุ่มเพื่อจะสามารถทำงาน ร่วมกันได้อย่างมีความสุขและประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ การจัตกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมละลายพฤติกรรม โดยใช้กิจกรรมหรือเกมส์เป็นสื่อ มีวัตถุประสำคัญ คือ เพื่อประโยชน์ใน การเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การพัฒนาความคิดสงั สรรค์และทักษะการทำงานรวมกันโดยเนน้ ท่ี บรรยากาศและความสัมพันธ์ที่ดี มีความเป็นมิตรและสนุกสนานเป็นสำคัญ โดยได้แบ่งกลุ่มเล่นเกมส์

8 นำเพลง และนนั ทนาการเขา้ มา เพอ่ื ทำให้ผเู้ ขา้ อบรมเกดิ ความสนุก ผอ่ นคลาย และมสี ่วนรว่ มมากยิ่งข้ึน มีการแนะนำตนเองและทำความรู้จักกัน มีการสร้างสัญลักษณ์ร่วม จากนั้นแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่มสี และคัดเลือกผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน เลขาฯ จากนั้นใหผ้ ู้ใหญบ่ ้านของแต่ละสีเลือกกำนัน และเลือก สารวัตรกำนัน ๑ คน เมื่อเลือกกำนันเสรจ็ ส้ินแล้วก็จัดพิธีมอบผ้าพนั คอใหแ้ ตล่ ะกลุ่มสี ต่อหน้าพระบรม ฉายาลกั ษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ โดยผู้ใหญ่บา้ นของแตล่ ะสีออกมารบั เมอ่ื ได้ผ้าพันคอสีแล้ว ผใู้ หญ่บา้ นจะแจกให้สีตัวเองโดยสง่ ต่อลงไปตามแถว เมื่อแตล่ ะคนไดร้ บั แล้วให้ถอื ในมือขวา วางไว้บนตัก และหลับตา ระลกึ ถงึ ในหลวง ร๙ และ พระราชกรณียกิจของพระองค์เปน็ เวลา ๑ นาที และผูกผา้ พนั คอ หลงั จากน้ันมอบหมายบทบาทหนา้ ที่ และแจกบตั รคำให้เขยี นความคาดหวงั สรปุ ผลการเรียนรู้ จากกิจกรรมนีท้ ำใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรม และวทิ ยากรรูจ้ กั กัน มสี ัมพันธท์ ดี่ ขี น้ึ ต่อกันท้ังในกลุ่ม ใหญแ่ ละกลมุ่ ยอ่ ย รับร้ถู งึ บทบาทหน้าท่ี กฎ ระเบียบ ในการอยรู่ ่วมกนั 3. วชิ า เรียนรูต้ ำราบนดนิ : กิจกรรมเดนิ ชมพนื้ ที่ วทิ ยากร นายพฏี าวุธ นาโควงค์ ตำแหนง่ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ ระยะเวลา 1.00 ชวั่ โมง วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ ศึกษาพน้ื ท่ีบริบทศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนชลบุรี ทมี่ ีสภาพเป็นพน้ื ทีเ่ มืองและสภาพ ถมดนิ ป่าชายเลนในการสรา้ งศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนชลบุรตี ง้ั แต่ปี 2508 2. เพื่อศึกษาฐานเรียนรู้แปลงสาธิต โคก หนอง นา โมเดล จำนวน 4 แปลง ของศูนยศ์ ึกษา และพัฒนาชมุ ชนชลบรุ ี ในการบริหารจดั การนำ้ การปรบั สภาพดิน การทำคลองใส้ไก่ การทำหลมุ ขนม ครก การปลกู ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง การปลูกไม้ 5 ระดับ ขอบเขตเนื้อหา เดนิ ชมพ้นื ท่ีฐานการเรียนรู้แปลงสาธิต โคก หนอง นา โมเดล จำนวน 4 แปลง ของศนู ยศ์ ึกษา และพฒั นาชุมชนชลบุรี สรปุ เน้อื หาวิชา 1. วิทยากรนำชมแปลงสาธติ โคก หนอง นา โมเดล แปลงท่ี 1 พน้ื ที่ขนาดกวา้ ง 15 เมตร ยาว 15 เมตร ในจดุ เรียนรู้ประกอบด้วย -หลุมขนมครก ขนาด 1 เมตร จำนวน 2 หลุม -คลองใสไ้ ก่ขนาดกว้าง 50 ชม. ลึก 50 ชม. ยาว 10 เมตร -พชื ทปี่ ลกู ประกอบดว้ ย ตน้ มะมว่ งโห่ จำนวน 1 ตน้ ชะอม จำนวน 10 ต้น ต้นมะตูม จำนวน 1 ตน้ ต้นกระเพรา จำนวน 5 ต้น ต้นตะใคร่ จำนวน 2 ตน้

9 ตน้ มะระ จำนวน 10 ต้น ตน้ มะเขือ จำนวน 5 ต้น 2. วิทยากรนำชมแปลงสาธิต โคก หนอง นา โมเดล แปลงที่ 2 มขี นาดกวา้ ง 10 เมตร ยาว 20 เมตร ในจุดเรยี นรูป้ ระกอบด้วย -หลมุ ขนมครก ขนาด 1 เมตร จำนวน 2 หลมุ -คลองใสไ้ ก่ขนาดกวา้ ง 50 ชม. ลกึ 50 ชม. ยาว 30 เมตร -พชื ท่ีปลกู ประกอบด้วย ตน้ กลว้ ย จำนวน 5 ตน้ ต้นชมพู่ จำนวน 2 ต้น ต้นมะตูม จำนวน 1 ตน้ ตน้ กระเพรา จำนวน 5 ตน้ ตน้ ตะใคร่ จำนวน 10 ตน้ ตน้ ขา่ จำนวน 10 ตน้ ตน้ มะเขือ จำนวน 10 ตน้ ต้นแมงลกั จำนวน 5 ตน้ ถั่ว จำนวน 20 ต้น พื้นทีน่ า กวา้ ง 2 เมตร ยาว 2 เมตร ตน้ มะพรา้ ว จำนวน 1 ตน้ ตน้ มะม่วง จำนวน 2 ต้น 3. วทิ ยากรนำชมแปลงสาธติ โคก หนอง นา แปลงที่ 3 มีขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร ในจุดเรียนรปู้ ระกอบดว้ ย -หลมุ ขนมครก ขนาด 1 เมตร จำนวน 1 หลมุ -คลองใส้ไกข่ นาดกวา้ ง 50 ชม. ลกึ 50 ชม. ยาว 30 เมตร -พชื ที่ปลูกประกอบด้วย ตน้ กล้วย จำนวน 30 ต้น ต้นชมพู่ จำนวน 1 ตน้ ต้นตะใคร่ จำนวน 10 ตน้ ตน้ ขา่ จำนวน 10 ตน้ ตน้ มะเขือ จำนวน 10 ตน้ ต้นแมงลัก จำนวน 5 ตน้ แปลงผักบงุ้ จำนวน 1 แปลง แปลงผกั วอเตอร์เค้ก จำนวน 1 แปลง ถวั ญปี่ นุ่ จำนวน 20 ตน้ พนื้ ท่นี า กวา้ ง 2 เมตร ยาว 2 เมตร ตน้ มะพร้าว จำนวน 1 ตน้ ต้นมะม่วง จำนวน 2 ต้น

10 4. วทิ ยากรนำชมแปลงสาธติ โคก หนอง นา โมเดล แปลงที่ 4 มีขนาดกวา้ ง 10 เมตร ยาว 20 เมตร ในจุดเรียนรปู้ ระกอบดว้ ย -หลุมขนมครก ขนาด 1 เมตร จำนวน 1 หลุม -คลองใสไ้ กข่ นาดกวา้ ง 50 ชม. ลกึ 50 ชม. ยาว 40 เมตร -พชื ท่ปี ลูกประกอบด้วย ต้นมะลอกอ จำนวน 3 ต้น ตน้ ชมพู่ จำนวน 1 ต้น ต้นตะใคร่ จำนวน 10 ต้น ตน้ ข่า จำนวน 10 ตน้ ตน้ มะเขือ จำนวน 10 ต้น ตน้ แมงลกั จำนวน 5 ตน้ ตน้ มะมว่ ง จำนวน 2 ตน้ พนื้ ทโี่ คก ขนาด กว้าง 3 เมตร สูง 1 เมตร สำหรบั ปลูกมะเขือ การสร้างฝา่ ยชะลอน้ำ แปลงผกั ถัวพู จำนวน 1 แปลง 5. วิทยากรนำชมแปลงเอามือสามคั คี เปน็ การให้ผู้เขา้ ฝกึ อบรมไดเ้ หน็ พน้ื ท่ีจรงิ กอ่ นฝกึ อบรม ในแต่ละวชิ าเพ่ือนำความรู้มาสร้างหนุ่ จำลอง การจัดการพ้ืนทต่ี ามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” สรุปผลการเรียนรู้ 1. ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมได้ศกึ ษาพ้นื ที่ตน้ แบบโคกหนองนาโมเดลของศูนยศ์ ึกษาและพัฒนา ชุมชนชลบรุ ี 2. ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมไดร้ บั ความรกู้ ารพฒั นาพืน้ ท่ีตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” 3. ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมได้ภาคีเครอื ขา่ ยในการทำงาน 4. ผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมไดล้ งมือปฏบิ ัตจิ ริงซ่งึ จะทำให้เกิดความสนกุ ไดอ้ อกกำลงั กาย และเกิด การชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกัน ตลอดจนการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า 4. วชิ า เข้าใจ เข้าถงึ พัฒนา ศาสตรพ์ ระราชากบั การพัฒนาท่ียัง่ ยืน วิทยากร นายอิรยศ อเนก ตำแหนง่ ผู้อำนวยการศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนชลบุรี ระยะเวลา 2 ช่ัวโมง วัตถุประสงค์ เพอื่ ให้ผเู้ ขา้ รับการอบรมมีความรู้ “เขา้ ใจ เขา้ ถึง พัฒนา ศาสตรพ์ ระราชากับการพัฒนาทีย่ ัง่ ยนื และหลกั การทรงงาน ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง” ประเดน็ เน้ือหา 1. หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. หลักการทรงงาน “เข้าใจ เขา้ ถงึ พัฒนา” พระราชดำรสั ของ ร.9

11 3. บันได 9 ขน้ั สู่ความพอเพยี ง 4. เรยี นรจู้ ากกรณตี ัวอย่าง “โคก หนอง นา โมเดล” วิธกี าร / เทคนคิ วิทยากรใช้ PowerPoint ประกอบการบรรยาย โดยสรุป ดังน้ี ๑. ศาสตรพ์ ระราชา ศาสตร์แหง่ แผน่ ดนิ 2. เศรษฐกิจพอเพียง 3. บนั ได 9 ขัน้ สู่ความพอเพียง 4. ตัวอย่างความสำเร็จ โคก หนอง นา โมเดล วสั ดุ / อุปกรณ์ ๑. สอ่ื วิดีทัศน์ ประกอบการบรรยาย ๒. สื่อ Power point เทคนคิ วธิ กี าร วิทยากรบรรยายใหค้ วามรู้ในประเด็น ดงั นี้ 1) ศาสตร์พระราชา คือ ศาสตร์ที่เกิดจากกษัตริย์นักพัฒนา คือ ในหลวง ร.9 ผู้ซึ่งทรงงาน อยู่บนหลักการของวิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ มีเหตุ มีผล เน้นการศึกษา และการมีส่วนร่วมเป็น ส่วนสำคญั จุดเด่นของ “ศาสตร์พระราชา” อยู่ที่ “การนำมาปรับใช้” ในความเป็นจริงแล้ว ทฤษฎีเดียว ไม่สามารถนำไปใช้ได้กับทุกที่ ขึ้นอยู่กับบริบทของพื้นที่ ประชาชนในพื้นที่และสิ่งแวดล้อมนั้นเป็น อยา่ งไรจึงเป็นทีม่ าว่า ทำไมถงึ ตอ้ ง “เข้าใจ เขา้ ถงึ พัฒนา” 2) หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงช้ีถึงแนว ทางการดำเนินชีวิตของประชาชนในทุกระดับ ทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน หรือ ระดับประเทศ ในการ ปฏิบัติงานหรือบริหารพัฒนาประเทศให้ดำเนินไปด้วยความไม่มาท พระองค์ทรงทำตัวอย่างให้คนไทย ได้เห็นผ่านโครงการพระราชดำริที่ประสบความสำเร็จกว่า 4,741 โครงการ มากกว่า 47,000 บทเรียน ทำให้ทั่วโลกให้การยอมรับและมอบรางวัลให้พระองค์ อาทิ รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดินเพื่อ มนษุ ยธรรม (IUSS Humanitarian Soil Scientist Award) และรางวัลความสำเรจ็ สูงสุดด้านการพัฒนา มนษุ ย์ (UNDP Human Development Lifetime Achievement Award) เป็นต้น 3) หลกั การทรงงาน “เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา” พระราชดำรัสของ ร.9 เข้าใจ ทำอะไรต้องเข้าใจปัญหา เข้าหนทางแก้ไข เข้าใจกระบวนการจัดการ และปรับความ เข้าใจระหวา่ งผใู้ ห้ ผูร้ บั เสยี กอ่ นให้ได้เข้าใจซงึ่ กันและกนั เข้าถึง เมื่อเข้าใจระหว่างกันทุกประการครบถ้วนแล้ว ต้องเข้าถึงการกระทำ สร้างความ ร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง เข้าถึงเครื่องไม้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ และความสามัคคีร่วมจิตร่วมใจของ ผปู้ ฏิบัติ ร่วมมือรว่ มไม้กนั ทำงาน - ให้ประชาชนเกิดความต้องการที่จะพัฒนาตนเองเสียก่อน ไม่ใช่ราชการบังคับให้ทำ ซึ่งจะ ไมย่ ั่งยืน จงึ ทรงเนน้ การพัฒนาคนใหเ้ ปล่ยี นแปลงตนเองก่อน แล้วจึงเขา้ ไปพัฒนา....

12 “เราเป็นนกั เรียน เราไมใ่ ชเ่ ป็นผู้เชี่ยวชาญ ถา้ หากว่าในดา้ นไหนก็ตาม เวลาไปปฏิบัติให้ถือว่า เราเป็นนักเรียน ชาวบ้านเป็นครู หรือ “ธรรมชาติเป็นครู” การที่ท่านทั้งหลายจะออกไปก็จะไปใน หลายๆ ด้าน ก็ต้องเข้าใจว่า เราอาจจะเอาความรู้ไปให้เขา แต่ก็ต้องนับถือความรู้ของเราด้วย จึงจะมี ความสำเรจ็ พัฒนา เมื่อต่างฝ่ายต่างเข้าใจกันแล้ว เข้าถึงกันแล้ว การพัฒนาก็จะดำเนนิ การไปอย่างย่งั ยนื ไม่ส่งผลกระทบที่ติดลบต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและการเมือง หากแต่นำไปสู่ความสมดุล ม่ันคง และยัง่ ยนื พฒั นาอะไร เรมิ่ ต้นดว้ ยตนเอง พึ่งพาตนเองได้ ตน้ แบบเผยแพร่ความรู้ “....พระราชดำริ เป็นแนวคิดของฉนั ไมไ่ ด้เป็นพระบรมราชโองการหรือคำสงั่ นะ....” พึ่งพาตนเองได้ ทรงเน้นว่า การพัฒนาต้องทำให้ประชาชนพึ่งพาตนเองได้ ทรงโปรด ใหป้ ระชาชนทำอะไรได้ด้วยตนเอง ไมต่ อ้ งรอความชว่ ยเหลอื จากรัฐ 4) ทฤษฎบี นั ได 9 ขั้น การไปสู่ความพอเพียง ตามแนวทางศาสตร์พระราชา เน้นการเริ่มต้นที่การทำเพื่อพอกิน พอใช้ พออยู่ และพอร่มเย็น โดยเริ่มที่ตัวเราเองก่อน “พอ” ก่อน ต่อเมื่อมีเหลือแล้วจึงขยายต่อไป แบง่ เปน็ ข้นั พ้ืนฐาน 4 ข้ัน และขัน้ กา้ วหนา้ อีก 5 ข้นั รวมเป็นบันได 9 ขนั้ สู่ความพอเพียงท่ยี ่ังยืน ข้ันที่ 1 พอกิน พื้นฐานที่สุดของมนุษย์ คือ ความต้องการปัจจัย 4 และประการสำคัญที่สุดของปัจจัย 4 คือ อาหาร ขั้นที่ 1 ของแนวทางแก้ปัญหาที่ยั่งยืน คือ ตอบคำถามให้ได้ว่า “ทำอย่างไรจึงจะพอกิน” โดยให้ความสำคัญกับ ข้าวปลาอาหาร ไม่ให้ความสำคัญกับเงิน โดยยึดหลักว่า “เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาสิของจริง” เกษตรกรต้องเริ่มจากการอยู่ให้ได้โดยไม่ใช้เงิน มีอาหารพอมี พอกิน ด้วยการปลูก พชื ผัก ผลไม้ ใหพ้ อกนิ ชาวนาต้องเก็บข้าวไว้ใหเ้ พียงพอสำหรับการมีกินทั้งปี ไม่ขายข้าวเปลือกเพื่อนำ เงินไปซื้อข้าวสาร นอกจากนั้น หัวใจสำคัญของ “พอกิน” ยังมีความหมายรวมไปถึงความปลอดภัยใน อาหาร กินอย่างไรให้มีสุขภาพดี ไมส่ ะสมเอาความเจ็บไข้ไดป้ ว่ ยไว้ในรา่ งกาย นีค่ ือความหมายของบันได ขนั้ ท่ี ๑ ท่ีเกษตรกรตอ้ งกา้ วขา้ มให้ได้ ขั้นที่ 2-4 พอใช้ พออยู่ พอร่มเยน็ บันไดข้นั ท่ี 2-4 พอใช้ พออยู่ พอรม่ เยน็ เกิดข้ึนไดพ้ รอ้ มกัน ด้วยคำตอบเดียวคอื “ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง” ซึง่ ป่า 3 อย่างจะให้ท้ัง อาหาร เครื่องนงุ่ หม่ สมุนไพรสำหรับรักษาโรค ทั้ง โรคคน โรคพืช โรคสัตว์ ให้ไม้สำหรับทำบ้านพักที่อยู่อาศัย และให้ความร่มเย็นกับบ้าน กับชุมชน กับ โลกใบนี้ ซึ่งเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาความยากจนของเกษตรกรไทย ซึ่งได้รับการพิสูจน์แล้วว่า สามารถแก้ปัญหาได้จริง และยังสามารถย้อนกลับไปแก้ไขปัญหาหนี้สินซึ่งสะสมพอกพูนจากการทำ เกษตรเชิงเดี่ยว ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากร ปัญหาความขาดแคลนนำ ภัยแล้ง ทั้งหมดล้วน แก้ไขได้จากแนวคิดป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่างขององค์พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ บันไดขั้นที่ 5-9 คือ เศรษฐกิจพอเพยี งขนั้ กา้ วหน้า ขั้นที่ 5-6 บุญและทาน เครือข่ายเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมั่นว่าสังคมไทยเป็นสังคมบุญ สังคมทาน ไม่เน้นการ แลกเปลี่ยนทางการค้า แต่เน้นการทำบุญ เป็นการฝึกจติ ใจ ให้ละซึ่งความโลภ และกิเลสในการอยากได้ ใคร่มี ลดปญั หาช่องวา่ งระหวา่ งชนชน้ั ตามคำกลา่ วทว่ี ่า “ย่ิงทำยิง่ ได้ ย่ิงใหย้ งิ่ ม”ี การให้ไปคอื ได้มา และ

