Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Greenline31

Greenline31

Published by Lib SRC, 2022-01-13 02:14:24

Description: Greenline31

Search

Read the Text Version

กรมสง เสรมิ คุณภาพส่งิ แวดลอ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม Department of Environmental Quality Promotion, Ministry of Natural Resources and Environment ฉบับที่ 31 มกราคม - เมษายน 2555 Volume 31 January - April 2012 ‘เมอื งน้ำ’ วถิ ที แ่ี ปรเปลี่ยน ‘Land of Water’ The Way of Life It's a Changin'

2 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 บรรณาธกิ ารทป่ี รกึ ษา: สนุ ันต์ อรุณนพรัตน,์ รชั นี เอมะรุจ,ิ ฉบบั ท่ี 31 มกราคม – เมษายน 2555 ภาวิณี ปุณณกนั ต์ No. 31 January - April 2012 บรรณาธกิ ารอ�ำ นวยการ: บรรพต อมราภบิ าล ผพู้ ิมพผ์ ู้โฆษณา บรรณาธิการบรหิ าร: สาวิตรี ศรีสขุ กรมส่งเสริมคุณภาพสง่ิ แวดล้อม กองบรรณาธิการ: ภาวนิ ี ณ สายบุรี, จงรักษ์ ฐนิ ะกุล, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม จรยิ า ชน่ื ใจชน, นันทวรรณ เหลา่ ฤทธ์ิ, 49 พระราม 6 ซอย 30 ถนนพระราม 6 กรงุ เทพฯ 10400 ผกาภรณ์ ยอดปลอบ, โทรศพั ท์ 02-298-5628 โทรสาร 02-298-5629 นชุ นารถ ไกรสวุ รรณสาร www.deqp.go.th, www.environnet.in.th บรรณาธกิ ารภาษาองั กฤษ: วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม Publisher Department of Environmental Quality Promotion ผชู้ ่วยบรรณาธิการ: แมน้ วาด กุญชร ณ อยุธยา Ministry of Natural Resources and Environment 49 Rama VI Soi 30, Rama VI Rd., Bangkok 10400 เลขานุการกองบรรณาธกิ าร: ศิรริ ตั น์ ศวิ ลิ ัย Tel. 02-298-5628 Fax. 02-298-5629 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th ผจู้ ดั ท�ำ : หจก.ส�ำ นักพิมพท์ างช้างเผือก 63/123 ซอยราษฎรพ์ ฒั นา 5 แขวงสะพานสูง เขตสะพานสงู กทม 10240 โทรศัพท์ 02-517-2319 โทรสาร 02-517-2319 E-mail: [email protected] ลิขสทิ ธบิ์ ทความ สงวนสิทธ์โิ ดยกรมสง่ เสรมิ คุณภาพส่งิ แวดล้อม Editorial Advisers: Sunun Arunnopparat, กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม Ratchanee Emaruchi, ลิขสทิ ธ์ิภาพถ่าย สงวนสิทธ์ิโดยผู้ถ่ายภาพหรอื เจา้ ของภาพ Pawinee Punnakan การพิมพ์หรอื เผยแพร่บทความซ้�ำโดยไม่ใชเ่ พอื่ การพาณชิ ย์ สามารถทำ� ได้โดยอา้ งองิ ถึงกรมสง่ เสรมิ คุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม Editorial Director: Bunpot Amaraphibal การพิมพเ์ พอ่ื เผยแพร่ภาพถ่ายซ�ำ้ ต้องได้รับอนญุ าตจากเจ้าของลิขสทิ ธิ์ ก่อนเทา่ นัน้ Executive Editor: Savitree Srisuk บทความทตี่ ีพิมพ์ในวารสารนี้ เป็นความคิดเห็นของผูเ้ ขียน เพือ่ เผยแพร่ การแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ท่ีหลากหลาย Editorial Staff: Pavinee Na Saiburi, Chongrak Thinagul, Text copyright by the Department of Environmental Jariya Chuenjaichon, Quality Promotion, Ministry of Natural Resources and Nantawan Lourith, Environment. Pagaporn Yodplob, Nuchanard Kraisuwansan Photographs copyright by photographers or right owners. English Edition Editor: Wasant Techawongtham Aricles may be reproduced or disseminated for non- commercial purposes with cited credit to the Department Assistant Editor: Maenwad Kunjara Na Ayuttaya of Environmental Quality Promotion. Editorial Secretary: Sirirat Siwilai Reproduction of photographs must be by permission of right owners only. Producer: Milky Way Press Limited Partnership Opinions expressed in the articles in this journal are the 63/123 Soi Rat Pattana 5, authors’ to promote the exchange of diverse points of view. Saphan Sung, Bangkok 10240 Tel: 02-517-2319 Fax: 02-517-2319 e-mail: [email protected]

บทบรรณาธกิ าร Editorial เหตุการณ์น้�ำท่วมใหญ่ปี 2554 ก็ได้ผ่านไปแล้วอย่าง กรงุ เทพมหานคร – เม่ือแม่ท่ีอุ้มลกู น้อยมาเพ่ือข้นึ รถทหาร หนา้ หา้ งเซ็นทรลั คอ่ นขา้ งทลุ กั ทเุ ล สรา้ งความเสยี หายใหแ้ กช่ วี ติ บา้ นเรอื น ลาดพร้าว หลายคนเต็มใจท่จี ะยนื่ มอื เขา้ ไปช่วย – ดลิ ก ตามใจเพ่ือน ร้านค้า อุตสาหกรรม และสาธารณสมบัติอ่ืนๆ อย่าง มากมาย จนบัดน้ี ความเสยี หายเหลา่ นก้ี ็ยงั ไมไ่ ดร้ ับการ Bangkok – When a young mother with an infant tries to climb แกไ้ ขทงั้ หมด อยา่ งไรกด็ ี นอกจากการเยยี วยาผปู้ ระสบภยั up a military truck that is parked in front of the Central Lat Phrao จำ� นวนมากแลว้ รฐั บาลยงั มภี าระเรง่ ดว่ นทจ่ี ะตอ้ งกำ� หนด Department Store to transport people during the flood, all hands และด�ำเนินมาตรการป้องกันความเสียหายที่จะเกิดข้ึน reach out to help take the young one. – Dilok Tamjaipuan จากอุบัติภัยร้ายแรงในอนาคต เพ่ือสร้างความม่ันใจแก่ ประชาชนและภาคธรุ กิจ The Great Flood of 2011 has passed, confusingly and chaotically, leaving in its wake tremendous นกั วชิ าการ ผเู้ ชย่ี วชาญ และผรู้ จู้ ากหลายวงการ ตา่ งไดว้ เิ คราะห์ damages to lives, living quarters, shops, indus- เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และช้ีไปท่ีสาเหตุที่อุบัติภัยคร้ังน้ีสร้างความ tries and public properties. To date, not all dam- เสยี หายอยา่ งใหญห่ ลวง ซง่ึ พอจะรวบรวมไดเ้ ปน็ 3 สาเหตใุ หญๆ่ ดว้ ย ages have been rehabilitated. Apart from recompensing กันคือ ป่าไม้ท่ีเสื่อมโทรมจากการถูกท�ำลายโดยการตัดไม้หรือบุกรุก a great number of victims for their losses, the govern- เพอื่ ยดึ ครองทด่ี นิ การวางผงั เมอื งทไี่ มเ่ หมาะสมหรอื การไมป่ ฏบิ ตั หิ รอื ment has an urgent task to formulate and implement บงั คบั ใชผ้ งั เมอื งอยา่ งเครง่ ครดั และการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ�้ ท่ี protective measures against future disasters in order to มปี ระสทิ ธภิ าพไมเ่ พยี งพอ ซงึ่ เปน็ สาเหตทุ เ่ี กดิ จากนำ้� มอื มนษุ ยท์ ง้ั สนิ้ instill confidence in the people and the business sector. จรงิ อยวู่ า่ ผเู้ ชย่ี วชาญตา่ งยนื ยนั วา่ ปรมิ าณนำ�้ ฝนเมอ่ื ปที แ่ี ลว้ แม้ In light of what happened, academics, experts and จะมมี ากกว่าหลายๆ ปที ี่ผ่าน ก็ไมน่ า่ จะสร้างความเสียหายมหาศาล scholars of various stripes have analyzed the event and อยา่ งทไี่ ดเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งไรกต็ าม การเปลยี่ นแปลงของสภาพภมู อิ ากาศ identified the causes that led to such calamity. It basi- โลกกท็ ำ� ใหม้ แี นวโนม้ วา่ อบุ ตั ภิ ยั ธรรมชาตใิ นอนาคตจะรนุ แรงมากขน้ึ cally boils down to three major factors: deforestation as และพยากรณ์ได้ยากยิ่งข้ึน ดังน้ัน การวางแผนรับมือกับอุบัติภัยใน the result of illegal logging or encroachment for land; อนาคตจ�ำเปน็ ตอ้ งประกอบประเด็นน้ีในการพิจารณาด้วย inappropriate city planning or non-compliance or lack of enforcement of city plans; and, inefficiency in the นนั่ หมายความวา่ แผนการรบั มอื ดงั กลา่ วจะตอ้ งพจิ ารณาปจั จยั nation’s water resources management. It can be safely ต่างๆ อย่างรอบดา้ นและมมี าตรการจัดการกับอุบัติภยั อย่างเปน็ องค์ said that all three factors are caused by humans. รวม โดยจะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศธรรมชาตเิ ปน็ อนั ดบั แรก เพราะเป็นด่านส�ำคัญที่สุดที่จะน�ำมาซ่ึงการป้องกันอุบัติภัยที่ It is true that the experts have insisted that, despite มัน่ คงและยัง่ ยนื ที่สุด n the volume of rainfall last year being greater than that in many years past, the floods should not have caused such devastating damages. Nevertheless, the global cli- mate change will likely lead to future natural disasters to become more severe and more difficult to predict. Consequently, any planning to cope with future disasters needs to incorporate this issue into the process. It means that such a plan (or plans) must take into account all contributing factors and devise measures to manage disasters in a holistic manner. Priority of con- sideration must be given to impacts to the natural eco- system. This is because the ecological system is the most important line of defense that will ensure sustainable protection against disasters. n

สารบัญ4 มกราคม - เมษายน 2555 January-April2012 CONTENTS ขเม้า่อื มเยฟอา้ ร: มันตกลงกติกาลมุ่ น้ำ� 66 12 ACROSS THE SKY: When Germans Accept Basin 12 Agreement “เมืองนำ�้ ” วิถีท่แี ปรเปล่ยี น ‘LAND of WATER’ The Way of Life It’s a Changin’ ไม่ผิดหรอกที่ลมื วา่ เราเปน็ ‘เมอื งนำ�้ ’ 29 Not Wrong to Forget that We Are สัมภาษณ์พเิ ศษ: รศ.ดร.เสรี ศุภาราทติ ย์ Living in the ‘Land of Water’ SPECIAL INTERVIEW: 29 Assoc Prof Dr Seree Supharatid 34

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 5 นักเขยี นรับเชญิ : สุรจติ ชริ เวทย์ ออ่ นตัว ยืดหยนุ่ นุ่มนวล – หลกั การจดั การน้ำ� ใหย้ ง่ั ยนื GUEST WRITER: Surachit Chiravet 41 Softly, Flexibly, Gently — How to Manage Water Sustainably เสน้ ทางเดยี วกัน: ประเทศไทยจะอยไู่ ด้ 47 56 ชาวนาตอ้ งอยูร่ อดและพึ่งตัวเองได้ 41 ON THE SAME PATH: For Thailand to Live on, Farmers Must Survive and Stand on Their Own Feet เสน้ ทางสายใหม:่ แผนบริหารจัดการน้ำ� ท่วม... ต้องยกเครื่อง — ดร.รอยล ON A NEW PATH: 52 Dr Royol: Flood Management Plan Needs an Overhaul เส้นทางสีเขียว: วิกฤตข้อมลู … เมือ่ ประชาชน 58 ต้องผิดหวงั กับสอื่ และรฐั บาล GREEN line: INFORMATION CRISIS… When Government and Media Fail the Public 52 63 มหิงสา: นำ้� กับชวี ิตในชมุ ชนบ้านในสอย Little Mahingsa: Water and Life at Ban Nai Soi Community เสียงชมุ ชน: ผู้ประสบอทุ กภยั -ภยั พิบตั ิ 66 ต้องแก้ปญั หาไดด้ ้วยตนเอง COMMUNITY VOICE: Victims of Floods and Disasters Must Solve Problems for Themselves กจิ กรรมกรม: 75 ‘รวมพลคนไทย ปนั นำ้� ใจสูช่ ุมชน’ DEPARTMENT ACTIVITIES: ‘Joining Hands to Help Communities’ 78ลอ้ มกรอบ: น�้ำท่วมทงุ่ ผักบุ้งโหรงเหรง 66 VIEWFINDER: Nam Thuam Thung, Phak Bung Long Leng

ข้ามฟ้ามกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 across the sky ภาพกวา้ งของแม่น�้ำโอเดอรจ์ ากฝั่งเยอรมนี – panoramio.com A panoramic view of the Oder on the Germany border – panoramio.com เมอ่ื เยอรมนั ตกลงกตกิ าลมุ่ นำ้� สรณรชั ฎ์ กาญจนะวณชิ ย์ เหตกุ ารณน์ ำ�้ ทว่ มผดิ ปกติในชว่ ง 4-5 ปีมาน้ี ท�ำใหส้ งั คม เข้าหากัน เพอื่ ทบทวนตนเอง ทบทวนสถานการณ์ และรว่ มกนั คดิ คน้ วงกว้างพูดถึงการแก้ปัญหาด้วยการปรับตัวกับภาวะ แก้ปัญหาอย่างจรงิ จัง นำ�้ ทว่ มกนั มากขนึ้ ตงั้ แตใ่ นระดบั การจดั การพน้ื ทท่ี ง้ั ลมุ่ นำ�้ ในลกั ษณะบรู ณาการ จนไปถงึ การปรบั ตวั ในระดบั ปจั เจก ประเทศไทยไม่ใช่ประเทศเดียวที่ตกอยู่ในภาวะนี้ เยอรมันก็ ร้ือฟื้นภูมิปัญญาดั้งเดิมของบรรพบุรุษ อาทิ สร้างบ้าน เป็นอีกหน่ึงในหลายๆ ประเทศที่ก�ำลังเผชิญชะตากรรมเดียวกัน มีใต้ถุนสูงจนไปถึงปลูกข้าวยืดพันธุ์ข้าวน�้ำท่วมโบราณ ฝนฟ้าแปรปรวนผดิ ปกตติ ่างจากที่เคยประสบพบมา ยามแลง้ แลง้ จดั แห่งลุ่มน�้ำเจ้าพระยา ที่ยืดต้นข้ึนตามระดับน้�ำ ออกรวง ยามฝนกท็ ว่ มหนกั วปิ รติ แบบนถี้ ข่ี นึ้ เรอ่ื ยๆ โดยเฉพาะในปี ค.ศ. 1997 ทอดไปบนผิวน้�ำ เวลาเก็บเกี่ยวก็พายเรือเกี่ยวกัน ให้ เกดิ โศกนาฎกรรมนำ้� ทว่ มใหญแ่ ถบซกี ตะวนั ออกและโปแลนด์ คนตาย ผลผลิตไม่สูงมากนกั แตด่ ีกวา่ ข้าวจมน�ำ้ เน่าตายท้งั นา ไปจ�ำนวนไมน่ ้อย เป็นข่าวใหญ่ระดบั โลก แต่น้�ำท่วมคร้ังที่ผ่านมาร้ายกาจเกินความสามารถท่ีปัจเจกชน เหตุการณ์คร้ังน้ันเขย่าสังคมเยอรมันจนเกิดเป็นแรงกดดันให้ จะปรบั ตัวรับมอื ไดด้ ้วยวิถีไทยเดมิ หลายแห่งน้�ำท่วมสูง 3 เมตรกว่า รฐั บาลตอ้ งขวนขวายหาหนทางแกป้ ญั หาใหไ้ ด้ สอ่ื เลน่ หนกั ทงั้ ในระดบั ขนึ้ ถงึ หลงั คาบา้ ง ถงึ ชน้ั สองบา้ ง เกนิ กวา่ ใตถ้ นุ ปกตทิ ไ่ี หนจะหนพี น้ ได้ ท้องถิน่ ถึงอนิ เตอร์ สังคมต้องหันมาคดิ จรงิ ๆ จังๆ วา่ จะปรบั ตัว อย่าง หรอื พันธุข์ ้าวท่ีไหนจะยืดตน้ ไหว เป็นรูปธรรมกบั ความเปลีย่ นแปลงทางภูมอิ ากาศกันอย่างไร เรากำ� ลงั เผชญิ กบั ปรากฎการณใ์ หม่ ทเี่ รยี กรอ้ งใหส้ งั คมหนั หนา้ ในช่วง 100 ปีทีผ่ า่ นมา เยอรมันและประเทศท่ีราบลมุ่ ในยโุ รป หลายๆ แหง่ มุ่ง “แกป้ ญั หาน�ำ้ ทว่ ม” ดว้ ยโจทย์และแนวคดิ ในยคุ ต้น ศตวรรษ 20 ซึ่งตา่ งไปจากสถานการณ์ปจั จบุ ัน ในตอนนั้นชาวยุโรป

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 7 When Germans Accept Basin Agreement TDr Saranarat Kanjanavanit he unusually heavy flooding during the last แผนท่ีแม่น�้ำโอเดอร์ ทก่ี นั้ พรมแดนระหวา่ งเยอรมนกี ับโปแลนด์ 4-5 years have made people from all walks of life talk about how to adapt themselves A map of the Oder River on the border of Germany and Poland. to deal with the upcoming floods. The topics range from how to manage basins Straightening the river and building walls along through an integrative approach to how its banks forced the water to flow in a narrow channel. individuals may adjust themselves, revival of our local When the weather turned ugly and it pours down rain, wisdoms such as building houses on high stilts, to grow- the river overflowed the walls, sending floods into the ing water resistant breeds of rice that can grow tall as the residential areas and disaster results. water rises, allowing farmers to harvest the rice while on the boats. Although the yields of such rice are lower, it is It was then obvious that the German river basins better than losing everything in the floods. needed areas to retain flood water, becoming seasonally flooded plains, for an obvious reason that the river walls However, the recent flooding could not be dealt with could not be built ever higher without spending astro- through the traditional Thai way. The water in many nomical amounts of money. Yet, it was also impossible to flooded areas was over 3-meter high, up to the roof and restore the lowlands back to their original conditions 100 second floor. The stilts on which the houses rest were or 200 years ago because they were already populated. simply not high enough. And no breeds of rice could What was more feasible an action that could be done survive the flooding. within a few years was to move the walls further inland to expand the flood zones with as little impact as possible We are facing a new phenomenon that calls for our on the local inhabitants. This was easier said than done collaborative efforts to reflect on ourselves and the situa- as the lands next to the rivers were mainly agricultural tion and to seriously find solutions together. and inhabited areas, even small villages. If the residents chose not to accept compensation from the government Thailand is not the only country that is facing this and move out, they would have to reconcile to the fact situation. Germany is one of many countries facing a that their lands would be flooded seasonally. similar fate. The weather there fluctuates in an irregu- lar manner. When it’s dry, it’s very dry. When it rains, The widened flood zones have become grasslands it pours causing floods. Such abnormality is becoming for livestock instead of croplands during the dry season. more and more frequent, particularly in 1997 when a great flood disaster struck the east of Germany and Poland, causing a high death toll. The German people were badly shaken up by that incident so much so that the German government felt compelled to find a solution. Both local and international media played up the story, demanding that the society must seriously think about adapting to the changing climate. During the past century, Germany and other Euro- pean countries on the flood plains tried to solve flooding problems by applying the early 20th-century approach in a situation quite different from the current one. At the time, the Europeans reclaimed the flooded areas and turned them into cropland and residential areas, using their engineering prowess to control nature. They reshaped the meandering rivers to flow in a straight line to speed up the flow of water to the sea. This approach often caused flash floods on downstream areas. To solve the problem, they built walls along both banks of the riv- ers to prevent the water from inundate the land behind the walls, making it possible for people to grow crops and build their houses on the land that was previously a flood plain. ขา้ มฟา้ across the sky

8 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 ทุ่งหญา้ แห่งหน่ึงบนฝง่ั แมน่ ำ้� โอเดอร์ ใกล้เมอื ง Lebus – panoramio.com พลิกแนวคดิ อยา่ งรวดเร็ว เพราะฉะนน้ั ถึงแมว้ า่ จะมีความคดิ ขัดแย้ง กันมากในตอนแรก แต่กต็ กลงกนั ไดภ้ ายในเวลาไมน่ าน” เมอ่ื ทุกฝา่ ย A grass meadow on the bank of the Oder near the town of Lebus in มีความตงั้ ใจจรงิ อยากแกป้ ญั หา มันก็พอท�ำได้ รัฐแบรนเดนเบิรก์ จึง Germany – panoramio.com สามารถริเรมิ่ แก้ปญั หาอยา่ งเปน็ รูปธรรมภายในเวลาไม่กีป่ ี พากันกอบกู้พ้ืนท่ีน้�ำท่วมตามฤดูกาลจากธรรมชาติมาแปรเปลี่ยน สถานการณ์ของเราในประเทศไทยมีรายละเอียดท่ีแตกต่างไป เป็นพื้นที่เพาะปลูกและท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์ ใช้วิศวกรรมควบคุม จากเยอรมันมากมาย แต่เราเหมือนกันตรงท่ีท้ังสองประเทศล้วน ธรรมชาตินำ� การพัฒนา โดยขุดตดั ล�ำน�ำ้ ท่ไี หลคดเคยี้ วใหต้ รงขึ้น เพื่อ แลว้ แต่ท�ำลายระบบการไหลตามธรรมชาตขิ องน�้ำดว้ ยส่งิ ก่อสรา้ งผิด ระบายนำ้� ลงสทู่ ะเลใหเ้ รว็ ทสี่ ดุ วธิ นี มี้ กั กอ่ ปญั หานำ้� ทว่ มหนกั ฉบั พลนั ที่ผิดทางสารพัดอย่าง ท�ำลายพื้นท่ีกันชนและพื้นที่แก้มลิงริมฝั่งน้�ำ แก่พื้นท่ีท้ายน้�ำ จึงป้องกันแก้ไขด้วยการสร้างคันก�ำแพงกันน้�ำไม่ให้ เหมือนกัน ที่น่าสนใจ (และนา่ หนักใจ) คอื เมือ่ กรมอตุ ฯุ เปรียบเทยี บ เออ่ ลน้ ออกดา้ นขา้ งเปน็ แนวยาวขนาบสองฝง่ั ฟากแมน่ ำ�้ เออ้ื ใหค้ นเขา้ ปริมาณน�้ำฝนย้อนหลังหลายๆ ปี กลับพบว่า แม้ปีน้ีน้�ำจะมากกว่า มาเพาะปลกู ปกั เสาลงเรอื นหลงั คนั กนั้ นำ�้ ได้ บนพนื้ ทที่ เ่ี ดมิ นำ้� ทว่ มถงึ ปกติ แต่ก็เป็นเพียงปีหนึ่งท่ีน�้ำมากท่ีสุด แต่เหตุใดมันจึงท่วมรุนแรง สาหัสกว่าปีใดๆ ที่ผา่ นมา การขุดล�ำน้�ำให้ตรงและสร้างก�ำแพงสูงขนาบฝั่งน้�ำ บีบบังคับ ให้น�้ำไหลจ�ำกัดอยู่ในร่องแคบๆ เม่ือดินฟ้าเกิดวิปริตสาดเทน้�ำลงมา เมอื่ เราประมวลขอ้ มลู ไดท้ งั้ หมด คงไมแ่ ปลกถา้ พบวา่ มนั มปี จั จยั มากกว่าปกติ นำ้� กท็ ะลักลน้ พ้นกำ� แพงเข้ามาท่วมพนื้ ท่ที ม่ี นษุ ยอ์ าศัย และองค์ประกอบหลายอย่างเข้ามาหนุนกันให้เกิดผลกระทบทวีคูณ อยู่ กลายเปน็ อุทกภยั แต่เริ่มมีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าสถานการณ์น�้ำท่วมรุนแรงขึ้นเร่ือยๆ ต้ังแต่ เกิดระบบ อบต. เม่ือแต่ละต�ำบลต่างลุกขึ้นฉาบปูนล�ำน�้ำและสร้าง ถึงตอนน้ันก็ชัดเจนว่าลุ่มน�้ำเยอรมันต้องการพ้ืนท่ีแก้มลิง ท�ำนบก้ันน�้ำปกป้องบ้านตัวเอง ต่างฝ่ายต่างท�ำโดยไม่ได้วางแผน ริมแม่น้�ำเพิ่มเติม เป็นพื้นท่ีน้�ำท่วมตามฤดูกาล เพราะถึงจุดหน่ึงก็ ร่วมกัน แต่ธรรมชาติไม่รู้จักพรมแดนตามเขตปกครองของมนุษย์ ไม่สามารถสร้างคันก�ำแพงให้สูงมากขึ้นไปอีกโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย การจัดการรับมือกับธรรมชาติจึงต้องเป็นการจัดการแบบมีภาพรวม มหาศาล แต่จะเนรมิตสภาพลุ่มน�้ำกลับไปเหมือนเดิมเมื่อ 100-200 ให้แตล่ ะทอ้ งถน่ิ สามารถปฏบิ ตั กิ ารไดส้ อดคล้องกนั ปีก่อนก็ทำ� ไม่ได้แล้ว เพราะชมุ ชนรกุ เข้ามาตง้ั ถ่นิ ฐาน ส่งิ ทีต่ อ้ งรีบทำ� ในช่วงเวลาไม่ก่ีปี จึงเป็นการสรรหาพ้ืนท่ีท่ีสามารถเลื่อนคันก�ำแพง เมื่อพูดถึงน�้ำ เราจึงต้องถอยออกมาดูในระดับภูมิภาค มันเป็น ออกไปเพื่อขยายเขตรับน้�ำท่วม โดยส่งผลกระทบต่อผู้คนน้อยที่สุด เร่ืองไม่กี่เรื่องที่สหภาพยุโรปลุกข้ึนออกก�ำหนดกฎกติการ่วมกัน ซึ่งแน่นอนว่าไม่ง่ายเลย ส่วนใหญ่เป็นพื้นท่ีเพาะปลูกติดแม่น้�ำ แต่ ทุกประเทศ บางคร้ังก็เป็นพื้นท่ีบ้านคน หรือแม้แต่หมู่บ้านเล็กๆ ซึ่งถ้าไม่รับค่า ชดเชยแลว้ ย้ายออก ก็ตอ้ งรบั สภาพนำ้� ท่วมตามฤดกู าลไป น้ำ� เปน็ ตวั เชอื่ มระบบนิเวศท้ังหมดบนโลกใบน้ี พ้ืนท่ีริมน�้ำในโซนนี้ปล่อยให้เป็นทุ่งหญ้าเล้ียงปศุสัตว์ในหน้า เม่ือฝนตกลงมาบนแผน่ ดิน ส่วนหน่งึ จะซึมซบั ลงสู่ดนิ เคล่อื นท่ี น้�ำลดแทนการเพาะปลูก และพื้นท่ีแห่งหน่ึงถึงกับเปลี่ยนไปเป็น ชา้ ๆ ใตด้ นิ สทู่ ต่ี ำ�่ อกี สว่ นไหลอาบผา่ นผวิ ดนิ ทงั้ สองสว่ นมารวมตวั กนั อุทยานแห่งชาติ มีการท�ำลายท�ำนบกั้นน�้ำและปล่อยให้น้�ำหลากใน เปน็ ลำ� น�ำ้ จากลำ� น�้ำเลก็ สลู่ �ำน้�ำใหญแ่ ละบงึ กวา้ งส่ทู ะเล ระหวา่ งการ ฤดฝู นเปน็ พนื้ ทชี่ มุ่ นำ้� ทก่ี วา้ งใหญ่ มนี กเขา้ มาอาศยั จำ� นวนมาก และใช้ เดนิ ทาง สายนำ้� กดั เซาะแผน่ ดนิ ละลายแรธ่ าตแุ ละสสารตา่ งๆ พดั พา เปน็ พ้นื ทฟ่ี ื้นฟปู ระชากรสัตว์ปา่ ใกล้สญู พนั ธุ์ เช่น ควายไบซัน เปลยี่ น ไปกับน้ำ� ดว้ ย ลำ� นำ้� จงึ ท�ำหนา้ ที่เสมอื นเส้นเลือดหลอ่ เลย้ี งแผน่ ดนิ สง่ รปู แบบเศรษฐกจิ ในพืน้ ท่ไี ปเป็นการทอ่ งเท่ยี วและนันทนาการ ความช่มุ ชน้ื และล�ำเลียงอาหาร แร่ธาตุ สูด่ ินแดนที่ไหลผา่ นไปจนถึง ชีวิตในทะเล ซ่ึงเป็นแหล่งน�้ำใหญ่ท่ีสุดของเรา ให้ออกซิเจนกว่าครึ่ง ความยากของการแก้ปัญหาไม่ได้อยู่ที่การขบคิดทางออก มัน หนง่ึ ทชี่ วี ติ โลกใชห้ ายใจจากการสงั เคราะหแ์ สงของแพลงตอนพชื และ ชัดเจนอยู่แล้วว่าต้องปรับเปลี่ยนการใช้ท่ีดินให้เหมาะสมกับระบบ ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศถึง 93 เปอร์เซนต์ นิเวศ แต่ความยากอยู่ที่การเจรจาแลกเปล่ียนหาบทสรุปท้ังในภาพ ใหญ่ และในรายละเอียดระหว่างกลุ่มผู้เช่ียวชาญหลากสาขา และ อะไรเกิดข้ึนในพ้ืนที่แห่งใดแห่งหนึ่งจึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อ กลุ่มผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ในทอ้ งถิ่น พน้ื ท่อี ่ืนที่อยู่ใตร้ ะบบนำ�้ ไมแ่ ยแสตอ่ เส้นแบ่งเขตปกครองของมนุษย์ น�้ำจึงเป็นเร่ืองไม่กี่เร่ืองที่เหล่าประเทศในสหภาพยุโรปยกให้เป็นการ ดร.แมทเทียส ฟรอยเด รัฐมนตรีกระทรวงส่ิงแวดล้อมของรัฐ บริหารระดับภูมิภาค มีกฎกติกาใหญ่แบบท็อปดาวน์จากบนลงล่าง แบรนเดนเบริ ก์ เมอ่ื ครง้ั ทแี่ วะมาเทยี่ วเมอื งไทยตอนตน้ เดอื นกนั ยา ปี ครอบคลมุ รว่ มกนั ทง้ั ภมู ภิ าค บางขอ้ ออกเปน็ กฎบงั คบั ใชท้ ว่ั ไปแลว้ แต่ ทผี่ า่ นมา กลา่ ววา่ “หายนะขนาดเลก็ สง่ ผลดี มนั ปลกุ ใหส้ งั คมตน่ื และ บางขอ้ ยงั อยใู่ นระหวา่ งการพจิ ารณา ออกเปน็ แนวทางกรอบนโยบาย ภาพรวมให้แต่ละท้องท่ีคิดค้นหาทางด�ำเนินการสู่เป้าหมายที่วางไว้ ตามความเหมาะสมกนั เอง กติกาน�้ำข้อแรกท่ีสหภาพยุโรปบังคับใช้ร่วมกันคือมาตรฐาน คุณภาพน�้ำในแหล่งน�้ำธรรมชาติ ประเด็นนี้ท�ำกันมาหลายสิบปีแล้ว ต้งั แตย่ ุค 70 มันเปน็ เรือ่ งเข้าใจงา่ ย ใครๆ ก็ตอ้ งการน้ำ� สะอาดดม่ื กิน ราดตวั ความสกปรก-สะอาดของนำ้� รอบๆ ตวั ยงั สง่ ผลกระทบโดยตรง ต่อประสาทสัมผัส กลิ่นและสีของน้�ำกระทบคุณภาพชีวิตประจ�ำวัน อยา่ งจงั ดงั ทคี่ นไทยบา้ นนำ�้ ทว่ มขงั เนา่ เหมน็ ตามเมอื งตา่ งๆ ประจกั ษ์ ซง้ึ กนั ถว้ นหนา้ เมอ่ื ปที ี่ผา่ นมา

มมกกรราาคคมม -- เเมมษษาายยนน 22555555 JJaannuuaarryy -- AApprriill 22001122 9 But one of these areas was turned into a national park, it erodes the land and carries with it minerals and other where the flood walls were dismantled, allowing the land substances. Waterways thus act like veins nourishing the to be flooded during the rainy season. The vast wetland land, keeping it moist and enriching it with nutrients and soon attracted large flocks of birds and became a sanctu- minerals along the way towards the sea, the largest body ary for endangered wildlife such as bison. Tourism and of water of all. The sea gives off more than half of the recreation became the local economy’s lifeline. oxygen through photosynthesis by planktons that sustain living beings, and it absorbs 93% of the carbon dioxide The difficulty in solving the problem was not in try- in the air. ing to find a solution. It was clear that the land use must be changed to be harmonious with the ecological system. What happens in one area has direct impact on The difficulty is the negotiation and trade-off between other areas under the water system without regard to experts of various disciplines and the local stakeholders administrative boundaries. Water management is, there- to reach a conclusion in a broad picture and in details. fore, one of the few issues that the EU treats at a regional level. It created a major set of top-down rules governing Dr Matthias Freude, president of the Brandenburg the entire region. Some of the rules are set for general State Office of Environment, Health and Consumer use while others provide broad guidelines for individual Protection of Germany, who visited Thailand in early localities to set their own targets for achievement as they September last year said: “A small disaster is a good see fit. thing. It wakes people up and effects quick change in the way they think. Even though there were a lot of conflict- The first EU-wide rule is about quality of water in ing ideas at the beginning, an agreement was reached natural sources. This rule, established since the 1970s, within a short time.” When all parties are willing to solve is simple to understand. Everyone needs clean water to a problem, there is always a way. That’s why the State of drink and to clean. Water, whether clean or dirty, affects Brandenburg was able to implement a concrete solution our senses directly. Its smell and color have a direct within a short few years. impact on our quality of life, the fact of which Thai people had had a first-hand experience living in stagnant The situations in Thailand and in Germany are water during last year’s great flood. quite different in many ways although they are similar in the way that both countries have ruined the natural In general, a source of pollution that can be man- water flow by constructing all kinds of structures in the aged easily is often in the industrial sector because it is wrong places. We both destroyed the buffer and flood easy to identify the point of discharge of polluted water zones along the rivers. What is interesting, and worry- and control (if monitoring is done honestly and the law is ing, is that the Meteorological Department found that seriously enforced). Polluted water from communities is a the volume of rainwater the past year, while larger than little harder to manage but not impossible. But the most that in normal years, was not excessively so compared to difficult pollution source to manage is the agricultural other years with a large rainfall volume. Why, then, was sector because there are no specific points of discharge. the flood more severe than all other years? The pollutants include chemical fertilizers and insecti- cides that pollute all over the ground and are washed Taking all available data into consideration, it should down by rain into public water sources before flowing not come as a surprise that many factors have coalesced into the sea, killing large numbers of marine lives. This is to cause exponential impacts. Some observers pointed one of the major causes of the ecological destruction of out that flooding became increasingly severe after each the Andaman coasts. Tambon (subdistrict) Administration Organization started building flood walls to protect its own area with- However, within the last 2-3 decades, Western out joint planning with its neighbors. But Nature knows Europe was able to manage the quality of fresh water no administrative boundaries. Management to cope with sources quite well. Thames River in London, which was Nature must be an integrated one that allows localities to extremely polluted during the 60s, now counts trout as its work in harmony. residents. Although agricultural pollutants still could not be controlled fully until a shift to organic farming takes When dealing with water, we need to look at it at place, the problem has become much less severe after the regional level. This is one of very few issues that all farmers have been asked not to remove natural plants members of the European Union have agreed to set up within a 10-meter radius from waterways. The plants rules together. not only protect the banks against erosion and trap silt washed away from the land surface but also absorb pol- Water links all ecological systems lutants in flood water. in the world However, the wellbeing of a watercourse does When rain falls, part of it is absorbed by the soil and not depend on the cleanliness of the water only but it moves down slowly underground. The other part washes involves three factors: quality, volume, and physical over the ground surface. The two parts, then, join to properties. The three factors form a support system for form waterways, from small ones to large ones, becoming plants and aquatic animals. Building of dams, straight- large bodies of water flowing to the sea. On its journey, ening of waterways and building of flood walls that ขา้ มฟา้ across the sky

