ลำดับท่ี 4 : ด้านทุนการศึกษา (เช่น ให้ทุนการศึกษาแก่อาจารย์หรือนักเรียน) มีสถาบันอาชีวศึกษาระบุว่าได้รับการสนับสนุนด้านน้ี 9 แห่ง แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 8 แห่งและ สถานศึกษาเอกชน 1 แหง่ ลำดับที่ 5 : ด้านผู้เรียน (เช่น สนับสนุนให้บุคลากรในหน่วยงานมาเรียนภาษาจีน ท่ีสถานศึกษาของตนเอง) มีสถาบันอาชีวศึกษาระบุว่าได้รับการสนับสนุนด้านน้ี 7 แห่ง แบ่งเป็น สถานศกึ ษารัฐ 6 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 1 แหง่ นอกจากน้ี ยังมีสถาบันอาชีวศึกษาจำนวนระบุว่าได้รับการสนับสนุนด้านอ่ืนๆ เช่น สามารถส่งนักเรียนไปเข้าค่ายภาษาจีนช่วงปิดเทอม ได้รับงบประมาณในการจัดทำห้องเรียนขงจื่อ ช่วยส่งวิทยากรมาฝึกอบรมให้โอกาสนักเรียน ครู และผู้บริหารได้ไปศึกษาดูงาน และช่วยจัดทดสอบ ความรู้ภาษาจนี สำหรับส่ิงที่สถาบันอาชีวศึกษาได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกประเทศ มากที่สดุ 5 ลำดบั แรกคือ ลำดับที่ 1 : ด้านผู้สอน (เช่น สนับสนุนผู้สอนหรือแลกเปล่ียนผู้สอนภาษาจีน) มสี ถาบนั อาชีวศกึ ษาระบวุ า่ ไดร้ ับการสนับสนุนดา้ นนี้ 32 แห่ง แบง่ เปน็ สถานศึกษารัฐ 28 แห่ง และ สถานศึกษาเอกชน 4 แห่ง ลำดบั ท่ี 2 : ด้านสื่อการสอน (เช่น สนับสนุนสื่อท่ีใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีน ทัง้ หนังสอื หรือสือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ตา่ งๆ) มสี ถาบันอาชีวศึกษาระบุวา่ ไดร้ ับการสนับสนุนดา้ นน้ี 17 แหง่ แบง่ เป็นสถานศึกษารัฐ 15 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 2 แหง่ ลำดับที่ 3 : ด้านทุนการศึกษา (เช่น ให้ทุนการศึกษาแก่อาจารย์หรือนักเรียน) มสี ถาบันอาชีวศึกษาระบุว่าไดร้ ับการสนับสนนุ ดา้ นน้ี 14 แหง่ แบ่งเปน็ สถานศกึ ษารัฐ 12 แหง่ และ สถานศึกษาเอกชน 2 แห่ง ลำดับที่ 4 : ด้านหลักสูตร (เช่น สนับสนุนการจัดทำหลักสูตรภาษาจีน) มีสถาบัน อาชวี ศึกษาระบุว่าไดร้ ับการสนบั สนุนดา้ นนี้ 12 แห่ง ซึง่ เปน็ สถานศึกษารัฐทั้งสน้ิ ลำดับท่ี 5 : ด้านผู้เรียน (เช่น สนับสนุนให้บุคลากรในหน่วยงานมาเรียนภาษาจีน ท่ีสถานศึกษาของตนเอง) มีสถาบันอาชีวศึกษาระบุว่าได้รับการสนับสนุนด้านนี้ 5 แห่ง แบ่งเป็น สถานศึกษารัฐ 4 แห่ง และสถานศกึ ษาเอกชน 1 แหง่ นอกจากน้ี ยังมีสถาบันอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งระบุว่าได้รับการสนับสนุนให้สามารถ แลกเปลยี่ นนกั เรยี นระหว่างกนั ได้ รายงานการวจิ ยั เพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา 81
4.6.3 สรปุ เมือ่ มองในภาพรวมของด้านความร่วมมือกบั หน่วยงานอ่นื ของสถาบันอาชีวศึกษา จะ เห็นว่าสถาบันอาชีวศึกษาหลายแห่งมีความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนทั้งภายในประเทศและภายนอก ประเทศ หน่วยงานที่สำคัญเหล่านี้คือ สำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือ ฮั่นป้ัน (Hanban) สถาบันขงจ่ือ ห้องเรียนขงจ่ือ โรงเรียน สถาบันอาชีวศึกษาอื่น และมหาวิทยาลัย ท้ังน้ีสถาบันอาชีวศึกษาได้รับประโยชน์จากความร่วมมือหลายด้าน โดยเฉพาะด้านผู้สอน ด้านส่ือ การสอน ด้านทุนการศกึ ษา ด้านหลกั สตู ร และด้านผู้เรียน นอกจากน้ี ยงั มีการสนับสนนุ เรือ่ งการจดั คา่ ยภาษาจีน การแลกเปล่ยี นนกั เรยี น การฝึกอบรบ และการศกึ ษาดูงาน เปน็ ต้น 82 รายงานการวิจยั เพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา
บทท่ี 5 ปญั หาและข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร ์ ในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีนระดบั อาชวี ศึกษา ในบทนี้ ผู้วิจัยรวบรวมปัญหาในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับ อาชีวศึกษาจากข้อมูลที่ตอบในแบบสอบถาม และจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้รับผิดชอบ การเรียนการสอนภาษาจีนของสถาบันอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) จากน้ันนำมาวิเคราะห์และสรุปข้อเสนอ เชิงนโยบายและยุทธศาสตร์เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ระดับอาชีวศึกษาแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป เนื้อหาในบทน้ีแบ่งเป็น 6 ส่วน คือ ด้านการบริหาร จัดการ ด้านหลักสูตร ด้านสื่อการเรียนการสอน ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน และด้านความร่วมมือกับ หนว่ ยงานอนื่ สำหรับปัญหาที่สถานศึกษาตอบในแบบสอบถาม ผู้วิจัยแบ่งระดับความรุนแรงเป็น 5 ระดับ เรยี งจากมากไปน้อย ดงั น้ี ระดบั 5 หมายถึง แสดงระดับมากท่ีสุด ระดบั 4 หมายถึง แสดงระดบั มาก ระดบั 3 หมายถึง แสดงระดับปานกลาง ระดับ 2 หมายถงึ แสดงระดับนอ้ ย และระดบั 1 หมายถึง แสดงระดับน้อยท่ีสุด ผู้วิจัยได้นำข้อมูลท่ีได้มาคำนวณหาค่าเฉล่ียและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากน้ัน เรียงลำดบั ตามระดบั ความรุนแรงของปญั หา ตามรายละเอยี ด ดังน้ ี รายงานการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา 83
5.1 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ 5.1.1 ปัญหา จากการสำรวจข้อมูลในแบบสอบถาม พบว่า ปัญหาและอุปสรรคด้านการบริหาร จดั การการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอาชีวศึกษามีดังนี้ ตาราง 5.1 : ปญั หาด้านการบรหิ ารจดั การ ลำดับ ปญั หา คา่ เฉลย่ี คา่ เบยี่ งเบน มาตรฐาน 1 สถานศกึ ษาขาดระบบในการบริหารจัดการการเรยี นการสอน 1.04 ภาษาจนี ทีด่ ี 2.8 1.11 ระบบการประเมนิ การบรหิ ารจดั การการเรยี นการสอนภาษาจีน ยงั ขาดประสิทธิภาพ 2 ผ้บู รหิ ารและผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสูตรภาษาจนี ไมใ่ ชผ่ ทู้ รงคณุ วุฒ ิ 2.41 1.1 ในการพจิ ารณาคัดเลอื กผูส้ อนภาษาจีน 3 ผู้บรหิ ารและผ้รู ับผดิ ชอบหลกั สูตรภาษาจีนไมใ่ ห้ความสำคญั 2.37 1.07 กบั การเรียนการสอนภาษาจีน นอกจากนี้ ยังมสี ถานศกึ ษาหลายแหง่ ระบุปัญหาอย่างเปน็ รูปธรรม สรปุ ได้ ดงั นี้ - ผู้บริหารให้ความสำคัญเฉพาะระดับนโยบาย แต่ไม่ได้กำหนดการบริหารจัดการใน ทางปฏบิ ตั ิทชี่ ัดเจน - ผู้บริหารให้ความสำคัญเฉพาะผลงานท่ีแสดงออกมาภายนอก เช่น การแข่งขัน สุนทรพจน์ภาษาจีน การสร้างงานวจิ ยั และผลการประเมนิ โครงการต่างๆ แตไ่ ม่ไดส้ นบั สนนุ การเรยี น การสอนภาษาจีนอยา่ งแท้จริง - สถาบนั อาชวี ศกึ ษายงั ไมม่ กี ารกำหนดแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี รว่ มกัน 5.1.2 ข้อเสนอเชงิ นโยบายและยทุ ธศาสตร ์ ข้อมูลในบทที่ 4 ระบุว่า สถานศึกษาให้ความสำคัญกับการวางแผนมากที่สุดแต่กลับ นำผลประเมนิ มาปรบั ปรงุ ในปตี อ่ ไปนอ้ ยลง จงึ อาจเปน็ สาเหตใุ หไ้ มส่ ามารถพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอน ได้ตามที่ต้ังวัตถุประสงค์ไว้แต่แรก และอาจไม่สามารถแก้ปัญหาท่ีอาจเกิดขึ้นอีกอย่างมีประสิทธิภาพ 84 รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา
เท่าที่ควร แต่จากข้อมูลเรื่องปัญหาด้านการบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีนข้างต้นจะเห็นว่า ในความเป็นจริงแล้วสถานศึกษายังขาดระบบในการบริหารจัดการท่ีดีอยู่ ดังนั้น ข้อมูลจึงขัดแย้ง กันเอง ผู้วิจัยเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ว่า ผู้บริหารควรสร้างระบบการบริหารจัดการ การเรียนการสอนภาษาจีนท่ีมีประสิทธิภาพ โดยจัดประชุมเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมกันสร้าง แผนการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนอื่ ง ตัง้ แตก่ ารวางแผน ปฏบิ ัติตามแผน ตรวจสอบการปฏิบตั ิ ตามแผน ติดตามและปรบั ปรุงแกไ้ ข เมือ่ ทุกฝา่ ยเหน็ ความมงุ่ ม่นั ความจรงิ จงั และความเอาใจใส่ของ ผบู้ รหิ ารแล้ว ก็ยอ่ มปฏบิ ัตติ ามนโยบายอยา่ งเครง่ ครัดตามไปด้วย 5.2 ดา้ นหลักสูตร 5.2.1 ปญั หา จากการสำรวจข้อมูลในแบบสอบถาม พบว่า ปัญหาและอุปสรรคด้านหลักสูตร ภาษาจีนระดบั อาชวี ศกึ ษามี ดงั น้ ี ตาราง 5.2 : ปัญหาด้านหลักสตู ร ลำดับ ปัญหา ค่าเฉล่ยี คา่ เบี่ยงเบน มาตรฐาน 1 หลกั สูตรการเรยี นการสอนภาษาจนี ยังไมเ่ ชอื่ มโยงกับหลกั สูตร ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น (สำหรับระดับ ปวช.) และระดับ ปวช. 2.93 1.14 (สำหรบั ระดับ ปวส.) 2 ผู้รับผิดชอบหลกั สตู รขาดความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำ 2.84 1.12 หลกั สตู รภาษาจีน 3 สถานศกึ ษาขาดการปรบั ปรงุ หลักสตู รและรายวิชาอยา่ งต่อเน่ือง 2.66 1.05 สถานศกึ ษาไมม่ ีการจดั ทำคมู่ ือการใช้หลักสตู ร 1.21 4 หลักสตู รขาดการพัฒนาทกั ษะพนื้ ฐานด้านการฟงั พูด อ่าน 2.6 1.17 และเขยี น 5 หลักสูตรขาดความทนั สมยั ทสี่ อดคลอ้ งกับสถานการณ์ปัจจุบัน 2.51 1.19 6 สถานศกึ ษาไม่มีแนวทางการจดั กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร 2.49 1.16 7 หลกั สตู รขาดความเหมาะสมสำหรบั ผเู้ รยี น 2.48 1.09 8 สถานศกึ ษาไม่มกี ารกำหนดเป้าหมายการพัฒนาผู้เรยี น 2.44 1.2 แต่ละระดับชั้นให้เหมาะกบั วัยและศกั ยภาพ รายงานการวจิ ัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา 85
นอกจากน้ี ยังมสี ถานศกึ ษาหลายแห่งระบุปญั หาอย่างเป็นรปู ธรรม สรปุ ได้ ดังน ี้ - จำนวนชั่วโมงเรียน (คาบเรียน) น้อยเกินไป 2 ชั่วโมง (คาบเรียน) ต่อสัปดาห์ (ยกเว้นสาขาวิชาต่างประเทศระดับ ปวช. และสาขาวิชาภาษาต่างประเทศธุรกิจระดับ ปวส. เรียน 4 ชั่วโมง) ทำใหผ้ ้เู รียนเรียนไดไ้ มเ่ ต็มท ่ี - จำนวนรายวิชาภาษาจีนน้อยเกินไป ทั้งระดับ ปวช. และ ปวส. มีเพียง 2 วิชา (ยกเวน้ สาขาวชิ าต่างประเทศระดับ ปวช. และสาขาวิชาภาษาต่างประเทศธุรกิจระดับ ปวส.มี 4 วิชา) ทำให้ผู้เรยี นมีความรู้ในระดับเบ้ืองตน้ เท่านน้ั ไมส่ ามารถต่อยอดจนถึงระดับกลางได้ 5.2.2 ขอ้ เสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ จากข้อมูลข้างต้น ผู้วิจัยเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ว่า เพื่อให้ผู้เรียน สามารถเรียนภาษาจีนได้อย่างต่อเนื่องในระดับท่ีสูงข้ึน ควรจัดให้หลักสูตรภาษาจีนระดับ ปวช. มีความตอ่ เนอื่ งกบั ระดับมัธยมตน้ และหลกั สูตรภาษาจนี ระดับ ปวส. มีความตอ่ เน่อื งกับระดบั ปวช. ควรเพิ่มจำนวนชัว่ โมงเรียน (คาบเรียน) เป็น 3-4 ชว่ั โมง (คาบเรยี น) ตอ่ สัปดาห์ โดยแยกเรียนครง้ั ละ 1 ชั่วโมง (คาบเรียน) ช่ัวโมงเรียนที่เพิ่มขึ้นไม่จำเป็นต้องให้ครูสอนอย่างเดียว แต่อาจให้ผู้เรียนมาฝึก ท่องบทสนทนาเป็นคู่หรือเป็นกลุ่ม หรือจัดกิจกรรมเสริมก็ได้ ผู้เรียนจะได้มีโอกาสทบทวนและฝึกฝน บอ่ ยข้นึ ควรเพิ่มรายวชิ าภาษาจีนในระดับ ปวช. เปน็ 6 วชิ า (ภาคการศึกษาละ 1 วชิ า) และระดบั ปวส. เป็น 4 วิชา (ภาคการศึกษาละ 1 วิชา) ทั้งน้ี สามารถกำหนดให้เป็นวิชาเลือกเสรีไว้ก่อน เน่ืองจากต้องดูความพร้อมของสถานศึกษาแต่ละแห่งด้วย หากสถานศึกษาแห่งใดมีความพร้อม กส็ ามารถเปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนเลือกเรยี นรายวชิ าภาษาจนี จำนวนมากข้ึนตามลำดบั หลกั สูตรภาษาจีนระดับอาชวี ศึกษาปัจจุบนั กำหนดจุดประสงค์รายวชิ าไวอ้ ยา่ งชดั เจน ว่า เพื่อให้สามารถนำไปส่ือสารในสถานการณ์ชีวิตประจำวันเป็นหลัก มีเน้ือหาครอบคลุมทุกด้าน แต่ ที่สถานศึกษาระบุมาว่าหลักสูตรขาดการพัฒนาทักษะพ้ืนฐานด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน ผู้วิจัย เช่ือว่าคงมาจากการนำไปปฏิบัติท่ีไม่ได้เน้นฝึกทักษะการสื่อสารของผู้เรียนมากพอ นอกจากนี้ หลักสูตรควรได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในโลก ปัจจุบันอนั จะเปน็ ประโยชนโ์ ดยตรงต่อตวั ผเู้ รียนเอง 86 รายงานการวจิ ยั เพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา
5.3 ดา้ นสื่อการเรียนการสอน 5.3.1 ปญั หา จากการสำรวจข้อมูลในแบบสอบถาม พบว่า ปัญหาและอุปสรรคด้านสื่อการเรียน การสอนภาษาจนี ระดับอาชีวศึกษามี ดังน้ี ตาราง 5.3 : ปญั หาดา้ นสอื่ การเรียนการสอน ลำดับ ปญั หา คา่ เฉลี่ย คา่ เบี่ยงเบน มาตรฐาน 1 ขาดแคลนส่ือการสอนท่ที ันสมัยและหลากหลาย 3.27 1.15 2 ขาดแคลนสื่อการสอนอิเล็กทรอนกิ สต์ ่างๆ 3.22 1.17 3 ขาดแคลนสอื่ และอปุ กรณก์ ารสอนทเี่ หมาะสมกบั วชิ าในหลกั สตู ร 3.16 1.2 4 ไม่มีงบประมาณเพยี งพอให้ครจู ดั ทำสือ่ การสอน 3.13 1.26 5 ไมม่ ีสือ่ การสอนเพียงพอในการจดั การเรียนการสอน 3.09 1.15 ห้องปฏิบตั กิ ารสอนภาษาจนี มไี ม่เพียงพอ 1.41 6 ไมส่ ามารถพฒั นาส่อื การสอนทีม่ ีคณุ ภาพไดเ้ อง 2.87 1.18 7 หนงั สอื เรียนในแต่ละระดบั ช้นั ไมต่ อ่ เนอ่ื งกันและไมเ่ ปน็ ระบบ 2.71 1.23 8 ไม่นำส่อื การสอนมาใช้ในการเรยี นการสอน 2.64 1.21 9 หนงั สือเรยี นท่ใี ช้ไมเ่ หมาะสมกับผ้เู รียน 2.46 1.18 5.3.2 ขอ้ เสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร ์ จากข้อมูลข้างต้น ผู้วิจัยเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ว่า ในด้านส่ือ การเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรสนับสนุนและจัดหาส่ือการเรียนการสอน อเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ หส้ ถานศกึ ษาเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาในระยะสนั้ ไปกอ่ น จากนนั้ ควรสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณ และจัดอบรมให้ครูภาษาจีนสามารถจัดทำส่ือการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ได้ด้วยตนเอง เน่ืองจาก ครูเหล่านั้นเป็นผู้รู้สภาพการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาของตนเองดีที่สุด จึงน่าจะทำส่ือ การเรยี นการสอนทส่ี ามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรยี นได้ดีทส่ี ดุ เช่นกัน ในดา้ นหนงั สอื เรยี นภาษาจนี ปจั จบุ นั สถาบนั อาชวี ศกึ ษาเลอื กใชห้ นงั สอื เรยี นภาษาจนี อย่างหลากหลาย มีท้ังหนังสือของประเทศจีนและหนังสือท่ีเรียบเรียงโดยอาจารย์ชาวไทยเอง ท้ังนี้ เน่ืองจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ไม่ได้ประกาศอย่างเป็นทางการว่ากำหนด รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 87
ให้สถานศึกษาทุกแห่งใช้หนังสือเรียนภาษาจีนเล่มใดโดยเฉพาะ แต่สำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษามีการแนะนำหนังสือเรียนผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน หนังสือจำนวนนี้ไม่เพียงแต่ เรียบเรียงขึ้นตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชาของหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เท่านั้น แต่ยังได้ผ่านการตรวจประเมินคุณภาพจากสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 คร้ังท่ี 1 ในหมวดวิชาเลือกเสรี กลุ่มวิชาภาษา ต่างประเทศ และประเภทวิชาทักษะชีวิต สาขาวิชาภาษาจีนอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีหนังสืออีก จำนวนหน่ึงที่เรียบเรียบขึ้นตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชาของ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยเฉพาะ เพียงแต่ไม่ได้ผ่านการตรวจประเมินคุณภาพจาก สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ดังน้ัน ผู้วิจัยเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ว่า หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควร กำหนดว่าหากสถานศึกษาใดยังไม่มีการเรียบเรียงหนังสือเรียนภาษาจีนข้ึนมาใช้เอง ก็ให้ใช้หนังสือ เรียนภาษาจีนชุดใดชุดหน่ึงท่ีผ่านการประเมินจากผู้เช่ียวชาญแล้วว่ามีคุณภาพสูงสุด และควรจัดทำ คู่มือการสอนสำหรับครูพร้อมด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกันไปด้วย ท้ังน้ี หากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกำหนดให้ใช้หนังสือเรียนภาษาจีนชุดน้ีในระดับ ปวช. เน้ือหาของหนังสือก็ควรมีความ ต่อเนื่องกับหนังสือของระดับมัธยมต้น และหากหนังสือเรียนภาษาจีนชุดนี้ใช้ในระดับ ปวส. เน้ือหา ก็ควรมคี วามต่อเนอื่ งกับหนังสือของระดบั ปวช. เช่นกนั นอกจากนี้ ควรมีการสำรวจความเหน็ ในดา้ น การใช้หนังสือเรียนภาษาจนี เปน็ ระยะ เพ่ือจะไดด้ ำเนินการปรับปรุงใหท้ นั สมยั ต่อไป ในด้านห้องปฏิบัติการภาษาจีนและห้องเรียนภาษาจีน หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควร สนับสนุนงบประมาณในการจัดสร้างห้องปฏิบัติการภาษาจีนและห้องเรียนภาษาจีนหรืออำนวย อุปกรณ์เคร่อื งมือต่างๆ ใหส้ ถานศึกษาท่ีมคี วามพรอ้ ม จากนน้ั ค่อยขยายไปยงั สถานศกึ ษาแหง่ อ่นื เพื่อ สร้างบรรยากาศการเรียนรภู้ าษาจนี แก่ผเู้ รียนใหม้ ากที่สุด 88 รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศกึ ษา
5.4 ดา้ นผู้สอน 5.4.1 ปญั หา จากการสำรวจข้อมลู ในแบบสอบถาม พบว่า ปญั หาและอุปสรรคดา้ นผูส้ อนภาษาจนี ระดับอาชีวศึกษามี ดงั น ี้ ตาราง 5.4 : ปญั หาดา้ นผ้สู อน ลำดบั ปญั หา คา่ เฉลี่ย คา่ เบ่ียงเบน มาตรฐาน 1 ผสู้ อนชาวตา่ งประเทศไมส่ ามารถช่วยงานด้านอืน่ ได้ 2.98 1.34 ภาระสว่ นใหญต่ กอยูก่ ับอาจารย์ชาวไทย 2 การเปลยี่ นครูอาสาสมัครชาวจีนบอ่ ยคร้งั ทำใหไ้ ม่สามารถ 2.94 1.31 พฒั นาการเรียนการสอนภาษาจีนได้อยา่ งตอ่ เน่อื ง 3 ผูส้ อนชาวต่างประเทศไม่สามารถควบคุมช้ันเรียนได ้ 2.67 1.31 4 สถานศึกษาขาดระบบการวดั ระดับความร้ผู ูส้ อนภาษาจนี 2.58 1.28 5 สถานศึกษาขาดการจัดหลักสูตรอบรมเทคนคิ การสอนภาษาจีน 2.55 1.28 ใหแ้ ก่ครสู อนภาษาจีน 6 สถานศึกษาพึ่งพาครูอาสาสมัครชาวจนี มากเกนิ ไป โดยไม่เนน้ 2.52 1.32 การพฒั นาผสู้ อนสญั ชาติไทย 7 ผสู้ อนชาวต่างประเทศไม่สามารถถา่ ยทอดความร้ใู ห้ผ้เู รยี นไดด้ ี 2.45 1.26 เทา่ ทค่ี วร 8 จำนวนผ้สู อนไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน 2.41 1.28 9 ผสู้ อนขาดประสบการณ์ ความชำนาญ ความรคู้ วามสามารถ 2.24 1.21 ทางวิชาการในการสอนภาษาจีน 10 ผูส้ อนมีภาระงานอยา่ งอนื่ มาก ทำให้ไมส่ ามารถท่มุ เท 2.19 1.27 กับการสอนภาษาจนี ไดเ้ ทา่ ท่ีควร 11 สถานศึกษาไม่สนบั สนนุ ใหค้ รภู าษาจีนเขา้ อบรมหรอื ศึกษาตอ่ 2.07 1.18 เพอ่ื เพ่ิมพนู ความรู้ดา้ นการสอนภาษาจีน 12 ผ้สู อนลาออกบอ่ ย ทำใหก้ ารดำเนนิ งานขาดความต่อเนือ่ ง 1.69 1.07 รายงานการวจิ ยั เพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 89
นอกจากน้ี ผ้วู ิจัย พบวา่ สถานศกึ ษาระบปุ ัญหาเร่อื งผู้สอนอยา่ งเป็นรปู ธรรมจำนวน มากที่สุด ปัญหาลำดับแรกที่กล่าวถึงมากที่สุดคือเรื่องครูอาสาสมัครจีน กล่าวคือครูอาสาสมัครจีน มาทำงานเพียง 1 ปี แล้วกลับประเทศจีน ทำให้ไม่มีการพัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ือง ครูอาสาสมัครจีนไม่มีประสบการณ์การสอน คุมช้ันเรียนไม่ค่อยได้ ไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ เป็นต้น ผูว้ จิ ยั เห็นวา่ ปญั หานเ้ี กิดข้นึ จากสถานศึกษาพ่ึงพาครอู าสาสมัครจีนมากเกนิ ไป และหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องไม่สร้างครูไทยที่มีคุณภาพ ข้อมูลสถิติจำนวนครูอาสาสมัครจีนที่สำนักงานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) รบั มาสอนในสถาบนั อาชวี ศกึ ษารฐั เผยใหเ้ หน็ วา่ สถานศกึ ษารบั ครอู าสาสมคั รจนี เพม่ิ ขน้ึ เกือบทุกปอี ย่างชดั เจน ตามรายละเอยี ดดังตารางต่อไปน้ ี ตาราง 5.5 : จำนวนครูอาสาสมัครท่ีสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) รับมาสอน ในสถาบนั อาชวี ศึกษารัฐ ปี จำนวนครอู าสาสมคั รจีน (คน) จำนวนสถาบนั อาชวี ศกึ ษารัฐ (แห่ง) 2549 3 3 2550 12 12 2551 24 18 2552 40 35 2553 65 61 2554 64 57 2555 90 78 2556 115 101 2557 127 101 2558 114 101 5.4.2 ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายและยุทธศาสตร ์ จากข้อมูลข้างต้น ผู้วิจัยเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ว่า สถานศึกษา ควรลดการพึ่งพาครูอาสาสมัครจีนและเร่งพัฒนาศักยภาพของครูไทยและครูจีนประจำ ในส่วนของ การลดการพึ่งพาครูอาสาสมัครจีน หากในระยะใกล้สถานศึกษาใดยังมีความจำเป็นต้องพึ่งพาอย่ ู ก็ควรจดั ใหม้ รี ะบบครพู เ่ี ลีย้ ง กลา่ วคอื กำหนดให้มคี รไู ทยหรอื ครูจนี ท่ีเปน็ ครอู ัตราประจำเป็นผู้แนะนำ ครูอาสาสมัครจีนในด้านการเรียนการสอนภาษาจีน ช่วงแรกอาจให้ครูพี่เลี้ยงกับครูอาสาสมัครจีน เข้าสอนในช้ันเรียนพร้อมกัน สลับกันสอน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน หลังจากน้ัน เมื่อ 90 รายงานการวิจัยเพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศกึ ษา
ครอู าสาสมัครจีนเริ่มคนุ้ เคยกับช้นั เรียนแลว้ ครพู ่เี ลี้ยงอาจไมจ่ ำเป็นต้องเขา้ สอนด้วยกัน แต่ควรเขา้ ไป สงั เกตการณส์ อนอยา่ งสมำ่ เสมอเพอื่ ใหค้ ำแนะนำไปโดยตลอด เปน็ ตน้ เมอ่ื สถานศกึ ษามคี วามพรอ้ มแลว้ ก็สามารถลดการพ่ึงพาครูอาสาสมคั รจนี อย่างคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป ในส่วนของการพัฒนาศักยภาพครูไทยและครูจีนประจำ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและ สถานศึกษาควรสนับสนุนให้ครูไทยและครูจีนประจำได้เข้าร่วมการประชุม อบรม และสัมมนา ด้านการเรียนการสอนภาษาจีน ให้ทุนการศึกษาเพ่ือศึกษาต่อแบบระยะสั้นและระยะยาว ท้ังในและ ตา่ งประเทศ สง่ เสรมิ ให้ผลติ งานวชิ าการเพ่ือสรา้ งองคค์ วามร้ดู ้านภาษาจีน และจดั ประชุมแลกเปล่ยี น ความรู้ในหมู่ครูภาษาจีนระดับอาชีวศึกษาระดับจังหวัด ภูมิภาค และประเทศ เพื่อพัฒนาครูไทยและ ครูจีนประจำเหล่าน้ีให้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอาชีวศึกษา อยา่ งยั่งยนื ต่อไป 5.5 ดา้ นผู้เรียน 5.5.1 ปัญหา จากการสำรวจขอ้ มลู ในแบบสอบถาม พบวา่ ปญั หาและอปุ สรรคดา้ นผเู้ รยี นภาษาจนี ระดบั อาชีวศกึ ษามี ดงั น ้ี ตาราง 5.6 : ปญั หาดา้ นผู้เรยี น ลำดบั ปัญห า ค่าเฉลีย่ คา่ เบ่ียงเบน มาตรฐาน 1 ผ้เู รยี นขาดสภาพแวดล้อมทางภาษาจีน 3.76 1.14 2 ผเู้ รียนขาดทกั ษะในการเรยี นร้แู บบการพง่ึ พาตนเอง 3.55 1.07 3 ผเู้ รยี นไมเ่ หน็ ความสำคญั ในการเรยี นภาษาจนี ทำใหไ้ มต่ งั้ ใจเรยี น 3.4 1.18 4 ผเู้ รียนมปี ญั หาในการค้นคว้าขอ้ มลู เก่ียวกบั วชิ าท่เี รยี น 3.25 1.18 จากแหลง่ เรียนรตู้ า่ งๆ ด้วยตนเอง 5 จำนวนผู้เรยี นตอ่ ห้องมากเกนิ ไป ทำใหผ้ ู้สอนดูแลไดไ้ ม่ทั่วถงึ 2.85 1.27 รายงานการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา 91
5.5.2 ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายและยุทธศาสตร ์ จุดประสงค์สำคัญที่สุดของการศึกษาคือการทำให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไป ประกอบวิชาชีพได้จริงและยึดคำอบรมส่ังสอนเป็นแนวทางในการดำรงชีพอย่างมีศีลธรรม อันจะ ก่อเกดิ ประโยชนแ์ กต่ นเอง สงั คม และประเทศ ดังนนั้ ในการจดั การเรียนการสอนใดๆ กต็ าม ผูเ้ รียน ยอ่ มถอื เปน็ หวั ใจสำคญั ทสี่ ดุ กลา่ วอกี นยั หนง่ึ กค็ อื ไมว่ า่ ปจั จยั ภายนอกอยา่ งการบรหิ ารจดั การ หลกั สตู ร หรอื ผู้สอนจะสมบูรณพ์ รอ้ ม อยา่ งไรกต็ าม แต่หากผูเ้ รยี นไมใ่ ห้ความรว่ มมอื ด้วยแล้ว กไ็ ม่มีทางประสบ ความสำเร็จได้ จากข้อมูลขา้ งตน้ ผู้วจิ ัยเสนอขอ้ เสนอเชงิ นโยบายและยุทธศาสตรว์ า่ ผู้บริหารและครู จำเป็นต้องเร่งสร้างสภาพแวดล้อมในการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาให้มากข้ึน การจัด กิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีเน้นการฝึกทักษะและปฏิบัติจริงสามารถช่วยสร้างสภาพแวดล้อมนี้ได้ เช่น การแข่งขันร้องเพลงจีน เทศกาลภาพยนตร์จีน ชมรมภาษาจีน เสียงตามสาย บอร์ดนิทรรศการ แนะนำประเทศจีน กิจกรรมวัฒนธรรมในวันสำคัญต่างๆ ของประเทศจีน ค่ายภาษาจีนระหว่าง สถาบัน นอกจากนี้ ทกุ ฝา่ ยต้องกระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีแรงจงู ใจและเห็นความสำคัญของการเรยี นภาษาจนี สิ่งที่ใกล้ตัวที่สุดคือการศึกษาต่อและการทำงาน สถานศึกษาอาจเชิญศิษย์เก่าหรือบุคคลที่มีชื่อเสียง ทก่ี ำลงั ศกึ ษาอยใู่ นระดบั ทสี่ งู ขน้ึ หรอื ทำงานเกย่ี วขอ้ งกบั ภาษาจนี หรอื นกั ธรุ กจิ ทที่ ำธรุ กจิ กบั ประเทศจนี ทปี่ ระสบความสำเรจ็ และมีชื่อเสียง มาแบง่ ปนั ประสบการณแ์ กผ่ เู้ รยี น สถานศึกษาอาจจดั นิทรรศการ จัดหางาน (Job Fair) เชิญผู้ประกอบการต่างๆ ที่ต้องการหาผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีวศึกษาท่ีรู้ ภาษาจนี เขา้ มามีบทบาทสรา้ งแรงจงู ใจผู้เรียน เป็นตน้ 5.6 ดา้ นความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานอื่น 5.6.1 ปัญหา จากการสำรวจข้อมูลในแบบสอบถาม พบว่า ปัญหาและอุปสรรคด้านความร่วมมือ กับหน่วยงานอ่ืนในด้านภาษาจีนระดับอาชวี ศึกษามี ดังน้ี 92 รายงานการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชวี ศกึ ษา
ตาราง 5.7 : ปญั หาด้านความร่วมมือกบั หนว่ ยงานอื่น ลำดับ ปญั ห า ค่าเฉลยี่ ค่าเบี่ยงเบน 1 สถานศึกษาขาดความรว่ มมอื กับหน่วยงานอื่น มาตรฐาน กระทรวงศึกษาธิการของประเทศไทยขาดความร่วมมือ 2.8 5 1.27 กบั กระทรวงศกึ ษาของประเทศจนี ในการพฒั นาการเรยี นการสอน ภาษาจีนทเี่ ป็นรูปธรรม 1.24 2 สถานศกึ ษาได้รบั การสนับสนนุ จากหน่วยงานภายนอก 2.8 แต่ไม่ตอ่ เน่อื ง 1.06 3 สถานศึกษาขาดหน่วยงานกลางในการประสานงานเพ่อื สร้าง 2.79 1.18 ความร่วมมอื กับหนว่ ยงานภายนอก 1.16 4 การสนบั สนุนทไ่ี ด้รับจากหนว่ ยงานภายนอกไมต่ รงกบั 2.76 ความตอ้ งการที่เปน็ จริง 5.6.2 ข้อเสนอเชงิ นโยบายและยทุ ธศาสตร ์ ความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอน่ื ถอื วา่ มคี วามสำคญั ตอ่ การพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน ภาษาจีนระดับอาชีวศึกษาเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากหน่วยงานท่ีร่วมมือด้วยสามารถช่วยเสริมจุดที่ยัง ทำไดไ้ มส่ มบรู ณข์ องสถานศกึ ษาได้ จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ ผวู้ จิ ยั เสนอขอ้ เสนอเชงิ นโยบายและยทุ ธศาสตรว์ า่ หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งควรสรา้ งความรว่ มมอื กบั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารของประเทศจนี โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ สำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือฮ่ันปั้น (Hanban) ให้มากข้ึน เน้น การสนบั สนุนด้านสือ่ การเรยี นการสอนภาษาจีน หลักสูตร ผเู้ ชี่ยวชาญ และทุนการศกึ ษา เพ่อื พฒั นา สื่อการเรียนการสอน หลักสูตร และศักยภาพของครูไทยและครูจีนประจำ ในขณะเดียวกัน ก็ควร แนะนำช่องทางหรือเป็นตัวกลางในการสร้างความร่วมมือกับสถาบันอาชีวศึกษา และมหาวิทยาลัย ของประเทศจนี ใหส้ ถานศกึ ษาไทยดว้ ย เพอื่ จะไดส้ รา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งสถาบนั ดว้ ยกนั เองในรปู แบบ การส่งนกั เรยี นไปฝึกงาน หรอื การแลกเปล่ียนนักเรียนและครู เปน็ ตน้ ทั้งนี้ ความรว่ มมือกับหน่วยงาน ภายในประเทศก็สำคัญไม่น้อยไปกว่าหน่วยงานภายนอกประเทศ กล่าวคือสถานศึกษาควรสร้าง ความร่วมมือกับสถาบันอาชีวศึกษาและมหาวิทยาลัยอ่ืนในจังหวัดหรือภูมิภาคเดียวกัน เพ่ือส่งเสริม การเรยี นการสอนภาษาจีนซ่งึ กันและกัน นอกจากน้ี ยังควรทำความรว่ มมือกบั ผู้ประกอบการ สมาคม หรือองค์กรเอกชนอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับภาษาจีนในชุมชน เพื่อสร้างความเข้มแข็งและเพ่ิมโอกาส การทำงานของผ้เู รยี นตอ่ ไป รายงานการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศกึ ษา 93
บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2557. ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง นโยบายและแนวปฏบิ ัตกิ ารเรียน การสอนภาษาจีน ระดับอาชีวศึกษา. เอกสารแนบหนังสือจากสำนักมาตรฐาน การอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถงึ ผอู้ ำนวยการศนู ยจ์ นี ศกึ ษา สถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ท่ี ศธ 0606/228 วันท่ี 16 เมษายน 2558. จรัสศรี จิรภาส และคณะ. 2551. การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ฉบับปรับปรงุ ปพี ุทธศกั ราช 2544. สมทุ รปราการ: มหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลมิ พระเกียรต.ิ ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. 2550. “พัฒนาการของการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย”. วารสารอักษรศาสตร์ ปที ี่ 36 ฉบบั ที่ 2, หนา้ 64-82. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ปราณี กุลละวณิชย์ และคณะ. 2550. ข้อมูลพื้นฐานการจัดการเรียนการสอนและความต้องการ ภาษาตา่ งประเทศในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. เมธาวี ยุทธพงษ์ธาดา. 2550. นโยบายการสอนภาษาต่างประเทศของไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึง ปัจจบุ ัน. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2557. หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพพุทธศักราช 2556 (เพ่ิมเติมพ.ศ.2557 และเพิ่มเติมพ.ศ.2558). เว็บไซต์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา http://bsq2.vec.go.th/course/2556/ course56new.html. สืบคน้ วันที่ 24 มนี าคม 2559. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2557. หลักสูตรประกาศนียบัตร วชิ าชพี ช้นั สงู พทุ ธศักราช 2557. เวบ็ ไซตส์ ำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา http:// bsq2.vec.go.th/course/ปวส/ปวส57/course57.html. สบื คน้ วันที่ 24 มนี าคม 2559. ศุภชัย แจ้งใจ. 2553. รายงานวิจัยปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเรียนภาษาจีนของผู้เรียนสาขาวิเทศธุรกิจ จีนและสาขาจีนศึกษา คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต. ภเู กต็ : มหาวทิ ยาลัยสงขลา นครนิ ทร์. ศูนย์จีนศกึ ษา สถาบันเอเชียศกึ ษา จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. 2551. รายงานวจิ ัยการเรียนการสอน ภาษาจนี ในประเทศไทย: การศกึ ษานอกระบบ. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ศูนย์จนี ศึกษา สถาบนั เอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . 2551. รายงานวจิ ัยการเรียนการสอน ภาษาจีนในประเทศไทย: ระดับประถม-มัธยมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. 94 รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา
ศนู ย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศกึ ษา จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. 2551. รายงานวิจยั การเรียนการสอน ภาษาจนี ในประเทศไทย: ระดบั อาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ศนู ยจ์ นี ศกึ ษา สถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. 2551. รายงานวจิ ยั การเรียนการสอน ภาษาจนี ในประเทศไทย: ระดับอดุ มศกึ ษา. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. 帕恰妮•旦日勇. 2007.《泰国的华文教育沿革——中泰合作的新里程碑》. 中 泰 关 系 三 十 年 : 回 顾 与 展 望 , 第 178-190页 . 香港社会科学出版社有限公司. 张美君.2012.《泰国华文教育与汉语教学曲折发展的原因分析》. 北京大学博士研究生学位论文. รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา 95
บรรณานกุ รมรปู บทที่ 4 รปู 4.1 : หนงั สอื สมั ผสั ภาษาจนี ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทบ่ี รษิ ทั นานมี จำกดั วนั ที่ 1 เมษายน 2559 รปู 4.2 : หนงั สอื ภาษาจนี กลาง ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทวี่ ทิ ยาลยั นานาชาตปิ รดี ี พนมยงค์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ที่ 4 เมษายน 2559 รปู 4.3 : ตำราภาษาจนี ระดบั อาชวี ศกึ ษาชนั้ ตน้ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทศี่ นู ยจ์ นี ศกึ ษา สถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั วนั ท่ี 8 มนี าคม 2559 รปู 4.4 : ตำราภาษาจนี ระดบั อาชวี ศกึ ษาชนั้ สงู ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทศ่ี นู ยจ์ นี ศกึ ษา สถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั วนั ท่ี 8 มนี าคม 2559 รปู 4.5 : หนงั สอื ภาษาจนี หรรษา ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทบี่ รษิ ทั นานมี จำกดั วนั ท่ี 1 เมษายน 2559 รปู 4.6 : หนงั สอื แบบเรยี นภาษาจนี ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทว่ี ทิ ยาลยั นานาชาตปิ รดี ี พนมยงค์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ที่ 27 มนี าคม 2559 รปู 4.7 : หนงั สอื ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร (สรุ ชยั ปทั มผดงุ ศกั ด)์ิ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทคี่ ณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วนั ท่ี 11 มกราคม 2559 รปู 4.8 : หนงั สอื ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร (หยงั ซฟี าง หยงั ลเ่ี จวยี น ประพลสร แซโ่ งว้ และหวงั เหวนิ ) ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทวี่ ทิ ยาลยั นานาชาตปิ รดี ี พนมยงค์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ที่ 20 เมษายน 2559 รปู 4.9 : หนงั สอื ภาษาจนี ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทคี่ ณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วนั ที่ 11 มกราคม 2559 รปู 4.10 : หนงั สอื ภาษาจนี เพอ่ื การสอ่ื สาร (ธญั ชนก เลง่ และณชิ มน จนั รงุ่ ฟา้ ) ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทวี่ ทิ ยาลยั นานาชาตปิ รดี ี พนมยงค์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ที่ 20 เมษายน 2559 รปู 4.11 : หนงั สอื เรยี นภาษาจนี ใหส้ นกุ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทบี่ รษิ ทั นานมี จำกดั วนั ท่ี 1 เมษายน 2559 รปู 4.12 : หนงั สอื ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร (อรสา ศศภิ านเุ ดช) ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทวี่ ทิ ยาลยั นานาชาตปิ รดี ี พนมยงค์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ที่ 4 เมษายน 2559 รปู 4.13 : หนงั สอื ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร (นธิ อิ ร พรอำไพสกลุ และคณะ) ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทวี่ ทิ ยาลยั นานาชาตปิ รดี ี พนมยงค์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ท่ี 4 เมษายน 2559 รปู 4.14 : หนงั สอื ภาษาจนี ระดบั ตน้ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทบ่ี รษิ ทั นานมี จำกดั วนั ท่ี 1 เมษายน 2559 96 รายงานการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา
รปู 4.15 : หนงั สอื Boya Chinese ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทบี่ รษิ ทั นานมี จำกดั วนั ที่ 1 เมษายน 2559 รปู 4.16 : หนงั สอื เรยี นทกั ษะรวมภาษาจนี ของโรงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทโ่ี รงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ วนั ท่ี 28 ตลุ าคม 2558 รปู 4.17 : หนงั สอื เรยี นการฟงั และการพดู ภาษาจนี ของโรงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทโ่ี รงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ วนั ท่ี 28 ตลุ าคม 2558 รปู 4.18 : หนงั สอื ภาษาจนี เพอื่ การสอื่ สาร (Higher Education Press และสำนกั งานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษา) ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทว่ี ทิ ยาลยั นานาชาตปิ รดี ี พนมยงค์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ที่ 20 เมษายน 2559 รปู 4.19 : หอ้ งเรยี นขงจอื่ โรงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทห่ี อ้ งเรยี นขงจอื่ โรงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ วนั ท่ี 28 ตลุ าคม 2558 รปู 4.20 : สถาบนั ขงจอื่ แหง่ มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทส่ี ถาบนั ขงจอ่ื แหง่ มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวงวนั ที่ 3 ธนั วาคม 2557 ภาคผนวก รปู 1 : โรงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทโี่ รงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ วนั ท่ี 1 เมษายน 2559 รปู 2 : หนงั สอื เรยี นทกั ษะรวมภาษาจนี ของโรงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทโี่ รงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ วนั ที่ 28 ตลุ าคม 2558 รปู 3 : หนงั สอื เรยี นการฟงั และการพดู ภาษาจนี ของโรงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทโี่ รงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ วนั ท่ี 28 ตลุ าคม 2558 รปู 4 : หนงั สอื เรยี นภาษาจนี สำหรบั นกั เรยี นโรงเรยี นวงั ไกลกงั วล ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทโ่ี รงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ วนั ท่ี 28 ตลุ าคม 2558 รปู 5 : หนงั สอื เรยี นภาษาจนี ของโรงเรยี นในเครอื มลู นธิ คิ ณะเซนตค์ าเบรยี ล ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทโ่ี รงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ วนั ท่ี 28 ตลุ าคม 2558 รปู 6 : วทิ ยาลยั เทคโนโลยตี ง้ั ตรงจติ รพณชิ ยการและวทิ ยาลยั เทคโนโลยตี ง้ั ตรงจติ รบรหิ ารธรุ กจิ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทว่ี ทิ ยาลยั เทคโนโลยตี ง้ั ตรงจติ รพณชิ ยการและวทิ ยาลยั เทคโนโลยตี งั้ ตรงจติ ร บรหิ ารธรุ กจิ วนั ท่ี 8 เมษายน 2559 รปู 7 : วทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตพุ น ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทว่ี ทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตพุ น วนั ท่ี 24 มนี าคม 2559 รปู 8 : หนงั สอื ภาษาจนี 1 และภาษาจนี 2 ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทผี่ วู้ จิ ยั ถา่ ยทว่ี ทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตพุ น วนั ท่ี 24 มนี าคม 2559 รายงานการวิจยั เพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา 97
รปู 9 : หนงั สอื ภาษาจนี ในหอ้ งสมดุ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทผ่ี วู้ จิ ยั ถา่ ยทว่ี ทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตพุ น วนั ท่ี 24 มนี าคม 2559 รปู 10 : สมดุ คดั ภาษาจนี ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทผ่ี วู้ จิ ยั ถา่ ยทว่ี ทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตพุ น วนั ท่ี 24 มนี าคม 2559 รปู 11 : วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทวี่ ทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี วนั ท่ี 27 มนี าคม 2559 รปู 12 : สถานทจี่ ดั กจิ กรรมภาษาจนี วนั ละคำ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทวี่ ทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี วนั ที่ 27 มนี าคม 2559 รปู 13 : รายงานวจิ ยั สรปุ โครงการกจิ กรรมภาษาจนี วนั ละคำ ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทว่ี ทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี วนั ที่ 16 มนี าคม 2559 รปู 14 : วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเสาวภา ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทวี่ ทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเสาวภา วนั ท่ี 8 เมษายน 2559 รปู 15 : หนงั สอื เรยี นวชิ าภาษาจนี ระดบั ปวช. ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทคี่ ณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วนั ท่ี 11 มกราคม 2559 รปู 16 : หนงั สอื เรยี นวชิ าภาษาจนี ระดบั ปวส. ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทบี่ รษิ ทั นานมี จำกดั วนั ที่ 1 เมษายน 2559 98 รายงานการวิจยั เพ่อื พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา
ภาคผนวก
ภาคผนวก 1 กรณศี ึกษา: โรงเรยี นอสั สมั ชัญพาณชิ ยการ
กรณศี กึ ษา: โรงเรียนอัสสมั ชัญพาณิชยการ3 โรงเรยี นอสั สัมชัญพาณิชยการ (Assumption Commercial College หรอื ACC) ก่อตัง้ ขนึ้ ใน ปี พ.ศ. 2481 เป็นโรงเรียนในเครอื มูลนธิ ิคณะเซนตค์ าเบรียล และเปน็ โรงเรียนพาณชิ ยแ์ หง่ แรกใน ประเทศไทยที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นส่ือในการเรียนการสอน ในสมัยแรกเริ่ม โรงเรียนมีนโยบายฝึกฝน นักเรียนให้มีความร้ดู า้ นธุรกจิ และภาษาองั กฤษเป็นหลัก ตอ่ มา เนอ่ื งจากผู้บริหารเหน็ ความสำคัญของ ภาษาจีน จงึ เรม่ิ จัดการเรียนการสอนภาษาจีนขึน้ ใน ปี พ.ศ. 2539 ดว้ ยความร่วมมอื กบั มหาวทิ ยาลัย ชนั้ นำในประเทศจีน ตลอด 19 ปีที่ผ่านมา การเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ มกี ารพัฒนาอย่างต่อเน่ืองปจั จุบันหมวดวิชาภาษาจนี มีอาจารยท์ ้ังหมด 10 คน ประกอบดว้ ยอาจารย์ ชาวไทย 7 คน และอาจารย์อาสาสมัครชาวจีน 3 คน (มาสเตอร์อภินพ การุณยเลิศ เป็นหัวหน้า หมวด) อาจารย์ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาการสอนภาษาจีน สำหรับ ชาวต่างชาติหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องแทบทั้งสิ้น ทั้งน้ี หัวหน้าหมวดวิชาภาษาจีนเป็นผู้รับผิดชอบ การวางแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรยี นเปน็ หลัก โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการกำหนดให้นักเรียนในระดับช้ันปีที่ 1 (ปวช.1) ช้ันปีท่ี 2 (ปวช.2) และช้ันปีที่ 3 (ปวช.3) ทุกคนเรียนวิชาภาษาจีนภาคการศึกษาละ 1 วิชา ตลอดทั้งสามป ี รวม 6 วิชา วิชาภาษาจีนหนึ่งวิชาใช้เวลาเรียน 4 คาบเรียนต่อสัปดาห์ แบ่งเรียน 4 คร้ัง คร้ังละ 1 คาบ เพื่อให้นักเรียนได้ทบทวนฝึกฝนบ่อยข้ึนในจำนวน 4 คาบน้ี แบ่งตามเนื้อหาเป็นทักษะรวม 3 คาบ และการฟงั กบั การพดู 1 คาบ หมวดวชิ าภาษาจนี กำหนดวา่ ในการสอบกลางภาคและปลายภาค ทุกครั้ง นักเรียนทุกคนนอกจากต้องสอบข้อเขียนแล้ว ยังต้องสอบฟังและพูดอีกด้วย นอกจากน ี้ ยังกำหนดวา่ นักเรยี นช้ันปีที่ 1 จะต้องสอบผา่ น HSK ระดบั 1 นักเรยี นชัน้ ปที ่ี 2 จะตอ้ งสอบผ่าน HSK ระดับ 2 และนกั เรียนชั้นปที ่ี 3 จะต้องสอบผ่าน HSK ระดับ 2 โดยไดค้ ะแนนสงู ข้ึน ในด้านหนังสือเรียน โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการกำหนดให้ใช้หนังสือเรียนทักษะรวม ภาษาจีนท่ีเรียบเรียงข้ึนโดยความร่วมมือกับคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยช้ันนำในประเทศจีนตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2543 ส่วนหนังสือเรียนการฟังและการพูดใช้หนังสือ Standard Course HSK 1 และ Standard Course HSK 2 ของสำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือฮ่ันปั้น (Hanban) ประเทศจีนเป็นหลกั เนอ้ื หาในหนงั สือเรยี นของแตล่ ะชุดมคี วามตอ่ เน่อื งกัน ทำให้นักเรยี น 3 ผู้วิจัยขอขอบคุณมาสเตอร์อภินพ การุณยเลิศ หัวหน้าหมวดวิชาภาษาจีน โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ ที่กรุณาให้สัมภาษณ ์ ณ โรงเรยี นอัสสัมชญั พาณชิ ยการ วันที่ 28 ตลุ าคม 2558 รายงานการวิจยั เพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา 101
ได้เรียนเนื้อหาต่อยอดสูงขึ้นไป นอกจากแบบเรียนแล้วอาจารย์ยังใช้ส่ือการสอนอิเล็กทรอนิกส ์ ท่เี ก่ียวขอ้ งในการจัดการเรียนการสอนอีกด้วย เช่น พาวเวอร์พอยท์ ซดี ี ดวี ีดอี ินเตอร์เน็ต ในด้านกิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมจีนเน่ืองจากผู้บริหารโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ ใหค้ วามสำคญั กบั การเรยี นการสอนภาษาจนี เปน็ อยา่ งมาก และในขณะเดยี วกนั โรงเรยี นกม็ คี วามรว่ มมอื กับหน่วยงานอื่นอย่างกว้างขวาง ดังน้ัน กิจกรรมด้านภาษาและวัฒนธรรมจีนท่ีโรงเรียนจัดข้ึน จึงมี จำนวนมากมีความต่อเน่ือง และมีความหลากหลาย เช่น กิจกรรมเทศกาลวันไหว้บ๊ะจ่าง วันตรุษจีน การแขง่ พดู สนุ ทรพจน์ Chinese Bridge การแขง่ หมากลอ้ ม การแขง่ เขยี นพกู่ นั จนี การแขง่ ตอบคำถาม เกี่ยวกับตัวอักษรจีน การประกวดแผนการสอนและเทคนิคการสอนของอาจารย์อาสาสมัครชาวจีน ค่ายภาษาและวัฒนธรรมจีนสำหรับนักเรียนค่ายภาษา และวัฒนธรรมจีนสำหรับอาจารย์โรงเรียน อาชวี ศกึ ษา โครงการอบรมภาษาจนี สำหรบั อาจารยโ์ รงเรยี นอาชวี ศกึ ษา โครงการอบรมอาจารยอ์ าสาสมคั ร ชาวจีน โครงการอบรมภาษาจีนสำหรับนักศึกษาของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.) โครงการอบรมภาษาจีนสำหรับบคุ คลภายนอกโครงการสอนภาษาจนี ใหน้ ักเรียนโรงเรียนวังไกลกังวล เป็นต้น ในด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น เน่ืองจากโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการได้รับเกียรติ ให้จัดตั้งห้องเรียนขงจ่ือเมื่อ ปี พ.ศ. 2552 และใน ปี พ.ศ. 2553 ได้ทำความร่วมมือกับโรงเรียน มัธยมฉงฮว่า เทียนจิน ประเทศจีน (Tianjin Chonghua High School) ในการนี้ โรงเรียนได้รับ ความช่วยเหลือจากสำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือฮั่นป้ัน (Hanban) เป็นอย่างมาก ท้ังด้านหนังสือเรียน ส่ือการเรียนการสอน และอาจารย์อาสาสมัครชาวจีน นอกจากน้ี โรงเรียนยังมีความร่วมมือกับโรงเรียนวังไกลกังวล โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม โรงเรียนอัสสัมชัญ หลักสูตรภาษาอังกฤษ โรงเรียนเซนต์หลุยส์ศึกษา โรงเรียนเซนต์หลุยส์ฉะเชิงเทรามหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยครุศาสตร์เทียนจิน (Tianjin Normal University) มหาวทิ ยาลยั ครศุ าสตร์กวางสี (Guangxi Normal University) มหาวิทยาลยั ฝโู จว (Fuzhou University) และมหาวทิ ยาลยั เซียะเหมนิ (Xiamen University) เป็นต้น จากท่ีกล่าวมาข้างต้น สามารถกล่าวได้ว่าการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนและกิจการอ่ืน ที่เก่ียวข้องของโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก แต่มาสเตอร์อภินพ การุณยเลิศ หัวหน้าหมวดวิชาภาษาจีนได้แสดงความคิดเห็นว่า โรงเรียนยังมีปัญหาและอุปสรรคด้าน การเรียนการสอนภาษาจีนอยู่อีกหลายด้าน ปัญหาที่สำคัญที่สุดคือ นักเรียนขาดสภาพแวดล้อมทาง ภาษาจีน เนื่องจากเม่ือนักเรียนออกมาจากห้องเรียนแล้ว หากไม่ได้เจออาจารย์ภาษาจีน ก็แทบจะ ไมม่ โี อกาสใชภ้ าษาจนี เลย นอกจากนี้ ยงั มปี ัญหารองลงมาอกี หลายอยา่ ง เช่น แบบเรียนภาษาจนี ไม่มี คู่มือการสอนสำหรับอาจารย์ ทำให้ต้องมีการประชุมจัดทำแผนการสอนเพื่อให้มีการสอนท่ีเป็นไปใน แนวทางเดียวกัน การเปล่ียนอาจารย์อาสาสมัครชาวจีนบ่อยครั้งทำให้ไม่สามารถพัฒนาการเรียน การสอนภาษาจนี ไดอ้ ย่างต่อเน่ือง อาจารยอ์ าสาสมคั รชาวจนี ไมส่ ามารถควบคุมช้นั เรียนได้ในบางครงั้ 102 รายงานการวจิ ยั เพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา
หมวดวิชาภาษาจีนจึงจัดให้อาจารย์ชาวไทยเป็นครูพ่ีเล้ียงประกบคู่กับอาจารย์อาสาสมัครชาวจีน อาจารย์ชาวไทยมีหน้าที่เข้าสังเกตการณ์การสอนวิชาทักษะรวมภาษาจีนของอาจารย์อาสาสมัคร ชาวจีนเพ่ือแลกเปล่ียนประสบการณ์และให้คำแนะนำ อาจารย์อาสาสมัครชาวจีนไม่สามารถช่วยงาน เอกสารภาษาไทยได้ ทำให้ภาระงานส่วนใหญ่ตกอยู่กับอาจารย์ชาวไทย นักเรียนบางส่วนไม่เห็น ความสำคัญของการเรียนภาษาจีนทำให้ไม่ค่อยตั้งใจเรียน นักเรียนขาดทักษะการเรียนรู้แบบพึ่งพา ตนเอง ไมร่ จู้ กั คน้ ควา้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั วชิ าทเ่ี รยี นจากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ งๆ ดว้ ยตนเอง และอาจารยช์ าวไทย มีภาระงานอยา่ งอน่ื มาก ทำใหไ้ มส่ ามารถทุ่มเทกับการสอนไดเ้ ท่าท่ีควร รูป 1: โรงเรยี นอสั สัมชญั พาณิชยการ (ทีม่ ารปู : ผู้วจิ ัยถา่ ยทโี่ รงเรียนอัสสัมชัญพาณชิ ยการ วนั ที่ 1 เมษายน2559) รายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา 103
รปู 2 : หนงั สือเรียนทกั ษะรวมภาษาจนี ของโรงเรียนอัสสัมชญั พาณชิ ยการ (ทม่ี ารูป : ผู้วิจัยถ่ายทโี่ รงเรยี นอัสสมั ชญั พาณิชยการ วันที่ 28 ตลุ าคม 2558) รปู 3 : หนงั สอื เรียนการฟังและการพูดภาษาจีนของโรงเรียนอัสสมั ชญั พาณชิ ยการ (ท่มี ารปู : ผวู้ จิ ยั ถา่ ยทโ่ี รงเรียนอสั สัมชัญพาณชิ ยการ วนั ที่ 28 ตุลาคม 2558) 104 รายงานการวิจยั เพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชีวศกึ ษา
รปู 4 : หนังสอื เรยี นภาษาจีนสำหรบั นกั เรยี นโรงเรยี นวังไกลกังวล (ที่มารปู : ผู้วิจัยถ่ายที่โรงเรยี นอัสสมั ชญั พาณิชยการ วนั ที่ 28 ตุลาคม 2558) รูป 5 : หนงั สือเรยี นภาษาจนี ของโรงเรยี นในเครือมูลนธิ คิ ณะเซนตค์ าเบรียล (ทม่ี ารปู : ผู้วิจยั ถ่ายทีโ่ รงเรยี นอัสสัมชญั พาณิชยการ วนั ท่ี 28 ตุลาคม 2558) รายงานการวิจยั เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 105
ภาคผนวก 2 กรณีศกึ ษา : วทิ ยาลยั เทคโนโลยตี ้ังตรงจติ รพณชิ ยการ และวทิ ยาลัยเทคโนโลยตี งั้ ตรงจติ รบรหิ ารธรุ กจิ
กรณีศกึ ษา : วิทยาลยั เทคโนโลยตี งั้ ตรงจิตรพณชิ ยการ และวิทยาลัยเทคโนโลยีตง้ั ตรงจิตรบรหิ ารธุรกิจ4 วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการก่อตั้งขึ้นใน ปี พ.ศ. 2514 โดยใช้ชื่อว่าโรงเรียน พณิชยการต้ังตรงจิตรวัดพระเชตุพน ต่อมาเปล่ียนชื่อเป็นโรงเรียนต้ังตรงจิตรพณิชยการเพื่อความ เหมาะสม หลงั จากนน้ั เนอื่ งจากมนี ักเรียนมากขน้ึ จงึ ขยายเปิดการเรียนการสอนในภาคบา่ ย โดยใช้อกี ช่ือหนึ่งว่าโรงเรียนพณิชยการต้ังตรงจิตร ปัจจุบันนี้โรงเรียนต้ังตรงจิตรพณิชยการเปลี่ยนช่ือเป็น วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ดำเนินการเรียนการสอนรอบเช้า และโรงเรียนพณิชยการ ต้ังตรงจิตรเปล่ียนชื่อเป็นวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ ดำเนินการเรียนการสอน รอบบา่ ย สถานศกึ ษาทง้ั สองแหง่ นต้ี ง้ั อยใู่ นสถานทเี่ ดยี วกนั มผี อู้ ำนวยการสองทา่ น ปจั จบุ นั ทงั้ สองแหง่ เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาการบัญชี การขาย การเลขานุการ และ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาการบัญชี การตลาด คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ และการท่องเทย่ี ว ในส่วนของการเรียนการสอนภาษาจีน วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ (รอบเช้า) เปิดสอนภาษาจีนให้นักเรียนระดับ ปวช. ปี 2 สาขาวิชาการบัญชี การขาย การเลขานุการ และ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ส่วนวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรบริหารธุรกิจ (รอบบ่าย) เปิดสอนภาษาจีนให้ นกั เรียนระดับ ปวช. ปี 2 สาขาวิชาการบัญชี การขาย และคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ เรยี นเปน็ วชิ าเลือกเสรี 2 วิชา คือ ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร 1 และภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร 2 วิชาละ 1 หน่วยกิต เรียน สัปดาห์ละ 2 คาบ นักเรียนห้องละประมาณ 40 คน มีบางคนเคยเรียนภาษาจีนมาก่อน จึงพอมี พน้ื ฐานมาบา้ งแตส่ ว่ นใหญ่ไมม่ ีพ้นื ฐานภาษาจนี ในด้านส่ือการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนเลือกใช้หนังสือเรียนภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร เรียบเรียงโดย หยัง ซีฟาง หยัง ล่ีเจวียน และประพลสร แซ่โง้ว สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ นอกจากน้ี อาจารย์ผู้สอนยังจัดหาเอกสารท่ีเก่ียวข้องจากแหล่งต่างๆ และจัดทำสื่อการสอนอื่นๆ มาใช้เพิม่ เตมิ ในการเรียนการสอนอกี ดว้ ย เช่น ทำบตั รคำศพั ทภ์ าษาจนี ให้นกั เรียนเลน่ เกมทายคำศพั ท์ หรือทำเน้อื เพลงภาษาจีนใหน้ ักเรียนเรยี นภาษาจีนจากการฟังเพลงจีน 4 ผู้วิจัยขอขอบคุณอาจารย์ขวัญฤทัย เจียวพงษ์พิพัฒน์ และอาจารย์ผกามาศ แก้ววารี วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการและ วิทยาลัยเทคโนโลยตี ้ังตรงจิตรบรหิ ารธรุ กิจ ท่กี รุณาให้สมั ภาษณ์ทางโทรศัพท์ วนั ท่ี 30 มนี าคม 2559 รายงานการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา 107
ในด้านบุคลากรผู้สอนวิชาภาษาจีน ปัจจุบันวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ และ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจมีอาจารย์สอนภาษาจีนชาวไทย 2 ท่าน และอาจารย์ ชาวจนี 1 ท่าน นอกจากน้ี ในภาคการศึกษา 2 ปีการศกึ ษา 2558 มีนักศกึ ษาปรญิ ญาตรีชาวจีนจาก มหาวทิ ยาลยั เหอ้ โจว (Hezhou University) 2 คนมาฝึกสอน ในด้านกิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมจีน วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการและ วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรบริหารธุรกิจ ส่งเสริมให้นักเรียนร่วมกิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมจีน อย่างสม่ำเสมอ ล่าสุดส่งนักเรียนเข้าแข่งขันพูดสุนทรพจน์ภาษาจีนระดับอาชีวศึกษาในเดือนมกราคม 2559 ได้รับรางวัลชนะเลศิ ในด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการและวิทยาลัย เทคโนโลยีต้ังตรงจิตรบริหารธุรกิจมีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเห้อโจว (Hezhou University) เขตปกครองตนเองกวา่ งซจี ้วง ประเทศจนี รูปแบบความรว่ มมือคอื วิทยาลยั ส่งนกั เรยี นไปศกึ ษาภาษา และวัฒนธรรมจีนประมาณ 2-3 สัปดาห์ในช่วงปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน คร้ังละประมาณ 10 คน นกั เรยี นรบั ผดิ ชอบคา่ ใชจ้ ่ายเอง และมหาวิทยาลัยเห้อโจวส่งนกั ศึกษาสาขาวชิ าภาษาไทยมาฝึกสอนที่ วทิ ยาลัย จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการและวิทยาลัย เทคโนโลยีต้ังตรงจิตรบริหารธุรกิจให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน มีการสร้าง ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในประเทศจีน ทำให้เกิดบรรยากาศการเรียนรู้ภาษาจีนมากข้ึน ทั้งน้ียัง ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกสว่ นเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนภาษาจีนต่อไป รูป 6 : วทิ ยาลัยเทคโนโลยีตงั้ ตรงจิตรพณิชยการและวิทยาลยั เทคโนโลยีต้งั ตรงจติ รบรหิ ารธุรกจิ (ที่มารปู : ผู้วจิ ัยถ่ายท่ีวิทยาลัยเทคโนโลยตี ง้ั ตรงจิตรพณิชยการและวิทยาลัยเทคโนโลยตี งั้ ตรงจิตรบริหารธรุ กิจ วนั ที่ 8 เมษายน 2559) 108 รายงานการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชวี ศกึ ษา
ภาคผนวก 3 กรณศี ึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยปี ญั ญาภิวฒั น ์
กรณศี ึกษา : วทิ ยาลยั เทคโนโลยีปญั ญาภวิ ัฒน5์ วทิ ยาลยั เทคโนโลยปี ญั ญาภวิ ฒั นก์ อ่ ตง้ั ขน้ึ ใน ปี พ.ศ. 2547 โดยใชช้ อ่ื วา่ โรงเรยี นปญั ญาภวิ ฒั น ์ เทคโนธุรกิจ ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2555 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ และใช้ช่ือน้ี เรื่อยมาถึงปัจจุบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์จัดการเรียนการสอนในรูปแบบทวิภาคี ซ่ึงเป็น การเรียนการสอนโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ กำหนดให้ผู้เรียนเรียน ทฤษฎีควบคู่กบั การปฏบิ ัติงานจรงิ ในสถานประกอบการตลอดระยะเวลาในหลกั สตู ร ปจั จบุ ันเปดิ สอน เฉพาะระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) ในสาขาวชิ าธรุ กิจคา้ ปลีกและไฟฟา้ กำลัง ในส่วนการเรียนการสอนภาษาจีน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์เปิดสอนภาษาจีนมา ต้ังแต่เริ่มก่อต้ังโรงเรียน ปัจจุบันปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์เปิดสอน รายวิชาภาษาจีนให้นักเรียนสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีกและคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (ต้ังแต่ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป วิทยาลัยไม่เปิดรับนักเรียนสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) สำหรับสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก กำหนดให้นักเรียนชั้น ปวช. ปี 2 และปี 3 จำนวนชั้นปีละประมาณ 600 คน เรียนภาษาจีนเป็น วชิ าเลอื กเสรี 4 วชิ า คอื ภาษาจีนเพอ่ื การสื่อสาร 1 ภาษาจีนเพือ่ การสื่อสาร 2 ภาษาจนี เสริม 1 และ ภาษาจนี เสรมิ 2 สองวิชาแรกวชิ าละ 2 หนว่ ยกติ เรียน 4 ชั่วโมง/สปั ดาห/์ วิชา ประเมินผลการเรียน ด้วยระบบตัดเกรด ส่วนสองวิชาหลังไม่คิดหน่วยกิต เรียน 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์/วิชา ประเมินผล การเรยี นด้วยการใหผ้ ่านหรอื ไมผ่ า่ น (70 คะแนนข้นึ ไปถือวา่ ผ่าน) สำหรบั สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ กำหนดใหน้ กั เรียนชนั้ ปวช. ปี 2 จำนวนประมาณ 40 คน เรียนภาษาจนี เป็นวิชาเลือกเสรี 2 วชิ า คือ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 และภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร 2 วิชาละ 2 หน่วยกิต เรียน 4 ช่ัวโมง/ สปั ดาห์/วชิ า ประเมนิ ผลการเรียนดว้ ยระบบตัดเกรด ในดา้ นส่ือการเรยี นการสอน อาจารยผ์ สู้ อนเรียบเรยี งหนงั สือเรยี นเองและใช้เอกสารการสอน อื่นประกอบโดยอ้างอิงจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) นอกจากน้ัน ยังมีสื่อ อเิ ล็กทรอนกิ ส์อน่ื ๆ เชน่ ซีดี ดวี ดี ี และมหี นงั สือภาษาจนี เพิ่มเติมในหอ้ งสมุดดว้ ย ในด้านบุคลากรผู้สอนวิชาภาษาจีน ปัจจุบันวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์มีอาจารย ์ สอนภาษาจีน 3 ท่าน เป็นอาจารย์ชาวไทยท้ังหมด อาจารย์ทุกท่านมีประสบการณ์การศึกษา ณ ประเทศจีนมากอ่ นเขา้ ปฏบิ ตั ิงาน 5 ผวู้ ิจยั ขอขอบคณุ อาจารย์สุภาวดี ด้วงหมุน วิทยาลยั เทคโนโลยีปญั ญาภิวฒั น์ ท่กี รุณาใหส้ ัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ วันที่ 5 เมษายน2559 110 รายงานการวิจยั เพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา
ในด้านกิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมจีน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ส่งนักเรียนเข้าร่วม แข่งขันร้องเพลงและพูดสุนทรพจน์ภาษาจีนในการแข่งขันภาษาจีนเพชรยอดมงกุฏอย่างสม่ำเสมอ และยังส่งนักเรียนเข้าร่วมแข่งขันพูดสุนทรพจน์ภาษาจีน ซึ่งจัดโดยสมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชวี ศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (อ.ี เทค) และหอการค้าจังหวัดนนทบรุ อี ีกดว้ ย จากท่ีกล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ให้ความสำคัญกับ การเรียนการสอนภาษาจีนอย่างมาก เนื่องจากมีการกำหนดให้นักเรียนสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีกเรียน ภาษาจีนมากถึง 4 วิชา วิชาละ 2 หน่วยกิต เรียน 4 ช่ัวโมง/สัปดาห์/วิชา ซึ่งมากกว่าเกณฑ์ท่ี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กำหนดไว้ในหลักสูตร นอกจากน้ัน ยังส่งเสริม นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันภาษาจีนในรูปแบบต่างๆ ผู้วิจัยเชื่อว่าปัจจัยต่างๆ เหล่านี้จะช่วยผลักดัน ใหก้ ารจดั การเรียนการสอนภาษาจีนของวิทยาลยั เทคโนโลยปี ญั ญาภิวัฒน์พฒั นาขน้ึ อยา่ งต่อเนือ่ ง รายงานการวิจัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา 111
ภาคผนวก 4 กรณีศกึ ษา : วทิ ยาลัยพาณิชยการเชตพุ น
กรณศี ึกษา : วทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตุพน6 วิทยาลัยพณิชยการเชตุพนก่อตั้งข้ึนใน ปี พ.ศ. 2500 อยู่บริเวณสังฆาราม วัดพระเชตุพน วิมลมังคลาราม ท่าเตียน กรุงเทพมหานคร โดยใช้ชื่อว่าโรงเรียนวัดพระเชตุพนตั้งตรงจิตวิทยาลัย ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2513 ได้ย้ายไปต้ังที่ใหม่บริเวณถนนประชาอุทิศ เขตราษฎร์บูรณะ เปล่ียนช่ือเป็น โรงเรียนพณิชยการเชตุพน หลังจากน้ันใน ปี พ.ศ. 2516 ได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งหน่ึงเป็นวิทยาลัย พณิชยการเชตุพน และใช้ช่ือนี้เร่ือยมาถึงปัจจุบัน นับเวลาก่อต้ังสถานศึกษาแห่งนี้ได้เกือบ 60 ปี ปจั จุบันเปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ในสาขาวชิ าการบัญชี การตลาด คอมพวิ เตอร์ ธุรกิจ การเลขานุการ ธุรกิจค้าปลีก การโรงแรม และคอมพิวเตอร์กราฟฟิก ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาการบัญชี การตลาด คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การเลขานุการ ธุรกิจ ค้าปลีก และการโรงแรม ในส่วนการเรียนการสอนภาษาจีน วิทยาลัยพณิชยการเชตุพนเปิดสอนภาษาจีนมาต้ังแต่เริ่ม ก่อต้ังโรงเรียน แต่ไม่มีความต่อเน่ือง ท้ังน้ี เนื่องจากขาดแคลนอาจารย์ภาษาจีน ปัจจุบันเปิดสอน รายวิชาภาษาจีนให้นักเรียนระดับ ปวช. ในทกุ สาขาวิชา เรยี นเปน็ วิชาเลือกเสรี 2 วิชา คือ ภาษาจนี เพ่อื การส่ือสาร 1 และภาษาจีนเพ่อื การส่ือสาร 2 วชิ าละ 1 หนว่ ยกติ เรียนสปั ดาหล์ ะ 2 คาบ ทวา่ ตง้ั แต่ปีการศึกษา 2559 เปน็ ต้นไป วิทยาลัยจะยกเลกิ รายวชิ าภาษาจีนออกจากหลักสูตรทกุ สาขาวชิ า (ยกเว้นนักเรียน ปวช. สาขาวิชาการบัญชีที่กำลังศึกษาอยู่) เพ่ือไปเพ่ิมจำนวนชั่วโมงเรียนให้รายวิชา ภาษาองั กฤษ เน่อื งจากมีนโยบายเน้นภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศหลกั ในดา้ นส่ือการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนเลอื กใช้หนงั สอื เรยี นภาษาจนี 1 (สำหรับรายวชิ า ภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร 1) และภาษาจีน 2 (สำหรับรายวิชาภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร 1) เรียบเรียง โดย กิตติ พรพิมลวัฒน์ สำนักพิมพ์เอมพันธ์ เนื่องจากเนื้อหามีความเหมาะสมกับนักเรียน อาจารย ์ ผู้สอนยังจัดหาเอกสารท่ีเก่ียวข้องจากแหล่งต่างๆ และจัดทำสื่อการสอนอ่ืนๆ มาใช้เพิ่มเติม ในการเรียนการสอน นอกจากนี้ ห้องสมุดยังมีหนังสือภาษาจีนจำนวนมากสำรองไว้ให้นักเรียนได้ ศกึ ษาคน้ คว้าเพมิ่ เติมเองดว้ ยตนเองอีกดว้ ย ในด้านบุคลากรผู้สอนวิชาภาษาจีน วิทยาลัยพณิชยการเชตุพนไม่มีอาจารย์ประจำชาวไทยที่ สำเร็จการศึกษาด้านภาษาจีนโดยตรง จึงส่งอาจารย์ท่ีสนใจและเคยศึกษาภาษาจีนมาบ้างไปอบรม ที่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง แต่เนื่องจากไม่ได้อบรมอย่างต่อเน่ืองทุกปี และอาจารย์มีรายวิชาท ่ี 6 ผู้วิจัยขอขอบคุณอาจารย์อรพิน จริยาธนเบญญา รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ และอาจารย์สุภาพร ต้ังเจริญกิจสกุล วิทยาลัย พณชิ ยการเชตพุ น ท่ีกรณุ าให้สัมภาษณ์ ณ วิทยาลัยพณชิ ยการเชตุพน วันที่ 24 มีนาคม 2559 รายงานการวจิ ยั เพ่อื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 113
รับผิดชอบสอนอยู่ก่อนแล้ว จึงไม่ได้พัฒนาต่อ นอกจากน้ี วิทยาลัยยังจ้างอาจารย์พิเศษชาวไทย และรับครูอาสาสมัครจีนจากสำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือฮ่ันปั้น (Hanban) ผ่านทางสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) อีกดว้ ย เนอื่ งจากอาจารย์พเิ ศษ และครูอาสาสมัครจีนไม่ได้เป็นอาจารย์ประจำ จึงไม่สามารถพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนได้ อย่างตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะครอู าสาสมคั รจนี ส่วนใหญใ่ ช้ภาษาจนี ในการสอนตงั้ แตต่ น้ ไมส่ ามารถส่อื สาร กับนักเรียนด้วยภาษาไทยหรอื ภาษาองั กฤษ ส่งผลให้นกั เรียนไมค่ ่อยเข้าใจบทเรียน ในดา้ นกจิ กรรมภาษาและวัฒนธรรมจีน วทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตพุ นส่งนักเรยี นเขา้ ร่วมแข่งขัน พูดสุนทรพจน์ภาษาจีน ซึ่งเป็นการแข่งขันในกลุ่มสถาบันอาชีวศึกษาด้วยกันเอง นอกจากนี้ ล่าสุด วิทยาลัยยังส่งนักเรียน ปวช. สาขาวิชาการตลาดจำนวน 2 คน ไปเข้าร่วมโครงการเพิ่มขีดความ สามารถทางภาษาจนี สำหรบั นกั เรยี นนกั ศกึ ษาอาชวี ะกลมุ่ ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก และกรงุ เทพมหานคร ที่วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ระหว่างวันที่ 7-28 มีนาคม 2559 อีกด้วย อาจารย์ผู้รับผิดชอบระบุว่า นักเรียน 2 คน น้ีมีความสามารถด้านภาษาจีนในระดับดีถึงดีมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่ึงในนั้นมีมารดาเป็นชาวจีน จึงใช้ภาษาจีนส่ือสารกับมารดาในชีวิตประจำวัน ดงั น้ัน จงึ สนับสนุนใหน้ ักเรยี น 2 คน นไ้ี ด้มโี อกาสพัฒนาศกั ยภาพดา้ นภาษาจนี ตอ่ ไป จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของวิทยาลัยพณิชยการ เชตุพน มีประวัติความเป็นมายาวนาน แต่ด้วยปัจจัยต่างๆ ทำให้การเรียนการสอนภาษาจีนไม่ได้ ดำเนินการมาอยา่ งต่อเนื่อง และต้งั แต่ปกี ารศึกษา ปี พ.ศ. 2559 เปน็ ต้นไปจะไม่มกี ารเรียนการสอน ภาษาจีนอกี (ยกเวน้ นักเรยี นปวช. สาขาวิชาการบญั ชีทกี่ ำลงั ศึกษาอย่)ู จงึ เปน็ เร่ืองนา่ เสยี ดายอย่างย่ิง เน่ืองจากการเรียนภาษาจีนถือเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของโรงเรียนพาณิชย์มาตั้งแต่สมัยก่อน และ นกั เรยี นพาณชิ ย์ทเ่ี รยี นภาษาจีนจะมโี อกาสหางานทำได้งา่ ยกว่า รปู 7 : วทิ ยาลัยพณิชยการเชตพุ น (ทมี่ ารูป : ผ้วู ิจัยถา่ ยที่วทิ ยาลยั พณิชยการเชตุพน วนั ที่ 24 มีนาคม 2559) 114 รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา
รปู 8 : หนงั สอื ภาษาจนี 1 และภาษาจนี 2 (เรยี บเรียงโดย กติ ติ พรพิมลวัฒน์ สำนักพิมพ์เอมพันธ)์ (ท่มี ารปู : ผู้วิจัยถา่ ยท่ผี วู้ ิจยั ถา่ ยท่ีวทิ ยาลัยพณิชยการเชตุพน วันที่ 24 มีนาคม 2559) 115 รปู 9 : หนังสือภาษาจีนในห้องสมุด (ทม่ี ารูป : ผวู้ จิ ัยถ่ายท่ผี ้วู จิ ยั ถ่ายท่ีวิทยาลัยพณิชยการเชตพุ น วันที่ 24 มีนาคม 2559) รายงานการวิจยั เพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศกึ ษา
รปู 10 : สมดุ คดั ภาษาจีน (ทมี่ ารูป : ผวู้ จิ ยั ถา่ ยที่ผู้วจิ ัยถา่ ยทว่ี ิทยาลัยพณิชยการเชตุพน วันท่ี 24 มีนาคม 2559) 116 รายงานการวิจัยเพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา
ภาคผนวก 5 กรณีศกึ ษา : วทิ ยาลัยพาณิชยการธนบรุ ี
กรณีศึกษา : วิทยาลัยพณชิ ยการธนบรุ 7ี วิทยาลัยพณิชยการธนบุรีก่อต้ังขึ้นใน ปี พ.ศ. 2500 โดยใช้ช่ือว่าโรงเรียนพณิชยการธนบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2515 ได้เปล่ียนช่ือเป็นวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี และใช้ช่ือนี้เรื่อยมาถึงปัจจุบัน นับเวลากอ่ ตั้งสถานศกึ ษาแห่งน้ีได้เกอื บ 60 ปี ปจั จุบนั เปิดสอนระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) ในสาขาวชิ าการบญั ชี การตลาด การเลขานกุ าร คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ ภาษาตา่ งประเทศ การประชาสมั พนั ธ ์ และธุรกิจค้าปลีก ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาการบัญชี การตลาด การเลขานุการ การจัดการสำนักงาน คอมพิวเตอร์ธุรกิจ และการจัดการธุรกิจค้าปลีก และในระดับ ปรญิ ญาตรี หลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี การตลาด และคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ ในส่วนการเรียนการสอนภาษาจีน วิทยาลัยพณิชยการธนบุรีเปิดสอนภาษาจีนมาตั้งแต่เริ่ม ก่อต้ังโรงเรียน แต่สอนเป็นภาษาจีนแต้จิ๋ว ไม่ใช่ภาษาจีนกลาง ต่อมาหยุดสอนภาษาจีนไปประมาณ 10 ปี หลังจากน้ันใน ปี พ.ศ. 2545 กลับมาเริ่มสอนใหม่ สอนเป็นภาษาจีนกลาง ใช้ตัวอักษรจีน แบบยอ่ และระบบการถอดเสยี งแบบพนิ อนิ โดยเปดิ สอนใหน้ กั เรยี นระดบั ปวช. สาขาวชิ าการบญั ชกี อ่ น ต่อมา ปี พ.ศ. 2552 สอนเพิ่มให้นักเรียนระดับ ปวช. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปัจจุบัน ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยพณิชยการธนบุรีเปิดสอนรายวิชาภาษาจีนให้นักเรียนระดับ ปวช. ปี 2 สาขาวิชาการบัญชี 7 กลุ่ม จำนวนกว่า 200 คน และสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 8 กลุ่ม จำนวน กว่า 200 คน รวมกว่า 400 คน เรียนเป็นวิชาเลือกเสรี 2 วิชา คือ ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร 1 (ภาคการศึกษาต้น) และภาษาจนี เพ่อื การสื่อสาร 2 (ภาคการศกึ ษาปลาย) วิชาละ 1 หน่วยกติ เรยี น สัปดาห์ละ 2 คาบ ในด้านส่ือการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนเลือกใช้หนังสือเรียนภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร 1 (ภาคการศกึ ษาต้น) และภาษาจีนเพ่อื การสื่อสาร 2 (ภาคการศึกษาตน้ ) เรยี บเรียงโดย อาจารยส์ ุรชยั ปทั มผดงุ ศกั ดิ์ สำนกั พมิ พ์แม็คเอด็ ดูเคชั่น อาจารยผ์ ู้สอนใหค้ วามเห็นวา่ แมว้ า่ ปัจจุบันนจี้ ะมกี ารผลติ หนังสือเรียนภาษาจีนระดับอาชีวศึกษาออกสู่ตลาดมากขึ้น แต่หนังสือเรียนส่วนใหญ่ยังไม่สมบูรณ์นัก โดยเฉพาะเน้ือหาในบทเรียน ควรแนะนำเน้ือหาเก่ียวกับประเทศไทยมากกว่าประเทศจีน เช่น เงินตราไทย ประเพณีวัฒนธรรมไทย อาหารไทย และเทศกาลไทย เนอ่ื งจากผูเ้ รยี นจะไดน้ ำไปใช้จริง ในชีวิตประจำวัน วิทยาลัยพณิชยการธนบุรีเคยได้รับการสนับสนุนส่ือการเรียนการสอนจำนวนหน่ึง จากสำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือฮ่ันปั้น (Hanban) นอกจากนี้ 7 ผู้วิจัยขอขอบคุณอาจารย์อัมพร จิตอารยะกุล วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ท่ีกรุณาให้สัมภาษณ์ ณ วิทยาลัยพณิชยการธนบุร ี วันท่ี 16 มีนาคม 2559 118 รายงานการวิจัยเพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา
อาจารยผ์ ู้สอนยังจัดหาเอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ งจากแหล่งต่างๆ และจัดทำสอ่ื การสอนอ่นื ๆ มาใช้เพ่มิ เติมใน การเรียนการสอนอกี ด้วย ในด้านบุคลากรผู้สอนวชิ าภาษาจนี ปจั จบุ ันวิทยาลยั พณิชยการธนบรุ มี ีอาจารยส์ อนภาษาจีน ชาวไทย 2 ท่าน ซ่ึงสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาวิชาการบริหารจัดการทั่วไป และกำลัง จะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาวิชาภาษาจีนของมหาวิทยาลัยหัวเฉียว ประเทศจีน 1 ท่าน ส่วนอีกหนึ่งท่านสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาวิชาการสอนภาษาไทย อาจารย์ทั้ง 2 ท่านศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีน เข้าร่วมอบรมภาษาจีนทั้งในประเทศและท่ีประเทศจีน และ รับผิดชอบการสอนภาษาจีนมาอย่างต่อเน่ือง จึงเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้านการสอน ภาษาจีนเป็นอย่างด ี ในด้านกิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมจีน วิทยาลัยพณิชยการธนบุรีส่งนักเรียนเข้าร่วมประชุม องค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย และร่วมแข่งขันพูดสุนทรพจน์ภาษาจีนระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ เพ่ือคัดเลือกเป็นตัวแทนไปแข่งระดับประเทศไทยอย่างสม่ำเสมอ เป็นท ่ี น่าสังเกตว่าผู้เข้าแข่งขันในรอบสุดท้ายไม่ได้มาจากระดับอาชีวศึกษาระดับเดียว แต่มาจากระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาซ่ึงสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) ด้วย เนื่องจากผู้เข้าแข่งขันจากโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาซ่ึงสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้เรียนภาษาจีนหลายวิชาแบบต่อเน่ือง แต่ผู้เข้าแข่งขันจากสถาบัน อาชีวศึกษาเรียนภาษาจีนเพียง 2 วิชาเท่านั้น ดังนั้น การแข่งขันจึงค่อนข้างสูง ทำให้ความหวัง ในการได้รับรางวัลค่อนข้างน้อย อาจารย์ผู้สอนให้ความเห็นว่าควรจัดรางวัลโดยแยกตามประเภท สถานศกึ ษาเพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ แขง่ ขนั ไดร้ างวลั อยา่ งทวั่ ถงึ นอกจากนี้ วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ยี งั จดั กจิ กรรม ส่งเสริมการใช้ภาษาจีนภายในสถานศึกษาอีกหลายอย่าง กิจกรรมท่ีสำคัญคือภาษาจีนวันละคำ อาจารย์ผู้สอนกำหนดให้นักเรียนในชมรมภาษาจีนผลัดกันออกมาแนะนำคำศัพท์ภาษาจีน และ ตัวอย่างประโยควันละ 1 คำท่ีหน้าเสาธงเวลาเข้าแถวเคารพธงชาติตอนเช้า นักเรียนมีหน้าที่หา คำศัพท์และแต่งประโยคหรือบทสนทนา ส่วนอาจารย์ผู้สอนทำหน้าท่ีเป็นที่ปรึกษา ช่วยตรวจแก้ไข ประโยคหรือบทสนทนา กิจกรรมนท้ี ำใหน้ กั เรียนกระตอื รอื รน้ ขวนขวายหาความรู้ดว้ ยตนเอง สง่ เสรมิ ให้นักเรียนกล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ในที่ประชุมชน และยังช่วยเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ภาษาจีนภายในสถานศึกษาอีกด้วย เม่ือถึงปลายภาคการศึกษา นักเรียนในชมรมภาษาจีนยังได้ รว่ มกนั ทำวิจัยสรุปกจิ กรรมดังกล่าวสง่ สถานศกึ ษาเพอ่ื เป็นผลงานท่ีสามารถใช้อา้ งองิ ตอ่ ไปดว้ ย ในด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน วิทยาลัยพณิชยการธนบุรีมีความร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยครุศาสตร์กวางสี (Guangxi Normal University) มีการวางแผนสร้างความร่วมมือ แลกเปล่ียนนักศึกษาระหว่างกัน มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมการศึกษาต่อและการฝึกงานเพื่อหา ประสบการณ์ โครงการความร่วมมือดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารทั้งสองฝ่ายเป็นอย่างดี รายงานการวิจัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา 119
เพียงรอเวลาที่เหมาะสมและความพร้อมในด้านต่างๆ โดยเช่ือว่าจะส่งผลดีต่อการพัฒนาการเรียน การสอนภาษาจีนต่อไป จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของวิทยาลัยพณิชยการ ธนบุรีพัฒนาข้ึนตามลำดับ ผู้วิจัยเช่ือว่าความร่วมมือท่ีจริงจังของผู้บริหาร อาจารย์ ผู้ปกครอง และ นักเรียนจะทำให้คุณภาพการเรียนการสอนภาษาจีนของวิทยาลัยพณิชยการธนบุรีดีข้ึนอย่างต่อเนื่อง เพ่ือผลติ กำลงั คนที่มีคุณภาพออกสสู่ งั คมตอ่ ไป รูป 11 : วิทยาลัยพณชิ ยการธนบุร ี (ท่ีมารูป : ผูว้ ิจัยถา่ ยท่ีวทิ ยาลัยพณชิ ยการธนบุรี วนั ที่ 27 มนี าคม 2559) 120 รายงานการวจิ ยั เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา
รปู 12 : สถานท่จี ดั กจิ กรรมภาษาจนี วันละคำ (ท่ีมารูป : ผ้วู ิจยั ถ่ายทว่ี ิทยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี วันที่ 27 มนี าคม 2559) รปู 13 : รายงานวิจัยสรุปโครงการกิจกรรมภาษาจนี วนั ละคำ (ที่มารปู : ผู้วิจัยถา่ ยท่ีวทิ ยาลัยพณิชยการธนบุรี วนั ที่ 16 มนี าคม 2559) รายงานการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 121
ภาคผนวก 6 กรณีศึกษา : วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเสาวภา
กรณีศกึ ษา : วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา8 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเสาวภากอ่ ตงั้ ขน้ึ ใน ปี พ.ศ. 2444 โดยใชช้ อื่ วา่ โรงเรยี นเสาวภา หลงั จากนนั้ ได้มีการประกาศรวมสถานศกึ ษา 8 แห่งใน ปี พ.ศ. 2519 และต่อมาใน ปี พ.ศ. 2521 ได้มปี ระกาศ ของกระทรวงศึกษาธิการแยกวิทยาลยั อาชีวศึกษากรุงเทพมหานครออกเปน็ 3 วิทยาลัย คอื วทิ ยาลัย เสาวภา วิทยาลัยธนบุรี วิทยาลัยเอี่ยมละออ กระทั่งเม่ือ ปี พ.ศ. 2523 ได้เปล่ียนช่ือเป็นวิทยาลัย อาชีวศึกษาเสาวภา และใช้ชอื่ นเ้ี รือ่ ยมาถงึ ปจั จุบัน นับเวลาก่อตงั้ สถานศกึ ษาแห่งนไ้ี ด้ 115 ปี ปจั จบุ ัน เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ในหลาย สาขาวิชา เช่น แฟช่ันและส่ิงทอ อาหารและโภชนาการ คหกรรมศาสตร์ การโรงแรม วิจิตรศิลป ์ การออกแบบ ศลิ ปหตั ถกรรม การพมิ พส์ กรนี ออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ และการบรหิ ารงานคหกรรมศาสตร์ ในส่วนการเรียนการสอนภาษาจีน เน่ืองจากผู้บริหารสถานศึกษาเห็นความสำคัญของ ภาษาจีน ในปีการศึกษา 2556 จึงมีการเชิญอาจารย์พิเศษมาบรรยายความรู้เกี่ยวกับภาษาและ วัฒนธรรมจีนให้นักศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ ต่อมาปีการศึกษา 2557 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา เปดิ สอนวิชาภาษาจนี เพอื่ การส่อื สาร 1 และภาษาจนี เพื่อการส่อื สาร 2 ให้นกั ศกึ ษา ปวช. สาขาวชิ า การโรงแรม เรียนสัปดาห์ละ 2 คาบ ปีการศึกษา 2558 จัดให้มีการเรียนภาษาจีนในระดับ ปวช. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ และสาขาวิชาการโรงแรม เรียนสัปดาห์ละ 2 คาบ และยังจัดให้มี การเรียนภาษาจีนในวิชาการสนทนาภาษาจีนสำหรับการทำงานในระดับ ปวส. สาขาวิชาอาหารและ โภชนาการ เรียนสปั ดาหล์ ะ 2 คาบ ในด้านส่ือการเรียนการสอน ระดับ ปวช. ได้เลือกใช้หนังสือเรียนภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร 1 และภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2 เรียบเรียงโดย อาจารย์สุรชัย ปัทมผดุงศักด์ิ สำนักพิมพ์แม็ค เอด็ ดเู คชั่น ส่วนระดบั ปวส. ใชห้ นังสอื เรียนภาษาจนี หรรษา (快乐汉语) สำนักพิมพ์มหาวทิ ยาลยั ภาษาและวฒั นธรรมปักกิง่ (Beijing Language and Culture University Press) และหนังสอื เรยี น ของสำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.) เนน้ การสนทนาภาษาจนี เพ่ืองานอาชีพ นอกจากนี้ อาจารย์ผู้สอนยังจัดหาเอกสารที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่างๆ มาใช้เพิ่มเติมใน การเรียนการสอนอกี ด้วย 8 ผู้วิจัยขอขอบคุณอาจารย์สุภาณี พรพันธุ์ไพบูลย์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา ที่กรุณาให้สัมภาษณ์ ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา วนั ท่ี 15 มกราคม 2559 รายงานการวิจัยเพ่อื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 123
ในด้านบุคลากรผู้สอนวิชาภาษาจีน ปัจจุบันวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภามีอาจารย์สอน ภาษาจีน 2 ท่าน ซึ่งสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาวิชาการศึกษาจำนวน 1 ท่าน สำเร็จ การศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากมหาวิทยาลัยในประเทศจีนจำนวน 1 ท่าน อาจารย์ท้ังสองท่านศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีน เข้าร่วมอบรมภาษาจีนมาอย่างต่อเนื่อง จึงเปน็ ผ้มู ีความร้แู ละประสบการณอ์ ย่างด ี ในด้านกิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมจีน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภาเคยส่งนักศึกษาเข้าร่วม การแข่งขันพูดสุนทรพจน์ภาษาจนี ในด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยหมิงเต้า (Ming Dao University) สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้มาเย่ียมชมการเรียนการสอนของนักศึกษาสาขาวิชาอาหาร และโภชนาการ และแสดงเจตจำนงให้ทุนการศึกษาแก่นักศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา ไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยหมิงเต้า อีกทั้งผู้บริหารของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภาก็ได้มีโอกาส ไปศึกษาดูงานท่ีมหาวิทยาลัยหมิงเต้า และยังมีโครงการความร่วมมือแลกเปล่ียนนักศึกษาระหว่างกัน มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมการศึกษาต่อและการฝึกงานเพ่ือหาประสบการณ์ โครงการความร่วมมือ ดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารทั้งสองฝ่ายเป็นอย่างดี และเช่ือว่าจะส่งผลดีต่อการพัฒนา การเรียนการสอนภาษาจีนต่อไป จากทีก่ ลา่ วมาข้างต้น จะเห็นได้วา่ การจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ของวิทยาลัยอาชีวศกึ ษา เสาวภาไดม้ กี ารพฒั นาขนึ้ และเชอื่ วา่ การมโี ครงการความรว่ มมอื แลกเปลย่ี นนกั ศกึ ษากบั หนว่ ยงานอน่ื ดังกล่าวจะส่งผลให้ทุกฝ่าย กล่าวคือผู้บริหาร ผู้ปกครอง และนักศึกษา เห็นความสำคัญของ ภาษาจีน และนำไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนให้ดียิ่งข้ึน เพ่ือผลิตนักศึกษาท่ีมีคุณภาพ และเปน็ ทีต่ อ้ งการของตลาดแรงงานตอ่ ไป รปู 14 : วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเสาวภา (ท่ีมารปู : ผวู้ จิ ัยถา่ ยทวี่ ิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเสาวภา วันที่ 8 เมษายน 2559) 124 รายงานการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชีวศกึ ษา
รปู 15 : หนังสอื เรยี นวิชาภาษาจนี ระดบั ปวช. (เรยี บเรยี งโดย สุรชัย ปทั มผดงุ ศักด์ิ สำนกั พมิ พ์แมค็ เอด็ ดูเคชั่น) (ท่ีมารูป : ผูว้ จิ ัยถา่ ยทค่ี ณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วันท่ี 11 มกราคม 2559) รูป 16 : หนงั สือเรยี นวิชาภาษาจีนระดับ ปวส. (สำนกั พิมพม์ หาวิทยาลยั ภาษาและวัฒนธรรมปักกิง่ ) (ทม่ี ารปู : ผ้วู จิ ยั ถา่ ยท่ีบรษิ ัท นานมี จำกัด วนั ที่ 1 เมษายน 2559) รายงานการวิจัยเพ่อื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา 125
ภาคผนวก 7 แบบสอบถาม โครงกภาารษวาิจจยั ีนเพในือ่ ปพระัฒเทนศารไทะบยบก: ารระจดดั ับกอาารชเวีรียศนึกกษาาร สอน
แบบสอบถามนเี้ ปน็ การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย โดยทำการศกึ ษา เก่ียวกับสภาพปัจจุบันและปัญหาของการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอาชีวศึกษาใน ประเทศไทย และนำผลจากการศึกษามาใช้เป็นข้อมูลเพื่อเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนา ระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอาชีวศึกษา ข้อมูลท่ีได้จากการตอบแบบสอบถามนี้จะนำไปใช้เพื่อ ประโยชน์ในการวิจัยเทา่ น้นั ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม คำช้ีแจง : โปรดกรอกข้อความลงในชอ่ งว่าง 1. ชือ่ สถานศกึ ษา........................................................................................................................................................ 2. ทีอ่ ยู่ เลขท.่ี ....................หมู่ที่.............ตรอก/ซอย..........................................ถนน.......................................................... ตำบล/แขวง......................................อำเภอ/เขต..........................................จงั หวัด............................................... รหสั ไปรษณีย.์ ........................โทรศพั ท.์ ..........................................อีเมล.์ ............................................................... 3. เปิดสอนภาษาจีนเมื่อปี พ.ศ. ................................... ตอนท่ี 2 สภาพปัจจบุ นั ของการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ระดบั อาชีวศึกษา คำช้ีแจง : โปรดกรอกขอ้ ความลงในช่องว่าง และใส่เครือ่ งหมาย P ลงในช่องทตี่ รงกับสภาพความเป็นจริง 1. ดา้ นการบริหารจดั การ 1.1 สถานศกึ ษาของท่านมกี ารวางแผนการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนหรือไม ่ £ มี £ ไมม่ ี 1.2 สถานศึกษาของท่านมีการกำหนดตัวบุคคลผู้รับผิดชอบการวางแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน อยา่ งชดั เจนหรือไม ่ £ มี £ ไม่มี 1.3 ถ้ามี ใครคือผู้รับผิดชอบการวางแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของสถานศึกษาของท่าน (ตอบได้ เพียง 1 ขอ้ ) £ ผู้อำนวยการ £ รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ £ หัวหนา้ แผนกวชิ าภาษาต่างประเทศ £ ครสู อนภาษาจีนชาวไทย £ ครสู อนภาษาจีนชาวจีนทสี่ ถานศึกษาจดั หาเองและ/หรือครอู าสาสมคั รชาวจีน £ อ่นื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................ 1.4 ผู้ที่มีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของสถานศึกษาของท่านคือใครบ้าง (ตอบไดห้ ลายขอ้ ) £ ผอู้ ำนวยการ £ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ £ หวั หนา้ แผนกวชิ าภาษาต่างประเทศ £ ครูสอนภาษาจีนชาวไทย £ ครูสอนภาษาจนี ชาวจนี ทสี่ ถานศกึ ษาจดั หาเองและ/หรอื ครอู าสาสมัครชาวจนี £ อนื่ ๆ (โปรดระบุ)............................ รายงานการวิจัยเพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา 127
1.5 สถานศกึ ษาของท่านมกี ารใช้ข้อมูลใดในการวางแผนการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีน (ตอบได้หลายข้อ) £ นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ £ นโยบายของกลุม่ สถานศกึ ษารัฐบาล £ นโยบายของกลมุ่ สถานศึกษาเอกชน £ นโยบายของสถานศึกษาของทา่ นเอง £ อืน่ ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................ 1.6 สถานศกึ ษาของท่านมกี ารดำเนนิ การตามแผนการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนท่ีกำหนดไว้หรือไม่ £ มี £ ไมม่ ี 1.7 สถานศึกษาของท่านมีการดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนที่กำหนดไว้อย่างไร (ตอบได้หลายข้อ) £ จัดให้มกี ารประชมุ ผทู้ ่มี ีสว่ นเก่ียวข้องเพอ่ื ร่วมกนั แกไ้ ขปญั หาการเรยี นการสอน £ มกี ารกำหนดตัวบุคคลผู้รบั ผดิ ชอบในสว่ นต่างๆ £ มีการตดิ ตามผลการดำเนนิ การในส่วนต่างๆ เปน็ ระยะ £ มกี ารวิเคราะห์ปัญหาในด้านตา่ งๆของการจดั การเรยี นการสอน £ มกี ารจัดสรรงบประมาณในการดำเนนิ การ £ ให้ครูทำแผนการสอนและบันทกึ การสอน £ อ่ืนๆ (โปรดระบุ)............................................ 1.8 สถานศึกษาของท่านมีการดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนที่กำหนดไว้ในส่วนใดบ้าง (ตอบได้หลายขอ้ ) £ หลักสูตร £ สื่อการสอน £ ผสู้ อน £ ผ้เู รยี น £ อนื่ ๆ (โปรดระบุ)............................................ 1.9 สถานศึกษาของท่านมีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนที่กำหนด ไวห้ รอื ไม ่ £ มี £ ไม่มี 1.10 สถานศึกษาของท่านมีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนท่ีกำหนด ไว้อย่างไร (ตอบได้หลายขอ้ ) £ สำรวจความคิดเห็นของผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งกับการดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี £ จดั ประชมุ เพื่อสรุปผลการดำเนนิ งานและวเิ คราะห์ปญั หาตา่ งๆ £ มกี ารทำรายงานเพอ่ื สรุปผลการดำเนนิ งาน £ สำรวจความคดิ เห็นของนักเรยี น £ สำรวจความคดิ เหน็ ของผปู้ กครองนักเรยี น 1.11 สถานศึกษาของทา่ นมีการนำผลการประเมินมาปรับปรุงการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี หรือไม ่ £ ม ี £ ไมม่ ี 128 รายงานการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา
2. ดา้ นหลักสตู ร 2.1 วนั และเวลาเรียน (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ) £ เรยี นทุกวนั เวลากลางวัน £ เรียนทกุ วัน เวลาเย็น £ เรียนวันจันทร์-ศกุ ร์ เวลากลางวนั £ เรยี นวันจนั ทร-์ ศกุ ร์ เวลาเย็น £ เรยี นวันเสาร์-อาทติ ย์ เวลากลางวัน £ เรยี นวนั เสาร-์ อาทติ ย์ เวลาเยน็ £ เลอื กเวลาเรยี นจนจบหลกั สูตร £ อ่ืนๆ (โปรดระบ)ุ ................................... 2.2 รายวิชาภาษาจนี ท่เี ปิดสอน (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 £ ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร 1 £ ภาษาจีนเพือ่ การส่ือสาร 1 £ ภาษาจีนเพือ่ การส่อื สาร 1 £ ภาษาจนี เพื่อการสื่อสาร 2 £ ภาษาจนี เพ่ือการสอื่ สาร 2 £ ภาษาจนี เพื่อการสอ่ื สาร 2 £ ภาษาจีนขน้ั สงู £ ภาษาจนี ขน้ั สงู £ ภาษาจนี ขัน้ สงู £ สนทนาภาษาจนี £ สนทนาภาษาจีน £ สนทนาภาษาจีน £ อน่ื ๆ (โปรดระบุท้ังรายวิชาและระดบั ชั้น).......................................... ปวส.1 ปวส.2 £ ภาษาและวัฒนธรรมจนี £ ภาษาและวฒั นธรรมจนี £ การสนทนาภาษาจีนสำหรบั การทำงาน £ การสนทนาภาษาจนี สำหรับการทำงาน £ ภาษาจีนขน้ั สูง £ ภาษาจนี ข้ันสงู £ สนทนาภาษาจีน £ สนทนาภาษาจีน £ อน่ื ๆ (โปรดระบุทั้งรายวิชาและระดับช้นั ).......................................... 2.3 จำนวนช่วั โมงเรยี น (คาบเรียน)/สปั ดาห/์ รายวชิ า £ 2 ชวั่ โมง (คาบเรยี น) £ 3-4 ชั่วโมง (คาบเรยี น) £ 5-6 ช่ัวโมง (คาบเรียน) £ อืน่ ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................ 2.4 กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร £ กจิ กรรมแข่งขันพูดสุนทรพจน์ภาษาจนี £ กิจกรรมแขง่ ขนั รอ้ งเพลงจนี £ กิจกรรมแขง่ ขนั ตอบคำถามความรูท้ ว่ั ไปเก่ียวกับประเทศจีน £ กจิ กรรมวันตรุษจนี £ กจิ กรรมวนั ไหว้พระจันทร ์ £ อ่นื ๆ (โปรดระบุ)............................................ 3. ดา้ นสื่อการเรยี นการสอน 3.1 ส่ือการเรียนการสอนท่ใี ช(้ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) £ หนังสือเรียน £《体验汉语》โดย สำนกั งาน Hanban, Higher Education Press £《快乐汉语》โดย สำนกั งาน Hanban, People’s Education Press £《汉语教程》โดยYang Jizhou, Beijing Language and Culture University Press £《汉语教程》โดย กิตติ พรพมิ ลวฒั น์ สำนักพิมพเ์ อมพนั ธ ์ รายงานการวิจัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา 129
£《中国语文》โดย จงพวง มณวี ฒั นา และฉัตรดาร์พร มณีวฒั นา สำนกั พมิ พ์มณฑลการพมิ พ ์ £《汉语入门》โดย สุรชัย ปัทมผดงุ ศกั ด์ิ สำนกั พิมพ์แม็คเอ็ดดเู คชัน่ £《汉语应用》โดย สุรชยั ปทั มผดงุ ศักด์ิ สำนักพิมพแ์ มค็ เอ็ดดเู คชน่ั £《快乐学中文》โดย GuoShaomeiสำนกั พมิ พน์ านมบี คุ๊ ส์ £《中国国语会话》โดย ฉัตรดารพ์ ร มณวี ัฒนา สำนักพิมพ์วชั รนิ ทร์การพิมพ ์ £《职业基础华语》โดย ศูนยจ์ นี ศึกษา สถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั £ เรยี บเรยี งเอง (โปรดระบุ)............................................ £ อ่นื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................ £ คอมพวิ เตอร ์ £ สื่อมัลตมิ ีเดีย เชน่ พาวเวอร์พอยท์(Power Point) £ สอ่ื ออนไลน์ เช่น ยูทปู (Youtube) £ ซดี ี (CD) วซี ดี ี (VCD) หรอื ดวี ดี ี (DVD) £ อ่ืนๆ (โปรดระบุ)............................................ 3.2 ตัวอักษรจนี ทใี่ ชส้ อน £ เฉพาะตัวย่อ £ เฉพาะตวั เตม็ £ ท้ังตัวย่อและตวั เตม็ 3.3 การถอดเสยี งภาษาจนี ใช้ระบบ £ พินอนิ £ จู้อนิ £ ถอดเสยี งด้วยภาษาไทย 3.4 หอ้ งปฏิบัตทิ างภาษาเพื่อใชใ้ นการเรยี นการสอนภาษาจีน £ มีและใช้ในการเรียนการสอนเปน็ ประจำ £ มแี ต่ไม่ได้ใชใ้ นการเรียนการสอน £ ไมม่ ี 3.5 ห้องสมุดมหี นงั สอื เสริมความรภู้ าษาจนี หรือไม่ £ ม ี £ ไม่ม ี 4. ดา้ นผสู้ อน 4.1 สัญชาติ วุฒิการศึกษาสูงสดุ และจำนวนของครูภาษาจนี (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) 4.1.1 ครูสัญชาติไทย £ มปี ระกาศนยี บตั ร ด้านภาษาจนี .......... คน ไม่ตรงวฒุ ิ .......... คน £ มีวฒุ ปิ รญิ ญาตร ี ด้านภาษาจนี .......... คน ไมต่ รงวุฒิ .......... คน £ มวี ฒุ ปิ รญิ ญาโท ด้านภาษาจนี .......... คน ไมต่ รงวฒุ ิ .......... คน £ มีวุฒปิ ริญญาเอก ด้านภาษาจีน .......... คน ไมต่ รงวฒุ ิ .......... คน มปี ระสบการณก์ ารสอน 1-5 ปี ..... คน 6-10 ปี ..... คน 10 ปขี นึ้ ไป ..... คน 130 รายงานการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172