Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชาดก เรื่องโปรด The Favorite Jakatas

ชาดก เรื่องโปรด The Favorite Jakatas

Description: ชาดก เรื่องโปรด The Favorite Jakatas

Search

Read the Text Version

8) Of old, sire, in this very city a man in answer to his prayer had a son. At his birth the father was full of joy and gladness at the thought of having got a son, and cherished him. When the boy was grown up, he wedded him to a wife, and by and bye he himself grew old and could not undertake any work. So his son said, “You cannot do any work: you must go from hence,” and he drove him out of the house. With great difficulty he kept himself alive on alms, and lamenting he uttered this stanza: He for whose birth I longed, nor longed in vain, Drives me from home. My refuge proved my bane. “Just as an aged father, sire, ought to be cared for by an able-bodied son, so too ought all the people to be protected by the king, and this danger now present has arisen from the king, who is the guardian of all men. Know, sire, from this fact that the thief is so and so.” 50 www.kalyanamitra.org

๘) ขา แตพระองค ในกาลกอ นบรุ ุษผูหนง่ึ ในพระนครนแี้ หละ ตง้ั ความ ปรารถนาแลวกไ็ ดบตุ ร ในเวลาที่บตุ รเกดิ เขาเกดิ ปตโิ สมนสั วา ‘เราไดบ ตุ ร แลว’ เลี้ยงดูบุตรนั้นเปนอยางดี เมื่อเจริญวัยแลวไดหาภรรยาให ตอมา ภายหลงั เขาแกเ ฒา ลง ไมอาจทาํ งานใหสาํ เร็จได ครง้ั นั้นบตุ รไดกลา วกะเขาวา พอไมอ าจทําการงานไดจงออกไปจาก บานนี้ แลว กข็ ับออกจากบา น เขาขอทานเล้ยี งชีพดว ยความยากแคน คร่ําครวญอยกู ลา วคาถาวา :- เ ร า ช่ื น ช ม ยิ น ดี ด  ว ย บุตรผูเกิดแลวคนใด เราปรารถนาความเจริญแก บุตรคนใด บุ ต ร ค น นั้ น ก็ ม า ขั บ ไ ล  เ ร า ออกจากเรือน ภัยเกิดขึ้นแตท่ีพ่ึงอาศัยแลว. พระมหาสัตวก ราบทูลตอ ไปวา “ขาแตม หาราชเจา ข้ึนช่ือวา บดิ า ผแู กช รา บตุ รผมู กี าํ ลงั ความสามารถควรรกั ษาฉนั ใด ชนบททงั้ หมดพระราชา ควรรักษาฉันน้ัน ก็แลภัยนี้เม่ือเกิดข้ึนไดเกิดข้ึนแลวจากสํานักของ พระราชาผรู กั ษาสตั วท ง้ั ปวง ขอพระองคจ งทรงทราบวา คนชอ่ื โนน เปน โจร ดว ยเหตุน้ี พระพุทธเจาขา” 51 www.kalyanamitra.org

“I do not understand this, be it fact or no fact: either bring me the thief, or you yourself must be the thief.” Thus did the king again and again question the youth. So he said to him, “Would you, sire, really like the thief to be caught?” “Yes, friend.” “Then I will proclaim it in the midst of the assembly, So and So is the thief.” “Do so, friend.” On hearing his words he thought, “This king does not allow me to shield him: I will now catch the thief.” And when the people had gathered together, he addressed them and spoke these stanzas: Let town and country folk assembled all give ear, Lo! water is ablaze. From safety cometh fear. The plundered realm may well of king and priest complain; Henceforth protect yourselves. Your refuge proves your bane. 52 www.kalyanamitra.org

พระราชาไดทรงสดบั ดังน้นั จะตรสั วา “นแ่ี นะ เจา เรา ไมทราบสาเหตุ ที่ควรและไมค วร เจา จงช้ีตวั โจรใหเถิด หรือวา ตัวเจาเองเปน โจร” พระราชา ทรงรบเรามาณพอยูเนอื ง ๆ ดวยประการดังวา มาน.้ี ลาํ ดับนัน้ พระโพธิสตั วไดก ราบทูลพระราชาอยา งนว้ี า “ขาแต พระมหาราชเจา พระองคจ ะใหข า พระองคช ต้ี วั โจรอยา งเดยี วเทา นนั้ มใิ ชห รอื ?” พระราชาตรัสวา “ถกู แลว เธอ” พระโพธิสัตวกราบทูลวา “ถาเชนน้ัน ขาพระองคจักประกาศ ในทา มกลางบริษทั วา คนโนน ดว ยคนนี้ดว ยเปนโจร” พระราชาตรัสวา “จงทําอยา งนเ้ี ถดิ เธอ” พระโพธิสัตวไดสดับพระราชดํารัสดังนั้นแลวคิดวา ‘พระราชานี้ ไมใ หเรารกั ษาพระองคไว ฉะนนั้ เราจกั จับโจรในบดั น้’ี คดิ ดงั น้ีแลว จึงปาว ประกาศเรียกประชุมชาวนคิ มชนบท แลวกลา วคาถา ๒ คาถาวา :- ขอชาวชนบทและชาวนิคมผมู าประชมุ กนั แลว จงฟง ขา พเจา นํา้ มใี นทใี่ ด ไฟก็มใี นทน่ี ้ัน ความเกษมสาํ ราญบงั เกดิ ข้ึนแตที่ใด ภัยก็บงั เกดิ ขนึ้ แตท่ีน้นั พระราชากบั พราหมณปุโรหติ พากนั ปลน รฐั เสยี เอง ทา นทง้ั หลาย จงพากนั รักษาตนของตนอยูเถดิ ภยั เกิดขนึ้ แตท ี่พึ่งอาศยั แลว . 53 www.kalyanamitra.org

When they heard what he said, people thought, ‘The king, though he ought to have protected others, threw the blame on another. After he had with his own hands placed his treasure in the tank, he went about looking for the thief. That he may not in future go on playing the part of a thief, we will kill this wicked king.’ So they rose up with sticks and clubs in their hands, and then and there beat the king and the priest till they died. But they anointed the Bodhisatta and set him on the throne. The Master, after relating this story to illustrate the Truths, said, “Lay Brother, there is nothing marvellous in recognizing footsteps on the earth: sages of old recognized them in the air,” and he identified the Birth: —At the conclusion of the Truths the lay Brother and his son attained to fruition of the First Path:— “In those days the father was Kassapa, the youth skilled in footsteps was myself.” 54 www.kalyanamitra.org

ลําดับนน้ั ประชาชนเหลา นน้ั ไดฟ ง คําของพระโพธิสัตวน ัน้ แลว พากันวา ‘พระราชาพระองคนีค้ วรจะมหี นา ทีป่ กปกรกั ษา บัดน้พี ระองค กลบั ใสโ ทษคนอนื่ เอาสงิ่ ของของพระองคไ ปไวใ นสระโบกขรณดี ว ยพระองค เอง แลว คนหาโจร บัดนีพ้ วกเราจะฆาพระราชาลามกนี้เสีย เพอ่ื ไมใ หก ระทํา โจรกรรมอีกตอ ไป.’ ลาํ ดบั นั้น ประชาชนเหลา น้ันจงึ ไดพรอมกันลุกข้ึน ถือทอนไมบ า ง ตะบองบาง ทุบตีพระราชาและพราหมณปุโรหิตใหตาย แลวอภิเษก พระมหาสัตวใ หค รองราชสมบตั ิตอ ไป. ประชมุ ชาดก พระศาสดาคร้นั ทรงนาํ พระธรรมเทศนานีม้ าแสดงดงั น้ีแลว ตรสั วา “ดกู อ นอบุ าสก การจํารอยเทา บนแผน ดินไดไ มน าอศั จรรย บัณฑิตครั้งกอ น จาํ รอยเทา ในอากาศไดถ ึงอยา งน้”ี แลว ทรงประกาศสจั ธรรม เวลาจบสจั ธรรม อุบาสกและบุตรดาํ รงอยูใ นโสดาปต ตผิ ล บิดาในครง้ั น้นั ไดมาเปนพระกสั สปในครง้ั น้ี มาณพผูฉลาดในการสังเกตรอยเทาไดม าเปน เราตถาคต 55 www.kalyanamitra.org

ปทกสุ ลเนมอ้ื เราอ่ื ณงยอวชาดก บุตรของกฎุ มพีในนครสาวตั ถี ไดเปนผฉู ลาดในการสงั เกตรอยเทา บิดาจงึ ทดลองเดินไปพระเชตวันมหาวหิ ารโดยไมบ อก เด็กนอยก็สะกดรอยเทาตามเจอ. กฏุ มพีกราบทูลถึงความฉลาดของ เด็กในการสงั เกตรอยเทา. พระศาสดาจงึ ตรสั วา อุบาสก การจํารอยเทา บนพื้นดนิ ได ไมน า อัศจรรย บณั ฑติ ในกาลกอ น จํารอยเทาในอากาศได แลว จงึ ทรงนําชาดกเร่ืองน้มี าตรัสเลาดังนี้ ในอดตี กาล พระเจา พรหมทตั ทรงมพี ระอัครมเหสขี องพระองค ประพฤตินอกใจ แตก ็ไมส ารภาพ ทนสาบานวา ถา หมอมฉนั ประพฤตนิ อกใจ จริง ขอใหห มอมฉนั เปน ยกั ษณิ ีมหี นาเหมอื นมา. เม่ือพระนางสิ้นพระชนม จงึ ไดเ กดิ เปน ยกั ษณิ มี หี นา เหมอื นมา ตอ มาไดจ บั พราหมณค นหนง่ึ มาเปน สามี พระโพธสิ ตั วเ กิดเปนลูกนางยักษณิ ี มีกําลงั มาก พยายามพาพราหมณผ ูเปน พอหนี จนในท่ีสุดสามารถออกจากเขตแดนยักษิณี. ความรักของแม นางยักษิณจี ึงสอนมนตช่อื จนิ ดามณี ซง่ึ สามารถตดิ ตามรอยเทา ได. สองพอ ลูกจึงไปเฝา พระราชา เพอื่ รบั ราชการ.อยมู าวนั หนง่ึ ปโุ รหติ สมคบกบั พระเจา พา ราณสี เอาดวงแกวไปซอนในสระโบกขรณี เพื่อตองการทดสอบมาณพ โพธิสัตว ทานไดใ ชมนตติดตามรอยเทา ของโจรท้ัง ๒ จนไดด วงแกวคนื แต พระราชาคาดคน้ั ใหจ ับโจรใหได, พระโพธิสตั วแมรูอ ยวู า พระราชาเปน คนเอา ไป แตเ พ่อื รักษาพระเกียรติ จึงนําเรื่องราวตางๆมาเลา ๘ เร่อื ง เพอ่ื ใหพระ ราชาทรงทราบเองเชน ๑) มาณพนักฟอนชื่อปาฏลี เม่ือเลิกจากมหรสพแลว ไดซ้ือสุรา อาหารเปนจาํ นวนมาก เดนิ กลับบานของตน ถึงฝง แมน ํ้าเห็นน้ําใหมก าํ ลัง ไหลมา จงึ นง่ั บรโิ ภคอาหารด่ืมสรุ าเมาจนเมา เอาพณิ ใหญผูกคอแลว ลงนํา้ จับมอื ภรรยา แลววายขามแมน ้ําไป. นํ้าไดเขา ไปตามชอ งพณิ . พิณนน้ั ไดถ วง เขาจมลงในนํา้ . 56 www.kalyanamitra.org

๒) ชางหมอเอาดินเหนียวที่เดียวมาปนภาชนะ จนภายในเปนเง้ือม ฝนตกนา้ํ ทว ม หลมุ ทะลายทบั ศีรษะชางหมอ แตก ๓) ไฟไหมบานของบุรุษคนหนึ่งในพระนครนี้ เขาใชคน ๆ หนึ่งวา เจา จงเขา ไปขา งในขนสง่ิ ของออก เมอื่ คนนน้ั กาํ ลงั เขา ไปขนของอยู ประตเู รอื น ปด . เขาตามดื มวั เพราะถกู ควนั หาทางออกไมไ ด เกดิ ทกุ ขข นึ้ เพราะความรอ น ๔) บุรุษคนหนึ่งในพระนครน้ีบริโภคอาหารมากเกินไป ไมอาจ ยอ ยได ไดร บั ทกุ ขเวทนา คราํ่ ครวญอยู ๕) ในกาลกอนลมไดต้ังข้ึนพัดทํารายรางกายของชายคนหน่ึง ในพระนครน้ี เขาไดค ราํ่ ครวญอยู ๖) ในหมิ วันตประเทศ มีตน ไมใ หญส มบรู ณดว ยก่ิงและคา คบ เปน ทีอ่ ยูอาศยั ของนกหลายพนั ตัว ก่งิ สองกิ่งของตน ไมน้ันเสียดกันจนมีควนั เกิด ขึ้น แลว เชอื้ ไฟหลน ลง นกท้ังหลายเหน็ ดงั น้นั กพ็ ากนั หลบหนีไป ๗) เรานาํ หญงิ ใดผมู คี วามโสมนสั ทดั ระเบยี บดอกไม มกี ายประพรม ดว ยจนั ทนเ หลอื งมา หญงิ นน้ั ขบั ไลเ ราออกจากเรอื น ๘) ในกาลกอนชายผูหน่ึงในพระนครนี้ ปรารถนาไดบุตร ในเวลา ท่ีบุตรเกิดเขาเกิดปติโสมนัสวาเราไดบุตรแลว เล้ียงดูบุตรนั้นเปนอยางดี เม่อื เจรญิ วัยแลว ไดห าภรรยาให ตอ มาภายหลงั เขาแกเ ฒา ลง ไมอาจทาํ งานได แลวก็ขบั ออกจากบาน เขาขอทานเล้ียงชีพดวยความยากแคน ทง้ั ๘ เรอื่ ง เปนภัยท่เี กดิ ข้ึนจากท่พี ึง่ อาศัยทัง้ ส้นิ เมื่อพระราชายงั ทรงยืนยันใหช้ีตัวโจร, พระโพธิสัตว จงึ ประกาศ ทา มกลางสมาคมวา “จงฟง ขา พเจานาํ้ มีในท่ีใด ไฟก็มีในทน่ี ้นั ความเกษม สาํ ราญบงั เกดิ ขน้ึ แตท ใี่ ด ภยั กบ็ งั เกดิ ขน้ึ แตท นี่ น้ั พระราชากบั พราหมณป โุ รหติ พากนั ปลน รฐั เสยี เอง ทา นทง้ั หลาย จงพากนั รกั ษาตนของตนอยเู ถดิ ภยั เกดิ ขนึ้ แตท พี่ งึ่ อาศยั แลว . ประชาชนจงึ ไดพ รอ มกนั รมุ ประชาทฑั พ ระราชาและพราหมณ ปโุ รหติ ใหต าย แลว อภเิ ษกพระโพธสิ ตั วใ หค รองราชสมบตั ติ อ ไป. 57 www.kalyanamitra.org

อธบิ ายศัพท ปท, บท แปลวา น. เทา ,รอยเทา กสุ ล, กุศล แปลวา น. สง่ิ ทีด่ ีท่ีชอบ บุญ. ว. ฉลาด. มาณว, มาณพ แปลวา น. ชายหนมุ , ชายรุน . ปทกุสลมาณว แปลโดยรวม ชายหนุมผฉู ลาดในรอยเทา ขอคิดจากชาดก ๑. พระโพธิสตั วระหวางสรา งบารมี บางครั้งกท็ ําผิด ทาํ พลาด, ดัง ในชาดกเรอ่ื งนี้ เกดิ เปนลกู นางยักษิณี และยังทําใหแมยักษณิ ีเปน ทกุ ขใ จ จน ตองทํารายตนเองจนถงึ แกค วามตาย, ความรักของแมยักษิณี แมล กู จะทําผดิ ครัง้ แลวครัง้ เลา กใ็ หอภัย ตงั้ แตผลักแผน ศิลาหนาถา้ํ หนไี ป ๒ คร้ัง, หลอก ถามแมยกั ษณิ ีถงึ เขตแดนของยักษิณี, ทําใหแ มทุกขใจ แตแ มก ย็ ังหวงลูก กลวั วา ถาลูกไมม วี ิชาจะไมส ามารถใชชีวติ ในเมอื งได กส็ ูอตุ สา หสอนมนต จินดามณีให ๒. พระราชาผูปกครองทําผิดเสียเอง เพียงเพ่ือตองการทดสอบ ความรูข องบรวิ าร และเขาใจเอาเองวาไมมีทางท่พี ระโพธิสตั วจ ะหาตัวโจร ท่แี ทจ รงิ ได อนั ทีจ่ ริงแลวควรทดสอบกอ นรับพระโพธิสัตวมารบั ราชการ ซงึ่ ถาเปนเชนนแ้ี ตแ รก เร่อื งก็คงไมจบแบบโศกนาฎกรรม การบบี บงั คบั ดว ยอาํ นาจหรอื ดว ยกาํ ลงั กบั ผไู มม หี นทางหนี ทเี่ รยี กวา “หมาจนตรอก” (สาํ นวน) หมายถงึ น. คนทฮี่ ดึ สอู ยา งสดุ ชวี ติ เพราะไมม ที างเลอื ก เม่อื พระโพธิสัตวถ ูกบีบคั้น จงึ ไมม ีทางเลือก จึงตอ งอาศยั ประชาชน คนหมูมากเปนเครือ่ งตดั สนิ และเพ่อื ปองกนั ภยั จากพระราชาของตน การใชกาํ ลังหรอื พลงั ของคนหมมู าก เปนเครื่องตดั สนิ ปญหา มอี ยูใน ทกุ ยคุ ทกุ สมัย ในประวตั ศิ าสตรของชนชาติตา งๆ ในโลก และมกั จบลงดว ย โศกนาฏกรรมเสมอ “น้ําลอยเรือได ก็ลมเรือได” เปนสุภาษิตจีนท่ีสอนเตือนใจ ผูนํา ผปู กครองทุกทา น อยา ไดลืมพื้นเพ รากเหงาของตน อยาฟุงเฟอ เหอ เหิม จนลืมความยากลําบากของการสรา งเน้ือสรางตวั ในอดีต และอยาหลงลืมตวั 58 www.kalyanamitra.org

ในความสําเร็จ จนละเลยผูตามผูใตบังคับบัญชา หรือประชาชนทั้งมวล น้ํา หมายถงึ ราษฎร เรือ หมายถงึ ประมุข หากผนู ําผูปกครอง ไมไ ดรับการสนบั สนุนจากประชาชน กม็ อิ าจ ดํารงตาํ แหนง อยไู ด เหมอื นดั่งเรือทีม่ ิอาจลอย หากปราศจากนา้ํ คอยรองรบั ทาํ นองเดียวกัน หากน้ําไมปรารถนาเรือ ก็สามารถลมเรอื ใหจมลงได เหมอื นดงั่ วันใดทป่ี ระชาชนปฏเิ สธไมยอมรับตวั ผูนาํ กอ็ าจรว มแรงรว มใจ ควํ่าผูนําคนนนั้ ลงจากตาํ แหนง ความสําเร็จของผูน ําผปู กครอง อยทู ่ศี รัทธาทีไ่ ดรบั จากประชาชน พงศาวดารสามกก ตอนหนึ่งสุมาอ้สี อนสุมาสูและสุมาเจียวผเู ปน บตุ รชาย ไววา “โบราณวา ชนะใจราษฎรเปนฮอ งเตไ ด ชนะใจฮองเตเปน เจาแควน ได ชนะใจเจา แควน เปนไดแคอ าํ มาตย” ๓. ตนเรื่องของชาดกนี้ นาจะเปนแนวคิดในการแตงวรรณคดีไทยชอื่ ดงั คอื “พระอภัยมณ”ี ทีป่ ระพนั ธโดยกวเี อกแหง กรุงรัตนโกสินทร สุนทรภู ซึง่ ประพันธข ้นึ เปนนทิ านคํากลอนท่มี ีความยาวมากถงึ ๙๔ เลม สมดุ ไทย เมอ่ื พิมพเปนเลม หนังสือ จะมีความยาวกวา หนงึ่ พันสองรอยหนา ระยะเวลา ในการประพนั ธไ มมกี ารระบุไวอยางแนช ดั แตค าดวาสนุ ทรภเู รมิ่ ประพันธ ราวป พ.ศ. ๒๓๖๔ - ๒๓๖๖ และแตงๆ หยุดๆ ไปตลอดเปนระยะสิ้นสดุ การประพันธร าว พ.ศ. ๒๓๘๘ รวมเวลามากกวา ๒๐ ป ทา นออกบวช (พ.ศ.๒๓๖๗ - ๒๓๘๕) อายุ ๓๘ - ๕๖ ป บวชอยูเปน เวลา ๑๘ ป ระหวางนน้ั ไดยายไปอยวู ัดตา งๆ หลายแหง เทา ทีพ่ บระบุใน งานเขยี นของทา นไดแ ก วดั เลยี บ วดั แจง วดั โพธ์ิ วดั มหาธาตุ และ วดั เทพธดิ าราม งานเขยี นบางชน้ิ สอื่ ใหท ราบวา ในบางปภ กิ ษภุ เู คยตอ งเรร อ นไมม ที จ่ี าํ พรรษา บางเหมือนกัน ผลจากการท่ีภิกษุภูเดินทางธุดงคไปที่ตางๆ ทั่วประเทศ ปรากฏผลงานเปนนิราศเรือ่ งตา งๆ มากมาย และเชือ่ วานา จะยังมีนริ าศท่ี คน ไมพ บอกี เปน จาํ นวนมาก งานเขยี นชนิ้ สดุ ทา ยทภี่ กิ ษภุ แู ตง ไวก อ นลาสกิ ขาบท คอื ราํ พนั พลิ าป โดยแตงขณะจําพรรษาอยทู วี่ ัดเทพธิดาราม พ.ศ. ๒๓๘๕ จากนน้ั สนุ ทรภู จึงลาสกิ ขาบทเมือ่ ป พ.ศ.๒๓๘๕ เพอ่ื เตรียมตวั จะตาย แตกลับเขารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา 59 www.kalyanamitra.org

เจาอยหู วั โดยเปน อาลักษณ8 ในสมเด็จเจา ฟาจฑุ ามณี กรมขุนอศิ เรศรงั สรรค ในสมัยรชั กาลที่ ๔ ไดเ ลอ่ื นตาํ แหนง เปน พระสุนทรโวหาร เจากรมอาลักษณ ฝายพระราชวงั บวรซ่งึ เปนตําแหนง ราชการสดุ ทายกอนสิน้ ชวี ติ ความทีท่ า นนไ้ี ดเคยบวชในพระพทุ ธศาสนากวา ๑๘ ป, ความเปน นักกวี จงึ มคี วามเปนไปไดว า ทา นไดเ คยอา นชาดกเรอ่ื งนมี้ ากอน, ประกอบกับ ไดเดินทางไปมาหลายจงั หวัด จึงมจี ินตนาการ ผูกเรื่องราวตา งๆตามสถานท่ี ท่ตี นไดเ คยพบเหน็ นอกจากวรรณคดเี รอื่ งนแี้ ลว ชาดกเรอื่ งนอ้ี าจเปน เคา โครงของนทิ าน พนื้ บา นเรอื่ ง แกว หนา มา เนอื้ เรอ่ื งยอ คอื กาลครงั้ หนง่ึ นานมาแลว มเี มอื งอยู เมอื งหนง่ึ ชอื่ วา “มถิ ลิ า” ในเมอื งนม้ี คี รอบครวั อยคู รอบครวั หนง่ึ ซง่ึ มลี กู สาว หนา ตาคลายมา กอนคลอดมารดาของนางฝน วามเี ทวดานําแกว มาใหนาง ดงั นนั้ นางจงึ ตง้ั ชอ่ื ลกู สาวของนางวา “มณ”ี หรอื “แกว หนา มา ” และถงึ แมว า นางจะมหี นา ตาประหลาด นางกม็ คี วามเฉลยี วฉลาด มมี นตว เิ ศษสามารถ ทาํ นายดนิ ฟา อากาศไดอ ยา งถกู ตอ ง ดงั นนั้ นางจงึ สามารถบอกใหช าวนาปลกู พืชผลตรงตามสภาพดินฟาอากาศ (ยักษิณี ในคาถาธรรมบทบางเร่ือง มีความสามารถในการพยากรณด นิ ฟา อากาศ) 8 ผทู าํ หนา ทท่ี างหนงั สอื ในราชสาํ นกั เสมยี น, ผเู ขยี นหนงั สอื , การเหน็ , การสงั เกตุ 60 www.kalyanamitra.org

นิทานอีสปเปนอีกตวั อยางหนึ่ง ที่มเี คา โครงมาจากนทิ านชาดก เชน เร่อื งโคนันทวศิ าล (นนั ทิวิสาลชาดก), กระตา ยต่ืนตมู (ทุททุภชาดก), กง้ิ กา ไดท อง (กกณั ฏกชาดก – วาดวยกง้ิ กา ไดท รัพย จกั มแี จง ในมหาอุมมังคชาดก หรือมโหสถชาดก), เตาพดู มาก (กจั ฉปชาดก), นกกระสากับหมาจิง้ จอก (ชวสกณุ ชาดก), นกกระจาบขาดสามคั คี (สมั โมทมานชาดก), หมาปากบั ลกู แกะ (ทีปช าดก), กบเลอื กนาย (พกชาดก) อสี ป9 (องั กฤษ: Aesop – ศตวรรษท่ี 6 ประมาณ 564 - 650 ปก อน ครสิ ตกาล นักเลา นทิ านชาวกรกี ในตํานาน กรีก โบราณ นิทานทกี่ ลาววาเลา โดย “อีสป” เชื่อกนั วาเปนนิทานทร่ี วบรวมมาจากหลายแหลง นิทานอสี ปได รับความนิยมแพรหลายเน่ืองจากกวีชาวโรมันช่ือเพดรัสนํามาเลาจนแพร หลายในคริสตศ ตวรรษท่ี 1 (ระหวา ง พ.ศ. 443-543) และตอ มา “ฌอง เดอ ลา ฟงแทน” กวีชาวฝร่ังเศสไดน ํามาเรยี บเรียงใหมเปน รอยกรองท่คี อ นขางเกินจริงแตมชี วี ิตชีวาเมอื่ ป พ.ศ. 2211 นิทานทอี่ ีสปเลา นยิ มเรียกกันวา นทิ านอสี ป เปนนิทานสอนคนทัว่ ไป ในดา นศลี ธรรมโดยใชสัตวต างๆ เปนตัวละคร เชน เรื่องเดก็ เลีย้ งแกะ ลาโง หมาจิ้งจอกกับองนุ เปนตน อีสป บางตํานาน10กลาววาเขาเกิดที่เมืองฟรีเยียในดินแดนที่ปจจุบัน เรียกวาเอเซียไมเนอร ซึ่งเปนดินแดนที่ทวีปเอเชียและยุโรปมาชนกัน และ เปนดินแดนที่เจริญรุงเรืองมากในสมัยของอีสปเนื่องจากเปนแหลงรวมของ บรรดาพอคา วาณชิ พวกทูตานุทตู นักทอ งเท่ยี ว รวมทง้ั เปน ดินแดนทมี่ กี าร คา ทาส และอีสปเปน ทาสคนหน่ึง ซึ่งมสี มญาวา เอธอิ อป (Ethiop) ซ่งึ แปลวา ตัวดาํ แตพวกชาวยโุ รปเรียกเสยี งเพ้ยี นไปเปน อสี ป (Aesop) ชอื่ เอธอิ อปเชอ่ื วามาจากชอื่ ประเทศเอธโิ อเปย (ตอมาเปลยี่ นเปน อะบสิ ซเี นีย) แตบ างตาํ นานบอกวา อสี ปอาจจะมาจากเมอื งเทรซ ไพรเกยี เอธิโอเปย ซามอส เอเธนส หรอื เมืองซารดสิ ซ่งึ ไมม ีใครรแู นน อน ในชัน้ เดมิ อสี ปมฐี านะเปน ทาสอยทู ีเ่ มืองซามอส (Samos) ประเทศกรซี อีสปเปน ทาสของ อิดมอนหรือ 9 วกิ มี เี ดยี , สารานกุ รมเสรี 10 ธนากติ . อมตะนทิ าน. กรงุ เทพฯ : สวุ รี ยิ าสาสน , 2541. 61 www.kalyanamitra.org

เอยี ดมอ็ น ซงึ่ ไดมอบหนา ท่ใี หอสี ปเปนครูสอนหนังสือลูกๆของเขา บา นของ อิดมอนเปนท่ีพบปะสงั สรรคกันในหมคู นสาํ คัญๆของกรกี อีสปจึงมโี อกาส ไดพ บเหน็ และรูจ กั กบั บคุ คลเหลาน้นั อีสปสามารถสงั เกตรไู ดด ว ยวิจารณาญ ของเขาวา ใครเปน คนอยา งไร รปู รา งลักษณะของอีสป คามาริอสุ (Camarius) ผูเขียนประวัติอสี ป ไดพรรณวา อีสปเปน คนท่ี มรี ปู รา งหนาตาอปั ลักษณผิดมนุษย คือ จมูกบ้ี ปากแบะ ลนิ้ คับปาก หลังงมุ ผิวดาํ มืด อีสปมกั จะพดู เสียงอยใู นลําคอ ไมค อ ยมใี ครฟง ไดยินวาเขากลาววา อะไร แตผ ทู ไี่ ดฟ ง นิทานจากอีสปมกั ติดอกตดิ ใจในเนื้อหา ขอ คิด คตเิ ตอื นใจ ดวยเหตุน้ีคนสําคัญๆของกรีกมักจะเชิญอีสปเปนแขกใหไปเลานิทานใหฟง อยเู สมอๆ ตอมาเมอ่ื อิดมอนไดใหอิสรภาพแกอ ีสป เขาไดเ ขาไปอาศัยอยใู นวังของ กษัตริยครีซุสซึ่งเปนกษัตริยที่รํ่ารวยมหาศาล ทําใหอีสปไดพบกับรัฐบุรุษ ของเอเธนสและนักปราชญผรู อบรตู างๆมากมาย โดยเฉพาะนักปราชญท ่ชี ่อื โซลอน หรือบางตาํ นานบอกวาอสี ปเคยเขาไปอยใู นสาํ นกั ของโซมอล ซงึ่ เปน นักกฎหมายทม่ี ชี ่ือเสยี งมาก ๔. เนอื้ หาของชาดกเรอื่ งนี้ มคี วามแปลก ทงั้ ตน เรอื่ งทกี่ ลา วถงึ ความ สามารถในการสะกดรอยเทา ของเดก็ คนหนง่ึ ทาํ ใหพ ระศาสดาทรงระลกึ ชาติ หาเรอื่ งทค่ี ลา ยคลงึ มาเปน อปุ กรณก ารสอน อบุ าสกและลกู ใหบ รรลเุ ปน โสดาบนั เน้อื เรือ่ งชาดกกเ็ ปน ลกั ษณะนิทานซอ นนทิ าน ซึง่ มีไมมากในชาดก, หากใครฟงเน้ือเร่ืองยอยในชาดก จะไมสามารถคาดเดาไดวาพระโพธิสัตว ในเรือ่ งเปน ใคร เพราะแทท ี่จรงิ พระโพธิสัตวเ ปนผเู ลาเรอ่ื งเอง. 62 www.kalyanamitra.org

ความสัมพันธของชาดกทั้ง ๔ เรื่องในหนังสือเลมนี้ Title เร่ือง ÇÒ‡ ´ˆÇ àÊǾÃЪÒμàÔ »¹— เน้ือเรอ่ื งยอ 432 Padakusalamānava-Jātaka. ปทกสุ ลมาณวชาดก ๙/๑/๖ ภยั ที่เกิดแตที่พึ่งอาศยั บตุ รนางยักษิณี บตุ รนางยกั ษณิ พี าบดิ าหนไี ปแดนมนษุ ย มารดายกั ษณิ ตี ามมาทนั แตไ ม สามารถ ทาํ อะไรได จงึ สอนมนตจ นิ ดามณใี ห เพอ่ื เปน เครอ่ื งเลย้ี งชวี ติ 196 Valāhassa-Jātaka วลาหกสั สชาดก ๒/๕/๖ ความสวัสดี พญามาวลาหก พญามา วลาหกโพธสิ ตั ว ไดช ว ยพวกพอ คา สาํ เภาแตกใหพ น อนั ตรายจากนางยกั ษณิ ี 133 Ghatāsana-Jātaka พญานกโพธสิ ตั ว เมอ่ื เหน็ ทอ่ี ยมู ภี ยั จงึ พาฝงู นกบรวิ ารไปอาศยั อยทู อ่ี น่ื 122 Dummedha-Jātaka ฆตาสนชาดก ๑/๑๔/๓ ภยั ทีเ่ กิดจากทีพ่ ึง่ พญานก พญาชา งเผอื กโพธสิ ตั วถ กู พระเจา มคธผรู ษิ ยาจะฆา ใหต าย นายควาญชา งจงึ ทุมเมธชาดก ๑/๑๓/๒ คนโงไดยศก็ไมเกิดประโยชน พญาชางเผือก ใหช า งพาเหาะหนไี ปอยกู รงุ พาราณสี www.kalyanamitra.org ชาดกที่เปนพระชาติเดียวกัน (ปรากฎอยูใน น.๑๐๗ หนังสือปญญาบารมี หนทางการสรางปญญา,ผูเขียนเดียวกัน) ๑.มโหสถบัณฑิต Title เรือ่ ง ÇÒ‡ ´Çˆ  àÊǾÃЪÒμàÔ »—¹ เนอ้ื เร่ืองยอ 110 Sabbasamhāraka-Pañha สพั พสงั หารกปญ หา ๑/๑๑/๑๐ การพูดของหญิง ๒ ประเภท มโหสถบัณฑิต อา งถงึ อมุ มคั คชาดก คทั รภปญ หา ๑/๑๒/๑ ลากับมาอัสดร มโหสถบัณฑิต อา งถงึ อมุ มคั คชาดก 111 Gadrabha-Pañha 112 Amarādevī-Pañha อมราเทวปี ญ หา ๑/๑๒/๒ บอกใบหนทางไปบาน มโหสถบัณฑิต อา งถงึ อมุ มคั คชาดก 170 Kakantaka-Jātaka กกณั ฏกชาดก ๒/๒/๑๐ กิ้งกาไดทรัพย มโหสถบณั ฑิต อา งถงึ มหาอมุ งั คชาดก 192 Siri-Kālakanni-Jātaka สริ กิ าฬกณั ณชิ าดก ๒/๕/๒ สิริกบั กาฬกรรณี มโหสถบณั ฑิต อา งถงึ มหาอมุ มงั คชาดก 350 Devatāpañha-Jātaka. เทวตาปญ หาชาดก ๔/๕/๑๐ ปญ หาของเทวดา มโหสถบัณฑิต อา งถงึ มหาอมุ งั คชาดก 364 Khajjopanaka-Jātaka. ขชั โชปนกชาดก ๕/๒/๔ เห็นหงิ่ หอยวาเปน ไฟ มโหสถบณั ฑิต อา งถงึ มหาอมุ งั คชาดก 452 Bhūri-Pañha-Jātaka. ภรู ปิ ญ หาชาดก ๑๐/๑/๑๔ คนไมดี ๔ จําพวก มโหสถบณั ฑิต อา งถงึ อมุ มงั คชาดก เมณฑกปญ หาชาดก ๑๒/๑/๘ เมณฑกปญหา มโหสถบณั ฑิต อา งถงึ อมุ มงั คชาดก 471 Mendaka-Jātaka. 500 Sirimanda-Jātaka. สริ มี นั ทชาดก ว/ี ๔ ปญ ญาประเสริฐ มโหสถบณั ฑิต อา งถงึ อมุ มงั คชาดก 508 Pañca-Pandita Jātaka. ปญ จปณ ฑติ ชาดก ว/ี ๑๒ ความลบั อนั ไมควรเปดเผย มโหสถบณั ฑิต อา งถงึ อมุ มงั คชาดก 517 Dakarakkhasa-Jātaka. ทกรกั ขสชาดก ตงิ /๗ ผีเสื้อน้ํา มโหสถบณั ฑิต อา งถงึ อมุ มงั คชาดก 542 The Mahā-Ummagga-Jātaka. มโหสถชาดก ม/๕ พระมโหสถบณั ฑติ ทรงบาํ เพญ็ ปญ ญาบารมี มโหสถบณั ฑติ (ปญ ญา-อปุ บารม)ี พระปญ ญาบารมขี องพระองค ๒.วิธุรบัณฑิต Title เร่ือง LJҴˆÇ àÊǾÃЪÒμàÔ »—¹ เนื้อเรอื่ งยอ 63 441 Catu-Posathika-Jātaka. จตโุ ปสถชาดก ๑๐/๑/๓ สมณะ วธิ รุ บณั ฑติ อา งถงึ ปณุ ณกชาดก. (วธิ รุ ชาดก) 546 Vidhurapandita-Jātaka. วธิ รุ ชาดก ม/๙ พระวธิ รุ บณั ฑติ บาํ เพญ็ สจั จบารมี วธิ รุ บณั ฑติ (ปญ ญาบารม)ี ปญ ญาบารมี

64 www.kalyanamitra.org

Vวaลlaาhหaกsัสsaส-Jชaาtดaกka “นรชนเหลาใด ทาํ ตามโอวาทอนั พระพุทธเจา ทรงแสดงแลว นรชนเหลานัน้ จกั ถึงฝง สวสั ดดี ุจพอคา ทั้งหลาย ทาํ ตามถอยคําอันมา วลาหกกลา วแลว ฉะนั้น.” 65 www.kalyanamitra.org

Valahassa-Jataka “They who will neglect,” etc.—This story the Master told while staying in Jetavana, about a Brother who had become a backslider. When the Master asked him if it was really true that he was a backslider, the Brother replied that it was true. Being questioned for the reason, he replied that his passion had been aroused by seeing a finely dressed woman. Then the Master thus addressed him: “Brother, these women tempt men by their figure and voice, scents, perfumes, and touch, and by their wiles and dalliance; thus they get men into their power; and as soon as they perceive that this is done, they ruin them, character, wealth and all, by their evil ways. This gives them the name of she-goblins. In former days also a troop of she-goblins tempted a caravan of traders, and got power over them; and afterwards, when they got sight of other men, they killed every one of the first, and then devoured them, crunching them in their teeth while the blood ran down over both cheeks.” And then he told an old story. 66 www.kalyanamitra.org

วลาหกัสสชาดก 11 วา ดว ยความสวสั ดี สถานทตี่ รสั ชาดก พระเชตวนั มหาวหิ าร นครสาวตั ถี แควน โกศล สาเหตทุ ต่ี รสั ชาดก พระศาสดา ทรงปรารภภิกษุผูกระสันรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรม เทศนาน้ี มีคําเร่ิมตนวา เย น กาหนฺติ โอวาทํ ดังนี้. ความยอมีอยูวา ภิกษุนั้นเม่ือพระศาสดาตรัสถามวา “ดูกอนภิกษุ เธอกระสันจริงหรือ” กราบทูลวา “จริงพระเจาขา” ตรัสถามวา “เพราะเหตุไร” กราบทูลวา “เพราะเห็นมาตุคามแตงตัวงดงาม คนหนึ่ง จึงกระสันดวยอํานาจกิเลส.” ลําดับน้ันพระศาสดาตรัสกะภิกษุน้ันวา “ดูกอนภิกษุ ธรรมดาหญิง เหลาน้ี เลาโลมชายดวย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และดวยมารยาหญิง กระทําใหอยูในอํานาจของตน เขาเรียกวา นางยักษิณี เพราะเลาโลมชาย ดวยกรีดกราย ครั้นรูวาชายน้ันตกอยูในอํานาจแลว ก็จะใหถึงความพินาศ แหงศีล และความพินาศแหงขนบประเพณี จริงอยู แมแตก อนพวกนาง ยักษณิ ี เขา ไปหาพวกผูช ายหมหู นง่ึ ดวยมารยาหญงิ แลวเลาโลมพวกพอคา ทําใหอยูในอํานาจของตน ครั้นเห็นชายอื่นอีก ก็ฆาพวกพอคาเหลานั้น ทั้งหมดใหถึงแกความตาย เคี้ยวกินหมุบ ๆ ทั้งมีเลือดไหลออกจากดาน คางท้ังสองขาง” แลวทรงนําเรื่องอดีตมาตรัสเลา. 11 ปรมตั ถทปี นี อรรถกถชาดก ทกุ นบิ าต, ล.๕๗, น.๒๕๑, มมร. 67 www.kalyanamitra.org

Once upon a time, there was in the island of Ceylon a goblin town called Sirisavatthu, peopled by she-goblins. When a ship is wrecked, these adorn and deck themselves, and taking rice and gruel, with trains of slaves, and their children on their hip, they come up to the merchants. In order to make them imagine that theirs is a city of human beings, they make them see here and there men ploughing and tending kine, herds of cattle, dogs, and the like. Then approaching the merchants they invite them to partake of the gruel, rice, and other food which they bring. The merchants, all unaware, eat of what is offered. When they have eaten and drunken, and are taking their rest, the goblins address them thus: “Where do you live? where do you come from? whither are you going, and what errand brought you here?” “We were shipwrecked here,” they reply. “Very good, noble sirs,” the others make answer; “’tis three months ago since our own husbands went on board ship; they must have perished. You are merchants too; we will be your wives.” Thus they lead them astray by their women’s wiles, and tricks, and dalliance, until they get them into the goblin city; then, if they have any others already caught, they bind these with magic chains, and cast them into the house of torment. And if they find no shipwrecked men in the place where they dwell, they scour the coast as far as the river Kalyaoi12 on one side and the island of Nagadipa on the other 12 The modern Kaelani-ganga (Journ. of the Pali Text Soc., 1888, p. 20). 68 www.kalyanamitra.org

เนือ้ หาชาดก ในอดีตกาลทเี่ กาะตามพปณ ณ1ิ 3 มีเมืองยกั ษช ื่อ สริ สิ วัตถุ. พวกนาง ยกั ษณิ ีอาศยั อยูในเมอื งน้นั . ในเวลาท่พี วกพอ คา เรอื อัปปาง นางยักษิณี เหลา นน้ั กพ็ ากันประดับตบแตง รางกาย ใหถอื ของเค้ยี วของบริโภค มีหมู ทาสแี วดลอ ม อมุ ทารกเขา ไปหาพวกพอ คา เพอื่ ใหค นเหลา นนั้ ทราบวา พวกเรา ก็มาท่อี ยขู องมนุษย จงึ แสดงกิจเปนตนวา พวกมนษุ ย ฝูงโค สนุ ขั กาํ ลังทํา กสิกรรม โครักขกรรม เปนตน ในท่ีนั้น ๆ แลวเขาไปหาพวกพอคากลาววา เชญิ ดืม่ ขา วยาคูน้ี เชิญบรโิ ภคอาหารนี้ เชิญเคี้ยวของเคี้ยวน้ี. พวกพอคา ขาดไหวพรบิ บรโิ ภคอาหารทน่ี างยกั ษิณีเหลา น้ันใหแลว ๆ. คร้ันถงึ เวลาที่ พวกเขาเค้ียวบริโภคดื่มเสร็จแลวพักผอน ยักษิณีจึงถามวา “พวกทาน อยูที่ไหน มาจากไหน จะไปไหน มาทําอะไรท่ีนี่” เมื่อพวกพอคาตอบวา “พวกเราเรอื อัปปาง จึงพากันมาทนี่ ้”ี นางยักษิณีกลาววา “ดีละ พอคุณ แมสามีของพวกเราก็ข้ึนเรือไป ลวงไปสามเดือนแลว ชะรอยเขาจักตายกันหมด แมพวกทานก็เปนพอคา เหมือนกัน พวกเราจะเปนหญิงรับใชพวกทาน” แลวเลาโลมพวกพอคา เหลา นนั้ ดว ยมารยาหวั เราะและจรติ ของสตรี พาไปเมอื งยกั ษ หากมพี วกมนษุ ย ทถี่ กู จบั ไปไวก อ น กจ็ องจาํ มนษุ ยเ หลา นน้ั ดว ยโซก ายสทิ ธข์ิ งั ไวใ นหอ งคมุ ขงั กระทาํ มนษุ ยท จ่ี บั ไดภ ายหลงั ใหเ ปน สามขี องตน แตเ มอ่ื ไมไ ดม นษุ ยเ รอื อปั ปาง ในที่พักของตน ก็เที่ยววนเวียนอยูฝงสมุทร คือ เกาะไมขานางฝงโนน เกาะไมก ากะทิงฝง น.้ี นีเ่ ปน ธรรมดาของพวกยักษณิ ี. 13 แปลตามศพั ท หมายถึง คนฝามือแดง, ในทีน่ ้ีคงเปนช่ือเฉพาะ 69 www.kalyanamitra.org

Now it happened once that five hundred shipwrecked traders were cast ashore near the city of these she-goblins. The goblins came up to them and enticed them, till they brought them to their city; those whom they had caught before, they bound with magic chains and cast them into the house of torment. Then the chief goblin took the chief man, and the others took the rest, till five hundred had the five hundred traders; and they made the men their husbands. Then in the night time, when her man was asleep, the chief she-goblin rose up, and made her way to the house of death, slew some of the men and ate them. The others did the same. When the eldest goblin returned from eating men’s flesh, her body was cold. 70 www.kalyanamitra.org

อยมู าวนั หน่งึ พอ คาเรอื อปั ปาง ๕๐๐ พากันขน้ึ ไปใกลเมืองของ ยกั ษิณี. ยักษิณีเหลา นั้นจึงไปหาพวกพอ คา เลา โลมแลวนาํ มาเมอื งยกั ษ ลา ม พวกมนุษยที่จับไวครั้งแรกดวยโซกายสิทธ์ิขังไวในท่ีคุมขัง หัวหนานาง ยกั ษิณีกใ็ หหัวหนา พอ คา เปน สามี ยกั ษณิ ที ่เี หลอื กใ็ หพอ คา นอกนั้นเปนสามี เปน อันยกั ษิณี ๕๐๐ ไดทาํ ใหพ อคา ๕๐๐ เปน สามขี องตนดวยประการฉะน.้ี ตอมานางยกั ษิณีหัวหนา นัน้ ครน้ั เวลากลางคนื เมื่อพอ คาหลับ จงึ ลุก ขน้ึ ไปฆา มนษุ ยท ัง้ หลายในเรอื นคมุ ขัง กนิ เน้ือเสร็จแลว ก็กลับมา. แมยกั ษณิ ี ทเ่ี หลือก็ทาํ อยา งนั้นเหมอื นกนั . ในเวลาทหี่ วั หนา ยกั ษณิ ีกนิ เนื้อมนุษยแลว กลับมารา งกายมักเย็น. 71 www.kalyanamitra.org

The eldest merchant embraced her, and perceived that she was a goblin. “All the five hundred of them must be goblins!” he thought to himself: “we must make our escape!” So in the early morning, when he went to wash his face, he bespake the other merchants in these words. “These are goblins, and not human beings! As soon as other shipwrecked men can be found, they will make them their husbands, and will eat us; come--let us escape!” Two hundred and fifty of them replied, “We cannot leave them: go ye, if ye will, but we will not flee away.” Then the chief trader with two hundred and fifty, who were ready to obey him, fled away in fear of the goblins. Now at that time, the Bodhisatta had come into the world as a flying horse14, white all over, and beaked like a crow, with hair like muñja grass15, possessed of supernatural power, able to fly through the air. From Himalaya he flew through the air until he came to Ceylon. There he passed over the ponds and tanks of Ceylon, and ate the paddy that grew wild there. As he passed on thus, he thrice uttered human speech filled with mercy, saying-- “Who wants to go home? who wants to go home?” 14 On one side of a pillar in a Buddhist railing at Mathura, is a flying horse with people clinging to it, perhaps intended for this scene (Anderson, Catalogue of the Indian Museum, i. p. 189). 15 Saccharum Muñja. 72 www.kalyanamitra.org

หวั หนา พอคา คอยสงั เกตอยู ครั้นรวู ามันเปนยกั ษณิ .ี จึงรําพึงตอ ไปวา ‘หญงิ ๕๐๐ เหลา น้ี นาจะเปน ยักษิณี พวกเราควรจะหนีไปเสยี ’ รุงเชา เดนิ ไป เพอื่ ลา งหนา จึงบอกแกพ วกพอ คาวา “หญงิ เหลาน้ีเปน ยักษณิ ี มใิ ชห ญิง มนุษย ในเวลาท่พี วกอน่ื เรอื อปั ปางมา พวกมนั จะใหคนเหลานน้ั เปนสามี มนั แลว ก็กนิ พวกเราเสยี . มาเถิดพวกเราพากันหนไี ปเถดิ .” ในพวกพอคา เหลา น้ัน พอ คา สองรอ ยหา สิบคนกลา ววา “เราไมอาจ ละทิ้งหญงิ เหลา น้ีไปไดดอก พวกทา นไปกนั เถิด พวกเราจักไมห นไี ปละ.” หัวหนาพอคาก็พาพวกพอคาสองรอยหาสิบคน ซึ่งเช่ือฟงคําของตน กลวั ยักษณิ ีเหลานน้ั หนีไป. กใ็ นเวลานั้นพระโพธสิ ตั วบ ังเกดิ ในกาํ เนิดมา วลาหก. มา นน้ั มสี ขี าว ปลอด มีศีรษะเหมอื นกา ผมเปนปอย มีฤทธิ์เหาะเหนิ ได. มาวลาหกนน้ั เหาะ มาจากเขาหิมพานตไปยังเกาะตามพปณณิ บริโภคขาวสาลีที่เกิดเอง ในเปอกตม ใกลสระตามพปณ ณิน้นั แลว กลบั ไป. อนึง่ เมอ่ื เหาะไปน้นั ก็พูด เปน ภาษามนษุ ย ซงึ่ ไดอ บรมมาดว ยความกรณุ าสามครงั้ วา “มผี มู ปี ระสงคจ ะ ไปชนบทไหม มผี ปู ระสงคจะไปชนบทไหม มีผูประสงคจะไปชนบทไหม.” 73 www.kalyanamitra.org

The traders heard his saying, and cried--”We are going home, master!” joining their hands, and raising them respectfully to their foreheads. “Then climb up on my back,” said the Bodhisatta. Thereat some of them climbed up, some laid hold of his tail, and some remained standing, with a respectful salute. Then the Bodhisatta took up even those who stood still saluting him, and conveyed all of them, even two hundred and fifty, to their own country, and set down each in his own place; then he went back to his place of dwelling. And the she-goblins, when other men came to that place, slew those two hundred and fifty who were left, and devoured them. The Master now said, addressing the Brethren: “Brethren, even as these traders perished by falling into the hands of she-goblins, but the others by obeying the behest of the wonderful horse each returned safe home again; 74 www.kalyanamitra.org

พวกพอ คาเหลานนั้ ไดย ินคําของมา นัน้ จึงพากนั เขา ไปหาประคอง อัญชลี กลา ววา “พวกขา พเจา จกั ไปชนบท.” มาบอกวา “ถา เชนน้ัน จงข้ึน หลงั เราเถิด.” ครั้นแลว พอคาบางพวกก็ขึ้นหลัง. บางพวกก็จบั หาง. บางพวกยืนประคอง อัญชลี. พระโพธสิ ัตวจ ึงพาพวกพอคาทง้ั หมด แมทสี่ ุดพวกทีย่ ืนประคอง อญั ชลไี ปสูชนบท ดวยอานภุ าพของตน ใหท ุกคนอยใู นทีข่ องตน ๆ แลวกไ็ ป ที่อยูของตน. นางยักษิณีเหลานั้นในเวลาท่ีพวกอื่นมาถึงก็ฆามนุษยสองรอยหาสิบคน ทีท่ งิ้ ไวในทน่ี ั้นกินเสยี . พระศาสดา ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาแลวตรัสวา “ดูกอนภิกษุ ทงั้ หลาย พวกพอคาทตี่ กอยใู นอาํ นาจของยักษิณีไดส ิน้ ชีวิตลง พวกทีเ่ ช่ือคํา ของพญามาวลาหก ก็กลับไปอยูในที่ของตน ๆฉันใด. 75 www.kalyanamitra.org

so, even so, they who neglect the advice of the Buddhas, both Brethren and Sisters, lay Brethren and lay Sisters, come to great misery in the four hells, places where they are punished under the five fetters, and so forth. But those who abide by such advice come to the three kinds of fortunate birth, the six heavens of sense, the twenty worlds of Brahma, and reaching the state of imperishable Nirvana they attain great blessedness.” Then, becoming perfectly enlightened, he recited the following verses: “They who will neglect the Buddha when he tells them what to do, As the goblins ate the merchants, likewise they shall perish too. They who hearken to the Buddha when he tells them what to do, As the bird-horse saved the merchants, they shall win salvation too.” When the Master had ended this discourse, he declared the Truths and identified the Birth:--at the conclusion of the Truths the backsliding Brother entered on the Fruit of the First Path, and many others entered on the Fruit of the First, Second, Third or Fourth:-- “The Buddha’s followers were the two hundred and fifty who followed the advice of the horse, and I was the horse myself.” 76 www.kalyanamitra.org

ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อบุ าสกิ า ซงึ่ ไมท าํ ตามโอวาทของพระพทุ ธเจา ทงั้ หลาย กฉ็ นั นนั้ เหมอื นกนั ยอ มถงึ ความทกุ ขใ หญใ นอบายสี่ เปน ตน วา เครอ่ื งจองจาํ หา ประการ และเครอ่ื งกรรมกรณ สว นผทู เ่ี ชอื่ ฟง โอวาทยอ มบรรลฐุ านะเหลา น้ี คอื กลุ สมบตั ิ ๓ สวรรคช นั้ กามาพจร ๖ พรหมโลก ๒๐ แลว ทาํ ใหแ จง อมตมหานฤพาน เสวยสขุ เปน อนั มาก” ครนั้ พระองคต รสั รอู ภสิ มั โพธญิ าณแลว จงึ ตรสั คาถาเหลา นว้ี า :- “นรชนเหลา ใดไมท าํ ตามโอวาททพี่ ระพทุ ธเจา ตรสั ไว นรชนเหลา นน้ั จกั ตอ งถงึ ความพนิ าศ เหมอื นพอ คา ทงั้ หลายถกู นางผเี สอื้ หลอกลวง ใหอ ยใู นอาํ นาจฉะนนั้ . นรชนเหลา ใด ทาํ ตามโอวาทอนั พระพทุ ธเจา ทรงแสดงแลว นรชนเหลา นนั้ จกั ถงึ ฝง สวสั ดี ดจุ พอ คา ทงั้ หลาย ทาํ ตามถอ ยคาํ ทมี่ า วลาหกกลา วแลว ฉะนน้ั .” พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนานม้ี าแลว ทรงประกาศสจั ธรรม ทรงประชมุ ชาดก. เม่อื จบสัจธรรม ภกิ ษุผูก ระสันต้ังอยูในโสดาปตตผิ ล. ภกิ ษอุ น่ื หลายรปู ไดบ รรลโุ สดาปต ตผิ ล สกทิ าคามผิ ล อนาคามผิ ลและอรหตั ตผล. พอ คา สองรอ ยหา สบิ คนทเ่ี ชอื่ ฟง คาํ ของมา วลาหกในครงั้ นนั้ ไดเ ปน พทุ ธบรษิ ทั ในครงั้ น.้ี สว นพญามา วลาหก คอื เราตถาคตนแ้ี ล. 77 www.kalyanamitra.org

วลาหเนกื้อเสัรอื่ สงยอชาดก พระโพธสิ ตั วเ สวยพระชาตเิ ปน พญามา วลาหก ไดช ว ยพวกพอ คา สาํ เภาแตก ใหพนอันตรายจากพวกนางยักษิณีที่หลอกจับพวกมนุษยสําเภาแตกไปขึ้น เกาะนนั้ กนิ เปน อาหาร โดยพวกยกั ษณิ จี ะแปลงกายเปน หญงิ นาํ พอ คา ไปเปน สามี เม่ือมีมนุษยพ วกใหมส าํ เภาแตกขน้ึ ไปบนเกาะ พวกยักษณิ กี ็นํามนุษย พวกเกาไปขังคุกแลวนํามากินเปนอาหารจนหมดสิ้น พอคาสําเภาที่ฉลาด สงั เกตเหน็ อาการนน้ั เวลาเชา จงึ พาบรวิ าร ๒๕๐ คนหนไี ป มา วลาหก โพธสิ ตั วจ งึ ชว ยเหลอื พอ คา เหลา นน้ั นาํ สง ถงึ บา นเมอื งเดมิ สว นพอ คา ทเี่ หลอื ไมย อมหนจี งึ ตกเปน อาหารของนางยกั ษณิ เี หลา นนั้ อธบิ ายศพั ท วลาหก แปลวา เมฆ, อสั ส แปลวา มา วลาหกสั ส (วลาหก + อสั ส) แปลรวมความวา มา บนิ ขอ คดิ จากชาดก ๑. โทษของกามหรือการติดในกามมีชาดกที่พระศาสดาตรัสเลาโดย ปรารภเหตภุ กิ ษผุ กู ระสนั (มเี พยี ง ๑ เรอ่ื งทใ่ี ชว า อกุ กณั ฐติ ภกิ ษ)ุ จาํ นวน ๓๐ เรอื่ ง, การประเลา ประโลมของภรรยาเกา ๘ เรอ่ื ง, การประเลา ประโลมของ หญงิ อว น (ถลู กมุ ารกิ า) ๔ เรอ่ื ง, การประเลา ประโลมของสาวเทอื้ (สาวแก, สาวทนึ ทกึ ) ๑ เรอื่ ง, การประเลา ประโลมของนางปรุ าณทตุ ยิ กิ า ๒ เรอ่ื ง (ปรุ าณทตุ ยิ กิ า อาจแปลวา เมยี เกา คนทส่ี อง หรอื เมยี ในอตั ภาพกอ น.) เหตทุ ก่ี ระสนั อยากสกึ เปน เพราะพบปะคลกุ คลกี บั ญาตโิ ยมผหู ญงิ ใน ละแวกบา นบอ ยๆ ดงั พระสตู รตอ ไปนี้ 78 www.kalyanamitra.org

ทตุ ยิ กลุ ปุ กสตู ร วา ดว ยภกิ ษผุ เู ขา ไปสตู ระกลู สตู รที่ ๒ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษผุ เู ขา ไปสตู ระกลู อยคู ลกุ คลใี นตระกลู นานเกนิ เวลา มโี ทษ ๕ ประการนี้ โทษ ๕ ประการ อะไรบา ง คอื ๑. ทาํ ใหเ หน็ มาตคุ ามเปน ประจาํ ๒. เมอื่ มกี ารเหน็ ยอ มมกี ารคลกุ คลี ๓. เมอ่ื มกี ารคลกุ คลี ยอ มมคี วามคนุ เคย ๔. เมอื่ มคี วามคนุ เคย ยอ มมจี ติ จดจอ ๕. เมอื่ มจี ติ จดจอ พงึ หวงั ไดว า เธอจกั ไมย นิ ดปี ระพฤตพิ รหมจรรย จกั ตอ งอาบัตเิ ศราหมองกองใดกองหนงึ่ หรือจกั บอกคนื สิกขา กลบั มาเปน คฤหสั ถ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ภกิ ษผุ เู ขา ไปสตู ระกลู อยคู ลกุ คลใี นตระกลู นานเกนิ เวลา มโี ทษ ๕ ประการนแี้ ล เรอื่ งคาํ ถามพระอานนท1 6 ทา นพระอานนทท ลู ถามวา “พวกขาพระองคจ ะปฏิบตั ติ อสตรี อยา งไรพระพทุ ธเจา ขา ” พระผมู พี ระภาคตรสั ตอบวา “อยา ด”ู “เมอ่ื จาํ ตอ งดจู ะปฏบิ ตั อิ ยา งไรพระพทุ ธเจา ขา ” “อยา พดู ดว ย” “เมอื่ จาํ ตอ งพดู จะปฏบิ ตั อิ ยา งไรพระพทุ ธเจา ขา ” “ตอ งตง้ั สต1ิ 7ไว” ๒. คนฉลาด ยอ มเปน คนชา งสงั เกต ระแวงเหตภุ ยั อนั ตรายอนั อาจจะ เกดิ ขน้ึ ได ยอ มทง้ิ สง่ิ ทไ่ี มม ปี ระโยชนเ พอื่ รกั ษาชวี ติ ตนและพวกพอ ง 16 พระสตุ ตันตปฏก ทีฆนกิ าย มหาวรรค [๓. มหาปรนิ ิพพานสตู ร], ล. ๑๐, น. ๑๕๑, มจร. 17 ตัง้ สติ ในทีน่ ้หี มายถงึ การควบคมุ จิตใหค ดิ ตอสตรใี นทางท่ดี ีงาม เชน รูสึกวา เปน แมในสตรีท่ี อยใู นวยั แม รสู ึกวาเปนพ่ีสาวนอ งสาวในสตรที อ่ี ยูในวัยพ่สี าวนองสาว รูสึกวา เปน ลกู สาวในสตรี ท่อี ยูใ นวยั สาว (ที.ม.อ.๒๐๓/๑๘๙-๑๙๐) 79 www.kalyanamitra.org

80 www.kalyanamitra.org

Ghฆatตaาsสanนaช-Jาดatกaka “.........ความเกษมมีอยูบนหลงั นํา้ ใด บนหลงั น้ํานน้ั มีขา ศึกมารบกวน ไฟลกุ โพลงอยูกลางนาํ้ .......” 81 www.kalyanamitra.org

Ghatasana-Jataka “Lo! in your stronghold.”—This story was told by the Master while at Jetavana, about a certain Brother who was given by the Master a subject for meditation, and, going to the borders, took up his abode in the forest near a hamlet. Here he hoped to pass the rainy season, but during the very first month his hut was burnt down whilst he was in the village seeking alms. Feeling the loss of its sheltering roof, he told his lay friends of his misfortune, and they readily undertook to build him another hut. But, in spite of their protestations, three months slipped away without its being rebuilt. Having no roof to shelter him, the Brother had no success in his meditation. Not even the dawn of the Light had been vouchsafed to him when at the close of the rainy season he went back to Jetavana and stood respectfully before the Master. In the course of talk the Master asked whether the Brother’s meditation had been successful. Then that Brother related from the beginning the good and ill that had befallen him. Said the Master, “In days gone by, even brute beasts could discern between what was good and what bad for them and so quitted betimes, ere they proved dangerous, the habitations that had sheltered them in happier days. And if beasts were so discerning, how could you fall so far short of them in wisdom?” So saying, at that Brother’s request, the Master told this story of the past. 82 www.kalyanamitra.org

ฆตาสนชาดก 18 วา ดว ยภยั ทเ่ี กดิ จากทพี่ ง่ึ สถานทต่ี รสั ชาดก พระเชตวนั มหาวหิ าร นครสาวตั ถี แควน โกศล สาเหตทุ ตี่ รสั ชาดก พระศาสดาทรงปรารภภกิ ษรุ ปู ใดรปู หนงึ่ ตรสั พระธรรมเทศนานี้ มคี าํ เรมิ่ ตน วา เขมํ ยหึ ดงั น.ี้ ความพสิ ดารวา ภกิ ษนุ น้ั เรยี นพระกรรมฐานจากสาํ นกั ของพระศาสดา แลว ไปสบู า นชายแดนตาํ บลหนงึ่ อาศยั หมบู า นหมหู นงึ่ จาํ พรรษาในเสนาสนะปา ในเดอื นแรกนนั้ เอง เมอ่ื เธอเขา ไปบณิ ฑบาต บรรณศาลา19ถกู ไฟไหม เธอลาํ บากดว ย ไมม ที อ่ี ยู จงึ บอกพวกอปุ ฏ ฐาก คนเหลา นนั้ พากนั พดู วา ไมเ ปน ไรดอกพระคณุ เจา พวกกระผมจกั สรา งบรรณศาลาถวาย รอใหพ วกกระผมไถนาเสยี กอ น หวา นขา ว เสียกอ นเถดิ ขอรบั จนเวลา ๓ เดอื นผานไป เธอไมอ าจบาํ เพ็ญพระกรรมฐาน ใหถ ึงทส่ี ุดได เพราะไมมีเสนาสนะเปนท่ีสบาย แมเ พยี งนมิ ติ กใ็ หเกดิ ขึน้ ไมไ ด พอออกพรรษา เธอจงึ ไปสพู ระเชตวนั วหิ าร ถวายบงั คมพระศาสดาแลว นงั่ ณ สว นขา งหนง่ึ พระศาสดาทรงทาํ ปฏสิ นั ถารกบั เธอแลว ตรสั ถามวา \"ดกู อ นภกิ ษุ กรรมฐานของเธอเปน สปั ปายะหรอื ไมเ ลา ?\" เธอจงึ กราบทลู ความไมส ะดวกจาํ เดมิ แตต น พระศาสดาตรสั วา \"ดกู อ นภกิ ษุ ในกาลกอ นโนน แมส ตั วเ ดยี รจั ฉานทง้ั หลาย กย็ ังรจู กั สปั ปายะ และอสัปปายะของตน พากันอยูอาศัยในเวลาสบาย ในเวลา ไมส บายกพ็ ากนั ท้ิงทีอ่ ยเู สยี ไปในท่ีอนื่ เหตไุ รเธอจึงไมรสู ัปปายะ และอสัปปายะ ของตนเลา \" เธอกราบทลู อาราธนา จงึ ทรงนาํ เอาเรอ่ื งในอดตี มาสาธก ดงั ตอ ไปนี้ :- 18 ชาตกฏั ฐกถา อรรถกถาชาดก เอกนบิ าต, ล.๕๖. น.๕๒๗, มมร. 19 น.โรงทม่ี งุ และบงั ดว ยใบไม, ทอ่ี าศยั ของฤาษแี ละนกั พรต 83 www.kalyanamitra.org

Once on a time when Brahmadatta was reigning in Benares, the Bodhisatta was born a bird. When he came to years of discretion, good fortune attended him and he became king of the birds, taking up his abode with his subjects in a giant tree which stretched its leafy branches over the waters of a lake. And all these birds, roosting in the boughs, dropped their dung into the waters below. Now that lake was the abode of Canda, the Naga King, who was enraged by this fouling of his water and resolved to take vengeance on the birds and burn them out. So one night when they were all roosting along the branches, he set to work, and first he made the waters of the lake to boil, then he caused smoke to arise, and thirdly he made flames dart up as high as a palm-tree. Seeing the flames shooting up from the water, the Bodhisatta cried to the birds, “Water is used to quench fire; but here is the water itself on fire. This is no place for us; let us seek a home elsewhere.” So saying, he uttered this stanza:-- Lo! in your stronghold stands the foe, And fire doth water burn; So from your tree make haste to go, Let trust to trembling turn. 84 www.kalyanamitra.org

เนอื้ หาชาดก ในอดตี กาล ครง้ั พระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบตั ิอยใู นพระนคร พาราณสี พระโพธิสัตวบงั เกิดในกาํ เนดิ นก บรรลุความเปน ผรู เู ดียงสาแลว ถงึ ความงามเปน เลิศ ไดเ ปนพระยานก อาศยั ตนไมใหญ สมบรู ณด ว ยกิ่งกา น สาขา และคา คบ มีใบหนาแนน อยูใ กลฝ งสระเกดิ เอง ในแนวปาตาํ บลหนง่ึ อยูเปนหลักฐาน พรอมท้ังบรวิ าร นกเปนจํานวนมาก เมื่ออยูทก่ี ่งิ อันยื่นไป เหนือนาํ้ ของตนไมนนั้ กพ็ ากนั ถายคถู 20 ลงในนา้ํ และในชาตสระ21 น่ันเลา กม็ นี าคราช ผดู ุรายอาศยั อยู นาคราชนั้นมีวิตกวา นกเหลานพ้ี ากันขล้ี งใน สระอันเกิดเอง อันเปน ท่อี ยขู องเรา เห็นจะตอ งใหไฟลกุ ขึน้ จากนาํ้ เผาตนไม เสยี ใหพ วกมนั หนไี ป พญานาคนน้ั มใี จโกรธ ตอนกลางคนื เวลาทพ่ี วกนก ทงั้ หมด มาประชุมกันนอนท่ีกิ่งไมท งั้ หลาย ก็เร่ิมทําใหนา้ํ เดือดพลา น เหมอื นกับ ยกเอาสระข้นึ ต้งั บนเตาไฟฉะนัน้ เปน ช้นั แรก ชั้นทีส่ องกท็ ําให ควนั พุงขึ้น ชน้ั ทีส่ ามทําใหเปลวไฟลกุ ขึ้นสงู ช่ัวลาํ ตาล พระโพธิสัตวเ ห็นไฟลุกข้ึนจากนํา้ ก็กลาววา \"ดูกอ นชาวเราฝงู นก ทง้ั หลาย ธรรมดาไฟตดิ ขึ้น เขาก็พากนั เอานา้ํ ดบั แตบ ัดนน้ี ํ้านั่นแหละกลับ ลกุ เปน ไฟขึน้ พวกเราไมอ าจอยูใ นท่ีนี้ได ตอ งพากันไปทอี่ ืน่ แลว \" กลา ว คาถานี้ ความวา :- “ความเกษมมอี ยูบ นหลงั นาํ้ ใด บนหลังนาํ้ น้ัน มีขาศึกมารบกวน ไฟลกุ โพลงอยูก ลางนํา้ วันนจี้ ะอยบู นตนไม เหนือแผนดินไมไดแ ลว พวกเจาจงพากนั บนิ ไปตามทศิ ทางกันเถิด วันน้ที ีพ่ ึง่ ของพวกเราเปน ภัยเสียแลว” ดังน้ี. 20 ข,้ี อจุ จาระ 21 น.สระธรรมชาติ 85 www.kalyanamitra.org

And hereupon the Bodhisatta flew off with such of the birds as followed his advice; but the disobedient birds, who stopped behind, all perished. _____________________________ His lesson ended, the Master preached the Four Truths (at the close whereof that Brother won Arahatship) and identified the Birth by saying, “The loyal and obedient birds of those days are now become my disciples, and I myself was then the king of the birds.” 86 www.kalyanamitra.org

พระโพธิสัตวครัน้ กลา วอยา งน้ีแลว ก็พาฝงู นกท่เี ชื่อฟงคํา บนิ ไปใน ทีอ่ ่ืน ฝูงนกทีไ่ มเ ชื่อฟง คําของพระโพธสิ ตั ว ตางพากนั เกาะอยู ถงึ ความส้ิน ชวี ติ แลว. พระศาสดา ครนั้ ทรงนาํ พระธรรมเทศนานม้ี าแลว ตรัสประกาศ สัจจะ ในเวลาจบสจั จะภิกษนุ ้ันดาํ รงอยูในพระอรหัตผลแลว ทรงประชุม ชาดกวา \"ฝงู นกที่กระทําตามคําของพระโพธสิ ตั วใ นครงั้ นั้น ไดมาเปน พุทธบริษัท สวนพระยานก ไดม าเปนเราตถาคต ฉะนี้แล.\" จบ ฆตาสนชาดก 87 www.kalyanamitra.org

ฆตาเนสื้อเนร่ืองชยอาดก พระโพธิสตั วเ สวยพระชาตเิ ปนพญานก เมื่อเหน็ เปลวเพลิงลุกโพลง ข้นึ จากนํ้า กร็ วู า ที่อยมู ภี ัย จึงชกั ชวนฝงู นกบรวิ ารไปอาศยั อยูท่ีอน่ื อธบิ ายศัพท ฆต แปลวา ของเหลวทเ่ี คย่ี วกลนั่ (เดอื ด) อาสน แปลวา เปน ท่นี ่ัง ฆตาสน (ฆต + อาสน) แปลรวมความวา ที่นง่ั ท่เี ดอื ด พระยา แปลวา บรรดาศกั ดข์ิ า ราชการผใู หญส งู กวา พระตา่ํ กวา เจา พระยา ในทน่ี ค้ี วรใชค าํ วา พญา - ผเู ปน ใหญ, ผเู ปน หวั หนา ขอคิดจากชาดก ๑. การเลือกปฏิรูปเทส ๔ ในการประพฤติปฏิบัติธรรม ปฏิรูเป วเส เทเส นโร ฯ แปลความวา นรชนพงึ อยใู นถิ่นที่เหมาะสม ซ่งึ กค็ อื การได อยใู นถ่ิน ทําเล หรือ ในทที่ ี่เหมาะแกการดําเนินชวี ติ ของตน ใหถ ึงความ เจรญิ รุงเรอื ง และสันตสิ ขุ สัปปายะ ๔ ไดแก ๑.) อาวาสสัปปายะ คือ มีท่ีพักอาศัยสะดวกท่ีอยูเหมาะสม บรรยากาศดี รวมถึงอตุ ุสปั ปายะดว ย ไมร อ น ไมหนาวเกินไป ๒.)บุคคลสัปปายะ คือ มีบุคคลแวดลอมท่ีเหมาะสม ทั้งพระ ทง้ั ญาติโยม ท่เี กย่ี วขอ งทาํ ใหส บายใจ 88 www.kalyanamitra.org

๓.)อาหารสัปปายะ คือ บริโภคอาหารท่ีพอเหมาะ มีอาหาร การบริโภคสะดวกไมฝ ด เคือง ๔.) ธมั มสัปปายะ คือ มีหลกั ปฏบิ ัตทิ ี่ถกู ตอ งและเหมาะแกจริตของ ผูปฏิบตั ธิ รรม ในชาดกเรอ่ื งน้ี อาวาสไมส ปั ปายะ เพราะบคุ คลไมส ปั ปายะ รบั ปากแลว ไมท ําเสนาสนะใหต ามทร่ี ับปาก ๒. คนฉลาด ยอมเปน คนชางสังเกต ระแวงเหตุภยั อันตรายอันอาจ จะเกดิ ขนึ้ ได คลา ยๆกบั เร่ืองวลาหกสั สชาดก ทพี่ อ คาทฉ่ี ลาดสังเกตเหน็ ภยั ทจ่ี ะเกิดขน้ึ แตในชาดกเรอ่ื งนี้ พญานกโพธิสตั วเปนผูสงั เกตเหน็ ภัยทีจ่ ะเกดิ จงึ เตอื นบรวิ ารใหรีบบินหนี ๓. ทองนิทานในชาดกเรื่องน้ียังมีสวนคลายทองนิทานในเร่ืองยอย ท่ี ๖ ในเร่ืองปทกสุ ลมาณวชาดก วาดวยภัยทีเ่ กิดแตท่พี ่งึ อาศยั (แตช าดก เรือ่ งน้ี วา ดว ยภยั ที่เกดิ จากท่ีพึ่ง) ความวา มีตน ไมใหญส มบูรณดวยก่งิ และ คาคบ เปน ทอี่ ยูอาศัยของนกหลายพันตวั ก่งิ สองกิ่งของตน ไมน ้นั เสยี ดกัน จนมีควันเกดิ ขึน้ แลวเช้อื ไฟหลน ลง นกนายฝงู เหน็ จึงชวนนกบริวารบนิ หนี 89 www.kalyanamitra.org

90 www.kalyanamitra.org

Dumทmุมเeมdธhชa-าJดaกtaka “ผมู ปี ญ ญาทรามไดย ศแลว ยอ มประพฤตสิ ง่ิ ทไี่ มเ ปน ประโยชน แกตน ยอมปฏิบตั ิเพ่อื ความเบยี ดเบยี นตนและคนอน่ื ” 91 www.kalyanamitra.org

Dummedha-Jataka. “Exalted station breeds a fool great woe.”—This story was told by the Master while at the Bamboo-grove, about Devadatta. For the Brethren had met together in the Hall of Truth, and were talking of how the sight of the Buddha’s perfections and all the distinctive signs of Buddhahood22 maddened Devadatta; and how in his jealousy he could not bear to hear the praises of the Buddha’s utter wisdom. Entering the Hall, the Master asked what was the subject of their converse. And when they told him, he said, “Brethren, as now, so in former times Devadatta was maddened by hearing my praises.” So saying, he told this story of the past. 22 See p. 2, and (e.g.) the Sela Sutta (No. 33 of the Sutta Nipata and No. 92 of the Majjhima Nikaya). 92 www.kalyanamitra.org

ทมุ เมธชาดก 23 คนโงไ ดย ศกไ็ มเ กดิ ประโยชน สถานทต่ี รสั ชาดก พระวหิ ารเวฬวุ นั นครราชคฤห แควน มคธ สาเหตทุ ต่ี รสั ชาดก พระศาสดา ทรงปรารภพระเทวทัต ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มคี ําเรมิ่ ตนวา ยสํ ลทธฺ าน ทมุ เฺ มโธ ดังนี้ :- ความโดยยอวา ภิกษุทั้งหลายพากันกลาวโทษของพระเทวทัต ในธรรมสภาวา \"ผมู ีอายทุ ัง้ หลาย พระเทวทตั มองดพู ระพักตรอนั ทรงสิริ เหมอื นดวงจันทรเ ตม็ ดวงและพระอตั ภาพอนั ประดบั ดว ยอนพุ ยญั ชนะ ๘๐ และมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ แวดวงดวยพระรศั มีแผซ า นประมาณ ๑ วา ถงึ ความงามเลศิ เปนยอดเยี่ยม เปลงพระพุทธรัศมีเปน แฉกคู ๆ กนั โดย อาการตาง ๆ สลับกันของพระตถาคตแลว ไมอาจยังจิตใหเล่ือมใสได มิหนาํ ซา้ํ ยงั กระทําความริษยาเอาดวย ไมอ าจจะอดใจได ในเมอื่ มผี กู ลาววา ธรรมดาพระพุทธเจา ทัง้ หลาย ทรงประกอบแลว ดวย ศลี สมาธิ ปญ ญา วมิ ุตติ ญาณทสั สนะ เห็นปานนีก้ ระทําความรษิ ยาถา ยเดียว\" พระศาสดาเสดจ็ มาตรสั ถามวา \"ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย มใิ ชแ ต ในบดั น้ี เทา น้นั ที่เทวทัตกระทําการริษยาเรา ในเม่ือมีผูก ลาวถึงคณุ ของเรา แมใ น ปางกอ นกไ็ ดเคยกระทาํ แลวเหมอื นกัน\" แลวทรงนาํ เอาเรอ่ื งในอดตี มาสาธก ดงั ตอ ไปน้ี :- 23 ชาตกฏั ฐกา อรรถกถาชาดก เอกนบิ าต, ล.๕๖, น.๔๖๙, มมร. 93 www.kalyanamitra.org

Once on a time when King Magadha was ruling in Rajagaha in Magadha, the Bodhisatta was born an elephant. He was white all over and graced with all the beauty of form described above. And because of his beauty the king made him his state elephant. One festal day the king adorned the city like a city of the devas and, mounted on the elephant in all its trappings, made a solemn procession round the city attended by a great retinue. And all along the route the people were moved by the sight of that peerless elephant to exclaim, “Oh what a stately gait! what proportions! what beauty! what grace! such a white elephant is worthy of an universal monarch.” All this praise of his elephant awoke the king’s jealousy and he resolved to have it cast over a precipice and killed. So he summoned the mahout and asked whether he called that a trained elephant. “Indeed he is well trained, sire,” said the mahout. “No, he is very badly trained.” “Sire, he is well trained.” “If he is so well trained, can you get him to climb to the summit of Mount Vepulla?” “Yes, sire.” “Away with you, then,” said the king. And he got down from the elephant, making the mahout mount instead, and went himself to the foot of the mountain, whilst the mahout rode on the elephant’s back up to the top of Mount Vepulla. 94 www.kalyanamitra.org

เนอ้ื หาชาดก ในอดตี กาล ครงั้ เมอ่ื พระเจา มคธองคห นงึ่ ครองราชสมบตั ใิ นกรงุ ราชคฤห พระโพธสิ ตั วบ งั เกดิ ในกาํ เนดิ ชา ง ไดเ ปน ชา งเผอื ก ถงึ พรอ มดว ยรปู สมบตั ิ เชน เดยี วกบั ทพี่ รรณนามาแลว ในหนหลงั พระราชาพระองคน น้ั ทรงพระดาํ ริ วา ชา งนส้ี มบรู ณด ว ยลกั ษณะ จงึ ไดท รงแตง ตงั้ ใหเ ปน มงคลหตั ถี ครน้ั ถงึ วนั มหรสพวนั หนงึ่ โปรดใหป ระดบั ตกแตง พระนครทงั้ สน้ิ งดงามดงั เทพนคร เสดจ็ ขน้ึ สมู งคลหตั ถี อนั ประดบั ดว ยเครอ่ื งอลงั การพรอ มสรรพ ทรงกระทาํ ประทกั ษณิ พระนครดว ยราชานภุ าพอนั ใหญห ลวง มหาชนยนื ดู ในทนี่ น้ั ๆ เหน็ สรรี ะอนั ถงึ ความงามเลศิ ดว ยสมบตั ขิ องมงคลหตั ถี กพ็ ากนั พรรณนาถงึ มงคลหตั ถเี ทา นนั้ วา รปู งาม การเดนิ สงา ทา ทางองอาจ สมบรู ณ ดว ยลกั ษณะอยา งแทจ รงิ พญาชา งเผอื กเหน็ ปานนี้ สมควรเปน คบู ญุ บารมี ของพระเจา จกั รพรรดิ พระราชาทรงสดบั เสยี งสรรเสรญิ มงคลหตั ถี ไมท รง สามารถจะอดพระทยั ได ทรงเกดิ ความรษิ ยา ดาํ รวิ า 'วนั นแี้ หละจะใหม นั ตก เขาถงึ ความสน้ิ ชวี ติ ใหจ งได' แลว รบั สง่ั ใหห านายหตั ถาจารยม า รบั สง่ั ถามวา \"ชา งนต้ี อ งทาํ อยา งไรบา ง เจา ใหศ กึ ษาแลว หรอื ?\" นายหตั ถาจารย กราบทลู วา \"ขา แตส มมตเิ ทพ ขา พระองคใ หศ กึ ษาดแี ลว พระเจา ขา \" รบั สง่ั ทว งวา \"ยงั ฝก ไมด นี ะ\" กราบทลู ยนื ยนั วา \"ฝก ดแี ลว พระเจา ขา \" รบั สงั่ วา \"ถา ฝก ดแี ลว เจา จกั อาจใหม นั ขน้ึ สยู อดเขาเวปลุ ละไดห รอื ?\" กราบทลู วา \"พระเจา ขา ขา แตส มมตเิ ทพ\" รบั สงั่ วา \"ถา เชน นนั้ มาเถดิ \" พระองคเ องเสดจ็ ลงใหน ายหตั ถาจารยข นึ้ นง่ั ไสไปถงึ เชงิ เขา เมอื่ นายหตั ถาจารย นงั่ เหนอื หลงั ชา งไสถงึ ยอดเขาเวปลุ ละแลว 95 www.kalyanamitra.org

The king with his courtiers also climbed the mountain, and had the ele- phant halted at the brink of a precipice. “Now,” said he to the man, “if he is so well trained as you say, make him stand on three legs.” And the mahout on the elephant’s back just touched the animal with his goad by way of sign and called to him, “Hi! my beauty, stand on three legs.” “Now make him stand on his two fore-legs,” said the king. And the Great Being raised his hind-legs and stood on his fore-legs alone. “Now on the hind-legs,” said the king, and the obedient elephant raised his fore-legs till he stood on his hind-legs alone. “Now on one leg,” said the king, and the elephant stood on one leg. Seeing that the elephant did not fall over the precipice, the king cried, “Now if you can, make him stand in the air.” 96 www.kalyanamitra.org

แมพ ระองคเ องแวดลอ มดว ยหมอู าํ มาตยก เ็ สดจ็ ขนึ้ สยู อดเขา แลว ทรงบงั คบั นายหตั ถาจารย ใหไ สชา งบา ยหนา ไปทางเหว รบั สงั่ วา \"เจา บอกวา ชา งเชอื กนี้ ฝก ดแี ลว จงใหม นั ยนื ๓ ขา เทา นน้ั \" นายหตั ถาจารยน ง่ั บนหลงั ไดใ หส ญั ญาแกช า งดว ยสน เทา ใหช า งรวู า \"พอ เอย จงยนื ๓ ขาเถดิ \" พระราชารบั สง่ั วา \"ใหม นั ยนื ดว ยเทา หนา ทง้ั สองเทา นน้ั เถดิ \" ชา งผมู หาสตั ว กย็ กเทา หลงั ทง้ั สองขน้ึ ยนื ดว ยสองเทา หนา แมเ มอ่ื พระราชาตรสั วา \"ใหม นั ยนื ดว ยสองเทา หลงั เทา นน้ั \" กย็ กเทา ทง้ั สองขา งหนา ขนึ้ ยนื ดว ยสองเทา หลงั แมเ มอื่ ตรสั สง่ั วา \"ใหย นื ขาเดยี ว\" กย็ กเทา ทง้ั สามขนึ้ เสยี ยนื ดว ยเทา ขา งเดยี ว เทา นนั้ พระราชาครน้ั ทรงทราบความทพ่ี ญาชา งนนั้ ไมต ก กต็ รสั สงั่ วา \"ถา สามารถ จรงิ กจ็ งใหย นื ในอากาศเถดิ \" 97 www.kalyanamitra.org

Then thought the mahout to himself, “All India cannot shew the match of this elephant for excellence of training. Surely the king must want to make him tumble over the precipice and meet his death.” So he whispered in the elephant’s ear, “My son, the king wants you to fall over and get killed. He is not worthy of you. If you have power to journey through the air, rise up with me upon your back and fly through the air to Benares.” And the Great Being, endowed as he was with the marvellous powers which flow from Merit, straightway rose up into the air. Then said the mahout, “Sire, this elephant, possessed as he is with the marvellous powers which flow from Merit, is too good for such a worthless fool as you: none but a wise and good king is worthy to be his master. When those who are so worthless as you get an elephant like this, they don’t know his value, and so they lose their elephant, and all the rest of their glory and splendour.” So saying the mahout, seated on the elephant’s neck, recited this stanza:-- Exalted station breeds a fool great woe; He proves his own and others’ mortal foe. 98 www.kalyanamitra.org

นายหตั ถาจารยค ดิ วา 'ทวั่ ชมพทู วปี ชา งทไ่ี ดช อ่ื วา ฝก ดแี ลว เชน กบั พญาชา งน้ี ไมม เี ลย กแ็ ตพ ระราชาพระองคน ้ี มพี ระประสงคใ หช า งนนั้ ตกเขาตายเปน แน ไมต อ งสงสยั ' คดิ แลว กก็ ระซบิ ทใี่ กลห วู า \"พอ เอย พระราชานปี้ ระสงคจ ะให เจา ตกเขาตายเสยี เจา ไมค คู วรแกท า วเธอ ถา เจา มกี าํ ลงั พอจะไปทางอากาศได ก็จงพาเราผูนั่งบนหลัง เหาะขึ้นสูเวหาไปสูพระนครพาราณสีเถิด\" พระมหาสตั วถ งึ พรอ มดว ยบญุ ฤทธ์ิ ไดย นื อยใู นอากาศ ในขณะนน้ั เอง นายหตั ถาจารยก ราบทลู วา \"ขา แตม หาราช ชา งนถ้ี งึ พรอ มดว ย บุญฤทธิ์ไมคูควรแกคนมีบุญนอย ปญญาทรามเชนพระองค คูควรแก พระราชาผเู ปน บณั ฑติ ถงึ พรอ มดว ยบญุ ขนึ้ ชอ่ื วา คนบญุ นอ ยเชน พระองค ถงึ ได พาหนะเชน น้ี กม็ ไิ ดร คู ณุ ของมนั รงั แตจ ะยงั พาหนะนนั้ และยศสมบตั ทิ เ่ี หลอื ใหฉ บิ หายไปฝา ยเดยี ว\" ทงั้ ๆ ทนี่ ง่ั อยบู นคอชา ง กลา วคาถานคี้ วามวา :- “ ผมู ปี ญ ญาทราม ไดย ศแลว ยอ มประพฤตสิ งิ่ ทไี่ มเ ปน ประโยชนแ กต น ยอ มปฏบิ ตั เิ พอื่ ความเบยี ดเบยี นตนและคนอน่ื ” ดงั น.้ี 99 www.kalyanamitra.org