10 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 โดยทั่วไป แหล่งมลภาวะที่จัดการง่ายท่ีสุดมักจะเป็นมลภาวะ ประตนู ำ�้ บนลำ� นำ้� Kehrsdorf ที่ไหลลงแมน่ �ำ้ โอเดอร์ – panoramio.com จากภาคอุตสาหกรรม เพราะมีจุดปล่อยน้�ำเสียชัดเจน ควบคุมได้ (ถ้าตรวจสอบอย่างซ่อื สัตยแ์ ละบงั คับใช้กฎหมายจริงจงั ) น�้ำเสยี จาก Kehrsdorf sluice on a tributary of the Oder. – panoramio.com ชุมชนจัดการยากข้ึนมาหน่อยเพราะมีจ�ำนวนมาก แต่ก็สามารถวาง ระบบจัดการได้ แต่แหล่งมลภาวะที่จัดการยากที่สุดได้แก่มลภาวะ ทบทวนหาสาเหตุ และกพ็ บวา่ ผรู้ า้ ยอนั ดบั หนง่ึ ไมใ่ ชก่ ารเปลย่ี นแปลง จากภาคเกษตร เพราะส่วนใหญ่เป็นมลพิษท่ีไม่มีจุดปล่อยจ�ำเพาะ ทางภูมิอากาศที่เทน�้ำฝนลงมามากมายผิดปกติ ตัวการส�ำคัญกลับ เปน็ มลพษิ จากปุย๋ เคมแี ละยาฆา่ ศตั รพู ชื ทป่ี นเปือ้ นทั่วผนื แผ่นดนิ ถกู เปน็ การสรา้ งแนวกำ� แพงรมิ ฝง่ั นำ�้ ทถี่ กู ขดุ ใหต้ รง สง่ ผลใหส้ ญู เสยี พนื้ ท่ี ฝนชะไหลอาบลงแหล่งน้�ำสาธารณะลงทะเล ฆ่าชีวิตในทะเลจ�ำนวน รับน้�ำหลากหรือแก้มลิงริมฝั่งน้�ำตามธรรมชาติไป แม่น้�ำบางสายใน มหาศาล เปน็ สาเหตกุ ารทำ� ลายระบบนเิ วศในทะเลชายฝง่ั อนั ดบั ตน้ ๆ ยุโรป เชน่ โอเดอร์ มีการสร้างกำ� แพงรมิ ฝง่ั น�้ำมากถงึ 90 เปอรเ์ ซ็นต์ เปน็ ปญั หาทสี่ ะสมมานานเกอื บทง้ั ศตวรรษ จากความพยายามควบคมุ อย่างไรก็ตาม ในช่วง 2-3 ทศวรรษท่ีผ่านมา ยุโรปตะวันตก ธรรมชาตขิ องยโุ รป ปอ้ งกนั ไมใ่ หน้ ำ�้ ทว่ ม มงุ่ ขดุ ลำ� นำ้� ตรงเพอื่ ระบายนำ้� จัดการปัญหาคุณภาพน้�ำตามแหล่งน�้ำจืดบนผิวดินได้ค่อนข้างดี หลากลงทะเลให้เร็วๆ แล้วยึดพื้นท่ีแก้มลิงเหล่าน้ันมาท�ำการเกษตร แม่น้�ำเทมส์ในกรุงลอนดอนมีปลาเทราต์กลับมาอยู่อาศัยอีกครั้งหนึ่ง แบบหา้ มนำ�้ ทว่ ม มาตง้ั ชมุ ชน มาขยายเมอื ง มหิ น�ำซำ�้ ยงั ดาดคอนกรตี หลังจากเน่าเสียมากมายในยุค 60 ปัญหามลภาวะเกษตรแม้จะยัง ริมฝั่งน้�ำ ตามพื้นร่องน�้ำบางสาย และตามพื้นดินท่ัวไปอีกไม่น้อย จดั การไมไ่ ดเ้ ตม็ ทจี่ นกวา่ จะสามารถเปลยี่ นระบบเกษตรไปเปน็ เกษตร ศกั ยภาพในการซึมซบั นำ้� ของผนื ดนิ ก็ลดหย่อนลงไป อินทรยี ์และเกษตรธรรมชาติ แต่ก็บรรเทาลงได้มากด้วยมาตรการสง่ เสริมให้เกษตรกรละเว้นไม่ตัดถางแนวพงพืชริมน�้ำในรัศมี 10 เมตร นำ้� ทว่ มลมุ่ ภาคกลางของไทยในปี 2554 ครง้ั น้ี นา่ จะแสดงใหเ้ รา จากล�ำน้�ำ ดงพืชธรรมชาติเหล่าน้ีนอกจากจะปกป้องตล่ิงชายน�้ำ เห็นความส�ำคัญของพลังการซึบซับน้�ำของดิน เราเห็นผืนน�้ำปริมาณ ปอ้ งกันการกดั เซาะและดักตะกอนที่ชะบา่ มาตามหน้าดนิ แล้ว ยงั ท�ำ มหาศาลกว่าหม่ืนล้านลูกบาศก์เมตรเคล่ือนตัวสู่กรุงเทพฯ แต่กลับ หนา้ ที่ดูดซบั มลพิษทีป่ นเปือ้ นมากบั นำ้� หลากไดอ้ ีกดว้ ย ปรากฎว่าปรมิ าณนำ�้ ทเ่ี มืองกรุงจะต้องรับมอื จรงิ ๆ มอี ยู่เพียงราว 30 เปอร์เซ็นตข์ องมวลนำ�้ ทง้ั หมดนน้ั สว่ นหน่ึงของน�้ำ 70 เปอรเ์ ซน็ ต์ที่ แต่สุขภาวะของสายน�้ำไม่ได้ข้ึนอยู่กับความสะอาดสกปรกของ เหลอื ไหลบา่ ระบายไปกับแม่น้�ำเจ้าพระยา ท่าจีน และบางปะกง แต่ นำ้� เพยี งอยา่ งเดยี ว ความปกตสิ ขุ ของมนั ตง้ั บนสามเสา ไดแ้ ก่ คณุ ภาพ เกินคร่ึงซมึ ลงดนิ และเก็บกักตามหนองบึงกลางท่งุ นำ�้ ปรมิ าณน�ำ้ และกายภาพของลำ� น้ำ� ท้งั สามเสาเปน็ ตัวค้�ำจุนการ ดำ� เนนิ ชวี ติ ของพชื และสตั วน์ ำ�้ เขอื่ นกนั้ นำ้� และการขดุ ลำ� นำ้� ธรรมชาติ ความพยายามบบี นำ้� ไวใ้ นลำ� แคบๆ บวมออกดา้ นขา้ งไมไ่ ด้ ซมึ ซบั ใหต้ รง ตลอดจนการสรา้ งแนวกำ� แพงรมิ ตลง่ิ กนั มากมายในยโุ รป ลว้ น ลงดินไดน้ ้อย จึงเปน็ ตัวการส�ำคัญท่ที �ำใหน้ ้ำ� ท่วมยุโรปอย่างมากมาย แลว้ แตเ่ ปน็ การทำ� ลายกายภาพแมน่ ำ้� นกั นเิ วศและนกั ชวี ะไดพ้ ยายาม กลายเป็นอุทกภยั ผลกั ดนั ใหม้ กี ารฟน้ื ฟสู ภาพแมน่ ้�ำธรรมชาตมิ านานหลายสบิ ปี ประสบ ความสำ� เรจ็ บา้ งในบางกรณี เชน่ ทปี่ ระเทศเดนมารก์ รเิ รม่ิ ขดุ ลำ� นำ้� ให้ ชัดเจนว่าระบบการจัดการลุ่มน้�ำจะต้องปรับเปลี่ยน ฝรั่งก็พูด คดเคยี้ วดงั เดมิ ขน้ึ มาใหมใ่ นบางชว่ ง แตก่ เ็ ปน็ งานเขน็ ครกขนึ้ ภเู ขา จน เหมือนกับเราว่าต้องบูรณาการกันท้ังลุ่มน้�ำ แต่มันไม่ได้หมายถึง กระทงั่ เมอื่ ตน้ ศตวรรษ 2000 วกิ ฤตนำ้� ทว่ มในยโุ รปเปดิ โอกาสใหส้ งั คม เพยี งการประสานงานการเคลอ่ื นทข่ี องมวลนำ้� ระหวา่ งหนว่ ยงานและ หันมาสนใจฟืน้ ฟธู รรมชาตแิ หลง่ น้�ำ ทอ้ งถน่ิ ตา่ งๆ ดงั ทภ่ี าครฐั ไทยพดู ถงึ หากเราตอ้ งทบทวนบทบาททกุ มติ ิ ของระบบน�ำ้ ทงั้ ในดา้ นการทำ� งานเชิงระบบนเิ วศและความตอ้ งการ ขอ้ มลู จาก NatCatService 2006 (ศนู ยข์ อ้ มลู ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติ โดยตรงของมนษุ ย์ ต้ังอยู่ในเมืองมิวนิค) แสดงให้เห็นว่าน�้ำท่วมเป็นปรากฎการณ์ ธรรมชาตใิ นยุโรป แตค่ วามรนุ แรงคอ่ ยๆ เพม่ิ ขึน้ หลงั สงครามโลกคร้ัง อย่าเห็นแต่โทษของน้�ำท่วม จนมุ่งแต่ลงทุนมหาศาลหาทาง ทสี่ อง และทวคี ณู มากมายตงั้ แตร่ าวปี ค.ศ. 1985 ถา้ คดิ เฉพาะในชว่ ง ป้องกันน้�ำไม่ให้ท่วมเพียงอย่างเดียว มันน่าสนใจกว่าท่ีจะหาทางลด ปี 2000-2006 สหภาพยุโรปประสบภัยน�้ำท่วมรวมทั้งสน้ิ 123 ครัง้ และจัดการความเส่ียงจากภัยน�้ำท่วม เพราะหากเรามุ่งแต่ป้องกัน ครอบคลุมพื้นที่ถึง 4.9 ล้าน ตร.กม.หรือราวพ้ืนที่ประเทศไทย 10 นำ�้ ทว่ ม เราจะไมไ่ ด้รบั ประโยชนอ์ ่นื ๆ จากระบบนิเวศน�ำ้ เลย และที่ ประเทศรวมกนั สง่ ผลให้คนตาย 429 คน และต้องอพยพผคู้ นถึงกว่า ส�ำคัญ เราควรจะรู้ตัวได้แล้วว่าเราไม่มีวันเอาชนะธรรมชาติได้ แต่ 5 แสนชวี ติ ความสญู เสยี โดยตรงเฉพาะทคี่ ดิ จากนำ�้ ทว่ มใหญท่ ส่ี ดุ 27 แนวคดิ หลงั เปดิ โอกาสใหเ้ รารบั บรกิ ารดๆี มากมายทนี่ ำ้� ใหแ้ กช่ วี ติ บน ครงั้ รวมเปน็ เงนิ 27,000 ลา้ นยโู ร หรอื กวา่ ลา้ นลา้ นบาท เฉลยี่ 40,000 โลก ผสมผสานกับการปอ้ งกนั ภยั อันตรายในสว่ นทจ่ี �ำเป็น n ล้านบาทต่อทว่ มใหญ่หนึ่งครัง้ ดร. สรณรชั ฎ์ กาญจนะวณิชย์ เปน็ เลขาธิการมลู นิธิโลกสีเขยี ว และ นักเขยี นบล็อกและคอลมั นสิ ตเ์ กย่ี วกบั การใช้ชวี ิตอยา่ งเปน็ มิตรกบั พระคณุ เจ้า ตวั เลขเหล่านจ้ี ะว่ามากก็มาก จะว่าน้อยก็นอ้ ยมาก สง่ิ แวดล้อม จนนา่ ตกใจเมอ่ื เทยี บกับความสญู เสียของไทยจากน�ำ้ ท่วมปี 2554 นี้ เพยี งครง้ั เดยี ว ของเรายอดคนตายมากกวา่ 500 คา่ เสยี หายทป่ี ระเมนิ โดยธนาคารโลกกป็ าเขา้ ไปถงึ กวา่ ลา้ นลา้ นบาท ยอ่ ยยบั กนั เลยทเี ดยี ว ความเสียหายมากมายเกินเหตุของเรามาจากการใช้ประโยชน์ ท่ีดินที่ไม่เหมาะสม ต้ังนิคมอุตสาหกรรมในท่ีลุ่มดินดีจากปุ๋ยน้�ำท่วม จงึ เหมาะแก่การเพาะปลกู มากกว่า เป็นตน้ บวกกบั ระบบ (ไม่) เตือน ภยั และการรบั มืออยา่ งสับสนไร้แผน จึงยบั เยนิ ผดิ ธรรมดา ยอ้ นกลับมาท่สี หภาพยโุ รป อทุ กภัยซ�้ำซอ้ นบงั คับให้ตอ้ งหันมา

มมกกรราาคคมม -- เเมมษษาายยนน 22555555 JJaannuuaarryy -- AApprriill 22001122 11 had been done so much in Europe contributed to the ชุมชนบนริมฝง่ั โอเดอร์ เมือง Lebus – panoramio.com destruction of the rivers’ physical properties. Ecologists and biologists have for decades pushed for the restoration A community in Lebus on the bank of the Oder. – panoramio.com of natural watercourses. There has been some success. For example, Denmark had put some bends back to their แม่น้�ำโอเดอร์ด้านประเทศโปแลนด์ – dieseldiaries.wordpress.com waterways. Nevertheless, this proved to be a difficult task until the flood disasters in early 2000s have prompted The Oder river runs along the border of Poland. – dieseldiaries.wordpress. people to pay attention to restoration of natural water com sources. The attempt to squeeze the water into a narrow gap According to NatCatService 2006 (Natural Catas- prevents it from swelling sideway and being absorbed trophe Service in Munich), flooding is a natural phenom- into the ground. This is the main reason that caused enon in Europe which has seen increasing severity since flood disasters in Europe. after World War II, first gradually, then exponentially since 1985. Between the years 2000-2006, the EU faced It is clear that the basin management system has to 123 flood disasters, covering 4.9 million square km or ten change. The Europeans say similarly that managing river times the size of Thailand, resulting in 429 deaths and basins needs an integrative approach. But this does not 500,000 people evacuated. Losses from 27 of the most mean simply the coordination among various state agen- severe floods amounted to 27 billion Euros or more than cies in moving the water masses as the Thai government 1 trillion baht. Each flooding costs 40,000 million baht. has been talking about. Instead, we need to review all dimensions of the water system, including the functions The numbers seem dramatically high. But it pales of the ecological system and the demands of humans. when compared with the loss sustained in the 2011 flood disaster in Thailand. That single disaster cost 500 lives We should not focus only on the negative effects of and over 1 trillion baht according to the World Bank. It flooding, that leads us to spend astronomical sums to pre- was truly a catastrophe. vent it. It is more interesting to find ways to reduce and manage the risks of flooding. If we focus on flood pre- The unimaginable loss stemmed from inappropriate vention only, we will not benefit from the water ecologi- land use. For example, industrial estates are located in cal system. More importantly, we should have learned the plains with fertile soil endowed with natural fertilizers that we cannot win over nature. Thinking about ways from frequent flooding, making it more suitable for grow- to reduce and manage flooding risks would give us an ing crops. Couple it with the lack of systematic warning opportunity to take advantage of beneficial services that system and confusing flood prevention plans and we have water provides to all lives on earth, while we ponder an abnormal disaster. about means to prevent any losses from flooding. n Looking back at the EU, the frequent flooding forced Dr Saranarat Kanjanavanit is secretary general of Green World them to investigate the real cause of it. They found that Foundation, and blogger and columnist on green living. the number one culprit was not climate change that brought about the unusually large volume of rainfalls. In fact, the real culprit is the walls along the rivers that had their bends straightened. This resulted in the loss of natural flood plains and retention areas along the banks. Some rivers in Europe, for instance the Oder River, have walls along 90% of their banks. It is a long-standing, cen- tury-old problem arising from attempts to control nature, prevent flooding, and force flood water to go out to sea as fast as possible. And then they turned the reclaimed plains into croplands, and established human settlements as cities expanded. They even paved concrete along the banks, on the beds of water channels, and over vast land surface, thus depriving the soil the ability to absorb water. The 2011 flood disaster in Thailand’s Central Plains should have woken us up to the importance of the power of the soil to absorb water. We had witnessed more than 10 billion cubic meters of a water mass approaching Bangkok. But the actual volume that Bangkok had to face was only 30% of the total. Of the remaining 70%, half of it seeped into the ground or was trapped in the fields with their various bodies of water while the rest flowed into Chao Phraya, Tha Chin and Bang Pakong rivers. ขา้ มฟ้า across the sky

‘เมอื งน้�ำ’ วถิ ีท่ีแปรเปลยี่ น เร่อื ง แม้นวาด กญุ ชร ณ อยุธยา ภาพ ดลิ ก ตามใจเพอ่ื น ‘LAND of WATER’ The Way of Life It’s a Changin’ Story Maenwad Kunjara Na Ayuttaya Photos Dilok Tamjaipuan ปทุมธานี – น�ำ้ ทส่ี ูงขน้ึ ตลอดเวลาบรเิ วณตลาดรังสิต ท�ำใหห้ ลายคนเรง่ อพยพออกจากพ้นื ท่ี Pathum Thani – A man wades the floodwater in the area of Rangsit Fresh Market. The flood has forced evacuation of many households.

อทุ กภยั ในปี 2554 เป็นอุทกภัยที่เลวร้าย ที่สุดในรอบ 50 ปี นครสวรรค์ – เขอ่ื นหนิ คลุก ปอ้ งกนั นำ้� ทว่ มท่จี ังหวดั นครสวรรค์ ความภมู ิใจของนายก มพี ืน้ ท่นี �้ำทว่ มครอบคลุมกว่า 2 ใน 3 สว่ นของประเทศ เทศมนตรเี ทศบาลนครสวรรค์ ท่ีลงทุนกว่าหนง่ึ ร้อยล้านบาท แตส่ ุดทา้ ยกเ็ อาไมอ่ ยู่ ทำ� ใหเ้ กิดความเสียหายราวสองแสนล้านบาท ท�ำใหม้ ผี ู้เสียชวี ิต 816 ราย Nakhon Sawan – An earthen dyke that the mayor of Nakhon Sawan spent ทำ� ใหก้ รงุ เทพฯ กลายเปน็ เมอื งหลวงทเ่ี สย่ี งตอ่ ภยั นำ้� ทว่ ม over 100 million baht to build eventually gives way to the flood. สงู เปน็ อนั ดบั 7 ของโลก ทงั้ นโ้ี ดยการประเมนิ ขององคก์ รเพอ่ื ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development: OECD) เมอื่ ปที แี่ ลว้ ปทุมธานี – ในเรอื ที่มที ง้ั ถงุ ยงั ชพี ผ้บู ริจาค ส่ือมวลชน แตไ่ มม่ ีพาย เจ้าหนา้ ท่ี อบต.ตอ้ งลงว่าย วิกฤตการณ์ที่ท�ำให้ประชาชนนับ 10 ลา้ นคน กลายเป็น น�ำ้ ลากเรือดว้ ยความลำ� บากเพ่ือลูกบา้ นของเขา ผปู้ ระสบภยั พ้ืนทเ่ี กษตรเสียหายประมาณ 13 ล้านไร่ นับเปน็ หายนะท่ีท�ำให้ค�ำถามที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาเน่ินนานได้รับการ Pathum Thani – A boat carrying relief bags accompanied by donors and กล่าวถงึ เป็นวงกวา้ งอีกครง้ั members of the press but no oars is being pulled by a local official to houses of villagers stranded by floods. เร่ิมจากค�ำถามด้ังเดิมว่า น�้ำท่วมเป็นปรากฎการณ์ทาง ธรรมชาติท่ีไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้จริงหรือ สาเหตุแห่งความ The 2011 flood was เสยี หายมสี ดั สว่ นเทา่ ใดทเี่ กดิ จากภยั ธรรมชาติ เทา่ ใดทเ่ี กดิ จาก the worst in 50 years. การเปลยี่ นแปลงดว้ ยน�ำ้ มือมนษุ ย์ หรอื แค่ไหนท่เี กดิ จากความ ล้มเหลวในการบริหารจัดการน้�ำของรัฐ และระบบการเมืองท่ี Two-thirds of the country was inundated. ไม่สามารถเปน็ ทีพ่ งึ่ พาของประชาชนไดใ้ นยามคับขนั The damages were estimated at 200 billion baht. The death toll reached 816. และอนาคตประเทศไทยจะต้องเจอวิกฤตอุทกภัยซ�้ำรอย The Organisation for Economic Co-operation เช่นน้ีไปตลอดหรือไม่... and Development (OECD) last year ranked Bangkok 7th on its list of cities most vulnerable to coastal อยา่ งไรกต็ าม โครงสรา้ งการแกป้ ญั หาหลงั นำ�้ ลดจากหนว่ ย flooding. งานทรี่ บั ผดิ ชอบตา่ งๆ สะทอ้ นถงึ อปุ สรรคและความยากลำ� บาก ในการบรหิ ารจดั การนำ้� อยา่ งเปน็ ระบบ และยงั หา่ งไกลเกนิ กวา่ The crisis displaced 10 million people and sub- จะจับต้องไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม merged around 13 million rai of farmland. It was a disas- ter that resurrected old questions for extensive debate in Will Thailand repeatedly suffer other floods on this Thai society. scale? Start with the basic question as to whether flood- The post-flood problem-solving structure of respon- ing is an unavoidable natural phenomenon. What are sible agencies shows obstacles and difficulties in systemic the percentages of damage attributable to acts of God water management and is far from being concrete. and to man-made changes? How much can the crisis be attributed to the state’s failure in water management and Nevertheless, the devastating floods forged a collec- a political system that the public could not turn to in an tive social acceptance that lessons should be reviewed emergency? and drawn from a survey of actual successes and failures. If society together can learn systematically, the body of knowledge on floodwater management can be formed and the severity of or losses from future flooding can be mitigated. Lastly, any collective look into the future, lessons drawn and problems solved today may give Thailand an answer and a way-out from this cyclical problem. They may also help avert conflicts in water management, con- cerning both flood and drought that increase in severity and recur yearly. ‘เมอื งนำ�้ ’ วิถีท่แี ปรเปลย่ี น ‘Land of Water’ The Way of Life It’s a Changin’

14 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 ปทมุ ธานี – ยามทนี่ ำ�้ ท่วม พระ ตอ้ งออกมาหาซือ้ เสบียงในตลาดส่ีมุมเมืองเพือ่ กกั ตนุ ไว้ในยามจำ� เปน็ บาท ปี 2532 มูลค่า 11,739 ลา้ นบาท และปี 2543 มลู ค่า 10,032 ล้านบาท และ ส่วนจ�ำนวนความถ่ีของการเกิดอุทกภัยสูงสุด คือ ปี Pathum Thani – Floods making regular alms-taking rounds impossible, two 2546 เกิดอุทกภยั ท้ังสิ้น 17 คร้งั และปี 2544 มอี ทุ กภัย 14 ครง้ั monks go by a small boat to a major market to obtain food and necessities ครอบคลมุ 60 จงั หวัด for fellow monks. จากการรวบรวมข้อมูลของศูนย์ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพ่ือสิทธิ แตม่ หาอทุ กภยั ในครงั้ นด้ี า้ นหนง่ึ กท็ ำ� ใหเ้ กดิ ขอ้ ตระหนกั รว่ มกนั พลเมอื ง ชาวบา้ นทีอ่ าศยั อยู่บริเวณภาคเหนอื ตอนล่างและภาคกลาง ของสงั คม คอื น่าจะมีการทบทวน ถอดบทเรียน ส�ำรวจผลส�ำเรจ็ และ ต้องเผชิญกับอุทกภัยท่ีรุนแรงในหลายจังหวัด โดยจังหวัดสุโขทัย ข้อผิดพลาดที่เกิดข้ึนจากภัยท่ีประสบจริง เพราะหากสังคมสามารถ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ พิจิตร และนครสวรรค์ กลายเป็น เรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบ ก็จะเป็นการช่วยสร้างองค์ความรู้ใน กลุ่มจังหวัดที่เกิดอุทกภัยซ้�ำซากเป็นประจ�ำ และมีปัญหาน�้ำท่วมขัง เรื่องการจดั การนำ�้ ทว่ ม เพอื่ ลดทอนความรนุ แรง หรอื ไม่ใหเ้ กดิ ความ ต่อเนื่อง 8-10 ครั้งในรอบ 10 ปี ขณะท่ีชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง สูญเสยี กนั อกี ในอนาคต ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา และสุพรรณบุรี เป็นกลุ่มจังหวัดที่เผชิญ กับภัยน้ำ� ท่วมซำ�้ ซาก ไม่เกนิ 3 ครง้ั ในรอบ 10 ปี และท้ายท่ีสุดของการมองไปข้างหน้า การเรียนรู้และแก้ไข ในวันน้ีร่วมกันอาจจะท�ำให้สังคมไทยพบค�ำตอบ และหาทางหลุด ท่ีน่าสังเกตุคือในกลุ่มจังหวัดข้างต้นเหล่าน้ี รวมถึงจังหวัดอ่ืนๆ พ้นจากวังวนปัญหาและความขัดแย้งจากการบริหารจัดการน้�ำ ทั้ง ในภาคตะวนั ออก ตะวันตก และภาคใต้ ยงั มกี ารท�ำลายสถิตนิ ำ�้ ท่วม น�้ำทว่ ม และฝนแล้ง ซ่ึงกำ� ลังขยายความรุนแรงและเพ่มิ ความซ้�ำซาก ซ้�ำซากและกนิ ระยะเวลาในการท่วมยาวนานขนึ้ ทุกขณะ ข้ึนทกุ ปกี ไ็ ด้ กล่าวถึงอุทกภัยในปีท่ีผ่านมา หน่วยงานภาครัฐประเมินใน รากเหง้าของปัญหา เบือ้ งต้นวา่ ความเสียหายอาจมีมูลค่าถึง 4-5 แสนลา้ นบาท ในขณะท่ี ธนาคารโลกประเมินความเสียหาย ซึ่งรวมถึงการสูญเสียโอกาสทาง มสี ถติ ทิ อี่ า้ งองิ กนั อยา่ งแพรห่ ลายวา่ ประเทศไทยตอ้ งสญู เสยี เงนิ เศรษฐกิจในอนาคต ไม่ต�ำ่ กวา่ 1.4 ลา้ นล้านบาท มากกวา่ ปลี ะ 80,000-90,000 ลา้ นบาท เพอื่ ฟน้ื ฟปู ระเทศหลงั นำ้� ทว่ ม ในระยะเวลาทผ่ี า่ นมาเหตกุ ารณเ์ หลา่ นก้ี ลายเปน็ ภาพสะเทอื นใจ ยอ้ นกลบั ไปดปู ระเทศไทยในอดตี โดยเฉพาะในลมุ่ นำ�้ เจา้ พระยา ทไ่ี ดเ้ หน็ กนั ซำ้� แลว้ ซำ�้ เลา่ แทบทกุ ปี จะมที แ่ี ตกตา่ งออกไปทไี่ มป่ รากฎ ตอนล่างเคยประสบอุทกภัยคร้ังรุนแรงหลายครั้ง เท่าท่ีมีการบันทึก ในสถติ อิ นั เปน็ ขอ้ มลู สาธารณะ คอื บา้ นเรอื นทต่ี งั้ อยรู่ มิ แมน่ ำ�้ สายหลกั ข้อมูลพบวา่ เหตกุ ารณน์ ำ้� ทว่ มเมื่อปี 2485 (สมัยรชั กาลท่ี 7) มีระดบั ในจงั หวัดตา่ งๆ จะถกู นำ้� ท่วมเปน็ ประจ�ำทุกปี รวมถงึ ความแตกต่าง นำ้� ทว่ มสงู สดุ โดยวดั ระดบั ทส่ี ะพานพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกได้ 2.3 เมตร จากระดับน้�ำที่เกินจะคาดเดาในแต่ละปี กับความเสียหายรุนแรงที่ รทก. (รทก. หมายถึง วัดจากระดับน�้ำทะเลปานกลาง) ในขณะน้ัน แผ่ขยายพ้นื ทีม่ ากขน้ึ ทุกหย่อมหญ้า ยังไม่มีการสรา้ งอ่างเกบ็ น�ำ้ ตา่ งๆ เชน่ เข่ือนภูมพิ ล (พ.ศ.2507) และ เขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ (พ.ศ.2514) แต่ความแตกต่างของน�้ำท่วมที่ผ่านมากับปีอ่ืนๆ หลังน�้ำทะลัก เข้าท่วมกรุงเทพฯ ขอ้ มลู บทวเิ คราะหม์ ากมายท่ีมกั ไม่คอ่ ยมีการเผย แต่ภายหลังมีการสร้างเข่ือนในพ้ืนท่ีต้นน้�ำแล้วก็ยังมีเหตุการณ์ แพรค่ อ่ ยๆ หล่งั ไหลมาพรอ้ มๆ กับน�ำ้ น�้ำท่วมคร้ังส�ำคัญตามมาอีกหลายคร้ัง ได้แก่ ในปี 2521, 2523, และปี 2526 ซ่ึงมีปริมาณน้�ำมากกว่าปีอื่นๆ ท�ำให้มีน้�ำท่วมขัง ข้าราชการ นักวิชาการ และนักอนุรักษ์หลากหลายสาขา ต่าง เป็นบริเวณกว้าง โดยจากข้อมูลของส�ำนักอุทกวิทยาและบริหารน้�ำ วิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหาน�้ำท่วมจากหลายแนวคิด หลายปัจจัย กรมชลประทาน ระดับน้ำ� ทีส่ ะพานพุทธฯ วัดได้ประมาณ 2.13 และ หลายองคป์ ระกอบ ซ่งึ ทกุ องคป์ ระกอบลว้ นมสี ่วนสัมพนั ธ์กับขอ้ เท็จ 2.25 เมตร รทก. จริงของการเกิดน�้ำท่วม ในช่วง 20 ปี ต้ังแต่ ปี 2532-2553 ประเทศไทยยังคงได้รับ น�ำ้ ฝน น�ำ้ เหนือ น้ำ� ทะเลหนุน ความเสยี หายจากภยั น้ำ� ท่วมเป็นมูลค่ารวม 1.3 แสนล้านบาท ปที ไี่ ด้ รับความเสียหายมากท่สี ุดคือปี 2538 มลู คา่ 72,000 ล้านบาท รอง บทวิเคราะห์จากหลายส�ำนักช้ีถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพ ลงมา ปี 2553 มูลค่า 16,338 ลา้ นบาท ปี 2545 มลู ค่า 13,385 ล้าน ภูมิอากาศท่ีส่งผลให้ฝนตกผิดฤดูกาลมากกว่าปกติอย่างต่อเน่ืองเป็น เวลาหลายเดอื นในภาคเหนอื ตอนบนและลมุ่ เจา้ พระยาตอนบน ตง้ั แต่ เดอื นมิถุนายน - ตลุ าคม 2554 ซง่ึ สงู กว่าค่าเฉลีย่ ประมาณ 39% ใน พืน้ ท่ภี าคเหนอื และสูงกวา่ คา่ เฉล่ยี ประมาณ 22% ในภาคกลาง โดย ไดร้ บั อิทธพิ ลจากพายุโซนรอ้ น 5 ลูกในปี 2554 ไดแ้ ก่ พายุโซนรอ้ น ไหหมา่ (Haima) 25 - 30 ม.ิ ย., นกเตน (Nock-ten) 30 ก.ค. - 3 ส.ค., ไหถ่ าง (Haitang) 27 - 28 ก.ย., เนสาด (Nesat) 25 ก.ย. - 1 ต.ค., นาลแก (Nalgae) 30 ก.ย. - 5 ต.ค.และรอ่ งความกดอากาศตำ่� ก�ำลงั แรงท่ีพาดผา่ นภาคเหนอื 3 ชว่ ง ระหว่างวนั ที่ 10 - 12 และ 15 - 19 ส.ค. และระหวา่ งวนั ที่ 8 - 12 ก.ย. ทำ� ให้ปริมาณน�ำ้ ทไ่ี หลต่อเนื่อง ตั้งแต่ เดอื น ส.ค. – กลางเดือน ต.ค. 2554 มารวมกนั ท่ี จ.นครสวรรค์ มีปริมาณสูงสุดถึง 4,686 ลบ.ม./วินาที และมีปริมาณน้�ำไหลผ่าน 36,961 ล้าน ลบ.ม. มากกว่าปี 2538 ซึ่งเป็นปีที่มีปริมาณน้�ำมาก ที่สุด ถึง 9,890 ล้าน ลบ.ม.

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 15 พระนครศรีอยธุ ยา – นำ�้ ทว่ มขงั วัดไชยวัฒนารามทเี่ ปน็ แหลง่ มรดกโลกอยูห่ ลายวัน ชาวบ้านที่เคยมีรายได้จากการท่องเท่ียวนำ� เรือพายมาบริการนกั ทอ่ งเที่ยวสรา้ งรายได้ในยามน�ำ้ ทว่ ม Ayutthaya – Wat Chaiwatthanaram, a UNESCO World Heritage site, is severely flooded but it does not deter some villagers from taking their boats out to serve tourists. The Root Causes provinces in the East, West and South, have broken The widely-quoted statistics put Thailand’s post- records in terms of flood recurrence and duration. flood recovery budget at over 80-90 billion baht a year. State agencies estimated that initial damages from Look back at the lower Chao Phraya Plain that last year’s flood may be 400-500 billion baht, while the World Bank estimated the damages, which include future experienced several major floods. The records on the loss of economic opportunities, at no less than 1.4 trillion 1942 flood (during the reign of King Rama VII) show baht. the maximum floodwater level observed at the Phra Phuttha Yodfa (Memorial) Bridge measured 2.3 meters The disturbing scenes recur almost every year. The above mean sea level. There was then no reservoir like difference is public statistics leave out the annual inunda- the Bhumibol Dam, which was built in 1964, and the tion of houses along main rivers in various provinces, the Sirikit Dam in 1971. diverse and unpredictable water levels and the increase in severity and breadth of affected areas. Despite the construction of dams at water sources, many severe floods ensued in 1978, 1980 and 1983, caus- Unlike previous years, flash floods that hit Bangkok ing extensive areas to be inundated. Based on informa- brought forth extensive information and analyses that tion from the Office of Hydrology and Water Manage- were never before available to the public. ment in the Royal Irrigation Department, the water lev- els observed at the Memorial Bridge measured 2.13 and Government officials, academics and conservation- 2.25 meters above mean sea level. ists of various fields analyzed the causes of floods from many perspectives, factors, and components, all of which During the two decades from 1989 to 2010, Thai- are related to the facts of the catastrophic flooding. land incurred damages from floods amounting to 130 billion baht. The worst damages amounted to 72,000 Rainfall, Water Runoff million baht in 1995, followed by 16,338 million baht in from the North and 2010, 13,385 million baht in 2002, 11,739 million baht Ocean Surges in 1989, and 10,320 million baht in 2000. In terms of flooding frequency, there are 17 in 2003 and 14 in 2001 Analyses by many think covering 60 provinces. tanks blamed climate change for abnormally heavy unsea- From information compiled by the Thailand Infor- sonal rainfall that continued mation Center for Civil Rights and Investigative Journal- from June to October ism (TCIJ), residents of the lower North and the Central 2011 in the upper Plains experienced severe flooding in many provinces. North and the Sukhothai, Uttaradit, Phitsanulok, Phetchabun, Phichit upper Chao Phraya and Nakhon Sawan in particular faced 8-10 floods in 10 Plain, which was years. Chainat, Singburi, Ang Thong, Lop Buri, Ayut- approximately 39% thaya and Suphan Buri experienced a recurrence of no more than three floods in 10 years. ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา It is remarkable that these provinces, including other Dr Anond Snidvongs ‘เมอื งนำ้� ’ วถิ ที ่ีแปรเปลยี่ น ‘Land of Water’ The Way of Life It’s a Changin’

16 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 แม้การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นประเด็นท้ายๆ ที่ถูก ปทุมธานี – บ๊ิกแบ็กสร้างความเดอื ดร้อน กล่าวถงึ แต่ดร.อานนท์ สนทิ วงศ์ ณ อยธุ ยา ผู้อ�ำนวยการสำ� นักงาน ให้กบั บา้ นเรอื นรมิ ทางรถไฟใกล้สถานีรถไฟ พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ได้ หลักหก หลายครอบครวั จึงย้ายมาสร้าง วิเคราะห์ว่าผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีความ เพงิ พักช่วั คราวบนรางรถไฟ สัมพนั ธก์ บั อุทกภัยในคร้ังนี้ประมาณ 10-15% ซึง่ เป็นไปในทศิ ทางที่ สอดคลอ้ งกบั การเพม่ิ ขน้ึ ของอณุ หภมู เิ ฉลยี่ ของโลก สว่ นอกี 70-80% Pathum Thani – Many families เกิดจากภัยธรรมชาติ move to a make-shift shelter on the railway track near ผลกระทบที่เกิดในระดับ 10-15% นี้แสดงนัยยะที่ส�ำคัญ Lak Hok railway station after เนื่องจากวิถีชีวิตและการพัฒนาที่ผ่านมาท�ำให้มนุษย์ยืนอยู่ริม prolonged flooding of their homes ขอบเหวของการเปลย่ี นแปลง หากภยั พบิ ตั เิ กดิ ขนึ้ บอ่ ยครง้ั ขน้ึ รนุ แรง exacerbated by the big bags that ขน้ึ มนษุ ยอ์ าจจะไมส่ ามารถปรบั ตวั รับมือกับความเปลี่ยนแปลงน้ีได้ officials use to prevent floodwaters ทนั ท่วงที from entering Bangkok. ในด้านระดับของผลกระทบที่เกิดจากภัยธรรมชาติ ข้อมูล เม่ือมวลน้�ำจากตอนเหนือไหลลงมารวมกับปริมาณน�้ำท่าสะสม พ้ืนฐานท่ีควรจะทราบก่อน คือ พื้นที่ลุ่มเจ้าพระยา ประกอบด้วย ในภาคกลางตอนล่างในเดือนพฤศจิกายน ท�ำให้มวลน้�ำไหลบ่าล้น ลุ่มน้�ำ ปิง วงั ยม น่าน เจา้ พระยา สะแกกรัง ป่าสกั และท่าจนี มี ตลง่ิ ไปสะสมในทงุ่ มากถึง 17,729 ลา้ น ลบ.ม. ประกอบกับชว่ งเวลา พน้ื ที่ทง้ั หมด 157,925 ตารางกิโลเมตร (ตร.กม.) มปี ริมาณฝนเฉล่ีย นน้ั เปน็ ชว่ งทน่ี ำ้� ทะเลหนนุ สงู การระบายนำ้� จากแมน่ ำ�้ เจา้ พระยาออก 1,300 มลิ ลิเมตร/ปี และมีปรมิ าณนำ้� ทา่ เฉลีย่ 33,132 ล้านลกู บาศก์ ส่อู า่ วไทยจงึ เปน็ ไปไดช้ า้ สดุ ทา้ ยสง่ ผลให้เกิดนำ้� ทว่ มครอบคลมุ พื้นที่ เมตร (ลา้ น ลบ.ม.)/ปี พน้ื ทล่ี มุ่ นำ้� ตอนเหนอื มขี ดี ความสามารถเกบ็ กกั กวา่ 2 ใน 3 ส่วนของประเทศ น�้ำรวม 25,773 ล้าน ลบ.ม. ตอนกลางสามารถกักเก็บน�ำ้ รวม 2,124 ลา้ น ลบ.ม. และแมน่ ำ�้ เจา้ พระยาตอนลา่ งจะมขี ดี ความสามารถในการ เม่ือประชาชนนับล้านไม่สามารถหลีกเลี่ยงที่ต้องอยู่กับน้�ำ ใน รองรบั การระบายนำ้� จากลำ� นำ้� ไดใ้ นอตั รา 3,500 ลบ.ม./วนิ าที โดยไม่ ความรู้สึกที่ห่างหายไปนานคือความตระหนักที่เกิดขึ้นอีกคร้ังถึงถ่ิน เอ่อล้นทว่ มพนื้ ที่บริเวณรมิ แมน่ ำ�้ ทอ่ี ย่อู าศัยในสภาพของความเปน็ ลุ่มน้�ำทต่ี ้องผ่านฤดูฝน ฤดนู �้ำหลาก ตามวงจรธรรมชาติ แต่ผลกระทบจากการเผชิญหน้ากับความวิปริต แตอ่ ทุ กภัยปลายปี 2554 ปรมิ าณนำ้� ท่มี ีมากถงึ 142% ของค่า ผันแปรของธรรมชาติ และความตระหนักถึงในข้างต้นน้ัน ก็แลดู ฝนเฉล่ีย ท�ำให้น�้ำในเขื่อนทุกเขื่อนในภาคตะวันตก ภาคกลาง โดย จะไม่ส�ำคัญเท่ากับการหาผู้รับผิดชอบต่อภัยธรรมชาติท่ีเกิดขึ้น ซ่ึง เฉพาะเข่ือนสริ กิ ติ ์ิ เขือ่ นป่าสักชลสทิ ธิ์ และเข่อื นภูมิพล มนี ำ้� เต็มอ่าง ปฎิเสธไม่ได้ว่ามีความผิดพลาดเกิดข้ึนในการบริหารจัดการน้�ำของ จนตอ้ งระบายนำ้� ลงมายงั ทา้ ยเขอ่ื น และไหลเขา้ มาสมทบในพนื้ ทภี่ าค หนว่ ยงานตา่ งๆ ทรี่ บั ผิดชอบ กลางในปรมิ าณมหาศาล “เอาอย่”ู “ยนั อย่”ู “อย่กู บั นำ�้ ” การบริหารจัดการน้�ำช่วงฤดูน�้ำหลากอยู่ในความรับผิดชอบของ คณะอนุกรรมการติดตามและวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์น้�ำ ซึ่ง ประกอบดว้ ยผู้แทนจากหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง ไดแ้ ก่ กรมชลประทาน กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ้� และการเกษตร สำ� นกั การระบายนำ�้ กทม. กรมอทุ กศาสตรก์ องทพั เรอื กรมทรพั ยากรนำ�้ กรม ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย (กฟผ.) และสำ� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ (กปร.) และคณะกรรมการบรหิ ารจดั การ น้�ำบริเวณพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามแนวพระราชด�ำริ ท้ังนี้ผู้ส่ังการจะต้องได้รับมติจากคณะรัฐมนตรี (ครม.) ท่ีรับผิดชอบ ในระดับนโยบายของประเทศ

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 17 ลพบรุ ี – หญงิ สาวน่งั ร้องไห้ขา้ งสุนขั นำ้� ท่วมทำ� ใหเ้ ธอกงั วลกับหน้ีจำ� นวนสามแสนทก่ี ธู้ นาคารมา อตุ รดติ ถ์ – ทหารเรง่ สรา้ งสะพานเหล็กชัว่ คราว ท่ีบา้ นตน้ ขนุน อ.น�ำ้ ปาด เพอื่ เป็นเสน้ ทางเข้าไป เพื่อลงทุนขายกระถางต้นไม้ ซง่ึ ตอนนมี้ นั แตกและจมอยู่ใตน้ �ำ้ ช่วยเหลืออีกหลายหมบู่ า้ นทถ่ี กู น�้ำปา่ พัดถล่ม Lop Buri – A woman tries to hold back tears as she contemplates her Uttaradit – Soldiers use heavy machinery to build a temporary bridge to future outlook after the plant pots she bought with a 300,000-baht bank replace the old one swept away by the flood at Ban Ton Khanun village in loan were damaged in the flood. Nan Pat district. The bridge will allow help to reach many other villages. above average precipitation in the North and approxi- an average annual runoff of 33,132 million cu m. The mately 22% above average precipitation in the Central northern plains have total water storage capacity of Plains. Heavy rain was brought along by five tropical 25,773 million cu m and the central plains’ capacity is storms in 2011: Haima that deluged Thailand from 2,124 million cu m. The lower Chao Phraya River can 25-30 June, Nock-Ten from 30 July-3 August, Haitang channel 3,500 cu m of water per second, without over- from 27-28 September, Nesat from 25 September-1 flowing its banks. October, and Nalgae from 30 September-5 October. Powerful monsoon troughs moved pass the North in The flood disaster in late 2011 followed heavy rain- three periods: 10-12 and 15-19 August, and 8-12 Sep- fall of 142% above average precipitation. All dams in the tember. The continued runoff from August to the mid- West and Central Plains, particularly the major Sirikit, dle of October reached Nakhon Sawan at the speed of Pasak Jolasid and Bhumibol dams, were full and had to 4,686 cubic meters (cu m) per second and the volume of discharge water. The bulk of water added to floodwaters water flows was 36,961 million cu m, which is 9,890 mil- that reached the Central Plains. lion cu m higher than the 1995 volume. The masses of water from the North merged Although climate change is the last factor men- with cumulative runoffs in the lower Central Plains in tioned, Dr Anond Snidvongs, director of the Geo-Infor- November. River banks burst and 17,729 million cu m matics and Space Technology Development Agency of water submerged farmland. High tides from the sea at (GISTDA), estimated that the impact of climate change that time made it slow to drain floodwaters from Chao correlated with this flood crisis to the tune of 10-15% Phraya River to the Gulf of Thailand. Over two-thirds and corresponded to rising global temperatures. The of the country was under water. other 70-80% stemmed from natural disaster. Millions of people had to live with water. They came The 10-15% correlation is material now that our to realize the long forgotten fact that their residences sit livelihoods and developments are on the brink of change. on a river basin which must weather seasons of rain and With disasters becoming more frequent and more severe, high tides in accordance with nature’s cycle. This recog- men might not be able to cope with this abrupt change. nition and the impacts from this turbulent shift in nature are not as important as pinpointing those responsible for With respect to impacts from natural disasters, it this natural calamity. It is undeniable that responsible is important to understand fundamental information. agencies made mistakes in water management. The Chao Phraya Plain consists of Ping, Wang, Yom, Nan, Chao Phraya, Sakae Krang, Pasak and Tha Chin “Manageable” “In Control” river basins, which cover a total area of 157,925 sq km, “Live with Water” have an average annual precipitation of 1,300 mm and Water management during the high tide season is the responsibility of the Subcommittee on Water Status Analysis and Monitoring, comprising representatives from relevant agencies: the Royal Irrigation Department, Thai Meteorological Department, Hydro and Agro Informatics Institute, Bangkok Metropolitan Adminis- tration’s Department of Drainage and Sewerage, Navy’s Hydrographic Department, Department of Water Resources, Department of Disaster Prevention and Miti- gation, Electricity Generating Authority of Thailand, Office of the Royal Development Projects Board and the ‘เมอื งน�ำ้ ’ วถิ ที ีแ่ ปรเปลยี่ น ‘Land of Water’ The Way of Life It’s a Changin’

18 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 สรุ จิต ชริ เวทย์ สมาชิกวุฒสิ ภาจากสมุทรสงคราม กลา่ ววา่ ชว่ ง เจ้าหน้าท่ที หารกวา่ 200 นายวางกระสอบทรายบกิ๊ แบ็คทีต่ �ำบลหลักหก จังหวดั ปทมุ ธานี จนถึง เกดิ วฤิ ตทเ่ี กดิ ความสบั สน และประชาชนตนื่ ตระหนกอยา่ งกวา้ งขวาง หน้าสนามบินดอนเมืองระยะทางยาว 6 กิโลเมตร เป็นจดุ สร้างความขดั แย้งระหวา่ งชาวบา้ นทอี่ ยู่ การท�ำงานประสานงานของหน่วยงานราชการต่างๆ ทั้งระดับส่วน ท้ังสองด้านของคนั กัน้ น้ำ� นี้ — จริ าพร คำ� ภาพนั ธ์ กลางและท้องถ่ินท่ีเกิดความผิดพลาดข้ึนนั้นเป็นเรื่องปกติ เพราะ เป็นการท�ำงานตามสถานการณ์ของแต่ละหน่วยงาน แต่ฝ่ายก�ำหนด More than 200 soldiers help lay “big bags”, giant sand bags, from นโยบายที่ไม่สามารถรับมือกับวิกฤตท่ีเกิดขึ้นได้ ซ่ึงเห็นได้จากการ tambon Lak Hok in Pathum Thani to Don Muang Airport for a distance ส่ังการท่ีไม่ชัดเจน ไม่มีทิศทาง ท�ำให้แต่ละพื้นท่ีต้องปกป้องเฉพาะ of 6 km, which sparks conflicts between residents on both sides of this พน้ื ท่ีของตัวเองเทา่ นัน้ floodwall. — Chiraphan Khamphaphan “ฝา่ ยกำ� หนดนโยบายทต่ี อ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่ ทกุ สงิ่ กลบั สรา้ งความ นอกจากนัน้ ความพยายามใหค้ วามช่วยเหลือแกผ่ ู้ประสบภยั จำ� นวน สบั สนใหส้ ถานการณส์ าหสั ขนึ้ กรณอี ยา่ งการสงั่ การใหห้ นว่ ยงานทร่ี บั มากก็ท�ำได้อย่างค่อนข้างจะขลุกขลัก ไม่ว่าจะเป็นการแจ้งเตือน ผดิ ชอบในพนื้ ทต่ี า่ งๆ ใชห้ ลกั 2 ที 2 อาร์ บางระกำ� โมเดล มาประยกุ ต์ ประชาชนในพน้ื ทเ่ี ส่ียงน้ำ� ท่วม การแจง้ อพยพ รวมถึงความไม่พร้อม เพ่ือแก้ปัญหาภายใต้สถานการณ์น�้ำท่วมท่ีไม่เคยพบเคยเห็นมาก่อน ในดา้ นการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ซง่ึ รวมถงึ การจดั ตงั้ ศนู ยอ์ พยพและ ท�ำใหแ้ ตล่ ะพน้ื ท่ีตอ้ งหาทางปกป้องตวั เองโดยไมม่ ีแผนใดๆ รองรับ” ศนู ยพ์ ักพงิ ทข่ี าดประสบการณ์ในการบรหิ ารจดั การ สุรจิตกลา่ ว ผู้รับผิดชอบจากหน่วยงานราชการหลายฝ่าย ต่างก็ยอมรับ “การเตรียมการไม่ดี การก�ำกับดูแลไม่ดี ท�ำให้เกิดเป็นความ ขอ้ ผดิ พลาดผา่ นสอื่ แขนงตา่ งๆ โดยใหเ้ หตผุ ลในเชงิ ขอความเหน็ ใจ วา่ วุ่นวาย ทรายเป็นล้านๆ กระสอบเฉพาะที่ ศปภ. (ศูนย์ปฏิบัติการ ไมส่ ามารถทจ่ี ะคาดการณส์ ภาพดนิ ฟา้ อากาศลว่ งหนา้ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยน้ำ� ท่วม) ส่งออกไป 3 ลา้ นกระสอบ บิ๊กแบ็กอกี แมน่ ยำ� ทำ� ให้การตดิ ตาม-วเิ คราะห์สถานการณน์ ำ้� และการวางแผน 3,500 กว่าถุง สง่ิ เหลา่ นี้มที ศิ ทางหรือไมว่ า่ เราจะทำ� อะไรกนั อยา่ งไร เพอื่ รบั มอื กบั มวลนำ�้ ทมี่ ากผดิ ปกตมิ ขี อ้ ผดิ พลาด สง่ ผลใหส้ ถานการณ์ ที่ไหน ศูนย์ประสานในระดับพื้นที่เพ่ือส่งต่อความช่วยเหลือไปยัง น�้ำทว่ มรุนแรงขึ้น ชาวบ้านไม่มี องค์กรช่วยเหลือ-จิตอาสาท่ีมาจากที่ต่างๆ เข้าไม่ถึง ทำ� ให้ชาวบา้ นทข่ี าดน้�ำขาดอาหารถูกปลอ่ ยเกาะอย่างโดดเดีย่ ว...” นอกจากน้ี การบริหารน้�ำในเขอ่ื นภูมพิ ล เข่อื นสริ ิกิต์ิ และเขอื่ น ป่าสักชลสิทธิ์ ก็ถูกมองว่าเป็นสาเหตุหลักอันหนึ่งที่ท�ำให้น้�ำท่วม ความสับสนที่เกิดขึ้นน�ำไปสู่การย่ืนญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป รนุ แรงขน้ึ ทงั้ นเ้ี พราะการบรหิ ารจดั การนำ้� ในเขอื่ นนน้ั อาศยั สถติ แิ ละ ในสภาฯ โดยกลุ่มส.ว. 63 คนเมือ่ วันท่ี 7 พฤศจิกายน 2554 เพือ่ ฐานข้อมูลของน้�ำที่ไหลเข้าอ่างเก็บน�้ำย้อนหลังเป็นเวลาหลายปี มา ให้ ครม.แถลงข้อเท็จจริงในการแก้ปัญหาน้�ำท่วมท่ีล้มเหลว โดยชี้ ประมวลจัดท�ำเป็นเกณฑ์ควบคุมระดับน�้ำในแต่ละช่วงเวลา แต่ไม่มี ว่ารัฐบาลไม่สามารถหยุดมวลน�้ำไม่ให้ไหลเข้าท่วม กทม.ท�ำให้มีผู้ได้ แผนในกรณีที่ปริมาณน�้ำผิดไปจากความคาดหมาย โดยเฉพาะเมื่อ รับผลเดือดร้อน 3 ล้านคน รัฐบาลไม่สามารถจัดการดูแลช่วยเหลือ การไหลมาเพิ่มข้ึนหรือลดลงของน�้ำตามธรรมชาติในอดีตกับปัจจุบัน ผู้ประสบภัยน้�ำท่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขาดแคลนปัจจัยในการ เปลยี่ นแปลงไปมาก เนอ่ื งจากการเปลยี่ นแปลงสภาพปา่ การไหลและ ดำ� รงชวี ติ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความผดิ พลาดในการบรหิ ารจดั การนำ้� และ สะสมของตะกอน ดงั นนั้ การใชฐ้ านขอ้ มลู เดมิ ในการวางแผนเกบ็ หรอื การเยยี วยาฟน้ื ฟผู ปู้ ระสบอทุ กภยั โดยคาดวา่ จะสง่ ผลใหป้ ระเทศไทย ปล่อยน้�ำจึงเกิดความผิดพลาดขึ้นได้ ประกอบกับการบริหารจัดการ เสยี หายทางเศรษฐกิจหลายแสนลา้ นบาท เขื่อนตอนบนกับการปล่อยน้�ำจากทุ่งเจ้าพระยาตอนล่างขาดความ สมั พันธ์กัน กอ่ ใหม้ วลนำ้� ท่ไี หลลงสดู่ ้านล่างเกินจะรบั มือได้ ในช่วงเวลานั้น รัฐบาลได้พยายามสร้างความมั่นใจให้กับ ประชาชนวา่ รฐั บาลสามารถรบั มอื กบั วกิ ฤตนำ้� ทว่ มได้ คำ� ทป่ี ระชาชน ข้อเท็จจริงของความผิดพลาดในประเด็นท่ีเก่ียวเนื่องกับการ ไดย้ ินได้อา่ นจากส่ือกค็ อื “เอาอยู”่ และเม่อื นำ้� มาจ่อที่ทางเหนือของ ตัดสนิ ใจในการใชม้ าตรการตา่ งๆ มาแก้ปญั หาน้�ำทว่ มในภาพรวม ยงั กรุงเทพฯ รัฐบาลก็ยังยืนยันว่า “ยันอยู่” เม่ือน้�ำไหลบ่าเข้ามาและ สอ่ เคา้ ถงึ การแทรกแซงทางการเมอื ง ขาดความเปน็ ธรรมในการเลอื ก กลายเป็นมหาอุทกภัย ประชาชนก็ถูกขอให้ปรับตัวปรับใจท่ีจะต้อง ให้ใครหรือพืน้ ท่ีไหนจะตอ้ งรบั ภาระภัยพิบตั นิ �้ำท่วม เปน็ ประเด็นเกา่ อยู่กับน�้ำท่วม และ “อยู่กบั นำ้� ” อยา่ งเข้าใจ ทค่ี า้ งคามาหลายยคุ สมยั และยงั ไมเ่ หน็ ทศิ ทางทปี่ ญั หานจ้ี ะถกู สะสาง ด้วยการยอมรบั จากทุกฝ่ายได้ และดูเหมือนว่ามาตรการต่างๆ ที่ ออกมาต่างก็ไม่สามารถรับมือกับมวล น้�ำอันมหาศาล ไม่ว่าจะเป็นการท�ำ คันกัน้ น�้ำชว่ั คราว การควบคุมการ เปิด-ปิดประตูระบายน้�ำ การผัน น�้ำ-สูบน�้ำ การวางบ๊ิกแบ็ก หรือ กระสอบทรายขนาดยักษ์ ท้ังยัง ท�ำให้เกิดข้อพิพาทขัดแย้งระหว่าง หน่วยงานของรฐั กบั ประชาชน และ ระหว่างประชาชนด้วยกันเอง มากอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน สุรจติ ชริ เวทย์ Surachit Chiravet

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 19 Committee for Water Management of Greater Bangkok กรงุ เทพ – เส้อื ผา้ ท่ีประชาชนน�ำมาบรจิ าคที่ สน.พหลโยธนิ วางเรยี งรายบนดาดฟ้าของสถานี under Royal Directives. Any person who issues instruc- เพอื่ ตากใหแ้ หง้ หลงั จากที่สถานถี ูกนำ้� ท่วม ก่อนน�ำไปบริจาคใหก้ ับผ้ปู ระสบภัยตอ่ ไป tions must receive prior approval from the cabinet which is in charge of national policy. Bangkok – Donated clothes are laid out to dry on the roof top of Phahon Yothin Police Station. They became wet after the police station was Samut Songkhram Senator Surachit Chiravet said flooded. Once dry, they were distributed to flood victims. the public was confused and panicked during the crisis. It is normal that mistakes are made when government tion centers and shelters, which stemmed from lack of agencies of central and local levels work together. Each management experience. agency had to adapt to the situations at hand because policymakers could not handle the crisis as seen in the Many responsible persons in government agencies instructions they gave which were vague and lacked admitted their failures through the media. They sought direction. Each agency had to protect its area. public understanding that they were unable to accurately predict the weather conditions, resulting in mistakes in “Policymakers who are supposed to be in charge water status analysis and monitoring and mishandling of fanned confusion. For example, recall the instruction the abnormal volume of water. The crisis worsened, as given to responsible agencies to adapt the 2T-2R princi- a result. ple of the Bang Rakam Model in solving problems under the unprecedented floods. This caused each agency to The management of the Bhumibol, Sirikit and defend its own area without any supportive plan,” said Pasak Jolasid dams was seen as a main cause of the Surachit. marked escalation in floods. Dam water level manage- ment is typically based on years of inflow statistics and “Poor preparation and supervision exacerbated this database which are compiled to map out proper water fiasco. Of millions of sand bags, FROC (Flood Relief levels for different periods. There is no contingency plan Operations Center) dispatched 3 million bags and for an unexpected surge in water volume. The increases another 3,500 big bags, without any instructions as to or decreases of natural inflows have changed sharply what should be done and where. There was no center from past records due to changes in forest conditions and to coordinate help on the ground to flood victims. Aid sediment flow and accumulation. Mistakes occurred as agencies and volunteers had no access to people who such database was used in determining the amount of were stranded in their homes without food and water…” water to be held or discharged. Moreover, the manage- ment of upstream dams does not correspond with the In view of the flood chaos, 63 senators on 7 Novem- release of water from the lower Chao Phraya Plains. A ber 2011 petitioned for a general debate in Parliament massive amount of discharges got out of control. so that the cabinet would give facts on their mismanage- ment of floods. The senators pointed out that the gov- The truth of flawed decisions on overall flood-con- ernment was unable to contain the situations. The capi- trol measures lay in political interventions and unfair dis- tal was under siege from the water and 3 million people crimination as to which persons or areas should carry were affected. The government failed to provide relief to the load of the disaster. This is an old issue which has flood victims, who lacked basic essentials. This reflected lingered through several governments and there seems to the government’s lapses in water management and vic- be no direction as to how the problem can be solved in a tims’ rehabilitation, and Thailand was expected to incur way acceptable to all concerned parties. tens of billions of baht in economic damages. These frustrating problems took a new twist when At that time, the government tried to shore up public 1,047 flood victims in January this year brought a case confidence that it was in control of the crisis. The phrase before the Central Administrative Court, demanding the that people repeatedly heard or read from the media is “Aow Yue (manageable).” As a large quantity of water approached the north of Bangkok, the government main- tained that the government was “in control.” When the government lost the battle to protect Bangkok, the public was asked to adapt themselves to “live with water.” Seemingly, the variety of measures – such as tempo- rary flood barriers, control of the opening or closing of sluice gates, the diversion or pumping of floodwaters, the placing of big bags or giant sand bags – not only failed to resist the onslaught of masses of water, but also fanned conflicts between government agencies and the public, or among the public to an unprecedented scale. More- over, the attempts to assist the large number of victims hit obstacles, from flood warnings in risk areas, to evacu- ation announcements. This included unpreparedness to help victims, for example the establishment of evacua- ‘เมอื งน้�ำ’ วถิ ที ี่แปรเปล่ียน ‘Land of Water’ The Way of Life It’s a Changin’

20 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 กรงุ เทพมหานคร – สนามบินดอนเมอื ง ซง่ึ ถูกจดั เป็นศูนยพ์ กั พิงผู้ประสบภยั กลายเปน็ พืน้ ที่รบั น้ำ� ทนั ทที ่รี ัฐบาลไม่สามารถก้นั น้ำ� ไว้ได้ — ภาพเอ้ือเฟอื้ โดยหนังสือพมิ พบ์ างกอกโพสต์ Bangkok – Don Muang Airport, which was designated a relief center, becomes inundated, a clear sign that the government’s attempt to stem the flood has failed. — Photo courtesy of The Bangkok Post วันน้ีภาพสะท้อนของปัญหาท่ีน่าคับข้องใจเหล่านั้นก�ำลัง ด้านท่ีสาม คือ การบริหารจัดการน้�ำท่ีขาดประสิทธิภาพ จะเปล่ียนโฉมหน้า เมื่อผู้ประสบภัยกว่า 1,047 ราย รวมตัวกัน ทั้งในภาพรวม และระดับท้องที่ โดยรายละเอียดกล่าวถึง การ ฟอ้ งรอ้ งตอ่ ศาลปกครองกลางเมือ่ เดือนม.ค. ปีน้ี เพ่ือเรยี กคา่ เสียหาย บริหารน้�ำที่ไม่สมดุลไม่เหมาะสม ในเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิต์ิ และ จากรัฐบาลที่บริหารจัดการน้�ำผิดพลาด ไม่แจ้งข้อมูลปริมาณน�้ำที่ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ การบริหารจัดการของหน่วยงานฯ ในการผันน�้ำ ถกู ตอ้ งและชดั เจน จนสรา้ งความเดอื ดรอ้ นและเสยี หายแกป่ ระชาชน และกระจายน�้ำที่ไม่สมดุลหรือไม่เหมาะสม ทั้งในเชิงพื้นที่และช่วง จ�ำนวนมาก นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยที่มีการฟ้องร้อง เวลาท่ีมีจ�ำกัด ขาดเอกภาพระหว่างจังหวัด อบต. ชุมชนเมือง นิคม ค่าเสยี หายจากรัฐในกรณีความเสยี หายท่เี กดิ จากนำ�้ ท่วม อตุ สาหกรรม และเขตเศรษฐกิจของ กทม. และปรมิ ณฑล ไมม่ กี ารจดั การลมุ่ นำ�้ เชงิ บรู ณาการในระดบั ลมุ่ นำ�้ ยอ่ ยของลมุ่ นำ�้ ปิง วงั ยม น่าน สะแกกรัง และป่าสกั เพ่อื หน่วงน�้ำ-เก็บน้ำ� ที่สามารถ แผนยทุ ธศาสตรก์ ารจัดการน้�ำใน 25 ลุ่มน�้ำ ใช้ได้ ทั้งการลดความเสย่ี งจากนำ้� ทว่ มและเกบ็ ไวใ้ ชใ้ นชว่ งหนา้ แล้ง หลังวิกฤตเริ่มคลี่คลาย คณะอนุกรรมการวางระบบบริหาร ไม่มีการบูรณาการของการท�ำงานและข้อมูลของหน่วยงานท่ี จัดการน�้ำอย่างย่ังยืน เปิดแผนยุทธศาสตร์ในการจัดการน้�ำท่วมเชิง เกีย่ วข้องท่ีจะนำ� มาใชใ้ นการวเิ คราะห์ จดั ท�ำแบบจ�ำลองและกำ� หนด บูรณาการอย่างย่ังยืน ในพื้นท่ีลุ่มน้�ำเจ้าพระยา (ปิง วัง ยม น่าน ทางเลือกต่างๆ ในเชิงพ้ืนท่ี เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจที่ทันต่อ สะแกกรัง ป่าสัก ท่าจีน และเจ้าพระยา) เพ่ือเสนอคณะกรรมการ เหตุการณ์ ไมม่ รี ะบบการส่ือสาร การใหข้ ้อมลู แบบจำ� ลองเชิงพื้นทใ่ี น ยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ วางระบบบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ�้ (กยน.) พจิ ารณา การเตอื นภยั ทเ่ี ปน็ ทเี่ ชอื่ มน่ั ตอ่ สงั คม เพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจใหต้ ระหนกั แทนการตนื่ ตระหนก ไมม่ กี ฎหมายในการบงั คบั ใชท้ เ่ี หมาะสมทงั้ ระบบ ในแผนฯ ดังกล่าวระบุถึงสาเหตุของน้�ำท่วมที่สามารถสรุปเป็น ลมุ่ นำ้� ทง้ั ในสว่ นกลาง ภมู ภิ าค และทอ้ งถน่ิ ไมม่ โี ครงการพฒั นาแหลง่ นำ�้ ประเดน็ ไดส้ ามด้านดว้ ยกนั เพ่ือการเก็บกักน�้ำช่วงน�้ำหลากอย่างเพียงพอ และไม่สามารถรองรับ ปริมาณน้ำ� หลากปริมาณมากกว่าคา่ ปกติได้ ดา้ นแรก คอื สาเหตทุ เี่ กดิ จากธรรมชาตจิ ากฝนตกมากกวา่ ปกติ ด้านท่ีสอง คือ ความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อมและระบบ คันกั้นน�ำ้ ถนนชลประทาน ประตรู ะบายน�้ำ และคลองสง่ น้�ำ ซึ่ง นเิ วศทเี่ กดิ ขน้ึ และสะสมมานาน จากการเปลย่ี นแปลงการใชป้ ระโยชน์ เป็นโครงสร้างในการจัดการน้�ำ เกิดปัญหาความทรุดโทรมและการ ท่ดี นิ การลดลงของพื้นทปี่ ่าไม้ การเปลยี่ นพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมเปน็ เขต บุกรุกของชุมชน ส่วนคันกั้นน้�ำท่วมท่ีมีอยู่เดิมและคันท่ีท�ำข้ึนใหม่ อุตสาหกรรมและหมู่บ้านบ้านจัดสรร รวมถึงการบุกรุกพื้นที่ต้นน้�ำ ช่วงท่ีเกิดน�้ำท่วมขาดความต่อเนื่องและประสิทธิภาพ นอกจาก แม่น�้ำ คูคลองตามธรรมชาติ พ้ืนที่ชุ่มน้�ำและแหล่งน้�ำ ท�ำให้พื้นท่ี นี้ ตลอด 50 ปที ่ีผ่านมา เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการบรหิ ารจัดการนำ้� อาทิ รองรับน้�ำทว่ มตามธรรมชาติ หรือ แกม้ ลิง ซ่ึงเปน็ พ้นื ทเี่ กษตรกรรม มไี ม่เพยี งพอท่จี ะรองรบั ปริมาณน้�ำจำ� นวนมาก

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 21 ชยั นาท – เม่อื นำ้� ทีล่ ้นเจ้าพระยา การคา้ ขายท่ีตลาดชยั นาท ในอ.เมือง หยดุ ชะงักทันที administration organizations, urban communities, indus- trial estates and Greater Bangkok’s economic zones. Chai Nat – A shopkeeper finds herself idle after the flood hits the main Chai Nat market in Muang district and halts all trade there. There was no holistic management of sub-river basins of Ping, Wang, Yom, Nan, Sakae Krang and government be liable for damages for the mismanage- Pasak basins in order to retain and hold water for use in ment of floodwaters and nondisclosure of accurate and the dry season as well as reduce flood risks. clear information on the volume of water, thereby caus- ing distress and damage to many people. This was the Performances and data of relevant agencies were first time in Thai history that the government was taken not in sync for the purposes of analysis, model creation to court for monetary damages resulting from flood con- and determination of options for flooded areas crucial trol failures. for timely decision making. Information on warning area scenarios was not communicated to and shared with the Water Management Scheme public in order to shore up their confidence and aware- for 25 River Basins ness, and curb panic. No proper law was implemented to govern river basins in the central, regional and local After the crisis receded, a subcommittee on sustain- areas. No project was initiated to develop water sources able solutions to water resources management unveiled which would hold water during high tide season and in and proposed a strategic plan for sustainable and holis- case of abnormally high volume of water. tic flood management in the Chao Phraya river basin (Ping, Wang, Yom, Nan, Sakae Krang, Pasak, Tha Chin Dikes, irrigation roads, sluices and irrigation canals, and Chao Phraya) to the Strategic Committee for Water which are parts of the water management structure, Resources Management for consideration. were degraded and had been subject to encroachment from local communities. The existing flood barriers and The scheme identifies three causes of floods. those erected during the crisis neither corresponded nor Firstly, there was a natural cause due to the abnor- were effective. Over the past 50 years, water manage- mally high rainfall. ment tools, such as sluices, water control buildings and Secondly, there had been prolonged and accumu- pumps, were inadequate and nonoperational during the lated environmental and ecosystem degradation, which high tide period. resulted from changes in land utilization, decline in for- est areas, conversion of agricultural areas to industrial In summary, the overall water management lacked zones and real estate projects, and encroachment of unity, a single command authority and a long-term water sources, rivers, natural canals and brooks, wetlands master plan, resulting in unclear, aimless and disrupted and ponds. The natural water retention areas (known operations. The government did not provide continuous as “Monkey Cheeks”), which are farmlands, were not funding. The database was not systematic and up-to- enough to store the massive volume of water. date. Laws governing water resources are outdated and Thirdly, there was ineffective water management, inconsistent with overall management operations. overall and at local level. The subcommittee cited inap- propriate management of water in the Bhumibol, Sirikit With heightened awareness of possible flood prob- and Pasak Jolasid dams, imbalance or inappropriate lems in the future, the public far and wide has called for management of water diversion and distribution by pub- a complete overhaul of the water management system. lic agencies in terms of areas and time constraints, and The public also demands holistic flood management in lack of teamwork among provincial offices, sub-district order to prevent a repeat of the disaster. Public, private and academic agencies have floated anti-flood proposals which differ in lines of thinking and aims. 350-Billion-Baht Flood Control Plan On 27 December 2011, the cabinet passed a resolu- tion to approve the establishment of a 350-billion-baht fund for investing in a fundamental structure for long- term holistic water management. Many parties are closely watching the 25 river basins scheme which will draw on this budget. The nonphysical measures under the scheme are, for example, assessment of buildings’ security and safety, irrigation, increase in capacity and efficiency of water prediction technology, application of information verifi- cation and tracking system, and dissemination of knowl- edge and understanding to all sectors. Several experts saw that these measures are already included in typical missions of government agencies. ‘เมืองน�ำ้ ’ วถิ ีทแ่ี ปรเปลยี่ น ‘Land of Water’ The Way of Life It’s a Changin’

22 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 ประตูระบายนำ้� อาคารบังคบั น�ำ้ และเครื่องสบู น�ำ้ มไี มเ่ พยี งพอและ ลุม น้ำ โครงการ ความจุ ไมส่ ามารถใชก้ ารไดต้ ามตอ้ งการในช่วงเวลาน�้ำหลาก ยม โครงการเขอนแกงเสอื เตน (ลา น ลบ.ม.) 1,175 โดยสรุป การบริหารจัดการน�้ำในภาพรวมท่ีผ่านมายังไม่เป็น โครงการทางเลอื ก: เขอนแมน ำ้ ยมและแมน ้ำยม 135 เอกภาพและไมม่ อี งคก์ รทมี่ อี ำ� นาจในการจดั การทรพั ยากรนำ�้ ในภาพ ตอนบน ความจุ 660 ลา น ลบ.ม. 180-500 รวมอยา่ งเบด็ เสรจ็ (Single Command Authority) การขาดแผนงาน ปง โครงการเขอนแมแจม 250 หลกั (Master Plan) ในการบรหิ ารจัดการนำ�้ ในระยะยาว ท�ำใหก้ าร นา น โครงการเขอนนำ้ เข็ก 2,900 บรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ�้ ขาดทศิ ทางทช่ี ดั เจนและขาดความตอ่ เนอื่ ง สะแกกรัง โครงการเขอนแมวงก 36,000 สง่ ผลใหข้ าดการสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ฐานขอ้ มลู ยงั เจาพระยา โครงการพัฒนาจัดสรรพ้ืนทล่ี ุมต่ำใหเ ปนพน้ื ที่ ไม่เป็นระบบและไม่ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป กฎหมายดา้ น แกมลิง โดยใชพื้นทเ่ี กษตรลุมตำ่ เปนพ้นื ที่รับ ทรพั ยากรนำ้� ไมท่ นั สมัยและขาดเอกภาพในการสนับสนุนการจัดการ นำ้ นองขนาดใหญจำนวน 12 พ้ืนท่ี ทรพั ยากรน้�ำในภาพรวมได้ โครงการพ้นื ทรี่ บั น้ำ 2 ลา นไร บริเวณลมุ แมน ้ำ เจา พระยา ต้ังแต จ.นครสวรรคลงมาตามลมุ นำ้ ด้วยความตื่นตัวท่ีเพ่ิมขึ้นอย่างมากของสังคมต่อปัญหาน�้ำท่วม เจาพระยาตอนลา ง เบือ้ งตนกำหนดพนื้ ที่ 20 ในอนาคต จึงเกิดเสียงเรียกร้องอย่างกว้างขวางให้มีการปฏิรูปการ ทุงรบั น้ำ 1.15 ลานไร ครอบคลมุ 6 จังหวัด บริหารจัดการน้�ำทั้งระบบอย่างบูรณาการ รวมถึงการบริหารจัดการ • นครสวรรค 7 ทุง 559,289 ไร อุทกภัยเชิงองค์รวม เพื่อไม่ให้น้�ำท่วมกลายเป็นอุทกภัยท่ีสร้างความ เสียหายซ�้ำรอยอกี 2,124 ลาน ลบ.ม. • ชยั นาท 138,711 ไร 416 ลา น ลบ.ม. ขอ้ เสนอในการแกป้ ญั หาใหญน่ ม้ี หี ลายแนวคดิ หลายแนวทาง ที่ • สิงหบ รุ ี 2 ทงุ 164,374 ไร 394 ลาน ลบ.ม. น�ำเสนอมาจากทง้ั รัฐ เอกชน และองค์กรวิชาการหลายฝ่าย • ลพบุรี 2 ทงุ 101,971 ไร 176 ลา น ลบ.ม. • อางทอง 2 ทงุ 66,900 ไร 107 ลาน ลบ.ม. แก้น�ำ้ ทว่ มสามแสนหา้ หม่นื ล้านบาท • พระนครศรอี ยธุ ยา 6 ทงุ 118,636 ไร 447 ลาน ลบ.ม. เมอื่ วนั ที่ 27 ธนั วาคม 2554 ครม. มมี ตเิ หน็ ชอบใหจ้ ดั ตงั้ กองทนุ วงเงนิ 350,000 ลา้ นบาท เพอ่ื นำ� มาลงทนุ ในระบบโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ที่มา : แผนยทุ ธศาสตรในการจดั การนำ้ ทว มเชงิ บูรณาการอยา งยั่งยนื เพอื่ บริหารจัดการน้�ำอยา่ งบูรณาการในระยะยาว ในพื้นทีล่ มุ น้ำเจา พระยา ณ เวลานหี้ ลายฝา่ ยกำ� ลงั จบั ตาแผนยทุ ธศาสตรฯ์ 25 ลมุ่ นำ้� ภาย พกั นำ้� เชน่ พน้ื ทล่ี มุ่ ตำ่� นำ้� นอง พนื้ ทแี่ กม้ ลงิ และสระเกบ็ นำ้� ขนาดใหญ่ ใต้งบประมาณนี้ กม็ คี ำ� ถามวา่ ไดม้ กี ารผสานองคค์ วามรทู้ กุ แขนง และไดร้ บั การยอมรบั จากประชาชนที่มีสิทธิทจี่ ะมสี ว่ นร่วมในการตดั สินใจแล้วหรือไม่ โดยแผนฯ ได้วางมาตรการท่ีไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง เช่น การ ตรวจสอบความมั่นคงและความปลอดภัยของอาคารชลประทาน แมแ้ ตม่ าตรการใชส้ ง่ิ กอ่ สรา้ งทมี่ แี ผนพฒั นาโครงการและผลการ การเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของเทคโนโลยีการพยากรณ์คาด ศึกษารองรับไว้แต่เดิมแล้วหลายๆ โครงการ ก็มีเสียงท้วงติงจากนัก การณส์ ถานการณน์ ำ้� การจดั ทำ� ระบบตดิ ตามตรวจสอบขอ้ มลู รวมถงึ วชิ าการ เอ็นจโี อ และเสยี งคดั ค้านของประชาชนในพ้นื ที่มายาวนาน การเผยแพรค่ วามรคู้ วามเขา้ ใจใหท้ กุ ภาคสว่ น อยา่ งไรกด็ ี ผเู้ ชย่ี วชาญ และแทบจะทุกโครงการก็ส่อเค้าความขัดแย้งจากประชาชนในพื้นที่ หลายฝา่ ยออกความเหน็ วา่ มาตรการทไ่ี มใ่ ชส้ ง่ิ กอ่ สรา้ งในแผนฯ นเี้ ปน็ (ตามตารางขา้ งบน) ภารกจิ ปกตทิ ห่ี นว่ ยงานรับผิดชอบจะตอ้ งท�ำอยู่แล้ว ในกรณีลุ่มน�้ำเจ้าพระยา ยังมีโครงการผันน้�ำฝั่งตะวันออก ส่วนมาตรการบริหารจัดการหลายๆ อย่างยังไม่มีรายละเอียด ของแม่น้�ำเจ้าพระยาบริเวณคลองชัยนาท-ป่าสัก ซึ่งเพิ่มศักยภาพ เป็นรูปธรรมและมีค�ำถามตามมาว่าจะเกิดเป็นจริงได้เพียงไร ทั้งน้ี ผันน�้ำจาก 210 ลบ.ม./วนิ าที เปน็ 1,000 ลบ.ม./วินาที และมีแผน รวมถงึ การพฒั นารปู แบบการบรหิ ารจดั การพนื้ ทน่ี ำ้� นอง เพอื่ วางแผน ในปี 2555 ทจี่ ะศกึ ษาโครงการผนั นำ้� ฝง่ั ตะวนั ตกของแมน่ ำ้� เจา้ พระยา การใช้ประโยชนจ์ ากน�้ำหลาก ทง้ั เกบ็ กักใช้ในการเกษตรและประมง, บริเวณเหนือเข่ือนเจ้าพระยา เพ่ือระบายลงสู่ทะเลน้�ำไม่น้อยกว่า การปรับเปล่ียนพฤติกรรมของเกษตรกรเพ่ือลดความเส่ียงต่อความ 1,000 ลบ.ม./วินาที ทกี่ รมชลประทานกำ� ลงั ดำ� เนินการอยู่ เสียหายในช่วงน�้ำหลาก, การรักษาสภาพการใช้ที่ดินโดยบังคับใช้ ผงั เมอื ง และการบรู ณาการระดับลมุ่ นำ้� เพ่อื ให้มีระบบแบบแผนการ ส�ำหรับแม่น�้ำท่าจีน มีโครงการขุดช่องลัดแม่น้�ำท่าจีน และ บรหิ ารจัดการนำ�้ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ กอ่ สร้างประตรู ะบายน้�ำควบคุม เพื่อการระบายน้�ำทางฝ่ังตะวันตก ท่ีกลายเป็นประเด็นถกเถียงกันมากที่สุด คือ มาตรการ นอกจากน้ีกรมชลประทานและกรมทางหลวงก�ำลังหารือร่วม ใช้สิ่งก่อสร้าง มีหลายโครงการที่หลายฝ่ายกังวลว่าอาจจะท�ำให้เกิด กนั ถงึ แนวทางทจ่ี ะพฒั นาทางระบายนำ�้ รว่ มกบั ถนนวงแหวนรอบท่ี 3 ผล กระทบต่อประชาชนและระบบนิเวศเป็นวงกว้าง และยิ่งท�ำให้ เปน็ การสรา้ งชอ่ งทางนำ้� หลากแยกออกจากแมน่ ำ�้ เจา้ พระยาทอี่ ำ� เภอ ปญั หานำ�้ ทว่ มบานปลายไปเปน็ ปญั หาในหลายมติ ยิ งิ่ ขน้ึ เชน่ การสรา้ ง บางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาทางฝง่ั ซา้ ย (ตะวนั ออก) ของแมน่ ำ้� เข่อื น อา่ งเกบ็ น้ำ� การทำ� ระบบพนังก้ันนำ้� สองฝั่งแมน่ ำ�้ สายหลัก การ เจา้ พระยา เพอ่ื เพม่ิ ชอ่ งทางระบายนำ�้ จากแมน่ ำ้� เจา้ พระยา โดยเฉพาะ ผนั นำ�้ การทำ� ระบบระบายนำ�้ สายดว่ นออกสทู่ ะเล หรอื เรยี กงา่ ยๆ วา่ พนื้ ทตี่ งั้ จ.พระนครศรอี ยธุ ยา ลพบรุ ี ปทมุ ธานี ฉะเชงิ เทรา และ กทม. ฟลดั เวย์ และการสรา้ งเขื่อนปอ้ งกันน้�ำทะเลหนุน ได้ประมาณ 500 ลบ.ม./วนิ าที ส่ิงที่ถูกจับตาไม่เพียงโครงการขนาดใหญ่ แม้แต่การแก้ปัญหา ภายใตโ้ ครงการกอ่ สรา้ งเหลา่ นี้ นกั วชิ าการและนกั พฒั นาเอกชน ด้วยการท�ำคันกั้นน้�ำบริเวณที่เป็นพื้นที่เศรษฐกิจ การขุดลอก ดา้ นสิง่ แวดล้อมทีศ่ ึกษาเรือ่ งการบรหิ ารจดั การน้�ำมายาวนาน ไดช้ ้ถี งึ ท้องน้�ำ การขยายล�ำน�้ำ และการขยายคลองส่งน�้ำ การจัดหาพื้นที่ ปญั หาใหญท่ จ่ี ะตามมา โดยมปี ระเดน็ ใหญ่ คอื มาตรการใชส้ งิ่ กอ่ สรา้ ง ทั้งหลายเหล่านี้เป็นการแก้ปัญหาโดยการฝืนธรรมชาติ เพราะพื้นที่ ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นพื้นท่ีลุ่มและทางน้�ำผ่าน โดยบทเรียนของ อุทกภัยในอดีตและที่เพ่ิงผ่านไป สิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่มีอยู่ไม่สามารถ แกไ้ ขปญั หาน้�ำท่วมได้

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 23 Many administrative measures have not been drawn Department is considering diverting water from areas up in concrete detail. They include the development of to the west of the Chao Phraya River, before the river inundated areas management, planning on the use and reaches the Chao Phraya Dam, into the sea at no less retention of floodwaters for agriculture and fishery, mod- than 1,000 cu m per second. ification of farmers’ behavior in order to reduce risks of damages during high tide season, maintenance of land For the Tha Chin River, a project is set to dig canal use through implementation of city plans, and integra- shortcuts from the river and build sluices in order to con- tion of river basin activities. The question is whether or trol discharges from the west of Bangkok. not such measures can be implemented. The Royal Irrigation Department and the Depart- The most controversial are the physical measures. ment of Highways are also discussing joint development Some projects raised many parties’ concerns about wide- of a water drainage channel along with the third ring spread impacts on the public and ecosystem and escalation road. Waterways would be dug from the left (east) of the of flood problems in many dimensions. Examples include Chao Phraya River in Bang Sai district of Ayutthaya the construction of dams, reservoirs, floodwalls along main in order to be able to channel approximately 500 mil- rivers, water diversion, floodways and coastal dams. lion cu m of water per second particularly from areas in Ayutthaya, Lop Buri, Pathum Thani, Chachoengsao All eyes are on not only mega projects, but also and Bangkok. on decisions to build flood barriers in economic areas, dredging and expansion of waterways, expansion of Academics and environmentalists with extensive irrigation canals and acquisition of water retention sites, experience in water management point to major prob- such as low-lying inundated areas, Monkey Cheek areas lems to follow. The main issue is the projects go against and large ponds. The question is whether the entire body nature because most of the country’s areas are lowlands of knowledge was accounted for and acceptance was and lie in the water’s passage. The past and previous sought from the public who have the right to take part in flood lessons prove that structures are not a true solution decision making. to prevent flooding. Although project development plans were drawn up Everybody Wants a Floodway and studies were conducted for many physical measures, academics and NGOs were critical and long-term resi- The concept of floodway to speed up discharges is widely dents in the affected areas voiced opposition. Most of the accepted. Many proposals were raised, including: projects (as listed below) are likely to face local resistance. The “Water Motorway” Project was tabled by Team Group, River Project Capacity which is a local business consultancy group specializing in water basin (mil cu m) sources and energy. A 180m wide and 8m deep canal with a sluice to be located in the north of Bang Pa-in district of Ayut- Yom Kaeng Suea Ten dam project 1,175 thaya is to have a capacity to drain runoff at the rate of 1,150 cu Alternative projects: Yom River dam and Upper m per second or 100 million cu m per day. This Water Motorway Yom River dam, with a capacity of 660 million cu m will run along the third Ring Road with a canal in the middle. The project would cost about 160 billion baht. Ping Mae Chaem dam project 135 The “Super Express Floodway” Project was proposed by Nan Nam Khek dam project 180-500 Prof Dr Thanawat Jarupongsakul, head of the Unit for Disaster and Land Information Studies, Faculty of Science, Chulalongkorn Sakae Mae Wong dam project 250 University. The floodway is to run through Chai Nat-Pasak Canal, Krang Raphiphat Canal and Phra-ong Chao Chaiyanuchit Canal, for a total length of over 200 km. The project’s tag price is no less than Chao Project to develop and allocate low-lying areas into 2,900 100 billion baht. Phraya water retention sites, by turning 12 low-lying The “Special Drainage Ways” Project initiated by Taweejit farming areas into such sites Chandrasakha, president of the Association of Siamese Architects Under Royal Patronage. This project comprises two routes of no Project on 2-million-rai water retention areas in 36,000 more than 80 kilometers long. The first route runs from Rangsit to the Chao Phraya Plain from Nakhon Sawan down the Gulf of Thailand and the second from Rangsit to the Tha Chin to the lower Chao Phraya Plain. Initially, 20 fields River. The drainage ways are to cut across the Chao Phraya River with a total area of 1.15 million rai in 6 provinces from the east to the west to divert runoff to farming areas. have been earmarked: The “Multi-Service Flood Tunnel System” Project is a • Nakhon Sawan: 7 fields, 559,289 rai, brainchild of Dr Suchatvee Suwansawat, chairman of Thailand 2,124 million cu m Underground and Tunneling Group, Engineering Institute of Thai- land under HM the King’s Patronage. The 100km long tunnel is • Chainat: 138,711 rai, 416 million cu m to run along the eastern outer ring road from Ayutthaya to Samut Prakan, has a drainage network connecting with canals, such • Sing Buri: 2 fields, 164,374 rai, 394 million cu m as Rangsit Canal and Raphiphat Canal and then connect with a large pond which will be used to control the volume of water • Lop Buri: 2 fields, 101,971 rai, 176 million cu m diverted into the sea. The surface above the tunnel will be used as a motorway for vehicles during the dry season. The budget is • Ang Thong: 2 fields, 66,900 rai, 107 million cu m estimated at 200 million baht. • Ayutthaya: 6 fields, 118,636 rai, 447 million cu m Source: Strategic Plan for Integrated and Sustainable Management of Floods in the Choa Phraya River Basin For the Chao Phraya river basin, a project is under way to divert water from the east of the Chao Phraya River in the area of Chai Nat-Pasak Canal. The project will raise the rate of water diversion from 210 cu m per second to 1,000 cu m per second. The Royal Irrigation ‘เมอื งน�ำ้ ’ วถิ ีทแ่ี ปรเปลย่ี น ‘Land of Water’ The Way of Life It’s a Changin’

24 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 ใครๆ กอ็ ยากได้ ฟลดั เวย์? การปรับปรุงสภาพล�ำน�้ำอาจท�ำให้เกิดน้�ำท่วมพ้ืนท่ีริมตลิ่งและ ริมฝั่งแม่น้�ำ ล�ำน�้ำมีความลึกมากเกินไปอาจส่งผลเสียกับการไหล แนวคิดเร่ืองฟลัดเวย์ เพ่ือการระบายน�้ำอย่างรวดเร็ว มีเสียง ของน�ำ้ เพราะจะท�ำใหเ้ กดิ การตกตะกอนอย่างรวดเรว็ ซงึ่ ตอ้ งศกึ ษา ตอบรับคอ่ นข้างกวา้ งขวาง โดยมีการเสนอรูปแบบอยู่บา้ ง ดังนี้ ถึงความคุ้มค่าของระยะเวลาในการขุดลอกแต่ละคร้ัง รวมทั้งการ ปรับปรุงสภาพล�ำน�้ำ ยังไม่เหมาะกับล�ำน�้ำขนาดใหญ่และล�ำน้�ำที่ได้ โครงการ “มอเตอร์เวย์น�้ำ” โดยกลุ่มธุรกิจที่ปรึกษาในประเทศด้าน รับผล กระทบจากน้ำ� ขึ้นน�ำ้ ลงดว้ ย แหล่งน�ำ้ และพลงั งาน ทมี กรปุ๊ เสนอให้มีการขุดคลองกว้าง 180 เมตร ลึกประมาณ 8 เมตร มีประตูควบคุมน�้ำที่ตอนเหนือบริเวณบางปะอิน สดุ ทา้ ยทกี่ ำ� ลงั กลา่ วถงึ กนั มาก คอื ฟลดั เวย์ แนวคดิ นมี้ กี ารศกึ ษา จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เพอื่ ระบายนำ้� ในอตั รา 1,150 ลบ ม./วินาที ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและเสน้ ทางทเี่ หมาะสมเพยี งพอแลว้ หรอื ไม่ จะมี สามารถระบายนำ้� ได้ 100 ล้าน ลบ.ม./วัน มอเตอรเ์ วยน์ �้ำเส้นนี้จะสรา้ ง การปรบั สภาพพนื้ ทแี่ คไ่ หนอยา่ งไร เพราะการสรา้ งทางระบายนำ้� ออ้ ม ค่ขู นานไปกบั ถนนวงแหวนรอบท่ี 3 โดยมีคลองอยู่ตอนกลาง งบประมาณ ตัวเมืองไม่สามารถสร้างได้ในทุกที่ บางแห่งมีข้อจ�ำกัด ซึ่งอาจส่งผล 1.6 แสนล้านบาท กระทบกบั ชมุ ชนและสงิ่ แวดลอ้ มมากกวา่ ความคมุ้ ทนุ เพราะฟลดั เวย์ สามารถระบายน้�ำได้เฉพาะพ้นื ท่ี และไมส่ ามารถแกป้ ญั หาน้�ำทว่ มให้ โครงการ “ซเู ปอรเ์ อก็ ซเ์ พรสฟลดั เวย”์ (Super Express Floodway) เมอื งบนทีล่ มุ่ ตอนบนได้ หรือสรา้ งข้ึนมาแลว้ จะระบายนำ้� ได้จริงตาม เสนอโดย ศ.ดร.ธนวฒั น์ จารพุ งษส์ กลุ หวั หนา้ หนว่ ยศกึ ษาพบิ ตั ภิ ยั และขอ้ ที่ออกแบบไวห้ รอื ไม่ สนเทศเชงิ พ้นื ที่ คณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ทางด่วน พิเศษระบายน้�ำนี้จะผ่านคลองชัยนาท-ป่าสัก, คลองระพีพัฒน์, คลอง “การแกป้ ญั หานำ�้ ทว่ มดว้ ยสงิ่ ปลกู สรา้ งเปน็ วธิ คี ดิ ผดิ ๆ ทคี่ นชอบ พระองค์เจ้าไชยานุชิต มีระยะทางรวมกว่า 200 กิโลเมตร งบประมาณ คดิ วา่ สามารถควบคมุ และเอาชนะธรรมชาตไิ ดห้ มด แตแ่ ทจ้ รงิ แลว้ นำ้� คาดวา่ ไม่ต่�ำกวา่ 1 แสนลา้ นบาท กย็ งั คงทว่ มวนั ยงั คำ�่ ” ศศนิ เฉลมิ ลาภ เลขาธกิ ารมลู นธิ สิ บื นาคะเสถยี ร แสดงความเหน็ ตอ่ โครงการกอ่ สร้างต่างๆ โครงการ “ทางระบายนำ้� พเิ ศษ” เสนอโดยนายทวีจิตร จันทรสาขา นายกสถาปนกิ สยามในพระบรมราชปู ถมั ภ์ โครงการนกี้ �ำหนดใหม้ ี 2 เสน้ ทาง เขาอยากให้มองวิธีการจัดการน�้ำแบบองค์รวมด้วยความเข้าใจ ความยาวไมเ่ กนิ 80 กม. เส้นท่ี 1 รังสิต-อา่ วไทย เส้นที่ 2 รังสิต-แมน่ ำ�้ โดยคนไทยจะต้องยอมรับ และท�ำความเข้าใจธรรมชาติของลุ่มน้�ำ ท่าจีน เป็นการขุดคลองเป็นแนวขวางแม่น้�ำเจ้าพระยาตามทิศตะวันออกไป ธรรมชาติของน้�ำให้มากขนึ้ และควรอยูก่ ับภาวะนำ�้ ท่วมใหไ้ ด้ ตะวันตก เพอ่ื ใหน้ �ำ้ ไหลและน�ำมาใชใ้ นพืน้ ท่เี กษตร ศศนิ กลา่ ววา่ ปญั หานำ้� ทว่ มทเี่ กดิ ขน้ึ สว่ นหนง่ึ ทำ� ใหร้ วู้ า่ คนไทย โครงการ “ระบบอุโมงค์ระบายน้�ำใต้ดิน” หรือ MUSTS (Multi- ไปตั้งถ่ินท่ีอยู่อาศัยในที่ไม่เหมาะสมบนพ้ืนที่น�้ำหลากตามธรรมชาติ Service Flood Tunnel System) เสนอโดย ดร.สชุ ชั วรี ์ สวุ รรณสวัสดิ์ แตถ่ า้ ยอ้ นกลบั ไปดวู ถิ ชี วี ติ ไทยกจ็ ะพบวา่ บรรพบรุ ษุ ของเราพยายาม ประธานคณะกรรมการงานก่อสร้างใต้ดินและอุโมงค์ วิศวกรรมสถานแห่ง เลือกจะมาอยใู่ นพน้ื ทท่ี ม่ี ีน�ำ้ ทว่ มเพ่อื ทำ� การเกษตร เพราะหน้าทข่ี อง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ อุโมงค์น้ีจะมีระยะทาง 100 กม. ตาม น้�ำทางธรณีวิทยาเป็นตัวพาตะกอนหรือธาตุอาหารจากพ้ืนที่ภูเขาสูง แนวถนนวงแหวนรอบนอกฝั่งตะวันออกจาก จ.พระนครศรีอยุธยา ถึง หรือพื้นที่ป่าลงมาให้พ้ืนท่ีราบ จนท�ำให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่ จ.สมทุ รปราการ โดยจะมเี ครือขา่ ยระบายน�ำ้ ตามคลองต่างๆ เชน่ คลอง ส่งออกข้าวเปน็ อนั ดบั หนงึ่ ในโลก รงั สติ คลองระพพี ฒั น์ ฯลฯ เชือ่ มต่อกบั บอ่ ขนาดใหญ่ เพอื่ ควบคุมน้�ำ ที่จะผันลงทะเล และยังปรับพืน้ ทีด่ ้านบนเหนอื เป็นถนนมอเตอรเ์ วย์ให้รถว่ิง น้�ำหลากยังมีหน้าท่ีสร้างระบบนิเวศให้สมดุลท้ังระบบ ดังเช่น ชว่ งน้ำ� แหง้ ไดด้ ว้ ย คาดงบประมาณ 2 แสนลา้ นบาท การปรับสภาพความสมดุลให้คู-คลอง กระบวนการน�้ำท่วมเป็นการ เติมน�้ำใต้ดิน น�้ำหลากสร้างวงจรชีวิตของปลา ตะกอนจากน้�ำหลาก สร้างแล้วน้�ำจะไมท่ ่วมอีก? ชว่ ยสรา้ งพื้นท่งี อกตามชายฝ่งั ทะเล ปอ้ งกันการกดั เซาะชายฝ่ัง และ ให้ระบบนเิ วศทางทะเลมนั่ คงขึน้ มาตรการบรหิ ารจดั การนำ้� ทว่ มทเี่ นน้ นำ� สงิ่ กอ่ สรา้ ง โดยการปรบั พฤติกรรมการไหลของน้�ำ พยายามใหน้ ำ�้ ไหลไกลจากพ้นื ทที่ ่ตี อ้ งการ “การเอาน�้ำหลากไปท้ิงใต้ดิน ไปท้ิงอุโมงค์ แล้วออกไปท่ีทะเล ป้องกันมากท่ีสุด น�ำไปสู่ข้อถกเภียงว่าเป็นมาตรการพื้นฐานด้ังเดิม คุณก�ำลังเอาของมีค่ามหาศาลไปท้ิง ... โลกไม่ได้มีด้านนี้ (น้�ำท่วม) ที่ท�ำมาต้ังแต่อดีต ไม่แตกต่างไปจากการวางโครงการก่อสร้างขนาด ด้านเดียว มันมีโลกของการเกษตร โลกของระบบนิเวศอยู่ด้วย คุณ กลางและเล็กในอดีตท่มี ีการท�ำกันมากว่า 100 ปี แตก่ ย็ งั แกไ้ ขปัญหา ไปตัดสินท่ีธรรมชาติท�ำขนาดน้ัน ผมว่ามันบาปกรรม เพราะคุณจะ ทัง้ น�้ำทว่ มและนำ�้ แล้งได้ไมห่ มด ทำ� ลายพนั ธป์ุ ลาไมร่ กู้ พ่ี นั ธใ์ุ นโลก คณุ สะสมสารเคมใี หค้ นกนิ ไมร่ กู้ ชี่ าติ ขอ้ เรยี กร้องจากหลายฝ่าย คือ การสรา้ งเข่อื น ฝาย พนงั กัน้ นำ้� “คุณคิดแต่เร่ืองของเศรษฐกิจ แต่ส่ิงที่เกิดขึ้นตามสถิติ คือ หรือก�ำแพงตา่ งๆ ในปัจจบุ ันจำ� เป็นตอ้ งมีการทบทวนว่า วิธีการเหล่า นำ้� ทว่ มเกดิ ขึน้ 10 หรอื 20 ปีคร้ัง ถ้ามกี ารบรหิ ารจดั การดๆี มนั อาจ น้ยี งั มีความเหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร จะไม่ท่วมก็ได้ เราพอจะมีตัวเลขของน้�ำท่ีน�ำมาประเมินได้แล้ว แค่ เพมิ่ เคร่อื งมือบางตวั เชน่ ความสามารถของระบบคูคลองที่มีอยเู่ ดมิ เขอ่ื น ส่ิงกอ่ สรา้ งทต่ี ้องใช้วสั ดกุ ่อสรา้ งในปรมิ าณมหาศาล และ ใชใ้ หเ้ ต็มศักยภาพ เช่ือมคลองตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ โครงข่าย กส็ ามารถทจี่ ะ ต้องการพื้นท่ีขนาดใหญ่เพื่อเป็นอ่างเก็บน้�ำ ส่งผลกระทบต่อระบบ ระบายนำ้� ลงสทู่ ะเลไดอ้ ยา่ งมหาศาล ถา้ รวู้ า่ นำ้� จะทว่ มกเ็ รง่ ระบายนำ�้ นิเวศ สิ่งแวดล้อม ชุมชนท้องถ่ิน และแหล่งที่อยู่อาศัยของพืชและ ตง้ั แต่เร่ิมมสี ัญญาณที่นครสวรรค์ บา้ นช่อง เรอื นชาน รูว้ ่าน้ำ� จะทว่ ม สัตว์ รวมท้ังลักษณะภูมิประเทศเดิมท่ีมีอยู่ ดังนั้นตลอดมาในการ ก็สามารถปอ้ งกนั ตวั เองได้ในระดับหนง่ึ คอื เก็บของขน้ึ ท่สี งู ทนั ทำ� สร้างเขื่อนจึงมักถูกคัดค้านว่าไม่ใช่ทางเลือกที่จ�ำเป็น และไม่มีความ อย่างไรไม่ให้ข้าวของเสียหาย หรือนิคมอุตสาหกรรมก็ป้องกันให้ดี คุ้มคา่ ในการลงทนุ มันกล็ ดลงไปอกี ก็อาจจะเหลอื น�ำ้ ทว่ ม 50 ปีครง้ั ก็ได้ การสร้างก�ำแพงกั้นน�้ำสูงเป็นการจ�ำกัดขอบเขตการไหล “ผมคิดว่าเรื่องอะไรที่มันเกิด 10 ปีครั้ง 20 ปีคร้ัง ของนำ�้ ทำ� ใหล้ กั ษณะการไหลเกดิ การเปลยี่ นแปลง เชน่ ระดบั นำ้� สงู ขน้ึ ความเรว็ และอตั ราการไหลเพม่ิ ขน้ึ ความรนุ แรงของคลนื่ เปลยี่ นแปลง เวลาเดินทางของน้�ำเพ่ิมขึ้น เม่ือเส้นทางน�้ำถูกบีบ พลังของน�้ำอาจ จะไหลทะลักได้อย่างฉับพลัน เป็นพลังการท�ำลายล้างที่สูงข้ึน โดย ผลเสียจะตกอยู่กับบ้านเรือนของประชาชนส่วนใหญ่ท่ีไม่ได้สร้าง ก�ำแพงป้องกันตนเองไว้

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 25 Will Floodway Prevent Floods นนทบุรี – นำ้� ทว่ มบรเิ วณวดั ลาดปลาดกุ บางบวั ทอง รถบรรทุกท่ีวง่ิ ผ่านทางคอื ความหวงั ที่ for Good? ชาวบ้านใชอ้ พยพออกจากพ้ืนท่ี The measures to build structures to manage water Nonthaburi – Large trucks like this are the only means of transportation flow and spare certain areas from flood have generated for residents of Wat Lat Pla Duk neighborhood in Bang Bua Thong arguments that they are no different from basic mea- district. sures that were implemented in the past. Structures large and small were put up for over a century but floods and “To dump runoff in tunnels and then into the sea droughts still come. is to dump priceless objects…The world does not have only one side (flooding), there is a world of agriculture Opponents argue that the suitability of dams, dikes, and a world of ecosystem running in parallel. It is a sin water barriers or other walls must be reviewed. to judge and punish nature this way. You will wipe out fish species and accumulate chemicals for the people to Dams and other water retention structures take up consume for ages. massive amount of construction materials and space and affect the ecosystem, environment, local communities “The spotlight is on the economy. But statistically, and habitats of flora and fauna as well as existing land- floods strike every decade or two. Sound management scape. To date, dams have been opposed as unnecessary can prevent flooding. We have enough data on water for and unworthy. assessment. What we need is a few tools, such as the use of a canal system at its full capacity and the linking of canals The construction of high levees controls water flow into a network in order to carry massive amounts of water and subsequently increases the water level, speed, travel into the sea. If signs of looming runoffs at Nakhon Sawan time and volatility of waves. If waterways are squeezed, had been detected, runoffs would have been channeled water may overflow abruptly, which is even more destruc- faster, informed households would have prepared some- tive, possibly wrecking houses most of which do not have what by moving belongings to higher ground and indus- protection walls. trial estates would have bolstered their defenses. Eventu- ally, major floods may strike only every 50 years. Restoration may cause waterways to spill over their banks. Deeper waterways may adversely affect water “I think there is no need to be terrified of what hap- flow due to rapid sediment collection. The worthiness of pens every decade or two. It might not sweep again. But the time taken to dredge waterways should be gauged. this has turned into something that we think we must Dredging is not recommended for large streams or win. Will we stay dry forever? It depends on how men streams affected by high tides and ebb tides. find inspirations or develop processes. After all, floods cannot be cured with unnatural projects,” Sasin said. The widely-discussed alternative is the floodway. Have enough studies been conducted on the geographic Can Floods be conditions, the suitability of the route and the extent Prevented With- of land adjustment? The floodway which must be cut out Any Con- around town cannot be built in every area it has to go struction? across. Attention should be given to limitations and impacts on communities and the environment, ahead of Measures to put up investment worthiness. The floodway may divert water structures have raised eye- in certain areas, but cannot prevent floods in the upper brows, while the nonphysi- plain. Most of all, will the floodway work? cal measures for damage pre- vention and disaster relief “It is wrong to fight floods with structures. Men think they can control and win over nature. But floods ศศนิ เฉลมิ ลาภ Sasin Chalermlarp still strike,” said Sasin Chalermlarp, secretary general of Seub Nakhasathien Foundation. He asked the public to keep an open mind about holistic water management. Thai people should try to accept and understand the nature of river basins and water, and be able to live with flooding. Sasin said floods showed that Thai people settled in the wrong places, in naturally inundated areas. But our ancestors chose flooded sites for farming as water car- ries sediments or nutrients from high mountains or for- ests to low-lying areas. This has made Thailand the top exporter of rice to the world. Overflows balance the ecosystem, such as brooks and streams. Floods refill underground aquifers and sup- port fish life cycle. Sediments deposited by flooding help increase coastal accretion, prevent coastal erosion and sustain the coastal ecosystem. ‘เมอื งน้ำ� ’ วิถีทีแ่ ปรเปลีย่ น ‘Land of Water’ The Way of Life It’s a Changin’

26 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 แล้วไปตืน่ เตน้ กบั มันจนเกินเหตุ ผมว่าไมถ่ กู เพราะมนั อาจจะไมเ่ กิด จะให้ผลต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมท่ีคุ้มค่ากว่ามาก อกี กไ็ ด้ มันเปน็ เรอื่ งท่เี ราจะเอาชนะ เราจะแหง้ กนั ตลอดหรอื ผมว่า และไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูในภายหลังเกิด มนั ขนึ้ อยกู่ บั วา่ คนจะสรา้ งแรงบนั ดาลใจหรอื สรา้ งกระบวนการอยา่ งไร ภยั พบิ ัติในทกุ คร้งั ปญั หาน้ำ� ท่วมไม่ควรแกด้ ว้ ยโครงการทผี่ ิดธรรมชาต”ิ ศศิน กล่าว การจดั การน�ำ้ แบบองคร์ วมเก่ียวขอ้ งกับอะไรบ้าง ไมต่ อ้ งสร้างกแ็ ก้นำ�้ ทว่ มได้? การบริหารจัดการน�้ำจึงเป็นปัญหาเชิงซ้อนจากปัจจัยเกี่ยวข้อง มาตรการใช้ส่ิงก่อสร้างอาจยังสร้างความกังขา ในขณะที่ มากมาย เพราะการจดั การทรพั ยากรนำ้� ไม่ไดห้ มายถงึ เพียงตวั น�ำ้ แต่ มาตรการไมใ่ ชส้ ง่ิ กอ่ สรา้ ง ทปี่ ระกอบไปดว้ ยการปอ้ งกนั ความเสยี หาย หมายรวมถงึ ผนื ดนิ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั นำ�้ ความแปรปรวนของลมฟา้ อากาศ และการบรรเทาทุกข์ มักจะถูกละเลยและมองข้าม แต่แท้จริงตาม ท่ีตอ้ งพยายามพยากรณ์ใหแ้ ม่นยำ� แลว้ ยงั มีเรอื่ งผังเมอื ง การใช้ทด่ี ิน หลักวิชาการของการบริหารจัดการน�้ำท่วม การใช้มาตรการทั้งสอง และทรัพยากร การก่อสร้างสาธารณูปโภค การเตือนภัย การฟื้นฟู อยา่ งร่วมกนั จึงจะเพิม่ ประสิทธภิ าพในการบรรเทาภยั พบิ ัตทิ ด่ี ีย่ิงข้นึ เยียวยาผู้ประสบภัย ตลอดจนการดูแลรักษาป่าต้นน้�ำ ล�ำธาร และ วัฒนธรรมชวี ติ ความเป็นอยูท่ ีเ่ ก่ยี วข้องทัง้ หมด ดังท่ีกล่าวถึงในข้างต้น ที่ผ่านมาปัญหาน้�ำท่วมบ่อยครั้งเกิด ขึ้นจากการไม่บ�ำรุงรักษาคูคลอง คลองส่งน้�ำ คันก้ันน้�ำท่วม ประตู หากต้องการจะเห็นการปฏิรูปการบริหารจัดการน้�ำทั้งระบบ ระบายน้�ำ อาคารบังคับน้�ำ และเครื่องสูบน�้ำ ให้อยู่ในสภาพใช้งาน อย่างบูรณาการ รวมถึงการบริหารจดั การอุทกภัยเชงิ องคร์ วม ปัญหา ไดเ้ ตม็ ศักยภาพ น�ำ้ จะแกไ้ ขไมไ่ ด้ดว้ ยวิธีกอ่ สร้าง เกบ็ กัก และจัดสรรน�ำ้ เทา่ น้นั อกี ทง้ั ไมส่ ามารถแกไ้ ขไดด้ ว้ ยหนว่ ยงานของรฐั เพยี งลำ� พงั แตต่ อ้ งแกป้ ญั หา ขณะเดยี วกนั การพยากรณน์ ำ�้ ทว่ ม การเตอื นภยั นำ้� ทว่ ม การให้ อนื่ ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องไปดว้ ยกันอยา่ งเป็นระบบ ความรแู้ กป่ ระชาชนในการเตรยี มตวั และปฏบิ ตั ติ ามแผนรบั มอื นำ้� ทว่ ม หลงั การเตอื นภยั แผนรบั มอื และแผนอพยพ กถ็ กู วจิ ารณอ์ ยา่ งหนกั วา่ รศ.ดร.กมั ปนาท ภกั ดกี ลุ คณบดคี ณะสงิ่ แวดลอ้ มและทรพั ยากร บกพร่อง ทงั้ ๆ ที่เปน็ มาตรการส�ำคญั ที่สดุ ในการบรรเทาภยั น้�ำทว่ ม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล กลา่ ววา่ จุดอ่อนการบรหิ ารจัดการน้�ำใน ประเทศไทย คือ การแทรกแซงทางการเมอื ง การขาดความเข้าใจใน ส่วนข้อเสนอจากภาคการเกษตรท่ีรัฐบาลอาจมองข้ามไป คือ การจัดท�ำแผนจัดการทรัพยากรน�้ำแบบบูรณาการ และการบริหาร การสนับสนนุ การวิจยั พนั ธ์ขุ ้าวขึน้ นำ�้ พันธข์ุ ้าวทนน�ำ้ ลึก โดยตอ้ งไม่ นำ้� ทั้งระบบลมุ่ นำ�้ น�ำไปสู่การโอนสิทธิในการใช้ประโยชน์จากพันธุ์ข้าวแก่ธุรกิจผูกขาด รายใหญข่ องประเทศ การดำ� เนนิ นโยบายหรอื มาตรการการประกนั ภยั รศ.ดร.กมั ปนาท กลา่ ววา่ แผนยทุ ธศาสตรฯ์ 25 ลมุ่ น้�ำ ทมี่ กี ารนำ� พืชผลทางการเกษตรเพ่ือกระจายความเสี่ยง หรือการจัดการความ มาตรการสง่ิ ปลกู สรา้ งมาใช้ เกอื บ 100% นน้ั มคี วามเหมอื นกนั ในทกุ เสี่ยงใดๆ เพ่ือแก้ไขปัญหาระยะยาวอย่างเป็นระบบ ฯลฯ ซ่ึงน่าจะ ยคุ ทุกสมัย คือ ยงั แยกส่วนเฉพาะกรม กองน้นั ๆ ที่ตา่ งคนตา่ งทำ� ไม่ ช่วยลดความเสยี หายให้เกษตรกรไดเ้ ป็นอยา่ งมาก ไดส้ อ่ื ถงึ การเชอ่ื มโยงระหวา่ งหนว่ ยงานทจี่ ดั ทำ� แผนจดั การนำ้� ภายใน ลมุ่ นำ�้ เดยี วกนั และไมส่ อ่ื ถงึ การเชอ่ื มโยงระหวา่ งทรพั ยากรนำ�้ กบั ฐาน ในประเด็นใหญ่ เช่น การจัดการการใช้ท่ีดินหรือการวางแผน ทรพั ยากรอน่ื ๆ ในลุ่มน�้ำท้ังระบบ รวมถึงการเปลยี่ นแปลงของการใช้ ควบคุมการใช้ท่ีดิน จะเป็นการปรับรูปแบบการใช้ท่ีดินให้รองรับ ประโยชนท์ ดี่ นิ ขาดความเชอ่ื มโยงถงึ โครงการเดมิ ตา่ งๆ ทมี่ อี ยกู่ อ่ นใน เหตุการณ์น้�ำท่วมในบริเวณที่จะมีการพัฒนาในอนาคต มาตรการน้ี ลมุ่ น�ำ้ ตง้ั แตอ่ ดตี ไม่มกี ารกระจายอำ� นาจการจัดการไปยังทอ้ งถิน่ ซึ่ง ถือเป็นมาตรการที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลกว่าสามารถลดความ เปน็ ผปู้ ระสบเหตแุ ละเปน็ เจา้ ของพน้ื ที่ และไมส่ อื่ ถงึ กบั การมสี ว่ นรว่ ม เสียหายจากน�้ำท่วมในระยะยาวได้ ปัญหาในประเด็นนี้รวมถึงการ ของคนในท้องถ่ิน เช่น การเพ่ิมความเข้มแขง็ ของกลุ่มเกษตรกร กลุม่ ตง้ั ถนิ่ ฐานทร่ี กุ ลำ้� เขา้ ไปในแนวทางเดนิ ของนำ�้ เชน่ การถมทสี่ รา้ งบา้ น ผู้ใช้น้�ำ และองค์กรลุ่มน้�ำ ให้มีความรู้ความสามารถในการวางแผน จดั สรรในพนื้ ทน่ี านำ้� ทว่ มถงึ , การจดั ระบบคคู ลอง แมน่ ำ้� และแหลง่ นำ�้ บริหารจัดการลุ่มน�้ำย่อย เพื่อเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายลุ่มน�้ำขนาด ไมถ่ กู ตอ้ ง เชน่ การสรา้ งเขอ่ื นกกั เกบ็ น้�ำขนาดใหญ่ ท�ำใหม้ กี ารกกั เกบ็ ใหญ่ท่ีมีพลังแกไ้ ขปัญหานำ�้ ทใี่ หญ่ข้ึนในระดบั ลมุ่ น�้ำ น�ำ้ จ�ำนวนมาก ขดั ต่อธรรมชาตทิ ่นี ำ�้ จะต้องไหลลงพ้ืนทต่ี �่ำ บางคร้ังมี ปญั หาในการระบายนำ้� ไมท่ นั , การเปลยี่ นแปลงสภาพทางนำ�้ เสน้ ทาง การบริหารจดั การน้�ำเกีย่ วโยงกนั หลายมิติ เช่น ประวตั ิศาสตร์ นำ�้ หรอื การบกุ รกุ ทางนำ�้ ทำ� ใหก้ ารไหลของนำ�้ เรว็ เกนิ ไป, การกอ่ สรา้ ง การตงั้ ถนิ่ ฐานของมนษุ ยใ์ นแหลง่ นำ้� องคค์ วามรแู้ ละวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ สง่ิ ปลกู สรา้ งและการดำ� เนนิ วถิ ชี วี ติ ทไี่ มเ่ หมาะสมหรอื ไมส่ อดคลอ้ งกบั ในการจัดการทรัพยากรในลุ่มน้�ำ ความเข้าใจ ระบบนิเวศของน�้ำ รวมถึงระบบการผันน้�ำ การกักเก็บน�้ำ และการ ในสภาพภูมิประเทศ ระบบนิเวศ ชุมชน ระบายนำ้� ที่ขาดประสิทธภิ าพ การใช้ท่ีดิน และทรัพยากรท่ีเชื่อมโยงกัน จากป่าต้นน้�ำบนภูเขา ล�ำธาร จนถึงท้อง กุญแจส�ำคัญทจ่ี ะแก้ไขปัญหาน้มี คี วามยากในทางปฏบิ ัติ นนั่ คือ ทะเล จึงเกี่ยวโยงกับความรู้ท่ีหลากหลาย การควบคุมบังคับใช้ผังเมอื ง (Zoning) และการควบคุมสิ่งปลกู สร้าง ในเชิงวิชาการ ไม่ใช่ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ และการพัฒนา ตัวอย่างเช่น มาตรการในการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง เทคโนโลยี และโครงสร้างทางเทคนิค บริเวณพ้ืนท่ีน้�ำท่วม ขวางทางน้�ำ หรือเป็นอุปสรรคต่อการระบาย วศิ วกรรมโดยตรงเทา่ น้ัน ดงั นั้นการ น�้ำ และชุมชนที่อยู่อาศัยบริเวณน้�ำท่วม แม้แต่ในบางพ้ืนท่ีที่มีการ ท�ำงานและแก้ไขปัญหาแบบ ประเมนิ แลว้ วา่ จะไดร้ บั ความเสยี หายอยา่ งหนกั จากนำ�้ ทว่ มและไมค่ มุ้ ค่าในการเสยี ค่าใช้จา่ ยเพ่ือฟน้ื ฟู แตก่ ารรื้อถอนต้องยอมให้เกิดความ รศ.ดร.กัมปนาท ภักดกี ลุ สญู เสยี ดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมมหาศาลในระยะสน้ั สว่ นในระยะยาว Assoc Prof Dr Kampanad Bhaktikul

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 27 กรงุ เทพ – ตำ� รวจนายหนง่ึ ไดแ้ ต่นั่งมองชาวบ้านเหนือคนั ก้นั น้�ำร้อื แนวบ๊ิกแบ็คบริเวณถนน and ineffective water diversion, retention and drainage พหลโยธินดอนเมอื ง เนือ่ งจากเจอนำ้� ทว่ มขงั มายาวนาน โดยไม่สามารถทำ� อะไรได้ systems. Bangkok-A policeman can only watch a group of area residentsdismantle a The issue is how to execute zoning and control con- “big bag” barrier along Phahon Yothin Road in Don Muang district blamed struction and development. For example, there should forworsening the flood in their neighborhood be measures to remove structures which are located in flooded areas, block water flow or impede water drain- have often been neglected and overlooked. Theoretically, age as well as to relocate communities from flooded both measures must be employed together for greater areas, even in areas evaluated as likely to be devastated efficiency in disaster mitigation. by floods and where rehabilitation would not be worth- while. But it must be accepted that the removal will incur Frequent flooding results from failures to maintain huge economic and social losses in the short term. In the in full operational condition canals, irrigation canals, long run however, the measure is economically, socially flood barriers, sluices, water control buildings and water and environmentally worthwhile and avoids repeated pumps. expenses on post-disaster relief and restoration. At the same time, flood predictions and warnings What Can Integrated Water Manage- and public education on flood preparedness and compli- ment Deliver ance with flood response plans, flood defense plan and evacuation plan, which are forefront in flood mitigation, Water management is complicated with many fac- received harsh criticism for their failures tors involved. Water management extends to not only water, but also affected land, attempts to accurately The government has unfortunately ignored the predict volatile weather, zoning, utilization of land and agricultural sector’s call for backing of research into a resources, construction of public utilities, warning sys- photosensitive floating rice variety and a deep-water rice tems, victim rehabilitation, and maintenance of water variety, without transferring the right to utilize the devel- sources, forests, streams, and culture, and the way of life oped rice varieties to the country’s dominant business of all relevant parties. operators. The agricultural sector also requested a policy or measure to insure agricultural produce which would The integrated reform of water management sys- diversify or manage risks. This would solve the problem tem includes holistic flood management. Floods cannot in the long-term systematically and help spare farmers be solved with construction, water retention, and alloca- from substantial damages. tion, or by public agencies alone. All relevant issues must be addressed at the same time in a systematic manner. Most importantly, land utilization management or control will ensure that land will be developed to suit Assoc Prof Dr Kampanad Bhaktikul, dean of the flood exposure of the areas. This measure is globally Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol accepted for mitigating flood damages over the long University, identified political intervention and the lack term. Furthermore, the measure covers settlements that of understanding of the need to map out integrated encroach on water paths (such as the construction of real water management plan and river basin-based water estate projects on flood-prone farmlands), incorrect plan- management as two weaknesses in water management ning of canals, rivers and water sources (such as the con- in Thailand. struction of a large-scale reservoir which can store a mas- sive amount of water and be inconsistent with the nature Dr Kampanad said the 25 River Basins Strategic of water that must flow to low land and probably lead to Plan employs almost 100% construction measures. Simi- overflows), change in water conditions and water ways lar to the past attempts, different government agencies or encroachment on waterways thereby speeding up the have prepared their own parts of water management rate of water flow, inappropriate construction, lifestyles plan for the same river basin, but have not communi- that are unfit for or inconsistent with water ecosystem, cated with one another. As a result, water resources are not linked with other resources in the same river basin under the scheme. Change in land utilization does not take into account the projects implemented in the past. Management power is not granted to the locals, who are the victims and owners of the areas. The scheme leaves out local participation, failing to strengthen farmer groups, water user groups and river basin organizations, and to educate the locals on management of sub-river basins so that they can connect with the large-scale river basin network with power to solve water problems on the river basin scale. Water management has many dimensions, such as history, settlements in watershed areas, body of local knowledge and culture in respect of management of “เมอื งน้ำ� ” วถิ ีท่แี ปรเปลีย่ น ‘Land of Water’ The Way of Life It’s a Changin’

28 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 สหวิชาชีพในเชิงบูรณาการ ต้องการหลากวิธีคิดจากทุกๆ ภาคส่วน สภาพปัญหาในระดับพื้นท่ีเป็นอย่างดี เพราะพื้นที่แต่ละพื้นที่จะมี ในการจดั การ ระบบการไหลของน�้ำแตกตา่ งกันไป และเข้าใจถงึ ความเปลย่ี นแปลง ท่ีจะเกิดขน้ึ ตลอดเวลา แตใ่ นความเปน็ จรงิ จะมคี วามเปน็ ไปไดอ้ ยา่ งไรทนี่ กั วทิ ยาศาสตร์ หลายแขนง วศิ วกร นักนเิ วศวทิ ยา นกั สังคมศาสตร์ นกั สงั คมวทิ ยา “หลายคนไม่รู้ว่าคนไทยเกิดจากลุ่มน�้ำ เราไม่รู้ว่าเราอยู่ในลุ่ม นักผงั เมือง วศิ วกรแหลง่ น้�ำ นักธรณีวทิ ยา นกั กฎหมาย นักการเมอื ง น�้ำอะไร ติดคลองอะไร หรือไม่รู้แม้กระทั่งว่าทุกวันรอบๆ ตัวคุณใช้ ข้าราชการส่วนกลาง กับข้าราชการส่วนท้องถ่ิน จะร่วมมือกับชาว ทรัพยากรอะไรอยู่ ความรู้เรื่องธรรมชาติของน้�ำเป็นเร่ืองส�ำคัญท่ีจะ บ้านและชุมชน ท�ำงานกันอย่างสอดคล้อง โดยมีประเด็นใหญ่ของ ท�ำให้เข้าใจว่า มนุษย์จะอยู่ในระบบนิเวศของน�้ำได้อย่างเหมาะสม การทำ� งานร่วมกนั อยา่ งไร และสมควรจะปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หานำ�้ ทว่ มอยา่ งไร การนำ� ความรู้มาวางแผนแกไ้ ขปัญหานำ�้ มาแปลงเปน็ นโยบาย แผน วธิ กี าร ในความเหน็ ของ รศ.ดร.กมั ปนาท หวั ใจสำ� คญั ของการจดั การนำ้� และกระบวนการบรหิ ารจดั การลมุ่ นำ�้ จงึ เปน็ ทางออกทจี่ ะชว่ ยใหเ้ กดิ แบบองค์รวม และการแกป้ ญั หาน้ำ� ท่วมอย่างเปน็ ระบบ จะกระทำ� ได้ การเชอ่ื มโยงองคค์ วามรไู้ ปสกู่ ารจดั การแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ องคร์ วมทง้ั ตอ่ เมอ่ื ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งสามารถมองเหน็ ภาพรวมของการจดั การนำ้� ภาพ ระบบได”้ รศ.ดร.กัมปนาท กลา่ ว รวมของปญั หา ต้องเขา้ ใจสภาพธรรมชาตขิ องน�้ำในทกุ มิติ ตอ้ งเข้าใจ ในท้ายที่สุด หากค�ำถามน�้ำจะท่วมอีกหรือไม่ และจะจัดการ อย่างไร ยังเปน็ ค�ำถามท่คี นไทยอยากรู้ ซงึ่ หากตง้ั ธงสงู สง่ ในเชงิ ปรชั ญาสงิ่ แวดลอ้ ม จากอทุ กภยั ครงั้ รา้ ย แรงในรอบ 50 ปี คนไทยจะกลับมายอมเคารพระบบนิเวศล่มุ น้�ำท่ยี ่ิง ใหญ่ และจะมวี ถิ ชี วี ติ ทหี่ วลกลบั มาสอดคลอ้ งกบั กฎธรรมชาตแิ หง่ ลมุ่ น้ำ� อกี ครงั้ ได้หรอื ไม่ ส�ำหรับค�ำถามเร่ืองการจัดการน้�ำท่วม คนไทยจะเลือกแก้ไข โดยการเอาชนะธรรมชาติ หรือกลับมามองโดยให้ระบบนิเวศเป็น ศูนย์กลางอีกครงั้ ไดห้ รอื ไม่ ส�ำหรบั ค�ำถามถึงวถิ ีชวี ิตเหล่านี้ คนไทยคดิ วา่ ยังมีเวลาชวั่ ลูกชว่ั หลานเพือ่ หาค�ำตอบอีกหรือ... n river basin resources, understanding of geography, eco- when all related parties fully grasp the overall picture of system, community, land use and connected resources water management and companion problems, the nature ranging from water source forests on mountains, streams of water in all dimensions and the problems on the to the sea. It involves a vast array of academic knowl- ground. This is because water flow system differs from edge, not only scientific data, technological data and area to area. They also need to understand that change engineering technology structures. The multi-disciplin- can happen at any time. ary, integrated operations and problem solving require inputs and actions from all sectors. “Many Thai people do not know that they are liv- ing in river basin areas. They are clueless when asked to In practice, how can scientists from various fields, name the river basin they are living in. What is the canal engineers, ecologists, social workers, sociologists, city their house is adjacent to? What resources they consume planners, water resource engineers, geologists, law practi- daily? The knowledge of the nature of water is a key tioners, politicians, and central and local government offi- to understand how men can properly live in the ecosys- cials work in harmony with villagers and communities? tem of water and how to prevent and solve flooding. The knowledge will be employed to solve water issues and Dr Kampanad believed holistic water management formulate policies, plans, approaches and processes for and systematic flood prevention can be accomplished river basin management. The connection of the body of knowledge will lead to systematic, holistic problem solv- ing,” said Dr Kampanad. In the end, Thai people still wonder whether floods will strike again and how to handle them. If the goal is set for an environmental philosophy from the worst floods in 50 years, will Thai people revive their ancestors’ respect in the great river basin ecosystem and thereby live in harmony with the laws of river basin nature? Will Thai people choose to fight floods by beating nature or focusing once again on the ecosystem? To these questions about their way of life, do Thai people think they still have the luxury of time to decide? n

ไเรมาผ่ เิดปห็นร“อเกมทือล่ี งมื นวำ้� า่” Not Wrong ไม่ผิดท่ีคนปัจจุบันส่วนใหญ่ไม่เคยใช้ชีวิตอยู่บน to Forget that We บา้ นยกใตถ้ นุ สงู ไมเ่ คยมเี รอื เอาไวใ้ ชใ้ นหนา้ นำ�้ หลาก Are Living in the ไม่เคยใช้เรือสัญจรไปมาในคู-คลอง ไม่เคยดักกุ้ง ดักปลาที่มาพร้อมกับน�้ำหลากในหน้าฝน ไม่เคย “MLand of Water”ost Thai people nowadays do ทำ� นา-ทำ� สวนท่ตี ้องพึง่ พาฟา้ ฝนตามฤดูกาล not live in a house on stilts, own a boat for using during the high เพราะคนรุ่นใหมม่ ีห้วงชวี ติ แตกตา่ งกันดว้ ยสภาพแวดลอ้ ม water season, commute by boat นับพันปีแห่งสังคมชาวนา ซ่ึงสะท้อนถึงภูมิหลังของสังคมไทย along canals, harvest shrimps ท่ีตั้งอยู่ในบริเวณดินดอนสามเหล่ียมใหม่ เรือกสวนไร่นาต้องอาศัย and fish that wash downstream น้�ำหลากท่ีพัดพาตะกอนสารอาหารอันสมบูรณ์มาตามฤดูกาล วิถี with high tides during the rainy season, and tend ชีวิตจึงสัมพันธ์อยู่กับน้�ำ มีการปรับตัวให้สอดคล้องกับระบบนิเวศ paddy field or farmland that relies heavily on seasonal ลุ่มน�้ำ ท่ีราบลุ่มน้�ำ ล�ำคลอง และท้องทุ่ง กระทั่งถูกปรับเปลี่ยนมา rainfall. เป็นสงั คมอตุ สาหกรรมขนานใหญ่ในยุค 50 ปีหลังจากที่ประเทศไทย มีแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บับที่ 1 เมอ่ื ปพี .ศ. 2504 This is because the new generation lives in a com- “ในน�้ำมีปลา ในนามีข้าว” จึงกลายเป็นค�ำที่คนส่วนใหญ่รับรู้ pletely different context. ท่องจ�ำได้ แต่แท้จริงอาจเป็นเร่ืองยากท่ีคนสมัยน้ีจะเข้าใจได้อย่าง ลึกซึ้ง เพราะวิถีชีวิตของคนส่วนใหญ่แทบจะถูกแยกขาดจาก ราก For a thousand years, rural society mirrored the เหง้าดั้งเดมิ รวมทัง้ ยงั ถกู แยกขาดจากธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม time when Thais settled in the new triangle delta. มาอย่างตอ่ เนอื่ ง Farming depended on fertile sediments that were delivered seasonally. They coexisted with water and adjusted to the ecosystem of river basins, flooded ลพบุรี – แม้นำ้� ทว่ มจะสร้างความเดือดร้อนใหก้ บั ชาวบา้ น แต่ในเด็กเลก็ ก็ไมห่ วน่ั ยังใช้ โอกาสน้ีสรา้ งความสนกุ ได้ชัว่ คราว Lop Buri – Floods may cause hardships to adults but they can’t stop small children from having fun, even if temporarily.

30 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 นนทบรุ ี – นำ้� ทว่ มไมก่ ระทบนกั กบั แม่คา้ ขายกลว้ ยป้งิ ท่ตี ลาดนำ�้ วดั ตะเคียน Nonthaburi – Floods are no problem for a roasted banana vendor in her boat at Wat Takian Floating Market. แรงเหวี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสังคมเกษตรไปสู่สังคม สว่ นใดเอาไปเปน็ สมบตั สิ ว่ นตวั หรอื เพอ่ื กจิ การอน่ื ๆ ทผี่ ดิ ธรรมชาติ คอื อุตสาหกรรม ได้แสดงออกผ่านจิตวิญญาณของคนไทยอย่างชัดเจน การละเมดิ ผดิ ตอ่ สงั คมและผคู้ นทอ่ี ยรู่ ว่ มกนั และไมม่ สี งิ่ ใดจะดแู ลได้ เม่ือคนไทยในเมืองน�้ำ กลายเป็นคนกลวั น้�ำ ดไี ปกว่ามอบอำ� นาจนใ้ี ห้แก่การดแู ลของส่ิงศกั ดสิ์ ิทธเิ์ หนอื ธรรมชาติ แต่ “กลวั นำ�้ ท่วม” ก็ไมใ่ ช่เร่ืองผิด พ้ืนฐานของมนุษย์ในระบบด้ังเดิมน้ันเห็นว่าพ้ืนท่ีสาธารณะ “ถ้าน้�ำสามารถคาดการณ์ ค�ำนวณได้อย่างตรงไปตรงมา คง เป็นของส่วนรวม แต่มนุษย์ก็เริ่มสร้างความเช่ือใหม่ๆ เพ่ือท้าทาย ไม่มีใครยกให้เป็นเพศหญิง” สุรจิต ชิรเวทย์ สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) อ�ำนาจศักด์ิสิทธิ์ในการควบคุมการอยู่ร่วมกันมาเม่ือไม่กี่ร้อยปีมานี้ สมทุ รสงคราม กล่าวด้วยรอยยิม้ ซ่ึงปรากฏในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรมทางฝ่ายตะวันตก ท่ีมีความ ในประเทศทค่ี นไทยเรยี กมวลนำ้� ทว่ มกอ้ นใหญท่ พ่ี ยายามหาทาง คิดควบคมุ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ยด์ ว้ ยกนั เอง ไปจนถงึ ปรากฏการณใ์ น แผไ่ หลจากทส่ี งู ผา่ นทงุ่ ราบ ผา่ นบา้ นเมอื ง เพอ่ื ลงสทู่ ะเลวา่ “นอ้ งน้�ำ” ยคุ อาณานคิ มและโลกาภวิ ตั นต์ ามลำ� ดบั ในขณะทพ่ี น้ื ทท่ี างวฒั นธรรม และอาจจะเป็นคร้ังแรกในรอบ 50 ปีที่คนไทยส่วนใหญ่ได้ ในท้องถิ่นต่างๆ อีกจ�ำนวนมากไม่ได้เช่ือเช่นเดียวกัน จึงเกิดความ ตระหนักอยา่ งจริงจังถึงพลงั แห่งสายน้ำ� ถงึ ถิน่ ฐานในท่รี าบลุ่มแมน่ ้�ำ ลกั ลนั่ ขดั แยง้ ของความเชอื่ ดงั้ เดมิ ทย่ี อมตอ่ อำ� นาจศกั ดสิ์ ทิ ธแิ์ ละปรบั ไม่ว่าจะพยายามใช้เครื่องมืออย่างไรในการเก็บ กัก กั้น ผัน เบ่ียง ตัวต่อโลก กับความเช่ือท่ีต้องการควบคุมและเชื่อว่ามนุษย์สามารถ “น�ำ้ ” ยงั คงเต็มเป่ยี มไปดว้ ยพลงั แห่งสายธาร ทเ่ี ชือ่ มร้อยทกุ ชวี ิตให้ ควบคุมโลกโดยตัดขาดมติ คิ วามสมั พนั ธก์ บั สง่ิ เหนอื ธรรมชาติออกไป ขับเคลอ่ื นไปในวงจรธรรมชาติ รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม นักโบราณคดีและที่ปรึกษามูลนิธิ การพฒั นาเศรษฐกจิ การเมอื ง และวฒั นธรรม ซง่ึ มองอดตี อยา่ ง เล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ เขียนไว้ในบทความ “การศึกษาสังคม หยดุ นงิ่ และเนน้ แตเ่ รอื่ งปจั จบุ นั อาจไมใ่ ชค่ วามเปลยี่ นแปลงทน่ี ำ� ไปสู่ ไทยผ่าน ‘ภูมิวัฒนธรรม’” โดยกล่าวถึงสภาพนิเวศตามธรรมชาติ การล่มสลายของสังคมท้องถ่ิน เท่ากับขาดเสียซึ่งมิติในการท�ำความ อนั ประกอบดว้ ย แมน่ ำ้� ลำ� นำ�้ ใหญน่ อ้ ย หนอง บงึ ซง่ึ มกี ารเคลอื่ นไหว เขา้ ใจความสมั พนั ธข์ องมนษุ ยก์ บั สภาพแวดลอ้ ม และอำ� นาจศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ เปลยี่ นแปลงตามฤดูกาล ตา่ งๆ ซ่ึงเคยประคับประคองสังคมมนษุ ยม์ าทกุ ยคุ ทุกสมยั ” “ความเขา้ ใจเรอ่ื งพลวตั ของธรรมชาตแิ วดลอ้ มนน้ั ทำ� ใหไ้ มม่ กี าร ตดั ขาดความสมั พนั ธใ์ นระบบนเิ วศจากภเู ขาสงู อนั เปน็ ตน้ นำ้� ลำ� ธารไป ลกู แมน่ ้�ำ ลกู ทุ่ง ลูกกรุง จนถงึ ลำ� หว้ ยสาขา แม่น�้ำและแหลง่ พกั น้ำ� ตามหนองบึงที่ไหลหมุนไป ตามฤดกู าล การเชอื่ มโยงของระบบนเิ วศเหลา่ นที้ ำ� ใหเ้ กดิ ความสมดลุ คนไทยตงั้ รกรากอยูใ่ นเขตมรสมุ ไมข่ าดแคลนน้�ำ ด้วยลกั ษณะ และรักษาคุณภาพของระบบนิเวศอันหลากหลายที่มิใช่มีเพียง ‘น�้ำ’ ทางกายภาพและสภาพภูมิประเทศซึ่งเป็นพ้ืนที่ลุ่มน�้ำ ภูมิประเทศ หรือ ‘ปลา’ แต่คือสิ่งมีชวี ิตในธรรมชาติรวมท้ังมนุษย์ดว้ ย ตอนบนจากยอดเขาต้นน�้ำล�ำธาร มาสู่ท่ีลาดชัดอุทัยธานี ลงมาสู่ทุ่ง ผู้คนในสมัยโบราณมักจะมีความคิดและความเชื่อท่ีว่า แผ่นดิน ลาด ในวัฒนธรรมทอ้ งทุ่งของภาคกลาง แหล่งก�ำเนิดวัฒนธรรมขา้ ว ปา่ เขา แมน่ ำ�้ หนองบงึ และลำ� หว้ ย ในภมู ปิ ระเทศทเ่ี ปน็ ภมู วิ ฒั นธรรม เคลา้ เพลงลกู ทุ่ง ของคนภายใน คือสมบัตขิ องอำ� นาจเหนอื ธรรมชาติในจกั รวาล ผคู้ น คือผู้อยู่อาศัย หาได้เป็นเจ้าของอย่างแท้จริง การแบ่งแยกส่วนหนึ่ง แม้ความรู้พื้นฐานเหล่านี้จะถูกบรรจุไว้ในบทเรียนท่ีเด็กไทย ต้องผ่านหูผ่านตามาโดยตลอด แต่ภาพของชาวบ้านที่ยังเรียกตัวว่า “ลูกทงุ่ ” ในหนา้ น�ำ้ แหง้ หรอื “ลูกแมน่ ำ�้ ” ทอี่ ยรู่ ิมตลงิ่ กลบั เปน็ ผู้มี ภมู ปิ ญั ญา มสี ติ มคี วามเคยชนิ ในการรบั มอื กบั นำ้� ทว่ มใตถ้ นุ บา้ น และ

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 31 son of the ecosystem, which ranges from water sources to river branches, rivers and other catchment sites, such as swamps and lagoons. Seasonal flows and linkages of the ecosystem strike a balance and maintain biodiversity quality of not only ‘water’ or ‘fish’ but also other living things, including humans. “People in the past thought and believed that land, forests, rivers, swamps, dams and streams in the land- scape, which also serve as the cultural landscape of the residents, were the property of the supernatural in the Universe. Men lived in and on them, but did not own them. The breaking down of nature into parts for per- sonal possession or for other businesses is unnatural and a violation or a breach of society and the general public. Nothing can do a better job of guardianship than the holy, supernatural spirit. นนทบรุ ี – น�้ำท่วมบางบวั ทองครั้งนี้มาเร็วและสงู มาก กะบะผสมปูนจงึ กลายเปน็ เปลลอยน�ำ้ ใหก้ บั “Fundamentally, men in the original system viewed ลูกน้อยส�ำหรบั คุณพ่อทตี่ อ้ งชว่ ยครอบครวั หนีนำ้� that public areas were for the public. Only hundreds of years ago, men came up with new beliefs in a move to Nonthaburi – The flood arrives in Bang Bua Thong fast and furious. This challenge divine control over coexistence. During the cement mixer pan thus becomes a floating cradle for the man’s baby during the evacuation of his flooded home. plains, canals and fields. Thai society became a large- Industrial Revolution, the West thought of controlling scale industrial society in the course of 50 years following nature and men. This led to the colonial and globaliza- tion eras. At the same time, local cultures did not share เร่ือง แมน้ วาด กญุ ชร ณ อยุธยาthe launch of the First National Economic and Develop- the same beliefs. The former belief in surrendering to ภาพ ดิลก ตามใจเพ่ือนment Plan in 1961. the holy spirits and adjusting to the earth came into con- flict with the new belief that men are capable of control- “In the water, there is fish, in the fields, there is rice,” ling the earth by shunning away from any relationship a famous line from an ancient inscription, became one with the supernatural. that most people knew by heart. But the line is hard for the current generation to understand because most of “The economic, political and cultural developments them have been torn from their roots, and separated that view the past as a standstill and focus only on the from nature and the environment. present might not contribute to the fall of local society as much as the lack of understanding of man’s relationship The shift from farming society to industrial society is reflected in the Thai consciousness when people born in with the environment and the holy spirits that have been the Venice of the East are fearful of water. the pillars of human society for ages.” But there is nothing wrong about “fear of floods.” “If water could be accurately predicted and calcu- Children of Rivers, Fields and Cities lated, it would not have a feminine gender,” said Surachit Thai people settled in a monsoon zone with abun- Chiravet, senator from Samut Songkhram province, with a grin. dant water supply. The physical and geographic condi- tions of river basins range from mountaintops which are What may be a national smile is that amidst the water sources to the sloping areas of Uthai Thani prov- flood crisis Thais called the surging masses of water ince down to the low-lying areas. The farming culture of that fanned from high grounds to lowlands and smashed the Central Region gave rise to the culture of rice and through cities in order to make way to the sea as “Nong country music. Nam (literally meaning little sister water).” The fundamental knowledge is included in text- This was probably the first time in 50 years that books for all Thai children. But only villagers who call most Thais recognized the force of waters in the low- themselves “field men” in the dry season and “river men” lying river basin. Regardless of tools employed to store, along river banks make good use of such knowledge, stay dam up, prevent, redirect or divert Nong Nam, “water” calm and get used to handling floodwaters that occupy was so powerful that it linked and drove every life under the ground floor of their elevated homes and moving the cycle of nature. their belongings above water. All fruit and other types of Prof Srisak Vallibhotama, anthropologist and advi- trees planted for consumption and sale are well picked sory to the Lek-Prapai Viriyapan Foundation, wrote in for coexistence with water. For example, bamboo bushes his article titled “Study of Thai Society through ‘Cul- serve as a barrier to slow down natural water flows. In tural Landscape’” that natural ecological conditions, the time of floods, bamboo wood is used as poles, beams, which comprise rivers, streams large and small, swamps floors, rafts, and strips to support, tie up, plunge down and lagoons, move and change from season to season. or prop up belongings above water. If damaged, the “The dynamism of nature and the environment belongings can be restored. means an uninterrupted relationship from season to sea- The high tide season is indeed a season of joy and ไมผ่ ิดหรอกที่ลมื ว่าเราเปน็ “เมอื งนำ้� ” Not Wrong to Forget that We Are Living in the “Land of Water”

32 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 เพชรบุรี – ประเพณแี ข่งเรืออยคู่ ู่กบั เมืองนำ�้ อยา่ งประเทศไทยมาแสนนาน ในแมน่ ำ้� เพชรบุรที ี่สายน�ำ้ กรุงเทพมหานคร – แม่คา้ ข้าวแกงคนน้ยี นื ยนั จะออกมาขายของบรเิ วณท่าพระจนั ทร์ เพื่อ ไม่กว้างนัก แตต่ ลอด 500 เมตรของการแข่งขัน นายท้ายต้องคดั ท้ายไม่ใหเ้ รอื ชนสะพานทีม่ ีถงึ ตอ้ งการให้คนแถวนั้นมีข้าวกนิ ในยามทร่ี ้านอ่นื ปดิ หมด สามสะพาน สนามแขง่ นจี้ ึงเปน็ สนามปราบเซยี นอยา่ งแทจ้ รงิ Bangkok – When the flood forces other food vendors to close shop, Phetburi – Rowing competition is a long tradition for the “land of water” residents in the Tha Phra Chan neighborhood are lucky to find this tough like Thailand. The Phet Buri River presents competitors a particularly tough vendor still carrying on her occupation selling ready-made food. challenge as they have to steer around the pillars of three bridges along the 500m course to get to the finish line. สุรจิตแนะวา่ ในการวางยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การนำ้� ก่อนอ่นื ต้อง ถามวา่ “เราจะยอมให้น�ำ้ ท่วมบ้าน แต่ไม่ทว่ มวิบัติ ไดห้ รือไม”่ ซ่ึงเขา การย้ายของขึ้นท่ีสูงหนีน้�ำ ผลหมากรากไม้ท่ีปลูกไว้เก็บกิน ค้าขาย บอกว่าคนเมอื งยอมใหน้ �้ำท่วมได้ เพ่อื เปน็ การเฉล่ียพนื้ ที่รบั น้�ำ ใหน้ �ำ้ ลว้ นแลว้ แตเ่ ลือกสรรคม์ าอยา่ งดีแลว้ ว่าสามารถอยู่กับน้ำ� เช่น กอไผ่ ผา่ นไปได้ ปอ้ งกนั ไวเ้ ฉพาะพ้ืนท่ีส�ำคญั สงู สุดเทา่ น้นั ท่ปี ลกู นอกจากจะเปน็ แนวรั้วลดทอนกระแสนำ้� ตามธรรมชาติ เวลา นำ้� ท่วมสามารถตัดมาทำ� หลัก เสา คาน พนื้ ต่อแพ จักตอก ส�ำหรบั “ส่วนวิธีคิดของการแก้ไขและการฟื้นฟูท่ีคุ้มค่ากว่าการไป หนุน-ค�้ำ-ผูก-ปัก-ยัน ข้าวของให้พ้นจากระดับน�้ำ ข้าวของไม่ทัน หาพ้ืนที่ที่นับวันจะราคาแพงมาเป็นแก้มลิง หรือเป็นพ้ืนที่เพื่อขุด เสียหาย หรือเสียหายกซ็ อ่ มแซมขึ้นมาใหมไ่ ด้ คลองใหม่ คือใหค้ ดิ ถงึ สงิ่ ทมี่ อี ยู่ 1,600 กว่าคลอง ถ้านำ� ความยาวมา ตอ่ กันจะได้ 2,6000 กว่ากโิ ลเมตร ขดุ ลอกใหพ้ ร้อมสำ� หรบั การรับน�้ำ หนา้ นำ้� จงึ เปน็ เทศกาลแหง่ ความสขุ ในการหาผกั หากงุ้ -หอย-ป-ู การต้ังนิคมอุตสาหกรรม การสร้างอาคารบ้านเรือน ไม่จ�ำเป็นต้อง ปลา ทกุ มอ้ื มอี าหารโอชะทก่ี นิ กนั อม่ิ หมพี มี นั มากเสยี กวา่ ตอนนำ�้ เปน็ เปลี่ยนวิถีที่สัมพันธ์กับน�้ำ ด้วยความสามารถทางวิศวกรรมท่ีเจริญ ปกติ ที่เหลอื ยงั ท�ำแหง้ ทำ� เคม็ ท�ำรา้ เกบ็ ไว้กนิ ไดต้ ลอดทง้ั ปี หลังนำ้� ก้าวหนา้ ไปมาก ลดเร่ิมหว่านไถท้องทุ่งที่เพ่ิงได้รับตะกอนธาตุอาหารสมบูรณ์ท่ีมากับ นำ้� หลากให้เปน็ ท้องนา เพ่อื รอเกบ็ เก่ยี วในฤดูถัดไป “บทเรียนจากน�้ำทว่ มท่เี ราได้รบั คอื การไมถ่ อดบทเรยี น หรือ การถอดบทเรียนไม่ทัน ท�ำให้ไม่มีนโยบายที่ชัดเจน จนน�ำไปสู่การ วถิ ชี วี ิตทอ้ งถ่ินแบบนยี้ งั คงเวยี นวา่ ยอยใู่ นสงั คมชนบท แต่กลบั แก้ไขที่เพมิ่ ความขัดแยง้ ต่อธรรมชาตมิ ากขึน้ ” สรุ จิต กล่าว มีความแตกต่างจากภาพหน้าน�้ำของคนกรุงในสังคมเมืองอย่างกลับ ทิศกลับทาง ที่ซึ่งน�้ำท่วมหมายถึงความตื่นกลัวท่ีจ�ำเป็นจะต้องสร้าง วถิ ีไทยกบั สายนำ�้ ? ระบบป้องกันตนเอง หากมองผ่านสายตาของนักอนุรักษ์และนักสังคมวิทยา สุรจิต ชิรเวทย์ นักคิด นักเขียนและสมาชิกวุฒิสภาจาก น�้ำท่วมเป็นปัญหาของสังคมเมืองจากการลืมมโนส�ำนึกของวิถีไทย สมุทรสงคราม พยายามให้ความหมายกบั สังคมกรงุ เขากลา่ วว่าการ กบั สายน้�ำ และมรดกของภมู ปิ ญั ญาที่หดหายไปตามสภาพสังคม ใน ที่คนกรงุ ถอื ว่าน�้ำท่วม คอื ปัญหา คอื อุทกภัย ก็ไม่ถอื เปน็ ความคดิ ท่ี ขณะที่นโยบายรัฐก�ำลังเดินหน้าสู่การเคลื่อนย้ายน้�ำข้ามลุ่มน�้ำ การ ผดิ และคนก็ไม่ไดย้ า้ ยเข้าไปอยูใ่ นทงุ่ ผดิ ที่ เพยี งแตว่ ธิ กี ารอยเู่ ทา่ น้ัน ให้สัมปทานการจัดการน้�ำ หรือการบริหารน�้ำท่ีอาจจะส่งผลกระทบ ทผ่ี ดิ เพย้ี นไป ตอ่ วถิ ชี ีวิตและจติ วญิ ญาณของคนไทยทยี่ งั เหลอื อยู่ วธิ กี ารอยทู่ ผ่ี ดิ เพย้ี นนเ้ี รมิ่ จากการพฒั นาประเทศโดยสรา้ งระบบ พวกเขาคิดว่าค�ำถามท่ีคนไทยควรช่วยกันหาค�ำตอบ คือสังคม การคมนาคมท่ีอาศัยการถมคลอง เฉพาะในกรุงเทพอดีตมีคลอง ไทยมองตวั เองกบั นำ้� ทว่ มอยา่ งไร เปน็ วกิ ฤตหรอื เปน็ วถิ ี เราจะอยรู่ ว่ ม 2,100 กว่าคลอง แต่ช่ัวระยะ 40-50 ปีมานี้ถมไปแล้ว 500 กว่า กบั ธรรมชาตติ อ่ ไปดว้ ยเทคโนโลยี ชดุ ความรู้ หรอื ภมู ปิ ญั ญาแบบไหน คลอง เหลืออยู่ 1,600 กวา่ คลอง มีประตูน�้ำทง้ั หมดมากกว่าจำ� นวน ประสบการณ์ทเ่ี รามี เพียงพอหรือไม่ส�ำหรับการจัดการและการปรับ คลอง การสรา้ งถนนทฉ่ี ีกท้องทงุ่ เปน็ ชน้ิ ๆ สิ่งปลกู สร้างทกุ ประเภทท่ี ตวั กับแนวโนม้ ความเปล่ยี นแปลงของธรรมชาติ ในดา้ นต่างๆ ทอ่ี าจ ถมทงุ่ ถมพนื้ ที่รับนำ้� ขวางทางน�ำ้ รวมถึงระบบปอ้ งกันตนเอง เชน่ จะเกดิ ขึน้ ในอนาคต กระสอบทราย ประตนู ำ้� คนั กน้ั นำ้� พนงั กน้ั นำ�้ สองฝง่ั แมน่ ำ้� เพอ่ื ปดิ กนั้ กนั นำ�้ ตลอดชว่ งลำ� นำ้� เปน็ การทำ� ใหค้ ลองและแมน่ ำ�้ ปว่ ยไมส่ ามารถ ในบรรดาค�ำถามเหล่านี้ น�้ำท่วมอาจจะเป็นค�ำถามใหญ่ค�ำถาม ท�ำหน้าทีไ่ ดต้ ามธรรมชาติ ส่วนการสูบน้�ำออกจากพน้ื ที่น้นั กเ็ ป็นการ แรกที่รอค�ำตอบว่า คนไทยพร้อมเพียงไรท่ีจะด�ำเนินชีวิตต่อไป เอานำ้� ออกจากบา้ น ออกจากพ้ืนท่ี แตไ่ ปเพิม่ ปริมาณนำ�้ ในพื้นทีอ่ ื่น ทา่ มกลางความเปลี่ยนแปลง n เหล่านี้ล้วนเป็นแนวปฎิบัติท่ีแพร่ระบาดอยู่ในชุมชนเมืองแทบ ทกุ จงั หวดั ในประเทศ นำ�้ บา่ ตามธรรมชาตจิ งึ ระบายลงทะเลไดช้ า้ และ ท่วมขงั เป็นเวลานาน และไม่ใช่การแกป้ ญั หาอย่างย่ังยืน

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 33 กรุงเทพ – สะพานกลับรถกลายเปน็ ทจี่ อดรถเม่อื น�้ำเข้าทว่ มตอนเหนือของกรุงเทพ ชยั นาท – ชายวัยสูงอายผุ นู้ ้ีในอ.สรรพยา รู้สกึ ไม่ทกุ ข์ร้อนกบั น�้ำท่วมทเ่ี คยมามากมายหลายครั้ง — ภาพจาก au.ibtimes.com Chainat – This elderly man in Sappaya district appears unperturbed by Bangkok – The U-turn bridges become a car park on a main street north flood that he has encountered numerous times in his life. of Bangkok. — Photo from au.ibtimes.com let our homes be under water but not to a disastrous a time to harvest vegetables, shrimps, shells, crabs and extent?” He suggested that urban people embrace flood fish. More food is served on the dinner table. The excess so as to increase average catchment areas and allow is dried and salted for consumption throughout the year. floodwaters to pass, protecting only important areas from When water recedes, farmers sow and plough the land being submerged. which is rich with sediment left by floodwaters. “For problem-solving and restoration, instead of The joyful life cycle of rural society is a nightmare sacrificing land, which is more and more expensive, as for urban people. Flood runoff stirred panic and the water retention areas or digging up new canals, the exist- need to step up a self-defense system. ing over 1,600 canals, which stretch over 2,600 kilome- ters in total, should be dredged in preparation for chan- Surachit Chiravet, thinker, writer and Samut Song- neling floodwaters. With advanced engineering knowl- khram senator, defended urban people, saying they are edge, construction of industrial estates and residential not wrong to see floods as a problem and a disaster. They buildings need not distort our coexistence with water. have not moved into a wrong place. Only their lifestyle is to be blamed. “If we have not learned the lessons from floods or cannot draw on the lessons from floods in a timely man- The distorted lifestyle dates back to national devel- ner, we cannot come up with a clear policy and our solu- opment when canals were filled up in a bid to expand the tions will be more and more in conflict with nature,” said communication system. Of over 2,100 canals in Bang- Surachit. kok, some 500 were filled up over the past 40-50 years. Sluice gates have outnumbered the remaining 1,600 plus Thai Ways vs Waterways canals. Roads were built and cut farmlands into pieces. In the eyes of conservationists and sociologists, floods Structures were built on farms and catchment areas, thereby blocking water flows. Moreover, the self-defense have become a headache for urban society because peo- system, such as sandbag barriers, sluice gates, flood pro- ple are no longer conscious of the linkages between Thai tective dikes and flood walls, which were erected along ways and waterways and the legacy of folk wisdom. The riverbanks to maintain and prevent runoffs, prevented government is driving to divert flood runoff across river canals and rivers from performing their natural duties. basins. Water management or the granting of concession Water pumped out of homes added to water level of for water management might affect what is left of the other areas. Thai ways and spirits. The practice which was widely adopted in urban For them, the pressing questions for Thai people at communities in almost every province prevented natural large are whether Thai society views flooding as a crisis deluges from reaching the sea and caused the waters to or a way of life and which set of technology, knowledge collect for longer period. This is not a sustainable solution. or wisdom should be employed. Do we have enough experience to manage and adjust to changing nature in Surachit advised that to map out a strategy to man- many aspects in the future? age water, the first question to be answered is: “Will we Among these questions, floods remain the foremost and forefront question as to whether Thai people are ready to live on amid changes. n ไม่ผิดหรอกทลี่ มื ว่าเราเปน็ “เมอื งน�้ำ” Not Wrong to Forget that We Are Living in the “Land of Water”

สมั ภาษณ์พิเศษ34 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 Special Interview รศ.ดร.เสรี ศภุ าราทติ ย์ Assoc Prof Dr Seree Supharatid จิราพร คำ� ภาพันธ์ Jiraporn Khamphaphan น�้ำจะท่วมกรงุ เทพมหานครอีกหรือเปลา่ น�ำ้ จะท่วม Will floods wash over Bangkok again this สงู กเี่ มตร ปีนี้ประวัติศาสตรจ์ ะซ้ำ� รอยไหม ทผ่ี ่านมา year? How high will the water rise? Will his- ปัญหาน้�ำท่วมและภยั แลง้ ทป่ี ระเทศประสบอยเู่ กิดจาก tory repeat itself? Over the years, has Nature ธรรมชาตหิ รือฝีมอื มนุษย์? or Man caused the floods and droughts that have beset the country? ต่อค�ำถามใหญ่ๆ เหล่านี้ รองศาสตราจารย์ ดร.เสรี ศุภาราทิตย์ ผู้อ�ำนวยการศูนยก์ ารเปลย่ี นแปลงภมู ิอากาศและ In the face of such big questions from the mass ภยั พบิ ัติ มหาวิทยาลัยรังสติ และผอู้ �ำนวยการอุทยานส่ิงแวดลอ้ ม media, the response has been constant from Assoc Prof นานาชาติสิรนิ ธร นักวชิ าการที่โดดเดน่ ในฐานะผู้เชย่ี วชาญด้านการ Dr Seree Supharatid, director of the Center for Climate วเิ คราะหส์ ถานการณ์น้�ำในช่วงวิกฤตน้ำ� ท่วมครั้งใหญป่ ที ผ่ี ่านมา Change and Disaster, Rangsit University, who is also มักจะใหค้ ำ� ตอบผ่านสื่อแขนงต่างๆ โดยคงความหมายเชน่ ทุกครง้ั ... director of the Sirindhorn International Environmental Park, and an academic who rose to prominence as a spe- “ไมม่ ีใครสามารถไปส่งั ฟ้าส่ังดนิ ได้ cialist in analyzing the water situation during the flood ปญั หาน้�ำท่วมที่ผ่านมาเราไม่สามารถรลู้ ว่ งหนา้ ว่าน�ำ้ จะมาก crisis last year. น้อยแคไ่ หน...” “No one can command the Earth or Sky. “No one could know in advance how much water would come in the recent floods.” ลพบรุ ี – เรอื ยางทีเ่ คยบรกิ ารนกั ท่องเท่ยี ว ยามนีม้ าใช้บริการชาวบา้ นทีต่ อ้ ง อพยพหนนี ้�ำ – ดิลก ตามใจเพือ่ น Lop Buri – Rubber boats which used to ferry tourists help evacuate flood victims — Dilok Tamjaipuan

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 35 รศ. ดร.เสรี ศุภาราทิตย์ (ขวา) ระหว่างลงพื้นท่ีน้�ำทว่ มในฐานะนกั วชิ าการทปี่ รึกษาของสถานี To learn about water in greater depth, let’s lis- โทรทศั นไ์ ทย พีบีเอส – สมจินต์ คลอ่ งอักขระ ten to what Dr Seri says because several prob- lems remain with regard to the overall issue of Assoc Prof Dr Seree Supharatid (right) is surveying flooding situation while water management. serving as an expert consultant of Thai PBS television station. – Somjin Klong-ugkara Will floods strike again this year? What caused the ferocity of the floods last year? หากอยากรูเ้ รือ่ งน้ำ� มากกว่าน้ี ลกึ กวา่ นี้ ฟงั อาจารยเ์ สรี พดู เพราะ ยังมีปัญหาอีกมากมายหลายเรื่องท่ีเก่ียวกับองค์รวมในการบริหาร I’ve never said we will be flooded again this year but จัดการ “น�้ำ” I have said that La Nina visited Thailand last year when five storms also lashed us. This year there might be a ปีนี้นำ้� จะทว่ มอกี หรือไม่ สาเหตทุ ที่ ำ� ให้ปีที่ผ่านมานำ้� ท่วมรุนแรง similar number of storms. I cannot predict where the ผมไม่เคยพูดว่าน้�ำจะท่วมอีกปีนี้ แต่ผมพูดว่าปีท่ีแล้วเป็นปีท่ี storms will strike. We learn of such events only a week in advance. ลานิญญาเข้าประเทศไทย ปีท่ีแล้วเราเจอพายุ 5 ลูก ปีน้ีก็อาจจะ เข้าไล่เลีย่ กนั จ�ำนวนพายจุ ะใกล้เคยี งกนั ผมไมส่ ามารถจะบอกได้วา่ From my analysis of floods and droughts, I’ve found พายุจะเข้าตรงนี้ เราไมส่ ามารถบอกได้ เราจะรู้กต็ ่อเมื่อพายุจะเข้า 1 that time and again Thailand has been beset by both สัปดาห์เทา่ นัน้ every 10 years. In another two years, there will be floods and droughts. จากท่ีผมวิเคราะห์ว่าเหตุการณ์น�้ำท่วมและน้�ำแล้งเป็นสิ่งท่ี ประเทศไทยประสบปญั หามานานทุกๆ 10 ปี เราเจอเรื่องนม้ี าตลอด These are the factors behind the rise in damages เวลา เดี๋ยว 2 ปี ก็เกิดขึ้นอีกทั้งน้�ำท่วมและแล้ง ส่วนสาเหตุความ every year: One, more people have tried to move into risk เสยี หายทที่ วคี วามรนุ แรงมากขน้ึ ทกุ ปี เกดิ จาก หนง่ึ มนษุ ยท์ พี่ ยายาม areas, for instance by building houses near water sources, จะยา้ ยไปอยใู่ กลใ้ นพน้ื ทเี่ สยี่ งมากขนึ้ เชน่ ปลกู บา้ นใกลแ้ หลง่ นำ้� เวลา thereby suffering more damage when the floods come. น้�ำท่วมก็เสียหายมากข้ึน สอง ประชากรมากข้ึน คนมากขึ้น มีการ Two, there has been a population increase, leading to a ใช้พลงั งานมากข้ึน และ สาม สภาพภูมอิ ากาศของโลกเปลยี่ นแปลง rise in energy consumption. Three, the global weather ไปมาก เพราะฉะน้ัน 3 ข้อน้ี คือสาเหตุที่ท�ำให้ประเทศไทยประสบ conditions have changed considerably. ปญั หาน�ำ้ ท่วมกท็ ่วมมาก และถ้าแลง้ กแ็ ล้งมาก เชน่ เดยี วกนั ผมมอง วา่ ประเทศไทยมคี วามเสี่ยงท่จี ะเจอกบั เหตุการณ์นำ้� ท่วมและภยั แลง้ For these three reasons, Thailand has been besieged ที่จะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นอีกในปีน้ี เพราะสภาพภูมิอากาศของ by floods in great quantities and droughts to a severe โลกท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว แต่ปัญหาน�้ำท่วมท่ีผ่านมาเราไม่ degree. Because of the rapid change in global weather สามารถรลู้ ว่ งหนา้ วา่ นำ�้ จะมากนอ้ ยแคไ่ หน ทำ� ใหเ้ ราไมส่ ามารถเตอื น conditions, I believe Thailand will face heavier floods ภัยลว่ งหนา้ ได้เลย and worse droughts this year. We could not give advance warnings of the floods last year because we could not ปนี ร้ี ฐั บาลควรเตรยี มตวั อยา่ งไรกบั การใหข้ อ้ มลู สถานการณน์ ำ�้ เพอื่ predict how much water would descend on us. ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลเตรียมพร้อมรับมือน�้ำท่วมได้อย่างทัน ทว่ งที โดยไม่เกิดความสับสนกับขอ้ มลู จากหลายด้าน How should the government prepare to release information about the water situation so that น้�ำท่วมที่ผ่านมา รัฐบาลขาดการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ the public can access it in time to handle the กับประชาชน ในรายงาน SREX (รายงานพิเศษว่าด้วยการจัดการ floods without being confused by various data ความเส่ียงและเหตุการณ์ร้ายแรงเพ่ือเสริมสร้างการรับมือกับการ diverse groups circulate? In last year’s floods, the government was deficient in informing the public. The SREX report (Special Report on Managing the Risks of Extreme Events and Disasters to Advance Climate Change Adaptation launched by the Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC)), of which I was involved in its preparation, tells all about what will happen to countries on this Earth. For exam- ple, it explains how there will be floods, droughts and heavy rains. Therefore the report should be translated into Thai so that Thai people can read it and appreci- ate how they will live on this Earth. The lesson learned from past experience is that Thais had no advance warn- ing because the information did not trickle down. Hence they could not adjust. Previously, the government lent too much impor- tance to conferences on climate change which took place in South America, in Mexico, and focused on the reduc- tion of carbon dioxide emissions. The government, how- ever, forgot to address the question of how the public should prepare for an early onrush of the flood season, or how large dams should conserve water should there be สัมภาษณ์พิเศษ: รศ.ดร.เสรี ศภุ าราทติ ย์ Special Interview: Assoc Prof Dr Seree Supharatid

36 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซ่ึงจัดท�ำโดย คณะกรรมการระหว่าง ดร.เสรี ลุยนำ�้ ระหวา่ งการถา่ ยทำ� รายงานสถานะการณน์ ำ้� ทว่ มกบั ดารนิ คลอ่ งอกั ขระ พิธกี รของ รฐั บาลวา่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ภายใตส้ หประชาชาต)ิ สถานโี ทรทัศน์ไทย พีบเี อส – สมจนิ ต์ คล่องอกั ขระ ซง่ึ ผมอยใู่ นคณะทำ� งาน (ทจ่ี ดั ทำ� รายงาน) ชดุ นด้ี ว้ ย จะบอกหมดวา่ จะ เกิดอะไรขนึ้ กับประเทศบนโลกนี้ เช่น จะเกดิ น้ำ� ทว่ ม จะเกิดภัยแล้ง Dr Seree is knee deep in flood water while reporting the flood situation with และจะเกดิ ฝนตกหนกั อยา่ งไร เพราะฉะนนั้ ควรจะแปลเปน็ ภาษาไทย Thai PBS moderator Darin Klong-ugkara – Somjin Klong-ugkara เพอื่ ให้คนไทยไดอ้ ่าน เพอ่ื ตระหนักวา่ เขาจะอย่บู นโลกใบนไ้ี ด้อยา่ งไร ซ่ึงที่ผ่านมาบทเรียนส�ำคัญคร้ังนี้แสดงให้เห็นว่าคนไทยไม่ได้รับรู้ถึง little rain. At the same time, it’s necessary, in exchange, การเตือนภยั ลว่ งหน้าเลย เพราะข้อมลู ไมเ่ ปดิ เผยลงไปสู่ข้างล่าง คน to take the risk that Thailand may be confronted with ไทยกเ็ ลยไมป่ รบั ตวั drought if the rains do not fall as much as several agen- cies predict. ที่ผ่านมารัฐบาลให้ความส�ำคัญเฉพาะการประชุมโลกร้อนมาก เกินไป มีการประชุมที่อเมริกาใต้ ที่เม็กซิโก ประเด็นในการประชุม When disaster strikes harder, what is to be done จะให้ความส�ำคัญว่าจะลดอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ to soften the blow or ensure there is minimum มากเกินไป แต่ลืมพูดถึงถ้าฤดูน�้ำหลากมาเร็วกว่าปกติประชาชนจะ damage? เตรียมพร้อมรับมือกันอย่างไร และถ้าฝนตกน้อยเข่ือนขนาดใหญ่จะ มีวิธีเก็บน้�ำอย่างไร ในขณะเดียวกันก็ต้องยอมแลกกับความเส่ียงถ้า Solving flood problems requires an integrated ปริมาณน�้ำฝนไม่มากเหมือนที่หลายหน่วยงานคาดการณ์ไว้ก็อาจจะ approach on water management by taking into con- ทำ� ให้ประเทศไทยตอ้ งประสบปัญหาภัยแล้งได้ sideration the upstream, mid-stream and downstream เมื่อภัยพิบัติทวีความรุนแรงมากย่ิงข้ึน จะแก้ไขปัญหาอย่างไรให้ sources of the water. An integrated approach means ความรนุ แรงลดลงหรือสรา้ งความเสียหายนอ้ ยที่สุด studying, assessing and analyzing all forms of disasters, not just any one form, be it drought, floods or a wind- วิธีแก้ปัญหาน�้ำท่วมคือต้องบูรณาการบริหารจัดการน้�ำแบบ borne disaster, because this will prevent identification of องค์รวม เช่น ต้องดตู ัง้ แต่ต้นน้�ำ กลางน้ำ� ปลายน้�ำ ดใู หค้ รบองคร์ วม the form that most threatens Thailand. Thereafter, the หมายถึงต้องศึกษา ประเมิน วิเคราะห์ ภัยพิบัติโดยรวมด้วย จะให้ government will have to draw up plans and prevention ความส�ำคัญกับภัยน้�ำแล้ง น�้ำท่วม หรือวาตภัย อย่างใดอย่างหนึ่ง measures. In so doing, it cannot apply only structural ไม่ได้ เพราะจะท�ำให้เราสามารถประเมินได้ว่าเมืองไทยเส่ียงกับภัย measures because these demand huge expenditures in พบิ ตั ใิ ดมากทส่ี ดุ แลว้ รฐั บาลเองตอ้ งมาคดิ แผนมาตรการปอ้ งกนั สว่ น the short and long terms. All the structural measures so มาตรการการป้องกันจะใช้มาตรการเชิงโครงสร้างอย่างเดียวก็ไม่ได้ far mentioned – for example the building of embank- เพราะมาตรการเชงิ โครงสรา้ งตอ้ งใชเ้ งนิ จำ� นวนมหาศาลทง้ั แผนระยะ ments, dams, reservoirs, water retention areas, and tun- เร่งด่วน และระยะยาว อย่างมาตรการป้องกันน้�ำท่วมเชิงโครงสร้าง nels – require a great deal of funding. Then, of course, ท่ีถกู พูดถึงบอ่ ยมาก เช่น แผนการสร้างพนังก้ันน�ำ้ เขื่อน อ่างเก็บนำ้� once these have been built, one has to think of the reper- แก้มลิง อุโมงค์รับน�้ำ ทุกอย่างที่พูดมาต้องใช้เงินจ�ำนวนมาก และ cussions on the local inhabitants. แนน่ อนเมื่อสร้างข้ึนมาส่ิงสำ� คญั ทีต่ อ้ งคำ� นงึ ถงึ คือผลกระทบต่อชีวติ ความเป็นอยู่ของประชาชนด้วย เพราะฉะน้ันการบริหารจัดการน้�ำ These are reasons why a comprehensive water man- แบบองค์รวมต้องมองใหค้ รบทุกอยา่ ง agement has to cover every aspect. ในแผนการบรหิ ารจดั การนำ�้ แบบองคร์ วมทร่ี ฐั บาลกำ� ลงั ดำ� เนนิ การ มีการวิเคราะห์ผลกระทบในภาพรวมจากมาตรการต่างๆ อย่าง In the government’s ongoing plan for compre- รอบคอบเพอ่ื ให้การจดั การภยั พบิ ตั แิ ล้วหรอื ไม่ อย่างไร hensive water management, is there thorough analysis of the overall repercussions from the ความไม่ชัดเจนในการวิเคราะห์ผลกระทบในภาพรวมเป็น measures to deal with disasters? What are the สาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้การบริหารจัดการน้�ำแบบองค์รวมเกิดข้ึนได้ considerations? ยากในเมืองไทย ยกตัวอย่างการบริหารจัดการน�้ำท่ีขาดการสร้าง ความเข้าใจกับคนในชุมชน คือนิคมอุตสาหกรรมแทบทุกแห่งใน The lack of clarity in analyzing overall repercus- จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เช่น นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคม sions is a major cause of the difficulty in ensuring com- อุตสาหกรรมโรจนะ มีแผนการสร้างเขื่อน ตอนน้ีนิคมอุตสาหกรรม prehensive water management. For example, there has โรจนะมีความคืบหน้าไปเยอะแล้วในการก่อสร้างเข่ือน รวมระยะ been no explanation to local communities. Almost all ทางยาว 77 กโิ ลเมตร เพ่ือปอ้ งกนั น�้ำทว่ ม ซึ่งจะมีก�ำหนดแล้วเสรจ็ industrial estates in Ayutthaya – for example the indus- ภายในเดอื นสงิ หาคม ตอนนม้ี กี ลมุ่ ชาวนาทจ่ี ะยน่ื ฟอ้ งใหศ้ าลปกครอง ระงับการสร้างเข่ือนรอบนิคมอุตสาหกรรม เพราะอาจจะส่งผลให้ เกิดน�้ำท่วมมากขึ้นในที่นาของชาวบ้าน แต่ผมมองว่าน�้ำที่เคยท่วม

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 37 ในนิคมอุตสาหกรรมทุกแห่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาคิดเป็น ปทุมธานี – ทหารก�ำลงั อุดรอยรว่ั ดว้ ยกระสอบทราย และตอกเสาเข็ม ทปี่ ระตูน้�ำคลองบางงิว้ 3 เปอร์เซนต์ ของน้�ำท่ีท่วมท้ังจังหวัด การสร้างเขื่อนจึงไม่น่ามีผล ซ่งึ รบั น�้ำมาจากคลองเชยี งราก เพ่อื ไม่ใหน้ ำ�้ ท่วมสวนอตุ สาหกรรมบางกะดี – ดลิ ก ตามใจเพอื่ น กระทบ แต่การสร้างความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการน�้ำ รวมท้ัง การสร้างการมสี ่วนรว่ มระหว่างโรงงาน ชุมชน และจงั หวดั เป็นเรื่อง Pathum Thani – Soldiers are stacking sand bags and reinforcing with ส�ำคัญที่รัฐบาลควรด�ำเนินการอย่างเร่งด่วน เช่นเดียวกับการบริหาร concrete piles a leakage at the Khlong Bang Ngiew Sluice to prevent จดั การนำ้� ทร่ี ฐั บาลตอ้ งลงพน้ื ทคี่ ยุ กบั ประชาชนตง้ั แตพ่ นื้ ทต่ี น้ นำ้� ภาค flooding at Bang Kadee Industrial Park – Dilok Tamjaipuan เหนอื พ้นื ทกี่ ลางน�ำ้ ภาคกลาง และพ้ืนทีท่ ้ายน้�ำ ให้เข้าใจ เพราะจะ ท�ำให้ชาวบ้านรู้สึกว่าพวกเขาไม่ได้รับความเป็นธรรมในการบริหาร trial estate in Bang Pa-In, and the Rojana estate – plan to จัดนำ�้ ในคร้ังน้ีได้ build dikes around them. The Rojana Industrial Estate การแก้ปัญหาน�้ำท่วมด้วยมาตรการสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ เช่น has made considerable progress towards the construction การสร้างเข่ือน พนังกันน้�ำ แก้มลิง มีความเหมาะสม จ�ำเป็นแค่ of a 77-kilometer flood-prevention dike due to be com- ไหน อยา่ งไร สามารถแกไ้ ขปญั หาน้ำ� ท่วมไดอ้ ย่างยัง่ ยืนจรงิ หรอื ไม่ pleted in August. Currently, a group of farmers are set to file a case to the Administrative Court to stop the con- การบริหารจัดการน�้ำท่ีดี มีท้ังมาตรการใช้สิ่งก่อสร้างและไม่ใช้ struction of dikes around industrial estates, saying these สง่ิ กอ่ สรา้ ง มาตรการทไ่ี มใ่ ชส้ งิ่ กอ่ สรา้ งทค่ี นไทยยงั ไมร่ จู้ กั หรอื อาจจะ may cause floods in the local farmers’ paddy fields. But I รู้จักน้อยคือมาตรการผังเมือง แต่ปัญหาของผังเมืองต้องใช้กฎหมาย regard the floods in all industrial estates in Ayutthaya as และระเบียบเข้าไปควบคุมและบังคับใช้ เช่นถ้าดูในผังเมืองแล้วพบ amounting to only 3% of all the floods in the province. ว่าพื้นท่ีหมู่บ้านจัดสรรตรงนี้เป็นเส้นทางน้�ำผ่านหรือฟลัดเวย์ตามที่ The construction of dikes should have no repercussions กฎหมายก�ำหนด แน่นอนว่าบริเวณนี้จะสร้างสิ่งก่อสร้างแบบเดิมไม่ on residents. But the government must make it a matter ไดแ้ ล้ว เพราะอาจจะกดี ขวางทางน�้ำ หา้ มสร้างบ้าน of urgency to explain water management, and encour- age the participation of industry, communities and pro- มาตรการท่ี 2 ทีไ่ ม่ใช้ส่ิงกอ่ สร้าง เช่น ระบบประกนั ภัย ต่อจาก vincial authorities. Likewise the government must go นี้ไปคนที่อยู่ในเขตพ้ืนที่เส่ียง หรือรู้แล้วว่าบ้านอยู่ในพื้นที่ที่มีความ on-spot to talk to people living at the headwater area in เส่ียงจะถกู น�้ำทว่ มสูง เม่อื เจา้ ของบ้านจะย้ายเขา้ ไปอยู่ก็ตอ้ งยอมจา่ ย the North, the midstream areas in the Central Region, เงินประกันสูงกว่าคนที่เขาอยู่ในพื้นท่ีธรรมดา เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิด and at the downstream. The government must explain เหตุการณ์ที่รัฐบาลจะต้องน�ำเงินภาษีไปจ่ายให้คนท่ีถูกน้�ำท่วมหมด so that people understand the plans. เพราะฉะนนั้ เมอ่ื เราอยใู่ นพน้ื ทเี่ สย่ี งเรากต็ อ้ งยอมจา่ ยเงนิ ประกนั ทส่ี งู How appropriate or necessary are the attempts มาตรการที่ 3 คอื ระบบเตอื นภยั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งตอ้ งบอก to stave off floods by building large structures ใหป้ ระชาชนรลู้ ว่ งหนา้ วา่ ฤดนู ำ�้ หลากนำ้� จะมาเยอะนะ บอกใหช้ าวบา้ น such as dams, embankments and water reten- เตรยี มตวั ขนยา้ ยขา้ วของขนึ้ ทสี่ งู ไวต้ งั้ แตเ่ นนิ่ ๆ เพอื่ ใหพ้ วกเขาสามารถ tion areas? Can these solve the problem in a sus- เตรียมพร้อมรับมือได้ทัน ถ้าเมืองไทยใช้มาตรการที่ไม่ใช้ส่ิงก่อสร้าง tainable manner? ทงั้ 3 ขอ้ น้ี จะสามารถแกไ้ ขปญั หานำ�้ ทว่ มโดยไมต่ อ้ งพง่ึ สง่ิ กอ่ สรา้ ง และสามารถชว่ ยลดตน้ ทนุ ในการกอ่ สรา้ งใหก้ บั ประเทศไทยอยา่ งมาก Good water management comprises structural and non-structural measures. The non-structural measure แตใ่ นขณะเดยี วกนั การแกไ้ ขปญั หานำ้� ทว่ มจะแกด้ ว้ ยวธิ ไี มใ่ ชส้ งิ่ that Thai people may not know yet or know little of is กอ่ สรา้ งอยา่ งเดยี วกไ็ มไ่ ด้ บางครงั้ กต็ อ้ งใชส้ งิ่ กอ่ สรา้ งรว่ มดว้ ย คอื ตอ้ ง town planning. But town planning can work only with รู้จกั บูรณาการผสมผสานให้ดี เชน่ พน้ื ทไ่ี หนทจี่ ะเหมาะส�ำหรับสร้าง the enforcement of laws and regulations. For instance, อา่ งเกบ็ น�้ำขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ กต็ อ้ งดเู ปน็ พนื้ ทไี่ ปวา่ จะ if the town plan specifies that a certain area earmarked สามารถสรา้ งอา่ งเกบ็ นำ�้ ไดไ้ หม สง่ิ สำ� คญั คอื ตอ้ งผสมผสานเพอื่ ใหก้ าร for a housing estate is located in a flood way endorsed by แก้ไขปญั หาน้ำ� ท่วมไปในทิศทางเดยี วกนั the law, that area cannot hold any structures or houses ปัญหาของผังเมืองในพ้ืนท่ีท่ีก�ำหนดให้เป็นฟลัดเวย์ (เส้นทางน้�ำ because they may obstruct the water’s passage, meaning ผ่าน) ซ่ึงกลายเป็นบ้านจัดสรรเกิดขึ้นจากอะไร และมีทางแก้ไข no housing construction. อยา่ งไร A second non-structural measure would be the ini- ตามหลกั กฎหมายผงั เมอื งทอี่ อกมาตง้ั นานแลว้ พน้ื ทก่ี ารเกษตร tiation of an insurance system whereby people moving สเี ขยี วในแผนทผ่ี ังเมือง คือพ้ืนท่ีฟลดั เวย์ เป็นพ้ืนทีเ่ กษตรกรรม หา้ ม สร้างตึกแถว ห้ามสร้างบ้าน ห้ามหมดเลย แล้วถ้าปิดประตูระบาย น�้ำตั้งแต่เนิ่นๆ มีการบริหารจัดการน�้ำที่ดี พื้นท่ีบริเวณน้ีจะถูก นำ�้ ทว่ มไมเ่ กนิ 30 เซนตเิ มตร เพราะเปน็ พนื้ ทฟี่ ลดั เวยน์ ำ้� จะคอ่ ยๆ ไหล ไปตามระบบ ถึงแมพ้ ้ืนทีฟ่ ลดั เวย์จะเปน็ พื้นทที่ ำ� การเกษตร แต่พ้นื ท่ี ตรงนส้ี ามารถท�ำการเกษตรได้ 5 เปอรเ์ ซนต์เทา่ นน้ั ซึง่ ถา้ ไปส�ำรวจดู สัมภาษณ์พิเศษ: รศ.ดร.เสรี ศภุ าราทติ ย์ Special Interview: Assoc Prof Dr Seree Supharatid

38 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 พระนครศรีอยธุ ยา – ทหารใชเ้ ชือกผูกไว้กบั ราวสะพาน เรง่ อพยพชาวบา้ นต�ำบลพยอม into an area they know is at risk of heavy floods agree อ�ำเภอวงั นอ้ ย ออกจากบา้ นท่ามกลางกระแสนำ้� ไหลเชย่ี วอยา่ งโกลาหล หลงั จากประตูระบายนำ้� to pay premiums higher than those living in other areas. พระอินทร์ราชามรี ะดับน้�ำเพิม่ สูงขึ้นอย่างตอ่ เน่ือง - ดลิ ก ตามใจเพ่อื น This would save the government from using taxpayers’ money to compensate those who are damaged by floods. Ayutthaya –Flood victims in Tambon Phayom of Wang Noi district hold on When you live in a risky area, you have to agree to pay to a rope tied to a bridge while evacuating from their homes amid raging high insurance premiums. torrents. - Dilok Tamjaipuan A third measure would be the setting up of a warn- ในพน้ื ทเ่ี หลา่ น้ีท้ังหมดปัจจุบนั เป็นหมูบ่ ้านหมดแล้ว แตต่ อนน้ีไมร่ วู้ ่า ing system. Relevant agencies must tell local communi- แตล่ ะหมบู่ า้ นจะปลกู ขา้ วกเี่ ปอรเ์ ซนต์ เพราะชาวบา้ นหนั มาสรา้ งบา้ น ties that there will be a large overflow in the flooding แทนการปลกู ขา้ วทกุ หมบู่ า้ นแลว้ เพราะฉะนน้ั ถา้ หมบู่ า้ นจดั สรรยงั คง season so that they can move their belongings to high มอี ยเู่ ปน็ จำ� นวนมากนำ�้ กย็ อ่ มผา่ นไปไมไ่ ดแ้ นน่ อน แตก่ ารแกไ้ ขปญั หา ground in good time. นรี้ ฐั บาลกำ� ลงั จะดำ� เนนิ การ เพราะถา้ พน้ื ทไี่ หนมหี มบู่ า้ นจดั สรรเยอะ เขากจ็ ะพยายามหลีกเลี่ยงให้พ้นื ทนี่ ้ันกระทบน้อยท่ีสุดอยแู่ ล้ว If Thailand applies all three non-structural mea- น�้ำท่วมที่ผ่านมา ฟลัดเวย์ ท�ำไมกลายเป็นเส้นทาง ฟลัดออล์เวย์ sures, the country will be able to solve the problem of (flood all ways) ไปได้ floods without relying on structures as well as save a lot of expenses. ผมคิดว่าพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชด�ำรัสเม่ือปี 2538 ชัดเจนในตวั เลย ถ้าเราไดไ้ ปศกึ ษาและอ่านอีกคร้งั เหตกุ ารณ์ However, floods cannot be solved by non-structural มหาอุทกภัยน�้ำท่วมปีที่ผ่านมา ถ้าทุกภาคส่วนได้มีการด�ำเนินรอย measures alone. Sometimes it’s necessary to set up struc- ตามพระราชด�ำริ ผมคิดว่าปัญหาจะไม่รุนแรงขนาดนี้ ฟลัดเวย์ กับ tures as well but the combination must be well thought ฟลดั ออล์เวย์ ความหมายต่างกันโดยสนิ้ เชงิ ฟลดั เวย์ คือทางน้�ำผา่ น out. For instance, if there is a need to install a reservoir, สว่ นฟลดั ออล์เวย์ คอื ทางนำ�้ ผ่านทุกทาง การบริหารจัดการนำ้� ทผ่ี ่าน specialists must survey which area is appropriate for a มายังขาดระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ไม่มีใครรู้ก่อนเลยว่าถนนจะ small, medium or large one. The main thing is the com- ถูกตดั ขาดท�ำให้ประชาชนต้องติดเกาะ แตใ่ นต่างประเทศเม่ือเขาเจอ bination of measures must work in a unified direction เหตุการณแ์ บบนี้ เขาจะต้องวางแผนว่า เส้นทางจากศนู ย์กลางธุรกจิ towards solving the problem. เราจะต้องวางแผนทุกเส้นทาง ถ้าวางแผนเส้นทางนั้นเสร็จแล้วต้อง ท�ำการป้องกันถนนเส้นนั้น แต่การป้องกันต้องท�ำความเข้าใจกับ How did housing estates come to be located in ประชาชน เพื่อไม่ให้ประชาชนเข้าใจว่าไปสร้างเขื่อนก้ันน�้ำ ในพื้นท่ี floodways marked by town planning, and how (หนว่ ยงาน) เขามกี ารเตรยี มความพรอ้ มและข้อมลู เพอ่ื ให้ตัดสนิ ใจได้ can we solve this problem? ปัญหาท่ีท�ำให้การปฎิรูปผังเมืองไม่เป็นรูปธรรมเกิดจากสาเหตุ ใด รัฐบาลควรใช้ช่วงวิกฤตน้�ำท่วมที่ผ่านมาปฎิรูปผังเมือง Under the town planning act promulgated a long หรอื ไม่ อยา่ งไร time ago, the green zones are floodways meant for agri- culture. The construction of shop houses or residential ขณะนี้ปัญหาเรมิ่ ลกุ ลามบานปลายไปมาก รฐั บาลควรจะอาศัย houses is entirely prohibited. If water gates are closed in จังหวะช่วงเกิดภัยพิบัติน้�ำท่วมนี้ปฎิรูปผังเมือง เพราะทุกคนยังจ�ำ good time, and water management is good, these zones เหตุการณ์ความรุนแรงได้ อย่างกรณีเหตุการณ์สึนามิที่พัดถล่มแถบ would be submerged in no more than 30 centimeters of ทะเลอันดามันทางภาคใต้ของไทย เม่ือปีพ.ศ. 2547 ท�ำให้บ้านของ water. Because they are floodways, the water will gradu- ชาวบ้านและชาวประมงถูกคล่ืนทะเลพัดได้รับความเสียหายจ�ำนวน ally flow away systematically. Although floodways are มาก ช่วงจังหวะท่ีเกิดสึนามิมีการปฎิรูปผังเมืองทันที ประกาศให้ marked for agriculture, only 5% of these zones can be ชาวบ้านทราบว่าบริเวณนั้นอยู่ไม่ได้เลย เพราะเป็นพื้นที่เสี่ยงถ้า used for this purpose. Try surveying these areas, and you สนึ ามิเกิดขึ้นอกี คร้งั แต่เมอื่ ผมไปส�ำรวจดเู มอื่ ปลายปีที่ผ่านมาพบวา่ will see that all of them have been developed as housing estates. I don’t know the percentage of housing estates that are farming rice because people have turned to building houses instead. Therefore if there are still a lot of housing estates, water cannot pass through them as it should. However, the government is trying to solve this problem. If there are a lot of housing estates, the govern- ment tries to prevent them from being adversely affected. In last year’s floods, how did floodways become flood-all ways? I believe the matter would become clear if we were to re-read and study a speech His Majesty the King made in B.E. 2538 (1995). I don’t think the water crisis would have been so grave if every sector followed His Majesty’s advice. The meanings of floodways and flood-all ways differ totally. Floodways are water passages whereas flood-all ways means water is coming from all directions. So far, water management has lacked a system for sup- porting decision-making. No one knew in advance that

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 39 คนงาน กทม. ขดุ ลอกคลองบางเขน การขุดลอกคลองเปน็ มาตรการหน่ึงในการปอ้ งกันน�้ำทว่ ม roads would be severed by floods and people would become isolated. Workers of the Bangkok Metropolitan Administration are dredging Bang Khen canal. Canal dredging is one of the many measures to prevent flood In other countries, when such a situation occurs, plans would have been drawn up to mark communica- ปทุมธานี – เรง่ ซอ่ มคันกัน้ น�ำ้ ทเ่ี พ่ิงพังทลายลง – จริ าพร ค�ำภาพันธ์ tion paths from the business centre. We have to plan every communication route. Once that route has been Pathum Thani – Workers hurriedly repair a collapsed earthen flood wall planned, the road has to be protected. But in the process – Jiraporn Khamphaphan of protection, local communities have to be informed so that they do not misunderstand that dikes are being ยงั มสี ง่ิ กอ่ สรา้ ง โรงแรม รสี อรท์ ชาวบา้ นยงั สรา้ งบา้ นในเขตพนื้ ทเ่ี สย่ี ง erected. Local agencies have preparations and informa- เหมอื นเดมิ ทกุ อยา่ งเลย และเกอื บจะรกุ ล้�ำหนกั ขนึ้ ไปอกี นนั่ แสดงให้ tion in hand to aid decision-making. เหน็ ว่าไม่มีมาตรการปฎิรูปผังเมืองเลย What problems obstructed the implementation การปฎริ ปู ผงั เมอื งอยา่ งเปน็ รปู ธรรมคอื ปญั หาสำ� คญั ทเี่ มอื งไทย of town planning? Should the government use ยังท�ำไม่ได้ เพราะผู้น�ำไม่กล้าตัดสินใจ แต่ทิศทางการแก้ไขปัญหานี้ lessons learned from the floods to reform town เป็นส่งิ ทถี่ กู ต้อง ถา้ จะปฎิรูปผังเมืองตอ้ งทำ� ตอนน้ี แมจ้ ะกระทบฐาน planning? If so, what is to be done? เสยี ง คณุ ก็ต้องท�ำ ตอนนปี้ ัญหาในบา้ นเราคือผู้นำ� ไมก่ ลา้ ทำ� เพราะ เกรงวา่ จะไปกระทบกับฐานเสยี งทางการเมอื งมากกวา่ เช่นสมมตุ นิ ะ At present, problems have grown and multiplied ถ้าจะประกาศพ้นื ที่ตรงนวี้ า่ เปน็ พนื้ ที่ฟลดั เวย์ แต่ฐานเสียงคณุ มที ี่ดนิ considerably. The government should use the timing บา้ น โรงงาน ในพ้นื ที่นี้ เราก็ท�ำไม่ได้ มนั สะท้อนให้เหน็ วา่ บ้านเรามี of the water crisis to reform town planning because the ผู้มีอิทธิพลเยอะ ท�ำให้แก้ไขปัญหาไม่ได้สักที พอแก้ไขไม่ได้ปัญหาก็ gravity of the floods is still fresh in everyone’s mind. The จะสะสมขึ้นเร่ือยๆ แต่เม่ือคิดจะเริ่มแก้ไขปฎิรูปผังเมือง สิ่งก่อสร้าง tsunami in 2003 – which caused severe damages as the ก็ไปปลูกอยู่เยอะแล้ว เราก็ไม่สามารถจะประกาศว่าพ้ืนที่ตรงน้ีคือ enormous waves swept away houses and entire fisher- ฟลดั เวย์ เพราะฉะนน้ั เราตอ้ งทำ� ตอนภยั พบิ ตั เิ กดิ ขน้ึ ทนั ที ถา้ ไมล่ งมอื men’s villages – led town planners to institute reforms ทำ� กจ็ ะเกดิ เหตกุ ารณซ์ ำ้� รอยเหมอื นเดมิ ผละกระทบทต่ี ามมาชาวบา้ น immediately. Authorities declared the damaged areas as ได้รับบาดเจ็บ ทงั้ ชวี ติ และทรพั ย์สนิ เสียหายมากขึน้ แลว้ เมือ่ ไหร่เรา uninhabitable because they were at risk of another tsu- ถงึ จะกลา้ ทำ� ปฎิรูปผังเมอื ง nami. But when I went down to survey the areas towards ขณะนแ้ี ทบทุกจงั หวดั ท่ีอยใู่ นเขตพ้นื ทีเ่ ส่ยี งภยั น้ำ� ท่วมเรง่ วางแผน the end of last year, I found everything had returned to ปอ้ งกนั นำ�้ ทว่ มดว้ ยการสรา้ งเขอ่ื น และยกระดบั ผวิ ถนนขนึ้ 50-80 the risk areas: buildings, hotels, resorts, and villagers liv- เซนติเมตร วธิ ีนม้ี คี วามเหมาะสมหรอื ไม่ อย่างไร ing in houses there. In some parts, the areas were almost more built-up than before. This means no town planning ตามความคดิ ผม ผมไม่เหน็ ด้วยเลย คือเราคดิ กนั แตจ่ ะปกป้อง measures had been enforced. จังหวัดของตัวเอง แต่คิดแก้ปัญหาแบบน้ันไม่ได้ ปัญหาคือ ผู้ว่า ราชการทุกจังหวัดต้องดูการบริหารจัดการน�้ำแบบองค์รวม ต้องดู In Thailand, town planning reform cannot be ต้นน้�ำ กลางนำ้� ปลายน้ำ� หมายถงึ ทำ� อะไรกต็ ้องมีเจ้าภาพในวางแผน implemented in practice because leaders dare not make การบรหิ ารจดั การนำ้� ในองคร์ วมกอ่ น เชน่ ถา้ ลงมอื สรา้ งเขอื่ น ยกระดบั decisions but this is the right way of solving the problem. ถนนในจังหวัดตัวเอง ก็จะส่งผลกระทบกับจังหวัดใกล้เคียงเหมือน If we are to reform town planning, we have to do it now เดิม น�้ำไม่ทว่ มจงั หวดั คณุ แตม่ วลน�้ำจ�ำนวนมหาศาลก็จะไหลทะลกั even if it might have adverse repercussions on voter base. เข้าท่วมจังหวัดใกล้เคียง ผมไม่เห็นด้วยท่ีต่างคนต่างท�ำ แต่ผมเห็น The current problem stems from leaders’ not daring to take the step because they fear it will affect their political support base. Suppose you were to declare a particular area a floodway, you would be disabled from doing so if your voter base includes people who have land, houses or factories there. This shows that a lot of influential forces are at work preventing the solution of problems in our country. If problems remain unsolved, they will accumu- late. When we think of reforming town planning any- where, the area is already built-up and we cannot declare it a floodway. Therefore we have to do so as and when disaster strikes. If we don’t do so, old situations will recur, resulting in death, injury or loss of property to local peo- ple, and when will we dare to reform town planning? Currently, almost all provinces located in areas at risk of floods are busy activating flood pre- vention plans by putting up dikes and raising road levels by 50-80 centimeters. Are such meth- ods appropriate or not, and in what ways? I totally disagree because it means provincial authorities are only looking to protecting their respec- สมั ภาษณพ์ ิเศษ: รศ.ดร.เสรี ศุภาราทติ ย์ Special Interview: Assoc Prof Dr Seree Supharatid

40 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 ปทมุ ธานี – แนวคันดินก้นั น�้ำคลองระพีพฒั น์ อ. คลองหลวง แตกเป็นทางยาวหลายจุด tive provinces. This is not the way to solve problems. พร้อมกัน สรา้ งความโกลาหลให้กับชาวบา้ นทตี่ อ้ งระดมช่วยกนั ขนกระสอบทราย สรา้ งแนว Every provincial governor should adopt an integrated ป้องกันขน้ึ มาใหม่ – ดลิ ก ตามใจเพ่อื น approach to water management. That requires consider- ation of the source of the water flow, the mid-way point, Pathum Thani – Residents of Khlong Luang district are frantically patching and the end of the flow. The first step is the designation up an earth dike along Raphiphat Canal that sustains breakage at several of a host for comprehensive water management. If you spots – Dilok Tamjaipuan build dikes and raise road levels in your province, this will have adverse repercussions on neighboring provinces as ด้วยถ้าหากทุกจังหวัดที่อยู่ในเขตพื้นท่ีเส่ียงคุยกันว่าจะหาแนวทาง before. Your province will not be flooded but huge vol- แก้ไขปัญหาน้�ำท่วมอย่างไรเพื่อไม่ให้กระทบกับประชาชน เช่น การ umes of water will flood into your neighbors’ province. ป้องกันน้�ำทว่ มอาจจะป้องกนั ในพน้ื ท่ีเศรษฐกิจท้งั หมด แต่ไม่ใชป่ อ้ ง หมดทกุ พื้นทใ่ี นจังหวัดนัน้ ๆ เพราะนำ้� ต้องการทอี่ ยู่เหมือนกนั เพราะ I’m totally opposed to the individual approach to ฉะนน้ั ถา้ ทกุ จงั หวดั ยงั ใชว้ ธิ นี ี้ นำ้� กห็ ลากลงมาทางดา้ นลา่ ง นำ้� กจ็ ะทว่ ม problem solving. But I do agree to every province located กรุงเทพมหานคร รวมท้ังจงั หวัดนครปฐม in any one area at risk of floods conferring on ways จะมีวิธแี กป้ ัญหาการรุกล�ำ้ คูคลอง 1,200 คลอง ทเ่ี ป็นอุปสรรคตอ่ to solve the problem without adversely affecting local การขุดลอกคูคลองเพื่อแก้ปัญหาน�้ำท่วมกรุงเทพ และเป็นปัญหา residents. For example, you might protect all economic ส�ำคญั ของผงั เมอื งไดอ้ ยา่ งไร zones in the event of floods but not every area in the province because water also needs space to inhabit. If ตอนน้ีชาวชุมชนริมคลองก็ได้ออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลเร่ง every province continues to take an individual approach, จัดการ ลงพ้ืนท่ีพูดคุยกับประชาชนในการแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมที่จะ floods will descend southwards and inundate Bangkok as มีการขุดลอกคูคลอง ชาวบ้านย่านหลังมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ well as Nakhon Pathom. ต้องการให้มีการจัดระบบบ้านม่ันคง เพื่อให้ประชาชนมีที่อยู่อาศัย แต่ตอนน้ียังติดปัญหาเร่ืองการขอเช่าพ้ืนท่ีริมคลอง ซึ่งส่วนใหญ่เป็น In what ways can the problem be solved of tres- ของกรมธนารกั ษ์ ในเรอื่ งนร้ี ฐั บาลควรชว่ ยใหช้ าวบา้ นสรา้ งบา้ นมน่ั คง passing into 1,200 ditches and canals – which ให้มากกว่าน้ีเพื่อแก้ไขปัญหารุกล้�ำคลอง เพราะตอนนี้มีประชาชน is obstructing the dredging of these waterways ทเี่ ดอื ดรอ้ น 350,000 คน สง่ิ สำ� คัญท่ีจะเข้าไปแกไ้ ขปัญหานคี้ ือต้อง to prevent floods in Bangkok, thereby posing a สร้างความเข้าใจ เขาร้ือบ้านออกมาแล้วเขาจะไปอยู่ที่ไหน เพราะ major setback for town planning? ตอนนี้บริเวณริมคลองของกรุงเทพมหานครเต็มไปด้วยบ้านของชาว บ้านทปี่ ลูกรกุ ลำ้� เข้ามาในคลอง แลว้ ถ้าจะรือ้ กต็ ้องร้ือทั้งหมด เพือ่ ให้ Communities living alongside canals have collec- เกิดความเท่าเทียมกันทั้งสองฝั่งคลอง ผมจึงอยากให้แก้ไขปัญหาน้ี tively called on the government to visit and talk to resi- รวมทง้ั การปฎริ ูปผงั เมอื งใหเ้ ป็นรูปธรรมโดยเร็วทส่ี ุด dents as part of the process of solving floods by dredging น�้ำท่วมใหญ่ในรอบ 100 ปี จะเป็นวงจรที่เกิดข้ึนเช่นน้ีเสมอไป canals. People living behind Kasetsart University (who หรือไม่ have encroached on canals) want a secure and subsidized housing plan so that they can continue to live there. น้�ำทว่ มปที ่แี ล้วเป็นน้�ำทว่ มในรอบ 100 ปี แต่ไมไ่ ด้หมายความ However, there is a snag on the matter of renting land วา่ จะต้องรอเวลาอีก 100 ปี จึงจะเกดิ ขนึ้ อกี ครง้ั หนึ่ง แตท่ จ่ี ริงแลว้ alongside canals, most of which belongs to the Treasury หมายถึง น้�ำท่วมใหญ่เช่นน้ีอาจจะเกิดขึ้นในปีใดก็ได้ ในระยะเวลา Department. The government should help these people 100 ปีนี้ ซึ่งอาจจะเกิดซ้�ำอีกในปีน้ีก็ได้ น่ันก็หมายถึงประเทศไทย build houses that are more secure so that there is no ยังมีความเส่ียงท่ีจะประสบปัญหาน�้ำท่วมและภัยแล้งอย่างรุนแรง encroachment on canals. With 350,000 people currently เพราะภาวะโลกร้อนท่ีเพ่ิมขึ้น สถานการณ์แผ่นดินทรุดตัว และการ affected, the key to solving this problem is to establish an บริหารจัดการของมนุษย์ท่ียังไม่มีประสิทธิภาพ จึงมีความจ�ำเป็นที่ understanding. Where will they live after they dismantle ภาคประชาชนและรัฐบาลต้องประเมินความเสี่ยงและเตรียมพร้อม their homes? Bangkok is full of people who have set up รบั มืออยา่ งเต็มที่ n homes into canals. If these homes are to be dismantled, all encroaching homes have to be dismantled in order to be fair to everyone. I would like this problem to be solved and reform of town planning implemented soonest. Will the first great floods in 100 years become a revolving cycle? Last year’s floods were one of the great floods in 100 years but that does not mean there won’t be another such disaster for another 100 years. Another great flood could come within the next 100 years, which may mean this year or later in the century. That means Thailand is still at risk of serious problems of floods or drought. This stems from the increase in global warming, land subsid- ence, and the failure of human-beings to ensure efficient management. That is why the civic and state sectors must assess the risks and be fully prepared to deal with eventualities. n

นอหัก ล่อเขกันียกตนราวั ับรเชจยญิ ดัืดกหGายUรEุน่ SนTำ�้ นWใRหมุ่ I้ยนTEงั่วRยลืน สรุ จิต ชริ เวทย์ ในฐานะประชาชนคนหน่ึง ปัญหา ไม่ว่าจะเป็นล�ำน�้ำเล็กๆ ที่สุดที่ทางบ้านของผม แห่งลุ่มนํ้าแม่กลองท่ีมีความ เรยี กว่า “ลำ� ประโดง” ทีอ่ ย่หู ลงั บา้ นของผมเอง ซง่ึ แยก มาจากคลองเลก็ ๆ ทแ่ี ยกมาจากคลองขนาดใหญ่ ซึง่ แยก ยาวสายน้�ำ 526 กิโลเมตร ตัวมาจากแม่น�้ำอีกทีหน่ึง ไปจนถึงแม่น�้ำใหญ่หรือแม่น้�ำ มีพื้นที่ลุ่มนํ้า 30,000 นานาชาตอิ ย่างแมน่ าํ้ โขงและแมน่ า้ํ สาละวนิ ตารางกิโลเมตร และได้ สมั ผัสกับลุ่มนำ้� ตา่ งๆ มา ไลต่ งั้ แตป่ ัญหาลำ� นา้ํ ต้นื เขนิ การสรา้ งส่งิ ปลูกสร้างหรือถนนทบั มากมาย กบ็ อกไดว้ า่ การ ล�ำนํ้า การสรา้ งประตูนำ�้ ปดิ กั้นล�ำน�้ำตา่ ง ๆ น้�ำเนา่ เสียจากมลภาวะ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ลุ ่ ม น�้ ำ จากชมุ ชน จากโรงงานอตุ สาหกรรม จากการเกษตรเคมี ปญั หานำ�้ แลง้ ในประเทศเต็มไปด้วย น้�ำท่วมไม่เป็นจังหวะ ไม่เป็นฤดูกาล ปัญหาแผ่นดินทรุด ชายฝั่งพัง สมทุ รสงคราม – ชมุ ชนและเรือกสวนเรียงรายรมิ ฝงั่ คลองบางน้อยที่ไหลลงสแู่ ม่นำ�้ แม่กลอง สายนำ้� ท่เี ลีย้ งดูชวี ิตมาหลายชัว่ อายุคน Samut Songkhram – Communities and orchards line the Bang Noi Canal that flows into Mae Klong River, both of which have provided nourishments to the locals for ages. Softly, Flexibly, As a person who lives in the Mae Klong Gently — River Basin — where the river runs for 526 kilometers and the basin covers an How to Manage area of 30,000 square kilometers — Water Sustainably and is in touch with several other river basins, I can say that the management Surachit Chiravet of river basins in this country is replete with problems. This includes the management of small waterways which terminate in what people where I come from call “Lam Pradong”, located just behind my house. These small waterways are tributaries of small canals which themselves are tributaries of bigger canals which split off from rivers, even major transboundary rivers like the Mekong or the Salween.

42 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 สมทุ รสงคราม – คลองอมั พวา สายนำ�้ มีชีวติ และทุกชีวิตสัมพันธ์กับสายนำ้� บรรยากาศวันวาน เขา้ หาสมดลุ อนั ตอ่ เนอ่ื ง สมดลุ ทเี่ ปน็ พลวตั (Dynamic Equilibrium) ยงั พบไดท้ ่คี ลองสายนี้ – ดิลก ตามใจเพือ่ น นนั่ คอื อาการกริ ยิ าทธ่ี รรมชาตแิ สดงใหเ้ หน็ อยทู่ กุ ขณะ มลี กั ษณะเปน็ วงกลม ไม่มีต้นไมม่ ปี ลาย เป็นกระบวน เป็นกระแสอนั ตอ่ เนือ่ ง ชาว Samut Songkhram – Monks on alms-taking round, a traditional way of life พทุ ธเรยี กความจรงิ นวี้ า่ “ธรรมะ” หรอื “สจั ธรรม” อนั เปน็ ความจรงิ that can still be seen along Amphawa Canal. – Dilok Tamjaipuen ข้นั สูงสุด (Absolute Truth) เรียกวา่ ตงั้ แต่ยอดเขาถึงทะเล ไม่มผี ใู้ ดสมปรารถนาเลย ก็เพราะการ คอื ธรรมชาตติ า่ งๆ มนั พอดขี องมนั ไมข่ าด ไมเ่ กนิ ไมม่ ใี จ ไมต่ งั้ ใจ เข้าไปวนุ่ วายจัดการโดยคนนอกกนั น้แี หละ จะทำ� ร้ายใคร ธรรมชาตขิ องดาวเคราะหน์ เ้ี ปน็ เช่นนั้นเอง ประเทศเรามหี น่วยงานกรมชลประทานมากว่า 100 ปีแลว้ ถึง หากเรายอมรบั ความจรงิ อนั น้ี ธรรมชาตกิ ม็ แี ตค่ วามพอดี ความ บัดนี้เรามีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอยู่กับน้�ำตั้งแต่ยอดเขาถึงทะเลอยู่ สมดุล และเรามนุษย์ผู้มีปัญญาก็ต้องหาทางปรับตัว ปรับสมดุลของ ประมาณ 22 หน่วยงาน 9 กระทรวง และมีพรมแดนอันศักด์ิสิทธ์ิ เราใหส้ อดคล้อง เข้าใจเหตุและปัจจยั ท่ีเก่ยี วข้องวา่ น่ีเป็นธรรมชาติท่ี ทมี่ อิ าจกา้ วลว่ งไดข้ องหนว่ ยงานระดบั กรมและกระทรวงตา่ งๆ ทำ� ให้ ยั่งยนื เกา่ แกก่ ว่าตวั เรา เราไมอ่ าจสมปรารถนาไดท้ ้งั หมด เราปรบั ตวั เกดิ ภาวะที่สำ� นวนไทยโบราณเรยี กวา่ “ยุ่งเป็นลงิ แกแ้ ห” ยิ่งแกย้ ิง่ ยุ่ง ดัดแปลงได้บ้างตราบใดที่การปรับตัวดัดแปลงน้ันไม่ทะเยอทะยาน พันตวั แน่นขึ้นจนลิงตัวน้นั ขยับตัวไมไ่ ด้ ออกจากแหไมไ่ ด้ เกนิ ไป จนไปตัดหว่ งโซข่ องกระแสธรรมชาติ อนั เป็นวธิ ีคิดของคนใน คอื คนในลมุ่ นํา้ ทีแ่ ท้จริง เราพากันสร้างโครงสร้างแข็ง (Hard Structure) ต้ังแต่ขนาด เล็ก เช่น ประตูน�้ำต่างๆ ไปจนถึงเขื่อนโครงสร้างแข็งขนาดใหญ่ นค่ี อื ตวั อยา่ งของการปรบั ตวั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ลลี าของธรรมชาติ ทะเยอทะยาน ประเทศของเราเป็นประเทศแรกๆ ในกลุ่มอาเซียน เมอื งสมทุ รสงคราม หรอื ทเ่ี รยี กกนั โดยทวั่ ไปวา่ เมอื งแมก่ ลอง ตงั้ ท่ีได้สร้างเขื่อน สร้างประตูนํ้าใหญ่น้อยมากมาย มีคณะกรรมการ อยูป่ ากแมน่ ํ้าแม่กลอง เกิดจากดนิ ตะกอนท่สี ายนํา้ แมก่ ลองอมุ้ พามา ลุ่มน้�ำ ดูแลทุกลุ่มน�้ำ มีรัฐธรรมนูญ มีกฎหมายล�ำดับรองที่เก่ียวกับ จากป่าต้นน้าํ ผา่ นทล่ี าดชนั ลงสทู่ งุ่ ราบ จนถึงพืน้ ท่ีชุม่ น้�ำบริเวณปาก ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มทกี่ า้ วหนา้ ทสี่ ดุ มปี ระสบการณ์ มี แมน่ าํ้ ตำ� แหนง่ ทตี่ งั้ ของเมอื งปากแมน่ า้ํ ทเี่ ปน็ ทรี่ าบลมุ่ ตอ้ งตอ่ สกู้ บั นำ�้ บทเรยี น และมคี ดเี กยี่ วกบั สง่ิ แวดลอ้ มขน้ึ สศู่ าลปกครองมากมาย เพอื่ หลากในชว่ งเดอื นกรกฎาคมถงึ เดอื นตลุ าคมของทกุ ปี ในขณะเดยี วกนั วางบรรทัดฐานและตีความกฎหมายในกระบวนการจัดท�ำโครงการ ก็ต้องอยู่ร่วมกับนํ้าทะเลในอ่าวไทยชั้นในสุด คือ อ่าว ก.ไก่ ซึ่งเป็น กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน กระบวนการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ทะเลภายใน ทะเลตม ทะเลตื้น ซึง่ น้ำ� ทะเลจะยกตัวสงู ขึ้นประมาณ กระบวนการศึกษา วิเคราะห์ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ท้ังวิถีชีวิต 3.90 เมตร ในชว่ งเดือนตลุ าคมถึงเดอื นมกราคมที่น้ําหลาก ท้งั หมด ชุมชน วัฒนธรรม และสุขภาวะ กระบวนการป้องกันและ เยียวยา ไปสะสมอยูใ่ นทะเล ผลกระทบ ไปจนถึงกระบวนการตัดสินใจว่าจะด�ำเนินโครงการหรือ บรรพชนผูช้ าญฉลาดของเราจึงสร้างบา้ นแปลงเมืองให้สามารถ ไม่ อย่างไร คอื รัฐต้องรบั ผดิ ชอบในส่ิงท่รี ฐั ทำ� รวมทง้ั หน่วยงานและ อยู่ร่วมกับระบบนิเวศปากแม่น�้ำ (estuary) แบบน้ีโดยการท�ำการ เจา้ หน้าท่ขี องรัฐต้วย เกษตรแบบท�ำดินยกร่องให้มีพื้นท่ีอาศัยของน�้ำ และมีพ้ืนที่ปลูกพืช ที่เหมาะสมกัน และเราอยู่บ้านใต้ถุนสูงให้น้ําลอดได้ในหนา้ นํ้าหลาก หากจ�ำนวนปัญหาบอกถึงความก้าวหน้าในการพัฒนาและ เรากเ็ ลยอยเู่ ย็นเปน็ สขุ สามารถตั้งถิ่น ฐานและทำ� การเกษตรท�ำการ บรหิ ารจดั การลมุ่ นาํ้ ไดด้ ที สี่ ดุ ละก็ เราคงกา้ วหนา้ กวา่ ใคร เรามตี วั อยา่ ง ประมงทส่ี อดคลอ้ งกบั ลลี าของธรรมชาติ รกั ษาความหลากหลายทาง ของปัญหาข้อขัดแย้งในการบริหารจัดการน้ํา จัดการพลังงาน และ ชวี ภาพ และความมน่ั คงของอาหาร จนไดเ้ ปน็ เมอื งทม่ี คี ณุ ภาพชวี ติ ที่ จัดการทรัพยากรนับร้อยนับพันกรณีคึกษา อันเป็นผลพวงจากการ ดที ส่ี ุดของประเทศนี้ พัฒนาโดยคนนอก ไม่มีนํ้าขาด ไมม่ ีนํ้าเกนิ น่ันเป็นเรอื่ งของคน คนฉลาดไม่ต่อสู้กับกลไกอันใหญ่โตของธรรมชาติที่ท�ำให้ชีวิต ในขณะท่ีธรรมชาติแสดงตัวตนให้เราเห็นอาการในลักษณะที่ อันแสนส้ันต้องเสียเวลาไป หากแต่แสวงหาปัญญาที่จะอยู่ร่วมให้ เป็นวฎั ฎะ (Cycle) หมุนเวียน เปลย่ี นแปลง คือ เกิดขึ้น เปล่ียนแปร สอดคล้องเพราะเราเป็นผู้อาศยั ชั่วคราว ดบั แล้วก็เกิดข้ึนอีก เปลี่ยนแปรอกี ดับอีก ทั้งระบบนเิ วศทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ทีน้ีมาดูพวกผู้คนท่ีทะเยอทะยาน อยู่ยาก เลี้ยงยาก พอใจ อยูก่ ับชีวติ ของพชื สตั ว์ และคน ตลอดท้ังดาวเคราะหด์ วงนี้ และใน อะไรยาก ท่ามกลางความเปล่ียนแปลงอันหมุนเวียนนี้ ธรรมชาติก็มีการปรับ พวกคนเขลาคดิ วา่ การปลอ่ ยใหก้ ระแสน�้ำไหลอยา่ งอสิ ระไมเ่ ปน็ ประโยชน์ โดยเอามนษุ ย์เป็นศูนย์กลาง เพราะเขาเหน็ นำ้� ไมค่ รบถว้ น ถงึ สงิ่ ที่น้าํ อมุ้ มาดว้ ย คอื ตะกอน แร่ธาตุ สารอาหาร หรือโอชะของ ดนิ ถา้ ดินสามารถอธบิ ายความอร่อยได้ กอ่ นฤดูนำ้� หลาก แสงตะวันเผาไหม้ท�ำความสะอาดแผ่นดนิ ไฟ ป่าท่ีเกดิ เองมิใชม่ นุษยท์ ำ� ชว่ ยกะเทาะเปลือกลูกไมท้ ี่เข้มแข็ง เตรยี ม ดินส�ำหรับหญ้าและหน่ออ่อนใหม่ๆ มิใช่มีเจตนาจะกล่ันแกล้งใคร แต่เพราะดาวเคราะห์โลกหมุนส่ายเหมือนลูกข่างที่หมุนไม่ได้ที่ บาง ลีลาเอียงขั้วเหนือเข้าหาตะวัน บางลีลาบางฤดูกาลเอียงข้ัวเหนือ ออกห่างตะวนั หากมนษุ ยท์ เี่ กดิ และตดิ อยบู่ นดาวเคราะหพ์ เนจรดวงนไี้ มพ่ อใจ ตเิ ตยี นวา่ ตรงนน้ั ตรงนคี้ วรมนี ำ�้ ใหพ้ อกบั ความตอ้ งการของเขาทกุ เวลา

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 43 From the problem of silt, which leaves waterways Nature’s manifestations, constantly, in a circular pattern, shallow, to the construction of buildings or roads on top with no beginning or end but in a movement, a constant of waterways, water gates aimed at blocking various bod- motion, which Buddhists call Dhamma or Sajjatham, in ies of water, decay caused by pollution from communi- other words the Absolute Truth. ties, factories or chemical-based agriculture, to the prob- lem of drought, of freak or unseasonal floods, to that of Whatever comes of Nature is self-sufficient. It is nei- sinking land, and coastal erosion. Let’s say from the top ther lacking nor excessive. It has no intention to bring of the mountain to the sea, no one is satisfied because harm. That is the nature of this Planet Earth. outsiders have interfered in the management of water. If we accept this truth, Nature possesses only suffi- It is now more than 100 years that our country has ciency and equilibrium, and we human-beings endowed been served by Irrigation Department units. From the with intelligence have to find ways of adjusting ourselves top of the mountain to the sea, we currently have 22 accordingly. We need to understand the reasons and facts units attached to nine ministries, with sacred borders that that this is how Nature is, how it is sustainable and enjoys cannot be crossed by units attached to different depart- a longer life than us all. Our wishes may not be fulfilled ments or ministries lest they be accused of interference in completely but we can adjust some variables as long as their responsibility. In other words, we have a situation these are not too ambitious. By this I mean so ambitious that recalls the traditional Thai saying: “wound up like that one or more variables sever Nature’s chain. This is a monkey trying to free the knots of a fishing net” – or the way of insiders, of true inhabitants of river basins. the more the monkey tries to unwind a knot the more it tightens around the animal, disabling it from moving or This is one way of adjusting oneself to fit in with freeing itself from the net. Nature’s course. We encourage the building of hard structures, from Samut Songkhram, generally known as Muang Mae small things like watergates to ambitiously large struc- Klong, is situated at the mouth of the Mae Klong River. tures such as dams. We are one of the first countries in The town rose from sediment that the river has brought the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) to from the headwater forests through steep plateaus down build dams and watergates, large and small, and in profu- to flat plains, and to wetland at the mouth. The town sion. We have committees to oversee river basins, every- is located on a flat plain that has to contend with flash one of them. We have the most progressive constitution floods from July to October every year. At the same time, and organic laws concerning natural resources and the the town has to co-exist with sea water from the inner- environment. We have learned many lessons and sent most bay – an inverted U-shape bay or Aao Gor Gai – of up to the Administrative Court plenty of cases related to the Gulf of Thailand. This particular inland bay consists the environment in order to set standards and interpret of mud and is shallow. The sea water rises by about 3.90 laws in the process of forming projects. We have pub- meters from October to January when flash floods collect lic participation process, public hearings, and a process in the sea. to assess impacts on the environment as well as on the way of life, the respective communities, local cultures That’s why our wise ancestors built houses and and public health of any particular project. We have a adjusted the town to enable co-existence with the eco- process for preventing repercussions and for rehabilita- logical system of the estuary. They did so by farming the tion in case of adverse effects. We also have a process for land in a way that allowed the estuary to live on, and by deciding whether a project should be given the go-ahead, growing crops that were suitable to such an agricultural and how this should be done. That means the State has way. We also lived in houses on stilts that made it possible to bear responsibility for what it does, and this includes for the water to pass through during the flooding seasons. government agencies and their officers. Hence we lived in cool climes and happiness. We could set up homes, farm the land or fish in keeping with the If the number of problems speak best of the prog- course of Nature, sustaining the biological diversity, and ress in development and management of river basins, we food security, so much so that our home town came to in Thailand must be the most progressive. We have hun- have the best quality of life in this country. dreds, thousands even, of case studies showing problems in conflict of management – of water, energy and natu- There was no shortage or excess of water. That is ral resources. All result from development by outsiders. what people can ensure. Meanwhile, Nature has shown us how it works in Wise people do not fight Nature’s great mechanisms cycles, how it turns to bring change. That is birth, tran- which can waste time in a life that by comparison is so sition, termination, then back again to birth, transition short. Instead, they search knowledge for co-existence and termination. This applies to the entire ecological with it because we are only temporary residents. system that encompasses the lives of plants, animals and human-beings, including the planet that we live on. Now let’s turn to people who are ambitious, find dif- Amid this cycle of change, Nature constantly adjusts ficulties in the way they live, are hard to nurture, and to the equilibrium, the dynamic equilibrium. These are please. Those lacking in wisdom think it wasteful to allow waterways to flow freely. They put human-beings at the center of their thinking because they see water as lacking. Consider what the water brings with it: mud, minerals, นกั เขยี นรบั เชิญ: สุรจิต ชิรเวทย์ Guest Writer: Surachit Chiravet

44 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 โดยยงั มองนำ�้ ในมติ เิ ดยี วคอื มติ ขิ องปรมิ าตรหรอื จำ� นวน ซง่ึ เขาจะตอ้ ง คลองยงั คงเปน็ แหลง่ อาหารให้ชาวบ้านได้ทอดแหจับปลาอยชู่ ั่วนาตาปี เข้าไปบริหาร จัดวาง โยกยา้ ยไดด้ งั ใจ เพราะมนั ขาดตรงน้นั มนั เกนิ ตรงน้ี เขาตอ้ งการน้�ำเปน็ ก้อนๆ เริม่ สรา้ งโวหารวาทะกรรมขนึ้ มา เรา Many canals continue to provide food to inhabitants as they have done ตอ้ งมเี ขอ่ื นยกั ษ์ เขอื่ นอเนกประสงค์ เพอื่ ใหไ้ ดไ้ ฟฟา้ แกป้ ญั หานำ้� ทว่ ม for ages แก้ปญั หาน�ำ้ แลง้ ขยายพ้นื ที่เพาะปลกู ขยายเขตชลประทาน ท�ำมา 100 กว่าปี มีพื้นท่ใี นเขตชลประทาน 38 ล้านไร่ นอกเขตชลประทาน ชาวประมงในล�ำนํ้าเม่ือต้องหาปลาขนาดใหญ่ เช่น ปลาบึกใน มีกว่า 100 ล้านไร่ ล�ำน้�ำโขง ปลากะโห้ในลำ� น้ำ� อ่ืน ปลาใหญ่ขนาดนัน้ มใิ ช่เป็นเพยี งสตั ว์ ไรก้ ารดแู ล มนั เปน็ ปลาของผี ผนี ํ้า ผีหลวง ผีผ้ยู ่งิ ใหญต่ ่างๆ ดแู ลอยู่ ทกุ ลมุ่ นา้ํ ในประเทศของเราทมี่ เี ขอื่ น มปี ระตคู วบคมุ นาํ้ มากมาย เห็นอยู่ และยอ่ มมวี ิถีทางของท่านทีม่ นุษยไ์ ม่อาจเข้าใจไดท้ ั้งหมด ไม้ ยังคงเดิม น้ํายังท่วมไม่เป็นจังหวะ แล้งไม่เป็นจังหวะ แต่ทวีความ ใหญ่ ภูเขา ลว้ นมีผีดูแลอยู่ มนุษยเ์ มื่อจำ� เป็นตอ้ งฆ่าฟนั ก็จะต้องบอก รุนแรงท�ำลายล้างสงู ขน้ึ ปที ผ่ี ่านมาเราประสบปญั หาน้ำ� ท่วมกว่า 40 กลา่ วขออนญุ าตดว้ ยการตง้ั พธิ กี รรมเซน่ ไหว้ เพราะมนษุ ยเ์ ปน็ เพยี งผู้ จังหวัดจาก 76 จังหวัดทั้งท่ีอยู่ในเขตชลประทานน้ันแหละ ไม่เคย อาศัยชั่วคราว มใิ ชเ่ จา้ ของ หากเซน่ ดีพลีถกู ตวั เขา ครอบครัวของเขา ควบคมุ อะไรไดจ้ รงิ หรอก เปน็ แตเ่ รอื่ งสมมติ พรอ้ มกบั มเี สยี งเรยี กรอ้ ง กจ็ ะอยู่เยน็ เป็นสุข หากเซ่นไมด่ ีพลีไมถ่ ูก ขาดความนอบน้อมย�ำเกรง ใหส้ รา้ งเพม่ิ อกี มากๆ ในขณะทอ่ี กี ดา้ นหนง่ึ ประชาชนเรยี กรอ้ งใหเ้ ปดิ ตวั เขาและครอบครัวของเขากอ็ าจพบกบั ความวิบัติ เข่อื น ปลดปลอ่ ยเสรภี าพใหก้ บั สายนํ้า และวงจรชวี ิตปลา นค่ี อื “มอื ทมี่ องไมเ่ หน็ ” ทบี่ รหิ ารจดั การสายนาํ้ ภผู า ปา่ ไม้ และ เราจะไปทางไหนด?ี ทะเล มนั คอื การบรหิ ารจดั การทม่ี อี ยแู่ ลว้ ในวฒั นธรรมทแี่ นบอยกู่ บั วถิ ี ทผี่ า่ นมา เราปลกู พชื เชงิ เดยี่ วกนั มาก และปลกู หลายครงั้ ในรอบ ชวี ิตของประชากรในลุ่มน้ำ� ต่างๆ ปจี นแผ่นดนิ ทนทานไมไ่ หว ตอ้ งใชป้ ยุ๋ เคมี ยาฆา่ แมลง เป็นแสนลา้ น บาทตอ่ ปี ตอ้ งหวิ นา้ํ หวิ ไฟฟา้ เรอื่ ยไปไมม่ ที ส่ี นิ สดุ ในนามอนั ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ไม่ใช่ “มอื ทีม่ องไม่เหน็ ” ของท่านอดมั สมิธ* ของการพฒั นาแบบหยาบคายแขง็ กระดา้ ง และพากนั เปน็ โรคกลวั นา้ํ มันเห็นได้ยากกวา่ เข้าใจไดย้ ากกว่า ทั้งทเ่ี ราเปน็ ประเทศในเขตมรสุม ไม่สามารถอยู่ร่วมกับน�้ำโดยการอยู่ บดั น้ี ผคู้ นของเรา ลกู หลานของเรากำ� ลงั เปลยี่ นไป กลายเปน็ คน บา้ นใต้ถุนสงู การใช้พาหนะเรือแพ และการขนสง่ ทางนำ�้ ในขณะท่ี อยยู่ าก เลย้ี งยาก ทะเยอทะยาน ปลอ่ ยตวั ปลอ่ ยใจไปตามความอยาก สัตว์นํ้าสตั วบ์ กตา่ งๆ ตอ้ งสญู หายไปเร่ือยๆ ความตอ้ งการไรข้ อบเขต ตามกระแสอนั เชยี่ วกรากของโลกาภวิ ตั น์ ซง่ึ บริษัทขนาดยักษ์บอกเราว่าเพาะเลี้ยงทดแทนได้ แต่สัตว์เหล่า มิใช่โลกไร้พรมแดนหรอก แตเ่ ปน็ “ความโลภไร้พรมแดน” ตา่ งหาก นั้นก็ยังคงต้องกินอาหารในห่วงโซ่อาหารเดิมนั้นแหละ เพียงแต่ ผมเขียนค�ำกล่าวน้ีด้วยปากกาสูบหมึก มิใช่ด้วยแป้นพิมพ์แข็ง แปลงกายมาในรปู อาหารเมด็ และถกู ควบคมุ ทงั้ วงจรตงั้ แตเ่ มลด็ พนั ธ์ุ กระด้างไร้เส้นสายหนักเบาอ่อนนุ่ม เพื่อป้องกันตัวเองจากความ สายพนั ธ์ุ อาหาร ยา อปุ กรณก์ ารเลยี้ งทกุ อยา่ ง โดยการทรมานรนุ แรง หยาบช้าสามานย์ ขน้ึ ท่วั แผน่ ดนิ แผน่ น้าํ ในนามอนั ศกั ดส์ิ ทิ ธขิ์ องการพฒั นาและวาทะกรรมทว่ี า่ ตง้ั แตภ่ ผู า *อดมั สมิธ (Adam Smith) เป็นนกั เศรษฐศาสตร์ร่นุ บกุ เบิกทที่ ว่ั โลกยกย่องให้เปน็ ป่าไม้ สายน้�ำ จนถงึ ทะเล ต้องบรหิ ารจดั การ เสมือนวา่ ไมเ่ คยมีการ “บิดาแหง่ ทนุ เสรนี ิยม” แนวคดิ ทางเศรษฐศาสตร์ทเี่ ช่อื วา่ ระบบตลาดเสรีเปน็ ระบบ บริหารจัดการดูแลมาก่อนเลย เศรษฐกจิ ท่ดี ีทีส่ ุดส�ำหรับมนุษย์ และรฐั ควรแทรกแซงตลาดใหน้ ้อยทสี่ ุด เพราะตลาดเสรี เราชาวเอเชยี เราคนไทย เราเรียกผูม้ บี ญุ คณุ เล้ียงดูเราทุกสิ่งว่า มี “มอื ท่ีมองไม่เห็น” คอยดูแลกำ� กับไดด้ ีอยแู่ ล้ว “แม่” เราจึงเรียกแม่นาํ้ แม่คงคา ผ้ปู ระทานนํ้าใหเ้ รา เรยี กแมธ่ รณี ผู้ประทานแผ่นดินให้เราอยู่อาศัยและดูแลเรา แม่โพสพ เทพีแห่ง ขา้ วปลา ธัญญาหาร แมย่ า่ นาง เทพีผสู้ ถิตยอ์ ยทู่ ่ีหวั เรอื และเราเรยี ก ถิ่นฐานบา้ นเกดิ ของเราวา่ “มาตุภมู ”ิ (Mother Land) คือบ้านของ แมผ่ ใู้ ห้กำ� เนดิ เรา หรอื ทีอ่ ยขู่ องแม่ และธาตุนํ้าโดยลักษณะอาการกิริยาที่แสดงออก เราถือว่าเป็น เพศหญงิ ดว้ ยลกั ษณะอาการที่อ่อนโยน แผก่ ระจาย ไหลซา่ น เชื่อม โยงประสาน ท้ังยังสามารถเปลี่ยนแปรได้หลายสถานะ ทั้งเยือกเย็น เปน็ นาํ้ แขง็ ออ่ นโยนเขา้ ไดก้ บั ทกุ รปู ทรงภาชนะทบ่ี รรจรุ องรบั อยู่ และ สามารถเดือดอย่างร้อนแรงจนกลายเป็นไอ นี่คืออาการของเพศหญงิ เพศของแม่ จงึ ตอ้ งเคารพนบั ถือ มิอาจกระท�ำโดยปราศจากความนอบนอ้ ม อย่าว่าแต่การสร้างเขื่อนแข็งหยาบกระด้างไปกีดขวางสายน้ํา เขื่อน ซ่ึงโดยลักษณะอาการท่ีลุกฟูข้ึน สูงขึ้นในอากาศ แข็งแกร่งกระด้าง เป็นอาการของเพศชาย ซ่ึงโดยตรรกะน้�ำ ย่อมไม่อาจเอาชนะเพศ หญิงได้ นอกจากเป็นการท�ำลายตัวเองในระยะยาว เพราะเราไม่รจู้ กั น�้ำตามความเป็นจรงิ ในฐานะผคู้ ้�ำจนุ ระบบนิเวศ ผคู้ ้ำ� จนุ ความมนั่ คง ทางอาหาร

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 45 food or the deliciousness of the earth. If only the earth ชาวประมงตักปลาททู ต่ี ดิ อวนจ�ำนวนมากในฝ่ังทะเลสมุทรสงคราม could explain what it means to be delicious. Fishermen scoop up mackerel netted off the Samut Songkhram shore. Before the season of floods, the sun burns, cleaning the land. Forest fires that naturally occur, not those set are told that everything from mountains to forests, water- by human-beings, help knock off the hard peel of fruits, ways, to the sea needs to be managed as if there had not prepare the land for grass, and new shoots. They do not been any management before. intend to do harm to anyone. But because Planet Earth turns like a top that cannot find its place, in some motions We Asians, including us Thais, call everything leaning towards the north in the direction of the sun, in to whom we owe our lives “mother.” Hence, the Thai other seasons towards the south away from the sun. word for river “mae nam” – “mae” meaning mother and “nam” meaning water – or “Mae Khongkha” – the pro- But human-beings who are born and live on this vider of water. “Mae Thoranee” is the mother who has rotating planet are not satisfied, complaining that there provided land for us to live on and looked after us; “Mae should be more water to serve their demands here and Phosop” the goddess of water, fish, and cereals; “Mae there all the time – by looking at only one dimension Ya Nang’’ the goddess who presides over the bow of a of water: its volume or quantity – which they have to ship. And we call the place where we were born “matu- intervene to manage, allocate or transfer as they wish. phoum” or motherland, the land which gave birth to us This follows their understanding that something is miss- or is the home of mother. ing here and there, they want bundles of water, stir up rhetoric to back up their contention that there must be We regard water as female because of the character- a gigantic dam, an all-purpose dam to bring electric- istics and manners expressed. Water is gentle and expan- ity, solve problems of flooding, of drought, which leads sive. At the same time, she diffuses, bridges gaps and can to the expansion of land for cultivation and irrigation. transform variously: cold as ice, so gentle that she can fit They have done this for more than 100 years with 38 into any vessel that awaits her, and she can boil so fiercely million rai under irrigation zones, and another 100 mil- that she emits steam. lion rai of cropland outside the zones. These are the symptoms that the female gender Every river in the country equipped with so many shows, mother’s gender. dams and watergates still encounters familiar problems. There are irregular flash floods and droughts which That’s why we have to hold water in respect. We can- moreover gather more intensity in destructive powers. not do unto her without deference. This does not only In the past year, we experienced floods in more than bar the construction of crude, hard dams to obstruct 40 of the country’s 76 provinces. They were all prov- water’s path. By nature, dams raise themselves up high in inces within the irrigation zones, which cannot control the air, strongly and harshly, as is the wont of the male. any eventuality. All the talk about control is nothing but But they cannot, by the logic of water, overcome the rhetoric that calls for more dams and watergates to be female gender because it would be self destructive in the erected while local inhabitants urge the closing of dams long term. This is because we do not know the reality of in order to free the water’s flow and release the cycle of water as the main pillar of the ecological system and of fish life. food security. Which way should we go? When fisherfolk have to fish for large creatures, such So far, our tendency has been to grow mono-crops, as the Giant Catfish in the Mekong River or the Siamese each crop several times a year, heaping pressure that the Giant Carp in other rivers, they have to ask for permis- land can not bear. This has led to the use of trillions of sion from these beings’ guardians by making offerings baht of chemical fertilizers and insecticides each year; to to them. Such big fish do not lack for guardians, they the thirst for water and electricity that has no bounds – in belong to spirits. These could be water spirits or heav- the sacred name of crude and unyielding development. enly spirits or other grand spirits. The fisherfolk have to And we all have become paranoid about water even proceed with proper rites because they are only human- though our country is in a monsoon zone. We cannot co-exist with water by having to live in houses built on stilts, using ferries or other means of water transporta- tion. Meanwhile, both land and aquatic animals gradu- ally disappear. A giant firm tells us we can do replacement breeding but those creatures still have to eat food in the same food chain. The difference is they now eat food in pellet form, live under total control of the breeder from the seed, to the specie, to food, medicine and every tool for breeding, thereby intensifying the degree of torture across the land. In the sacred name of development and rhetoric, we นักเขียนรบั เชญิ : สรุ จติ ชริ เวทย์ Guest Writer: Surachit Chiravet

46 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 เวลาท่ีคนไทยพบกัน เราจะทักทายกันว่า “สวัสดี กินข้าวกิน beings who are transients, not owners of such creatures. ปลาแลว้ ยัง” If they make the proper offerings to the spirits, the fish- erfolk and their family will live in peace and tranquility. เราชอบกินข้าวกินปลา เราจึงมีร่างกายกะทัดรัด ไม่ได้ตัวใหญ่ If they do not, and fail to show deference, they and their เปน็ ยกั ษเ์ ปน็ มาร เพราะโดยปรกติ เราไมก่ นิ สตั วใ์ หญ่ เนอ้ื แดงชมุ่ เลอื ด families may encounter disaster. ตดิ กระดกู ทต่ี อ้ งใชค้ วามรนุ แรงในการฆา่ และตดั หน่ั หรอื ชำ� แหละ เรา จงึ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมีมีดบนโตะ๊ อาหาร เรากนิ เผด็ เพราะเราอย่เู มอื งร้อน This is the “invisible hand” that manages water, เมือ่ เหงื่อออกร่างกายจะเย็นสบายดี เราไม่จ�ำเป็นตอ้ งกินอาหารทลี ะ mountains, forests and the sea. They are managers who มากๆ เพราะเรามีอาหารอย่รู อบตวั และเรากินไดท้ ้งั วนั ทั้งคนื already exist in a culture that coexists with the way of life of riverine peoples. หลักในการบริหารจัดการน้�ำ ไม่ว่าในระดับล�ำนํ้าย่อย ล�ำน้ํา ใหญ่ ระดบั ลมุ่ นาํ้ ทง้ั ในประเทศและระหวา่ งประเทศ อาจสรปุ ลงไดใ้ น This is not the “invisible hand” of Adam Smith. หลกั การใหญ่อนั เดียว กค็ ือ “ท�ำอยา่ งไรใหน้ ํ้าไหล อย่าใหน้ ้ํานิ่ง อยา่ It is a hand that is more difficult to see or under- พยายามตัดกระแสไหลเป็นส่วนเปน็ ทอ่ น” stand. These days, our people, children, and grandchildren การพัฒนาอย่างมีความอ่อนตัวยืดหยุ่นนุ่มนวล การปรับการ are going through changes. They are becoming people ดัดแปลงกระท�ำได้ไม่มาก ต้องใช้โครงสร้างอ่อนหรือโครงสร้างเล็ก who live complicated lives, are difficult to bring up, กระจายออกไป ไม่ใช้โครงสร้างแขง็ ขนาดใหญเ่ ชิงเด่ยี ว ต้องทำ� ไปบน driven by ambition, let themselves go with their wishes, ความสอดคล้อง จึงจะสร้างสมดุลท่ีเป็นพลวัต หรือสมดุลบนความ following the rapid trends of globalization. This term เปลย่ี นแปรอันต่อเน่ืองได้ n does not mean a world without borders, but one of greed without limits. ทะเลนอกชายฝง่ั สมุทรสงครามถือเปน็ แหล่งอาศัยของปลาทูทีอ่ รอ่ ยทสี่ ุดของประเทศ I wrote this speech with a fountain pen, not with a harsh keyboard that knows no heavy or gentle lines. I did The sea off Samut Songkhram is considered the country’s fertile ground so in order to prevent myself from becoming depraved. for the most delicious mackerel When we Thais meet, we tend to say “Sawasdee, have you eaten rice and fish yet?” สรุ จิต ชิรเวทย์ อดตี ประธานหอการคา้ จังหวดั สมุทรสงคราม We like to eat rice and fish. That’s why we are small ปัจจบุ นั เป็นสมาชิกวฒุ สิ ภา และสมาชิกคณะกรรมาธกิ าร and compact. We are not large like giants or demons ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม, คณะกรรมาธกิ ารศึกษา because we normally do not eat large animals with red ตรวจสอบเร่ืองการทุจรติ และเสรมิ สร้างธรรมาภบิ าล และ meat close to the bone and which have to be killed with ประธานคณะอนุกรรมาธกิ ารทรัพยากรน�้ำ ของวุฒิสภา violence. Preparation of the meat also requires cutting or หมายเหตุ – บทความนเ้ี รยี บเรียงจากบทปาฐกถาน�ำ ในการ slicing. That’s why we don’t need to place knives on the สมั มนานานาชาตวิ ่าด้วยการจัดการลุ่มนำ�้ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ table. We eat spicy food because we live in a hot country. วนั ที่ 9 มี.ค. 2554 When we sweat, we feel cool and relieved. We don’t have to eat a lot of food at one time because we have food all around us, and we can eat all day. There is only one major principle for managing water – whether this means small streams, big rivers or river basins in the country or internationally shared: “Do whatever is necessary to let the water flow. Don’t let the water lie still. Do not chop the current into chunks.” To ensure development that is soft, flexible and gen- tle, you cannot make too many adjustments. You have to use an infrastructure that is soft or small and make sure that it spreads extensively. You should not use an infrastructure that is hard, large-scale and possessing a tendency to be individualistic. You have to work on the basis of harmony, equilibrium or balance that is capable of continuous change. n Surachit Chiravet is a former president of the Samut Songkhram provincial chamber of commerce. Currently, he is a member of the Senate and sits on the Senate Standing Committee on Natural Resources and Environment, and the Senate Standing Committee on Corruption Investigation and Good Governance Promotion. He also chairs the Senate’s sub-committee on water resources. Footnote: This article is compiled from a speech he delivered at an international seminar on the management of river basins which took place in Chiang Mai on March 9, 2011.

เสน้ ทางเดยี วกนั ON THE SAME PATHมกราคม - เมษายน 2555 January-April2012 47 ประเทศไทยจะอยู่ได้ ชาวนาต้องอยูร่ อด มหาอทุ กภยั เมอ่ื ปลายปที ผ่ี า่ นมา พสิ จู นค์ วามอยรู่ อดของคนหลาย และพึ่งตัวเองได้ กลุ่ม บางชุมชนอย่รู อด บางธุรกิจไปต่อไมไ่ ด้ ฯลฯ กลุ่มเกษตรกรก็ เช่นกนั ทีบ่ า้ งกร็ อดพ้นวกิ ฤติมาได้ บ้างตอ้ งตั้งต้นใหม่ และท่ีส�ำคัญ กรวกิ า วีระพันธ์เทพา มันได้พิสูจน์การท�ำงานแก้ปัญหาจากท้ังภาครัฐและภาคประชา สงั คมด้วย ในวันที่ประเทศไทยหาความแน่นอนจากการรับมือภัยพิบัติไม่ ได้ คำ� ถามส�ำคัญส�ำหรบั ประเทศไทยทเี่ ราเรยี กตวั เองวา่ “เป็นอ่ขู ้าว อ่นู ้ำ� ” คอื ในปีตอ่ ๆ ไปหากน้�ำท่วมมากข้นึ เร่อื ยๆ เกษตรกรควรปรับ ตวั อย่างไรเพอ่ื ความอยู่รอด For Thailand to Last year’s great flood tested the survival level of Live on, Farmers many groups. Some communities survived, some Must Survive and businesses did not, and so on. The same went Stand on Their for farmer groups. Some came through the cri- Own Feet sis intact. Some had to start all over again. Most importantly, the flood tested the problem-solving Kornwika Weerapantepa mettle of both the public and civic sectors. On days when Thailand was unsure which way the crisis would turn and how it could cope, the ques- tion for the country – which calls itself a harbor of rice and water – was whether in future years, if the waters continue to come, how should people living off the land adjust themselves to ensure survival. ชาวนาก�ำลังปักด�ำตน้ กลา้ ในนาตม เปน็ วธิ ีการปลูกข้าวของชาวนาสว่ นใหญ่ในท่ีราบลมุ่ ภาคกลาง — เกื้อเมธา ฤกษพ์ รพพิ ัฒน์ A farmer is planting rice seedlings in the paddy covered with water, a practice in rice planting adopted by most farmers in the Central Plains. — Kuermaetha Rerkpornpipat

48 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 เดชา ศิริภัทร ผู้อ�ำนวยการมูลนิธิข้าวขวัญ ผู้ที่ถ่ายทอดความ ที่ราบลุ่มภาคกลางเปน็ แหลง่ ปลกู ขา้ วท่ีใหญท่ ีส่ ุดในประเทศมาตั้งแต่อดีตถงึ ปจั จุบัน — รู้การท�ำนาแบบเกษตรธรรมชาติจากการท�ำงานจริง มองเห็นความ กรวิกา วรี ะพันธเ์ ทพา ทกุ ขร์ อ้ นของเกษตรกรมาตลอด เขามกั จะกลา่ ววา่ ชวี ติ เกษตรกรบา้ น เรา แม้ไม่เจอภัยธรรมชาติ ก็ถูกเอารดั เอาเปรยี บอย่างรนุ แรงอยูแ่ ล้ว The central plains are the largest rice-growing region in the country. — แต่ปัญหาใช่ว่าจะไม่มีทางออก หากเปลี่ยนความคิดจากการชดเชย Kornwika Weerapantepa หลังน�้ำท่วม แล้วหันมาแก้ปัญหาตั้งแต่ต้นเหตุ ท�ำให้ระบบการผลิต ของเกษตรสามารถอยู่ได้ด้วยตนเอง เขายอมรับว่า หนทางการแก้ แตล่ ะพน้ื ท่ี ใครไมอ่ ยากไดน้ ำ้� กเ็ พยี งแคก่ นั ไปทอ่ี น่ื เทา่ นน้ั ยง่ิ อดุ ยง่ิ ปดิ ปัญหานีค้ งอกี ยาวไกล แตใ่ ชว่ ่าจะไปไม่ถึง นำ�้ กย็ งิ่ ลงทะเลชา้ ลง และปญั หานจี้ ะเปน็ เรอื่ งทป่ี ระชาชนคนธรรมดา อยู่รว่ มกบั น�้ำท่ีมาตามธรรมชาติ ต้องเจอต่อไปโดยควบคุมอะไรไม่ได้ หากรัฐบาลยังบริหารจัดการน้�ำ ดังเช่นปที ผี่ ่านมา ภูมิปญั ญาทีเ่ กษตรกรไทยส่ังสมมานับรอ้ ยปี คือ การสังเกตช่วง เวลาทพี่ ้นื ทแี่ หง้ และการเลอื กพันธุข์ า้ ว ด้วยสภาพธรรมชาตใิ นอดตี ท่ี “น�้ำท่วมสมัยก่อนที่สุพรรณบุรี ก็จะท่วมมาตั้งแต่พิจิตร น�้ำค่อยๆ มาถึงท้องนา ท�ำให้ชาวนาคาดการณ์ล่วงหน้าได้ว่าจะเก็บ นครสวรรค์ ชยั นาท สพุ รรณฯ แลว้ ค่อยถึงนครปฐม และพื้นท่ีที่ท่วม เก่ยี วนาใดช่วงไหน โดยปลูกข้าวพนั ธุพ์ ืน้ บ้านท่เี รยี กวา่ “ขา้ วคืนน�้ำ” กอ่ นกจ็ ะแห้งก่อน แตเ่ ดย๋ี วน้ีไมแ่ ล้ว ทว่ มก่อนแหง้ หลังก็มี และทำ� ให้ ทท่ี นน�ำ้ ขน้ึ ได้ถึง 5 เมตร ที่ท่ไี มเ่ คยท่วมมาก่อนตอ้ งเจอนำ้� อยา่ งบางบัวทองท่ที ว่ ม 2-3 เมตร “แต่ก่อนนำ้� ท่วมเปน็ ฤดกู าล เดอื น 11 น�ำ้ นอง เดือน 12 น�ำ้ ทรง เพราะไปเอาน้�ำพื้นท่ีอ่ืนมาอัดใส่ขนาดน้ัน น่ีคือการจัดการท่ีไม่ แล้วเดือนอ้ายเดือนย่ีก็ค่อยๆ ลง เกษตรกรเขารู้ว่าส่ีเดือนนี้มันท่วม เหมาะสม และยิ่งระยะยาวมันจะย่ิงเอาตัวรอดกันมากขึ้นไป แนๆ่ เขากด็ พู ื้นท่วี า่ ตรงน้ีจะลึกขนาดไหน เขาไมก่ ลวั หรอกเพราะนำ้� สมมตวิ ่าตอ่ ไปทุกเมืองสรา้ งก�ำแพงกนั้ ทุกนิคมสรา้ งกำ� แพง ข้ึนวันละ 1-2 เซนตเิ มตรเท่านัน้ เพราะน้ำ� มาจากธรรมชาติ ไม่ได้ถูก ก้ัน ทุกแม่น้�ำมเี ขอื่ นหมด แลว้ น้�ำจะไปอยู่ไหน กต็ ้องไปหา กกั จากทไ่ี หน แลว้ มาปลอ่ ยทเี ดยี ว ทนี กี้ ต็ อ้ งดวู า่ ทตี่ รงนแ้ี หง้ เดอื นไหน คนที่ไมม่ เี ขือ่ นก้ัน มันกย็ ิ่งหนักใหญ”่ เพราะต้องหาท่ีตาก ถ้ามันแห้งตอนเดือนกุมภา เขาก็จะไปหาข้าวที่ ผู้อ�ำนวยการมูลนิธิข้าวขวัญเล่าถึงมาตรการช่วย มันสกุ เดอื นกุมภามาปลกู จะได้มาเกย่ี วตอนมนั แห้ง มขี ้าวเบา ข้าว เหลอื วา่ ปกตเิ มอ่ื นำ�้ ทว่ ม รฐั บาลจะแจกพนั ธข์ุ า้ วใหช้ าวนา กลาง ข้าวหนัก* ถา้ น�้ำแห้งก่อนกเ็ อาขา้ วเบาปลกู ถา้ น�ำ้ แห้งชา้ กเ็ อา ที่เดือดรอ้ น โดยแจกขา้ วพนั ธ์ุ ก ข ทช่ี าวนาปลูกอยู่แล้ว ขา้ วหนักปลูก ข้าวขึน้ น้�ำอยไู่ ด้แมน้ ำ�้ ขน้ึ วันละสองน้ิว” และราคาไม่แพง ขายง่าย แต่ปีน้ีเป็นปีแรกที่รัฐน�ำข้าว ไฮบริด** มาแจก เป็นข้าวจากซพี กี โิ ลละ 150 บาท ซง่ึ แต่สิ่งท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบัน เมื่อน�้ำท่ีเคยเพิ่มระดับเป็นหน่วย ชาวบ้านไม่เคยปลูก และเป็นพันธุ์ที่ต้องการปุ๋ยและยา เซนติเมตร กลายเป็นวนั ละเมตรโหมใสพ่ ้ืนท่นี า แมจ้ ะมีข้าวท่ีทนนำ�้ ฆ่าแมลงมาก อีกทั้งไม่มตี ลาดรองรบั ด้วย อยา่ งไรกเ็ นา่ ตาย ซง่ึ เดชาเนน้ วา่ “มนั ไมใ่ ชน่ ำ�้ ทท่ี ว่ มตามธรรมชาติ แต่ เปน็ น�ำ้ ท่วมท่เี กดิ จากคนท�ำ” เมื่อปัญหา “น้ำ� ” ไมเ่ ท่าปัญหา “คน” ถามถึงสถานการณ์น�้ำท่วมใน อนาคต เดชาให้ความเห็นว่า ต้อง ยอมรบั วา่ ประเทศไทยจะตอ้ งเจอปญั หา ภยั ธรรมชาตเิ ยอะข้ึน ฝนจะตกมากข้นึ ลักษณะตกหนักและตกกระจุก คือตก ไมก่ ช่ี ว่ั โมง ไมก่ วี่ นั กน็ ำ�้ ทว่ มได้ และสภาพ ภูมิอากาศท่ีเปลี่ยนไปจะท�ำให้ฤดูกาลของ โลกเปล่ยี นแปลงอย่างรุนแรง แต่ปัญหาจากธรรมชาติยัง ไม่เท่าปัญหา “การจัดการ” สถานการณ์ในปีท่ีแล้วเป็น ข้อพิสูจน์ว่าผู้มีอ�ำนาจไม่ ได้จัดการน�้ำตามหลัก วิชาการ ตามความ เหมาะสม แต่เป็น ไปตามผลประโยชน์ เดชา ศิรภิ ัทร Decha Siripat

มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 49 Decha Siripat, director of the Khao Kwan Founda- ชาวนาผู้ปลูกข้าวหอมมะลิสรุ ินทร์ ลอยคอเกย่ี วข้าวทา่ มกลางระดับน�ำ้ ท่สี ูงทว่ มต้นข้าว — tion – who has imparted to farmers knowledge about rice ส�ำนักงานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสุรินทร์ farming the natural way, based on real work and hands- on seeing of the sufferings of farmers all along – tends A group of farmers in the northeastern province of Surin harvest the to say that even without natural disasters, our country’s rice in a field that is submerged by floods. — Office of Agriculture and farmers are pressured already by the advantages taken Cooperatives of Surin of them. However, he says, the problem is not without its ways-out. But he adds that though the problem will happened is management depended on interests in continue to persist for some time to come, it is not as if respective areas. Whoever didn’t want water only had to we will not reach the solution. raise barriers. The more you dig and raise embankments, the longer the floods will be delayed in its flow into the Live with Water that Comes Naturally sea. And this is a problem ordinary folks must encounter and the problem will continue to rear its ugly head. The For more than 100 years, Thai farmers have accu- general public have to face this problem so long as the mulated a certain wisdom, that is, taking note of the government continues to manage water as last year. times when the ground is dry, and choosing the rice strains according to the natural situation. When the “In the old days when Suphan Buri was flooded, the waters gradually entered the paddy fields, farmers were waters came down from Phichit, Nakhon Sawan, and able to predict when they could harvest the crop, and Chai Nat, to Suphan before arriving in Nakhon Pathom. they cultivated the strain known as “Khao Khuen Nam” And the areas flooded first would dry first. Today, some that can cope with water as high as five meters. areas were flooded first but dried up later. Some areas which were never flooded had been submerged, for “Previously, floods came seasonally: In the 11th example, Bang Bua Thong which was under 2-3 meters month (October), the waters would rise, in the 12th of water because floods from another area was dumped (November) the waters would stay, in the following two there. This is inappropriate management, and in the months, the waters gradually would subside. Farmers long run, people will increasingly fight for their own indi- knew there would be floods during these four months. vidual survival. What would happen if every town built They looked at where the ground was deepest. They were embankments, or walls, and every river was dammed, not afraid because the water level rose only 1-2 centime- where will the water go? Of course, to areas where there ters a day. This was because the water came naturally. It are no dams. That would be even worse.” wasn’t held up anywhere, only to be suddenly released. After the floods, they had to see when this area would be On assistance measures, the Khao Kwan Founda- dry because they needed a place to put the paddy out to tion director recalled that governments in the past had dry. If it’s dry in February, they would look for rice that distributed the rice strain Gor-Khor to affected farm- ripens in February so that they could harvest it when it ers. It’s a strain they had been cultivating anyway; it’s was dry. There was Khao Bao, Khao Glang, Khao Nak*. inexpensive and the produce can easily be sold. This is If the ground dries up first, they would sow the Khao the first year that the State distributed hybrid rice. The Bao. If the land dries slowly, they would plant the Khao rice comes from the firm CP, and costs 150 baht a kilo- Nak. Khao Khuen Nam (photosensitive floating rice) can gram. Farmers have never grown it and it demands large survive even if the water rises two inches a day.” quantities of fertilizers and insecticides. Worse, there is no market for it. Today, the floods that used to rise in centimeters inundate the paddy fields at the rate of a meter a day. “If farmers had rights and a voice, they would say: No matter how water-tolerant the strain may be, it will No need to compensate us; just don’t let the floods come rot, Decha says emphatically. “They are not floods that to our area. The point is floods naturally generated are Nature brought but ones that are generated by Man.” acceptable but the farmers don’t want compensation after their land has been turned into a Monkey’s Cheek Water is Less of a Problem than Man When asked about future floods, Decha opines: “We have to accept that Thailand will encounter more natu- ral problems. The rains will be heavier and fall clusters so that floods will come within hours after the rains. Global climate change will change drastically the seasons every- where. The problems caused by water are not as bad as those by “management”. Last year’s disaster was proof that powers-that-be did not manage water according to academic principles, or what was appropriate. What เส้นทางเดียวกนั On the same path

50 มกราคม - เมษายน 2555 January - April 2012 “ถา้ ชาวนาเขามสี ทิ ธมิ เี สยี ง เขาจะบอกวา่ ไมต่ อ้ งมาชดเชยหรอก แลว้ เขาก็รอด แต่เกษตรกรรอบๆ ท�ำตามไม่ได้ เขาบอกว่ามันเลกิ ปุ๋ย แตอ่ ย่าใหน้ ้�ำมาท่วมเขา คอื ถ้าเป็นท่วมจากธรรมชาติยังรับได้ แต่ถ้า เลิกยาไมไ่ ด้ เพราะมันทำ� ใจไมไ่ ด้ ยังไงกต็ อ้ งไปหาซื้อมาใช้ ปล่อยให้พนื้ ทเ่ี ขาเป็นแกม้ ลงิ ปลอ่ ยนำ�้ มากองไว้ แล้วมาชดเชย เขาก็ ไมเ่ อา มนั จะคมุ้ ทไ่ี หนเลา่ แลว้ บอกวา่ หนา้ แลง้ ไมต่ อ้ งทำ� นานะ เพราะ “เร่ืองน้ีไม่ใช่ว่าเกิดจากตัวเขาเอง แต่มันเป็นการส่งเสริม มนั ตอ้ งใชน้ ำ้� เยอะ ใหไ้ ปปลกู ถวั่ ปลกู ไรแ่ ทน ถามวา่ แลว้ ดนิ ตรงนนั้ มนั โฆษณาชวนเชื่อ เพราะบริษัทขายปุ๋ยขายยามีอิทธิพลเหนือรัฐบาล เหมาะกบั พชื ถว่ั พชื ไรไ่ หม ตน้ ทนุ เทา่ ไหร่ ทำ� แลว้ มคี นซอื้ ไหม ราคาเทา่ มนั อยทู่ ่ีกลมุ่ คนนอ้ ยๆ ทีม่ ีผลประโยชน์ ไม่มปี ระเทศไหนทีน่ �ำเข้ายา ขา้ วหรอื เปลา่ มนั ไมม่ คี �ำตอบสกั อยา่ ง” คอื เสยี งจากตวั แทนชาวนาท่ี ฆ่าแมลง ปุ๋ย สารพษิ ทั้งหลายโดยไมเ่ ก็บภาษนี ะ มแี ต่ประเทศเรา ผม อยากบอกรฐั บาล เสนอวา่ อยา่ ใหม้ กี ารโฆษณา สองคอื เกบ็ ภาษนี ำ� เขา้ สามคอื เอาภาษมี า ทางออกของการปรบั ตวั ตั้งโรงเรียนชาวนา โรงเรยี นเกษตรอินทรยี ์ ใหช้ าวนารพู้ ษิ ภัยของสาร เคมี หรอื ใหผ้ บู้ รโิ ภครู้ ลองดกู อ่ นกไ็ ด้ 5 เดอื น 10 เดอื น ไมด่ กี เ็ ลกิ กไ็ ด”้ ประเด็นส�ำคัญที่เดชาเน้นคือ ไม่ว่าเกษตรกรจะเจอปัญหา อทุ กภัยหรอื ปัญหาใดๆ ในอนาคต สิ่งสำ� คญั คือควรเปลี่ยนระบบการ เดชาแนะนำ� วา่ หนทางหนงึ่ ในการรบั มอื ปญั หาของเกษตรกร ก็ ผลติ การทำ� นาแบบเกษตรอนิ ทรยี เ์ ปน็ หนงึ่ ในวธิ ที จี่ ะทำ� ใหช้ าวนาอยู่ คอื การรวมตวั กนั เพอ่ื เรยี กรอ้ งสทิ ธทิ ค่ี วรจะมี “การรวมตวั กนั จะมพี ลงั รอดได้ ถา้ ชาวนาเป็นอิสระตอ่ ยา ตอ่ ปุ๋ย พง่ึ พาตวั เองได้ กส็ ามารถ มากกวา่ ทำ� คนเดยี ว ดงั ทเี่ ราเหน็ การรวมตวั ของภาคประชาชนมากขนึ้ ผา่ นพน้ ปญั หาตา่ งๆ ไปได้ เรื่อยๆ ในสังคมไทย ถ้าเกษตรกรจะรวมตัวในแงก่ ารผลิต การขายก็ เปน็ การรวมตวั ทดี่ ี สรา้ งความแขง็ แรงในกลมุ่ ผผู้ ลิต หากใครมปี ญั หา เขาอธบิ ายปรากฎการณ์ในพน้ื ทขี่ องตนเองวา่ ชาวนาสพุ รรณฯ อะไรกแ็ ลกเปลีย่ นกันได้ พฒั นาผลผลิต ชว่ ยกันหาตลาด” มอี ยู่ 3 กลมุ่ กลมุ่ แรกปหี นง่ึ ทำ� นาครง้ั เดยี ว อาศยั นำ้� ฝน อกี กลมุ่ ทำ� นา เขาเสริมว่า ที่ส�ำคัญ ไม่ว่าชาวนาจะปรับตัวแก้ปัญหาอย่างไร รัฐบาลต้องมีมาตรการช่วยเหลือให้เขาอยู่ได้ด้วยตัวเอง เพราะต่อไป ตน้ ข้าวเขยี วขจอี ายุไดท้ ส่ี ำ� หรับถอนเพ่ือนำ� ไปปกั ด�ำในนาตม นาขา้ วในล่มุ น�ำ้ ทา่ จนี — กรวกิ า วรี ะพันธเ์ ทพา Young rice seedlings ready to be taken for planting in waterlogged A ripening rice field in the Tha Chin River Basin. — Kornwika Weerapantepa paddy fields 2 ครง้ั มีน้�ำท่วม แตบ่ างเขตทำ� นาได้ถึง 3 คร้งั คอื มชี ลประทานด้วย ความมนั่ คงอาหารจะเปน็ เรอ่ื งสำ� คญั มาก ชาตอิ ยรู่ อดไมไ่ ดเ้ ลยถา้ ไมม่ ี และนำ�้ ไมท่ ว่ ม และเมอ่ื สำ� รวจขอ้ มลู หนส้ี นิ ปรากฏวา่ กลมุ่ ทที่ �ำนาหน อาหาร และคงไม่มีเร่ืองใดน่าเสียดายไปกว่า “ประเทศไทยอันอุดม เดยี วหนีน้ อ้ ยทสี่ ุด ประมาณหลกั หมืน่ ทำ� สองหนหนี้หลักแสน แต่ท�ำ สมบูรณ์ของเราท�ำให้ผู้ผลติ อาหารอย่อู ย่างยัง่ ยนื ไม่ได”้ n สามหนหน้ีอยู่ในหลักล้าน แสดงให้เห็นว่ายิ่งท�ำมากกลับยิ่งหนี้เยอะ สะท้อนให้เหน็ วา่ ก�ำไร-ขาดทนุ ไม่ได้อยูท่ ี่ “ปริมาณ” ผลผลติ แต่อยู่ * ข้าวเบา ข้าวกลาง ข้าวหนัก คือการจ�ำแนกข้าวตามสภาพการเกบ็ ท่ี “วิธ”ี ผลิต เกย่ี ว ข้าวเบาคือข้าวทใ่ี ชร้ ะยะเวลาปลูกจนถงึ เกบ็ เกย่ี วสนั้ (90-120 วนั ) สว่ นข้าวหนกั ใชเ้ วลานานตั้งแต่ปลกู จนถึงเก็บเกย่ี ว (120-180 “พอเรา (มูลนิธิข้าวขวัญ) มาเปลี่ยนวิธีการปลูกข้าวแบบใหม่ วนั ) ชาวนามกั แบ่งทนี่ าปลกู ท้ังข้าวเบา ขา้ วกลาง ขา้ วหนัก เพอ่ื แบบทเ่ี ราลดตน้ ทนุ เพมิ่ ผลผลติ ได้ ชาวบา้ นทนี่ ำ� เกษตรแบบไมพ่ งึ่ เคมี ทยอยเก็บเกย่ี วในแต่ละเดอื น ไปใชแ้ ลว้ เหน็ ผลไดจ้ รงิ ไมม่ หี นส้ี นิ ไดก้ ำ� ไร มนั ไมไ่ ดอ้ ยทู่ พี่ น้ื ท่ี ตวั สนิ คา้ ** ข้าวไฮบริด พัฒนามาจากข้าวสายพนั ธต์ุ า่ งๆ กนั จนไดเ้ ป็นขา้ ว หรืออะไรหรอก มนั อยทู่ ี่วธิ กี ารไมถ่ กู ตอ้ ง เม่อื ใช้ยา แล้วสุขภาพก็ยง่ิ ทผ่ี ้พู ัฒนาพันธ์อุ ้างว่าทนโรค ทนแมลง และให้ผลผลติ สูงกวา่ ข้าว เสยี ผลผลติ กไ็ มไ่ ดเ้ พม่ิ ลงทนุ กส็ งู จะไปเอากำ� ไรจากไหน แตเ่ กษตรกร ทวั่ ไป แต่ขอ้ เสยี คอื เกษตรกรไมส่ ามารถใชเ้ ปน็ เมล็ดพันธุ์ได้ ต้องซอื้ ทที่ ำ� ได้ พสิ จู นต์ วั ตง้ั แตป่ ี 38 แตร่ ฐั บาลไมเ่ คยสง่ เสรมิ นะ ทกุ อยา่ งเขา ใหมท่ ุกปี ท�ำเองได้หมดเลย ป๋ยุ ยาปอ้ งกันแมลง ฯลฯ ตน้ ทนุ ตำ่� คุณภาพกด็ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook