Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา

รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา

Published by Www.Prapasara, 2021-04-04 05:21:54

Description: รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา

ภาษาจีน เป็นภาษาที่สำคัญมากภาษาหนึ่ง และมีแนวโน้มที่จะสำคัญยิ่งขึ้นในอนาคต
เนื่องจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 5,000 ปี มีการสั่งสม
องค์ความรู้ด้านต่างๆ และถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นมาถึงปัจจุบัน สาธารณรัฐประชาชนจีนยังเป็นประเทศ
มหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก เป็น
ประเทศที่มีความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก และประชากรชาวจีนยังมาก
เป็นอันดับ 1 ของโลก ดังนั้น หากคนไทยมีความรู้ภาษาจีนจะเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ค้นคว้า
และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สามารถสร้างความร่วมมือด้านธุรกิจการค้าการพัฒนาด้านต่างๆ ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยให้ประเทศไทยได้เปรียบในการแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้

#รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยระดับอาชีวศึกษา
#การจัดการเรียนการสอนภาษาจีน
#การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย

Keywords: รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา,การจัดการเรียนการสอนภาษาจีน,การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย

Search

Read the Text Version

จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ จะเหน็ วา่ สถาบนั อาชวี ศกึ ษาสว่ นใหญม่ กี ารประเมนิ ผลการดำเนนิ การ ตามแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนที่กำหนดไว้โดยใช้วิธีท่ีแตกต่างกันออกไป วิธีท่ีใช้มากท่ีสุด คือสำรวจความคิดเห็นของนักเรียน เน่ืองจากผู้เรียนถือเป็นผลผลิตหรือผู้ได้รับผลโดยตรงจากการ จัดการเรียนการสอนภาษาจีน จึงสามารถสะท้อนสภาพ จดุ เดน่ และจุดดอ้ ยไดช้ ดั เจนทส่ี ดุ รองลงมา คือสำรวจความคิดเห็นของผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีน เพ่ือนำความคิดเห็นท่ีได้มาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป ท้ังนี ้ มีสถานศึกษาตอบสองข้อน้ีอย่างละเกินคร่ึง ลำดับต่อมาคือทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน จดั ประชมุ เพอ่ื สรปุ ผลการดำเนนิ งานและวเิ คราะหป์ ญั หาตา่ งๆ และสำรวจความคดิ เหน็ ของผปู้ กครอง นักเรียน หลังจากท่ีทราบข้อมูลด้านการประเมินผลการดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอน ภาษาจนี แล้ว 4.1.4 การปรบั ปรงุ แก้ไข (Act) ในด้านการนำผลการประเมินเหล่าน้ีมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน จากผลสำรวจ พบว่า มีสถาบันอาชีวศึกษาตอบว่ามีการนำผลการประเมินมาปรับปรุง 62 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 72.94 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 51 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 11 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 82.26 และร้อยละ 17.74 ตามลำดับ ในขณะท่ีมีสถานศึกษาจำนวน 14 แห่ง ตอบว่าไม่ม ี คิดเปน็ ร้อยละ 16.47 แบ่งเปน็ สถานศึกษารฐั 13 แห่ง และสถานศกึ ษาเอกชน 1 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 92.86 และร้อยละ 7.14 ตามลำดับ นอกจากนั้น มีสถานศึกษาจำนวน 9 แห่ง ที่ไม่ตอบ คิดเป็น ร้อยละ 10.59 แบง่ เป็นสถานศึกษารัฐ 6 แห่ง และสถานศกึ ษาเอกชน 3 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 66.67 และรอ้ ยละ 33.33 ตามลำดับ 4.1.5 สรุป เม่ือพิจารณาในภาพรวมของการบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีนระดับ อาชีวศึกษาแล้ว จะเห็นว่าสถาบันอาชีวศึกษาส่วนใหญ่มีการบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีน อยา่ งเปน็ ระบบ กลา่ วคอื ไดด้ ำเนินการตามข้นั ตอน PDCA (P : Plan วางแผน, D : Do ปฏิบัติตาม แผน, C : Check ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน, A : Act ปรับปรุงแก้ไข) มีสถานศึกษาตอบว่า มกี ารวางแผนการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี 81 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 95.29 มกี ารดำเนินการตาม แผนท่ีกำหนดไว้ 68 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 80 มีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว ้ 72 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 84.71 และมีการนำผลการประเมินมาปรับปรุง 62 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 72.94 เป็นที่น่าสังเกตว่า สถาบันอาชีวศึกษามีการวางแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนเกือบ ทกุ แหง่ ถอื วา่ อยใู่ นอตั ราทส่ี งู มาก และสงู ทส่ี ดุ ในทกุ ขนั้ ตอนของกระบวนการ PDCA สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ สถานศึกษาใหค้ วามสำคญั กับการวางแผนมากทสี่ ดุ แต่ไมไ่ ด้หมายความว่าทกุ แห่งได้นำแผนมาปฏิบตั ิ ตามท่ีตั้งไว้ เพราะมีสถานศึกษาเพียง 68 แห่ง ท่ีดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ ในขณะเดียวกันมี รายงานการวจิ ัยเพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา 31

สถาบันอาชีวศกึ ษาจำนวนมากถงึ 72 แหง่ ท่มี ีการประเมนิ ผลการดำเนนิ การตามแผน แตก่ ลับมเี พียง 62 แห่ง เท่านั้นที่นำผลการประเมินนั้นมาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงการเรียนการสอนภาษาจีนต่อไป ดังน้ัน จะเห็นได้ว่าขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไขเป็นขั้นตอนท่ีสถานศึกษาให้ความสำคัญน้อยที่สุดในทุก ขั้นตอนของกระบวนการ PDCA ทำให้เห็นชัดว่าสถานศึกษามีความขัดแย้งในเร่ืองการบริหารจัดการ ด้านการเรียนการสอนภาษาจีน กล่าวคือให้ความสำคัญกับการวางแผนมากที่สุด แต่กลับนำผล ประเมินมาปรับปรุงในปีต่อไปน้อยลง อาจเป็นสาเหตุให้ไม่สามารถพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ได้ตามทต่ี ั้งวัตถุประสงค์ไว้ และอาจไมส่ ามารถแก้ปญั หาที่อาจเกิดขึ้นอีกเทา่ ท่คี วรจะเปน็ 4.2 ด้านหลักสูตร ปัจจุบันสถาบันอาชีวศึกษาท่ัวประเทศไทยดำเนินการเรียนการสอนระดับ ปวช. และ ปวส. โดยใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 (ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 มผี ลบงั คบั ใชต้ ง้ั แตภ่ าคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2556 เปน็ ตน้ ไป) และหลกั สตู รประกาศนยี บตั ร วชิ าชพี ชั้นสงู พุทธศกั ราช 2557 (ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 มีผลบงั คบั ใช้ตง้ั แต่ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2557 เปน็ ตน้ ไป) ซ่งึ ประกาศโดยสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร สำหรับระดับ ปวช. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 (เพ่ิมเติม พ.ศ. 2557 และเพมิ่ เติม พ.ศ. 2558) กำหนดใหม้ ี 9 ประเภทวชิ า รวม 58 สาขาวชิ า ดงั น ี้ 1. ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม มี 20 สาขาวิชา คือ ชา่ งยนต์ ชา่ งกลโรงงาน ช่างเชือ่ มโลหะ ช่างไฟฟ้ากำลัง ช่างอิเล็กทรอนิกส์ ช่างก่อสร้าง ช่างเครื่องเรือนและตกแต่งภายใน สถาปัตยกรรม สำรวจ ช่างเขียนแบบเครื่องกล ช่างซ่อมบำรุง ช่างพิมพ์ เทคนิคแว่นตาและเลนส์ ช่างต่อเรือ โทรคมนาคม โยธา อุตสาหกรรมยาง เมคคาทรอนิกส์ เทคนิคคอมพิวเตอร์ และอุตสาหกรรม ฟอกหนัง 2. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม มี 9 สาขาวิชา คือ การบัญชี การตลาด การเลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ธุรกิจสถานพยาบาล การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจค้าปลีก ภาษาต่างประเทศและ การจดั การด้านความปลอดภัย 3. ประเภทวิชาศิลปกรรม มี 15 สาขาวิชา คือ วิจิตรศิลป์ การออกแบบ ศิลปหัตถกรรม ศิลปกรรมเซรามิก ศิลปหัตถกรรมรูปพรรณและเคร่ืองประดับ การถ่ายภาพและวิดิทัศน์ เทคโนโลยี ศิลปกรรม คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ อตุ สาหกรรมเครื่องหนงั เครอ่ื งประดบั อญั มณี ชา่ งทองหลวง ศลิ ปะ การดนตรี การพมิ พ์สกรนี ออกแบบนเิ ทศศิลป์ และเคร่อื งดนตรไี ทย 4. ประเภทวิชาคหกรรม มี 5 สาขาวิชา คือ แฟชั่นและส่ิงทอ อาหารและโภชนาการ คหกรรมศาสตร์ เสริมสวย และธรุ กิจคหกรรม 32 รายงานการวจิ ยั เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา

5. ประเภทวชิ าเกษตรกรรม มี 1 สาขาวชิ า คือ เกษตรศาสตร์ 6. ประเภทวิชาประมง มี 2 สาขาวชิ า คือ เพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ และแปรรูปสัตวน์ ้ำ 7. ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรมท่องเทีย่ ว มี 2 สาขาวิชา คือ การโรงแรม และการทอ่ งเทย่ี ว 8. ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ มี 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีสิ่งทอ เคมีสิ่งทอ และ เทคโนโลยเี ครือ่ งนงุ่ หม่ 9. ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มี 1 สาขาวิชา คือ เทคโนโลย ี สารสนเทศ โครงสร้างหลักสูตรของทุกสาขาวิชาในทุกประเภทวิชาน้ันเหมือนกัน กล่าวคือ ผู้สำเร็จ การศึกษาตามหลักสตู รจะต้องศึกษารายวชิ าจากหมวดวิชาต่างๆ รวมไมน่ ้อยกว่า 103 หน่วยกติ และ เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดงั โครงสร้างต่อไปนี ้ 1. หมวดวิชาทักษะชีวติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 22 หน่วยกิต 1.1 กลมุ่ วชิ าภาษาไทย (ไม่นอ้ ยกวา่ 3 หนว่ ยกติ ) 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ (ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต) 1.3 กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร ์ (ไมน่ ้อยกว่า 4 หนว่ ยกิต) 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร ์ (ไม่น้อยกว่า 4 หนว่ ยกิต) 1.5 กลุ่มวิชาสงั คมศกึ ษา (ไมน่ ้อยกวา่ 3 หน่วยกิต) 1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (ไม่นอ้ ยกว่า 2 หนว่ ยกิต) 2. หมวดวชิ าทกั ษะวชิ าชพี ไม่นอ้ ยกวา่ 71 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชพี พนื้ ฐาน (18 หนว่ ยกิต) 2.2 กลุม่ ทักษะวชิ าชพี เฉพาะ (24 หนว่ ยกิต) 2.3 กลุ่มทักษะวชิ าชีพเลือก (ไมน่ อ้ ยกวา่ 21 หน่วยกิต) 2.4 ฝึกประสบการณท์ กั ษะวิชาชพี (4 หนว่ ยกติ ) 2.5 โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ (4 หนว่ ยกติ ) 3. หมวดวิชาเลอื กเสร ี ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต 4. กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร (2 ชว่ั โมงต่อสัปดาห์) รวมไมน่ อ้ ยกวา่ 103 หนว่ ยกติ หลักสูตรกำหนดให้รายวิชาภาษาจีนอยู่ในกลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศของหมวดวิชาเลือกเสรี มี 2 วิชา คือ 2000-9206 ภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร 1 (0-2-1) และ 2000-9207 ภาษาจีนเพื่อ การสื่อสาร 2 (0-2-1) วชิ าละ 1 หนว่ ยกติ ใชเ้ วลาเรยี น 2 ชว่ั โมง (คาบเรียน) ตอ่ สัปดาห์ กลุม่ วชิ า ภาษาต่างประเทศในหมวดวิชาเลือกเสรีมีรายวิชาท้ังส้ิน 31 วิชา ประกอบด้วยภาษาต่างประเทศ รายงานการวิจยั เพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศกึ ษา 33

14 ภาษา นอกจากรายวิชาภาษาจีนแล้ว ยังมีภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม บาฮาซา อนิ โดนีเซีย พมา่ เขมร ลาว บาฮาซามลายู ฟลิ ปิ โิ น รสั เซยี เยอรมัน และฝรัง่ เศส ในทีน่ ี้ ผวู้ ิจัยจะขอ กลา่ วถงึ รายละเอยี ดของรายวชิ าภาษาจนี เพียงอย่างเดียว 1. ภาษาจนี เพื่อการสอื่ สาร 1 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า 1. เพ่ือให้สามารถฟัง ดู พูด อ่านและเขียนภาษาจีนตามสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิต ประจำวนั 2. เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและใช้ภาษาตาม มารยาทสังคม 3. เพ่ือให้ตระหนักและเห็นประโยชน์ของการใช้ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน และ การศกึ ษาตอ่ สมรรถนะรายวิชา 1. ฟงั เสียงและออกเสยี งอกั ษรภาษาจนี จากส่อื โสตทัศน์ 2. พูดโต้ตอบในสถานการณ์ทใ่ี ช้ในชวี ิตประจำวัน 3. อ่านออกเสยี งคำ ประโยค ตามหลักการออกเสียง 4. เขยี นอักษรตามหลกั การเขียนภาษาจีน คำอธิบายรายวชิ า ปฏิบัตเิ กย่ี วกบั การฟัง พดู อ่าน เขียน สทั อักษรภาษาจนี การอ่านออกเสยี ง คำและ ประโยค การสนทนาสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน การใช้ศัพท์ สำนวนภาษา การเขียนอักษร จนี เบ้อื งต้น การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศพฒั นาทักษะทางภาษาจีน 2. ภาษาจีนเพอ่ื การสือ่ สาร 2 วชิ าบงั คับก่อน : ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร 1 จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้สามารถฟัง ดู พูด อ่านและเขียนภาษาจีนตามสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิต ประจำวันในระดับทีส่ งู ขึน้ 2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและใช้ภาษาตาม มารยาทสงั คม 3. เพ่ือให้ตระหนักและเห็นประโยชน์ของการใช้ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน และ การศกึ ษาตอ่ 34 รายงานการวจิ ยั เพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา

สมรรถนะรายวชิ า 1. ฟงั -ดูเรื่อง การสนทนาในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน 2. พูดโตต้ อบในสถานการณ์ต่างๆ ในชวี ิตประจำวนั 3. อ่านข้อความและเรื่องสนั้ ๆ 4. ใชค้ ำศพั ท์ สำนวนงา่ ยๆ คำอธิบายรายวิชา ปฏิบัติเก่ียวกับการฟัง พูด อ่าน เขียน การสนทนาโต้ตอบสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิต ประจำวัน การใช้คำศัพท์สำนวน การอ่านข้อความ เรื่องสั้นๆ การเขียนรูปประโยคเบ้ืองต้น การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาทักษะภาษาจีน นอกจากนี้ หลักสูตรของสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ยังกำหนด ให้มีรายวิชาภาษาจีนอีก 4 วิชา ในกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือกของหมวดวิชาทักษะวิชาชีพ คือ 2212- 2118 ภาษาจนี 1 (2-2-3), 2212-2119 ภาษาจีน 2 (2-2-3), 2212-2120 ภาษาจนี 3 (2-2-3) และ 2212-2121 ภาษาจีน 4 (2-2-3) วิชาละ 3 หนว่ ยกิต ใช้เวลาเรียน 4 ชว่ั โมง (คาบเรียน) ต่อสปั ดาห์ กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือกในหมวดวิชาทักษะวิชาชีพมีรายวิชาท้ังส้ิน 35 วิชา ประกอบด้วยภาษา ต่างประเทศ 10 ภาษา นอกจากรายวิชาภาษาจีนแล้ว ยังมีภาษาอังกฤษ ญ่ีปุ่น เกาหลี มาเลย์ อินโดนีเซีย เขมร พม่า ฟิลิปิโน และเวียดนามในท่ีน้ี ผู้วิจัยจะขอกล่าวถึงรายละเอียดของรายวิชา ภาษาจีนเพียงอย่างเดยี ว 1. ภาษาจนี 1 จดุ ประสงค์รายวิชา 1. เพือ่ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจคำศัพท์ สำนวนทีใ่ ช้ในชวี ิตประจำวนั 2. เพอ่ื ให้มีทกั ษะในการสอ่ื สารในชีวิตประจำวนั 3. เพอื่ ให้เห็นคณุ คา่ ของการใช้ภาษาในการสอื่ สารในชีวติ ประจำวัน สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์ สำนวน ประโยค และไวยากรณเ์ บื้องต้น 2. ทกั ทาย แนะนำตนเอง กลา่ วขอบคุณ ขอโทษ บอกเวลา และบอกทิศทาง คำอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั คำศพั ท์ สำนวน ประโยค และไวยากรณเ์ บอ้ื งตน้ การออกเสยี ง การสนทนาในชวี ติ ประจำวัน การทักทาย การแนะนำตนเอง การขอบคณุ การขอโทษ การบอกเวลา และการบอกทิศทาง รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา 35

2. ภาษาจนี 2 วชิ าบงั คบั ก่อน : ภาษาจีน 1 จดุ ประสงค์รายวชิ า 1. เพ่อื ให้มีความรู้ ความเข้าใจคำศพั ท์ สำนวนทใ่ี ช้ในสถานการณต์ ่างๆ 2. เพอ่ื ใหม้ ีทักษะในการสื่อสารตามสถานการณ์ต่างๆ 3. เพือ่ ใหเ้ ห็นความสำคญั ของการใชภ้ าษาในการส่ือสารตามสถานการณต์ ่างๆ สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั คำศัพท์ และไวยากรณท์ ซี่ ับซ้อนขนึ้ 2. กล่าวเชญิ ขออนุญาต ใหเ้ หตุผล และคำแนะนำ 3. อา่ นประโยคและขอ้ ความ 4. เขยี นประโยคและขอ้ ความ คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับคำศัพท์ สำนวน ประโยค และไวยากรณ์ท่ีซับซ้อนขึ้น การสนทนาในสถานการณ์ต่างๆ การเชิญ การขออนุญาต การให้เหตุผล การให้คำแนะนำ การให้ ข้อมลู การอ่านและการเขียนประโยคและข้อความ 3. ภาษาจีน 3 วชิ าบงั คบั กอ่ น : ภาษาจนี 2 จดุ ประสงคร์ ายวิชา 1. เพื่อใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจเทคนคิ และวิธกี ารอ่านและเขยี น 2. เพื่อใหม้ ที กั ษะในการอา่ นและเขียน 3. เพอื่ ใหม้ เี จตคตทิ ่ีดตี ่อการอ่านและเขยี น สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เก่ียวกับคำศพั ท์ และไวยากรณ์ในระดบั ที่สงู ขนึ้ 2. แสดงความรู้สกึ และความคดิ เห็นจากเร่อื งที่อ่าน 3. สรุปความจากเรอ่ื งทอี่ ่าน 4. เขยี นขอ้ ความและเรอ่ื งราว คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับคำศัพท์ สำนวน ประโยค และไวยากรณ์ในระดับที่สูงข้ึน การใช้ภาษาในการแสดงความรู้สึก การแสดงความคิดเห็น การสรุปความจากเรื่องท่ีอ่าน การเขียน ขอ้ ความและเร่อื งราว 36 รายงานการวิจยั เพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา

4. ภาษาจีน 4 วิชาบังคบั ก่อน : ภาษาจีน 3 จดุ ประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจคำศัพท์ สำนวนทีใ่ ชใ้ นงานธุรกจิ 2. เพือ่ ให้มีทกั ษะในการส่อื สารในงานธรุ กิจ 3. เพ่อื ใหเ้ ห็นความสำคัญของการใชภ้ าษาในงานธรุ กจิ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั คำศพั ท์ สำนวน และไวยากรณท์ ีใ่ ช้ในงานธรุ กิจ 2. สนทนาในสถานการณ์ซอื้ ขายสินคา้ และบรกิ าร 3. อา่ นเอกสารทางธุรกจิ 4. เขียนจดหมายธุรกจิ คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ภาษาในการส่ือสารทางธุรกิจ การต้อนรับลูกค้า การซื้อขายและต่อรองราคา การสอบถาม และให้ข้อมูลสินค้าและบริการ การสนทนาทางโทรศัพท์ การอ่านเอกสารทางธุรกิจ การเขียนจดหมายธุรกิจ จดหมายสมัครงาน ประวัติส่วนตัว และ การสมั ภาษณ์งาน สำหรับระดับปวส. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 กำหนดให้มี 9 ประเภทวชิ า รวม 76 สาขาวิชา ดงั น ้ี 1. ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม มี 25 สาขาวิชา คอื เทคนิคเคร่ืองกล เทคนิคการผลติ ไฟฟา้ อิเล็กทรอนกิ ส์ ชา่ งก่อสรา้ ง อุตสาหกรรมเคร่อื งเรือนและตกแต่งภายใน เทคนิคสถาปัตยกรรม สำรวจ เทคนคิ พลังงาน เทคนิคกายอุปกรณ์ โยธา เทคโนโลยยี าง เทคนคิ โลหะ เขียนแบบเคร่อื งกล เทคนคิ อุตสาหกรรม การพิมพ์ เทคโนโลยีการต่อเรือ เทคโนโลยีโทรคมนาคม เคร่ืองมือวัดและควบคุม เคมี อุตสาหกรรม ปิโตรเคมี ช่างอากาศยาน เมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ เทคโนโลยีปิโตรเลียม และ เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ 2. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ มี 13 สาขาวิชา คือ การบัญชี การตลาด การเลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการธุรกิจค้าปลีก การจัดการโลจิสติกส์ การจัดการสำนักงานการเงินและ การธนาคาร การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ธุรกิจสถานพยาบาล ภาษาต่างประเทศธุรกิจ การจัดการ ท่วั ไป และธรุ กจิ การค้าระหว่างประเทศ 3. ประเภทวิชาศิลปกรรม มี 13 สาขาวิชา คือ วิจิตรศิลป์ การออกแบบ ศิลปหัตถกรรม เทคโนโลยีเซรามิก ศิลปหตั ถกรรมรปู พรรณและเครื่องประดบั การถา่ ยภาพและมัลติมีเดยี เทคโนโลยี ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิก เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องหนัง เครื่องประดับอัญมณี ออกแบบเคร่ืองประดับอญั มณี ชา่ งทองหลวง และดนตรีและเทคโนโลยี รายงานการวิจัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 37

4. ประเภทวิชาคหกรรม มี 7 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีแฟชั่นและสิ่งทอ เทคโนโลยี ออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ เทคโนโลยีสิ่งทอและเคร่ืองนุ่งห่ม อาหารและโภชนาการ อุตสาหกรรม อาหาร การบริหารงาน คหกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีความงาม 5. ประเภทวิชาเกษตรกรรม มี 8 สาขาวิชา คือ เกษตรศาสตร์ พืชศาสตร์ สัตวศาสตร ์ สัตวรกั ษ์ ช่างกลเกษตร อตุ สาหกรรมเกษตร เกษตรอุตสาหกรรม และเทคโนโลยภี ูมิทศั น์ 6. ประเภทวิชาประมง มี 2 สาขาวิชา คือ เพาะเลย้ี งสัตวน์ ำ้ และแปรรูปสัตวน์ ำ้ 7. ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว มี 3 สาขาวชิ า คือ การโรงแรม การท่องเทีย่ ว และ การจดั ประชมุ และนิทรรศการ 8. ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ มี 4 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีส่ิงทอ เคมีส่ิงทอ เทคโนโลยเี ครื่องนุง่ หม่ (อุตสาหกรรมเสอ้ื ผา้ สำเรจ็ รปู ) เทคโนโลยกี ารทอผ้าไหมและผ้าพืน้ เมือง 9. ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มี 1 สาขาวิชา คือ เทคโนโลย ี สารสนเทศ โครงสร้างหลักสูตรของทุกสาขาวิชาในทุกประเภทวิชานั้นเหมือนกัน กล่าวคือ ผู้สำเร็จ การศึกษาตามหลักสูตรจะต้องศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่างๆ รวมไม่น้อยกว่า 83 หน่วยกิต และ เข้าร่วมกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร ดังโครงสรา้ งต่อไปน้ี 1. หมวดวิชาทักษะชีวติ ไมน่ ้อยกว่า 21 หนว่ ยกิต 1.1 กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสาร (ไมน่ อ้ ยกว่า 9หน่วยกิต) 1.2 กลุ่มทักษะการคิดและการแก้ปญั หา (ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต) 1.3 กล่มุ ทักษะทางสังคมและการดำรงชีวติ (ไม่นอ้ ยกว่า 6หนว่ ยกิต) 2. หมวดวิชาทกั ษะวชิ าชพี ไมน่ อ้ ยกวา่ 56 หนว่ ยกติ 2.1 กลมุ่ ทกั ษะวชิ าชีพพน้ื ฐาน (15หน่วยกิต) 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชพี เฉพาะ (21หนว่ ยกติ ) 2.3 กลุม่ ทกั ษะวชิ าชพี เลือก (ไมน่ ้อยกวา่ 12หน่วยกติ ) 2.4 ฝกึ ประสบการณ์ทกั ษะวิชาชีพ (4 หนว่ ยกติ ) 2.5 โครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชพี (4 หนว่ ยกิต) 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ 4. กจิ กรรมเสริมหลักสูตร (2 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์) รวมไมน่ ้อยกวา่ 83 หนว่ ยกิต หลักสูตรกำหนดให้รายวิชาภาษาจีนอยู่ในกลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศของหมวดวิชาเลือกเสรี มี 2 วิชา คอื 3000-9201 ภาษาและวัฒนธรรมจนี (2-0-2) และ 3000-9202 การสนทนาภาษาจนี สำหรับการทำงาน (2-0-2) วิชาละ 2 หน่วยกิต ใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง (คาบเรียน) ต่อสัปดาห ์ 38 รายงานการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศกึ ษา

กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศในหมวดวิชาเลือกเสรีมีรายวิชาท้ังสิ้น 26 วิชา ประกอบด้วยภาษา ต่างประเทศ 13 ภาษา นอกจากรายวิชาภาษาจีนแล้วยังมีภาษาญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า เขมร ลาว ฟิลิปิโน รัสเซีย เยอรมัน และฝร่ังเศส ในที่น้ี ผู้วิจัยจะขอกล่าวถึง รายละเอยี ดของรายวิชาภาษาจีนเพยี งอยา่ งเดยี ว 1. ภาษาและวัฒนธรรมจนี (Chinese Language and Culture) จดุ ประสงคร์ ายวิชา 1. เพื่อให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั ภาษาและวฒั นธรรมจนี 2. เพ่ือใหส้ ามารถนำภาษาจีนไปใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการส่ือสาร 3. เพอ่ื ใหต้ ระหนกั และเหน็ ประโยชนข์ องการใชภ้ าษาจนี ในงานอาชพี และการศกึ ษาตอ่ สมรรถนะรายวชิ า 1. ฟังและออกเสียงคำ ประโยคภาษาจนี จากสื่อโสตทศั น ์ 2. พดู โต้ตอบตามสถานการณต์ ่างๆ ในชวี ติ ประจำวัน 3. อ่านข้อความ เรือ่ งสน้ั ๆ จากสื่อส่ิงพิมพ์ต่างๆ 4. ใช้ภาษาตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาในสถานการณ์ต่างๆ 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสืบค้นและฝึกฝนการฟัง พูด อ่านและเขียน พร้อมแสดง หลักฐานการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาเก่ียวกับความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับประเทศ ประชาชน ภาษาและวัฒนธรรมจีน ระบบเสียงและระบบไวยากรณ์ภาษาจีน ฝึกการฟังและพูดภาษาจีน ฝึกการเขียนและอ่านอักษรจีน การสนทนาสถานการณต์ า่ งๆ ในชวี ติ ประจำวนั การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศพฒั นาทกั ษะทางภาษาจนี 2. การสนทนาภาษาจนี สำหรบั การทำงาน (Chinese Conversation for Work) จดุ ประสงค์รายวชิ า 1. เพื่อใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษาจีนสำหรบั การทำงาน 2. เพอ่ื ใหส้ ามารถนำภาษาจนี ไปใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการสื่อสาร 3. เพอ่ื ใหต้ ระหนักและเหน็ ประโยชนข์ องการใช้ภาษาจนี ในการทำงาน สมรรถนะรายวชิ า 1. ฟังและออกเสยี งคำ ประโยคภาษาจีนจากสอ่ื โสตทัศน์ 2. พดู โต้ตอบตามสถานการณ์การทำงานอาชพี ตา่ งๆ 3. อ่านและเขยี นประโยค ข้อความต่างๆ ตามทีก่ ำหนด 4. ใชภ้ าษาตามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษาในสถานการณต์ า่ งๆ รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 39

5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสืบค้นและฝึกฝนการฟัง พูด อ่านและเขียน พร้อมแสดง หลักฐานการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง คำอธิบายรายวิชา ศึกษาเก่ียวกับการฟังและพูดภาษาจีนกลาง ฝึกการอ่านและเขียนประโยค เร่ืองส้ันๆ การสนทนาสถานการณก์ ารทำงานอาชพี ตา่ งๆ การถามตอบขอ้ มลู เกยี่ วกบั ตนเองและผอู้ น่ื การเดนิ ทาง การอ่านป้ายประกาศ การกรอกแบบฟอร์มต่างๆ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาทักษะทาง ภาษาจนี นอกจากน้ี หลักสูตรของสาขาวิชาภาษาต่างประเทศธุรกิจ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ยัง กำหนดให้มีรายวิชาภาษาจีนอีก 4 วิชา ในกลุ่มทักษะภาษาต่างประเทศของกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ในหมวดวชิ าทกั ษะวิชาชีพ คือ 3212-2134 ภาษาจนี 1 (2-2-3), 3212-2135 ภาษาจีน 2 (2-2-3), 3212-2136 ภาษาจีน 3 (2-2-3) และ 3212-2137 ภาษาจนี 4 (2-2-3) วชิ าละ 3 หน่วยกิต ใชเ้ วลา เรียน 4 ชั่วโมง (คาบเรียน) ต่อสัปดาห์ กลุ่มทักษะภาษาต่างประเทศของกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือกใน หมวดวิชาทักษะวิชาชพี มรี ายวิชาทงั้ ส้นิ 30 วชิ า ประกอบดว้ ยภาษาต่างประเทศ 6 ภาษา นอกจาก รายวชิ าภาษาจีนแล้ว ยังมภี าษาอังกฤษ ญป่ี ุน่ เกาหลี ฝรงั่ เศส และเยอรมนั ในที่นี้ ผูว้ ิจยั จะขอกล่าว ถึงรายละเอยี ดของรายวชิ าภาษาจนี เพยี งอย่างเดียว 1. ภาษาจนี 1 (Chinese 1) จุดประสงค์รายวชิ า 1. เพื่อใหเ้ ข้าใจภาษาจีนระดับพ้นื ฐาน 2. เพื่อให้สามารถออกเสียง การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนคำศัพท์ และ สำนวนต่างๆ ในชีวติ ประจำวัน 3. เพอ่ื ใหม้ เี จตคติและกิจนิสัยท่ีดีในการปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความรบั ผิดชอบ สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั ภาษาจนี ระดบั พืน้ ฐาน 2. ออกเสียงคำศัพท์ และสำนวนที่ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน 3. สอื่ สารในชวี ิตประจำวนั ดว้ ยคำศัพทแ์ ละสำนวนภาษาระดบั พนื้ ฐาน 4. ปฏบิ ตั งิ านด้วยความรับผิดชอบ คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับคำศัพท์ สำนวน หลักไวยากรณ์ โครงสร้างพ้ืนฐาน และ ระบบเสียงของภาษา ปฏบิ ัติการออกเสียง การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนคำศัพท์และสำนวน ทัว่ ๆ ไปในชีวติ ประจำวนั 40 รายงานการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา

2. ภาษาจนี 2 (Chinese 2) วชิ าบังคับก่อน : ภาษาจนี 1 จุดประสงค์รายวชิ า 1. เพื่อให้เขา้ ใจภาษาจีนท่ซี ับซอ้ นขึ้น 2. เพอ่ื ให้สามารถใช้ภาษาในการสนทนาโต้ตอบตามสถานการณต์ ่างๆ 3. เพื่อให้มีเจตคตแิ ละกจิ นิสยั ที่ดีในการปฏบิ ตั งิ านด้วยความรบั ผิดชอบ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับภาษาจนี ทีซ่ ับซ้อนขึน้ 2. กลา่ วเชญิ ขออนุญาต ให้เหตุผล และคำแนะนำ 3. อ่านและเขียนประโยคภาษาจีน 4. ปฏบิ ัตงิ านด้วยความรบั ผิดชอบ คำอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาและปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั คำศพั ท์ และสำนวนภาษา การสนทนาโตต้ อบในสถานการณ ์ ต่างๆ การกล่าวเชิญ การขออนุญาต การให้เหตุผล และการให้คำแนะนำ การอ่าน และการเขียน ประโยคภาษาจนี ที่ซบั ซอ้ นขน้ึ 3. ภาษาจนี 3 (Chinese 3) วิชาบงั คับกอ่ น : ภาษาจนี 2 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า 1. เพื่อให้เขา้ ใจภาษาจนี ท่ีใชใ้ นงานอาชีพ 2. เพอื่ ให้สามารถฟงั พดู อา่ นและเขยี นในการปฏิบัติงานอาชพี 3. เพ่ือใหม้ ีเจตคตแิ ละกิจนสิ ัยทด่ี ีในการปฏบิ ัติงานดว้ ยความรับผิดชอบ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับภาษาจีนที่ใชใ้ นงานอาชีพ 2. สนทนาเก่ยี วกบั การปฏิบตั งิ านอาชีพ 3. สรุปใจความสำคญั จากเร่อื งท่ีอ่าน 4. เขยี นข้อความท่ีเก่ยี วข้องกับงานอาชพี 5. ปฏบิ ัติงานดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับคำศัพท์ และสำนวนภาษาที่ใช้ในงานอาชีพ ปฏิบัติสนทนา โต้ตอบในสถานการณ์ของงานอาชีพ ฝึกการให้ข้อมูลเกี่ยวกับงานท่ีปฏิบัติ การอ่านและสรุปใจความ สำคญั จากเรือ่ งท่ีอ่าน การเขียนขอ้ ความทเี่ ก่ยี วข้องกับงานอาชพี รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา 41

4. ภาษาจีน 4 (Chinese 4) วิชาบงั คับกอ่ น : ภาษาจนี 3 จุดประสงค์รายวิชา 1. เพอื่ ให้เข้าใจภาษาจีนทใ่ี ช้ในงานธุรกิจ 2. เพื่อให้สามารถใช้ภาษาจนี ในการตดิ ต่อส่อื สารทางธรุ กิจ 3. เพ่อื ให้มเี จตคติและกจิ นิสยั ท่ีดีในการปฏิบัตงิ านด้วยความรบั ผิดชอบ สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เก่ยี วกับภาษาจีนที่ใช้ในงานธุรกิจ 2. สนทนาโตต้ อบในสถานการณ์ทางธรุ กจิ 3. ใหข้ ้อมลู เกย่ี วกบั สินคา้ และบริการ 4. อา่ นเร่ืองทางธรุ กิจ และสรปุ ใจความสำคัญ 5. ปฏบิ ัติงานดว้ ยความรับผดิ ชอบ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับคำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างภาษาท่ีใช้ในงานธุรกิจ ฝกึ ปฏบิ ตั ิการสนทนาโต้ตอบในสถานการณ์ต่างๆ ทางธรุ กจิ การสนทนาทางโทรศัพท์ ฝกึ การให้ข้อมูล ง่ายๆ เกยี่ วกบั สินคา้ และบรกิ าร การฟังและการอา่ นเรือ่ งทางธุรกจิ การสรุปใจความสำคญั การเขยี น ข้อความงา่ ยๆ ทางธรุ กจิ เน้ือหาที่นำเสนอข้างต้นถือเป็นข้อมูลพื้นฐานของการศึกษาด้านหลักสูตรภาษาจีนระดับ อาชีวศึกษา ต่อไปน้ี ผู้วจิ ยั ตอ้ งการตอบคำถามท่ีว่าปัจจบุ นั น้ี (ปีการศึกษา 2557) สถาบันอาชีวศึกษา จัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาจีนในวันและเวลาใดบ้าง เปิดสอนรายวิชาภาษาจีนใดบ้าง แต่ละ รายวิชาใช้เวลาเรียนกี่ชั่วโมง (คาบเรียน) และมีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรอะไรบ้าง ทั้งน้ี มีบาง ประเดน็ ทีส่ ถานศกึ ษาสามารถเลอื กตอบไดห้ ลายข้อ ดงั ปรากฏขอ้ มลู ตอ่ ไปน้ี 4.2.1 วันและเวลาเรยี น ในด้านวันและเวลาเรียนรายวิชาภาษาจีน สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถเลือกตอบ ไดห้ ลายขอ้ จากผลสำรวจ พบวา่ สถาบนั อาชวี ศกึ ษาสว่ นมากซง่ึ มจี ำนวนถงึ 50 แหง่ ระบวุ า่ มกี ารเรยี น การสอนภาษาจนี ในเวลากลางวนั ของวนั จนั ทรถ์ งึ วนั ศกุ ร์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58.82 แบง่ เปน็ สถานศกึ ษารฐั 41 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 82 และร้อยละ 18 ตามลำดับ รองลงมา คือเลือกเวลาเรียนจนจบหลักสูตร 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.82 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 12 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 75 และร้อยละ 25 ตามลำดับ ลำดับที่สามคืออ่ืนๆ 15 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 17.65 โดยระบุวา่ เรียนเฉพาะวนั อาทติ ย์ จัดตามตารางสอนในแผนการเรยี น ท่ีกำหนดในโครงสร้างหลักสูตร เรียนเฉพาะบางสาขาวิชาเท่านั้น เป็นต้น ลำดับที่สี่คือเรียนเวลา 42 รายงานการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา

กลางวันของทกุ วัน 11 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.94 แบง่ เป็นสถานศกึ ษารัฐ 10 แห่ง และสถานศกึ ษา เอกชน 1 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.91 และรอ้ ยละ 9.09 ตามลำดับ ลำดบั ทีห่ ้าคือเรยี นเวลาเย็นของ วันจนั ทรถ์ งึ วนั ศกุ ร์ 6 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 7.06 เปน็ สถานศึกษารฐั ทัง้ หมด ลำดับสดุ ท้ายคือเรียนเวลา กลางวันของวันเสาร์กับวันอาทิตย์ 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 4 แห่ง และ สถานศกึ ษาเอกชน 1 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 และร้อยละ 20 ตามลำดบั นอกจากนี้ มีสถานศกึ ษา 2 แห่งไม่ตอบคำถามข้อน้ี จากขอ้ มลู ข้างตน้ จะเห็นว่าสถาบันอาชวี ศึกษาสว่ นใหญ่จดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในตอนกลางวนั ของวนั จนั ทรถ์ งึ วนั ศกุ ร์ ซง่ึ เปน็ ชว่ งเวลาการทำงานของสถานศกึ ษาทวั่ ไป เปน็ ทนี่ า่ สงั เกตวา่ มีสถานศึกษาจำนวนหน่ึงปรับเวลาการเรียนการสอนภาษาจีนให้ยืดหยุ่นเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียน จนจบหลักสูตรได้ มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่เลือกช่วงเวลาเย็นของวันจันทร์ถึงวันศุกร์และเวลา กลางวนั ของวันเสาร์กบั วันอาทิตย ์ 4.2.2 รายวิชาภาษาจนี ท่เี ปิดสอน ในด้านรายวิชาภาษาจีนที่เปิดสอน สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถเลือกตอบได ้ หลายขอ้ จากผลสำรวจระดบั ปวช.1 สถาบนั อาชวี ศกึ ษาเปดิ รายวชิ าภาษาจนี 2 วชิ า คอื ภาษาจนี เพอื่ การสื่อสาร 1 และภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร 2 มีสถานศึกษาเปิดรายวิชาภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร 1 จำนวน 66 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 77.65 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 51 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 15 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 77.27 และรอ้ ยละ 22.73 ตามลำดับ และมีสถานศกึ ษาเปดิ รายวชิ าภาษาจีน เพื่อการส่ือสาร 2 จำนวน 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.82 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 11 แห่ง และ สถานศกึ ษาเอกชน 5 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 68.75 และรอ้ ยละ 31.25 ตามลำดบั ในระดับ ปวช.2 สถาบันอาชีวศึกษาเปิดรายวิชาภาษาจีน 5 วิชา คือภาษาจีนเพ่ือ การสอื่ สาร 1 ภาษาจนี เพอื่ การสื่อสาร 2 สนทนาภาษาจนี ภาษาจีน 1 และภาษาจีน 2 มสี ถานศึกษา เปดิ รายวิชาภาษาจีนเพอื่ การสอ่ื สาร 1 จำนวน 41 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 48.24 แบง่ เป็นสถานศึกษารัฐ 33 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 80.49 และร้อยละ 19.51 ตามลำดับ มสี ถานศึกษาเปิดรายวิชาภาษาจนี เพ่อื การสอื่ สาร 2 จำนวน 24 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 28.24 แบง่ เป็น สถานศึกษารัฐ 19 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 79.17 และร้อยละ 20.83 ตามลำดับ นอกจากน้ัน มีสถานศึกษาเปิดรายวิชาสนทนาภาษาจีนจำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 3.53 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 2 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 1 แห่ง มีสถานศึกษาเปิดรายวิชา ภาษาจีน 1 และภาษาจีน 2 จำนวน 2 แหง่ โดยเป็นสถานศกึ ษารัฐ 1 แหง่ และสถานศึกษาเอกชน 1 แห่ง ในระดับ ปวช.3 สถาบันอาชีวศึกษาเปิดรายวิชาภาษาจีน 6 วิชา คือ ภาษาจีน เพ่ือการสื่อสาร 1 ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร 2 สนทนาภาษาจนี ภาษาจนี 3 ภาษาจนี 4 และภาษาจีน ข้ันสูง มีสถานศึกษาเปิดรายวิชาภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร 1 จำนวน 26 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 29.41 รายงานการวจิ ยั เพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศกึ ษา 43

แบง่ เป็นสถานศกึ ษารัฐ 18 แหง่ และสถานศึกษาเอกชน 8 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 69.23 และร้อยละ 30.77 ตามลำดับ มีสถานศึกษาเปิดรายวิชาภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร 2 จำนวน 14 แห่ง คิดเป็น รอ้ ยละ 16.47 แบ่งเปน็ สถานศึกษารฐั 10 แห่ง และสถานศกึ ษาเอกชน 4 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 71.43 และรอ้ ยละ 28.57 ตามลำดับ นอกจากนนั้ มีสถานศกึ ษาเปดิ รายวชิ าสนทนาภาษาจีนจำนวน 6 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 7.06 แบง่ เปน็ สถานศึกษารฐั 4 แหง่ และสถานศกึ ษาเอกชน 2 แหง่ มีสถานศกึ ษาเปิด รายวิชาภาษาจนี 3 และภาษาจีน 4 จำนวน 2 แหง่ โดยเปน็ สถานศึกษารฐั 1 แหง่ และสถานศกึ ษา เอกชน 1 แห่ง และยังมีสถานศึกษารฐั เปดิ รายวิชาภาษาจนี ขัน้ สงู จำนวน 1 แหง่ ดว้ ย ท้งั น้ี มีสถานศึกษารฐั 3 แห่ง เปดิ สอนรายวชิ าภาษาจีนเพ่อื การสื่อสาร 1 แตไ่ ม่ระบุ วา่ อยใู่ นระดับ ปวช. ชนั้ ใด และมสี ถานศึกษารฐั 1 แหง่ เปดิ สอนรายวชิ าภาษาจีนเพือ่ การสือ่ สาร 2 แต่ไมร่ ะบุวา่ อยู่ในระดับ ปวช. ชน้ั ใดเชน่ เดยี วกนั ในระดับ ปวส.1 สถาบันอาชีวศึกษาเปิดรายวิชาภาษาจีน 2 วิชา คือ ภาษาและ วัฒนธรรมจีน และการสนทนาภาษาจีนสำหรับการทำงานมีสถานศึกษาเปิดรายวิชาภาษาและ วฒั นธรรมจนี จำนวน 57 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 67.06 แบง่ เปน็ สถานศกึ ษารฐั 44 แหง่ และสถานศกึ ษา เอกชน 13 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 77.19 และรอ้ ยละ 22.81 ตามลำดบั และมสี ถานศึกษาเปิดรายวิชา การสนทนาภาษาจีนสำหรับการทำงานจำนวน 12 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 14.12 แบ่งเป็นสถานศกึ ษารฐั 8 แห่ง และสถานศกึ ษาเอกชน 4 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 66.67 และรอ้ ยละ 33.33 ตามลำดบั ในระดับ ปวส.2 สถาบันอาชีวศึกษาเปิดรายวิชาภาษาจีน 2 วิชา คือ ภาษาและ วัฒนธรรมจีน และการสนทนาภาษาจีนสำหรับการทำงานเช่นกันมีสถานศึกษาเปิดรายวิชาภาษาและ วัฒนธรรมจีน จำนวน 33 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 38.82 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 26 แห่ง และ สถานศึกษาเอกชน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.79 และร้อยละ 21.21 ตามลำดับ และมีสถานศึกษา เปิดรายวิชาการสนทนาภาษาจีนสำหรับการทำงานจำนวน 17 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20 แบ่งเป็น สถานศึกษารัฐ 12 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 70.59 และร้อยละ 29.41 ตามลำดับ ทั้งน้ี มีสถานศึกษารัฐ 1 แห่งเปิดสอนรายวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีนแต่ไม่ระบุว่า อยู่ในระดับ ปวส. ชั้นใด มีสถานศึกษารัฐ 1 แห่ง เปิดสอนรายวิชาการสนทนาภาษาจีนสำหรับ การทำงาน แตไ่ มร่ ะบวุ า่ อยใู่ นระดบั ปวส. ชน้ั ใด และมสี ถานศกึ ษารฐั 2 แหง่ เปดิ สอนรายวชิ าภาษาจนี เพอ่ื การส่อื สาร แตไ่ มร่ ะบุวา่ อย่ใู นระดับ ปวส. ช้ันใดเชน่ เดียวกัน 44 รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา

ตาราง 4.7 : รายวชิ าภาษาจนี ท่เี ปิดสอนระดบั ปวช. รายวิชา ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 ไม่ระบุระดับชั้น รฐั เอกชน รัฐ เอกชน รัฐ เอกชน รฐั เอกชน ภาษาจนี เพอื่ การส่อื สาร 1 51 15 33 8 18 8 3 - 10 4 1 - ภาษาจีนเพอ่ื การสือ่ สาร 2 11 5 19 5 - - - - - - - - ภาษาจนี 1 - - 1 1 1 1 - - 1 1 - - ภาษาจีน 2 - - 1 1 1 - - - 4 2 - - ภาษาจีน 3 - - - - ภาษาจนี 4 - - - - ภาษาจนี ข้ันสงู - - - - สนทนาภาษาจีน - - 2 1 ตาราง 4.8 : รายวิชาภาษาจนี ทเ่ี ปดิ สอนระดับ ปวส. ปวช.1 ปวช.2 ไมร่ ะบรุ ะดบั ชัน้ รายวชิ า รฐั เอกชน รฐั เอกชน รฐั เอกชน ภาษาและวฒั นธรรมจีน 44 13 26 7 1 - 12 5 1 - การสนทนาภาษาจนี สำหรับการทำงาน 8 4 - - 2 - ภาษาจนี เพอ่ื การสือ่ สาร - - 4.2.3 จำนวนชั่วโมงเรยี น (คาบเรยี น)/สปั ดาห์/รายวชิ า ในด้านจำนวนช่ัวโมงเรียน (คาบเรียน) สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถเลือกตอบได้ หลายข้อ จากผลสำรวจ พบว่า สถาบันอาชีวศึกษาส่วนมากซ่ึงมีจำนวนถึง 74 แห่ง ระบุว่าใช้เวลา 2 ชวั่ โมง (คาบเรียน)/สปั ดาห์/รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 87.06 แบ่งเป็นสถานศกึ ษารัฐ 65 แห่ง และ สถานศึกษาเอกชน 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 87.84 และร้อยละ 12.16 ตามลำดับ รองลงมาคือ 3-4 ชั่วโมง (คาบเรียน)/สัปดาห์/รายวิชา มีจำนวน 12 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 14.12 แบ่งเป็น สถานศึกษารัฐ 8 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.67 และร้อยละ 33.33 ตามลำดบั รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชวี ศกึ ษา 45

ตาราง 4.9 : จำนวนชัว่ โมงเรียน (คาบเรยี น)/สปั ดาห/์ รายวชิ า จำนวนช ั่วโมงเรยี น (คาบเ รียน)/สัปดาห์/รายวชิ า จำนวนสถานศกึ ษา (แหง่ ) รฐั เอกชน 2 65 9 3-4 8 4 4.2.4 กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร ในด้านกิจกรรมเสริมหลักสูตร สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถเลือกตอบได้หลายข้อ จากผลสำรวจ พบว่า สถาบันอาชีวศึกษาส่วนมากซ่ึงมีจำนวนถึง 61 แห่ง ระบุว่ามีกิจกรรมแข่งขัน พูดสุนทรพจน์ภาษาจีน คิดเป็นร้อยละ 71.76 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 54 แห่ง และสถานศึกษา เอกชน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 88.52 และร้อยละ 11.48 ตามลำดับ รองลงมาคือ กิจกรรมแข่งขัน ร้องเพลงจีน มีจำนวน 22 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25.88 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 14 แห่ง และ สถานศึกษาเอกชน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 63.64 และร้อยละ 36.36 ตามลำดับ ลำดับที่สามคือ กิจกรรมวันตรุษจีน มีจำนวน 16 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 18.82 แบง่ เป็นสถานศกึ ษารัฐ 15 แหง่ และ สถานศึกษาเอกชน 1 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 93.75 และร้อยละ 6.25 ตามลำดบั ลำดบั ที่สคี่ อื กจิ กรรม แข่งขันตอบคำถามความรทู้ ั่วไปเกยี่ วกับประเทศจีน มีจำนวน 15 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.65 แบง่ เปน็ สถานศึกษารัฐ 14 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 93.33 และร้อยละ 6.67 ตามลำดับ ลำดับสุดท้ายคือ กิจกรรมวันไหว้พระจันทร์ มีจำนวน 3 แห่ง แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 2 แหง่ และสถานศกึ ษาเอกชน 1 แห่ง นอกจากนี้ มสี ถานศกึ ษา 20 แหง่ ระบวุ า่ มกี จิ กรรมดา้ นอนื่ ๆ อกี เชน่ ดา้ นวฒั นธรรม มกี จิ กรรมเทศกาลตวนอู่ (หอ่ บะ๊ จา่ ง) เขยี นพกู่ นั จนี ถกั ไหมจนี ตดั กระดาษจนี และระบายสหี นา้ กากจนี ด้านทักษะภาษามีกิจกรรมแข่งขันคัดลายมือ ภาษาจีนวันละคำ การอ่านภาษาจีนด้วยสัทอักษร (pinyin) ฝึกพูดภาษาจีนในที่สาธารณะ (หน้าเสาธง เสียงตามสาย) ภาษาจีนหน้าแถว การแสดง ผลงานนักเรียน ร่วมกิจกรรมแข่งขันเม่ือมีการจัดการแข่งขันต่างๆ ของสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษา (สอศ.) ร่วมกิจกรรมของหอ้ งเรยี นขงจือ่ อบรมพัฒนาทักษะภาษาจีน ชมรมภาษาจนี ศึกษาดูงานท่ีสถาบันขงจ่ือแห่งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา จังหวัด ร้อยเอ็ด) Chinese Camp และ ASEAN Camp + 3 + 6 ทั้งน้ี มีสถานศึกษา 6 แห่ง ไม่ระบ ุ รายละเอียดใดๆ เกย่ี วกบั กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร 46 รายงานการวจิ ยั เพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศกึ ษา

ตาราง 4.10 : กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร กิจกร รม จำนวนสถานศกึ ษา (แหง่ ) รัฐ เอกชน แข่งขนั พดู สุนทรพจนภ์ าษาจนี 54 7 แข่งขนั รอ้ งเพลงจนี 14 8 วนั ตรษุ จีน 15 1 แข่งขันตอบคำถามความรูท้ ัว่ ไปเกยี่ วกับประเทศจนี 14 1 วันไหวพ้ ระจันทร์ 2 1 อืน่ ๆ 15 5 ไม่ระบ ุ 5 1 4.2.5 สรปุ เม่ือมองในภาพรวมของด้านหลักสูตรภาษาจีนระดับอาชีวศึกษาแล้ว จะเห็นว่า ในระดับ ปวช. สถาบันอาชีวศึกษาทั้งรัฐและเอกชนเปิดรายวิชาภาษาจีนตามหลักสูตรท่ีสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กำหนด คือ เปิดเป็นวิชาเลือกในกลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ ของหมวดวิชาเลอื กเสรี 1 หนว่ ยกิต 2 ช่วั โมง (คาบเรยี น) ตอ่ สปั ดาห์ มี 2 รายวชิ าคอื ภาษาจีนเพื่อ การส่ือสาร 1 และภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร 2 โดยเปิดในระดับชั้น ปวช.1 มากที่สุด รองลงมาคือ ระดับช้ัน ปวช.2 และ ปวช.3 แต่ในขณะเดียวกัน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาก็กำหนด ว่า หากสถานศึกษาใดมีความพร้อม ผู้เรียนมีความจำเป็นต้องเรียนภาษาจีนในระดับท่ีสูงข้ึน หรือ จำเปน็ ตอ้ งฝกึ ทกั ษะภาษาจนี ดา้ นใดดา้ นหนง่ึ โดยเฉพาะ สถานศกึ ษานน้ั กส็ ามารถเปดิ รายวชิ าภาษาจนี ในระดับท่ีสูงขึ้นหรือเฉพาะทางตามความเหมาะสมได้ ดังนั้น จะเห็นว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งเปิด รายวิชาภาษาจีนในระดับท่ีสูงข้ึนในระดับชั้น ปวช.2 และ ปวช.3 เช่น ภาษาจีน 1 ภาษาจีน 2 ภาษาจนี 3 ภาษาจีน 4 ภาษาจนี ขั้นสงู และสนทนาภาษาจนี ในระดับ ปวส. สถาบันอาชีวศึกษาท้ังรัฐและเอกชนเปิดรายวิชาภาษาจีนตาม หลักสตู รทส่ี ำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) กำหนด คือ เปดิ เป็นวชิ าเลอื กในกลมุ่ วิชา ภาษาต่างประเทศของหมวดวิชาเลือกเสรี 2 หน่วยกติ 2 ชว่ั โมง (คาบเรียน) ตอ่ สัปดาห์ มี 2 รายวิชา คือ ภาษาและวัฒนธรรมจีนและการสนทนาภาษาจีนสำหรับการทำงานโดยเปิดในระดับช้ัน ปวส.1 มากกว่าชั้น ปวส.2 แต่ในขณะเดียวกัน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาก็กำหนดว่า หาก สถานศึกษาใดมีความพร้อม ผู้เรียนมีความจำเป็นต้องเรียนภาษาจีนในระดับที่สูงข้ึน หรือจำเป็นต้อง ฝึกทักษะภาษาจีนด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ สถานศึกษาน้ันก็สามารถเปิดรายวิชาภาษาจีนในระดับ รายงานการวจิ ัยเพ่อื พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา 47

ที่สูงขึ้นหรือเฉพาะทางตามความเหมาะสมได้ ดังนั้น จะเห็นว่ามีสถานศึกษาบางแห่งเปิดรายวิชา ภาษาจีนเพอ่ื การส่อื สารเพ่มิ เตมิ ด้วย ส่วนเร่ืองจำนวนชั่วโมงเรียน (คาบเรียน)/สัปดาห์/รายวิชา สถานศึกษาส่วนใหญ่ ใชเ้ วลา 2 ช่วั โมง (คาบเรยี น) เปน็ หลกั และมีบางส่วนใช้เวลา 3-4 ชั่วโมง (คาบเรยี น) โดยสว่ นใหญ่ จัดการเรียนการสอนในเวลาราชการปกติ แต่มีบางส่วนท่ีปรับเวลาการเรียนการสอนภาษาจีนให้ ยืดหยุน่ เพือ่ ให้ผ้เู รียนสามารถเรียนจนจบหลักสตู รได้ และมเี พยี งสว่ นนอ้ ยเท่านัน้ ที่เลือกชว่ งเวลาเย็น ของวนั จันทร์ถงึ วันศกุ ร์ และเวลากลางวันของวันเสารก์ บั วันอาทิตย์ ทงั้ นี้ อาจจะเพอื่ เอ้อื ความสะดวก แก่ผูเ้ รียนและผู้สอนก็เป็นได้ ในด้านกิจกรรมเสริมหลักสูตร จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าสถานศึกษาส่วนใหญ ่ มีกจิ กรรมเสริมทักษะภาษาจีนและวฒั นธรรมจีน เช่น กิจกรรมแขง่ ขันพดู สนุ ทรพจน์ภาษาจนี แขง่ ขัน ร้องเพลงภาษาจีน แข่งขันตอบคำถามความรู้ทั่วไปเก่ียวกับประเทศจีน แข่งขันคัดลายมือ กิจกรรม วันตรุษจีน วันไหว้พระจันทร์ วันตวนอู่ การเขียนพู่กันจีน ถักไหมจีน ตัดกระดาษจีน ระบายส ี หนา้ กากจนี ฝกึ พดู ภาษาจนี หนา้ เสาธง เสยี งตามสาย การแสดงผลงานนกั เรยี น และการจดั คา่ ยภาษาจนี 4.3 ด้านสอื่ การเรยี นการสอน ในด้านสื่อการเรียนการสอน ผู้วิจัยต้องการตอบคำถามที่ว่าปัจจุบันนี้สถาบันอาชีวศึกษา เลอื กใชห้ นงั สือเรยี นภาษาจีนเล่มใดบ้าง นอกจากหนงั สือเรยี นแล้ว ยังใช้สอื่ มัลตมิ เี ดียและสื่อออนไลน์ อะไรบ้าง ใช้ตัวอักษรจีนแบบใดในการเรียนการสอน ใช้ระบบการถอดเสียงภาษาจีนแบบใด ใช้ห้อง ปฏิบัติการทางภาษาในการเรียนการสอนภาษาจีนเป็นประจำหรือไม่ และห้องสมุดมีหนังสือเสริม ความรูภ้ าษาจีนหรอื ไม ่ 4.3.1 ส่ือการเรียนการสอนท่ีใช้ ในด้านหนังสือเรียน สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถเลือกตอบได้หลายข้อ จาก ผลสำรวจ พบว่า หนงั สอื เรียนทีส่ ถาบนั อาชวี ศึกษาเลือกใช้มากท่สี ุด 5 ลำดบั แรกคือ ลำดับท่ี 1 : สัมผัสภาษาจีน (体验汉语) เรียบเรียงโดยสำนักงานส่งเสริมการเรียน การสอนภาษาจนี นานาชาติ หรอื ฮน่ั ปน้ั (Hanban) จดั พมิ พโ์ ดย Higher Education Press ประเทศจนี มีสถาบันอาชีวศึกษาเลือกใช้ 22 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25.88 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 20 แห่ง และ สถานศกึ ษาเอกชน 2 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 90.91 และร้อยละ 9.09 ตามลำดับ ลำดับท่ี 2 : ภาษาจนี กลาง (汉语教程) เรียบเรยี งโดย กิตติ พรพิมลวฒั น์ จดั พิมพ์โดย สำนกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ มสี ถาบนั อาชวี ศกึ ษาเลอื กใช้ 21 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 24.71 แบง่ เปน็ สถานศกึ ษารฐั 18 แห่ง และสถานศกึ ษาเอกชน 3 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 85.71 และร้อยละ 14.29 ตามลำดบั 48 รายงานการวจิ ัยเพ่อื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศกึ ษา

ลำดับที่ 3 : ตำราภาษาจีน ระดบั อาชวี ศึกษาช้ันตน้ (职业基础华语) เรียบเรยี งโดย ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดพิมพ์โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีสถาบันอาชีวศึกษาเลือกใช้ 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 22.35 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 17 แห่ง และ สถานศึกษาเอกชน 2 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 89.47 และรอ้ ยละ 10.53 ตามลำดบั ลำดับที่ 4 : ภาษาจีนหรรษา (快乐汉语) เรียบเรียงโดยสำนักงานส่งเสริมการเรียน การสอนภาษาจนี นานาชาติ หรอื ฮน่ั ปน้ั (Hanban) จดั พมิ พโ์ ดย Higher Education Press ประเทศจนี มีสถาบันอาชีวศึกษาเลือกใช้ 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.82 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 11 แห่ง และ สถานศึกษาเอกชน 5 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 68.75 และรอ้ ยละ 31.25 ตามลำดบั ลำดับที่ 5 : แบบเรียนภาษาจีน (汉语教程) เรียบเรยี งโดย Yang Jizhou จัดพิมพโ์ ดย Beijing Language and Culture University Press ประเทศจีน มีสถาบันอาชีวศึกษาเลือกใช ้ 7 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 8.24 เปน็ สถานศึกษารัฐทั้งหมด นอกจากนี้ ยังมีสถานศึกษาเลือกใช้หนังสือเรียนภาษาจีนเล่มอ่ืนๆ อีกจำนวนหน่ึง ดงั รายละเอยี ดต่อไปน ้ี รายงานการวิจยั เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา 49

50 รายงานการวจิ ยั เพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา ตาราง 4.11 : หนงั สือเรยี นภาษาจนี ที่ หนงั สือเรียน ผ้เู รยี บเรยี ง สำนักพมิ พ ์ จำนวนสถานศกึ ษา รัฐ เอกชน รวม 1 สัมผัสภาษาจนี สำนกั งานส่งเสรมิ การเรยี นการสอน Higher Education Press 20 2 22 (体验汉语) ภาษาจีนนานาชาติ (Hanban) 2 ภาษาจนี กลาง กติ ติ พรพมิ ลวัฒน ์ เอมพันธ ์ 18 3 21 (汉语教程) 3 ตำราภาษาจนี ระดบั อาชวี ศึกษาชัน้ ต้น ศนู ย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย 17 2 19 (职业基础华语) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 ภาษาจนี หรรษา สำนกั งานสง่ เสริมการเรียนการสอน Higher Education Press 11 5 16 (快乐汉语) ภาษาจีนนานาชาติ (Hanban) 5 แบบเรียนภาษาจีน Yang Jizhou (杨寄洲) Beijing Language and 7 0 7 (汉语教程) Culture University Press 6 ภาษาจนี เพ่อื การสอ่ื สาร สรุ ชยั ปทั มผดงุ ศกั ดิ์ แม็คเอด็ ดเู คชนั่ 6 0 6 (交际汉语) 7 ภาษาจนี เพื่อการสือ่ สาร ฉตั รดารพ์ ร มณวี ฒั นา วชั รินทรก์ ารพิมพ์ 4 0 4 (中国国语会话) ภาษาจีนเพือ่ การสอ่ื สาร หยงั ซีฟาง (杨惜芳) ศนู ย์สง่ เสริมวิชาการ 2 2 4 (通讯汉语) หยัง ลเ่ี จวยี น (杨丽娟) ประพลสร แซ่โง้ว และหวงั เหวนิ (王雯)

ตาราง 4.11 : หนังสือเรยี นภาษาจีน (ต่อ) ท ่ี หนังสือเรียน ผเู้ รียบเรียง สำนกั พมิ พ ์ จำนวนสถานศึกษา รัฐ เอกชน รวม รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 51 8 ภาษาจีน สรุ ชยั ปทั มผดุงศกั ด์ิ แม็คเอ็ดดูเคชัน่ 2 1 3 (汉语应用) ภาษาจีนเพอ่ื การส่ือสาร ธญั ชนก เลง่ และณชิ มน จนั รงุ่ ฟ้า พัฒนาวชิ าการ 3 0 3 (Chinese for Communication) 9 เรยี นภาษาจนี ให้สนุก GuoShaomei (郭少梅) นานมบี ุ๊คส ์ 2 0 2 (快乐学中文) ภาษาจนี เพอ่ื การส่อื สาร อรสา ศศภิ านเุ ดช เอมพนั ธ ์ 2 0 2 (Chinese for Communication) 10 ภาษาจีนเพื่อการสอ่ื สาร นิธิอร พรอำไพสกลุ และคณะ เอมพันธ ์ 1 0 1 (Chinese for Communication) ภาษาจีนระดับตน้ เหยนิ จง่ิ เหวิน (任景文) ซีเอด็ 1 0 1 (初级汉语) Boya Chinese Li Xiaoqi (李晓琪) Peking University Press 1 0 1 (博雅汉语)

รูป 4.1: หนงั สือสมั ผสั ภาษาจีน (เรียบเรียงโดย สำนกั งานสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจนี นานาชาติ (Hanban) Higher Education Press) (ทม่ี ารปู : ผวู้ จิ ยั ถ่ายทบี่ รษิ ทั นานมี จำกดั วนั ท่ี 1 เมษายน 2559) รูป 4.2 : หนงั สือภาษาจนี กลาง (เรียบเรียงโดย กติ ติ พรพมิ ลวฒั น์ สำนกั พมิ พ์เอมพันธ)์ (ที่มารูป : ผู้วิจัยถา่ ยทีว่ ิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันท่ี 4 เมษายน 2559) 52 รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศกึ ษา

รูป 4.3 : ตำราภาษาจนี ระดบั อาชวี ศึกษาชน้ั ต้น (เรยี บเรยี งโดย ศนู ย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ) (ท่ีมารปู : ผวู้ ิจยั ถ่ายทศ่ี นู ย์จนี ศึกษา สถาบันเอเชียศกึ ษา จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั วนั ที่ 8 มีนาคม 2559) รูป 4.4 : ตำราภาษาจนี ระดบั อาชวี ศกึ ษาชั้นสงู 53 (เรียบเรียงโดย ศนู ย์จีนศกึ ษา สถาบนั เอเชยี ศึกษา จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ) (ทมี่ ารูป : ผู้วจิ ัยถา่ ยท่ีศูนย์จนี ศกึ ษา สถาบันเอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั วันที่ 8 มนี าคม 2559) รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศกึ ษา

รปู 4.5 : หนงั สอื ภาษาจนี หรรษา (เรยี บเรียงโดย สำนักงานสง่ เสรมิ การเรียนการสอนภาษาจนี นานาชาติ (Hanban) Higher Education Press) (ทม่ี ารูป : ผวู้ จิ ัยถา่ ยท่บี รษิ ัท นานมี จำกัด วนั ท่ี 1 เมษายน 2559) รปู 4.6 : หนังสอื แบบเรียนภาษาจนี (เรยี บเรยี งโดย Yang Jizhou, Beijing Language and Culture University Press) (ท่มี ารปู : ผูว้ ิจยั ถา่ ยท่วี ทิ ยาลัยนานาชาติปรดี ี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วนั ท่ี 27 มีนาคม 2559) 54 รายงานการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศกึ ษา

รปู 4.7 : หนังสือภาษาจีนเพ่อื การส่ือสาร (เรยี บเรียงโดย สรุ ชัย ปัทมผดงุ ศกั ด์ิ สำนักพิมพแ์ ม็คเอด็ ดูเคช่ัน) (ท่มี ารูป : ผู้วิจยั ถา่ ยทีค่ ณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วนั ที่ 11 มกราคม 2559) รปู 4.8 : หนังสือภาษาจีนเพอ่ื การสอื่ สาร 55 (เรียบเรียงโดย หยัง ซฟี าง หยัง ลเ่ี จวียน ประพลสร แซ่โง้ว และหวงั เหวิน สำนักพิมพศ์ นู ย์สง่ เสริมวิชาการ) (ท่ีมารูป : ผู้วจิ ยั ถ่ายทว่ี ิทยาลัยนานาชาตปิ รดี ี พนมยงค์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ วันท่ี 20 เมษายน 2559) รายงานการวจิ ัยเพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศกึ ษา

รูป 4.9 : หนังสอื ภาษาจีน (เรยี บเรียงโดย สรุ ชัย ปัทมผดุงศักดิ์ สำนกั พิมพแ์ ม็คเอด็ ดเู คชน่ั ) (ทม่ี ารูป : ผวู้ จิ ยั ถ่ายท่คี ณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วันที่ 11มกราคม 2559) รปู 4.10 : หนงั สือภาษาจีนเพ่ือการสอ่ื สาร (เรียบเรียงโดย ธัญชนก เล่งและณชิ มน จนั รุ่งฟ้า สำนกั พิมพ์พฒั นาวชิ าการ) (ทีม่ ารูป : ผ้วู ิจัยถ่ายทวี่ ทิ ยาลัยนานาชาตปิ รดี ี พนมยงค์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วันที่ 20 เมษายน 2559) 56 รายงานการวจิ ัยเพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศกึ ษา

รูป 4.11 : หนงั สอื เรียนภาษาจีนให้สนกุ (เรยี บเรยี งโดย GuoShaomei สำนกั พมิ พน์ านมบี ุ๊คส์) (ทมี่ ารปู : ผูว้ จิ ยั ถา่ ยทบ่ี รษิ ัท นานมี จำกดั วันท่ี 1 เมษายน 2559) รปู 4.12 : หนงั สอื ภาษาจนี เพ่อื การสื่อสาร (เรียบเรียงโดย อรสา ศศภิ านเุ ดช สำนักพิมพเ์ อมพนั ธ)์ 57 (ที่มารูป : ผู้วิจัยถา่ ยท่ีวิทยาลยั นานาชาติปรดี ี พนมยงค์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ที่ 4 เมษายน 2559) รายงานการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา

รูป 4.13 : หนงั สอื ภาษาจีนเพอ่ื การส่อื สาร (เรียบเรียงโดย นธิ ิอร พรอำไพสกลุ และคณะสำนักพมิ พเ์ อมพันธ)์ (ท่มี ารูป : ผ้วู ิจยั ถ่ายที่วทิ ยาลัยนานาชาติปรดี ี พนมยงค์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ท่ี 4 เมษายน 2559) รปู 4.14 : หนังสอื ภาษาจนี ระดบั ตน้ (เรยี บเรยี งโดย เหยนิ จง่ิ เหวนิ สำนักพิมพซ์ เี อ็ด) (ท่ีมารปู : ผวู้ จิ ยั ถ่ายทีบ่ รษิ ทั นานมี จำกัด วนั ท่ี 1 เมษายน 2559) 58 รายงานการวจิ ัยเพ่อื พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชีวศกึ ษา

รูป 4.15 : หนังสือBoya Chinese (เรยี บเรียงโดย Li Xiaoqi, Peking University Press) (ท่ีมารปู : ผูว้ จิ ยั ถา่ ยที่บริษทั นานมี จำกัด วนั ที่ 1 เมษายน 2559) นอกจากเลือกใช้หนังสือเรียนภาษาจีนที่สามารถหาซื้อได้ทั่วไปแล้ว ยังมีสถานศึกษา 10 แห่ง ตอบวา่ เรยี บเรยี งหนังสือเอง เช่น โรงเรียนอสั สมั ชัญพาณิชยการเรียบเรียงหนังสอื เรยี นทักษะ รวมภาษาจีนข้ึนเองโดยเฉพาะ และเลือกใช้หนังสือ Standard Course HSK 1 และ Standard Course HSK 2 ของสำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือฮั่นปั้น (Hanban) ประเทศจนี สำหรับฝกึ ทักษะการฟังและการพดู ควบคู่กันไปด้วย รปู 4.16 : หนังสอื เรียนทักษะรวมภาษาจนี ของโรงเรยี นอสั สมั ชญั พาณชิ ยการ 59 (ท่ีมารูป : ผู้วิจัยถ่ายท่ีโรงเรยี นอสั สัมชัญพาณิชยการ วนั ที่ 28 ตุลาคม 2558) รายงานการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา

รูป 4.17 : หนังสือเรียนการฟงั และการพูดภาษาจนี ของโรงเรียนอสั สมั ชัญพาณชิ ยการ (ท่ีมารูป : ผู้วจิ ัยถา่ ยทีโ่ รงเรียนอสั สัมชัญพาณชิ ยการ วันท่ี 28 ตุลาคม 2558) ท้ังนี้ มีสถานศกึ ษาจำนวนมากถึง 36 แหง่ หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 42.35 เลือกใช้หนังสอื เรียนภาษาจีนมากกว่า 1 เล่ม ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน และมีสถานศึกษา 13 แห่ง ไมร่ ะบุวา่ ใช้หนังสอื เรียนเล่มใด จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าสถาบันอาชีวศึกษาเลือกใช้หนังสือเรียนภาษาจีนอย่าง หลากหลาย มีท้ังหนังสือของประเทศจีน และหนังสือที่เรียบเรียงโดยอาจารย์ชาวไทยเอง เป็นท ่ี น่าสังเกตว่าถึงแม้สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ไม่ได้ประกาศอย่างเป็นทางการว่า กำหนดใหส้ ถานศกึ ษาทกุ แหง่ ใชห้ นงั สอื เรยี นภาษาจนี เลม่ ใดเปน็ การเฉพาะ แตส่ ำนกั งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษามีการแนะนำหนังสือเรียนผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน (http://bsq2.vec.go.th/ learn/learn.html.สบื ค้นวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559) หนงั สือดังกล่าวได้แก่ -  ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (交际汉语) เรียบเรียงโดย สุรชัย ปัทมผดุงศักดิ ์ สำนักพิมพแ์ ม็คเอด็ ดเู คช่ัน -  ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร (通讯汉语) เรียบเรียงโดย หยัง ซีฟาง หยัง ล่ีเจวียน ประพลสร แซ่โงว้ และหวงั เหวนิ สำนกั พมิ พศ์ นู ยส์ ง่ เสรมิ วชิ าการ -  ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (交际汉语) เรยี บเรียงโดย Higher Education Press ประเทศจีน และสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) Higher Education Press หนังสือทั้งสามชุดนี้ไม่เพียงแต่เรียบเรียบข้ึนตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะ รายวชิ า และคำอธบิ ายรายวิชาของหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556 ของ 60 รายงานการวิจยั เพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา

สำนักงานคณะ กรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เท่าน้ัน แต่ยังได้ผ่านการตรวจ ประเมินคุณภาพจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 คร้ังท่ี 1 ในหมวดวิชาเลือกเสรี กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ และประเภทวิชาทักษะชีวิต สาขาวิชา ภาษาจนี อีกดว้ ย รปู 4.18 : หนังสือภาษาจีนเพอ่ื การสือ่ สาร (เรียบเรียงโดย Higher Education Press ประเทศจีน และสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา Higher Education Press) (ทม่ี ารูป : ผวู้ ิจัยถา่ ยที่วทิ ยาลัยนานาชาติปรดี ี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันท่ี 20 เมษายน 2559) ในจำนวนหนังสือที่สถานศึกษาเลือกใช้นั้น มีหนังสือจำนวนหน่ึงที่เรียบเรียบข้ึนตาม จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชาของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยเฉพาะ เพียงแต่ไม่ได้ผ่านการตรวจประเมินคุณภาพจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนังสอื ดงั กลา่ วได้แก ่ -  ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) เรียบเรียงโดย ธญั ชนก เล่ง และณิชมน จันรงุ่ ฟ้า สำนกั พมิ พพ์ ัฒนาวิชาการ -  ภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร (Chinese for Communication) เรียบเรียงโดย อรสา ศศภิ านเุ ดช สำนกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ -  ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) เรียบเรียงโดย นิธิอร พรอำไพสกุล และคณะสำนักพิมพ์เอมพนั ธ์ รายงานการวิจยั เพ่อื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา 61

นอกจากน้ี ศนู ยจ์ ีนศึกษา สถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ยังเรียบเรียง และจัดพิมพ์ตำราภาษาจีน ระดับอาชีวศึกษาชั้นต้น 6 เล่ม และตำราภาษาจีน ระดับอาชีวศึกษา ชน้ั สงู 4 เลม่ ในปี พ.ศ. 2552 ตามขอ้ สรปุ จากการทำวจิ ยั เรอ่ื งการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษาปี พ.ศ. 2551 วา่ มคี วามจำเปน็ เรง่ ดว่ นทจ่ี ะต้องผลติ ตำราภาษาจีนท่ีมคี ณุ ภาพ และ เหมาะสมกับสังคมไทยออกมาใช้เอง โดยมีสถาบันอาชีวศึกษา 19 แห่ง เลือกใชต้ ำราภาษาจนี ระดบั อาชวี ศกึ ษาช้นั ตน้ ปัจจุบันทางเลือกในการใช้หนังสือเรียนภาษาจีนของสถาบันอาชีวศึกษามีมากขึ้น เร่ือยๆ ไม่เหมือนหลายปีก่อนท่ีหนังสือเรียนส่วนใหญ่มาจากประเทศจีน ดังนั้น ผู้วิจัยเห็นว่า สถานศึกษาอาจมีแนวโน้มเลือกใช้หนังสือเรียนท่ีเรียบเรียงโดยอาจารย์ชาวไทยมากขึ้น เน่ืองจากได้ เรียบเรียงขึ้นตามหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดยเฉพาะ จึงน่าจะบรรล ุ จดุ ประสงค์ไดด้ ีกวา่ นอกจากหนังสือเรียนแล้วสถาบันอาชีวศึกษาส่วนใหญ่ยังใช้ส่ือการเรียนการสอน ในรปู แบบของสอ่ื มลั ติมเี ดีย (พาวเวอร์พอยท์ Power Point) สอื่ ออนไลน์ (ยูทปู Youtube) และซีดี (CD) วีซีดี (VCD) ดวี ดี ี (DVD) อีกด้วย จากผลสำรวจ พบวา่ ลำดบั การเลือกใชส้ ื่อเหล่านใี้ นการจดั การ เรยี นการสอนภาษาจนี ของสถาบันอาชีวศกึ ษาเป็น ดงั น ี้ ลำดับท่ี 1 : ซีดี (CD) วีซีดี (VCD) หรือดีวีดี (DVD) มีสถาบันอาชีวศึกษาเลือกใช้ 44 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 51.76 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 37 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 84.09 และรอ้ ยละ 15.91 ตามลำดับ ลำดับท่ี 2 : สอื่ มลั ตมิ เี ดีย เชน่ พาวเวอรพ์ อยท์ (Power Point) มีสถาบนั อาชีวศกึ ษา เลือกใช้ 43 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.59 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 36 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 7 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 83.72 และรอ้ ยละ 16.28 ตามลำดบั ลำดบั ท่ี 3 : สอื่ ออนไลน์ เช่น ยูทูป (Youtube) มสี ถาบนั อาชีวศึกษาเลือกใช้ 41 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 48.24 แบง่ เปน็ สถานศึกษารฐั 34 แห่ง และสถานศกึ ษาเอกชน 7 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 82.93 และร้อยละ 17.07 ตามลำดบั ท้ังนี้ มีสถาบันอาชีวศึกษาจำนวน 44 แห่ง เลือกใช้สื่อเหล่าน้ีควบคู่ตั้งแต่ 2 อย่าง ขึ้นไปในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนด้วย 62 รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา

ตาราง 4.12 : สื่อการเรยี นการสอนอ่ืนทใ่ี ช ้ ที่ ส่อื การเรยี นการสอนอืน่ ที่ใช้ จำนวนสถานศึกษา รัฐ เอกชน รวม 1 ซดี ี (CD) วีซีดี (VCD) หรอื ดวี ดี ี (DVD) 37 7 44 2 สอ่ื มลั ตมิ เี ดีย เช่น พาวเวอร์พอยท์ (Power Point) 36 7 43 3 ส่ือออนไลน์ เช่น ยูทปู (Youtube) 34 7 41 4.3.2 ตวั อักษรจนี ทใี่ ชส้ อน ในด้านตัวอักษรจีนที่ใช้สอน จากผลสำรวจ พบว่า สถาบันอาชีวศึกษาส่วนใหญ่ จำนวน 43 แห่ง ใช้เฉพาะตัวย่อ คิดเป็นร้อยละ 50.59 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 37 แห่ง และ สถานศึกษาเอกชน 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 86.05 และร้อยละ 13.95 ตามลำดับ และมีสถานศึกษา ส่วนหน่ึงจำนวน 28 แห่ง ใช้ท้ังตัวย่อและตัวเต็มควบคู่กันไป คิดเป็นร้อยละ 32.94 แบ่งเป็น สถานศึกษารัฐ 24 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 85.71 และร้อยละ 14.29 ตามลำดับ เปน็ ที่นา่ สงั เกตว่า ปัจจบุ ันนผี้ ูส้ อนเลอื กใช้หนงั สือเรียนจากประเทศจีน (แผน่ ดินใหญ)่ และ หนังสือเรียนท่ีอาจารย์ชาวไทยเรียบเรียงขึ้นเป็นหลัก ซึ่งใช้ตัวอักษรจีนแบบย่อ ดังนั้น ผู้สอนจึงสอน เป็นตัวย่อ ในขณะเดียวกันก็มีสถานศึกษาบางส่วนที่สอนท้ังตัวย่อและตัวเต็มควบคู่กันไป ผู้วิจัย คาดวา่ ครูผู้สอนคุ้นเคยกับตัวอักษรจีนแบบตัวเตม็ หรือสถานศึกษาเหล่านน้ั คงเหน็ ว่าในอนาคตผสู้ ำเร็จ การศึกษาอาจมีโอกาสเข้าทำงานกับหน่วยงานหรือองค์กรของไต้หวันหรือฮ่องกง ซ่ึงใช้ตัวอักษรจีน แบบตวั เต็มก็เปน็ ได ้ ตาราง 4.13 : ตวั อักษรจีนท่ีใช้สอน ที ่ ตัวอักษรจนี ทใ่ี ชส้ อน จำนวนสถานศกึ ษา รฐั เอกชน รวม 1 เฉพาะตวั ย่อ 37 6 43 2 ทงั้ ตัวยอ่ และตวั เตม็ 24 4 28 3 ไม่ตอบ 9 5 14 4 เฉพาะตวั เตม็ 0 0 0 รายงานการวจิ ัยเพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา 63

4.3.3 ระบบการถอดเสียงภาษาจีน ในดา้ นระบบการถอดเสยี งภาษาจนี จากผลสำรวจ พบวา่ สถาบนั อาชวี ศกึ ษาสว่ นใหญ ่ จำนวน 80 แห่ง ใช้ระบบพินอนิ (pinyin) คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.12 แบง่ เปน็ สถานศึกษารฐั 66 แหง่ และ สถานศึกษาเอกชน 14 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 82.5 และรอ้ ยละ 17.5 ตามลำดบั ในขณะเดียวกนั ใน จำนวนนี้มีสถานศึกษา 14 แห่ง ท่ีใช้การถอดเสียงด้วยภาษาไทยควบคู่กันไปด้วย คิดเป็นร้อยละ 16.47 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 10 แห่ง และสถานศกึ ษาเอกชน 4 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 71.43 และ ร้อยละ 28.57 ตามลำดับ นอกจากนี้ มีสถานศึกษาเอกชนแห่งหน่ึงคือวิทยาลัยเทคโนโลยีเอ็น- เทคอนิ เตอรเ์ นช่ันแนลจงั หวดั บึงกาฬ ระบุวา่ ใช้ระบบจูอ้ นิ (zhuyin) คูก่ บั พินอนิ (pinyin) เนอ่ื งจาก ผู้สอนเคยศึกษาที่ไต้หวัน จึงคุ้นเคยกับระบบจู้อินมากกว่า และเห็นว่าสามารถถอดเสียงภาษาจีน ออกมาไดช้ ัดเจนกวา่ ระบบพนิ อนิ จากผลสำรวจ พบว่า ยังมีสถานศึกษาจำนวนไม่น้อยท่ียังต้องถอดเสียงอ่านภาษาจีน เป็นภาษาไทยให้ผู้เรียนควบคู่ไปกับระบบพินอิน ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากผู้เรียนยังไม่สามารถเข้าใจ รายละเอียดของการถอดเสียงอ่านในระบบพินอินอย่างถ่องแท้ หรือไม่สามารถจำอักษรสัญลักษณ ์ ในระบบพินอนิ ได้ท้ังหมด จึงต้องพงึ่ พาการถอดเสยี งภาษาจีนเปน็ ภาษาไทย ตาราง 4.14 : ระบบการถอดเสียงภาษาจนี ท ่ี ระบบการถอดเสยี งภาษาจนี จำนวนสถานศึกษา รัฐ เอกชน รวม 1 พนิ อนิ 66 14 80 2 ถอดเสียงด้วยภาษาไทย 10 4 14 3 ไม่ตอบ 4 1 5 4 จอู้ นิ 0 1 1 4.3.4 การใชห้ ้องปฏิบัติทางภาษาเพ่อื ใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีน ในด้านการใช้ห้องปฏิบัติทางภาษาเพ่ือใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีนจากผลสำรวจ พบว่า สถาบันอาชีวศึกษา 42 แห่ง มีห้องปฏิบัติทางภาษาและใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีน เป็นประจำ คิดเป็นร้อยละ 49.41 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 34 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 8 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 80.95 และรอ้ ยละ 19.05 ตามลำดับ และยังมีสถาบนั อาชีวศึกษาอกี 3 แห่ง ระบวุ า่ มีห้องปฏิบัติทางภาษาแตไ่ มไ่ ดใ้ ชใ้ นการเรียนการสอนภาษาจนี ในขณะทีส่ ถาบันอาชีวศึกษา 35 แหง่ ระบุว่าไม่มีห้องปฏิบัติทางภาษาเพ่ือใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีน คิดเป็นร้อยละ 41.18 แบ่งเป็น 64 รายงานการวจิ ยั เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชวี ศกึ ษา

สถานศึกษารัฐ 29 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 82.86 และร้อยละ 17.14 ตามลำดบั ตาราง 4.15 : หอ้ งปฏบิ ตั ิทางภาษาเพอ่ื ใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีน ท ี่ ห้องปฏิบตั ิทางภาษาเพือ่ ใชใ้ นการเรยี นการสอนภาษาจีน จำนวนสถานศกึ ษา รัฐ เอกชน รวม 1 มีและใช้ในการเรียนการสอนเป็นประจำ 34 8 42 2 ไม่มี 29 6 35 3 ไม่ตอบ 5 0 5 4 มีแต่ไมไ่ ดใ้ ชใ้ นการเรยี นการสอน 2 1 3 4.3.5 การใช้ห้องสมดุ เสริมความรู้ ในดา้ นการใชห้ อ้ งสมดุ เสรมิ ความรู้ จากผลสำรวจ พบวา่ สถาบนั อาชวี ศกึ ษาสว่ นใหญ ่ จำนวน 69 แห่ง มหี นงั สือเสริมความรภู้ าษาจีนในห้องสมุดให้ผู้เรยี นศึกษาเพม่ิ เตมิ ดว้ ยตนเอง คิดเปน็ ร้อยละ 81.18 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 57 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 12 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 82.61 และร้อยละ 17.39 ตามลำดับ ในขณะเดียวกันมีสถาบันอาชีวศึกษาจำนวน 10 แห่งระบุว่า ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 11.76 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 7 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 3 แห่ง คิดเป็น รอ้ ยละ 70 และรอ้ ยละ 30 ตามลำดบั ตาราง 4.16 : หนังสือเสริมความรู้ภาษาจีนในห้องสมดุ ท่ี หนงั สอื เสรมิ ความร้ภู าษาจนี ในหอ้ งสมดุ จำนวนสถานศึกษา รัฐ เอกชน รวม 1 ม ี 57 12 69 2 ไมม่ ี 7 3 10 3 ไม่ตอบ 6 0 6 รายงานการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชีวศกึ ษา 65

4.3.6 สรปุ เมื่อมองในภาพรวมของด้านสื่อการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอาชีวศึกษาแล้ว จะเห็นว่าหนังสือเรียนท่ีสถาบันอาชีวศึกษาเลือกใช้มากท่ีสุด 5 ลำดับแรกคือ 1) สัมผัสภาษาจีน (体验汉语) เรียบเรียงโดย สำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือฮั่นปั้น (Hanban) จัดพิมพ์โดย Higher Education Press ประเทศจีน 2) ภาษาจีนกลาง (汉语教程) เรยี บเรยี งโดย กติ ติ พรพมิ ลวฒั น์ จดั พมิ พโ์ ดย สำนกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 3) ภาษาจนี พน้ื ฐาน (汉语基础) เรียบเรียงโดยสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดพิมพ์โดย สำนักงานคณะกรรมการ การอาชวี ศึกษา 4) ภาษาจีนหรรษา (快乐汉语) เรยี บเรียงโดย สำนกั งานสง่ เสรมิ การเรยี นการสอน ภาษาจีนนานาชาติ หรือฮนั่ ปัน้ (Hanban) จดั พิมพ์โดย Higher Education Press ประเทศจนี และ 5) แบบเรียนภาษาจีน (汉语教程) เรียบเรียงโดย Yang Jizhouจัดพิมพ์โดย Beijing Language and Culture University Press ประเทศจนี จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าสถาบันอาชีวศึกษาเลือกใช้หนังสือเรียนภาษาจีนอย่าง หลากหลาย มีทั้งหนังสือของประเทศจีน และหนังสือที่เรียบเรียงโดยอาจารย์ชาวไทยเอง นอกจากนี้ ยังมีหนังสือเรียนท่ีสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาเรียบเรียงเอง รวมถึงหนังสือจำนวนหน่ึง ท่ีเรียบเรียบขึ้นตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชาของหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร นอกจากหนังสือเรียนแล้วสถาบันอาชีวศึกษาส่วนใหญ่ยังนิยมใช้สื่อการเรียนการสอน ในรูปแบบของซีดี (CD) วีซีดี (VCD) ดีวีดี (DVD) ส่ือมัลติมีเดีย (พาวเวอร์พอยท์ Power Point) สือ่ ออนไลน์ (ยทู ปู Youtube) อีกดว้ ย ในด้านตวั อกั ษรจีนที่ใช้สอน สถาบนั อาชีวศึกษาส่วนใหญส่ อนเฉพาะตัวยอ่ ในขณะที่ มีสถานศึกษาจำนวนหน่ึงใช้ทั้งตัวย่อและตัวเต็มควบคู่กันไป ส่วนเร่ืองระบบการถอดเสียงภาษาจีน สถาบันอาชีวศึกษาส่วนใหญ่ใช้ระบบพินอิน และมีส่วนหนึ่งใช้วิธีถอดเสียงภาษาจีนเป็นภาษาไทย ควบคกู่ นั ไปดว้ ย ส่วนเรื่องสถานท่ีและทรัพยากรอ่ืนที่เอื้อต่อการเรียนการสอนภาษาจีน สถาบัน อาชวี ศกึ ษาเกอื บครึ่งหนึ่งระบุว่า มหี ้องปฏบิ ัติทางภาษาและใช้ในการเรียนการสอนเปน็ ประจำ และมี สถานศึกษาจำนวนเกินคร่ึงระบุว่ามีหนังสือเสริมความรู้ภาษาจีนในห้องสมุดให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติม ดว้ ยตนเอง 66 รายงานการวิจยั เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา

4.4 ดา้ นผสู้ อน ในด้านผู้สอน ผู้วิจัยต้องการตอบคำถามท่วี ่าปัจจุบันนี้สถาบันอาชีวศกึ ษาแต่ละแห่งมีครูสอน ภาษาจีนจำนวนเท่าใด สัญชาติอะไร สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาภาษาจีนหรือไม่ ใช้ภาษาอะไร ในการสอน และสอนภาษาจีนเฉลยี่ ก่ชี ว่ั โมง (คาบเรียน) ตอ่ สัปดาห์ 4.4.1 จำนวน สัญชาติ และสาขาวชิ าท่สี ำเรจ็ การศึกษาของครูสอนภาษาจนี ปัจจุบันครูสอนภาษาจีนในสถาบันอาชีวศึกษาสามารถแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม คือ ครูสัญชาติไทย ครูสัญชาติจีนที่สถานศึกษาจัดหาเอง ครูอาสาสมัครจีน ครูสัญชาติอ่ืน และครู/ อาจารย์พิเศษ จากการสำรวจข้อมูลในแบบสอบถาม พบว่า มีครูสอนภาษาจีนท้ังหมด 172 คน เรยี งตามลำดับจำนวนคนดังน้ี ลำดบั ที่ 1 : ครูอาสาสมคั รจีน 72 คน ลำดับที่ 2 : ครสู ัญชาตไิ ทย 53 คน ลำดบั ที่ 3 : ครสู ญั ชาตจิ ีน ทส่ี ถานศึกษาจัดหาเอง 28 คน ลำดับท่ี 4 : คร/ู อาจารย์พิเศษ 14 คน ลำดับท่ี 5 : ครูสัญชาติอ่ืน (ไต้หวันและฟิลิปปนิ ส)์ 5 คน จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าสถาบันอาชีวศึกษายังพึ่งพาครูอาสาสมัครจีนเป็นหลัก เพราะครูสอนภาษาจนี ส่วนใหญเ่ ป็นครูอาสาสมัครจีน มจี ำนวนมากถงึ 72 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 41.86 สว่ นครสู ญั ชาตไิ ทยอยใู่ นลำดบั รองลงมา มจี ำนวน 53 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.81 ถดั มาคอื ครสู ญั ชาตจิ นี ท่ีสถานศึกษาจัดหาเอง มีจำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28 สองลำดับสุดท้ายคือครู/อาจารย์ พเิ ศษและครูสัญชาตอิ ่ืน ในด้านสาขาวิชาท่ีสำเร็จการศึกษาของครูสอนภาษาจีน ในบรรดาครูสอนภาษาจีน ทัง้ 172 คน ส่วนใหญเ่ ป็นผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาด้านภาษาจนี มจี ำนวน 138 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 80.23 ส่วนที่เหลือคือไม่ได้สำเร็จการศึกษาด้านภาษาจีน มีจำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 19.77 หาก พิจารณาจากจำนวนร้อยละของครูสอนภาษาจีนท่ีสำเร็จการศึกษาด้านภาษาจีนแล้ว สามารถ เรียงลำดับตามกลมุ่ ไดด้ ังน ้ี ลำดับท่ี 1 : ครูสญั ชาตจิ นี ทส่ี ถานศึกษาจดั หาเอง ร้อยละ 89.29 ลำดับที่ 2 : ครูอาสาสมคั รจนี ร้อยละ 88.89 ลำดบั ที่ 3 : คร/ู อาจารย์พเิ ศษ รอ้ ยละ 71.43 ลำดบั ที่ 4 : ครูสัญชาตไิ ทย ร้อยละ 69.81 ลำดบั ท่ี 5 : ครสู ญั ชาตอิ ื่น (ไตห้ วันและฟลิ ิปปนิ ส)์ ร้อยละ 40 เป็นท่ีน่าสังเกตว่าครูสัญชาติไทยอยู่ในลำดับรองสุดท้าย ในขณะที่ครูสัญชาติจีน ที่สถานศึกษาจัดหาเองและครอู าสาสมัครจนี อยใู่ นสองลำดับแรก ซงึ่ ลว้ นเกินร้อยละ 80 ทงั้ สนิ้ รายงานการวิจยั เพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา 67

68 รายงานการวจิ ยั เพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา ตาราง 4.17 : จำนวนครูสอนภาษาจีนในสถาบันอาชีวศึกษา ภา ค ครสู ญั ( คชนา)ต ไิ ท ย สถคานรสูศญักึ (ษคชนาาจต)ดัจิ หนี าทเ ่ีอ ง ค รอู า(สคานส )ม คั รจ นี ครสู ญั (คชนา)ต อิ นื่ ค ร/ู อ าจ(คานรย) พ์ เิ ศ ษ (รควนม) รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม สว่ นกลาง (กรงุ เทพมหานคร) 8 6 14 - - - 3 3 6 - - - 3 - 3 23 ภาคกลาง - - - - 2 2 4 3 7 1 - 1 1 - 1 11 ภาคตะวันออก 4 - 4 3 - 3 5 1 6 1 - 1 2 - 2 16 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 3 4 2 4 6 11 3 14 2 - 2 2 - 2 28 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน 4 2 6 5 2 7 12 1 13 - - - - - - 26 ภาคเหนอื ตอนบน 5 - 5 3 - 3 6 1 7 1 - 1 2 - 2 18 ภาคเหนือตอนล่าง 1 - 1 - - - 2 - 2 - - - - - - 3 ภาคตะวนั ตก 3 - 3 1 - 1 4 1 5 - - - 1 - 1 10 ภาคใต้ตอนบน 6 - 6 3 2 5 9 2 11 - - - 2 - 2 24 ภาคใต้ตอนล่าง 10 - 10 1 - 1 1 - 1 - - - 1 - 1 13 รวม 42 11 53 18 10 28 57 15 72 5 - 5 14 - 14 172

ตาราง 4.18 : สาขาวชิ าทส่ี ำเร็จการศกึ ษาของครูสอนภาษาจนี ในสถาบันอาชวี ศึกษา รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 69 สาขา วชิ า ครสู ญั (คช นา)ต ไิ ทย สถคานรสูศญักึ (ษคชนาาจต)ดัจิ หนี าทเ ี่อง ค รอู า(สคานส )ม คั รจ นี ครสู ญั (คชนา)ต อิ น่ื คร/ู อ าจ(คานรย) พ์ เิ ศ ษ (รควนม) รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม ภาษาจีน 28 9 37 15 10 25 50 14 64 2 - 2 10 - 10 138 ไมใ่ ชภ่ าษาจีน 14 2 16 3 - 3 7 1 8 3 - 3 4 - 4 34 รวม 42 11 53 18 10 28 57 15 72 5 - 5 14 - 14 172

4.4.2 ภาษาทผี่ สู้ อนใช้สอน ในด้านภาษาที่ผู้สอนใช้สอน สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถเลือกตอบได้หลายข้อ จากผลสำรวจ พบว่า ไม่ว่าผู้สอนจะเป็นชาวไทยหรือชาวจีนล้วนใช้ภาษาจีนในการสอนมากที่สุด กล่าวคือ ครูสัญชาติไทยจากสถานศึกษา 39 แห่งใช้ภาษาจีนรองลงมา 32 แห่ง ใช้ภาษาไทย ครสู ญั ชาติจนี ทสี่ ถานศึกษาจัดหาเองจากสถานศึกษา 16 แห่ง ใช้ภาษาจนี รองลงมา 7 แหง่ ใชภ้ าษา อังกฤษครูอาสาสมัครจีนจากสถานศึกษา 63 แห่งใช้ภาษาจีน รองลงมา 39 แห่ง ใช้ภาษาอังกฤษ ครสู ัญชาตอิ ื่นจากสถานศึกษา 2 แห่ง ใช้ทง้ั ภาษาจนี และภาษาองั กฤษเทา่ กนั และคร/ู อาจารยพ์ เิ ศษ จากสถานศึกษา 12 แห่ง ใชภ้ าษาจนี รองลงมา 10 แหง่ ใช้ภาษาไทย ในขณะเดียวกัน มีสถานศึกษาจำนวนมากระบุว่าครูสอนภาษาจีนใช้ภาษาสองภาษา ข้ึนไปในการสอนภาษาจีน (ภาษาจีนกับภาษาอังกฤษ ภาษาจีนกับภาษาไทย ภาษาไทยกับภาษา อังกฤษ และท้ังสามภาษา) ผลการสำรวจเป็น ดังน้ี ครูสัญชาติไทย 32 แห่ง ครูสัญชาติจีนที ่ สถานศกึ ษาจดั หาเอง 8 แห่ง ครูอาสาสมคั รจีน 39 แห่ง คร/ู อาจารย์พเิ ศษ 10 แหง่ 70 รายงานการวจิ ยั เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศึกษา

ตาราง 4.19 : ภาษาที่ผูส้ อนใชส้ อน รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 71 ภาษา ครสู ญั (แชหาง่ ต) ไิ ท ย สถคานรสูศญักึ(แษชหาาง่จต)ดัจิ หนี าทเ ่ีอ ง ค รอู า(สแาห สง่ ม) คั รจ นี ครสู (ญั แหชง่า)ต อิ น่ื คร /ู อา(จแา หรง่ ย)พ์ เิ ศ ษ รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม ภาษาไทย 26 6 32 4 2 6 14 1 15 - - - 10 - 10 ภาษาจนี 34 5 39 12 4 16 52 11 63 3 - 3 12 - 12 ภาษาองั กฤษ 12 - 12 4 3 7 34 5 39 2 - 2 4 - 4 มากกวา่ 1 ภาษา 28 4 32 5 3 8 34 5 39 - - - 10 - 10 ไม่ระบ ุ 34 8 42 57 11 68 18 4 22 65 15 80 56 15 71

4.4.3 จำนวนชั่วโมง (คาบเรียน) ทีใ่ ชส้ อนภาษาจีนตอ่ สัปดาห์ จากการสำรวจข้อมูลในแบบสอบถาม พบว่า จำนวนชั่วโมง (คาบเรียน) ที่ครูสอน ภาษาจนี ในสถาบันอาชีวศกึ ษาทั้งหมดใชส้ อนภาษาจนี ต่อสัปดาหเ์ ฉลีย่ อยทู่ ี่ 13.74 ชวั่ โมง (คาบเรียน) โดยจำนวนชั่วโมง (คาบเรียน) ที่ครูอาสาสมัครจีนสอนภาษาจีนเฉล่ียต่อสัปดาห์มากที่สุดคือ 15.35 ชวั่ โมง (คาบเรียน) รองลงมาคอื ครูสญั ชาตจิ ีนทีส่ ถานศึกษาจัดหาเอง 14.4 ชวั่ โมง (คาบเรยี น) ลำดบั ที่สามคือครูสัญชาติไทย 11.45 ช่ัวโมง (คาบเรียน) ลำดับท่ีสี่คือครู/อาจารย์พิเศษ 11 ช่ัวโมง (คาบเรยี น) และลำดับสุดท้ายคอื ครสู ัญชาตอิ ื่น 9 ชัว่ โมง (คาบเรียน) 72 รายงานการวิจัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา

รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 73 ตาราง 4.20 : จำนวนช่วั โมง (คาบเรยี น) ทใ่ี ชส้ อนภาษาจนี ตอ่ สปั ดาห ์ ชวั่ โมง ครสู ญั ชาตไิ ทย ครสู ญั ชาตจิ นี ท ี่ ครอู าสาสมคั รจนี ครสู ญั ชาตอิ นื่ ค ร/ู อาจารยพ์ เิ ศษ (คาบเรยี น) สถานศกึ ษาจดั หาเอง รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม เฉลยี่ 12.04 7.75 11.45 12 16 14.4 15.71 13.13 15.35 9 - 9 11 - 11

4.4.4 สรปุ เม่ือมองในภาพรวมของด้านผู้สอนภาษาจีนในสถาบันอาชีวศึกษา จะเห็นว่าสถาบัน อาชีวศึกษาส่วนใหญ่ยังพึ่งพาครูอาสาสมัครจีน ส่วนครูสัญชาติไทยอยู่ในลำดับที่สอง ที่เหลือคือครู สัญชาติจีนที่สถานศึกษาจัดหาเอง ครู/อาจารย์พิเศษ และครูสัญชาติอ่ืน ในบรรดาครูสอนภาษาจีน ทั้งหมดนี้ ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาด้านภาษาจีน ในจำนวนน้ีครูสัญชาติจีนท่ีสถานศึกษาจัดหาเอง และครอู าสาสมคั รจนี อยใู่ นสองลำดบั แรก แตค่ รสู ญั ชาตไิ ทยอยใู่ นลำดบั รองสดุ ทา้ ย มคี รสู อนภาษาจนี เพียงส่วนน้อยเท่าน้ันที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษาด้านภาษาจีน ท้ังน้ี ไม่ว่าผู้สอนจะเป็นชาวไทยหรือ ชาวจีนล้วนใช้ภาษาจีนในการสอนมากท่ีสุด และยังมีสถานศึกษาจำนวนมากระบุว่าครูสอนภาษาจีน ใช้ภาษาสองภาษาข้นึ ไปในการสอนภาษาจนี นอกจากนี้ จำนวนช่ัวโมง (คาบเรียน) ท่ีครูสอนภาษาจีน ในสถาบนั อาชวี ศกึ ษาท้งั หมดใช้สอนภาษาจีนต่อสปั ดาห์เฉล่ยี อยู่ท่ี 13.74 ชั่วโมง (คาบเรียน) 4.5 ดา้ นผู้เรียน ในด้านผู้เรียน ผู้วิจัยต้องการตอบคำถามท่ีว่าปัจจุบันน้ีสถาบันอาชีวศึกษาแต่ละแห่งมีผู้เรียน ภาษาจีนในแตล่ ะระดับชนั้ เทา่ ใด จำนวนผเู้ รียนภาษาจนี เฉลยี่ ตอ่ หอ้ งเทา่ ใด ผเู้ รียนมพี ืน้ ฐานภาษาจนี หรือไม่ เน้ือหาในรายวิชาภาษาจีนมีความต่อเนื่องจากระดับชั้นก่อนหน้านี้หรือไม่ และผู้เรียนได้รับ ประโยชนอ์ ะไรจากการเรยี นภาษาจนี 4.5.1 จำนวนผเู้ รียน ในด้านจำนวนผู้เรียน ผู้วิจัยกำหนดขอบเขตไว้ที่ปีการศึกษา 2557 จากผลสำรวจ ระดับ ปวช. 1 สถาบันอาชีวศึกษา 46 แห่ง ระบุจำนวนผู้เรียนท้ังหมดและผู้เรียนภาษาจีนไว้ ดังน ี้ ผูเ้ รียนทั้งหมด 15,375 คน ในจำนวนน้เี รยี นภาษาจีน 10,577 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 68.79 สถานศกึ ษา ส่วนใหญ่จำนวน 28 แห่ง ระบุว่าจำนวนผู้เรียนภาษาจีนเฉลี่ยต่อห้องอยู่ที่ 20-30 คน รองลงมา 24 แห่ง ระบวุ ่า 30-40 คน นอกจากนี้ สถานศึกษาส่วนใหญจ่ ำนวน 32 แห่ง ระบวุ ่าผ้เู รียนบางคน มีพ้ืนฐานภาษาจีนแต่บางคนไม่มี รองลงมา 24 แห่ง ระบุว่าทุกคนไม่มีพ้ืนฐานภาษาจีนเลย ท้ังน้ี สถานศึกษาส่วนใหญ่จำนวน 44 แห่ง ระบุว่าเน้ือหาในรายวิชาภาษาจีนไม่มีความต่อเน่ืองจากช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 (เริ่มตน้ ใหม่) ในขณะท่มี เี พียง 2 แหง่ ระบวุ า่ มคี วามต่อเนื่อง ในระดับ ปวช.2 สถาบันอาชีวศึกษา 41 แห่ง ระบุจำนวนผู้เรียนทั้งหมดและผู้เรียน ภาษาจีนไว้ ดังนี้ ผู้เรียนท้ังหมด 10,574 คน ในจำนวนนี้เรียนภาษาจีน 5,489 คน คิดเป็นร้อยละ 51.91 สถานศึกษาส่วนใหญ่จำนวน 29 แห่ง ระบุว่าจำนวนผู้เรียนภาษาจีนเฉลี่ยต่อห้องอยู่ที่ 20-30 คน รองลงมา 17 แหง่ ระบวุ ่า 30-40 คน นอกจากน้ี สถานศกึ ษาส่วนใหญ่จำนวน 22 แหง่ ระบุว่าผู้เรียนบางคนมีพ้ืนฐานภาษาจีนแต่บางคนไม่มี รองลงมา 17 แห่ง ระบุว่าทุกคนไม่มีพื้นฐาน ภาษาจีนเลย ลำดับสุดท้ายคือ 10 แห่ง ระบุว่าทุกคนมีพื้นฐาน ทั้งน้ี สถานศึกษาส่วนใหญ่จำนวน 74 รายงานการวิจัยเพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศึกษา

23 แหง่ ระบุวา่ เนือ้ หาในรายวชิ าภาษาจนี ไมม่ คี วามต่อเนอ่ื งจากช้ัน ปวช.1 (เร่มิ ตน้ ใหม่) ในขณะทีม่ ี 18 แหง่ ระบวุ ่ามีความตอ่ เนื่อง ในระดับ ปวช.3 สถาบันอาชีวศึกษา 26 แห่ง ระบุจำนวนผู้เรียนทั้งหมดและผู้เรียน ภาษาจีนไว้ ดังน้ี ผู้เรียนท้ังหมด 7,073 คน ในจำนวนน้ีเรียนภาษาจีน 2,902 คน คิดเป็นร้อยละ 41.03 สถานศึกษาส่วนใหญ่จำนวน 16 แห่ง ระบุว่าจำนวนผู้เรียนภาษาจีนเฉลี่ยต่อห้องอยู่ที่ 20-30 คน รองลงมา 7 แห่ง ระบุว่า 30-40 คน นอกจากนี้ สถานศึกษา 9 แห่ง ระบุว่าทุกคนม ี พน้ื ฐาน และอกี 9 แหง่ เทา่ กนั ระบวุ า่ บางคนมพี นื้ ฐานภาษาจนี แตบ่ างคนไมม่ ี รองลงมา 6 แหง่ ระบวุ า่ ทกุ คนไมม่ พี ้ืนฐานภาษาจีนเลย ท้ังนี้ สถานศึกษาสว่ นใหญจ่ ำนวน 11 แห่ง ระบวุ ่าเนือ้ หาในรายวชิ า ภาษาจีนไม่มคี วามต่อเนอื่ งจากชัน้ ปวช.2 (เริม่ ตน้ ใหม)่ ในขณะท่ีมี 10 แหง่ ระบุว่ามีความต่อเนอื่ ง ในระดับ ปวส.1 สถาบันอาชีวศึกษา 34 แห่ง ระบุจำนวนผู้เรียนท้ังหมดและผู้เรียน ภาษาจีนไว้ ดังนี้ ผู้เรียนท้ังหมด 7,792 คน ในจำนวนนี้เรียนภาษาจีน 3,589 คน คิดเป็นร้อยละ 46.06 สถานศึกษาส่วนใหญ่จำนวน 20 แห่ง ระบุว่าจำนวนผู้เรียนภาษาจีนเฉล่ียต่อห้องอยู่ท ่ี 20-30 คน รองลงมา 10 แห่ง ระบุว่า 30-40 คน และลำดับสุดท้ายมี 2 แห่ง ระบุว่า 40-50 คน นอกจากน้ี สถานศึกษาส่วนใหญ่จำนวน 31 แห่ง ระบุว่าผู้เรียนบางคนมีพ้ืนฐานภาษาจีนแต่บางคน ไม่มี รองลงมา 9 แห่ง ระบุว่าทุกคนไม่มีพื้นฐานภาษาจีนเลย ทั้งน้ี สถานศึกษาส่วนใหญ่จำนวน 19 แห่ง ระบุว่าเน้อื หาในรายวชิ าภาษาจนี ไมม่ คี วามตอ่ เนื่องจากชน้ั ปวช.3 (เริ่มตน้ ใหม)่ ในขณะท่มี ี เพยี ง 7 แหง่ ระบวุ า่ มคี วามต่อเนือ่ ง ในระดับ ปวส.2 สถาบันอาชีวศึกษา 26 แห่งระบุจำนวนผู้เรียนทั้งหมดและผู้เรียน ภาษาจีนไว้ ดังนี้ ผู้เรียนท้ังหมด 5,270 คน ในจำนวนน้ีเรียนภาษาจีน 1,804 คน คิดเป็นร้อยละ 34.23 สถานศึกษาส่วนใหญ่จำนวน 18 แห่ง ระบุว่าจำนวนผู้เรียนภาษาจีนเฉลี่ยต่อห้องอยู่ท ่ี 20-30 คน รองลงมา 9 แห่ง ระบุวา่ 30-40 คน นอกจากน้ี สถานศกึ ษาส่วนใหญ่จำนวน 11 แห่ง ระบุว่าผู้เรียนบางคนมีพื้นฐานภาษาจีนแต่บางคนไม่มี รองลงมา 9 แห่ง ระบุว่าทุกคนไม่มีพ้ืนฐาน ภาษาจีนเลย ลำดบั สดุ ทา้ ยคอื 8 แหง่ ระบวุ า่ ทกุ คนมพี นื้ ฐาน ทง้ั น้ี สถานศกึ ษาสว่ นใหญจ่ ำนวน 13 แหง่ ระบวุ า่ เน้ือหาในรายวิชาภาษาจีนไม่มีความต่อเนื่องจากชั้น ปวส.1 (เร่ิมต้นใหม่) ในขณะที่มี 8 แห่ง ระบวุ ่ามคี วามตอ่ เนื่อง รายงานการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศกึ ษา 75

ตาราง 4.21 : จำนวนผเู้ รยี น ชนั้ ป ี สถานศกึ ษา ผู้เรยี นทั้งหมด ผูเ้ รยี นที่เรียนภาษาจนี ร้อยละของผ้เู รียน (แห่ง) (คน) (คน) ท่เี รยี นภาษาจนี ปวช.1 46 15,375 10,577 68.79 10,574 5,489 51.91 ปวช.2 40 7,073 2,902 41.03 7,792 3,589 46.06 ปวช.3 26 5,270 1,804 34.23 ปวส.1 34 ปวส.2 26 4.5.2 ประโยชนท์ ผี่ ูเ้ รียนได้รบั ในด้านประโยชน์ที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนภาษาจีนจากผลสำรวจ พบว่า สถาบัน อาชวี ศกึ ษา 66 แหง่ ระบวุ ่าผู้เรียนหางานทำได้งา่ ยขึ้น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 77.65 แบ่งเป็นสถานศกึ ษารฐั 56 แหง่ และสถานศึกษาเอกชน 10 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 84.85 และรอ้ ยละ 15.15 ตามลำดบั และ ยังมีสถาบันอาชีวศึกษา 60 แห่ง ระบุว่าผู้เรียนได้เปรียบเมื่อสมัครเรียนระดับสูงข้ึน คิดเป็นร้อยละ 70.59 แบ่งเปน็ สถานศกึ ษารัฐ 49 แห่ง และสถานศกึ ษาเอกชน 11 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 81.67 และ ร้อยละ 18.33 ตามลำดับ นอกจากนี้ ยังมีสถานศึกษาให้ความเห็นเพ่ิมเติมว่าผู้เรียนสามารถสื่อสาร สนทนากับชาวจีน เป็นการเตรียมตัวด้านภาษาต่างประเทศเพื่อใช้ในการทำงานในอนาคต เพ่ิม ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจส่วนตัว ได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมจีน และมีความคล่องตัวและ กล้าแสดงออกในการทำงานที่ต้องใช้ภาษาต่างประเทศมากขึ้น ท้ังน้ี มีสถานศึกษาแห่งหน่ึงแสดง ความเห็นไปในทางตรงกันข้าม กล่าวคือระบุว่าผู้เรียนส่วนน้อยได้ประโยชน์จากการเรียนภาษาจีน เน่อื งจากจำนวนชว่ั โมงเรียนน้อย ทำให้ผเู้ รยี นไม่สามารถใช้งานไดใ้ นชีวติ จรงิ 4.5.3 สรปุ เม่ือพิจารณาในภาพรวมของด้านผู้เรียนภาษาจีนในสถาบันอาชีวศึกษา จะเห็นว่า อัตราผู้เรียนภาษาจีนเมื่อเทียบกับจำนวนผู้เรียนทั้งหมดในระดับช้ันนั้นอยู่ที่ร้อยละ 30-60 ถือเป็น จำนวนไมน่ อ้ ย ในขณะท่จี ำนวนผ้เู รียนภาษาจนี เฉลย่ี ตอ่ หอ้ งสว่ นใหญอ่ ยู่ท่ี 20-30 คน ถอื เปน็ จำนวน ท่ีเหมาะสมต่อการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ แต่ในความเป็นจริงเน้ือหาการเรียนการสอน สว่ นใหญ่ไมต่ ่อเน่อื งจากระดบั ชน้ั กอ่ นหนา้ น้ี ดังนั้น ผสู้ อนจึงต้องเรม่ิ สอนตง้ั แตต่ น้ ใหม่ การทผี่ เู้ รียนใน ห้องเดียวกันมีพ้ืนฐานภาษาจีนไม่เท่ากันก็อาจเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนได้ ท้ังนี้ สถานศึกษา ส่วนใหญ่เชื่อว่าการเรียนภาษาจีนเป็นประโยชน์ต่อตัวผู้เรียนโดยตรง โดยเฉพาะด้านการทำงานและ การศึกษาตอ่ ในระดับท่ีสงู ขน้ึ ในอนาคต 76 รายงานการวจิ ัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา

4.6 ด้านความรว่ มมือกับหน่วยงานอนื่ ในด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน ผู้วิจัยต้องการตอบคำถามท่ีว่าปัจจุบันนี้สถาบัน อาชีวศึกษาแต่ละแห่งมีความร่วมมือด้านภาษาจีนกับหน่วยงานภายในประเทศและภายนอกประเทศ แหง่ ใดบ้าง และไดร้ ับการสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานที่ทำความรว่ มมอื ดา้ นใดบ้าง 4.6.1 หน่วยงานทมี่ ีความรว่ มมือดา้ นภาษาจีน จากการสำรวจข้อมูลในแบบสอบถาม พบว่าสถาบันอาชีวศึกษาส่วนใหญ่จำนวน 65 แหง่ มีความรว่ มมือดา้ นภาษาจีนกับหนว่ ยงานอื่น คิดเป็นร้อยละ 76.47 แบง่ เปน็ สถานศกึ ษารัฐ 53 แหง่ และสถานศึกษาเอกชน 12 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 81.54 และร้อยละ 18.46 ตามลำดับ ใน ขณะที่สถาบันอาชีวศึกษาที่เหลือจำนวน 20 แห่ง ระบุว่าไม่มีความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน คิดเป็น ร้อยละ 23.53 แบ่งเป็นสถานศึกษารัฐ 17 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 85 และรอ้ ยละ 15 ตามลำดับ หน่วยงานภายในประเทศท่ีสถาบันอาชีวศึกษามีความร่วมมือด้านภาษาจีนสามารถ แบง่ เป็น 6 กลมุ่ คอื หอ้ งเรยี นขงจ่ือ สถาบนั ขงจ่ือ ศูนยเ์ ครือขา่ ยส่งเสรมิ การเรียนการสอนภาษาจนี สถาบันอาชวี ศกึ ษาอืน่ มหาวิทยาลัย และหนว่ ยงานอื่นๆ ตามรายละเอยี ด ดังน้ ี 1) ห้องเรียนขงจอ่ื : -  ห้องเรียนขงจ่ือโรงเรียนระยองวิทยาคม (วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี วิทยาลัย เทคนคิ ยโสธร) -  หอ้ งเรียนขงจื่อโรงเรยี นภเู กต็ วทิ ยาลัย (วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาภเู กต็ ) -  ห้องเรยี นขงจอื่ โรงเรยี นอัสสมั ชญั พาณชิ ยการ (โรงเรียนอัสสมั ชญั พาณชิ ยการ) -  ห้องเรยี นขงจือ่ โรงเรยี นสวา่ งบรบิ ูรณ์ (วิทยาลยั เทคโนโลยชี ลบุร)ี 2) สถาบันขงจอื่ : -  สถาบันขงจื่อแห่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น (วิทยาลัยเทคนิคยโสธร วิทยาลัย อาชีวศึกษาขอนแก่น วิทยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด วิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเลย วิทยาลยั เทคนิคประจวบคีรขี ันธ์ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสพุ รรณบุร)ี -  สถาบันขงจื่อแห่งมหาวิทยาลัยบูรพา (วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี วิทยาลัย เทคนคิ นครนายก วทิ ยาลยั เทคโนโลยชี ลบรุ )ี -  สถาบันขงจ่ือแห่งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (วิทยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด วิทยาลยั เทคโนโลยีธรี ภาดา) -  สถาบันขงจื่อแห่งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เชยี งราย วทิ ยาลยั เทคนิคประจวบครี ีขนั ธ์) รายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา 77

-  สถาบันขงจื่อแห่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต (วิทยาลัย อาชีวศึกษาภูเก็ต) -  สถาบันขงจื่อแห่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (วิทยาลัย เทคนิคสตูล) -  สถาบนั ขงจอ่ื แหง่ เทศบาลเมอื งเบตง (วิทยาลยั เทคนิคสตูล) -  สถาบนั ขงจ่อื แห่งมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (โรงเรยี นอสั สัมชญั พาณชิ ยการ) 3) ศูนยเ์ ครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจีน : -  ศูนยเ์ ครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ การเรียนการสอนภาษาจนี (วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาภูเก็ต) 4) สถาบนั อาชวี ศกึ ษาอืน่ : -  วิทยาลัยเทคนิคยโสธร (วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ วิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเลย วทิ ยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษากาญจนบรุ )ี -  วิทยาลัยอาชีวศึกษาร้อยเอ็ด (วิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์ วิทยาลัยเทคนิค รอ้ ยเอ็ด) -  วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาอำนาจเจรญิ (วิทยาลยั เทคนคิ บรุ ีรมั ย์) -  วิทยาลยั การอาชีพรอ้ ยเอ็ด (วทิ ยาลยั เทคนคิ ร้อยเอ็ด) -  วิทยาลัยเทคนิคลำปาง (วิทยาลัยเทคนคิ ประจวบครี ขี ันธ์) -  วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาสพุ รรณบุรี (วิทยาลัยอาชีวศกึ ษากาญจนบุร)ี -  วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษายโสธร (วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสพุ รรณบุร)ี 5) มหาวทิ ยาลยั : -  มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย วิทยาลัยอาชีวศึกษา กาญจนบรุ ี วิทยาลัยเทคนิคสตลู ) -  มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเก็ต (วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาภูเกต็ ) 6) หนว่ ยงานอ่ืนๆ : -  สมาคมครูภาษาจีนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตน- ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (วทิ ยาลยั เทคนคิ พะเยา วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษายะลา) -  ชมรมครสู อนภาษาจนี อาชีวศึกษา (วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี) -  ชมรมภาษาจนี สำนกั พฒั นาสมรรถนะและบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร (วิทยาลัยเทคนิคสตลู ) -  สมาคมครูภาษาไทยแหง่ ประเทศไทย (วิทยาลัยเทคนคิ ประจวบครี ขี นั ธ์) -  โรงเรียนภาษาหวั เต๊อะวิทยา (วทิ ยาลยั เทคนคิ ลพบรุ )ี -  สถาบนั สอนภาษาจนี ไคฟง (วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาภูเก็ต) 78 รายงานการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อาชีวศึกษา

รปู 4.19 : ห้องเรียนขงจ่อื โรงเรยี นอสั สัมชญั พาณิชยการ (ที่มารูป : ผู้วิจยั ถา่ ยที่ห้องเรยี นขงจอ่ื โรงเรียนอสั สมั ชญั พาณิชยการ วนั ท่ี 28 ตลุ าคม 2558) รปู 4.20 : สถาบันขงจ่ือแห่งมหาวิทยาลยั แมฟ่ ้าหลวง (ที่มารปู : ผู้วจิ ัยถา่ ยท่สี ถาบันขงจอ่ื แห่งมหาวทิ ยาลยั แม่ฟา้ หลวง วันท่ี 3 ธันวาคม 2557) หน่วยงานภายนอกประเทศที่สถาบันอาชีวศึกษามีความร่วมมือด้านภาษาจีนสามารถ แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ สำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือฮ่ันป้ัน (Hanban) โรงเรียน สถาบนั อาชวี ศกึ ษาอ่ืน และมหาวิทยาลยั ตามรายละเอยี ด ดังน ้ี 1) สำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือฮ่ันป้ัน (Hanban) : สถาบันอาชีวศึกษารัฐ 35 แห่ง และสถาบันอาชวี ศึกษาเอกชน 5 แหง่ 2) โรงเรียน : Tianjin Chong Hua High School (天津市崇化中学) (โรงเรียนอสั สัมชญั พาณชิ ยการ) รายงานการวิจัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อาชวี ศกึ ษา 79

3) สถาบันอาชีวศกึ ษาอื่น : -  Yunnan College of Tourism Vocation (云南旅游职业学院) (วิทยาลยั พณิชยการบางนา) -  Leshan Vocational and Technical College (乐山职业技术学院) (วทิ ยาลยั เทคนคิ ประจวบคีรีขนั ธ)์ -  Tianjin College of Commerce (天津商务职业学院) (วิทยาลัย อาชวี ศึกษาภเู ก็ต) 4) มหาวิทยาลัย : -  MingDao University (明道大学) (วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเสาวภา วิทยาลัย สารพดั ชา่ งสมทุ รปราการ) -  Southwest University (西南大学) (วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาภเู ก็ต) -  Guangxi Normal University (广西师范大学) (วิทยาลัยเทคนิคสตูล โรงเรียนอสั สัมชัญพาณิชยการ) -  Tianjin Normal University (天津师范大学) (โรงเรียนอัสสัมชัญ พาณชิ ยการ) -  Guangxi University (广西大学) (วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา) 4.6.2 สง่ิ ทไ่ี ดร้ บั การสนับสนุนจากหน่วยงานที่ทำความร่วมมือ ในด้านสิ่งที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่ทำความร่วมมือทั้งจากหน่วยงาน ภายในประเทศและหน่วยงานภายนอกประเทศ สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถเลือกตอบได้หลายข้อ จากผลสำรวจ พบวา่ ส่ิงที่ได้รบั การสนบั สนุนจากหน่วยงานภายในประเทศมากทีส่ ุด 5 ลำดับแรกคอื ลำดับที่ 1 : ด้านผู้สอน (เช่น สนับสนุนผู้สอนหรือแลกเปลี่ยนผู้สอนภาษาจีน) มสี ถาบันอาชีวศกึ ษาระบุว่าไดร้ บั การสนบั สนุนด้านน้ี 26 แห่ง แบง่ เปน็ สถานศึกษารฐั 20 แห่ง และ สถานศึกษาเอกชน 6 แห่ง ลำดบั ที่ 2 : ด้านสื่อการสอน (เช่น สนับสนุนสื่อท่ีใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีน ทง้ั หนังสอื หรอื ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ สต์ ่างๆ) มีสถาบันอาชีวศึกษาระบุว่าได้รบั การสนับสนุนดา้ นนี้ 22 แห่ง แบง่ เปน็ สถานศกึ ษารัฐ 18 แห่ง และสถานศกึ ษาเอกชน 4 แหง่ ลำดบั ที่ 3 : ด้านหลักสูตร (เช่น สนับสนุนการจัดทำหลักสูตรภาษาจีน) มีสถาบัน อาชวี ศกึ ษาระบวุ า่ ไดร้ บั การสนบั สนนุ ดา้ นนี้ 15 แหง่ แบง่ เปน็ สถานศกึ ษารฐั 13 แหง่ และสถานศกึ ษา เอกชน 2 แห่ง 80 รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชวี ศึกษา