13 เชื่อมน่ั ในฤทธิ์ของทาน วา่ ทานมฤี ทธิ์จริง และจะสง่ ผลกลบั มาเป็นเพื่อน เปน็ กัลยาณมติ ร เป็นเครือข่าย ที่ช่วยเหลือกนั ในทุกสถานการณ์ แม้ในวันที่โลกนปี้ ระสบกบั วิกฤตการณ์ ขั้นที่ 7 เกบ็ รกั ษา หลังจากสามารถพึง่ ตนเองได้ พอมี พอเหลือทำบุญ ทำทานแล้ว คือ การรู้จักเก็บรักษา ซ่ึง เปน็ การตั้งอยู่ในความไม่ประมาท และการรจู้ กั เกบ็ รักษา ยงั เปน็ การสรา้ งรากฐานของการเอาตัวรอดใน เวลาเกิดวิกฤตการณ์ โดยยดึ แนวทางตามวิถชี วี ติ ชาวนาสมัยก่อนซึง่ เก็บรักษาข้าวไว้ในยงุ้ ฉางเพื่อ ให้พอ มีกินข้ามปี คัดเลือกและเก็บรกั ษา “ข้าวพันธุ์” ไว้สำหรับเป็นพันธุ์ขา้ วในปตี ่อไป นอกจากเก็บพันธุ์ขา้ ว แล้ว ยังเน้นให้รู้จักวิธีการถนอมอาหาร การสะสม อาหารไว้กินในยามหน้าแล้ง ด้วยการแปรรูปอาหาร หลากชนิด อาทิ ปลารา้ ปลาแหง้ มะขามเปยี ก พริกแหง้ หอม กระเทียม เพื่อเกบ็ ไว้กนิ ในอนาคต ขน้ั ท่ี 8 ขาย เนื่องจากเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่เศรษฐกิจการค้า แต่ก็ไม่ใช่เศรษฐกิจหลังเขา การค้าขาย สามารถทำได้ แต่ทำภายใต้การรู้จักตนเอง รู้จักพอประมาณ และทำไปตามลำดับ โดยของที่ขาย คือ ของที่เหลือจากทุกขั้นแล้วจึงนำมาขาย เช่น ทำนาอินทรีย์ ปลูกข้าวปลอดสารเคมี ไม่ทำลายธรรมชาติ ได้ผลผลิตเก็บไว้พอกิน เก็บไว้ทำพันธุ์ ทำบุญ ทำทาน แล้วจึงนำมาขายด้วยความรู้สึกของการ “ให้” อยาก ที่จะให้สิ่งดี ๆ ที่เราปลูกเอง เผื่อแผ่ให้กับคนอื่น ๆ ได้รับสิ่งดี ๆ นั้น ๆ ด้วย การค้าขายตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นการค้าที่มองกลับด้าน “เพราะรักคุณจึงอยากให้คุณได้รับในสิ่งดี ๆ” พอเพียงเพอ่ื อุ้มชู เผอื่ แผ่ แบง่ ปัน ไปดว้ ยกนั ขัน้ ที่ 9 เครือขา่ ย กองกำลังเกษตรโยธนิ คือ การสร้างกองกำลังเกษตรโยธนิ หรอื การสร้างเครอื ขา่ ยเชื่อมโยงทั้งประเทศ เพื่อขยาย ผลความ สำเร็จตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิวัติแนวคิด และวิถีการดำเนินชีวิตของคนใน สังคม ในชุมชน เพื่อการแก้ปัญหาวิกฤต 4 ประการ อันได้แก่ วิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อม ภัยธรรมชาติ วิกฤตการณ์โรคระบาดทั้งในคน สัตว์ พืช วิกฤตเศรษฐกิจ ข้าวยากหมากแพงวิกฤตความขัดแย้งทาง สงั คม 5) วิทยากรยกตัวอย่าง โคก หนอง นา โมเดลท่ีประสบความสำเรจ็ ของ เกษตรทางเลอื กวิถี ใหม่ของคนคลองจนิ ดา วิถีดั้งเดิมของคนคลองจินดา เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเชิงเดี่ยว ใช้สารเคมีมาก พอเรา ได้เรียนรู้ว่ามันเป็นอนั ตรายต่อตวั เอง ผู้อื่น และสิ่งแวดลอ้ ม จึงมีการปรับเปลี่ยนเกิดขึ้น การปรับตวั เข้า สู่เกษตรแบบปลอดสาร ดังนั้นสวนของสมาชิกในกลุ่มจึงมีอยู่ ๓ รูปแบบ คือ สวนที่ลดการใช้สารเคมี สวนทีเ่ ลกิ ใชส้ ารเคมี และเมอ่ื สามารถปรับตัวได้กจ็ ะนำไปสู่สวนที่ปล่อยให้ธรรมชาติดูแลกันเองโดยท่ีไม่ ตอ้ งใสป่ ยุ๋ ใส่ยา ไดใ้ นทีส่ ดุ วถิ กี ารพ่งึ พากันตามธรรมชาติ การปลูกใบพลูกบั ตน้ ทองหลาง เมื่อใบทองหลางร่วงลงดิน แล้วย่อยสลายต่อไปทำให้ดินอุดมสมบูรณ์พลูจะงามสะพรั่ง หรือการพึ่งพากันของมะนาวกับต้นกระถิน ณรงค์ มะนาวเป็นพืชที่ไม่ชอบน้ำขังขณะที่กระถินณรงค์มีคุณสมบัติดูดซับน้ำทำให้เกิดความพอดี และ ใบกระถินที่ร่วงลงน้ำก็เป็นปุ๋ยได้ โดยการโกยเลนมาใส่ไวท้ ี่ใตต้ ้นมะนาวทำให้ได้มะนาวลูกใหญ่เปล่งปล่ัง นอกจากนี้การปลูกต้นพริกไว้ใกล้ต้นกล้วยถือเป็นการคืนสมดุลให้แก่กันและกันของพืช เนื่องจากพริก นน้ั มีความเผ็ดรอ้ นต้นกล้วยมนี ้ำมากสามารถให้ความเย็นจึงจะสังเกตเหน็ ได้วา่ พริกเป็นพืชทีช่ อบนำ้

14 สรปุ ผลการเรยี นรู้ ผู้เข้าอบรมมีความสนใจในเนื้อหาวิชา มีการซักถามในประเด็นสงสัยต่อวิทยากร ได้รับ คำช้ีแนะจนทำให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนำความรู้ท่ีได้นำไป ปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิตนำไปสู่ความยั่งยืน และนำความรู้ที่ได้ศึกษาจากตัวอย่างความสำเร็จ “โคก หนอง นา โมเดล”ไปปรับใช้กับพ้นื ทีต่ ามภูมิสงั คมของตนเอง ตอ่ ไป 5. วชิ า การแปลงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ัติแบบเป็นข้นั เปน็ ตอน วิทยากร นายอริ ยศ อเนก ตำแหน่ง ผู้อำนวยการศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี ระยะเวลา 2 ช่วั โมง วัตถปุ ระสงค์ เพื่อสงั เคราะห์ความรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบัติ ประเดน็ เนือ้ หา 1. ความรูเ้ ก่ยี วกับศาสตร์พระราชา 2. ความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั เกษตรทฤษฎีใหม่ วิธีการ / เทคนคิ วทิ ยากรใช้ PowerPoint ประกอบการบรรยาย โดยสรปุ ดงั นี้ ๑. ถอดบทเรียนความรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัติ วสั ดุ / อุปกรณ์ ๑. สือ่ วิดที ัศน์ ประกอบการบรรยาย ๒. สอื่ Power point 3. กระดาษฟลปิ ชาร์ท เทคนิควิธกี าร 1) วทิ ยากรทบทวนความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับศาสตร์พระราชาให้ผู้เขา้ อบรมดังน้ี ศาสตร์พระราชา คือ ศาสตร์ที่เกิดจากกษัตริย์นักพัฒนา คือ ในหลวง ร.9 ผู้ซึ่งทรงงานอยู่ บนหลักการของวิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ มีเหตุ มีผล เน้นการศึกษา และการมีส่วนร่วมเป็นส่วน สำคัญจุดเด่นของ “ศาสตร์พระราชา” อยู่ที่ “การนำมาปรับใช้” ในความเป็นจริงแล้ว ทฤษฎีเดียวไม่ สามารถนำไปใช้ได้กับทุกที่ ขึ้นอยู่กับบริบทของพื้นที่ ประชาชนในพื้นที่และสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นอย่างไร จึงเป็นท่มี าวา่ ทำไมถึงตอ้ ง “เข้าใจ เข้าถงึ พัฒนา” เข้าใจ ทำอะไรต้องเข้าใจปัญหา เข้าหนทางแก้ไข เข้าใจกระบวนการจัดการ และปรับ ความเข้าใจระหวา่ งผู้ให้ ผ้รู บั เสยี ก่อนใหไ้ ดเ้ ขา้ ใจซ่ึงกันและกนั เข้าถึง เมื่อเข้าใจระหว่างกันทุกประการครบถ้วนแล้ว ต้องเข้าถึงการกระทำ สร้างความ ร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง เข้าถึงเครื่องไม้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ และความสามัคคีร่วมจิตร่วมใจของ ผปู้ ฏบิ ัติ ร่วมมือร่วมไม้กันทำงาน

15 พัฒนา เมื่อต่างฝ่ายต่างเข้าใจกันแล้ว เข้าถึงกันแล้ว การพัฒนาก็จะดำเนินการไปอย่าง ยั่งยืน ไม่ส่งผลกระทบที่ติดลบต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและการเมือง หากแต่นำไปสู่ความ สมดลุ มน่ั คง และยง่ั ยนื 2) วิทยากรใหค้ วามรูเ้ ร่ืองเกษตรทฤษฎใี หม่ : ศาสตรพ์ ระราชาตำราชีวิต เกษตรทฤษฎีใหม่ คือ ทฤษฎีแห่งการใช้น้ำ-ดิน-ธรรมชาติ ผสมผสานการบริหารจัดการ ทำเกษตรแผนใหม่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของสังคม สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาพืชเชิงเดี่ยวและเกษตรน้ำฝนด้วยการบริหารจัดการเกษตรแผนใหม่ โดยมวี ิธกี าร/กระบวนการปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี - การบรหิ ารจดั การดิน ประกอบด้วย ชนิดดิน/ประเภทดนิ , สภาพกายภาพพ้ืนท่ี และธรรมชาตดิ ิน - การบริหารจัดการนำ้ ประกอบด้วย ธรรมชาตนิ ำ้ , นำ้ บนดิน + ใต้ดนิ และสภาพนำ้ + คุณภาพนำ้ - การบรหิ ารจัดการพืช+ไม้ท่จี ะปลูก ประกอบด้วย ความเหมาะสมกับพนื้ ที่ และจำนวน/ปริมาณ - บริหารจัดการองคร์ วมให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดบนพ้ืนฐานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การเตรยี มพืน้ ท่เี กษตรทฤษฎีใหม่ แบง่ พ้นื ท่ี 30 – 30 - 30 – 10 (100%) - กักเก็บนำ้ 30% ปลูกขา้ ว 30% ไมผ้ ล/ยืนตน้ 30% ทีอ่ ยู่อาศัย 10% บันได 3 ขนั้ การดำเนนิ งานเกษตรทฤษฎีใหม่ 1. การผลิตพึ่งตนเอง + ง่าย ๆ + ค่อยเป็นค่อยไป ขั้นพื้นฐานตามกำลังเน้น พอมี พอ อยู่ พอกนิ 2. การรวมพลังกลุ่ม / ชุมชน – สหกรณ์-ร่วมแรง+ร่วมใจ ขั้นก้าวหน้า ประกอบด้วย สวัสดกิ าร การศกึ ษา การผลิต การตลาด สังคม และศาสนา เนน้ อยู่ดี กนิ ดี 3. ดำเนินธุรกิจ ประสานแหล่งทุนแหล่งเงิน ขยายกิจการ สร้างเครือข่าย ขั้นพัฒนา ส่สู ากล ธรุ กิจภายใน/ภายนอก สู่สากล นำไปสู่ความมัง่ มี ศรสี ุข ภาพรวมหลักการเกษตรทฤษฎีใหม่ 1. ตอ้ งแบ่งพ้ืนทเ่ี ปน็ สัดส่วน/มากหรอื น้อยตามกำลังตน 2. ตอ้ งมีน้ำสำรองตลอดป/ี ท้ังยามน้ำล้น/นำ้ แล้ง 3. มีพน้ื ท่ีปลูกขา้ ว/ต้องกินตลอดชวี ิต 4. ไม่ปลกู พืชเชงิ เดย่ี วทำหลากหลายกจิ กรรมในพน้ื ทแ่ี ละมีงานทำตลอดปี 5. เนน้ เศรษฐกจิ พอเพยี ง พ่งึ ตนเองให้ไดก้ ่อน ประโยชนเ์ กษตรทฤษฎใี หม่ 1. พออยู่ พอกนิ เลี้ยงตนเองได้ ไม่อดอยาก 2. ทำเกษตรได้ตลอดปี 3. สรา้ งรายได้ให้ตนและครอบครัวสงู ขึน้ ตามกำลงั 4. ยกระดบั เศรษฐกิจตนเอง หวั ใจสำคญั เกษตรทฤษฎีใหม่ “ทฤษฎีใหม่ ยดื หยนุ่ ได้ และตอ้ งยดื หยุน่ เหมือนชวี ติ ของเราทกุ คนต้องมียดื หยุน่ ”

16 “ การใช้เทคโนโลยที ันสมัยในงานตา่ ง ๆ ประชาชนหาเลีย้ งตวั ด้วยการกสิกรรมต้องระมดั ระวัง มากในการใช้เทคโนโลยีปฏิบัติงาน ควรใช้อย่างพอเหมาะพอดีแก่ภาวการณ์ทำงานของราษฎร เพื่อให้ เกดิ ประสทิ ธผิ ลด้วยความประหยัดอยา่ งแท้จรงิ สิง่ สำคัญทส่ี ดุ คือ ลงมอื ทำบนฐานหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง - ลงมือทำดว้ ยกำลงั แหง่ ตน - คอ่ ยก้าวทีละกา้ ว/รูก้ ำลงั ตน - พอประมาณ/มเี หตุมีผล/มภี ูมิค้มุ กนั อย่าทำอะไรเกนิ กำลังตน สรุปผลการเรียนรู้ ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติแบบ เป็นขั้นตอนเป็นอย่างดี เนื่องจากมีการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิตเป็น ประจำอยูแ่ ล้ว ทำใหเ้ ห็นผลทดี่ จี ากการปฏิบตั ิจริงและศรัทธาทจ่ี ะปฏบิ ตั ิต่อไปให้ยงั่ ยืน 6. วชิ า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “ทฤษฎีบันได 9 ขนั้ สู่ความพอเพียง วทิ ยากร นายไตรภพ โคตรรวงษา วิทยากรจากมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ระยะเวลา 2 ช่วั โมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทฤษฎี ใหม่ การบริหารจัดการตามขั้นตอนเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถนำไป ปฏิบัติจนเปน็ วิถชี ีวติ ประเด็นเน้อื หา 1. หลักคิด “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 2. การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล กลุ่ม องค์กร ชุมชน และ สงั คม 3. พระราชดำริ “ทฤษฎใี หม”่ การบรหิ ารจดั การตามขนั้ ตอน ทฤษฎใี หม่ข้ันท่หี นึง่ : อยูร่ อด แบง่ สัดสว่ นพนื้ ท่ีสร้างผลผลิต ครัวเรือนสามารถพึ่งตนเองได้ ทฤษฎขี น้ั ทสี่ อง : พอเพยี ง ชุมชนรวมกลุ่มพง่ึ ตนเอง ทฤษฎขี นั้ ท่ีสาม : ยั่งยนื การบรหิ ารจัดการ สรา้ งมลู ค่าเพิ่ม พัฒนาการตลาด 4. เศรษฐกจิ พอเพียงความเขม้ แขง็ ทเี่ ป็นรูปธรรมตามวถิ ีวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญา และภมู ิสงั คม วิธกี าร / เทคนิค ๑. วทิ ยากรบรรยายเน้ือหา ๒. วิทยากรเปิดสื่อวิดีทัศน์ 3. วิทยากรมอบหมายงาน โดยให้ผู้เข้าอบรมแบง่ กล่มุ พร้อมนำเสนอในแตล่ ะประเดน็ เน้อื หา วัสดุ / อปุ กรณ์ ๑. สอื่ วดิ ีทัศน์ ๒. บทความ

17 ๓. กรณีศกึ ษา 4. PPT 5. คอมพวิ เตอร์ เครือ่ งฉาย และจอภาพ 6. บอร์ด, ปากกา เทคนิควธิ กี าร วิทยากรบรรยายให้ความร้ใู นประเด็น ดงั น้ี 1) วิทยากรบรรยายให้ความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมนำพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 จากวารสารชัยพัฒนา ความว่า “เศรษฐกิจพอเพียง เป็น เสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ที่ถูกตอกรองรับ บ้านเรอื นตัวอาคารไวน้ น่ั เอง สง่ิ ก่อสร้างจะม่ันคงไดก้ อ็ ยู่ทเ่ี สาเข็ม แตค่ นสว่ นมากมองไมเ่ ห็นเสาเข็ม และ ลืมเสาเข็มเสยี ดว้ ยซำ้ ไป” ดังนั้น เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) จึงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดย ตลอดรวมถึงการพัฒนาและบริหารประเทศ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ทางสายกลาง คำนึงถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และ คุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทำ ชีวิตจึงจะมั่นคงและปลอดภัยจาก ทุกสถานการณ์ 2) วิทยากรบรรยายเชื่อมโยงการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้กับระดับบุคคล กลุม่ องค์กร ชมุ ชน และสังคม ประกอบด้วย 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดย ไม่เบยี ดเบยี นตนเองและผอู้ นื่ เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคทอ่ี ยใู่ นระดบั พอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้อง เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นจาก การกระทำนัน้ ๆ อย่างรอบคอบ 3. ภมู คิ ุ้มกนั หมายถงึ การเตรียมตัวให้พรอ้ มรบั ผลกระทบ และการเปลีย่ นแปลงดา้ น ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตท้ัง ใกล้และไกล โดยมีเงื่อนไขของการตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง 2 ประการ ดังนี้ 1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบดา้ น ความรอบคอบที่ 2. เงื่อนไข คุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชอื่ สัตยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน มคี วามพากเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดำเนินชีวติ 3) วิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับพระราชดำริ “ทฤษฎีใหม่” การบริหารจัดการตาม ขั้นตอน พระราชดำริ “ทฤษฎีใหม่” ซึ่งเป็นแนวทางหรือหลักการในการจัดการทรัพยากรระดับไร่นา

18 คือ ที่ดินและน้ำ เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเลก็ ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด ในการดำเนินการทฤษฎีใหม่ได้ พระราชทานขน้ั ตอนดำเนนิ งาน ดังน้ี พระราชดำริ “ทฤษฎีใหม่” เป็นแนวทางหรือหลักการในการจัดการทรัพยากรระดับไร่นา คือที่ดินและน้ำ เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการดำเนินการทฤษฎีใหม่ ไดพ้ ระราชทานข้ันตอนดำเนินงาน คือ ข้อที่ ๑ ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น พื้นฐานของเกษตรกร คือ มีพื้นที่น้อย ค่อนข้างยากจน อยู่ ในเขตเกษตรน้ำฝนเป็นหลักความมั่นคงของชีวิตและความมั่นคงของชุมชนชนบท เป็นเศรษฐกิจ พึ่งตนเองมากขึ้น มีการจัดสรรพื้นทำกินและที่อยู่อาศัย ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซงึ่ หมายถึง พื้นทีส่ ่วนทหี่ นงึ่ ประมาณ ๓๐% ใหข้ ุดสระเก็บกักน้ำ เพ่ือใชเ้ ก็บกกั น้ำฝนใน ฤดูฝนและใชเ้ สริม การปลูกพืชในฤดแู ลง้ พ้นื ทสี่ ่วนทีส่ องประมาณ ๓๐% ให้ปลกู ขา้ วในฤดฝู น พ้นื ท่ีส่วน ที่สามประมาณ ๓๐% ใหป้ ลกู ไม้ผล ไมย้ ืนต้น พชื ผกั พชื ไร่ พชื สมุนไพร ฯลฯ และพ้นื ท่ีส่วนท่ีสี่ประมาณ ๑๐% ใชเ้ ปน็ ที่อยู่อาศยั เล้ยี งสตั ว์และโรงเรือนอืน่ ๆ ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ลงมือปฏิบัติตามขั้นท่ี หนง่ึ ในทีด่ นิ ของตนเป็นระยะเวลาพอสมควรจนได้ผลแล้วเกษตรกรก็จะพฒั นาตนเองจากขนั้ “พออยู่พอ กิน” ไปสู่ขั้น “พอมีอันจะกิน” เพื่อให้มีผลสมบูรณ์ยิ่งขึ้นจึงควรที่จะต้องดำเนินการตามขั้นที่สองและ ขนั้ ทสี่ ามต่อไปตามลำดบั ขั้นที่ ๒ ทฤษฎีใหม่ขั้นกลาง คือ ให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกนั ดำเนินการในด้าน 1. การผลิต เกษตรกรจะต้องร่วมมอื ในการผลติ โดยเริ่มต้งั แต่ ขนั้ เตรยี มดิน การหา พันธพุ์ ชื ปุ๋ย การหาน้ำและอน่ื ๆ เพอ่ื การเพาะปลกู ๒. การตลาด เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมการต่าง ๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลาดตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสีข้าว ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลิตใหไ้ ด้ราคดแี ละลดคา่ ใช้จ่ายลงดว้ ย ๓. ความเป็นอยู่ ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมี ปจั จยั พื้นฐานในการดำรงชวี ติ เช่น อาหารการกินตา่ ง ๆ กะปิ นำ้ ปลา เสื้อผา้ ที่พอเพียง ๔. สวัสดิการ แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิการและบริการที่จำเป็น เช่น มีสถานีอนามัย เม่อื ยามป่วยไข้ หรอื มกี องทนุ ไวใ้ ห้กยู้ ืมเพอ่ื ประโยชน์ในกิจกรรมตา่ ง ๆ ๕. การศึกษา มีโรงเรียนและชุมชนมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุน เพื่อการศึกษาเล่าเรยี นใหแ้ กเ่ ยาวชนของชมุ ชนเอง ๖. สังคมและศาสนา ชุมชนควรเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาสังคมและจิตใจโดยมี ศาสนาเป็นที่ยึดเหน่ียวกิจกรรมทัง้ หมดดังกลา่ วขา้ งต้นจะต้องได้รับความร่วมมอื จากทุกฝา่ ยที่เกี่ยวข้อง ไม่วา่ ส่วนราชการ องคก์ รเอกชน ตลอดจนสมาชกิ ในชุมชนน้ันเปน็ สำคญั ขั้นที่ ๓ ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า เม่ือดำเนินการผ่าพ้นขั้นที่สองแล้วเกษตรกรจะมี รายได้ดีขึ้น ฐานะมั่งคงขึ้น เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือ ตดิ ตอ่ ประสานงาน เพ่อื จดั หาทุน หรือแหลง่ เงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษทั ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการ ทำธุรกิจ การลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารกับบริษัท จะได้รับ ประโยชน์รว่ มกัน

19 4. วิทยากรสรุปภาพรวมของเศรษฐกิจพอเพียงสร้างความเข้มแข็งที่เป็นรูปธรรมตาม วถิ วี ัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญา และภมู ิสงั คม ดังน้ี “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน ถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ ดำเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภวิ ตั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควรตอ่ การมีผลกระทบใดๆ อันเกดิ จากการเปลย่ี นแปลงท้ังภายนอกและภายใน ท้งั นีจ้ ะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและ ดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจา้ หน้าท่ีของรฐั นักธรุ กจิ และประชาชนในทุกระดับใหม้ ีสำนึกในคุณธรรม ความซ่อื สัตย์สุจรติและให้มี ความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียรมีสติปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้ สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิง่ แวดลอ้ มและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อยา่ งดี สรปุ ผลการเรยี นรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างดี และ ไดม้ ีการนอ้ มนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั อย่แู ลว้ 7. วชิ า หลกั กสกิ รรมธรรมชาติ วทิ ยากร นายไตรภพ โคตรวงษา วทิ ยากรจากมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง วตั ถุประสงค์ ๑. เพือ่ ให้ผู้รบั การฝึกอบรมรู้ถึงประโยชน์ของการปลูกตน้ ไมต้ ามแนวคดิ ปา่ ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ๒. จัดรปู แบบการปลกู ให้เกดิ คุณค่าและบูรณาการในพื้นทท่ี ำกินเดมิ ให้มสี ภาพใกลเ้ คียงกบั ป่า 3. สร้างมูลค่าตน้ ไมท้ ี่ปลูกทป่ี ลูกทำใหเ้ ป็นทรัพย์ เพื่อออมทรัพยแ์ ละใช้แกป้ ัญหาความยากจน ประเด็นเนื้อหา ๑. แนวคดิ ความเป็นจริงแหง่ ปัญหาภยั ทนุ นิยม ๒. แนวคิด ปัญหาต่าง ๆ ของเกษตรกรที่ประสบอยู่ ๓. แนวทาง วิธีการใช้กระบวนการจัดการดิน, น้ำ,ป่า และครัวเรือนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเพอ่ื ชุมชนคนอยู่กับป่า ๔. ศึกษาในแนวคดิ และแนวทางวิถแี ห่งสังคมไทย ๕. แนวคดิ ฐานการเรียนรู้ ดิน,นำ้ ,ปา่ และครัวเรอื นเพือ่ สรา้ งความพอเพยี งม่นั คง มั่งคั่ง ยั่งยนื ๖. หวั ใจหลักกสิกรรมธรรมชาติ กับ ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อยา่ ง ๗. คืนชีวติ ให้แผน่ ดิน ดว้ ยเพอร์มาคัลเจอร์ Permaculture

20 วธิ กี าร / เทคนคิ วิทยากรผู้เชี่ยวชาญบรรยายเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ หลักหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การทรงงาน และพระราชดำรัส “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” ของในหลวง ร.๙ และเรียนรูจ้ าก กรณีตัวอย่าง “โคกหนองนา โมเดล” โดยใช้ส่ือ Power point และส่ือวดี ีทศั นป์ ระกอบการบรรยาย วัสดุ / อุปกรณ์ ๑. สอื่ วดิ ที ัศน์ ประกอบการบรรยาย ๒. สื่อ Power point สรปุ เนือ้ หาวิชา วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้ ดงั น้ี ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับทราบถึงศาสตร์พระราชาด้านการฟื้นฟูป่า โดยอาศัยนวัตกรรมหลาย รูปแบบ เช่น การทำฝายชะลอน้ำ ป่าเปียก ป่าภูเขา และหลายแนวคิดเป็นการเพิ่มพื้นที่ในผืนป่าใหญ่ ซึ่งไม่สามารถดำเนินการโดยคนเดียวได้ และหลายแนวคิดเป็นการเพิ่มพื้นที่ในผืนป่าใหญ่ อาจารย์ยักษ์ (นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร) ได้นำแนวคิดการฟื้นฟูปฐพีไทยด้วยศาสตร์พระราชา ซึ่งเป็นแนวพระราชดำริ ของ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่พสกนิกรทุกคนสามารถทำเองได้ ด้วยแนวคิด ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง โดยพระองค์มีพระราชดำริเกี่ยวกับเร่ืองนี้วา่ “การปลูกป่าถ้าจะให้ราษฎรมีประโยชน์ให้เขาอย่ไู ด้ ให้ใช้วิธีปลูกไม้ ๓ อย่าง แต่มีประโยชน์ ๔ อย่าง คือ ใช้ไม้สอย ไม้กินได้ ไม้เศรษฐกิจ โดยปลูกรองรับ การชลประทาน ปลูกรับซับน้ำ และปลูกอุดช่วงไหล่ตามร่องห้วย โดยรับน้ำฝนอย่างเดียว ประโยชน์ อย่างท่ี ๔ คือ ได้ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ…” แนวคิดนี้ เป็นการปลูกป่าที่เลียนแบบระบบนิเวศของป่า ธรรมชาติ พร้อมกับการเอื้อประโยชน์ให้มนุษย์ได้ อาศัยยังชีพในป่าที่ปลูกขึ้น ขณะเดียวกันป่าที่ปลูก ก็สร้างความยั่งยืน อุดมสมบูรณ์ให้กับดินและน้ำ เป็นจักรที่ สมดุลต่อไป หากทุกตารางนิ้วที่เป็นดินว่าง ของประเทศนี้ เต็มไปด้วย ป่า ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่าง ประเทศ ไทยจะกลายเป็นประเทศที่สมบูรณ์ ที่สุดในโลก มั่งคั่งไปด้วยอาหาร ยารักษาโรคพร้อมสรรพไปด้วยทรัพยากร ป่าไม้ ดิน น้ำ ธัญญาหาร ให้กับคนทั้งแผ่นดิน และมีเหลือเผื่อแผ่ให้คนทั้งโลกในยามวิกฤติได้ ซึ่งเดิมที่ประเทศ ของเรามีป่า ๓ อย่างมาก่อน แต่จากความโลภของคน จึงมีการลักลอบตัดไม้ทำลายป่าทำให้เกิดความเสียหาย จนเกิด เป็นวกิ ฤตธรรมชาติ หากเราทกุ คนร่วมมือรว่ มใจกนั พลิกฟ้นื แผ่นดนิ โดยใช้ศาสตร์พระราชาดังที่กล่าวมา ประเทศของเราก็จะมีระบบป่านิเวศที่อุดมสมบูรณ์ดังเดิมป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่างเป็นความคิด อัจฉริยะที่กอ่ ให้เกิดความพอเพยี ง ๔ ประการ คือ พออยู่ พอกิน พอใช้ พอร่มเยน็ โดยเฉพาะทโี่ ลกกำลัง ร้อนระอุ แนวคิด ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ได้สร้างประโยชน์มากมายในการทำให้โลกเกิดความ ร่มเยน็ ลง ประมาณกนั วา่ ในเน้อื ท่ี ๑ ไร่ เราสามารถปลูกปา่ ปลกู ต้นไมน้ านาชนิดได้ถึง ๑๐๐ ชนิด ทั้ง ๕ ระดบั ประกอบด้วย ไมส้ ูง ไมก้ ลาง ไมเ้ ตยี้ ไม้เร่ียดนิ และไมใ้ ต้ดิน ปรมิ าณต้นไม้ในเนื้อที่ ๑ ไร่ สามารถ ปลูกได้มากถึง ๕๐๐ ต้น หากคำนวณตามสูตรคณิตศาสตร์ง่ายๆ คือ คน ๖๐ ล้านคน ปลูกคนละ ๑ ไร่ ไร่ละ ๕๐๐ ต้น ทั้งประเทศเราจะมีต้นไม้เพิ่มข้ึน ๓๐,000,000,000 ต้น (สามหมื่นล้านต้น) ที่เป็นท้งั ให้ที่อยู่ ที่กิน ที่ใช้ จึงอาจเชื่อได้ว่า ประเทศไทยจะเป็นประเทศที่ร่ำรวยและมั่งคั่งด้วย ทรัพยากรธรรมชาติมากทีส่ ุดการปลกู ปา่ ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง สรุปได้ว่า เป็นการปลกู ไมใ้ หพ้ ออยู่ พอกิน พอใช้ และเป็นประโยชน์ต่อระบบนเิ วศน์ สร้างความสมบรู ณแ์ ละก่อให้เกดิ ความหลากหลายทาง ชีวภาพพออยู่คือ การปลูกต้นไม้ที่ใช้เนื้อไม้และไม้เศรษฐกิจให้เป็นป่า ไม้กลุ่มนี้เป็นไม้อายุยืน ซึ่งเป็น

21 ประโยชน์โดยใช้เนื้อไม้เพื่อสร้างบ้านที่อยู่อาศัย ทำเครื่องนอน ถือได้ว่า เป็นการออมทรัพย์เพื่อสร้าง ความมั่นคงในอนาคต เช่น ตะเคียนทอง ยางนา แดง สัก พะยูง พะยอมพอกิน คือ การปลูกพืชที่กินได้ รวมทงั้ ใช้เปน็ ยาสมุนไพร เช่น แค มะรมุ ทเุ รียน สะตอผกั หวาน ฝาง กลว้ ย ฟกั ข้าว พอใช้ คือ การปลูกต้นไม้ให้เป็นป่าไมส้ ำหรับไว้ใช้สอยในครัวเรือน เช่น ทำพื้น เผาถ่าน ทำงาน หตั ถกรรม หรอื ทำนำ้ ยาซกั ล้าง เช่น มะคำดีควาย หวาย ไผ่ เป็นตน้ พอร่มเย็น คือ ประโยชนอ์ ยา่ งท่ี ๔ ท่ีเกดิ จากการปลูกปา่ ๓ อย่าง คอื ทำให้เกิดความร่มเย็นการ ช่วยฟื้นฟูระบบนิเวศน์ดินและน้ำให้อุดมสมบูรณ์ ร่มรื่นฉ่ำเย็นแนวคิดหลักกำรปลูกป่า ๓ อย่ าง ประโยชน์ ๔ อยา่ ง อ.ยักษ์ ดร.วิวัฒน์ ศัลยกำธร ได้อธิบายหลักการปลูกปา่ ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ว่าเป็นแนวคิดการผสมผสานการอนุรักษ์ดิน น้ำ และการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ ควบคู่กับความต้องการ ดา้ นเศรษฐกจิ ดว้ ยการจำแนก ดงั นี้ ปา่ ๓ อยา่ ง คือ ๑. ป่าไมใ้ ชส้ อย คือ ไม้โตเร็ว สำหรับใช้ในครัวเรอื น เช่น สะเดา ไม้ไผ่ ๒. ป่าไม้กินได้ คือ ไม้ผล เชน่ มะมว่ ง และผักกินใบตา่ งๆ ๓. ป่าไมเ้ ศรษฐกิจ คอื ไมท้ ปี่ ลกู ไว้ขาย หรือไมเ้ ศรษฐกจิ เชน่ ไมส้ ัก ประโยชน์ ๔ อย่าง คอื ๑. ป่าไม้ใชส้ อยนำมาสร้างบา้ น ทำเล้าเป็ด เล้าไก่ ดา้ มจอบเสยี ม ทำหตั ถกรรมและทำเชือ้ เพลิง ๒. ปา่ ไมก้ ินได้ นำมาเป็นอาหาร ท้งั พชื กินใบ กนิ ผล กนิ หัว และเปน็ ยาสมุนไพร ๓. ปา่ ไม้เศรษฐกิจ เปน็ แหล่งรายได้ของครัวเรือน เป็นพืชทส่ี ามารถนำมาจำหนา่ ยได้ ๔. ประโยชน์ในการช่วยอนุรักษ์ดินและน้ำ การปลูกพืชที่หลากหลายอย่างเป็นระบบ จะช่วย สร้าง สมดุลของระบบนิเวศในส่วนของการช่วยปกป้องผิวดินใช้ชุ่มชื่น ดูดซับน้ำฝน และปลดปล่อย ความช้นื ส่เู กษตรกรรม ข้อคำนึงในกำรปลกู ปา่ ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อยา่ ง ๑. ไม้เบิกนำ เช่น ไม้สะเดา มะรุม แค ไม้ผล กล้วย อ้อย และพืชผักอายุสั้น ควรหามาปลูก กอ่ นเพอ่ื สรา้ งแหลง่ อาหารของครอบครัว ๒. ไมป้ ลูกเพือ่ อาศัย ควรปลกู หลังจากปลกู ไมใ้ นขอ้ ๑ ประมาณ ๑ - ๒ ปี ๓. ไมส้ มุนไพร จะเจริญเติบโตไดเ้ ม่ือมคี วามร่มรืน่ เพียงพอ ๔. นาข้าว กำหนดพ้ืนที่ให้เหมาะสมหากมพี ืน้ ท่พี อ เพอ่ื เก็บขา้ วไว้กนิ ระหว่างปโี ดยไม่ต้องซื้อ ๕. ร่องน้ำ ควรขุดร่องน้ำขนาดเล็กเพื่อให้ความชุมชื่นกับผืนดินและต้นไม้ ซึ่งจะทำให้สามารถ เลีย้ งปลาธรรมชาติเพอ่ื ใชเ้ ปน็ ธรรมชาติ โดยขดุ ใหเ้ ชื่อมตอ่ กันกบั บอ่ ขนาดใหญ่ 5. ปลูกต้นไม้ให้หลากหลาย เพื่อการใช้ประโยชน์หลากหลาย ช่วยลดค่าใช้จ่าย สร้างความ มั่นคง ซึง่ เป็นการเสริมสร้างภูมิค้มุ กันในครอบครวั และชุมชน การปลกู ป่า ๕ ระดบั แบบกสิกรรมธรรมชาติ อ.ยักษ์ ดร.วิวัฒน์ ศัลยกำธร ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ นำแนวคิดการปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง มาปรับประยกุ ต์เปน็ การปลูกป่า ๕ ระดับ ซึ่งประกอบด้วยต้นไม้หลากหลายทั้งชนิด พนั ธชุ์ ว่ งอายุ ลกั ษณะนิสยั และความสูง ซงึ่ ได้มาจากการสังเกตธรรมชาติของป่า คือ

22 ๑. ไมร้ ะดับสงู เปน็ กลุม่ ตน้ ไม้เรือนยอดสูง และอายยุ นื เชน่ ตะเคียน ยางนา มะคา่ โมง เตง็ รัง ๒. ไม้ระดับกลาง เป็นกลุ่มต้นไม้ที่ไม่สูงนัก เป็นจำพวกไม้ผลที่เก็บกินได้ เช่น มะม่วง ขนุน มังคดุ ชมพ่กู ระทอ้ น ไผ่ ทเุ รยี น ลองกอง สะตอ ๓. ไม้พุ่มเตีย้ เป็นกลมุ่ พันธไุ์ ม้พุ่มเตี้ย เช่น พรกิ มะเขอื กะเพรา ผกั หวานบ้าน มะนาว นว้ิ เหรียง ๔. ไมเ้ รีย่ ดิน เป็นตระกูลไมเ้ ล้ือย เช่น พรกิ ไทย รางจดื ๕. ไม้หัวใต้ดนิ เช่น ข่า ตะไคร้ ไพล เผอื ก มัน บกุ กลอย ขงิ ข่า กระชาย กระทือ กวาวเครอื มนุษยเ์ ราจะใชด้ ินเพ่ือสนองความต้องการของตนเองตลอดเวลา การใชท้ ่ดี นิ ผดิ ประเภทในรูปแบบต่างๆ เชน่ การทำไรเ่ ล่อื นลอย การตดั ไม้ทำลายป่า การใชป้ ุ๋ยเคมี ล้วนสง่ ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในระบบ นิเวศ การทำการเกษตรส่วนใหญ่ในปจั จุบันก็เชน่ เดียวกัน มีการปอกเปลอื กเปลือยเดือน การเผา การใช้ สารเคมีที่เปน็ อันตรายต่อสิ่งมีชวี ิตทผ่ี ิดธรรมชาติ ดงั นั้น การเกษตรที่ไม่ทำลายธรรมชาติ ไม่ปอกเปลือก เปลือยดิน ไม่เผา ไม่ใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม อันเป็นแนวทางของ หลักกสกิ รรมธรรมชาติทำใหด้ นิ ดี ๑๐. ขัน้ ตอน การตรวจแปลงตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ ๑. การจัดกล่มุ จัดคน สำรวจพน้ื ที่ แบ่งหนา้ ที่ แบง่ คน ใชห้ ลกั ความสามัคคี ๒. การเตรียมดนิ ขุดร่องน้ำ/ฝาย ๓. การปลกู ปา่ ๕ ระดับ ๔. ปลกู แฝกอนรุ ักษด์ ินและนำ้ ๕. ปลกู ดอกไม้เพอ่ื บริหารแมลง ๖. การหม่ ดนิ ฟาง เศษใบไมแ้ หง้ ๗. การเล้ียงดิน ใส่ปุ๋ยอินทรยี ์ (แห้งชาม น้ำชาม) ๘. การทอ่ งคาถาเลยี้ วดนิ ๕ ภาษา ๙. ศิลปะ ความเรยี บร้อย สวยงามของแปลง ๑๐. การจัดเก็บอุปกรณ์ ล้างทำความสะอาด จดั วางใหเ้ ปน็ ระเบียบ สรุปผลการเรยี นรู้ จากการสังเกตพบว่า ผู้เข้าอบรมมีความสนใจเนื้อหาที่วิทยากรให้ความรู้อย่างมาก เนื่องจาก เป็นเรื่องใกล้ตัว และเป็นปัญหาที่เกิดข้ึนจริงในพื้นที่ การปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ตามหลัก กสิกรรมธรรมชาติ เป็นหลักการแนวคิดที่มองเห็นได้ชัดเจน สามารถนำไปปรับใช้ในพื้นที่ของตนเองได้ จรงิ

23 8. วิชา ฝึกปฏบิ ตั ิฐานการเรยี นรู้ จำนวน 10 ฐาน 1. ฐานคนรักษ์ป่า วิทยากร ว่าที่ ร.ต.ปยิ ะวฒุ ิ ทพิ ย์มณี ตำแหน่ง นักทรัพยากรบุคคล ระยะเวลา 3 ช่ัวโมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ให้ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมร้แู ละเข้าใจถึงการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวัน และสามารถปฏบิ ัติจนเปน็ วถิ ีชวี ติ ๒. เพ่ือผู้เข้าอบรมมีทกั ษะ ความรใู้ นแตล่ ะฐานการเรยี นรูแ้ ละนำไปปฏิบตั ิได้ ๓. สามารถนำความรแู้ ละเทคนิคในฐานต่างๆ ไปประยกุ ต์ใช้เปน็ อาชีพเสริมในครัวเรือน เพื่อให้ เกดิ รายได้และพึง่ พาตนเองได้ ประเดน็ เน้ือหาทีว่ ิทยากรบรรยายใหค้ วามร/ู้ ฝึกปฏบิ ตั ิ ๑. เรียนรู้ทฤษฎีการจัดทำฐานคนรักษ์ป่า,ฐานคนรักษน์ ้ำ,ฐานคนรักษ์แมโ่ พสพ, ฐานคนหัวเห็ด, ฐานคนมนี ้ำยา, ฐานน้ำหมัก 7 รส, ฐานปุ๋ยแหง้ , ฐานคนมีไฟ, ฐานคนรกั ษส์ ุขภาพ 2. ฝึกปฏิบัติการจัดทำฐานเรียนรู้ ได้แก่ ฝึกปฏิบัติขยายพันธุ์พืชโดยการตอนกิ่ง การควบแน่น การเสียบยอด, ฝึกปฏิบัติเพาะเห็ดฟางในตะกร้า, ฝึกปฏิบัติทำลูกระเบิดจุลินทรีย์, ฝึกปฏิบัติทำน้ำยา อเนกประสงค์, ฝกึ ปฏบิ ัติแชเ่ ท้าสุมนไพร, ฝึกปฏิบตั ทิ ำปุ๋ยหมกั ไมก่ ลบั กอง, ฝึกปฏิบัตทิ ำนำหมกั 7 รส วิธกี าร / เทคนิค ๑. บรรยายแบบมีสว่ นรว่ ม/ประกอบสือ่ ๒. ใหผ้ เู้ ข้าอบรมไดล้ งมอื ฝึกปฏบิ ตั กิ ารจัดฐานเรียนรู้ 3. ให้ผู้เขา้ อบรมซักถาม และวทิ ยากรตอบคำถามเพิ่มเติมในประเดน็ ท่นี า่ สนใจ วสั ดุ / อุปกรณ์ ๑ สอื่ Roll up ไวนิล ๒ อปุ กรณ์ประกอบการฝกึ ปฏบิ ตั ิทำฐาน สรุปเนื้อหาวชิ า หลักการและวิธกี ารปลูกป่า ๕ ระดบั แบบกสิกรรมธรรมชาติ การปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง และการปลูกต้นไม้แบบกสิกรรมธรรมชาติ ประกอบด้วยต้นไม้หลากหลาย ทั้งชนิดพันธุ์ ช่วงอายุ ลักษณะนิสัย และขนาดความสูง โดยเราสามารถ จดั แบ่งตามระดับชว่ งความสงู และระบบนิเวศได้ ๕ ระดับ อันไดแ้ ก่ ๑. ไมส้ ูง เป็นกล่มุ ต้นไมเ้ รอื นยอดสงู สดุ และอายุยืนไม้ในระดบั น้ี เชน่ ตะเคียนยางนาเต็งรังฯลฯ ๒. ไมก้ ลาง เปน็ กล่มุ ตน้ ไม้ทไี่ ม่สูงนกั ไมใ้ นระดบั นไ้ี ด้แก่บรรดาไม้ผลทีเ่ ก็บกนิ ได้ เชน่ มะม่วง ขนุน มงั คดุ กระท้อน ไผ่ สะตอ ฯลฯ ๓. ไม้เตยี้ เป็นกลุม่ ตน้ ไมพ้ ุม่ เต้ีย ไมใ้ นระดับน้ี เช่น พริก มะเขือ กะเพรา ผักหวานบ้าน ต้วิ เหรียง ฯลฯ ๔. ไม้เรีย่ ดิน ไม้ในระดับนี้เป็นตระกูลไม้เลื้อย เช่น พริกไทย รางจืด ฯลฯ ๕. ไมห้ ัวใตด้ นิ ไม้ในระดบั นี้เชน่ ขิง ขา่ มันมือเสอื บุก กวาวเครือ ฯลฯ

24 ขอ้ คำนึงในการปลกู ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ๑. ไม้เบิกนำ ไม้สะเดา มะรุม แค ไม้ผล กล้วย อ้อย และพืชผักอายุสั้น ควรหามาปลูกก่อน เพื่อสร้างแหล่งอาหารของครอบครวั ๒. ไม้ปลกู เพื่ออยู่อาศัย ควรปลกู หลงั จากปลกู ไมใ้ นข้อท่ี ๑ ประมาณ ๑-๒ ปี ๓. ไม้สมุนไพร จะเจรญิ เตบิ โตไดด้ ีเมอื่ มคี วามร่มรน่ื เพยี งพอ ๔. นาขา้ ว กำหนดพน้ื ทใ่ี หเ้ หมาะสม หากมพี ื้นทีพ่ อ เพอ่ื เก็บขา้ วไว้กนิ ระหวา่ งปโี ดยไม่ต้องซื้อ ๕. ร่องน้ำ ควรขุดร่องน้ำขนาดเล็ก เพื่อให้ความชุ่มชื้นกับพ้ืนดินและต้นไม้ ซึ่งจะทำใหส้ ามารถ เลย้ี งปลาธรรมชาตเิ พ่ือใช้เปน็ อาหาร โดยขดุ เชื่อมต่อกนั กบั บอ่ ขนาดใหญ่ ๖. ปลูกต้นไม้ให้หลากหลาย เพื่อการใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ช่วยลดค่าใช้จ่าย สร้างความ มั่งคั่ง มั่นคง ซึ่งเป็นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในครอบครัวและชุมชน ธนาคารต้นไม้ ประกันชีวิต ที่พอเพียง มั่งคั่ง ยั่งยืน เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านและ เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติได้เสนอแนวคิด “ธนาคารตน้ ไม้” ให้เปน็ เครอ่ื งมอื ในการจัดการหนี้และสร้างหลกั ประกันชีวิตของเกษตรกร ให้เกษตรกร ทั้งที่มีหนี้และไม่มีหนี้ปลูกต้นไม้มากขึ้น เพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ตนเอง และตกทอดเป็นมรดกแก่ ลูกหลานได้ โดยการทำบัญชีต้นไมฝ้ ากไว้ในธนาคาร ซึ่งเปน็ การเปลย่ี นรูปแบบจากการออมเงินดอกเบ้ีย ต่ำ เป็นการออมต้นไม้ที่ให้ผลตอบแทนที่สูงกว่า อีกทั้งเป็นการใช้จุดแข็งของเกษตรกรและแผ่นดินไทย เปน็ ฐานการสร้างไทยให้ย่ังยืนและสรา้ งผลดแี กโ่ ลก โดยมีหลักการสำคญั ดังนี้ - ต้นไม้ที่ประชาชนปลูก เป็นสิทธิของประชาชนในการเป็นเจ้าของ ทั้งที่ดินและต้นไม้ มีสิทธิ ในการดูแล รกั ษา คิดมูลคา่ และตัดเพอ่ื เปน็ สนิ ค้าเหมอื นพชื เกษตรอน่ื - ตน้ ไม้ทุกต้นย่อมมมี ูลคา่ ในระหวา่ งทย่ี ังมีชีวติ (ไม่ใช่ตัดแล้วจึงมีคา่ อย่างปจั จุบัน) - การปลูกตน้ ไมจ้ ะตอ้ งยึดแนวทาง ปลกู ปา่ ๓ อย่าง ไดป้ ระโยชน์ ๔ อย่าง ได้แก่ (๑) ปลกู ไวก้ ิน คือ กิน เป็นอาหาร กินเป็นเครื่องดื่ม กินเป็นสมุนไพร กินเป็นขนม (๒) ปลูกไว้ทำท่ีอยู่ ได้แก่ ทำไม้พ้ืน ไม้ฝา ไม้เสา และไม้เครื่องบน (๓) ปลูกไว้เพื่อใช้สอย ได้แก่ ทำฟืน ทำถ่าน ทำปุ๋ย ทำสารไล่แมลง ทำเครื่องมือเครื่องใช้ ใช้งานหัตถกรรม ใช้ทำสี ใช้ทำ น้ำยาซักล้าง (๔) ปลูกไว้เพื่อเป็นร่ม เงาให้ความ ร่มเยน็ เปน็ ประโยชนต์ ่อส่ิงแวดลอ้ ม - ต้นไม้ที่ประชาชนปลูก มีส่วนในการสร้างความสมดุลให้ระบบนิเวศ ช่วยดูดซับ คารบ์ อนไดออกไซด์ แกป้ ัญหาโลกรอ้ น และรัฐบาลต้องสนับสนุนการทำคาร์บอนเครดิตสำหรบั เกษตรกร รายยอ่ ย - รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐต้องผลักดันพัฒนากลไกหนุนเสริมธนาคารต้นไม้ของภาค ประชาชน เพื่อสร้างความมั่นคง มั่งคั่งใหม่ในชีวิต สังคม และประเทศชาติอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นแนวคิดของการผสมผสานการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากร ป่าไม้ ควบคู่ไปกับความต้องการด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนเป็นที่ตั้ง ซึ่งจะสามารถช่วยให้ เกิดการอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่ป่าของประเทศได้อย่างแยบคาย จากการส่งเสริมให้ชาวบ้านได้ตระหนัก และเห็นคุณค่าจากการได้ใช้ประโยชน์จากป่าไม้ที่ปลูก สามารถแจกแจงตามการใช้ประโยชน์ให้เข้าใจ ง่ายขึ้นดังนี้ประโยชน์เพื่อให้ “พออยู่” คือการปลูกต้นไม้ที่ใช้เนื้อไม้และไม้เชิงเศรษฐกิจให้เป็นป่า ไม้ กลุ่มนี้เป็นไม้อายุยาว นานซึ่งจะเน้นประโยชน์ในเนือ้ ไม้เพื่อสร้างบ้าน ทำเครื่องเรือน และถือได้ว่า เป็น

25 การออมทรัพย์เพื่อสร้างความมั่นคงในอนาคตต้นไม้กลุ่มน้ี เช่น ตะเคียนทอง ยางนา แดง สัก พะยูง พยอม เป็นตน้ ประโยชนเ์ พื่อให้ “พอกนิ ” คือการปลูกต้นไม้ท่ีกินได้รวมท้ัง ใช้เปน็ ยาสมุนไพร ไม้ในกลุ่ม นี้ เช่น แค มะรุม ทุเรียน สะตอ ผักหวาน ฝาง แฮ่ม กล้วย ฟักข้าว เป็นต้น ประโยชน์เพื่อให้ “พอใช้” คือการปลกู ต้นไมใ้ ห้เป็นป่าไม้ สำหรับใช้สอยในครัวเรอื น อาทิ ทำฟนื เผาถา่ น ทำงานหัตถกรรม หรือทำ น้ำยาซักล้าง ไม้ในกลุ่มนี้ เช่น มะคำดีควาย หวาย ไผ่ หมีเหม็น เป็นต้น ประโยชน์เพื่อให้ “พอร่มเย็น” คือประโยชน์อยา่ งท่ี ๔ ท่ีเกิดจากการปลูกป่า ๓ อยา่ ง “พอร่มเย็น” คอื ป่าทง้ั ๓ อย่างจะช่วยฟน้ื ฟูระบบ นเิ วศดิน และน้ำให้กลบั อดุ มสมบรู ณ์ ร่มรื่น และฉ่ำเยน็ ขึ้นมา ฝกึ ปฏบิ ตั ิฐานคนรักษ์ปา่ ปกั ชำแบบควบแน่น อุปกรณ์ 1. แกว้ พลาสตกิ 10 ออนซ์ 2. ถุงพลาสตกิ ใส่ 6x9 นิว้ 3. หนังยางเส้น 4. มดี คสั เตอร์ 5. กรรไกร 6. กะละมงั 7. แกลบดำหรอื แกลบเผา 8 ยอดพันธุ์ ท่อี ายคุ วามแกอ่ ่อนอย่รู ะหวา่ ง 40-60 เปอร์เซ็นต์ เช่น เฟอ่ื งฟา้ ทองอไุ ร วิธที ำ 1. เลือกกิ่งพันธุ์ที่ต้องการขยายพันธุ์ ตัดด้วยกรรไกรหรือคัสเตอร์ ให้รอยตัดเป็นแนวเฉียง จะเหมาะสมที่สุดระวงั อย่าให้เปลือกบริเวณที่ตัดอีก หรือมแี ผลเพราะจะทำให้รากบริเวณนั้นไม่งอกหรือ งอกได้ไมด่ ี 2. เตรยี มแกลบดำเทใสก่ ระบะจากน้นั พรมน้ำให้พอชมุ่ สังเกตง่ายๆคือ พอกำแกลบดำจะจับตัว เป็นก้อน นำแกลบดำมาใสแ่ ก้วพลาสตกิ ใสท่ีเตรียมไว้ กดให้แน่นพอประมาณ 3. ใช้นิ้วกดลงไปในแกลบดำให้ลึกประมาณ 3/4 ของความสูงของแก้ว สำหรับเป็นรูเพื่อปักก่ิง พนั ธลุ์ งในดนิ 4. นำกิ่งพันธุ์ที่ต้องการขยายพันธุ์ปักลงในรูที่เจาะไว้ กดให้แน่นพอประมาณนำถุงพลาสติกใส ครอบ แล้วมัดปากถุงกับปากแก้วด้วยหนังยาง 2 เส้น นำไปวางไว้ในที่ร่มรำไร หรือโรงเรือนเพาะชำ สังเกตจะเหน็ วา่ ในถงุ มีไอน้ำจากการคายนำ้ ของใบเกาะอยู่ท่ัวถุง เนอ่ื งจากอากาศที่ปดิ จะทำให้ก่ิงชำมีน้ำ ตลอดและไอน้ำจะเร่งตาให้แตกใบใหม่ขึ้นมา เพื่อรับแสง ส่งผลให้เกิดการสร้างอาหาร เร่งให้เกิดราก ประมาณ 15 – 30 วนั รากจะคอ่ ยๆงอกออกมาให้เหน็ 5. จากนั้นรากจะค่อยๆ เปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีเขียวอมน้ำตาล ให้เปิดปากถุง และกลับถุง เพอ่ื ให้ตน้ ไม้ค่อยๆ ปรบั ตัวใหเ้ ข้ากบั สภาพแวดลอ้ มนำไปพักไวอ้ กี 5 – 7 วนั กพ็ ร้อมทจ่ี ะนำไปปลกู ได้ การตอนกิ่ง อปุ กรณ์ 1. ขยุ มะพร้าวละเอยี ด 2. กระบะผสมปนู

26 3. เชอื กฟางเส้นเลก็ 4. ถุงพลาสตกิ ขนาด 6x9 น้ิว 5. มดี คัสเตอร์ 6. หนงั ยาง 7. กง่ิ พันธุม์ ะนาวหรอื ลำไย วิธีทำ 1. นำขยุ มะพร้าวละเอยี ดเทใสก่ ระบะแชน่ ำ้ ทงิ้ ไว้ 1 คืน 2. กรอกขุยมะพร้าวใสถ่ งุ พลาสติก ขนาด 6x9 นิว้ จนเกือบเต็ม มัดปากถุงดว้ ยหนงั ยาง 3. เลอื กก่ิงต้นไมท้ ่ีไมแ่ กแ่ ละไมอ่ ่อนเกินไป (ใบเพสลาด) 4. นำมีดคัดเตอร์มาคว่นั กิ่งมะนาวหรือลำไย ยาวประมาณ 1 น้ิว แลว้ ลอกเปลือกออก ขูดเนื้อเยื่อ เจรญิ ออก 5. นำตมุ้ ตอนที่เตรยี มไว้ มาตดั ถุงเป็นรปู ตวั ไอ(บานหน้าต่าง) แลว้ ห้มุ กง่ิ ทคี่ วัน่ ไว้แลว้ 6. นำเชือกฟางเส้นเล็กมามดั ตมุ้ ตอนใหแ้ น่นทส่ี ดุ ทัง้ ด้านบนและดา้ นลา่ ง 7. รดน้ำปกติ เช้า – เยน็ รอประมาณ 1 เดือนก็จะได้ต้นใหม่เกิดขึ้น 2. ฐานคนรักษน์ ้ำ วทิ ยากร นายณฐั พล อดุ มเมฆ ตำแหน่ง นักทรัพยากรบคุ คลปฏิบตั ิการ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมรู้และเข้าใจถึงการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน และสามารถปฏบิ ตั ิจนเป็นวถิ ชี วี ิต ๒. เพ่อื ผู้เข้าอบรมมีทกั ษะ ความรูใ้ นแตล่ ะฐานการเรียนร้แู ละนำไปปฏบิ ตั ิได้ ๓. สามารถนำความร้แู ละเทคนิคในฐานต่างๆ ไปประยุกต์ใช้เปน็ อาชีพเสรมิ ในครวั เรือน เพ่ือให้ เกิดรายไดแ้ ละพง่ึ พาตนเองได้ ประเด็นเนือ้ หาทว่ี ิทยากรบรรยายให้ความรู้/ฝึกปฏบิ ัติ “…หลักสำคัญว่า ต้องมีน้ำ น้ำบริโภคและน้ำใช้ น้ำเพื่อการเพาะปลูก เพราะชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามี น้ำคนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน้ำ คนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้า คนอยู่ได้ แต่ถ้ามีไฟฟ้า ไม่มีน้ำ คนอยู่ไม่ได้…” พระราช ดำรสั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ฯ ๑๗ มีนาคม ๒๕๓๙ น้ำ... ปัจจัยพื้นฐานสำหรับทุกชีวิตบนโลก จากพระราชดำรัสขององค์พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว “น้ำ” เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญสำหรับทุกชีวิต ทุกกิจกรรมบนโลก ซึ่งรวมทั้งการทำ เกษตรกรรมด้วยเช่นกัน ในทุกคราที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยม ราษฎรตามพ้นื ท่ีต่างๆ ท่วั ประเทศน้ัน ทรงทอดพระเนตรพบสภาพปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่อการปลูก ขา้ ว จนเกดิ แรงดลพระราชหฤทยั และเป็นแนวคดิ ข้ึนวา่ ๑. ขา้ วเปน็ พืชทแ่ี ข็งแกร่ง หากได้น้ าเพยี งพอจะสามารถเพ่ิมปรมิ าณเม็ดขา้ วได้มากย่ิงข้ึน ๒. หากเก็บนำ้ ฝนทตี่ กลงมาไว้ได้แล้ว นำมาใชใ้ นการเพาะปลกู กจ็ ะสามารถเกบ็ เกย่ี วได้มากข้นึ เช่นกนั

27 ๓. การสรา้ งอ่างเก็บน้ำขนาดใหญน่ ับวนั แตจ่ ะยากท่ีจะดำเนินการได้ เน่ืองจากการขยายตัวของ ชมุ ชนและขอ้ จำกัดของปริมาณทดี่ ินเป็นอปุ สรรคสำคัญ ๔. หากแต่ละครัวเรือนมีสระน้ำประจำไร่นาทุกครัวเรือนแล้ว เมื่อนับปริมาณรวมกันก็ย่อม เท่ากับปริมาณในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ แต่สิ้นค่าใช่จ่ายน้อยและเกิดประโยชน์สูงสุดโดยตรงมากกว่า เนื่องจากการทำเกษตรกรรมของเกษตรกรไทยส่วนใหญ่ เป็นระบบเกษตรกรรมที่ต้องอาศัยน้ำฝนเป็น หลัก ซึ่งไม่สามารถกำหนดควบคุมได้ ในบางปีก็เกิดภัยแล้งขณะที่บางปีก็เกิดภัยพิบัติ น้ำท่วม จนทำให้ พชื ผลและสัตวเ์ ลีย้ งจากการกสกิ รรมต่างๆ เสยี หายไปเป็นจำนวนไม่น้อย ไม่เพยี งเทา่ น้นั ปัญหาเกี่ยวกับ น้ำยังคุกคามรวมไปถึงคนเมือง โดยเฉพาะปัญหาน้ำท่วมและปัญหาน้ำเน่าเสีย ที่สร้างความเดือดร้อน แทบทุกปี การจัดการเพื่ออนุรักษ์น้ำ ทั้งในสภาวะที่น้ำน้อย น้ำมาก และน้ำเสีย จึงเป็นสิ่งจำเป็นอันดับ ต้นๆ ทงั้ เพอ่ื การทำกสกิ รรมธรรมชาตแิ ละการดำเนนิ ชวี ติ ของทุกๆ ชวี ติ บนโลก ศาสตรก์ ารจัดการและการอนรุ กั ษน์ ำ้ ของพระราชา จากฟากฟ้า ลงภผู า ผ่านทงุ่ นา สูม่ หานที จากฟากฟา้ ... โครงการฝนหลวง วิธีทำฝนหลวงมอี ยู่ ๓ ข้ันตอน คอื ขั้นตอนที่ ๑ ก่อกวน คือ การดัดแปรสภาพ อากาศหรือก้อนเมฆในขณะนัน้ เพื่อกระตุ้นให้มวล อากาศชื้นไหลพาข้ึนสเู่ บื้องบนอนั เป็นการชักนำไอน้ำ หรืออากาศช้ืนเขา้ สูก่ ระบวนการเกดิ เมฆ ขั้นตอนที่ ๒ เลี้ยงให้อ้วน คือ การดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อทำให้เมฆเจริญขึ้นจนมีขนาดใหญ่ หนาแนน่ และพร้อมที่จะตกลงมาเปน็ ฝน ขั้นตอนที่ ๓ โจมตี คือการดัดแปรสภาพอากาศที่จะกระตุ้นให้เมด็ ละอองเมฆปะทะชนกัน แล้ว รวมตัวเข้าด้วยกันจนมีขนาดใหญ่ขึ้น ขณะเดียวกันก็เป็นการลดแรงไหลพาขึ้นเบื้องบน เพื่อให้เม็ดน้ำมี ขนาดใหญต่ กลงสเู่ บื้องลา่ ง แล้วเกิดเป็นฝนตกลงมาสเู่ ป้าหมาย โครงการแก้มลงิ หลกั การของโครงการคอื เม่อื เกดิ นำ้ ท่วมกข็ ุดคลองชักน้ำใหไ้ หลมารวมกัน เก็บไวใ้ นแหล่งพัก น้ำ แล้วจึงค่อยทำการระบายลงสู่ทะเลผ่านทางประตูระบายน้ำในช่วงที่ปริมาณน้ำทะเลลดลง ขณะเดียวกันก็สามารถสูบน้ำออกจากคลองทเ่ี ปน็ แก้มลิงลงสูท่ ะเลตลอดเวลา เพอ่ื ทีน่ ้ำจากตอนบนจะได้ ไหลลงมาได้เรื่อยๆ และเมื่อใดก็ตามที่ระดับน้ำทะเลขึ้นสูงกว่าระดับน้ำในคลองที่เป็นแก้มลิง ก็ให้ปิด ประตูระบายน้ำกั้นไม่ให้น้ำทะเลไหลย้อนกลับเข้ามา โครงการพัฒนาลุ่มน้ำนครนายกตอนบนโครงการ เขื่อนเก็บกักน้ำคลองท่าด่าน จังหวัดนครนายก สร้างอยู่ในบริเวณจุดที่ต่ำจากน้ำตกเหวนรกลงมา เป็น โครงการที่มีความสำคัญมาก เพราะนอกจากจะช่วยให้ราษฎรมีน้ำใช้เพาะปลูกในฤดูแล้งได้เป็นจำนวน นบั แสนไร่แล้ว เขอื่ นแหง่ นยี้ ังสามารถป้องกันอทุ กภัยไว้ได้ทุกปี ขณะเดยี วกนั ในฤดูแล้ง น้ำจากเขือ่ นก็จะ ถูกระบายออกให้แก่เกษตรกร ทั้งยังเป็นการช่วยชะล้างดนิ เปรี้ยวในพืน้ ที่หลายอำเภอของนครนายกได้ อกี ทาง พระราชดำรใิ นการใชน้ ำ้ ดีไลน่ ้ำเสยี เปน็ การนำนำ้ คุณภาพดีจากแม่นำ้ เจา้ พระยา สง่ เข้าไปไล่นำ้ เสียตามคลองในเขตกรงุ เทพฯและ ปริมณฑล ได้แก่ คลอง บางเขน คลองบางซื่อ คลองแสนแสบ คลอง เทเวศร์ และคลองบางลำภู เพ่ือ ช่วยลดปัญหาความเน่าเสียของน้ำในคลองต่างๆ คล้ายกับการ “ชักโครก” คือ ปิดและเปิดน้ำให้ได้ จังหวะตามเวลาน้ำขึ้น-น้ำลง หากน้ำขึ้นสูงก็เปิดประตูน้ำให้น้ำดีเข้าไปไล่น้ำเสีย ครั้นน้ำทะเลลงก็เปิด ประตูถา่ ยนำ้ เสยี ออกจากคลองไปดว้ ย

28 กังหันนำ้ ชยั พัฒนา ใช้บำบัดน้ำเสียที่เกิดจากชุมชนและ อุตสาหกรรม ลักษณะเป็นเครื่องกลหมุนช้า แบบทุ่นลอย เพื่อชว่ ยเตมิ ออกซิเจนท่ีผิวน้ำ สู่มหานที.. บำบัดนำ้ เสยี โดยธรรมชาติ โครงการวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อม แหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำริตั้งอยู่ท่ี ต.แหลมผักเบี้ย อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี เป็นโครงการศึกษาวิจัยวิธีการบำบัดน้ำเสีย กำจัดขยะมูลฝอย และการรักษาสภาพป่าชายเลนดว้ ยวธิ ธี รรมชาติตามแนวพระราชดำริ มขี นั้ ตอน คือ ๑. ดำเนินการสร้างท่อระบายรวบรวมน้ำเสีย (Combine Waste Water System) จาก เทศบาลเมืองเพชรบุรี จากนั้นส่งน้ำเสียไปยังสถานีสูบน้ำเสียที่คลองยาง ซึ่งเป็นบ่อดักขยะและบ่อ ตกตะกอนโดยในขนั้ ต้นจะสามารถลดค่าความสกปรกไปได้ถึงร้อยละ ๔๐ ๒. น้ำเสียจากคลองยางจะถูกสูบและส่งไปตามท่อเป็นระยะทาง ๑๘ กิโลเมตร เข้าสู่ระบบ บำบัดน้ำเสียที่ตำบลแหลมผักเบี้ย ซึ่งดำเนินการพร้อมกัน ๒ ระบบ คือ ระบบบำบัดน้ำเสีย และระบบ กำจัดขยะ โดยระบบบำบดั น้ำเสียแบ่งออกเปน็ ก. ระบบบำบัดหลัก ซึ่งประกอบด้วยระบบบำบัดน้ำเสีย (Lagoon Treament) จำนวน ๕ บ่อ ในพื้นที่ ๙๕ ไร่ โดยน้ำเสียจะไหลเข้าระบบน้ำล้นตามลำดับคือผ่านบ่อตกตะกอนเข้าบ่อบำบัด ๑-๓ (Oxidation Pond) ก่อนไหลสู่บ่อปรับคุณภาพน้ำ (Polishing Pond) เป็นขั้นสดุ ท้าย จากนั้นจึงระบาย ลงสูป่ า่ ชายเลน ซ่ึงนำ้ เสยี ข้ันสุดทา้ ยจะไดร้ ับการตรวจสอบคณุ ภาพนำ้ จากคณะวจิ ัยอย่างใกล้ชดิ ข. ระบบบำบัดน้ำรอง อย่รู ะหว่างดำเนินการในพื้นทีป่ ระมาณ ๖๐ ไร่ ประกอบดว้ ย - ระบบบึงชีวภาพ (Contructed Wetland) เป็นการดำเนินการโดยให้น้ำเน่าเสียไหลผ่าน บ่อดินตื้นๆ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ภายในปลูกพืชที่มีรากพุ่งประเภทกกพันธุ์ต่างๆ และต้นอ้อพืชเหล่านี้ มีระบบรากแผ่กระจายยดึ เกาะดนิ และสามารถเจริญเติบโตดีในนำ้ ขงั พชื น้ำเหลา่ นีจ้ ะช่วยดูดซับสารพิษ และอนิ ทรยี ์สารใหล้ ดน้อยลง ตลอดจนทำหนา้ ท่ยี อ่ ยสลายสารอินทรีย์ให้หมดไป - ระบบกรองน้ำเสียด้วยหญ้า (Grass Filtration) โดยการปล่อยน้ำจากบ่อปรับคุณภาพน้ำของ ระบบบ่อบำบดั นำ้ เสียเป็นระยะ (Bat Flow) นานคร้งั ละ ๑–๒ สปั ดาห์ ผ่านเขา้ ไปในแปลงหญ้ามีขนาด และลักษณะเหมอื นระบบบงึ ชีวภาพ จนกระทง่ั น้ำมีความสะอาดดยี งิ่ ข้นึ - ระบบกรองน้ำเสียด้วยป่าชายเลน (White and Red Mangrove) น้ำเสียจะได้รับการบำบัด ผา่ นเข้าไปในพน้ื ที่ ๓๐ ไร่ ทท่ี ำการปลูกป่าชายเลนแบบคละผสมผสานกนั ในลักษณะท่ีเปน็ ธรรมชาติ ซึ่ง นำ้ ทีผ่ า่ นปา่ ชายเลนจะได้รับการบำบัดจนเปน็ นำ้ ดตี ามมาตรฐาน การบำบดั นำ้ เสยี โดยใช้จุลินทรยี ์ วิธที ี่ ๑ การใชน้ ำ้ หมักชีวภาพ โดยการใช้น้ำหมักชีวภาพปริมาณ ๑ ต่อ ๕๐๐ ส่วน ราดลงทั้งในน้ำทิ้งจากครัวเรือน ตลาดสด ฟาร์มปศุสัตว์ หรือโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อให้จุลินทรีย์ช่วยย่อยสลายอินทรีย์สารในแหล่งน้ำ และยัง สามารถนำไปใชไ้ ด้ดีในการปรบั สภาพน้ำในบ่อประมงทงั้ บ่อเล้ียงก้งุ และปลาได้เป็นอย่างดี วิธีที่ ๒ ลกู ระเบิดจุลินทรยี ์ กจิ กรรมฝกึ ปฏิบัตทิ ำระเบดิ จลุ ินทรีย์ วธิ กี ารทำระเบดิ จลุ นิ ทรยี ์คือการปั้นนำ้ หมกั รสจืดและปุ๋ยหมักแห้งธรรมชาตกิ บั มนี ำ้ หนกั มากพอ จมลงในน้ำที่ลึกๆจนถึงก้นหนองน้ำนั้นๆ ใช้เพื่อในการบำบัดน้ำ เพิ่มอาหารให้จุลินทรีย์ในหนองน้ำ

29 จลุ นิ ทรยี จ์ ะผลติ ออกซเิ จนมากขึน้ ทำให้น้ำใสสะอาดลดกลนิ่ เหมน็ ของนำ้ และชว่ ยเพ่ิมอาหารให้กับสัตว์ น้ำตัวเล็กตวั น้อย สามารถเลยี้ งสัตวน์ ้ำแบบชวี ภาพได้ดว้ ย ส่วนผสม ๑.น้ำหมกั รสจืด ๒.ปุ๋ยหมักแห้งธรรมชาติ (แกลบหยาบ) ๓.รำอ่อน ๔.ดิน วิธกี ารทำ 1. ผสมน้ำกบั น้ำหมกั รสจดื อัตราส่วน 1 : 1 2. ผสม ดิน : รำอ่อน : ปุ๋ยหมกั : แกลบ ในอัตราสว่ น 1 : 1 : 1/5 : 1 3. นำทุกอย่างมารวมกัน ในอัตรา น้ำ 30% และดิน 70% แล้วปั้นเป็นก้อน จากน้ัน ตอ้ งผ่งึ ในทร่ี ม่ ไม่โดนแดดประมาณ 4 วันจงึ จะนำไปโยนได้ ระบิดจุลินทรีย์ 1 ก้อน เพิ่มค่าออกซิเจนละลายน้ำได้ 2 – 3 มิลลิกรัม/ลิตร ต่อน้ำ 4 ลบ.ม. ในเวลา 20 นาที แล้วแต่สภาพน้ำเสีย สามารถนำไปใช้ได้ในพื้นท่ีน้ำขงั จนเนา่ ก้อนจลุ นิ ทรีย์ ขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง 8 ซม. 1 ก้อน ทำงานได้ดีในพนื้ ที่ 1 ตร.ว. (4 ตร.ม.) 3. ฐานคนรกั ษแ์ ม่โพสพ วิทยากร 1. นางสาวอรชมุ า พูนชัยภมู ิ ตำแหน่ง นกั วิชาการพฒั นาชมุ ชนชำนาญการ 2. นายพีฎาวธุ นาโควงค์ ตำแหนง่ นักทรัพยากรบคุ คลชำนาญการ ระยะเวลา 3 ช่ัวโมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้และเข้าใจถึงการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน และสามารถปฏบิ ัตจิ นเปน็ วถิ ชี ีวติ ๒. เพอื่ ผเู้ ข้าอบรมมีทักษะ ความรู้ในแตล่ ะฐานการเรยี นรูแ้ ละนำไปปฏิบตั ิได้ ๓. สามารถนำความรแู้ ละเทคนิคในฐานต่างๆ ไปประยุกต์ใชเ้ ป็นอาชีพเสริมในครัวเรือน เพ่ือให้ เกดิ รายได้และพ่งึ พาตนเองได้ ประเด็นเนือ้ หาที่วิทยากรบรรยายให้ความรู้ 1. วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้การทำนาปี ข้าวนาปีเปน็ ขา้ วไวแสง มที ัง้ ข้าวท่ตี ้ังแต่ปลูกจนถึงเวลาเก็บ เกยี่ ว 70-90 วนั เปน็ ขา้ วนาดอน สว่ นข้าว 110 วัน 115 วัน เปน็ ข้าวนาระดับกลาง และ 120 วัน ข้ึนไปเปน็ ข้าวนาลุม่ สว่ นการจะปลูกขา้ วเหนียวหรือขา้ วจา้ ว เป็นสิทธขิ องเจา้ ของแปลงในการเลอื กพันธขุ์ า้ ว 2. การทำนาปรัง วิทยากรบรรยายถึงการทำนาปรงั เป็นการทำนานอกฤดูกาลปกติ ขา้ วทใ่ี ช้จะเปน็ ขา้ ว ไม่ไวแสง คือ ตั้งแต่วา่ นข้าวนับระยะเวลาได้เลยอีกกี่วันขา้ วจะสุก ข้าวนาปรังส่วนใหญช่ าวนาจะใช้ข้าวที่มีอายุ เก็บเกี่ยว 70-90 วัน เนื่องจากเป็นการทำนาในช่วงฤดูแล้ง กลัวน้ำไม่พอในการเพาะปลูกจึงเลือกสายพันธุ์ข้าว ทีม่ อี ายุสั้น 3. ระดับพื้นนาทเี่ หมาะกบั ขา้ ว วิทยากรบรรยายระดบั น้ำในการเพาะปลกู ข้าว ประกอบดว้ ย

30 -นาภูเขา เป็นการปลูกข้าวพื้นที่สูงมาก ข้าวที่ใช้เป็นสายพันธุ์ใช้น้ำน้อย ระยะเวลาการ ปลูกสน้ั เพราะฝนจะหมดเรว็ พนั ธท์ุ ่ีใชป้ ลูกเปน็ ข้าวไวแสง เพราะปลกู ตามฤดูกาลทำนาปกติ -นาดอน เป็นการปลูกข้าวที่ปลูกบริเวณโคก เป็นพื้นที่น้ำท่วมไม่ค่อยถึง ระยะเวลาการปลูก จะสัน้ เพราะฝนจะหมดเร็ว พันธ์ทุ ่ีใชป้ ลกู เปน็ ข้าวไวแสง เพราะปลกู ตามฤดกู าลทำนาปกติ -นากลาง เป็นการปลกู ขา้ วทป่ี ลกู บรเิ วณไม่สงู มากเกนิ ไปหรือต่ำมากเกนิ ไป เปน็ พืน้ ท่ีน้ำท่วม ไมค่ อ่ ยถงึ ระยะเวลาการปลกู จะประมาณ 100 วัน เพราะฝนจะหมดเรว็ หรอื ฝนหมดช้า พนั ธท์ุ ่ีใชป้ ลูกเป็นข้าว ไวแสง เพราะปลูกตามฤดูกาลทำนาปกติ -นาลมุ่ เปน็ การปลกู ข้าวที่ปลูกบรเิ วณทลี่ าบลุ่ม เป็นพนื้ ทีม่ คี วามอดุ มสมบูรณ์สูง ระยะเวลา การปลูกจะประมาณ 120 วัน ด้วยมีน้ำขังและนานจึงใช้พันธุข์ ้าวที่นานกว่านาดอนและนาระดับกลาง พันธุ์ที่ ใชป้ ลูกเป็นข้าวไวแสง และข้าวไม่ไวแสน ตลอดปลูกตามฤดกู าลทำนาปกติและช่วงหน้าแลง้ -นาทามเป็นการปลูกข้าวที่ปลูกบริเวณที่ลาบลุ่มหลังจากน้ำลด เป็นพื้นที่มีความอุดม สมบูรณ์สูง ระยะเวลาการปลูกจะประมาณ 70-90 วัน ด้วยมีน้ำขังและนานจึงใช้พันธุ์ข้าวที่นานกว่านาดอน และนาระดับกลาง พันธุ์ที่ใช้ปลูกเป็นข้าวไวแสง และข้าวไม่ไวแสน ตลอดปลูกตามฤดูกาลทำนาปกติและช่วง หนา้ แล้ง 4. ขนั้ ตอนการทำนา วิทยากรบรรยายกระบวนการทำนา ดังน้ี -การทำนาดำ เป็นการทำงานที่ให้ผลผลิตได้มากสุด แต่ต้นทุนสูง เพราะมีขั้นตอนหลาย ขัน้ ตอน โดยเริ่มแรกเป็นการไถน่ าเพ่อื หว่านต้นกล้าใช้เวลาให้ต้นกล้าโต 30 วนั จงึ ปรักดำนา พอหว่านกล้าได้ 20 วัน ก่อนการดำนาต้องมีการไถดะหรือไถ่เตรียมดิน เพื่อให้ดินอ่อนและ กลบตน้ หญ้าตา่ ง ๆ ในแปลงนา พอตน้ กล้าได้ 30 วัน มีการไถ่เตรียมดินปลกู ในการปรักดำนา พอต้นขา้ วได้ 45 วนั ใบขา้ วจะผลดิ ใบชุดแรก และพร้อมใสป่ ุ๋ย พอต้นขา้ วได้ 75 วัน ตน้ ขา้ วเริ่มตั้งท้อง พอตน้ ขา้ ว 90 วนั ใบขา้ วจะผลิตใบชุดที่ 2 และพรอ้ มใสป่ ุ๋ย พอต้นข้าว 110/120 วัน จะเร่ิมเกีย่ ว -การทำนาหวา่ น เปน็ การทำนาทลี่ ดตน้ ทนุ การผลติ ท่ีเปน็ ท่ีนยิ มในปัจจุบัน แตผ่ ลผลติ ไดน้ ้อย กว่านาดำ แตต่ ้นทุนใช้นอ้ ยกว่า ไถน่ าบ่มดนิ 10 วนั แชพ่ นั ธข์ุ ้าว 2 วนั พอได้ 10 วนั ไถแ่ ละคลาดนาเพ่อื ว่านขา้ ว พอต้นข้าวได้ 45 วัน ใบขา้ วจะผลดิ ใบชุดแรก และพร้อมใส่ปยุ๋ พอตน้ ขา้ วได้ 75 วัน ต้นขา้ วเริม่ ตัง้ ท้อง พอตน้ ข้าว 90 วนั ใบขา้ วจะผลิตใบชุดท่ี 2 และพรอ้ มใสป่ ๋ยุ พอต้นขา้ ว 110/120 วัน จะเริ่มเกี่ยว -การทำนาโยน เป็นการทำนาสมัยใหม่ ที่ลดตน้ ทุนการผลติ แต่ผลผลติ นอ้ ยกว่านาหว่านและ นาดำ ไม่ค่อยนยิ มกันเท่าไหร่ -การทำนาหยอด เป็นการทำนาสมัยใหม่ ที่ลดต้นทุนการผลิต ไม่ค่อยนิยมกันเท่าไหร่ แต่ให้ ผลผลติ มากกว่านาโยนแต่น้อยกวา่ นาดำ

31 5. โรคเกี่ยวกับข้าว เป็นความผิดปกติของพืช สาเหตุของโรคเกิดจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มชี ีวิต ทั้งเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ไพโตพลาสมา และเดือนฝอย จุลินทรีย์ ทำให้ข้าวมีอาการผิดปกติ เช่น ลำต้น กาบใบ รวง เมล็ด ลกั ษณะอาการของโรคอาจแบง่ เปน็ กล่มุ ใหญ่ ฯ -ต้นเตี้ยแคระแกรน -ใบมีสผี ิดปกติ เชน่ เหลือง หรือตา่ งซีด -ตายเปน็ จดุ ๆ ตามเนื้อเย่ือ เชน่ ใบจดุ ใบขดี หรอื ใบแห้ง 6. การปลูกพืชบนคันนาทองคำ เป็นการนำคันมาปลูกพืชเพื่อสร้างรายได้เสริม เช่น มะลอกอ ขิง ข่า ตระใคร้ 7. การเลยี้ งปลาในนาข้าวหรือ สตั ว์นำ้ อืน่ ๆ เชน่ การเล้ยี งปลานิล ปลาดุก เพ่อื สร้างรายได้ให้กับแปลง ตลอดจนกนิ วชั พืชและตระใคร่นำ้ ต่าง ๆ 4. ฐานคนรักษ์แม่ธรณี (ปยุ๋ แห้ง) วิทยากร นางสาวพรรณธภิ า นกั รบ ตำแหน่ง นกั ทรัพยากรบุคคลชำนาญการ ระยะเวลา 3 ช่วั โมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพือ่ ใหผ้ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมรแู้ ละเข้าใจถึงการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน และสามารถปฏบิ ตั จิ นเปน็ วถิ ีชีวติ ๒. เพือ่ ผูเ้ ขา้ อบรมมีทักษะ ความรู้ในแตล่ ะฐานการเรียนรู้และนำไปปฏบิ ัติได้ ๓. สามารถนำความร้แู ละเทคนิคในฐานต่างๆ ไปประยุกตใ์ ช้เปน็ อาชีพเสรมิ ในครวั เรือน เพื่อให้ เกดิ รายไดแ้ ละพึ่งพาตนเองได้ ประเดน็ เนือ้ หาทว่ี ิทยากรบรรยายใหค้ วามรู/้ ฝึกปฏิบตั ิ “การปรับปรุงที่ดินนั้น ต้องอนุรักษ์ผิวดินซึ่งมีความสมบูรณ์ไว้ ไม่ให้ไถหรือลอกหน้าดินทิ้งไปสงวน ไมย้ นื ต้นที่ยงั เหลืออยู่ เพื่อทจี่ ะรักษาความชมุ่ ชืน้ ของผืนดิน ”พระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวฯ เกย่ี วกบั การอนรุ กั ษ์ดนิ เลี้ยงดนิ ใหด้ นิ เลย้ี งพืช (feed the soil and let the soil feed the plant) ในช่วยระยะเวลาเกือบ ๓๐ ปีที่ผ่านมา การเพิ่มผลผลิตและรายได้ของประเทศ มาจากการขยายพื้นที่ การเพาะปลูกมากกว่าการเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ จนถึงขณะนี้ประมาณได้ว่าพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการ เกษตรกรรมได้ใช้ไปจนเกือบหมด และพยายามหาพื้นที่ชดเชยด้วยการอพยพ โยกย้ายเข้าไปในเขตป่าสงวน แห่งชาติ พื้นที่ป่าไม้ถูกทำลายเพิ่มมากขึ้น เพราะการใช้ที่ดินกันอย่างขาดความระมัดระวังและไม่มีการ บำรุงรักษา ซึ่งทำให้เกิดความเสื่อมโทรมจากปัญหาดังกล่าวพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระราชทาน พระราชดำริให้จัดตั้งศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาเขาหนิ ซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชดำริขึ้นเพือ่ ทำการศกึ ษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั การสรา้ งระบบอนุรักษด์ ินและนำ้ เป็นตวั อยา่ งในการป้องกนั การชะล้างพังทลายของดนิ การขยายพันธ์ุ พืชเพื่ออนุรักษ์ดินและบำรุงดิน รวมถึงศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่มี วัตถุประสงค์หลักในการศึกษาและพัฒนาพื้นที่พรุ ซึ่งเป็นดินเปรี้ยวให้เป็นดินที่มีคุณภาพ สามารถทำการ เพาะปลูกได้ตลอดจนการทำแปลงสาธิตการพัฒนาที่ดินแก่เกษตรกรในบางพื้นที่ที่มีปัญหาในการพัฒนา ปรับปรุงดินเสื่อมโทรมด้วยสาเหตุต่างๆ เช่น ดินเปรี้ยว ดินทราย ดินเค็ม ดินดาน ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อให้พื้นที่ที่มี ปัญหาเรอื่ งดนิ ท้ังหลายสามารถใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้

32 ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก โดยเฉพาะมนุษย์ได้ใช้ ทรัพยากรดินเป็นที่อยู่อาศัย เป็นแหล่งผลิตอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค เป็นแหล่งเก็บน้ำเพื่อการ อุปโภคบริโภค เป็นแหล่งสำหรับการพักผ่อนหย่อนใจ และเป็นที่ตาย กล่าวได้ว่าดินเป็นทรัพยากรขั้นมูลฐาน เป็นตวั การใหม้ นุษยเ์ ก็บเก่ียวผลประโยชนจ์ ากทรพั ยากรอ่นื ๆ ได้เพ่มิ มากขึ้นอย่างมหาศาล ดงั จะเหน็ ได้จากการ ที่ทรัพยากรดินเปน็ ตัวกลางในการก่อปฏกิ ิริยาร่วมระหวา่ งอากาศ แสงแดด และน้ำ ส่งผลดีต่อการเจรญิ เตบิ โต ของพืชพรรณตา่ งๆ และมนษุ ย์ได้รับผลประโยชนจ์ ากทรัพยากรเหล่าน้ี โดยผ่านสตั ว์ที่กนิ พชื หรืออาจได้รับโดย การกินพืชนน้ั โดยตรง มนุษย์เราจะใช้ที่ดินเพื่อสนองความต้องการของตนตลอดเวลา และนับวันจะถูกใช้หนักขึ้นเรื่อยๆ จนทกุ วนั น้ี สภาพความสมดุลของดนิ ในหลายพน้ื ทขี่ องโลกไดเ้ ปลย่ี นแปลงไป การใช้ท่ดี ินผดิ ประเภท การทำลาย ผวิ ดินในรปู แบบต่างๆ เช่น การทำไรเ่ ล่ือนลอย การตดั ไม้ ทำลายป่า การใชป้ ยุ๋ เคมี ลว้ นส่งผลกระทบต่อสภาวะ แวดล้อมอื่นๆ ในระบบนิเวศด้วย การทำการเกษตรของเกษตรกรไทยส่วนใหญ่ในปัจจุบันก็เช่นเดียวกัน มีการ “ปอกเปลือกเปลอื ยดิน” การเผา การใช้สารเคมีท่ีเปน็ อันตรายต่อสงิ่ มีชีวิตเป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม จึงเป็นวธิ ีการ ที่ผิดธรรมชาติและทำลายธรรมชาติซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในอนาคต การเกษตรที่ไม่ทำลายธรรมชาติ ไม่ปอก เปลือกเปลือยดิน ไม่เผา ไม่ใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม อันเป็นแนวทางของ หลักกสิกรรมธรรมชาติ ท่ีให้ความสำคัญกับการปรับปรุงบำรุงดินเป็นอนั ดับแรก และถอื เป็นหัวใจสำคัญ เพราะ ถือว่าดินเป็นต้นกำเนิดของชีวิตสังคมไทยในอดีต ให้ความสำคัญของดินด้วยความเคารพบูชาดินเสมือน “แม่” เรียก “พระแม่ ธรณี” การให้ความรักและเอาใจใส่พระแมธ่ รณี โดยการห่มดนิ หรอื การคลมุ ดนิ ไม่เปลอื ยดิน โดย ใชฟ้ าง เศษหญา้ หรือเศษพชื ผลทางการเกษตรที่สามารถย่อยสลายไดเ้ องตามธรรมชาติ และการปรุงอาหารเลี้ยง ดินโดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพลงไปเพื่อให้เป็นอาหารของดินแล้ว ดินจะปลดปล่อยธาตุอาหารให้พืช โดย กระบวนการย่อยสลายของจุลนิ ทรยี ์ เรียกหลักการนี้วา่ “เลีย้ งดนิ ใหด้ นิ เล้ยี งพชื ” การปฏิบัติเช่นนี้จะทำให้ดิน กลับมามีชีวิต พืชที่ปลูกก็จะเจริญเติบโตแข็งแรงให้ผลผลิตดี ต้นทุนในการผลิตลดลง รวมถึงการที่ผู้ผลิตและ ผ้บู รโิ ภคมีสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิตทดี่ ี จงึ มกี ารใหน้ ยิ ามของการปฏบิ ัตเิ ช่นนวี้ า่ “คืนชีวติ ใหแ้ ผ่นดนิ ” ซ่งึ เป็นการ แสดงออกถึงความกตัญญู กตเวที ของ “ลูก” (มนุษย์) ทม่ี ีต่อ “แม่” ( ธ่ รณ)ี ประโยชน์ของป๋ยุ อนิ ทรียช์ วี ภาพ ๑. เป็นอาหารของส่งิ มชี วี ิตในดิน เช่น แบคทเี รีย เชือ้ รา และแอคตโิ นมัยซสี ๒. ให้ธาตอุ าหาร และกระต้นุ ให้จุลนิ ทรยี ์ สรา้ งอาหารกวา่ ๙๓ ชนิดแก่พชื ๓. ชว่ ยปรับปรงุ คุณสมบัติ และโครงสรา้ งดนิ ให้ดขี ึน้ ๔. ชว่ ยดดู ซบั หรอื ดูดยึดธาตุอาหารไว้ ใหแ้ กพ่ ชื ๕. ช่วยปรบั คา่ ความเปน็ กรด-ด่าง ของดนิ ให้อย่ใู นระดบั ทเ่ี หมาะแก่การเจริญเตบิ โตของพชื ๖. ช่วยกำจดั และต่อตา้ นเช้อื จุลินทรยี ์ทก่ี ่อโรคต่างๆ ๗. ทำใหพ้ ชื สามารถสร้างพษิ ได้เอง ช่วยใหต้ า้ นทานโรคและแมลงได้ดี ฝกึ ปฏิบตั ทิ ำปุ๋ยหมกั แบบกลบั กองในกระสอบ 1 กระสอบ ส่วนผสม 1 กระสอบ 2 กิโลกรมั 1. มลู สัตว์ 2. แกลบดบิ 3. รำหยาบ/รำละเอยี ด

33 4. อื่นๆ เชน่ กากถ่ัว เศษใบไม้ (ถ้ามี) 1 กระสอบ 5. ผสมนำ้ หมกั ชีวภาพ 1 ส่วน ตอ่ น้ำ 100 ลิตร วธิ ที ำ 1. นำสว่ นผสมตงั้ แต่ข้อ 1 ถงึ ข้อ 4 คลุกเคลา้ ให้เขา้ กนั 2. เกลยี่ กองปยุ๋ ทผ่ี สมเขา้ กนั แลว้ ออกบางๆ รดดว้ ยนำ้ มหักชวี ภาพทผี่ สมนำ้ 1 ตอ่ 10 รดบน กองป๋ยุ ใหช้ มุ่ หมาด (ความช้นื ประมาณ 30-35%) 3. คลกุ เคล้าให้เข้ากนั อีกคร้งั 4. เมอื่ คลกุ เข้ากนั เสรจ็ เรียรอ้ ยแลว้ ใหจ้ ัดเกบ็ ไว้ 2 แบบ แบบท่ี 1 เกบ็ ใสใ่ นถุงกระสอบ โดยตัดปุ๋ยหมักใส่กระสอบประมาณครึ่งกระสอบ จากนั้นมดั ปากหลวมๆ แลว้ กองทิง้ ไว้ เวน้ ช่องวา่ งเพื่อระบายอากาศบางสว่ นระหว่างกอง แบบที่ 2 กองไว้ในทร่ี ่มโดยใชก้ ระสอบหรือพลาสติกคลุมกองปยุ๋ ทง้ิ ไว้ กลบั ทุก 5-7 วัน ท้งั 2 แบบจะต้องรอให้ป๋ยุ เย็นกอ่ น จึงจะนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ปุ๋ยหมกั แบบไม่กลับกอง ส่วนผสม 1. มลู สตั ว์ 1 สว่ น/ชน้ั 2. ใบไม้ 3 ส่วน/ชั้น (ถา้ ใชฟ้ าง หญา้ ผักตบ 4 สว่ น/ชัน้ ) 3. ตาขา่ ยเหลก็ หรอื ไนล่อน ความยาวประมาณ 3 เมตร กว้าง 1 เมตร วิธีทำ 1. นำตาข่ายลวด มว้ นเป็นวงกลมยดึ ด้วยเชอื กหรือเส้นพลาสติก แล้วนำไปต้งั ในพื้นที่ เราจะ ทำปุ๋ย (เมื่อทำเปน็ วงจะไดเ้ ส้นผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 1 เมตร) 2. นำเศษใบไม/้ ก่ิงไม้ 3 ส่วน (ถ้าใชฟ้ าง หญ้า ผักตบ ให้ใส่ 4 ส่วน) ความหนาประมาณ 10 ซม. ใส่ลงไปในวงลวด (ไม่จำเปน็ ตอ้ งกดให้แน่น) 3. โรยมูลสตั ว์ 1 สว่ นให้ทว่ั และลดน้ำให้ชุ่ม 4. ทำตามข้อ 2 และข้อ 3 สลบั กนั ไปเป็นช้นั ๆ จนเตม็ วงลวด โดยให้ช้ัน บนสุดเปน็ มลู สัตว์ (เปน็ ขว้ี ัวกจ็ ะดี) 5. ลดน้ำภายนอกกองปุ๋ยทกุ วัน เพ่อื ป้องกนั การระเหยของน้ำ 6. และทกุ สัปดาห์ หรอื 10 วัน ให้ใช้ไม้หรือวัสดอุ ่ืน เจาะกองปยุ๋ ใหเ้ ป็นรทู ่วั ๆ ลึกท่ีสดุ เทา่ ที่ จะทำได้ แล้วฉีดน้ำเขา้ ไปในรู จากนน้ั ใหป้ ิดรเู พ่ือป้องกัน ความรอ้ นออก 7. ทำขอ้ 5 และข้อ 6. จนครบ 60 วนั หยดุ ใหน้ ำ้ 8. ผึ่งกองปยุ๋ ให้แหง้ ก่อนนำไปใช้ โดยการล้มกองปยุ๋ และเกลย่ี ใหก้ ระจายออก มคี วามสูง ประมาณ 20-30 ซม. โดยการแหวกกอง เพ่ือตากแดดประมาณ 3 - 4 วัน 9. เมือ่ แหง้ แล้วสามารถนำไปตปี ่นใหล้ ะเอยี ด หรอื จะเก็บใส่กระสอบไวใ้ ช้งานได้ได้หลายปี ข้อห้าม 1. ห้ามขนึ้ เหยยี บกองป๋ยุ ให้แน่น หรือเอาผา้ คลุมกองปุย๋ หรือเอาดินปกคลุมดา้ นบนกองป๋ยุ เพราะจะทำให้อากาศไมส่ ามารถไหลถายเทได้

34 2. ห้ามละเลยการดูแลความช้ืนท้งั 2 ขน้ั ตอน เพราะถ้ากองปุ๋ยแห้งเกนิ ไป จะทำให้ระยะเวลา แล้วเสร็จนานและปุ๋ยอินทรีย์จะมีคุณภาพตำ่ 3. ห้ามวางเศษพชื เปน็ ช้ันหนาเกนิ ไป การวางเศษพชื เปน็ ช้ันหนาเกินไปจะทำให้จุลินทรยี ท์ ีม่ ี ในมูลสัตว์ไมส่ ามารถเขา้ ไปย่อยสลายเศษพืชได้ 4. ห้ามทำกองปยุ๋ ใต้ต้นไม้ เพราะความร้อนของกองปยุ๋ อาจทำให้ตน้ ไมต้ ายได้ 5. ห้ามระบายความร้อนออกจากกองปุ๋ย เพราะความร้อนสูงในกองปุ๋ยจะช่วยใหจ้ ุลนิ ทรีย์ ทำงานได้ดีมากขึ้นและยงั ชว่ ยให้เกิดการไหลเวียนของอากาศผา่ นกองปุ๋ย 5. ฐานปุย๋ นำ้ หมักอินทรียช์ ีวภาพ 7 รส วทิ ยากร นายวิรชั เจริญดี ตำแหนง่ นกั วิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ ระยะเวลา 3 ชว่ั โมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรูแ้ ละเข้าใจถึงการน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ปรับใช้ในชวี ิตประจำวนั และสามารถปฏบิ ัตจิ นเปน็ วิถีชวี ติ ๒. เพ่อื ผ้เู ข้าอบรมมีทักษะ ความรู้ในแต่ละฐานการเรียนรแู้ ละนำไปปฏบิ ตั ิได้ ๓. สามารถนำความรแู้ ละเทคนิคในฐานต่างๆ ไปประยกุ ต์ใช้เป็นอาชีพเสรมิ ในครวั เรือน เพ่ือให้ เกดิ รายได้และพึง่ พาตนเองได้ ประเดน็ เนอื้ หาทว่ี ิทยากรบรรยายให้ความรู้/ฝึกปฏิบัติ สมนุ ไพร 7 รส เป็นสูตรทีผ่ สมข้นึ มาจากสมุนไพร ได้แก่ รสจืด รสเผ็ดรอ้ น รสเบื่อเมา รสหอม ละเหย รสฝาด รสขม และ รสเปรย้ี ว สมุนไพร 7 รส มีคณุ สมบัติในการกําจดั แมลงศตั รูพชื เข้าไว้ดว้ ยกัน เพื่อเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการ ป้องกนั กาํ จดั ศัตรูพืช ทม่ี ีความหลากหลายและสามารถพัฒนาความตา้ นทานสารกาํ จดั แมลงได้ภายใน เวลาอนั ส้ัน ดังนั้น การรวมพิษของพชื ท่ีมีผลต่อระบบการทํางานของแมลง ศัตรพู ืชเอาไว้ภายในสตู รเดยี ว จงึ เป็นอกี หนึ่งวธิ ที ่ีลดปัญหาการดอื้ ยาของแมลงได้ การทำปุย๋ น้ำหมักอินทรีย์ชวี ภาพ สูตร 3 : 1 : 1 : 10 สว่ นประกอบ 1. สมุนไพร 3 กิโลกรัม 2. หวั เช้อื จลุ นิ ทรียเ์ ขม้ ขน้ 1 ลิตร 3. นำ้ ตาลทรายแดง หรอื กากน้ำตาล 1 กโิ ลกรมั 4. นำ้ สะอาด 10 ลิตร วิธีทำ 1. นำสมุนไพรมาสบั จากน้ันนำสมนุ ไพรทส่ี ับแลว้ มาตำให้ละเอยี ด 2. นำสมุนไพรทีต่ ำละเอยี ดแลว้ ใส่ในภาชนะ (ถังที่มฝี าปิด) จากนั้นผสมนำ้ หัวเชื้อจลุ ินทรยี ์ เขม้ ข้น และนำ้ ตาลทรายแดงหรอื กากนำ้ ตาลคนส่วนผสมใหเ้ ขา้ กนั ปดิ ฝาภาชนะให้แนน่ ทิ้งไว้ 90 วัน 3. ทกุ ๆ 5 – 7 วนั ให้เปิดฝาภาชนะเพอ่ื ระบายความดนั

35 ประโยชน์ของปุ๋ยนำ้ หมักอินทรยี ์ชีวภาพ 1. ใชฉ้ ดี พน่ หรือเติมในดินหรือน้ำ ชว่ ยปรบั สภาพความเป็นกรด-ดา่ ง ในดนิ และน้ำ 2. ใชเ้ ติมในดิน ช่วยปรบั สภาพโครงสรา้ งของดิน ทำใหด้ นิ ร่วนซยุ อมุ้ นำ้ ได้ดี และช่วยเพิ่มจำนวน จุลินทรยี ใ์ นดิน และน้ำ 3. ชว่ ยเพม่ิ อตั ราการย่อยสลายสารอนิ ทรยี ใ์ นดิน และนำ้ 4. ใช้รดตน้ พืชหรือแช่เมลด็ พันธ์ุ ท่อนพนั ธุเ์ พื่อเรง่ การเกดิ ราก และการเจริญเตบิ โตของพืช 5. เปน็ สารท่ที ำหน้าที่เหมือนฮอร์โมนพืช กระตนุ้ การเกิดราก และการเจริญเติบโต ทำให้ผลผลติ และคณุ ภาพสงู ข้นึ 6. ใชฉ้ ดี พ่นในแปลงเกษตร ช่วยต้านแมลงศตั รูพชื และลดจำนวนแมลงศัตรพู ชื 7. ใชฉ้ ีดพน่ ในแปลงผกั ผลไม้ หรอื ผลผลิตตา่ งๆ เพือ่ ป้องกันการทำลายผลผลติ ของแมลง 1. สมุนไพรรสจืด สมุนไพรรสจดื จดั เป็นสมุนไพรที่มีความสำคัญที่สดุ ในบรรดาสมุนไพร 7 รส ใช้สำหรบั ล้างพิษ สมุนไพรทีม่ ีรสจดื ได้แก่ วอเตอรเ์ กรป ว่านเงาะ เสลดพังพอน เบญจรงค์ หญา้ หวานอสิ ลาเอล ใบกล้วย ผักบงุ้ ผักตบชวา รางจดื และพืชสมนุ ไพรอื่น ๆ ที่มีรสจดื ทุกชนดิ สว่ นประกอบ 1. สมุนไพรท่ีมรี สจดื 3 กโิ ลกรัม 2. น้ำตาลทรายแดง หรอื กากน้ำตาล 1 กโิ ลกรมั 3. น้ำสะอาด 10 ลติ ร อตั ราส่วน 3 : 1 : 10 วธิ ที ำ 1. นำสมุนไพรที่มรี สจืดมาสับ ขนาดความยาวประมาณ 2 – 3 นวิ้ 2. นำสมุนไพรทส่ี ับแล้ว ใส่ในภาชนะ (ถงั ท่ีมฝี าปดิ ) 3. ใสน่ ้ำตาลทรายแดง หรือกากนำ้ ตาล ลงไป 4. ใสน่ ้ำสะอาดลงไป 5. คนสว่ นผสมทง้ั หมดใหเ้ ข้ากนั จากนน้ั ปดิ ฝาภาชนะทิ้งไว้ 90 วัน 6. ในชว่ ง 1 - 3 วันแรก ใหก้ ลบั สว่ นผสมจากดา้ นบนลงไปดา้ นล่าง และกลบั ส่วนผสมจากดา้ นลา่ งขึน้ ดา้ นบน วันละ 1 คร้ัง เพือ่ ป้องกนั มใิ หส้ ว่ นผสมท่อี ยู่ดา้ นบนบูดหรือเสีย เนือ่ งจากสว่ นผสมที่อย่ดู า้ นบนไมค่ ่อยจะได้รบั นำ้ ตาล จงึ จำเปน็ ตอ้ งกลบั ส่วนผสมในช่วง 1 – 3 วนั แรก ประโยชน์ ใชใ้ นการบาํ รงุ ดนิ ให้ดนิ มคี วามร่วนซุย ทําให้ดินไม่แขง็ และใช้บาํ บดั น้ำเสยี การน้ำไปใช้ นำ้ หมกั สมุนไพร 1 ลติ ร ผสมกบั นำ้ 20 ลิตร ใช้ฉีดพน่ ให้ทั่ว ถ้าเป็นพชื ผกั ให้ฉดี พน่ ทุก ๆ 3 วัน ถ้าเป็นไม้ผลให้ฉีดพ่นทุก 7 วนั 2. สมนุ ไพรรสเผด็ รอ้ น สมนุ ไพรทมี่ รี สเผ็ดร้อน ได้แก่ พริก พริกไทย ดีปรี ข่า ตะไคร้ หน่อข่า ขิง กระชาย ขม้นิ ทองพันช่ังตัวผู้ และพชื สมนุ ไพรอืน่ ๆ ที่มีรสเผ็ดร้อนทุกชนดิ สว่ นประกอบ 1. สมุนไพรท่มี รี สเผด็ รอ้ น 3 กโิ ลกรมั 2. น้ำตาลทรายแดง หรือกากน้ำตาล 1 กโิ ลกรมั

36 3. นำ้ สะอาด 10 ลิตร อตั ราสว่ น 3 : 1 : 10 วธิ ที ำ 1. นำสมุนไพรทมี่ รี สเผด็ ร้อน มาตำ หรอื สบั ขนาดความยาวประมาณ 1 น้วิ 2. นำสมนุ ไพรท่ีสับแล้ว ใสใ่ นภาชนะ (ถงั ทมี่ ฝี าปิด) 3. ใส่นำ้ ตาลทรายแดง หรือกากนำ้ ตาล ลงไป 4. ใส่นำ้ สะอาดลงไป 5. คนสว่ นผสมทง้ั หมดใหเ้ ขา้ กนั จากนัน้ ปิดฝาภาชนะท้ิงไว้ 90 วัน 6. ในช่วง 1 - 3 วนั แรก ใหก้ ลับสว่ นผสมจากดา้ นบนลงไปดา้ นล่าง และกลับ ส่วนผสมจากดา้ นลา่ งขึ้นด้านบน วันละ 1 ครั้ง เพอื่ ป้องกนั มิใหส้ ่วนผสมทีอ่ ยดู่ ้านบนบดู หรอื เสีย เนื่องจาก ส่วนผสมที่อยดู่ ้านบนไมค่ ่อยจะไดร้ บั น้ำตาล จึงจำเป็นต้องกลบั ส่วนผสมในช่วง 1–3 วันแรก ประโยชน์ ชว่ ยในการไลแ่ มลง ทําให้แมลงแสบร้อน การนำ้ ไปใช้ น้ำหมักสมุนไพร 1 ลติ ร ผสมกบั น้ำ 20 ลติ ร ใช้ฉีดพ่นให้ทวั่ ถ้าเปน็ พชื ผกั ใหฉ้ ีดพ่น ทุก ๆ 3 วัน ถ้าเป็นไม้ผลใหฉ้ ีดพ่นทุก 7 วัน 3. สมุนไพรรสเบื่อเมา สมุนไพรที่มรี สเบื่อเมา ได้แก่ ไหลแดง ไหลขาว หนอนตายอยาก สบดู่ ำ หัวกลอย ยาเสน้ และ พืชสมุนไพรอนื่ ๆ ที่มีรสเบ่ือเมาทุกชนิด ส่วนประกอบ 1. สมุนไพรทมี่ รี สเบื่อเมา 3 กโิ ลกรมั 2. น้ำตาลทรายแดง หรอื กากนำ้ ตาล 1 กิโลกรัม 3. นำ้ สะอาด 10 ลติ ร อัตราส่วน 3 : 1 : 10 วธิ ีทำ 1. นำสมุนไพรท่มี ีรสเบ่ือเมา มาสบั ขนาดความยาวประมาณ 2-3 นว้ิ 2. นำสมุนไพรที่สบั แลว้ ใสใ่ นภาชนะ (ถงั ท่ีมฝี าปดิ ) 3. ใสน่ ำ้ ตาลทรายแดง หรือกากนำ้ ตาล ลงไป 4. ใสน่ ้ำสะอาดลงไป 5. คนส่วนผสมทั้งหมดให้เข้ากัน จากนัน้ ปดิ ฝาภาชนะท้ิงไว้ 90 วัน 6. ในช่วง 1 - 3 วันแรก ใหก้ ลับส่วนผสมจากด้านบนลงไปด้านล่าง และกลับ ส่วนผสมจากดา้ นล่างข้ึนด้านบน วนั ละ 1 ครง้ั เพื่อป้องกนั มิให้ส่วนผสมทอ่ี ยู่ด้านบนบดู หรือเสีย เน่ืองจาก สว่ นผสมท่ีอยู่ดา้ นบนไม่ค่อยจะไดร้ ับนำ้ ตาล จงึ จำเป็นตอ้ งกลับส่วนผสมในชว่ ง 1–3 วันแรก ประโยชน์ ใชใ้ นการฆ่าเพล้ยี หนอน และแมลง ในพืชผกั ทุกชนดิ การน้ำไปใช้ น้ำหมักสมนุ ไพร 1 ลิตร ผสมกบั น้ำ 20 ลิตร ใช้ฉีดพ่นให้ทั่ว ถ้าเปน็ พืชผักใหฉ้ ดี พ่น ทกุ ๆ 3 วัน ถ้าเปน็ ไมผ้ ลให้ฉีดพ่นทุก 7 วนั

37 4. สมนุ ไพรรสหอมระเหย สมุนไพรที่มรี สหอมระเหย ได้แก่ ตะไคร้ อบเชย สาบเสือ ใบยูคา ผักชชี า้ ง และพืชสมนุ ไพร อืน่ ๆ ที่มรี สหอมระเหยทกุ ชนิด ส่วนประกอบ 1. สมนุ ไพรทม่ี ีรสหอมระเหย 3 กโิ ลกรัม 2. นำ้ ตาลทรายแดง หรอื กากนำ้ ตาล 1 กิโลกรมั 3. น้ำสะอาด 10 ลิตร อัตราส่วน 3 : 1 : 10 วิธีทำ 1. นำสมนุ ไพรทม่ี รี สหอมระเหย มาสบั ขนาดความยาวประมาณ 2-3 นิ้ว 2. นำสมุนไพรท่ีสับแล้ว ใส่ในภาชนะ (ถงั ทีม่ ีฝาปิด) 3. ใสน่ ำ้ ตาลทรายแดง หรือกากน้ำตาล ลงไป 4. ใสน่ ้ำสะอาดลงไป 5. คนส่วนผสมท้ังหมดใหเ้ ขา้ กนั จากนนั้ ปิดฝาภาชนะท้ิงไว้ 90 วัน 6. ในชว่ ง 1 - 3 วนั แรก ให้กลับส่วนผสมจากดา้ นบนลงไปดา้ นลา่ ง และกลับ สว่ นผสมจากดา้ นล่างขน้ึ ด้านบน วนั ละ 1 ครง้ั เพ่อื ป้องกนั มิใหส้ ่วนผสมทอ่ี ยูด่ า้ นบนบดู หรือเสยี เนือ่ งจากส่วนผสมที่อยู่ด้านบนไม่ค่อยจะไดร้ บั น้ำตาล จงึ จำเปน็ ตอ้ งกลับส่วนผสมในช่วง 1 – 3 วันแรก ประโยชน์ ชว่ ยในการไล่แมลงโดยเฉพาะ ฆ่าเช้ือราในโรคพชื ทุกชนิด การน้ำไปใช้ น้ำหมกั สมนุ ไพร 1 ลิตร ผสมกับน้ำ 20 ลติ ร ใช้ฉีดพน่ ใหท้ ่วั ถา้ เป็นพืชผักให้ฉีดพน่ ทุก ๆ 3 วัน ถ้าเปน็ ไมผ้ ลใหฉ้ ีดพน่ ทุก 7 วัน 5. สมนุ ไพรรสฝาด สมุนไพรท่ีมีรสฝาด ได้แก่ เปลือกแค เปลือกพะยอม ใบฝร่ัง ไมเ้ คยี่ ม สีเสียด เปลือกกระโดน มะตมู แขก เปลือกมังคุด หญ้าไผน่ ำ้ เปลอื กฝรง่ั มะยมหวาน และพชื สมนุ ไพรอ่ืน ๆ ทมี่ ีรสฝาดทุกชนิด สว่ นประกอบ 1. สมุนไพรทมี่ ีรสฝาด 3 กโิ ลกรัม 2. นำ้ ตาลทรายแดง หรอื กากน้ำตาล 1 กิโลกรัม 3. น้ำสะอาด 10 ลิตร อัตราส่วน 3 : 1 : 10 วธิ ีทำ 1. นำสมุนไพรท่มี ีรสฝาด มาสับขนาดความยาวประมาณ 2-3 นวิ้ 2. นำสมนุ ไพรทส่ี ับแลว้ ใสใ่ นภาชนะ (ถังที่มฝี าปิด) 3. ใส่นำ้ ตาลทรายแดง หรอื กากนำ้ ตาล ลงไป 4. ใสน่ ำ้ สะอาดลงไป 5. คนส่วนผสมทั้งหมดใหเ้ ขา้ กนั จากน้นั ปดิ ฝาภาชนะท้ิงไว้ 90 วัน

38 6. ในช่วง 1 - 3 วนั แรก ให้กลับสว่ นผสมจากด้านบนลงไปดา้ นลา่ ง และกลบั ส่วนผสมจากดา้ นลา่ งข้ึนดา้ นบน วันละ 1 คร้งั เพอ่ื ป้องกนั มใิ หส้ ว่ นผสมที่อยดู่ า้ นบนบดู หรอื เสีย เนอื่ งจากสว่ นผสมท่ีอย่ดู า้ นบนไมค่ ่อยจะได้รบั นำ้ ตาล จงึ จำเปน็ ต้องกลับสว่ นผสมในช่วง 1 – 3 วันแรก ประโยชน์ ใช้ฆา่ เชื้อราในโรคพชื ทกุ ชนดิ การน้ำไปใช้ น้ำหมักสมุนไพร 1 ลิตร ผสมกบั น้ำ 20 ลติ ร ใชฉ้ ีดพน่ ใหท้ ่ัว ถา้ เป็นพืชผกั ใหฉ้ ดี พ่น ทุก ๆ 3 วัน ถา้ เปน็ ไมผ้ ลใหฉ้ ีดพน่ ทุก 7 วนั 6. สมุนไพรรสขม สมุนไพรทม่ี ีรสขม ได้แก่ ฟ้าทะลายโจร บอระเพ็ด หนายเฉาเหว่ย สะเดา ใต้ใบ และพืช สมุนไพร อืน่ ๆ ทมี่ ีรสขมทุกชนิด สว่ นประกอบ 1. สมุนไพรท่มี ีรสขม 3 กิโลกรมั 2. น้ำตาลทรายแดง หรือกากน้ำตาล 1 กโิ ลกรัม 3. นำ้ สะอาด 10 ลิตร อตั ราส่วน 3 : 1 : 10 วิธที ำ 1. นำสมุนไพรทมี่ รี สขม มาสับขนาดความยาวประมาณ 2-3 นิว้ 2. นำสมุนไพรทส่ี บั แลว้ ใสใ่ นภาชนะ (ถงั ที่มฝี าปิด) 3. ใส่นำ้ ตาลทรายแดง หรอื กากนำ้ ตาล ลงไป 4. ใสน่ ำ้ สะอาดลงไป 5. คนส่วนผสมทัง้ หมดให้เขา้ กัน จากนั้นปดิ ฝาภาชนะทิ้งไว้ 90 วนั 6. ในช่วง 1 - 3 วนั แรก ใหก้ ลบั สว่ นผสมจากดา้ นบนลงไปดา้ นลา่ ง และกลับ สว่ นผสมจากดา้ นล่างขึ้นด้านบน วันละ 1 คร้ัง เพ่อื ป้องกนั มใิ หส้ ว่ นผสมทอ่ี ยู่ดา้ นบนบดู หรอื เสีย เน่ืองจากสว่ นผสมที่อยูด่ ้านบนไม่ค่อยจะได้รบั น้ำตาล จึงจำเปน็ ต้องกลบั สว่ นผสมในชว่ ง 1 – 3 วนั แรก ประโยชน์ ใชใ้ นการกำจดั เชือ้ แบคทเี รยี เพื่อสร้างภูมิคุม้ กันให้กับพชื การนำ้ ไปใช้ น้ำหมักสมนุ ไพร 1 ลิตร ผสมกับน้ำ 20 ลิตร ใชฉ้ ีดพ่นใหท้ ั่ว ถ้าเป็นพชื ผกั ใหฉ้ ีดพน่ ทุก ๆ 3 วัน ถ้าเป็นไมผ้ ลให้ฉีดพ่นทุก 7 วนั 7. สมนุ ไพรรสเปรี้ยว สมนุ ไพรทม่ี รี สเปรี้ยว ได้แก่ ผกั ต้วิ มะกรูด มะนาว มะขาม ส้มโอ มะดัน มะยม ชมวง และพืช สมุนไพร อื่น ๆ ท่ีมรี สเปรี้ยวทุกชนิด ส่วนประกอบ 1. สมนุ ไพรทีม่ รี สเปรีย้ ว 3 กิโลกรมั 2. นำ้ ตาลทรายแดง หรือกากน้ำตาล 1 กโิ ลกรมั 3. น้ำสะอาด 10 ลติ ร อัตราสว่ น 3 : 1 : 10 วิธีทำ 1. นำสมุนไพรทม่ี ีรสเปรี้ยว มาสบั ขนาดความยาวประมาณ 2-3 นว้ิ 2. นำสมนุ ไพรทสี่ บั แลว้ ใส่ในภาชนะ (ถังทมี่ ฝี าปดิ )

39 3. ใสน่ ้ำตาลทรายแดง หรอื กากน้ำตาล ลงไป 4. ใส่นำ้ สะอาดลงไป 5. คนสว่ นผสมทั้งหมดใหเ้ ข้ากัน จากนน้ั ปดิ ฝาภาชนะทิ้งไว้ 90 วัน 6. ในช่วง 1 - 3 วนั แรก ให้กลบั ส่วนผสมจากดา้ นบนลงไปดา้ นล่าง และกลับ สว่ นผสมจากด้านลา่ งข้นึ ดา้ นบน วนั ละ 1 ครง้ั เพ่อื ป้องกันมใิ หส้ ่วนผสมทีอ่ ยูด่ า้ นบนบดู หรือเสีย เน่ืองจากส่วนผสมที่อยดู่ า้ นบนไม่ค่อยจะได้รบั นำ้ ตาลจึงจำเปน็ ต้องกลบั สว่ นผสมในช่วง 1 – 3 วันแรก ประโยชน์ ชว่ ยในการไลแ่ มลงโดยเฉพาะ ฆา่ เช้อื ราใน โรคพชื ทกุ ชนดิ และบํารุงพืช การน้ำไปใช้ นำ้ หมักสมุนไพร 1 ลติ ร ผสมกับน้ำ 20 ลิตร ใชฉ้ ีดพ่นให้ทั่ว ถา้ เปน็ พืชผกั ใหฉ้ ีดพน่ ทกุ ๆ 3 วนั ถ้าเปน็ ไมผ้ ลให้ฉีดพน่ ทุก 7 วัน 6. ฐานคนหัวเหด็ วิทยากร นางสาวเมทณิ ี วงค์สถติ ย์ ตำแหนง่ นกั จดั การงานทว่ั ไปปฏิบัติการ ระยะเวลา 3 ชวั่ โมง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้และเข้าใจถึงการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั และสามารถปฏบิ ตั จิ นเป็นวิถีชวี ิต ๒. เพื่อผูเ้ ข้าอบรมมีทกั ษะ ความรูใ้ นแต่ละฐานการเรียนรู้และนำไปปฏิบัติได้ ๓. สามารถนำความรแู้ ละเทคนิคในฐานต่างๆ ไปประยุกตใ์ ชเ้ ปน็ อาชีพเสริมในครัวเรือน เพ่ือให้ เกดิ รายได้และพึ่งพาตนเองได้ ประเด็นเน้อื หาทว่ี ทิ ยากรบรรยายให้ความรู/้ ฝกึ ปฏบิ ัติ ปกติเห็ดฟางเป็นเห็ดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติได้ง่ายแต่ด้วยจะรอ ธรรมชาติอย่างเดียวคง ไม่พอกับความต้องการที่จะบริโภคของมนุษย์ มนุษย์ก็เลยคิดค้นการเพาะเห็ดฟางขึ้นมาหลายวิธี แต่วิธี ที่พอจะเปน็ แนวทางให้ปฏิบัติหรือทำได้ ยกตัวอยา่ งเชน่ สมัยกอ่ น เราเพาะเหด็ ฟางแบบกองสูง ก็คือเอา วัสดุเชน่ ฟางมากองไวแ้ ล้วเอาเชื้อโรยเหด็ ก็ขึ้น แลว้ กเ็ ก็บยาวเป็นเดอื น วิธีที่สองดัดแปลงเป็นการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย เพาะในไร่นาบ้างเพาะหลังบ้านบ้างโดย การมีแบบพิมพ์แล้วใช้วัสดุยัดลงไปในแบบพิมพ์ ถอดแบบพิมพ์ออกมาแล้วก็เป็นวิธีการเพาะเห็ดฟาง แบบกองเตี้ยก็ทำกันมานานพอสมควรหลายสิบปี ปัจจุบันก็ยังมีทำอยู่ก็ดัดแปลงไปตามความเหมาะสม ของท้องถน่ิ วิธีที่สามเป็นวิธีการเพาะเห็ดฟางที่กรมวิชาการพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้เหมาะสมกับการผลิตเห็ด ฟาง เพื่อให้ได้มาก ๆ เรียกว่าการเพาะเห็ดฟางแบบโรงเรือน บางทีเรียกว่าการเพาะเห็ดฟางแบบ อุตสาหกรรม ผลิตคร้งั หนึง่ ได้เปน็ นับ 100 กโิ ลกรมั อันน้ีเป็นการเพาะเห็ดฟางแบบโรงเรือน ต่อจากนั้น มาก็มีการพัฒนาการเพาะเห็ดเพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการ จะเพาะในปริมาณที่มากก็ได้ น้อยก็ได้ แล้วก็มีความสะดวก มีความสะอาด แล้วก็มีการเพาะเห็ดฟางแบบคอนโดเป็นช้ัน ๆ หลังจากนั้นก็มีการ เพาะเห็ดฟางแบบในตะกรา้ และสดุ ท้ายการเพาะเหด็ ฟางในถุง เป็นต้น หากจะพิจารณาข้อดี ข้อเสียของแต่ละวิธีแล้ว จะแยกค่อนข้างยาก เพราะขึ้นอยู่กับ วตั ถุประสงค์ของผูเ้ พาะ สมมตวิ ่าในชนบทตอ้ งการจะมีเห็ดฟางกินอย่างยาวนาน ทำครั้งเดียวแล้วเก็บได้ เปน็ เดือน กเ็ พาะแบบกองสงู แตผ่ ลผลิตของกองสูงนั้นไม่แนน่ อน บางทกี ็ข้นึ บางทกี ็ไม่ข้นึ บางทีขึน้ มาก

40 จนไม่สามารถควบคุมขนาดสี ความสะอาดหรือสิ่งที่เราต้องการได้อย่างเหมาะสม ขึ้นกับสิ่งแวดล้อม ควบคุมไม่ไดถ้ า้ หากมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พาะเพ่ือจำหนา่ ยแบบกองสงู จะไม่ทนั กม็ ีการ เพาะแบบกองเตี้ยอยู่ใน ลักษณะที่ทำเพื่อมรี ายได้เสริมในครอบครัว ทำในเฉพาะครอบครัวทำมากไม่ได้เพราะใช้แรงงานมาก ถ้า ต้องการทำในวันหนึ่งให้ได้ 100 กิโลหรือมากกว่า 100 กิโลกรัม คือ จะต้องมีตลาด หรือส่งโรงงาน ก็ จะเป็นเห็ดฟางแบบโรงเรือน มีการลงทุนมากทำกันแบบทุกอย่างพลาดไม่ได้ ต้องมีความรู้ทางวิชาการ ค่อนขา้ งสงู มวี ัสดุ มที ุน เปา้ หมาย คอื ทำเพอื่ ขายอย่างเดยี ว หลงั จากนัน้ ถา้ จะทำหลากหลายรวม ๆ กนั เช่นเพื่อพักผ่อนบ้าง หรือทำไว้กินบ้าง เช่น เพื่อให้มีรายได้ วิธีเดียวที่จะขายได้ทุกอย่าง คือ การเพาะ เห็ดฟางในตะกรา้ เพราะว่าหนง่ึ ตะกร้ามพี ้ืนทก่ี ารออกในด้านสงู มาก ตะกรา้ เดยี วจะได้เหด็ เปน็ กโิ ล ส่วนผสม (1 ตะกร้า) 1. ฟางข้าว 1/10 กอ้ น (แช่นำ้ 1 คืน) 2. เชือ้ เห็ดฟาง 1 ก้อน 3. ขีว้ ัว 1 กำมือ (แช่นำ้ 1 ชม.) 4. แป้งขา้ วเหนยี ว 1 กำมือ 5. รำข้าว 1 กำมือ 6. จลุ ินทรยี ์ 1/2 ลติ ร (หรือ 1 สว่ นส่ีของก้อนลกู แปง้ ข้าวหมาก) แช่ฟางได้ 1 ก้อน 7. ปูนขาว (โรยขอบตะกรา้ กนั แมลง) 8. ปุ๋ยยูเรีย 3 ขดี (แช่ฟางได้ 1 ก้อน) 9. ถุงดำ 1 ใบ 10. กะละมงั 1 ใบ (ไวค้ ลกุ เช้ือเหด็ ฟาง + รำข้าว + ข้วี ัว + แป้งขา้ วเหนยี ว) 11. ตะกรา้ 1 ใบ (ตาห่างๆ) วิธกี ารทำ 1. แชฟ่ าง 1 คนื (ใสน่ ้ำ ½ ถังขนาด 200 ลิตร ใสป่ ุ๋ยยูเรยี 3 ขีด จลุ นิ ทรีย์ ½ ลติ ร) 2. แช่ขี้วัว 1 ชั่วโมง 3. ผสมหวั เชื้อ (เชื้อเหด็ 1 ก้อน+รำข้าว 1 กำมือ+ข้ีวัว 1 กำมือ+แปง้ ข้าวเหนียว 1 กำมอื ) 4. เตรยี มตะกร้าขนาด 17 นว้ิ ตาหา่ ง ใสฟ่ างสงู ประมาณ 10-15 เซนติเมตร โรยเชอ้ื ชน้ั ท่ี 1 ชิดขอบตะกร้า ใสฟ่ างชั้นท่ี 2 โรยเชอ้ื ชน้ั ท่ี 2 ชิดขอบตะกร้า ใสฟ่ างช้นั ที่ 3 โรยเชื้อช้นั ที่ 3 ด้านบนเตม็ ตะกรา้ ใส่ฟางชน้ั ท่ี 4 รดน้ำด้วยฝกั บัวพอชื้น 5. นำไปวางในโรงเรือน คลุมด้วยถุงดำหรือพลาสติก โรยด้วยปนู ขาวหรอื แปง้ กันมด 6. คลุมไว้ 4 วัน ห้ามเปิด หา้ มรดนำ้ ใหเ้ ปิดต้งั แตว่ นั ที่ 5 เป็นต้นไป เปดิ ถงุ ดำใหอ้ ากาศถ่ายเท ประมาณ 10-15 นาที แล้วคลุมถุงดำหรือพลาสติกไว้ดังเดิม ถ้าตะกร้าแห้ง ให้รดน้ำโดยรอบตะกร้า ทำทกุ วนั จนเหด็ ฟางเกิด

41 ขอ้ พึงสงั เกตและการเกบ็ ผลผลติ - หลังจากคลุมถุงดำครบ 4 วัน ให้เปิดถงุ เพื่อตรวจสอบความชื้นในตะกร้า ถ้าตะกร้าแห้งใหร้ ด นำ้ โดยรอบตะกร้า และสงั เกตว่าเชอ้ื เหด็ เกิดใยหรือไม่ ถ้าเกิดใยเปน็ เย่ือขาวๆ แสดงวา่ เชอื้ เหด็ มกี ารเติบโตเป็น เหด็ ฟางได้ - การทำเห็ดฟางในตะกร้า 1 ครั้ง สามารถเก็บผลผลิตเห็ดฟางได้ประมาณ 2-3 รอบ โดยอายุ ของเห็ดฟางในตะกร้า ประมาณ 1 เดือน ความรเู้ พิ่มเติม ปกติเห็ดฟางเป็นเห็ดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติได้ง่ายแต่ด้วยจะรอ ธรรมชาติอย่างเดียวคง ไม่พอกับความต้องการที่จะบริโภคของมนุษย์ มนุษย์ก็เลยคิดค้นการเพาะเห็ดฟางขึ้นมาหลายวิธี แต่วิธี ทพ่ี อจะเป็นแนวทางให้ปฏบิ ตั ิหรือทำได้ ยกตวั อย่างเช่น สมัยกอ่ น เราเพาะเหด็ ฟางแบบกองสูง ก็คือเอา วสั ดเุ ชน่ ฟางมากองไวแ้ ลว้ เอาเชือ้ โรยเห็ดกข็ ึน้ แล้วก็เก็บยาวเปน็ เดือน วิธีที่สองดัดแปลงเป็นการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย เพาะในไร่นาบ้าง เพาะหลังบ้านบ้างโดย การมีแบบพิมพ์แล้วใช้วัสดุยัดลงไปในแบบพิมพ์ ถอดแบบพิมพ์ออกมาแล้วก็เป็นวิธีการเพาะเห็ดฟาง แบบกองเตี้ยก็ทำกันมานานพอสมควรหลายสิบปี ปัจจุบันก็ยังมีทำอยู่ก็ดัดแปลงไปตามความเหมาะสม ของท้องถิ่น วิธีที่สามเป็นวิธีการเพาะเห็ดฟางที่กรมวิชาการพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้เหมาะสมกับการผลิตเห็ด ฟาง เพื่อให้ได้มาก ๆ เรียกว่าการเพาะเห็ดฟางแบบโรงเรือน บางทีเรียกว่าการเพาะเห็ดฟางแบบ อุตสาหกรรม ผลิตครั้งหน่ึงได้เป็นนับ 100 กิโลกรัม อนั นเี้ ปน็ การเพาะเหด็ ฟางแบบโรงเรือน ตอ่ จากน้ัน มาก็มีการพัฒนาการเพาะเห็ดเพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการ จะเพาะในปริมาณที่มากก็ได้ น้อยก็ได้ แล้วก็มีความสะดวก มีความสะอาด แล้วก็มีการเพาะเหด็ ฟางแบบคอนโดเป็นชั้น ๆ หลังจากนั้นก็มีการ เพาะเหด็ ฟางแบบในตะกร้า และสดุ ท้ายการเพาะเห็ดฟางในถงุ เปน็ ต้น หากจะพิจารณาข้อดี ข้อเสียของแต่ละวิธีแล้ว จะแยกค่อนข้างยาก เพราะขึ้นอยู่กับ วตั ถปุ ระสงค์ของผเู้ พาะ สมมตวิ ่าในชนบทตอ้ งการจะมีเห็ดฟางกนิ อย่างยาวนาน ทำคร้ังเดียวแล้วเก็บได้ เป็นเดือน ก็เพาะแบบกองสูง แตผ่ ลผลติ ของกองสงู น้ันไมแ่ น่นอน บางทกี ข็ ึ้น บางทีก็ไมข่ นึ้ บางทขี ึ้นมาก จนไม่สามารถควบคุมขนาด สี ความสะอาดหรือสิ่งที่เราต้องการได้อย่างเหมาะสม ขึ้นกับสิ่งแวดล้อม ควบคุมไม่ได้ถา้ หากมวี ตั ถุประสงคเ์ พาะเพ่ือจำหน่ายแบบกองสูงจะไมท่ ันกม็ ีการ เพาะแบบกองเตี้ยอยู่ใน ลักษณะท่ีทำเพื่อมีรายได้เสรมิ ในครอบครัว ทำในเฉพาะครอบครัวทำมากไม่ได้เพราะใช้แรงงานมาก ถ้า ต้องการทำในวันหนึ่งให้ได้ 100 กิโลหรือมากกว่า 100 กิโลกรัม คือ จะต้องมีตลาด หรือส่งโรงงาน ก็ จะเป็นเห็ดฟางแบบโรงเรือน มีการลงทุนมากทำกันแบบทุกอย่างพลาดไม่ได้ ต้องมีความรู้ทางวิชาการ คอ่ นข้างสูง มีวัสดุ มที ุน เปา้ หมาย คอื ทำเพ่ือขายอย่างเดียว หลงั จากนั้นถา้ จะทำหลากหลายรวม ๆ กัน เช่นเพื่อพักผ่อนบ้าง หรือทำไว้กินบ้าง เช่น เพื่อให้มีรายได้ วิธีเดียวที่จะขายได้ทุกอย่าง คือ การเพาะ เหด็ ฟางในตะกรา้ เพราะว่าหนงึ่ ตะกร้ามพี ้ืนที่การออกในดา้ นสูงมาก ตะกรา้ เดียวจะไดเ้ หด็ เป็นกโิ ล

42 7. ฐานคนมนี ำ้ ยา วทิ ยากร 1. นางชมภนู ชุ กุลกะดี ตำแหน่ง เจ้าพนกั งานธุรการชำนาญงาน 2. นางสาวนุชจรยี ์ อปุ สยั ตำแหนง่ นักทรพั ยากรบุคคล ระยะเวลา 3 ชั่วโมง วตั ถุประสงค์ เพอื่ ให้ผู้เข้าอบรม สามารถทำน้ำยาเอนกประสงค์ที่จำเป็นต้องใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ดว้ ยตนเอง เชน่ น้ำยาลา้ งจาน นำ้ ยาซกั ผ้า น้ำยาล้างรถ สบู่ แชมพูสระผม และเปน็ การลดจ่าย เพิ่มรายได้ ประเด็นเนื้อหา 1. ความรู้เกีย่ วกบั สมุนไพร 2. เทคนิค/ขน้ั ตอนการทำแชมพูสมุนไพร วธิ กี าร / เทคนคิ ๑. บรรยายให้ความรู้ 2. สาธิตประกอบการบรรยาย 3. ฝกึ ปฏิบตั ิ วัสดุ / อุปกรณ์ ๑. กระดาษฟลิปชารท์ ๒. วสั ดอุ ุปกรณส์ าธติ การทำแชมพู เทคนิควิธกี าร 1. วิทยากรเกริ่นนำถึงวัตถุประสงค์ของฐานคนมีน้ำยา เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรูความเข้าใจ เกย่ี วกับฐานคนมีน้ำยา 2. วิทยากรสอบถามผ้เู ขา้ อบรมว่า มที ่านใดเคยทำน้ำยาชนดิ ใดมาแลว้ บ้าง ผเู้ ขา้ อบรมส่วนใหญ่ เคยทำ น้ำยาลา้ งจาน กบั นำ้ ยาซักผ้า เพอื่ ดูวา่ ผเู้ ข้าอบรมมพี น้ื ฐานความรูใ้ นการทำน้ำยาอยา่ งไรบ้าง 3. วทิ ยากรให้ความรผู้ ูเ้ ข้าอบรมเก่ียวกบั การทำแชมพูสมุนไพร ซึง่ ทีมวิทยากรไดร้ บั หลักสูตรมา จากศนู ยภ์ ูมริ ักษธ์ รรมชาติ จังหวัดนครนายก เปน็ สูตรที่เชื่อถือได้และไดร้ ับการทดลองใช้จริงมาแล้ว ซึ่ง การทำแชมพูสมุนไพรสามารถทำได้ง่ายใช้วัสดุอุปกรณ์ไม่มาก และเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องใช้เป็นประจำใน ชีวิตประจำวัน โดยการนำสมุนไพรที่มีอยู่ตามบ้านเรือนหรือในชุมชนของเรามาเป็นส่วนประกอบหลัก ซึ่งวิทยากรเลือก มะกรูด มาใช้ในการทำแชมพูสมุนไพร สาธิตให้ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้และฝึก ปฏิบัติ เพราะมคี ุณสมบัติชว่ ยทำให้รากผมแข็งแรง ผมดก เส้นผมเงางาม ช่มุ ช้นื ปอ้ งกันผมร่วง และยังช่วยขจัด รงั แคแล้วยังเปน็ สมุนไพรทีห่ าได้ง่ายตามบ้านเรือนและในชุมชนของผูเ้ ขา้ อบรมอกี ดว้ ย 4. วิทยากรบรรยายถึงคุณสมบตั เิ พ่ิมเติมของมะกรดู คอื ผิวมะกรูด = มีนำ้ มนั คุณสมบัติ ทำให้ ผมลื่น นุ่มใต้ผิวมะกรูด (สีขาว) = มสี าร “แทนนนิ ” คณุ สมบัติ ปอ้ งกันรงั แค คนั ศีรษะ น้ำมะกรูด (มีรส เปรี้ยว) คุณสมบัติ ช่วยทำความสะอาดหนังศีรษะ โดยนำแชมพูสมุนไพรมาให้ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้กัน ทั้งหมด 2 สูตร คือ แชมพูสมุนไพรมะกรูด 100% กับ แชมพูมะกรูดมุก จากนั้นวิทยากรและคณะ วิทยากรผูช้ ่วยจงึ ได้สาธติ ขนั้ ตอนการทำแชมพสู มนุ ไพรทีละสตู รแลว้ ให้ผเู้ ขา้ อบรมฝึกปฏบิ ตั ทิ ดลองทำ

43 สูตรที่ 1 สมุนไพรมะกรดู 100% วธิ ที ำ 1. นำมะกรดู มาปิ้งไฟ (อ่อนๆ) 2. ผา่ เป็นช้ินเล็ก ๆ แกะเอาเม็ดออก 3. นำเน้อื มะกรูด 1 สว่ น ผสมกับ นำ้ สะอาด 1 ส่วน นำมาปั่นรวมกัน 4. นำเนือ้ มะกรูดที่ปั่นแล้วมากรองด้วยผ้าขาวบาง จะได้เน้ือมะกรูดเขม้ ขน้ 5. นำมาอุน่ บนเตาไฟพอเปน็ ไอ 6. ปล่อยให้เยน็ นำไปสระผม เก็บรักษาในต้เู ยน็ แชมพูมะกรดู ท่ีผลติ ได้ถ้าแช่เย็นสามารถเกบ็ ไวใ้ ชไ้ ดน้ าน 1 ปี โดยไม่ขึน้ ราหรือบดู เสยี ใช้หมักดีกวา่ ใชส้ ระ โดยเฉพราะคนทผี่ มผา่ นการดัด ยอ้ ม หรอื โกรกจนผมเสีย สามารถใชน้ ้ำมะกรูดลา้ งสารเคมที ่ีสะสมในเส้นผม ทำให้ผมสะอาด และยังช่วย ฟนื้ ฟูสภาพเสน้ ผมให้ดีขึ้น วิธใี ช้ - สระผมด้วยแชมพปู กติกอ่ นแล้วลา้ งออก เพอื่ ทำความสะอาดหนงั ศีรษะและเส้นผม - หมักด้วยน้ำมะกรูด 100% เวลา 30 นาที หรือ 1 ชม. แล้วล้างออก ถ้าไม่แสบก็ไม่ต้องใช้ แชมพสู ระตามอีกครง้ั ข้อควรรู้ - ถา้ หนังศีรษะมนั มาก ตอ้ งใช้รสเปรีย้ วของมะกรูดด้วย - ถา้ หนังศีรษะแหง้ ใชผ้ ิวมะกรดู เพียงอย่างเดยี ว สูตรที่ 2 แชมพูมะกรูดมุก ส่วนผสม 1. หัวเช้อื แชมพู (N 8000) 1400 กรมั 2. สารให้ความนมุ่ ล่นื (Merquat 550PR Polymer) 60 กรัม 3. น้ำมะกรูด (นำ้ สมุนไพร) 400 กรัม 4. น้ำสะอาด 100 กรมั 5. เกลอื ผง (ผงข้น) 30 กรมั 6. สารกันเสยี 2 ซซี ี 7. น้ำหอม (กล่ินมะกรูด) 10 ซซี ี วิธที ำ 1. นำน้ำมะกรูด (นำ้ สมนุ ไพร) ตม้ ให้เดือด กรองกากออก พักไว้ใหเ้ ยน็ 2. นำเกลือ (ผงข้น) มาละลายในนำ้ สะอาดท่ีเตรยี มไว้ 3. เทสารให้ความนุ่มล่นื PQ ใส่ในนำ้ มะกรูด (น้ำสมนุ ไพร)ทเี่ ตรยี มไวแ้ ล้วคนใหเ้ ข้ากัน 4. นำ PQ ทผ่ี สมกบั น้ำมะกรูดเรียบรอ้ ยแล้ว เทลงไปในหัวเชอ้ื แชมพูมุกแลว้ คนใหเ้ ขา้ กนั 5. เติมน้ำหอมและสารกนั เสีย แลว้ ค่อย ๆ ปรับความขน้ ด้วยน้ำเกลือ 6. บรรจุภาชนะ (ควรทงิ้ ไวป้ ระมาณ 1 คนื เพือ่ ใหฟ้ องยุบตัวให้หมดกอ่ น)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook