Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PLC Teaching for the New Normal

PLC Teaching for the New Normal

Published by Prapaluck Piama, 2020-10-27 11:47:14

Description: PLC Teaching for the New Normal
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่อง การจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ ในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์

Keywords: PLC,ชุมชุมการเรียนรู้วิชาชีพ

Search

Read the Text Version

คำนำ รายงานผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC ) จัดทาข้ึนเพ่ือนาเสนอแนวทางในการดาเนินงานของกลุ่ม “PLC Teaching for the New Normal” กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่อง กำรจัดกำร เรียนกำรสอนไม่ครอบคลุมตำมเนื้อหำกำรเรียนรู้ ในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสอื่ การเรยี นการสอนออนไลน์ จากความร่วมมือของครปู ระจาวิชา และเป็นการสร้างความรู้ความ เข้าใจเร่ืองการปฏิบัติด้วยกระบวนการ PLC เพ่ือแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรม รวมท้ังแลกเปล่ียนเรียนรู้ การตดิ ตามและประเมนิ ผลในการดาเนนิ งานของโรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์\" ของครูผู้สอน ในโรงเรียน หวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ เอกสารเลม่ น้ี จะเกิดประโยชนต์ อ่ ผู้ครูผ้สู อน ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากร ทางการศึกษา รวมทั้งผู้สนใจท่ัวไป ในการนาไปใช้เพื่อศึกษาเรียนรู้สร้างความเข้าใจและปฏิบัติตามแนวทาง ดงั กลา่ วไดเ้ ปน็ อย่างดี กลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal”

ผลกำรดำเนนิ กิจกรรมชุมชนแหง่ กำรเรียนรทู้ ำงวชิ ำชพี 1. หลกั กำรและเหตผุ ล ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) หมายถึง การ รวมกลมุ่ กันของครผู ู้สอนและบคุ ลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชมุ ชนเชิงวิชาการท่ีมีเป้าหมายเพ่ือพัฒนา คุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ การถอดบทเรียน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกนั อยา่ งต่อเนอื่ ง (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2558) จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2553) ยืนยันว่าการดาเนินการในรูปแบบ PLC นาไปสู่การ เปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพท้ังด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน โดย มีผลดีทั้งต่อครูผู้สอนและนักเรียน ในแง่ผลดีต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวในงานสอนของครู เพ่ิม ความรสู้ กึ ผูกพนั ต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขนึ้ โดยเพิม่ ความกระตือรือรน้ ทจี่ ะปฏิบัติให้บรรลุพันธ กิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดีย่ิงข้ึน รวมทั้งเข้าใจบทบาทและ พฤติกรรมการสอนทีจ่ ะชว่ ยใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีท่ีสุด ซ่ึงจะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใส่ใจในแง่ของ ผลดีต่อผู้เรียนพบว่า PLC สามารถลดอัตราการตกซ้าช้ัน และจานวนช้ันเรียนที่ต้องเล่ือนหรือชะลอการจัดการ เรยี นรู้ให้น้อยลง อัตราการขาดเรยี นลดลงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาวทิ ยาศาสตร์ประวัติศาสตร์และวิชาการ อ่านทส่ี งู ขน้ึ อยา่ งเด่นชัด สุดทา้ ยคือมีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีภูมิหลัง ไมเ่ หมือนกันลดลงอย่างชัดเจน จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทาจึงเกิดความคิดที่จะนากระบวนการ PLC (Professional Learning Community) เพ่ือเป็นการปรับปรุงแก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และ ร่วมกันพัฒนานวัตกรรมท่ีใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนพฒั นาทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรียนให้ดียิ่งขึ้น โดยได้เริ่มดาเนินกิจกรรมกับ นักเรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เพอ่ื แก้ไขปัญหาทเี่ กิดขึน้ จริงในหอ้ งเรียน คือ “การจัดการเรียนการสอน ไม่ครอบคลุมตามเน้ือหาการเรียนรู้” เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จาเป็นต้องมีการเว้นระยะห่างทางสังคม มีการแบ่งกลุ่มนักเรียน แบ่งเวลาเรียน ทาให้เวลาเรียนใน หอ้ งเรยี นน้อยลง ส่งผลให้การจดั การเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ 2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะในการฟงั และเหน็ คุณค่าของการเป็นผู้ฟังที่ดี 2. เพือ่ ใหน้ ักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในระดบั ท่สี ูงข้ึน 3. เพ่มิ โอกาสในการเขา้ ถึงเนือ้ หาการเรียนได้จากอปุ กรณต์ ่าง ๆ เชน่ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ โทรศัพทม์ ือถือ ผ่านทางระบบเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ 4. มนี วตั กรรมหรอื คู่มอื การใช้ท่มี คี วามเหมาะสมและเรา้ ความสนใจของผูเ้ รียน

3. วิธีกำรดำเนนิ งำน  แนวทางการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการสรา้ งชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (PLC) 1. แบง่ กลุม่ ยอ่ ย ตามความเหมาะสม 2. ใหแ้ ต่ละกล่มุ คดิ แนวทางแก้ไขปญั หา 1 เรอื่ งจากประเดน็ ต่อไปนี้ 2.1 ปญั หาการเรียนร้ขู องนักเรยี น 1 เร่ือง/กลุม่ 2.2 ปญั หาด้านการจัดการเรียนการสอนของครู หรอื เทคนคิ วิธกี ารสอนท่ีครูควรพฒั นา จานวน 1 เรอื่ ง/กลุม่ 3. จดั ทาโครงการ/กจิ กรรม การสร้างชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (PLC)  กระบวนกำรของ PLC ข้ันตอนท่ี 1 Community สร้างทมี ครู ขั้นตอนที่ 2 Practice จดั การเรียนรู้ เช่นการวเิ คราะห์หน่วยการเรยี นรู้ ร่วมกนั ออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้ในการจัดทาแผนการเรียนรู้ เพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนา และนาสู่การปฏิบัติ โดยมีการเปิดห้องเรียน เพือ่ การสงั เกตการณส์ อน เคร่ืองมอื ในการประเมนิ - แบบนเิ ทศ 01 แบบสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ขั้นตอนที่ 3 Reflection สะทอ้ นคิดเพอ่ื การพฒั นาการปฏบิ ตั ิ ขั้นตอนที่ 4 Evaluation ประเมินเพ่อื พฒั นาสมรรถนะครู ขน้ั ตอนท่ี 5 Network Development สรา้ งเครอื ขา่ ยการพัฒนา  บทบำทหนำ้ ท่ีของสมำชิกกลุม่ ตำมกระบวนกำร PLC - Model Teacher หมายถึง ครูผู้รับการนเิ ทศ หรอื ครผู ู้สอน - Buddy Teacher หมายถึง ครูค่นู เิ ทศ หรือ ครูร่วมเรยี นรู้ - Mentor หมายถงึ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ - Expert หมายถงึ ผเู้ ชยี่ วชาญ เช่น ครู คศ.3 นักวชิ าการ อาจารย์มหาวทิ ยาลัย ศึกษานเิ ทศก์ - Administrator หมายถึง ผบู้ รหิ ารโรงเรียน - Recorder หมายถึง ผู้บันทึกรายงานการประชุม 4. วนั เวลำ สถำนท่ี ในกำรดำเนินงำน ระยะเวลำ : ตัง้ แต่ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 – 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 สถำนท่ี : โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ์”

5. สรุปผลกำรดำเนินงำน  ประเด็นดำ้ นผู้เรียน - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากส่ือการสอน บทเรียน ออนไลน์ และจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ทค่ี รแู นะนา ทาใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนครอบคลุมตามเนือ้ หาการเรียนรู้ - นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความต้ังใจใฝ่หา ความรใู้ หม่ ๆ ตรงกบั ระบบการเรยี นร้ทู ีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง โดยมผี ูส้ อนเป็นเพียงผูแ้ นะนา ท่ปี รึกษา และ แนะนาแหล่งความรู้ใหม่ ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียน ผู้เรียนสามารถทราบผลย้อนกลับของการเรียน รู้ความก้าวหน้าได้จาก E-Mail การประเมินผล การประเมินย่อย โดยใช้เว็บไซต์เป็นท่ีทดสอบและการ ประเมินผลรวม ทใ่ี ชก้ ารสอบแบบปกติในห้องเรียน เพื่อเป็นการยนื ยนั วา่ ผ้เู รียนเรียนจริงและทาข้อสอบจริงได้ หรือไม่อยา่ งไร - สง่ เสริมให้นกั เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ส่ือสังคมออนไลน์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในทางท่ีเหมาะสม เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวนักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตัวกรองท่ีคอยช่วยให้นักเรียน สามารถแยกแยะข่าวสารหรือข้อมูลท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วให้รบั รไู้ ด้อย่างมคี ุณภาพ - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอย่างมีความสุขและมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครกู ับนักเรียน และนักเรียนกับนกั เรยี นดว้ ยกันเองเพิ่มมากข้ึน - นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์หลายประการ เช่น ได้พูดคุย ถกเถียง อย่างมีเหตุผล และยอมรับ ฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ื่นมากขน้ึ  ประเดน็ ดำ้ นกิจกรรม - ครูจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนผา่ นสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็น ลกั ษณะการเรียนรจู้ ากแหล่งเรียนรนู้ อกช้ันเรียนที่ทาให้ผูเ้ รียนสามารถเรียนร้ไู ดท้ ุกท่ที กุ เวลา - การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนออนไลนท์ าให้การเรียนการสอนครอบคลมุ ตามเนื้อหา - ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นการสอนผา่ นสอ่ื เทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็น ลกั ษณะการเรียนร้จู ากแหลง่ เรียนรู้นอกชัน้ เรียนท่ีทาให้ผเู้ รียนสามารถเรียนรูไ้ ดท้ ุกทที่ ุกเวลา - ครูและผู้เรียนมปี ฏิสมั พนั ธ์/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทาให้บรรยากาศการเรียนสอนดาเนินไปโดย เนน้ ผูเ้ รียนเป็นศนู ย์กลางการเรยี นรู้  ประเดน็ ดำ้ นครู - ครูจะทาหน้าเป็นผู้อานวยท่ีคอยให้ความช่วยเหลือ คาปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้ สามารถเรียนรู้ไดด้ ้วยตนเอง สร้างแรงจงู ใจและแรงบนั ดาลใจในการเรยี น  ประเด็นสือ่ กำรสอน - ส่ือกจิ กรรมและแหลง่ การเรยี นรู้มีความถกู ต้องเหมาะสมมปี ระสทิ ธิภาพ (ด้านคุณภาพ) - สือ่ มีความเพยี งพอเหมาะสม (ดา้ นปรมิ าณ)

- ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ web browser ใดก็ได้ ผูเ้ รยี นสามารถเรียนจากเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ทีใ่ ดกไ็ ด้ และในปจั จบุ นั นก้ี ารเข้าถึงเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ตกระทาได้ งา่ ยข้ึนมาก และยังมคี า่ เชือ่ มตอ่ อนิ เตอร์เนต็ ทีม่ ีราคาตา่ ลงมากวา่ แตก่ อ่ นอกี ด้วย - นกั เรียนได้ใช้เครื่องมอื ท่ตี นถนดั คือ เทคโนโลยีการสือ่ สารสมัยใหม่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและสังคม ออนไลน์ เม่ือได้ใช้หรือทาอะไรท่ีตนชอบหรือถนัด จึงทาให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้าเรียนด้วยตนเองได้อย่าง อตั โนมตั ิ ผ้เู รียนเกดิ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมเป็นไปตามท่คี รูต้องการให้เกดิ ขน้ึ ในตัวผเู้ รียน  ประเดน็ ด้ำนบรรยำกำศ - การออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนแบบออนไลน์ เป็นส่ิงที่สาคัญท่ีจะทาให้ผู้เรียนให้ความสนใจ ใคร่รแู้ ละพรอ้ มท่จี ะร่วมพดู คุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างมสี ว่ นร่วมมากขึ้น 6. อภิปรำยผลกำรดำเนินงำน 6.1 ผลลัพธท์ เี่ กดิ จำกกระบวนกำร 1) มีองคค์ วามรู้ นวตั กรรม และประเดน็ ความรทู้ ีน่ ่าสนใจ ที่เกิดขน้ึ จากการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ของ สมาชิกเครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้ อย่างเปน็ รูปธรรม (สมาชิกเครือข่ายมกี ารนาไปใช้ไดอ้ ยา่ งชัดเจน) 2) มีรอ่ งรอยการรายงานผลการนาองคค์ วามรู้ นวัตกรรม และประเดน็ ความรทู้ ่นี ่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึน ของสมาชิกเครือข่ายไปใชต้ ลอดระยะท่ีดาเนนิ โครงการทุกครั้งที่มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้โดยสมาชกิ ทุกคน 3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มา อภปิ รายเพ่ือแลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสาเร็จ จุดเด่นและ จดุ ที่ต้องพัฒนาในการจัดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 6.2 ผลลพั ธท์ ่ีเกิดกับผเู้ รยี น / ครู / สมำชกิ ที่เขำ้ ร่วมเครอื ข่ำย PLC 1) ผูเ้ รยี นไดก้ ารเรียนรตู้ ามเป้าหมาย และวตั ถุประสงค์ที่กาหนดไวท้ ุกประการ และมีความชัดเจน ทงั้ เชิงปริมาณและคุณภาพ 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนดีข้ึน และทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะอย่าง ชดั เจน 3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการ จดั การเรยี นรู้ และผูส้ อนไดร้ บั นวัตกรรมและเรม่ิ วางแผนจัดทาวิจยั ปฏิบตั ิการในชน้ั เรยี น 4) ผูส้ อนสามารถนาความรแู้ ละประสบการณท์ ี่ได้รับจากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบแผนการจดั การเรยี นรู้ และสามารถนาวตั กรรมการเรียนรู้ท่ีได้รับจากการทาวิจัยปฏิบัติการใน ชน้ั เรยี นไปใช้พฒั นาคุณภาพการจดั การเรยี นรู้

6.3 คุณค่ำท่ีเกิดตอ่ วงกำรศกึ ษำ 1) มีเครอื ขา่ ยทช่ี ดั เจน และการขยายเครอื ขา่ ยแล้วและมคี วามชดั เจน เปน็ รูปธรรมและมแี นวโน้ม การเกิดเครอื ขา่ ยเพมิ่ ขึ้น 2) การรว่ มกนั รับผิดชอบตอ่ การเรยี นรขู้ องนกั เรียน ให้ผลการเรียนรทู้ ตี่ อ้ งการใหเ้ กิดขน้ึ ในตัว นักเรยี น โดยครทู ี่เป็นสมาชิกในชุมชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพทุกคนวางเปา้ หมายรว่ มกนั 7. ผลทเ่ี กิดจำกกำรดำเนินงำน 7.1 ได้นวตั กรรมในการแก้ไขปญั หา 7.2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนดีข้ึน หรอื เป็นไปตามเกณฑท์ ่ีตกลงกันไว้ 7.3 พฤตกิ รรมของนักเรยี นท่ีมปี ัญหาเปลี่ยนไปในทางทดี่ ีขึน้ ตามขอ้ ตกลงทีต่ ัง้ ไว้ 7.4 นาไปส่กู ารอบรมคปู องพฒั นาครู และรวบรวมส่ง เพ่อื เกบ็ เปน็ หลักฐานในการรายงานต่อไป 8. ร่องรอย/หลกั ฐำน 8.1 แผนการจัดการเรียนรู้ พร้อมบนั ทกึ หลงั การสอน 8.2 ภาพการพูดคยุ ปรกึ ษากบั สมาชิกกลมุ่ PLC 8.3 ภาพกิจกรรมการเรยี นการสอน 8.4 แบบสังเกตการณจ์ ดั กิจกรรมการเรียนการสอน 8.5 ภาพการนเิ ทศการสอน 9. บทเรยี นทีไ่ ดจ้ ำกกำรดำเนินงำน ครูผู้สอนได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่หลากหลายในห้องเรียน และพฤติกรรมของนักเรียนที่แตกต่างกันใน แต่ละบุคคล รวมไปถึงเรียนรู้ท่ีจะหาแนวทางในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ท่ีแตกต่างกันผ่านการอภิปราย รว่ มกันกับเพื่อนครูและนักเรียน ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการที่มีประโยชน์และ คุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ท่ีจะก่อให้เกิดผล ทางบวกต่อการเรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วยพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และสง่ ผลใหน้ กั เรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ข้ึน

10. ส่งิ ทจี่ ะดำเนินกำรต่อไป การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพ่ิมศักยภาพในการจัดการเรียนการ สอน เพ่ืออานวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยส่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย น่าสนใจ โดยพัฒนารปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นแบบ distance learning การเรียนการสอนทางไกล ใช้สื่อการเรียนออนไลน์ เช่น Google Classroom , Google Site มาช่วยเพ่ิมเติมจากการเรียนในห้องเรียน ปกติ และทาให้ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนเนอ้ื หายอ้ นหลงั ได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ ทุกที่ ทกุ เวลา จึงตอ้ งการเผยแพร่เทคนิคในการดูแลและบริหารช้ันเรียนให้กับเพื่อนครูในชั้นเรียนอื่น ๆ และ ผทู้ ่สี นใจตอ่ ไป 11. ปญั หำ /อปุ สรรค การพบปะพูดคยุ ระหวา่ งครผู ู้สอนประจาวิชาไม่ค่อยต่อเน่อื งเทา่ ท่คี วร เนอื่ งดว้ ยคาบสอนตรงกัน และ ในบางครง้ั ครผู สู้ อนมีภาระนอกเหนอื งานสอนมาก จึงไมส่ ะดวกในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 12. ข้อเสนอแนะ ควรมีเครือขา่ ยออนไลนเ์ ปน็ ส่ือกลางในการติดต่อแลกเปลี่ยนประสบการณร์ ะหว่างครูท่ีทางานร่วมกัน เช่น กลุ่ม Line หรือ Facebook และควรมีการวิจัยเพ่ือหารูปแบบของบทเรียนออนไลน์ ท่ีเหมาะสมกับการ เรียนการสอนในระดับช้ันต่าง ๆ เพื่อรองรับการเรียนการสอน เพราะผู้เรียนแต่ละช่วงวัยมีด้านความรู้ และ ทกั ษะที่แตกตา่ งกัน

แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวิทยา \"สีสกุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ์\" ชื่อกลุ่ม “PLC Teaching for the New Normal” ครั้งท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 8 กรกฎาคม 2563 เร่ิมดาเนินการเวลา 14.05 น. เสร็จสิ้นเวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาทัง้ ส้นิ 2 ชวั่ โมง กิจกรรมคร้ังนอ้ี ยูค่ วามสอดคลอ้ งกบั การพัฒนาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเคร่อื งหมาย ลงในชอ่ ง )  ขัน้ ท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ข้ันท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม 10 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ชือ่ -สกลุ บทบาทหน้าท่ี ลายมอื ชือ่ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศ์สถติ ผูอ้ านวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชญั ญานชุ รตั นวชิ ัย ผูเ้ ชย่ี วชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวณฐั ทติ า รกั ษา ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครูร่วมเรียนรู้ 8. นายรฐั ชา รตั นวรรณ์ ครูร่วมเรยี นรู้ 9. นางสาวรงั สิมา ไกรนรา ครรู ่วมเรยี นรู้ 10. นายวรกติ ต์ิ กาแพงเมือง ครูร่วมเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม การคน้ หาปญั หา และหาสาเหตุของปญั หา 2. ประเดน็ ปัญหา/สิง่ ทต่ี อ้ งการพฒั นา (เนน้ ทหี่ ้องเรียน) พดู คยุ ในเรอื่ งของปัญหาของเดก็ ท่ีเกิดจากตวั ครู ซง่ึ ไม่จาเป็นต้องเป็นเด็กทั้งห้อง เป็นเฉพาะกลุ่มก็ได้ โดยการสรุปเป็นปัญหาเดยี วกนั ในกล่มุ เปน็ ปญั หาเร่งด่วนที่ควรแก้ไขก่อน เพอ่ื ลดความโดดเด่ียวในการทางาน และไม่ใช่ปญั หาจากความไมพ่ ร้อมของส่ือ วัสดุอปุ กรณ์ของห้องเรียน

3. สมาชกิ ในกล่มุ นาเสนอปัญหา 1) ครูประภาลักษณ์ เพยี มะ - ปญั หาวธิ ีการสอนหรือเทคนิควิธกี ารสอนของครไู มส่ ามารถดาเนินการ จดั การใหบ้ รรลุตามแนวการสอน 2) ครูรัฐชา รตั นวรรณ์ - ปญั หานักเรียนไม่สามารถนาความรู้จากการเรียนไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ 3) ครอู รสา ดิษฐเจรญิ - ปัญหานักเรยี นขาดความรับผดิ ชอบในการทางานท่ีได้รบั มอบหมาย 4) ครูรงั สิมา ไกรนรา –ปญั หาการจดั การเรยี นการสอนไมค่ รอบคลมุ ตามเน้อื หาการเรียนรู้ 5) ครูประพาฬ แกว้ วงษา - ปัญหาผู้เรยี นขาดความต้ังใจในการเข้าเรยี นรู้ 6) ครูณฐั ทติ า รักษา–ปัญหานักเรียนบางคนขาดเรียน ส่งผลตอ่ การการทางานในห้องเรยี น 7) ครูวรกิตติ์ กาแพงเมือง – ปัญหาผู้เรียนมุ่งเน้นการเข้าหาส่ิงบันเทิง เกม หรือการเข้าสังคมการ พูดคุยมากกว่าจะเขา้ ส่ดู า้ นการเรียนรู้ 4. สมาชิกเลือกปัญหา ที่จะนามาแก้ไขร่วมกัน จานวน 1 ปัญหา ปญั หาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลมุ ตามเนอ้ื หาการเรียนรู้ 5. สมาชิกร่วมกันวเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หา โดยสาเหตุของปัญหาท่ีเกิดจากข้อสรุปของกลุ่ม สาเหตุเกิดจากกระบวนการจัดการเรียนการสอน และสาเหตุไมใ่ ช่ปัญหาเกดิ จากความไม่พรอ้ มของสือ่ วัสดอุ ปุ กรณ์ของหอ้ งเรยี น - ผลกระทบอันเนื่องมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทาให้ครูผู้สอนและ นักเรียนตอ้ งปรับตัวสูส่ ภาวะการเรียนรู้ท่ไี มค่ ุน้ เคยนาไปสภู่ าระทเี่ พ่ิมมากขนึ้ ทัง้ ในส่วนผสู้ อนและผู้เรียน - การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ การเลือกวิธีผลิตสื่อและเผยแพร่ออนไลน์ใน หลายช่องทางภายในเวลาจากดั เชน่ วดิ โี อสาธิต และการสอนสดผ่านโปรแกรม Zoom - การออกแบบส่ือการเรียนการสอน ครูจาเปน็ ต้องรู้จกั พิจารณา คดั เลอื ก ปรับปรุง และออกแบบการ ใชส้ ่อื ใหเ้ หมาะสมกับเนอ้ื หา ผ้เู รยี นและ บรบิ ทในการเรยี นการสอน - ส่ือการเรียนการสอนต้องเหมาะสมกับผู้เรียน ผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันท้ัง ในด้าน พัฒนาการของร่างกาย สติปญั ญา อารมณแ์ ละสงั คมในแตล่ ะช่วงวัย ซง่ึ เกย่ี วข้องอย่างมากกบั ความสามารถใน การเรียนรู้ นอกจากน้ียังมีความแตกต่างกันในด้านของวิธีการเรียนรู้ เช่น ผู้เรียนบางคน ชอบการเรียนรู้ผ่าน การลงมือปฏิบัติ บางคนชอบการเรียนรู้ผ่านการบอกเล่าและอธิบาย บางคนชอบ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เปน็ ตน้ ผู้สอนจึงควรศึกษาความแตกตา่ งของผเู้ รียนเพ่ือนามาใช้เป็นแนวทางในการเลือกส่ือการเรียนการสอน ใหเ้ หมาะสมพัฒนาการของผ้เู รียนในแตล่ ะช่วงวยั และวิธีการเรยี นรู้ของผเู้ รียน 6. ผลที่ไดจ้ ากการจัดกิจกรรม หัวหน้ากลุ่มสาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรู้ไปศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาจากงานวิจัย หรือ รูปแบบท่ีมีผู้พัฒนาแล้ว เพื่อนามาร่วมประชุมครั้งต่อไป และนาผลการประชุมไปบันทึกใน Log book ของ ตนเอง เพื่อเก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานตอ่ ไป เลกิ ประชุมเวลา 16.05 น.

ลงชอื่ .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ) ลงชอื่ ลงช่ือ ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวพมิ พฐ์ ินันท์ ดิลกสนุ ทร ) ผู้ชว่ ยผ้อู านวยการกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ หัวหน้ากล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลงชอ่ื ........................................................ผู้รับรอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษ์พงศส์ ถิต ) ผูอ้ านวยการโรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สีสุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ์\"

ภาพการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม PLC ย ภาพการจัดกิจกรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC) ของ กลุ่ม “PLC Teaching for the New Normal” ข้ันที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan) โดยดำเนินกำรในวนั ท่ี 8 กรกฎำคม 2563 เวลำ 14.05 – 16.05 น. สถำนที่ อำคำรวิทยบูรณำกำร

แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวิทยา \"สีสกุ หวาดจวนอุปถมั ภ์\" ชือ่ กลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” ครั้งที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1/2563 วนั /เดือน/ปี : 15 กรกฎาคม 2563 เร่มิ ดาเนินการเวลา 14.05 น. เสร็จส้ินเวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาทงั้ สิน้ 2 ช่ัวโมง กิจกรรมคร้ังนอ้ี ยคู่ วามสอดคลอ้ งกบั การพัฒนาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเครื่องหมาย ลงในช่อง )  ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขัน้ ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูท่ีเข้าร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทต่อกจิ กรรม ดงั น้ี ท่ี ชือ่ -สกลุ บทบาทหน้าที่ ลายมือชื่อ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รักษ์พงศส์ ถติ ผู้อานวยการโรงเรียน 2. นางสาวชัญญานชุ รัตนวชิ ัย ผเู้ ช่ียวชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ 4. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครรู ่วมเรียนรู้ 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวณัฐทติ า รกั ษา ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครรู ว่ มเรียนรู้ 8. นายรฐั ชา รตั นวรรณ์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครรู ว่ มเรยี นรู้ 10. นายวรกิตต์ิ กาแพงเมอื ง ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม แนวทางแกไ้ ขปัญหา และ การออกแบบกจิ กรรม 2. ประเด็นปัญหา/สิง่ ที่ต้องการพฒั นา ปญั หาการจดั การเรยี นการสอนไมค่ รอบคลมุ ตามเน้อื หาการเรียนรู้ 3. สมาชิกในกลุม่ นาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา ร่วมศึกษาปญั หา แนวทางแกไ้ ขปัญหา หรือกระบวนการทจ่ี ะใช้ในการแกไ้ ขปัญหาดงั นี้

1) ครูประพาฬ แก้ววงษา ครูควรนาเทคนิคการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ประกอบการ เรยี น เชน่ บทเรยี นสาเรจ็ รูป บทเรียนออนไลน์ 2) ครูวรกติ ติ์ กาแพงเมือง ครูผู้สอนต้องพฒั นาส่ือ นวัตกรรมการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ที่สาคัญครูผู้สอน ตอ้ งเขา้ ใจ ต้องเรยี นรู้ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนามาประยกุ ต์ใช้รว่ มกับการจดั การศกึ ษา 3) ครูประภาลักษณ์ เพยี มะ เสนอแนะเพิม่ เติมว่าส่ือการเรียนการสอนต้องเหมาะสมกับวิธีสอนหรือ รูปแบบการเรียนการสอนทใ่ี ช้ 4) ครูรังสิมา ไกรนรา เสนอแนะแนวทางการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอนต้องมีความสะดวกใช้และ สอดคลอ้ งกับความสามารถของผเู้ รยี น 5) ครูอรสา ดิษฐเจริญ เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา สื่อการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพควร เป็นส่ือท่ีมีลักษณะดึงดูดความสนใจของผู้เรียน สามารถสร้างความเข้าใจเน้ือหา สาระให้กับ ผู้เรียนได้ถูกตอ้ งตรงตามจุดประสงคข์ องการเรยี นรู้ โดยไม่เสยี เวลามาก 6) ครูรัฐชา รัตนวรรณ์ เสนอแนะการออกแบบส่ือการเรียนการต้องคานึงถึง จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นการสอน เพือ่ การออกแบบสือ่ ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ 7) ครูณัฐทิตา รักษา ครูควรมกี ารพัฒนาส่อื การเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ เพ่ือให้นักเรียนได้ เรยี นรู้ทกุ ที่ทุกเวลา 8) ครูยศกร เรืองไพศาล หัวหน้ากลุม่ สาระฯ มอบหมายใหค้ รรู ่วมเรยี นรู้ไปศึกษาวิธีการนาเทคโนโลยี ต่างๆ มาใช้ในการเรียนการสอน ซ่ึงจะช่วยให้การนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนท่ีมีความ น่าสนใจขึ้น และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียน และครูได้มากข้ึน แม้ในขณะท่ีทุกคนต้อง อาศัยภายในทพ่ี กั ของตนเองในช่วงสถานการณ์ COVID-19 เพ่ือใหแ้ นใ่ จได้ว่านักเรียนจะไม่พลาด การเรียนรู้ของพวกเขา และชว่ ยใหเ้ ส้นทางการเรยี นของนกั เรยี นสามารถเดนิ หน้าตอ่ ไปได้ 9) ครูชัญญานุช รัตนวิชยั ผเู้ ช่ียวชาญได้รว่ มเสนอแนะการนา “เทคโนโลยี” มาใช้กับระบบการเรียน การสอนมากขึน้ เพอ่ื ทาให้การเรียนการสอนยังคงดาเนินต่อไปได้อย่างไม่สะดุด และไม่ว่าผู้เรียน ผสู้ อนจะอยูท่ ีไ่ หนกส็ ามารถเข้าถงึ การศกึ ษาได้ 4. สมาชกิ รว่ มกนั ออกแบบกจิ กรรมในการแก้ไขปญั หา การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพอ่ื แก้ปัญหาการจดั การเรยี นการสอนไม่ครอบคลุมตามเน้อื หาการเรยี นรู้ของครูผู้สอน 5. ประเด็น/ ความรูแ้ ละขอ้ เสนอแนะที่ไดร้ ับจากการแลกเปลย่ี นเรียนร้คู รัง้ น้ี จากการแลกเปลีย่ นเรียนรู้คร้ังน้ี สามารถนามาเป็นแนวทางการแก้ปัญหาในการจัดทาวิจัยในช้ันเรียน เพื่อให้ได้ข้อค้นพบหรือคาตอบทีห่ นกั แน่น น่าเชอื่ ถือ สามารถแก้ปัญหาทเ่ี กิดขน้ึ และนาไปใช้ในการพัฒนางาน ของตนไดจ้ รงิ 6. ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรม นาผลการประชมุ ไปบันทึกใน Log book ของตนเอง เพอ่ื เก็บเปน็ หลกั ฐานในการรายงานต่อไป

เลิกประชุมเวลา 16.05 น. ลงชอ่ื .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ) ลงชอ่ื ลงช่อื ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวพิมพฐ์ ินนั ท์ ดิลกสุนทร ) หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ชว่ ยผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ลงชอ่ื ........................................................ผรู้ ับรอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษ์พงศส์ ถิต ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา \"สสี ุกหวาดจวนอุปถมั ภ์\"

ภาพการปฏิบตั ิกจิ กรรม PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” โดยดำเนินกำรในวนั ท่ี 15 กรกฎำคม 2563 เวลำ 14.05 – 16.05 น. สถำนท่ี อำคำรวทิ ยบูรณำกำร

แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวิทยา \"สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์\" ชื่อกลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” ครงั้ ท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 วนั /เดอื น/ปี : 22 กรกฎาคม 2563 เร่มิ ดาเนนิ การเวลา 14.05 น. เสร็จสิ้นเวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาทั้งสน้ิ 2 ช่วั โมง กิจกรรมครั้งนอ้ี ยคู่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง )  ข้ันท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ที่ 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do& See)  ขน้ั ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ี่เข้าร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดงั นี้ ท่ี ชอ่ื -สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมอื ชื่อ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศส์ ถติ ผูอ้ านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชัญญานุช รัตนวิชัย ผ้เู ชย่ี วชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวอรสา ดิษฐเจริญ ครรู ่วมเรยี นรู้ 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครรู ่วมเรียนรู้ 6. นางสาวณฐั ทติ า รักษา ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รตั นวรรณ์ ครูรว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครรู ่วมเรียนรู้ 10. นายวรกติ ต์ิ กาแพงเมือง ครูร่วมเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม การนาสกู่ ารปฏิบตั ิ และ การสะท้อนผล (การวางแผนกจิ กรรม 1) 2. ประเดน็ ปัญหา/สง่ิ ทีต่ ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรยี นการสอนไม่ครอบคลมุ ตามเนอ้ื หาการเรียนรู้

3. สมาชกิ ในกลมุ่ รว่ มกันจัดทาแผนกจิ กรรม จากการประชุมกลุ่มในกจิ กรรม PLC ในสัปดาห์ที่ผ่านมาได้หัวข้อการพัฒนานักเรียน คือ การพัฒนา รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อแก้ปัญหาการ จัดการเรียนการสอนไมค่ รอบคลุมตามเนอ้ื หาการเรยี นรขู้ องครูผู้สอนจึงได้มีการวางแผนงาน เพื่อจัดทาแผน กจิ กรรมดังน้ี 1) การวางแผน (Planning) การใช้ส่ือการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือการ พิจารณาว่าจะเลือกใชส้ อื่ ใดในการเรยี นการสอน 2) การเตรียมการ (Preparation) เมอ่ื ได้วางแผนเลอื กใช้ส่ือการสอนแล้ว ข้ันต่อมาคือการเตรียมการ ส่ิงต่างๆ เพ่ือให้การใช้สื่อการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามวัตถุประสงค์ ก่อนใช้สื่อการสอน ผ้สู อนควรเตรียมความพรอ้ มในส่งิ ต่าง ๆ ดงั น้ี 2.1 การเตรยี มความพรอ้ มของผ้สู อน 2.2 การเตรียมความพรอ้ มให้ผู้เรียน 2.3 การเตรยี มความพร้อมของสื่อและอุปกรณ์หรือเครอ่ื งมอื ทใี่ ชร้ ว่ มกนั 2.4 การเตรยี มความพร้อมของสภาพแวดล้อมและหอ้ งสอน 3) ศึกษาเคร่ืองมือสาหรับพัฒนาส่ือการสอนการพัฒนาสื่อการสอนผ่านระบบเครือข่าย ซ่ึงเกี่ยวข้อง กับการสรา้ งโปรแกรมในการนาเสนอเนือ้ หาบทเรยี น ในรปู แบบของขอ้ ความ ภาพนง่ิ ภาพเคลือ่ นไหว เสียง ให้ สอดคล้องกับเนอื้ หาและวตั ถปุ ระสงคท์ กี่ าหนดไว้ 4) ตรวจสอบความกา้ วหนา้ ของนกั เรียนแตล่ ะคนในความรู้และทกั ษะแตล่ ะด้าน 5) ครูผู้สอนนาผลการประเมินและการวิจารณข์ องครูรว่ มเรยี นรู้ มาปรบั ปรงุ และพฒั นาใหด้ ขี นึ้ 4. ประเดน็ / ความร้แู ละข้อเสนอแนะท่ีได้รับจากการแลกเปลย่ี นเรียนรคู้ รัง้ นี้ ด้วยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ได้มีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนให้ครู พัฒนาส่ือการเรียนรู้ดิจิทัลที่มีคุณภาพสู่การพัฒนาผู้เรียน โดยสร้างบทเรียนออนไลน์ เพ่ือยกระดับคุณภาพ การศึกษาไทยให้ทันกับการพัฒนา การเปล่ียนแปลงและวิวัฒนาการทางการศึกษาที่เจริญก้าวหน้ามากข้ึน ดงั นน้ั ครผู สู้ อนจึงจาเปน็ ต้องจัดทาสอื่ การเรียนการสอนออนไลน์ข้ึนมาเพอ่ื ให้นกั เรยี นได้เรยี นร้ทู กุ ทีท่ กุ เวลา 5. ผลทไ่ี ดจ้ ากการจดั กิจกรรม นาผลการประชมุ ไปบนั ทึกใน Log book ของตนเอง เพ่อื เก็บเป็นหลกั ฐานในการรายงานต่อไป เลิกประชมุ เวลา 16.05 น.

ลงช่อื .......................................................... ผู้บันทึก ( นายวรกิตติ์ กาแพงเมือง ) ลงชอ่ื ลงชอื่ ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวพมิ พฐ์ ินนั ท์ ดลิ กสุนทร ) หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ชว่ ยผอู้ านวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ ลงช่อื ........................................................ผรู้ บั รอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รักษพ์ งศ์สถิต ) ผอู้ านวยการโรงเรียนบางมดวิทยา \"สสี กุ หวาดจวนอุปถัมภ\"์

ภาพการปฏิบตั ิกจิ กรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุ่ม “PLC Teaching for the New Normal” โดยดำเนินกำรในวันท่ี 22 กรกฎำคม 2563 เวลำ 14.05– 16.05 น. สถำนท่ี อำคำรวทิ ยบูรณำกำร

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สีสกุ หวาดจวนอุปถัมภ์\" ชื่อกลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” ครงั้ ท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 วนั /เดือน/ปี : 29 กรกฎาคม 2563 เร่มิ ดาเนนิ การเวลา 14.05 น. เสร็จส้นิ เวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาทั้งสน้ิ 2 ช่วั โมง กิจกรรมคร้ังนี้อยคู่ วามสอดคลอ้ งกบั การพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง )  ข้ันท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขัน้ ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ี่เขา้ รว่ มกิจกรรม 10 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดงั นี้ ท่ี ช่อื -สกลุ บทบาทหน้าที่ ลายมอื ชื่อ 1. นางมนัสดากาณฑ์ รักษ์พงศส์ ถิต ผูอ้ านวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชญั ญานชุ รตั นวิชยั ผู้เช่ยี วชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หวั หน้ากลุม่ สาระฯ 4. นางสาวอรสา ดิษฐเจริญ ครูร่วมเรยี นรู้ 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวณัฐทติ า รกั ษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รตั นวรรณ์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวรังสมิ า ไกรนรา ครรู ่วมเรยี นรู้ 10. นายวรกติ ติ์ กาแพงเมอื ง ครรู ว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม การนาส่กู ารปฏิบตั ิ และ การสะทอ้ นผล (การวางแผนกิจกรรม 2) 2. ประเดน็ ปญั หา/สงิ่ ทีต่ ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรยี นการสอนไมค่ รอบคลมุ ตามเน้อื หาการเรยี นรู้

3. สมาชกิ ในกลมุ่ รว่ มกนั จัดทาแผนกจิ กรรม จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาห์ที่ผ่านมาได้คัดเลือกนางสาวรังสิมา ไกรนราเป็นครู ต้นแบบ (Model Teacher) ในการให้คาแนะนาการพัฒนารปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการ สรา้ งส่ือการเรยี นการสอนออนไลน์ เพือ่ แก้ปญั หาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ ของครผู ้สู อนจึงไดม้ ีการรว่ มวางแผนงาน เพือ่ จดั ทาและปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน ดังน้ี 1) คณะครูผู้เข้าร่วมประชุม ได้ศกึ ษาขั้นตอนวธิ ีการจากครตู น้ แบบ รว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น พดู คยุ เพือ่ นาไปจัดทาและปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาของตนเอง 2) คณะครรู ่วมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ถึงวิธกี ารข้นั ตอน เพือ่ ดาเนินการในข้นั ต่อไป 3) คณะครแู ต่ละท่านได้ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ไปปรับใช้ในรายวชิ าของตนเอง 4) ร่วมกันกาหนดบทบาทสมาชิกในการสังเกตการณ์ทดลองใชร้ ูปแบบกิจกรรม 5) คณะครมู กี ารนดั หมาย เพือ่ ไปสังเกตการณก์ ารสอนของครตู น้ แบบในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนโดยการสรา้ งสอ่ื การเรยี นการสอนออนไลน์ไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน และนาผลที่ได้จาก การจดั กจิ กรรมมาอภิปรายและสรปุ ผลร่วมกนั เพอ่ื หาแนวทางในการปรับปรุงและพฒั นาตอ่ ไป 4. ประเดน็ / ความร้แู ละข้อเสนอแนะทีไ่ ดร้ บั จากการแลกเปลย่ี นเรียนรู้คร้ังน้ี สรปุ ความรู้และขอ้ เสนอแนะท่ีได้จากการแลกเปลยี่ นเรยี นรใู้ นคร้ังน้ีคอื ในส่วนของแพลตฟอร์มออนไลน์ ท่ีสามารถนามาปรับใช้ เช่นGoogle Classroom ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มท่ีเปิดให้ใช้ฟรี มีทั้งแบบแอพและเว็บไซต์ คุณครูสามารถสร้างคลาสออนไลน์ แบบทดสอบ สร้างและแจกจ่ายการบ้าน ตัดเกรด สื่อสารกับนักเรียนและ ผปู้ กครองได้ เมนกู ารใช้งานคล้ายคลงึ กับการใชผ้ ลติ ภัณฑ์อน่ื ๆ ของ Google ซงึ่ ถา้ ผู้ใช้คุ้นเคยอยู่แล้วจะย่ิงเข้าใจ ง่าย นอกจากนยี้ งั มี template เอกสารประกอบการเรียนวิชาต่าง ๆ ใหค้ ุณครูมาเลอื กใช้ได้ดว้ ย 5. ผลท่ีได้จากการจดั กิจกรรม นาผลการประชุมไปบนั ทกึ ใน Log book ของตนเอง เพอื่ เก็บเป็นหลักฐานในการรายงานตอ่ ไป เลิกประชุมเวลา 16.05 น.

ลงชอ่ื .......................................................... ผู้บนั ทกึ ( นายวรกิตติ์ กาแพงเมอื ง ) ลงช่ือ ลงช่อื ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวพมิ พฐ์ ินนั ท์ ดลิ กสุนทร ) หัวหน้ากลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ชว่ ยผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ ลงชื่อ........................................................ผรู้ บั รอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รักษพ์ งศ์สถิต ) ผู้อานวยการโรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ\"์

ภาพการปฏิบัติกจิ กรรม PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” โดยดำเนินกำรในวนั ท่ี 29 กรกฎำคม 2563 เวลำ 14.05 – 16.05 น. สถำนท่ี อำคำรวทิ ยบูรณำกำร

แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวิทยา \"สีสุกหวาดจวนอปุ ถัมภ\"์ ชือ่ กลุม่ “PLC Teaching for the New Normal” ครงั้ ท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1/2563 วัน/เดือน/ปี : 5 สงิ หาคม 2563 เรม่ิ ดาเนนิ การเวลา 14.05 น. เสร็จส้ินเวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาทงั้ สิ้น 2 ชัว่ โมง กจิ กรรมคร้ังนอี้ ยคู่ วามสอดคล้องกบั การพัฒนาบทเรยี นร่วมกนั (Lesson study) (ทาเครื่องหมาย ลงในชอ่ ง )  ขั้นท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นที่ 2 ปฏิบตั ิและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขัน้ ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังนี้ ท่ี ชอื่ -สกลุ บทบาทหน้าท่ี ลายมอื ชื่อ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษ์พงศ์สถิต ผูอ้ านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชัญญานชุ รัตนวิชยั ผู้เชย่ี วชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ 4. นางสาวรังสมิ า ไกรนรา ครูผู้สอนหลัก 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครูรว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวณัฐทิตา รักษา ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครูรว่ มเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รัตนวรรณ์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจรญิ ครูร่วมเรยี นรู้ 10. นายวรกิตติ์ กาแพงเมอื ง ครูรว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนาสู่การปฏิบัติ และ การสะท้อนผล (การวางแผนกจิ กรรม 3) 2. สมาชกิ ในกลุม่ รว่ มกันจดั ทาและปรับปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ จากปัญหาที่สาคัญที่สุดของกลุ่ม คือ “ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเน้ือหาการ เรียนรู้” สมาชิกในกลุ่มจงึ ร่วมกนั นาเสนอองค์ประกอบของนวัตกรรม กาหนดทิศทางและแนวทางการแก้ปัญหา ร่วมกนั โดยใชว้ ิธีเดยี วกันซ่ึงสมาชิกในกลุ่มร่วมกันตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ปัญหา คือ การพัฒนารูปแบบการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ จึงได้มีการร่วมจัดทาและปรับปรุง แผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาของตนเองรว่ มกัน โดยมีข้ันตอนการดาเนินการ ดงั นี้ 1) กาหนดชื่อหน่วยการเรยี นให้สอดคล้องกบั ประเด็นท่จี ะแกป้ ญั หา 2) กาหนดขอบเขตของเนอื้ หาใหส้ อดคล้องกบั ประเด็นทจ่ี ะแกป้ ัญหา 3) สรา้ งแผนการจดั การเรียนร้เู ฉพาะหน่วยการเรยี นทีใ่ ช้นวตั กรรม 4) ทดลองนวตั กรรมใช้กบั นักเรียน และรายงานการสร้างสอ่ื นวตั กรรม 5) สมาชกิ ในกลมุ่ PLC นดั หมายวนั และเวลาในการนาสอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยใี ห้ผ้นู เิ ทศ/ ผ้เู ช่ียวชาญทาการนิเทศ/ตรวจสอบ เพอื่ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ประสบการณใ์ นการสรา้ ง 6) บันทึกผลการทดลองใช้สอื่ นวัตกรรมตามแผนการจดั การเรียนรู้ 7) สะทอ้ นผลการใชส้ ื่อนวตั กรรมในการแกป้ ญั หา 8) สรุปผลการเขา้ ร่วมชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ 9) จากการใชก้ ระบวนการ PLC แกป้ ญั หา นาไปสู่รายงานการวิจยั ในชน้ั เรยี น 4. ประเด็น/ ความรู้และข้อเสนอแนะที่ไดร้ บั จากการแลกเปลย่ี นเรียนรู้คร้งั น้ี ศกึ ษาทฤษฏีทเ่ี กย่ี วขอ้ ง สมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกนั เสนอแนะทฤษฏ/ี งานวิจัยท่เี กี่ยวข้อง ดงั ต่อไปนี้ 1) การเรียนการสอนแนวใหม่เป็นการนาแนวคิด วิธีการ กระบวนการหรือส่ิงประดิษฐ์ใหม่ๆ มาใช้ใน การจดั การเรยี นรู้ ในการแก้ปญั หาหรือพฒั นาการเรียนร้อู ย่างมีประสิทธิภาพตรงตามเป้าหมายของ หลักสูตร ซึ่งจะช่วยให้การศึกษาและการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดีย่ิงข้ึน ผู้เรียนสามารถเกิด การเรยี นรู้ได้อย่างรวดเรว็ มีประสิทธิผลสงู กว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมเหล่าน้ัน และประหยดั เวลาในการเรยี นไดอ้ ีกดว้ ย 2) ส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ช่วยกระตุ้นความสนใจและส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่ ผู้เรยี นส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนแสวงหาความร้เู พมิ่ เตมิ จากแหล่งเรียนรตู้ า่ ง ๆ และเป็นสือ่ ท่ีมีบทบาทสาคัญ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ 3) การจัดการเรียนการสอนออนไลน์เป็นอีกวิธีการหนึ่งท่ีถูกนามาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่ม ศกั ยภาพในการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากอานวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการ สอนด้วยส่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย สามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ ผเู้ รยี นเขา้ ถึงแหล่งเรยี นรู้ไดท้ กุ ท่ี ทุกเวลา 5. ผลทไี่ ดจ้ ากการจัดกิจกรรม นาไปสกู่ ารอบรมคูปองพัฒนาครู และนาผลการประชุมไปบันทึกใน Log book ของตนเอง เพ่ือเก็บ เป็นหลักฐานในการรายงานต่อไปทั้งนี้ได้นัดหมายวิธีการท่ีจะดาเนินการต่อไปในครั้งต่อไป คือ การจัดส่ง แผนการจดั การเรียนรู้เฉพาะหนว่ ยการเรยี นท่จี ะดาเนินการใชน้ วตั กรรม เลิกประชุมเวลา 16.05 น.

ลงชอ่ื .......................................................... ผู้บันทึก ( นายวรกิตติ์ กาแพงเมอื ง ) ลงช่ือ ลงช่อื ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวพมิ พฐ์ ินนั ท์ ดลิ กสุนทร ) หัวหน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ชว่ ยผอู้ านวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ ลงชื่อ........................................................ผรู้ บั รอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รักษพ์ งศ์สถิต ) ผู้อานวยการโรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ\"์

ภาพการปฏิบตั กิ ิจกรรม PLC ภาพการจดั กิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” โดยดำเนินกำรในวันท่ี 5 สงิ หำคม 2563 เวลำ 14.05 – 16.05 น. สถำนที่ อำคำรวทิ ยบูรณำกำร

แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สสี กุ หวาดจวนอุปถมั ภ์\" ชือ่ กลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” คร้งั ที่ 6 ภาคเรยี นที่ 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 13 สิงหาคม 2563 เรมิ่ ดาเนินการเวลา 14.05 น. เสร็จส้ินเวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาทั้งสิน้ 2 ช่วั โมง กจิ กรรมครั้งน้ีอยู่ความสอดคล้องกบั การพัฒนาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเครื่องหมาย ลงในช่อง )  ขนั้ ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ัติและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขั้นที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูท่เี ขา้ ร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชือ่ -สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชือ่ 1. นางมนัสดากาณฑ์ รักษพ์ งศส์ ถติ ผู้อานวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชัญญานชุ รตั นวิชยั ผ้เู ชยี่ วชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ 4. นางสาวรงั สิมา ไกรนรา ครูผู้สอนหลัก 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวณัฐทติ า รกั ษา ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รัตนวรรณ์ ครูร่วมเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดิษฐเจริญ ครรู ่วมเรยี นรู้ 10. นายวรกติ ต์ิ กาแพงเมือง ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม แลกเปลีย่ นเสนอแนะ (นาเสนอกจิ กรรมการแกป้ ญั หาใหผ้ ูเ้ ชี่ยวชาญหรอื ผมู้ ปี ระสบการณ์ให้ ขอ้ เสนอแนะ) 2. สมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกันจัดทาและปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ได้คัดเลือก นางสาวรังสิมา ไกรนรา เป็นครูผู้สอนหลัก (Model Teacher) เพอ่ื ใหค้ าแนะนาในการพัฒนารปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการ สอนออนไลน์ ซึ่งในครั้งน้ีได้มีการนัดหมายจัดส่งแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะหน่วยการเรียนที่จะดาเนินการใช้

นวตั กรรม เพอ่ื ทีส่ มาชิกในกลมุ่ จะไดร้ ว่ มกันตรวจสอบ สงั เคราะห์ และปรับปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ จึงได้มีการ รว่ มวางแผนงาน ดังน้ี 1. สมาชิกผเู้ ข้ารว่ มประชมุ ได้ศึกษาข้ันตอนวิธีการจากครูผู้สอนหลัก ร่วมกันแสดงความคิดเห็น พูดคุย เพ่อื นาไปจดั ทาและปรับปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ของตนเอง 2. สมาชกิ ในกลมุ่ รว่ มแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ถึงวธิ กี ารข้นั ตอน เพื่อดาเนนิ การในข้นั ต่อไป 3. สมาชกิ ในกลุม่ แตล่ ะทา่ นไดร้ ว่ มกันออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างเน้ือหาและสร้าง ส่อื การเรียนการสอนออนไลน์ ไปปรับใช้ในรายวชิ าของตนเอง 4. รว่ มกนั กาหนดบทบาทสมาชกิ ในการสงั เกตการณ์ทดลองใชร้ ูปแบบกจิ กรรม 5. สมาชิกในกลมุ่ มีการนดั หมาย เพอื่ ไปสงั เกตการณ์การสอนของครผู ู้สอนหลักในการพัฒนารูปแบบการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างเน้อื หาและสร้างส่อื การเรียนการสอนออนไลน์ และนาผลท่ีได้จากการ จัดกจิ กรรมมาอภปิ รายและสรุปผลรว่ มกนั เพือ่ หาแนวทางในการปรบั ปรุงและพัฒนาตอ่ ไป 3. ประเด็น/ ความรแู้ ละข้อเสนอแนะที่ไดร้ บั จากการแลกเปล่ียนเรียนรูค้ รงั้ น้ี ช่ือสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างส่ือการเรียน การสอนออนไลน์ นาไปใชใ้ นรายวิชา กราฟิกดีไซน์ รหสั วชิ า ว30273 เรอ่ื ง หลกั การออกแบบงานกราฟิก ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 จานวน2ชว่ั โมง ใช้วิธีการสอนแบบ การสร้างเนอื้ หาและสร้างสอ่ื การเรียนการสอนออนไลน์ ร่วมกับสอ่ื นวตั กรรมGoogle Sites และ Google Classroom ทั้งน้ีไดน้ ัดหมายสังเกตการณ์การสอนของครูผู้สอนหลัก ในวันที่ 18สิงหาคม 2563 คาบเรียนที่ 3-4 รายวชิ ากราฟิกดีไซน์ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 5/7 4. ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรม นาไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนาผลการประชุมไปบันทึกใน Log book ของตนเอง เพ่ือเก็บ เปน็ หลักฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชุมเวลา 16.05 น.

ลงชอื่ .......................................................... ผูบ้ นั ทึก ( นางสาวรงั สิมา ไกรนรา ) ลงชื่อ ลงช่อื ( นายยศกร เรอื งไพศาล ) ( นางสาวพมิ พ์ฐนิ ันท์ ดลิ กสุนทร ) หัวหน้ากลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ช่วยผอู้ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชือ่ ........................................................ผู้รับรอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รักษพ์ งศส์ ถิต ) ผู้อานวยการโรงเรียนบางมดวิทยา \"สสี กุ หวาดจวนอุปถัมภ์\"

ภาพการปฏิบตั กิ ิจกรรม PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” โดยดำเนินกำรในวนั ที่ 13 สิงหำคม 2563 เวลำ 14.05 – 16.05 น. สถำนท่ี อำคำรวทิ ยบูรณำกำร

แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สสี ุกหวาดจวนอุปถมั ภ\"์ ช่อื กลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” ครง้ั ที่ 7 ภาคเรียนที่ 1/2563 วนั /เดอื น/ปี :19 สงิ หาคม 2563 เร่ิมดาเนนิ การเวลา 14.05 น. เสร็จส้ินเวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้ิน 2 ชว่ั โมง กิจกรรมครั้งนีอ้ ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทาเครื่องหมาย ลงในช่อง )  ขนั้ ที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ที่ 2 ปฏบิ ัติและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขนั้ ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทเ่ี ขา้ รว่ มกิจกรรม 10 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดงั นี้ ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่ือ 1. นางมนัสดากาณฑ์ รักษพ์ งศ์สถิต ผูอ้ านวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชัญญานชุ รตั นวิชัย ผู้เช่ียวชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หัวหน้ากลุ่มสาระฯ 4. นางสาวรังสมิ า ไกรนรา ครูผูส้ อนหลัก 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครรู ว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวณัฐทติ า รักษา ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ครรู ่วมเรียนรู้ 8. นายรฐั ชา รตั นวรรณ์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครรู ่วมเรยี นรู้ 10. นายวรกิตต์ิ กาแพงเมอื ง ครูร่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนาส่กู ารปฏิบตั ิ และ สงั เกตการสอน ครัง้ ที่ 1 (การทดลองของ Model Teacher) 2. ผลการสงั เกต จากการไปสงั เกตการณ์การสอนของครูรังสิมา ไกรนรา ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชากราฟิก ดไี ซน์ รหัสวชิ า ว30273 จากการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างส่ือการเรียน การสอนออนไลน์ พบว่า ครผู ูส้ อนสอบถามนกั เรียนเก่ียวกบั หลกั การออกแบบงานกราฟิก ตามท่ีให้นักเรียนไป ศึกษาล่วงหน้าจากเว็บเรียนออนไลน์ของครูรังสิมา (https://sites.google.com/view/kruhoney) วิชา

กราฟิกดีไซน์ ในสัปดาห์ที่ 8 เร่ือง หลักการออกแบบงานกราฟิก ครูผู้สอนทบทวนและอธิบายหลักการ ออกแบบงานกราฟิกแต่ละหลักการอีกคร้ังเพื่อให้นักเรียนเข้าใจเนื้อได้ดีขึ้น จากน้ันครูผู้สอนให้นักเรียนเข้า ห้องเรียนในGoogle Classroom เพื่อดูงานท่ีครูมอบหมายให้ โดยนักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มจากเว็บเรียน ออนไลน์ของครูรังสิมา (https://sites.google.com/view/kruhoney) โดยครูผู้สอนคอยให้คาแนะนา เมื่อ นักเรียนทางานที่มอบหมายเสร็จให้นักเรียนส่งงานในGoogle Classroom และครูผู้สอนสุ่มเลขท่ีเพื่อให้ นกั เรียนออกนามานาเสนอหนา้ ผลงานชน้ั เรยี น 3. จุดเด่นในการจดั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ครผู สู้ อนเข้าใจเนอ้ื หาที่สอนอย่างแจม่ แจ้ง (Insight) การสอนในลกั ษณะนี้ครูผู้สอนมีการ เตรยี มการสอนมาเปน็ อยา่ งดี เข้าใจเนอื้ หาสาระที่สอนได้อยา่ งชัดเจน จึงสามารถสอนให้ผูเ้ รยี นเข้าใจใน เนอ้ื หาไดอ้ ย่างแจ่มแจ้ง 4. จุดทต่ี ้องพฒั นาในการจัดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วมกันสะท้อนความคิดทั้งจุดเด่น จุดด้อย ปัญหา-อุปสรรค รวมทั้ง แนะนาวธิ ีการแก้ปัญหาโดยใชส้ นุ ทรียสนทนา ดังนี้ 1) ครูผู้สอนควรใหน้ กั เรียนแก้ปัญหาดว้ ยตนเองอันจะนาไปสู่การคดิ เปน็ ทาเป็น และแก้ปญั หาเปน็ 2) ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นหาสาเหตุ เหตุผล ความเป็นไปของส่ิงท่ีเรียน มีส่วนร่วมในการ วางแผน การดาเนินกิจกรรม และการประเมนิ ผลการเรียนการสอน 5. ผลลพั ธท์ ไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม ผ้สู อนได้รบั ความรแู้ ละประสบการณ์ ซง่ึ เปน็ ประโยชนต์ ่อการปรับปรงุ และพัฒนาแผนการ จัดการเรยี นรู้ และผสู้ อนไดร้ บั นวตั กรรมและเร่ิมวางแผนจดั ทาวิจยั ปฏบิ ัติการในชน้ั เรียน เลกิ ประชมุ เวลา 16.05 น. ลงชอื่ .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวรังสมิ า ไกรนรา ) ลงช่ือ ลงชื่อ ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวพิมพ์ฐนิ ันท์ ดลิ กสุนทร ) หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ชว่ ยผู้อานวยการกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ ลงชื่อ........................................................ผรู้ ับรอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รักษ์พงศ์สถิต ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ์

ภาพการปฏิบตั กิ จิ กรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกล่มุ “PLC Teaching for the New Normal” ข้ันที่ 2 การนาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ และ การสะท้อนผล คร้ังท่ี 1 (การทดลองของ Model Teacher) โดยดำเนนิ กำรในวนั ที่ 19 สงิ หำคม 2563 เวลำ 14.05 – 16.05 น. สถำนท่ี อำคำรวิทยบูรณำกำร

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ์\" ชือ่ กลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” ครัง้ ท่ี 8 ภาคเรยี นที่ 1/2563 วัน/เดือน/ปี : 26 สงิ หาคม 2563 เร่มิ ดาเนินการเวลา 14.05 น. เสรจ็ สิน้ เวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาทั้งส้นิ 2 ช่วั โมง กิจกรรมครั้งน้ีอยู่ความสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรยี นร่วมกนั (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในชอ่ ง )  ขน้ั ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขนั้ ท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ข้นั ที่ 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ี่เขา้ ร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังนี้ ท่ี ชอ่ื -สกลุ บทบาทหน้าท่ี ลายมอื ช่ือ 1. นางมนัสดากาณฑ์ รักษ์พงศส์ ถติ ผอู้ านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชัญญานชุ รัตนวิชัย ผู้เชี่ยวชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวรงั สิมา ไกรนรา ครูผู้สอนหลัก 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวณัฐทติ า รักษา ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ครูร่วมเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รัตนวรรณ์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจรญิ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 10. นายวรกิตต์ิ กาแพงเมือง ครูร่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนาสูก่ ารปฏิบัติ และ การสะทอ้ นผล คร้ังที่ 2 (After Action Review : AAR) 2. ครผู ู้สอนหลัก (Model teacher) สะทอ้ นผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของตนเอง การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในปีการศึกษา 1/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การโดยการสร้างสอ่ื การเรยี นการสอนออนไลน์ เพอ่ื ปัญหาการจดั การเรยี นการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการ เรียนรู้ พบว่าส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ช่วยกระตุ้นความสนใจและส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่

ผู้เรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้เพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนมาก่อน ล่วงหนา้ และอ่านทบทวนเน้ือหาย้อนหลงั ได้และยังเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนเข้าถงึ แหลง่ เรียนรไู้ ด้ทุกที่ ทุกเวลา 3. สะทอ้ นผลการใชส้ ่อื นวตั กรรมในการแก้ปัญหา สมาชกิ ในกล่มุ PLC รว่ มกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปญั หา อปุ สรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรียนรู้ของนกั เรียน เพ่อื ปรบั ปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ของครผู สู้ อน 4. ผลการนาสื่อนวัตกรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสาเร็จ ประเด็นท่ีนาไปสรู่ ายงานการวจิ ยั เรือ่ ง “การพัฒนารปู แบบการจดั กิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตาม เน้ือหาการเรียนรู้ของครูผู้สอน รายวิชา ว30273 กราฟิกดีไซน์ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1ปี การศึกษา 2563” 5. สมาชกิ ร่วมกันปรับปรงุ แบบกิจกรรมตามทีไ่ ด้สะท้อนผล และ ปรบั แผนกิจกรรม นาแผนการจดั การเรียนรู้ทแี่ ก้ไขปรบั ปรงุ ตามคาแนะนาของครรู ว่ มเรียนรู้ ผู้เชยี่ วชาญ และหัวหนา้ กลุม่ สาระฯ มาใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ของครูผู้สอนหลัก เมือ่ วนั อังคารท่ี 18 สงิ หาคม 2563 คาบเรยี นท่ี 3-4 ในรายวิชา ว30273 กราฟิกดีไซน์ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โดยมชี ุมชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชีพรว่ มสงั เกตการณ์ ซ่งึ แผนการจดั การเรยี นรู้น้ีมขี ้ันตอนสาคัญในการจดั กจิ กรรมการสรา้ งเนื้อหาและการ สรา้ งสอื่ การเรียนการสอนออนไลน์ คอื การนาเขา้ สู่บทเรยี น การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบไปดว้ ยขั้น สนใจ (Motivation) ขัน้ ศึกษาขอ้ มูล (Information) ขั้นพยายาม (Application) และข้ันสาเร็จผล (Progress) ซง่ึ ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนเปน็ ผศู้ ึกษาจากโดยการสรา้ งสอื่ การเรียนการสอนออนไลน์ทีค่ รูไดส้ ร้างขน้ึ จากนั้น นักเรียนได้ออกแบบชิ้นงานเอง ซ่ึงครจู ะทาหน้าทชี่ ี้แนะ และอธิบายเพิม่ เตมิ จากน้นั ครูและนักเรยี นจะรว่ มกัน สรุปองคค์ วามรู้ที่ไดจ้ ากการจัดกจิ กรรมภายในช้ันเรยี น 6. กิจกรรมท่ไี ด้ร่วมทา ผู้สอนนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง หลักการออกแบบงานกราฟิก จากน้ันครู ร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เช่ียวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทัง้ ให้คาแนะนาในการพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เมอ่ื สิ้นสดุ ขัน้ ตอนการสะท้อนคิดแลว้ ผสู้ อนบนั ทึกผล การสะทอ้ นคิดหลังปฏิบัตกิ าร (After Action Review : AAR) จากน้นั ปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ และทาวิจัย ปฏบิ ัตกิ ารในชั้นเรยี นต่อไป เลกิ ประชมุ เวลา 16.05 น.

ลงชอื่ .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวรงั สิมา ไกรนรา ) ลงชื่อ ลงช่อื ( นายยศกร เรอื งไพศาล ) ( นางสาวพมิ พ์ฐนิ ันท์ ดลิ กสุนทร ) หัวหน้ากลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ช่วยผอู้ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชือ่ ........................................................ผู้รับรอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รักษพ์ งศส์ ถิต ) ผู้อานวยการโรงเรียนบางมดวิทยา \"สสี กุ หวาดจวนอุปถัมภ์\"

ภาพการปฏิบตั กิ ิจกรรม PLC ––– ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุม่ “PLC Teaching for the New Normal” โดยดำเนินกำรในวนั ที่ 26 สิงหำคม 2563 เวลำ 14.05 – 16.05 น. สถำนที่ อำคำรวทิ ยบูรณำกำร

แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวิทยา \"สีสกุ หวาดจวนอุปถมั ภ์\" ชอ่ื กลุ่ม “PLC Teaching for the New Normal” ครัง้ ท่ี 9 ภาคเรียนที่ 1/2563 วัน/เดือน/ปี : 2 กันยายน 2563 เร่ิมดาเนินการเวลา 14.05 น. เสร็จสน้ิ เวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาทั้งสน้ิ 2 ชวั่ โมง กิจกรรมครั้งนีอ้ ย่คู วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในชอ่ ง )  ข้ันที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ท่ี 2 ปฏิบตั ิและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขัน้ ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู เ่ี ขา้ ร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชื่อ-สกลุ บทบาทหนา้ ท่ี ลายมอื ชอ่ื 1. นางมนัสดากาณฑ์ รักษ์พงศ์สถติ ผูอ้ านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชัญญานุช รัตนวชิ ยั ผู้เชย่ี วชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวรังสิมา ไกรนรา ครูผู้สอนหลัก 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวณฐั ทิตา รักษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายรัฐชา รตั นวรรณ์ ครูร่วมเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 10. นายวรกิตต์ิ กาแพงเมอื ง ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม การนาสกู่ ารปฏิบตั ิ และ การสะทอ้ นผล ครั้งท่ี 2 (การทดลองของสมาชิก 1 ) 2. สมาชกิ ในกล่มุ รว่ มกนั จดั ทาและปรบั ปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ จากการไปสงั เกตการณก์ ารสอนของครูอรสา ดิษฐเจริญ ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชากราฟิก ดีไซน์ เรื่อง ออกแบบหน้าปกพอร์ตโฟลิโอ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน โดยการสรา้ งสอ่ื การเรียนการสอนออนไลน์ พบวา่ ครผู สู้ อนไดจ้ ัดทาสื่อวิชากราฟิกดีไซน์ เพ่ือนามาใช้ศึกษาวิธีการออกแบบ Portfolio จากบทเรียนออนไลน์ ส่งผลให้นักเรียนเกิดความเข้าใจใน

เรื่องท่จี ะศกึ ษางา่ ยยงิ่ ขน้ึ ทาได้และทาเสร็จในเวลาที่รวดเร็ว เนื้อหาท่ีใช้ในการในการจัดการเรียนการสอน ประกอบไปดว้ ย - Tool Panel - การใส่ข้อความ - การแตง่ สี 3. สะท้อนผลการใช้ส่อื นวตั กรรมในการแกป้ ัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC รว่ มกันอภปิ รายพจิ ารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครผู ู้สอน 4. ผลการนาส่อื นวัตกรรมฯไปแกป้ ัญหา ประสบความสาเรจ็ ประเด็นทีน่ าไปสรู่ ายงานการวิจยั เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสรา้ งสอ่ื การเรียนการสอนออนไลน์ รายวิชากราฟกิ ดีไซน์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียน ท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563” เลิกประชมุ เวลา 16.05 น. ลงชอ่ื .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวณฐั ทติ า รักษา ) ( นายยศกร เรอื งไพศาล ) ( นางสาวพมิ พ์ฐนิ นั ท์ ดิลกสุนทร ) หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผูช้ ว่ ยผ้อู านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงช่อื ........................................................ผู้รับรอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รักษพ์ งศส์ ถิต ) ผู้อานวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา \"สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ\"์

ภาพการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม PLC ภาพการจัดกิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุ่ม “PLC Teaching for the New Normal” การนาสู่การปฏิบัติ และ การสะทอ้ นผล ครัง้ ท่ี 2 การทดลองของสมาชกิ : ครูอรสา ดิษฐเจริญ โดยดำเนินกำรในวันท่ี 31 สงิ หำคม 2563เวลำ 08.15 – 09.55 น. สถำนที่ อำคำรวิทยบรู ณำกำร

แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวิทยา \"สสี ุกหวาดจวนอุปถมั ภ์\" ช่ือกลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” ครัง้ ที่ 10 ภาคเรียนท่ี 1/2563 วัน/เดือน/ปี : 9 กนั ยายน 2563 เรมิ่ ดาเนนิ การเวลา 14.05 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาท้ังส้นิ 2 ชว่ั โมง กิจกรรมครั้งนอี้ ย่คู วามสอดคล้องกบั การพฒั นาบทเรยี นร่วมกนั (Lesson study) (ทาเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ ง )  ข้ันท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ท่ี 2 ปฏบิ ัตแิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขั้นที่ 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูท่ีเข้าร่วมกิจกรรม 10 คน โดยมรี ายชื่อและบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ช่อื -สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่อื 1. นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษ์พงศส์ ถิต ผอู้ านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชญั ญานชุ รัตนวิชยั ผู้เช่ียวชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวรงั สิมา ไกรนรา ครูผ้สู อนหลกั 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวณฐั ทิตา รักษา ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายรัฐชา รตั นวรรณ์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครูร่วมเรียนรู้ 10. นายวรกติ ต์ิ กาแพงเมอื ง ครูร่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนาสกู่ ารปฏิบัติ และ การสะทอ้ นผล ครัง้ ที่ 2 (After Action Review : AAR) 2. ครผู ู้สอนหลกั (Model teacher) สะทอ้ นผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องตนเอง การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในปีการศึกษา 1/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพอื่ แกป้ ญั หาการจดั การเรยี นการสอนไมค่ รอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรขู้ องครผู ู้สอน พบวา่ เปน็ การจดั กิจกรรม

ท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียน มีความสนใจ กระตือรือร้นในการทากิจกรรมต่าง ๆเพราะ บทเรยี นออนไลน์ เปน็ ส่ือทีม่ ีความสวยงาม ทนั สมัย และเข้าถงึ ได้ง่ายเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา และสามารถเข้าถึง กลมุ่ เปา้ หมายไดเ้ ป็นอยา่ งดี 3. สะทอ้ นผลการใชส้ ื่อนวัตกรรมในการแกป้ ัญหา สมาชกิ ในกล่มุ PLC รว่ มกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปญั หา อปุ สรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรียนร้ขู องนกั เรียน เพื่อปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ของครูผ้สู อน 4. ผลการนาส่ือนวตั กรรมฯไปแก้ปญั หา ประสบความสาเร็จ ประเดน็ ทน่ี าไปสู่รายงานการวิจยั เรอื่ ง “การพัฒนารปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรียน การสอน โดยการสรา้ งสอ่ื การเรียนการสอนออนไลน์ รายวิชากราฟกิ ดไี ซน์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียน ท่ี 1 ปีการศึกษา 2563” 5. สมาชิกรว่ มกันปรับปรุงแบบกจิ กรรมตามที่ได้สะทอ้ นผล และ ปรับแผนกิจกรรม นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เช่ียวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก เมื่อวันจันทร์ท่ี 3กันยายน 2563 คาบเรียนที่ 1-2 ในรายวิชา ว30273 กราฟิกดีไซน์ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิง วชิ าชพี รว่ มสงั เกตการณ์ ซ่ึงแผนการจดั การเรียนรนู้ ้ีมขี ัน้ ตอนสาคญั ในการจดั กจิ กรรมการพัฒนารูปแบบการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอน คอื การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)ซึ่งครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากสื่อกราฟิกดีไซน์ท่ีครูได้ สรา้ งขนึ้ และศกึ ษาวธิ กี ารออกแบบ Portfolio จากบทเรยี นออนไลน์ ด้วยตนเอง ซ่ึงครจู ะทาหน้าที่ช้ีแนะ และ อธิบายเพ่ิมเติม จากนั้นครูและนักเรียนจะร่วมกันสรุปองค์ความรู้ท่ีได้จากการจัดกิจกรรมภายใน ชั้นเรยี น 6. กิจกรรมท่ีไดร้ ว่ มทา ผสู้ อนนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง วิธีการออกแบบ Portfolio จากบทเรียน ออนไลน์ จากน้ันครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอปุ สรรค รวมท้ังให้คาแนะนาในการพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เมอ่ื ส้นิ สดุ ข้นั ตอนการสะท้อนคิด แล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากน้ันปรับปรุงแผนการ จัดการเรียนรู้ และทาวจิ ยั ปฏิบัติการในช้ันเรียนต่อไป 7. แนวทางการนาความรไู้ ปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพ่อื แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสาเร็จ จุดเด่นและจุดท่ีต้อง พฒั นาในการจัดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นนาไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนาผลการประชุมไป บนั ทึกใน Log book ของตนเอง เพ่ือเก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานตอ่ ไป

เลิกประชุมเวลา 16.05 น. ลงช่ือ.......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวณฐั ทิตา รกั ษา ) ( นายยศกร เรอื งไพศาล ) ( นางสาวพิมพฐ์ ินนั ท์ ดิลกสุนทร ) หัวหน้ากล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ช่วยผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ลงชือ่ ........................................................ผรู้ ับรอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รักษ์พงศ์สถิต ) ผู้อานวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา \"สีสุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ์\"

ภาพการปฏิบัติกิจกรรม PLC ภาพการจัดกิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกล่มุ “PLC Teaching for the New Normal” ข้นั ที่ 2 การนาสกู่ ารปฏิบัติ และ การสะท้อนผล ครง้ั ที่ 2 (After Action Review : AAR) โดยดำเนินกำรในวนั ที่ 8 กันยำยน2563 เวลำ 14.05 – 16.05 น. สถำนที่ อำคำรวิทยบูรณำกำร

แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวิทยา \"สสี ุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ\"์ ช่ือกลมุ่ “PLC Teaching for the New Normal” ครัง้ ท่ี 11 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 16 กนั ยายน 2563 เร่มิ ดาเนินการเวลา 14.05 น. เสร็จสิน้ เวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาท้งั สน้ิ 2 ช่วั โมง กจิ กรรมคร้ังนอ้ี ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรยี นร่วมกัน (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในชอ่ ง )  ข้ันท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ท่ี 2 ปฏบิ ตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ข้ันที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ีเ่ ข้ารว่ มกิจกรรม 10 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดงั นี้ ท่ี ชื่อ-สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมอื ช่อื 1. นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษ์พงศส์ ถิต ผ้อู านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชัญญานชุ รัตนวชิ ยั ผู้เชยี่ วชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หวั หน้ากลุม่ สาระฯ 4. นางสาวรังสิมา ไกรนรา ครูผู้สอนหลัก 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครรู ว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวณฐั ทิตา รักษา ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายรัฐชา รตั นวรรณ์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดิษฐเจรญิ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 10. นายวรกิตติ์ กาแพงเมือง ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม การนาสู่การปฏิบตั ิ และ การสะทอ้ นผล (การทดลองสมาชกิ 2) 2. สมาชกิ ในกลุ่มร่วมกนั จดั ทาและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูณัฐทิตา รักษา ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก1 เร่ือง การปรับแต่งวัตถุ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 การพัฒนารูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทาสื่อวิชา คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก1 เพ่อื นามาใชศ้ กึ ษาการปรบั แตง่ วตั ถุจากบทเรยี นออนไลน์ สง่ ผลให้นกั เรียนเกิดความ

เขา้ ใจในเร่ืองทจี่ ะศกึ ษางา่ ยยิง่ ขึ้นทาได้และทาเสร็จในเวลาท่ีรวดเร็ว เนื้อหาที่ใช้ในการในการจัดการเรียน การสอน ประกอบไปดว้ ย - การปรบั ขนาดวัตถุ - หมุนวตั ถุ - สรา้ งภาพสะทอ้ นวัตถุ - บิดเอียงวตั ถุ - การสร้างภาพโดยใช้การ Transform ซา้ ๆ 3. สะทอ้ นผลการใช้ส่ือนวัตกรรมในการแกป้ ญั หา สมาชกิ ในกลุม่ PLC ร่วมกนั อภิปรายพิจารณาทบทวนปญั หา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรียนร้ขู องนกั เรยี น เพ่อื ปรบั ปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นร้ขู องครูผูส้ อน 4. ผลการนาสอื่ นวตั กรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสาเร็จ ประเดน็ ทน่ี าไปสรู่ ายงานการวิจยั เรอื่ ง “การพัฒนารปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรียน การสอน โดยการสรา้ งสอ่ื การเรียนการสอนออนไลน์ รายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก1 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563” เลิกประชุมเวลา 16.05 น. ลงชอื่ .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวณฐั ทิตา รกั ษา ) ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวพมิ พ์ฐินนั ท์ ดลิ กสุนทร ) หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ช่วยผู้อานวยการกลุม่ บริหารวชิ าการ ลงชอ่ื ........................................................ผู้รับรอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศ์สถิต ) ผู้อานวยการโรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ\"์

ภาพการปฏิบตั ิกิจกรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุ่ม “PLC Teaching for the New Normal” การนาสู่การปฏิบัติ และ การสะท้อนผล คร้ังท่ี 3 การทดลองของสมาชกิ : ครูณัฐทิตา รกั ษา โดยดำเนินกำรในวนั ที่ 14 กนั ยำยน 2563 เวลำ 11.35 – 13.15 น. สถำนที่ อำคำรวทิ ยบรู ณำกำร

แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวิทยา \"สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์\" ชือ่ กลุ่ม “PLC Teaching for the New Normal” ครงั้ ท่ี 12 ภาคเรียนที่ 1/2563 วัน/เดือน/ปี : 17 กนั ยายน 2563 เร่ิมดาเนนิ การเวลา 14.05 น. เสร็จส้ินเวลา 16.05 น. รวมระยะเวลาทัง้ ส้นิ 2 ช่ัวโมง กิจกรรมคร้ังนีอ้ ยูค่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรยี นรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเคร่อื งหมาย ลงในช่อง )  ขั้นที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ัตแิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขน้ั ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู เ่ี ขา้ รว่ มกิจกรรม 10 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดงั นี้ ท่ี ช่อื -สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่ือ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รักษ์พงศ์สถิต ผ้อู านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชญั ญานชุ รตั นวิชัย ผเู้ ชี่ยวชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หัวหน้ากล่มุ สาระฯ 4. นางสาวรังสมิ า ไกรนรา ครูผูส้ อนหลกั 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครูรว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวณฐั ทิตา รกั ษา ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครรู ว่ มเรียนรู้ 8. นายรฐั ชา รัตนวรรณ์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 9. นางสาวอรสา ดิษฐเจริญ ครรู ่วมเรยี นรู้ 10. นายวรกติ ติ์ กาแพงเมือง ครูรว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม การนาสกู่ ารปฏิบตั ิ และ สังเกตุการสอน (การทดลองสมาชกิ 3) 2. สมาชกิ ในกลุ่มร่วมกนั จัดทาและปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ จากการไปสงั เกตการณก์ ารสอนของครูรฐั ชา ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการออกแบบและ ตัดต่อหนังสั้น เรื่อง การใส่Transition ให้กับวิดีโอระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5การพัฒนารูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสรา้ งสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทาส่ือวิชาการ ออกแบบและตัดต่อหนังส้ัน เพ่ือนามาใช้ศึกษาเกี่ยวกับการใส่ Transition ให้กับวิดีโอจากบทเรียน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook