Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน 1/64 ม.ปลาย (ศาสนาและหน้าที่พลเมือง)

แผน 1/64 ม.ปลาย (ศาสนาและหน้าที่พลเมือง)

Published by Niya J., 2021-07-26 09:22:58

Description: แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับ ม.ปลาย รายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง (สค31002)

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รสถานศึกษา รายวิชาศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมือง (สค31002) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จดั กระบวนการเรยี นรู้ 5 รปู แบบ พบกล่มุ (ON-Site) ออนไลน์ (ON-Line) หนงั สอื เรียน มอบหมายงาน (ON-Hand) ผา่ นชอ่ งทาง ETV (ON-Air) ผ่านแอปพลิเคชัน (ON-Demand) ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งนราธิวาส สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั นราธิวาส สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน.แบบรายวิชา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในรายวิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง (สค 31002) ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 1/2564 จัดทำขึ้นเพื่อให้ครู กศน.ใช้เป็นแนวทางการจัด กระบวนการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา กศน. โดยมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับโครงสร้างหลักสูตร แผนจัดการ เรียนรู้แบบรายวิชาและแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ครอบคลุมเนื้อหารายวิชาบังคับและ รายวชิ าเลือก ในภาคเรียนที่ 1/2564 ในการจัดทำแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบรายวิชา สำหรับครู กศน. ครั้งนี้ ได้รับความ ร่วมมอื ร่วมใจอย่างดียง่ิ จากวทิ ยากร ข้าราชการ ครูอาสาสมัคร กศน. ครกู ศน.ตำบล ครอู าสาสมคั ร กศน.ประจำปอเนาะ ครูประจำกลุ่ม นักศึกษา และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษากับกศน.อำเภอ เมืองนราธิวาสในสังกัดสำนักงาน กศน.จังหวัดนราธิวาส ที่ผ่านการอบรม ร่วมกันระดมความคิดและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำมาจัดทำเป็นคู่มือครู โดยจัดทำแผนการจัดกระบวนการเรียนแบบรายวิชา ใน รายวิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง (สค 31002) มี 5 รูปแบบ คือ 1. On Site การพบกลุ่ม 2. On Line การเรียนออนไลน์ 3. On Hand การให้ใบงาน แบบฝึกหัด 4. On Air การเรียนผ่าน ระบบดาวเทียม ETV 5. On Demand เรียนผ่านแอปพลิเคชัน เพื่อให้ครู กศน.สามารถนำไปใช้ใน การจัดกิจกรรมการเรยี นร้ใู หผ้ ูเ้ รียนกลมุ่ เป้าหมายของ กศน. มีคณุ ภาพ ครบตามตวั ชีว้ ดั ผลการเรียนรู้ ทค่ี าดหวงั และพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคณุ สมบัติอนั พึงประสงค์ของสถานศึกษา คร้ังนขี้ อขอบคณุ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา กศน.อำเภอเมืองนราธวิ าส และคณะอาจารย์ทีป่ รกึ ษา ทุกท่านที่ให้ความรู้ คำแนะนำ และให้คำปรึกษาเป็นแนวทางในการจัดทำแผนการจัดกระบวนการ เรียนรู้แบบรายวิชา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เล่มนี้จนสำเร็จเป็นรูปเล่มสมบูรณ์ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ สำหรับผู้นำไปใช้จัดกระบวนการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากพบข้อผิดพลาดหรือมี ข้อเสนอแนะประการใด คณะผู้จัดทำขอนอ้ มรบั ไวแ้ ก้ไข ปรบั ปรงุ ด้วยความขอบคุณย่ิง คณะผูจ้ ดั ทำ กศน.อำเภอเมืองนราธวิ าส

สารบัญ หน้า คำนำ สารบัญ ปฏทิ นิ การพบกลุ่ม 1-5 1. ตารางวิเคราะหเ์ นื้อหาสาระการเรยี นรรู้ ายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมอื งครัง้ ที่ 9–10 6 2. แผนการจดั การเรยี นรู้แบบรายวชิ า 5 รูปแบบ ครง้ั ที่ 9 8 - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 12 - แผนการจัดการเรียนรู้แบบรายวิชา รูปแบบ On Site 15 - แผนการจดั การเรียนรแู้ บบรายวิชา รปู แบบ On Line 19 - แผนการจัดการเรียนรู้แบบรายวิชา รูปแบบ On Hand 22 - แผนการจัดการเรียนรู้แบบรายวิชา รูปแบบ On Air 26 - แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบรายวิชา รูปแบบ On Demand 29 - กรต.การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 30 - ใบความรู้ / ใบงาน 53 - แบบทดสอบหลังเรียน 57 3. แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบรายวชิ า 5 รปู แบบ คร้งั ที่ 10 58 - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 62 - แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบรายวิชา รูปแบบ On Site 65 - แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบรายวชิ า รปู แบบ On Line 68 - แผนการจดั การเรียนรแู้ บบรายวชิ า รูปแบบ On Hand 71 - แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบรายวิชา รูปแบบ On Air 74 - แผนการจัดการเรยี นรู้แบบรายวชิ า รูปแบบ On Demand 77 - กรต.การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 78 - ใบความรู้ / ใบงาน 87 - แบบทดสอบหลังเรียน ภาคผนวก - แบบบนั ทกึ สังเกตพฤติกรรม คณะผูจ้ ดั ทำ

ปฏทิ นิ การพบกลุ่ม ประจำภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งนราธวิ าส ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ท่ี วนั /เดือน/ปี เนื้อหา กระบวนการจดั การเรยี นรู้ หมายเหตุ 1 ......ม.ิ ย.64 ปฐมนิเทศเตรียมความพร้อมการจดั จดั กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนการ 5 รปู แบบ สอนโดยครู กระบวนการเรยี นรู้ 1. Onsite (การพบกลุ่ม) ผ้รู ับผดิ ชอบ 2. Online (ออนไลน์) - โครงสรา้ งหลักสตู รตลอดการจบหลักสูตร 3. On Air (ผ่าน ETV) เชา้ 4. On hand (แจกใบงาน) เวลา 09.00 - - รูปแบบการพบกลุ่ม 5. On Demand (ผ่านแอฟ 12.00 น. พลิเคชน่ั ) บ่าย - กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต เวลา 13.00 - จดั กระบวนการเรียนรู้ 16.00 น. - การประเมินคุณธรรมจริยธรรม 5 รปู แบบ 1. Onsite (การพบกลุ่ม) 2 ……มิ.ย.64 กจิ กรรมการเรียนรู้ 2. Online (ออนไลน)์ รายวิชาภาษาไทย พท31001 3. On Air (ผ่าน ETV) เรื่องที่ 1 การฟงั การดู 4. On hand (แจกใบงาน) เรอ่ื งที่ 2 การพูด 5. On Demand (ผา่ นแอฟ พร้อมสรุปและทำใบงาน มอบหมาย กรต. พลเิ คชน่ั ) 3 ..... ก.ค.64 กจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กระบวนการเรยี นรู้ รายวชิ าภาษาไทย พท31001 5 รูปแบบ เรื่อง การอา่ น 1. Onsite (การพบกลุ่ม) พรอ้ มสรุปและทำใบงาน มอบหมาย กรต. 2. Online (ออนไลน)์ 3. On Air (ผ่าน ETV) 4. ..... ก.ค.64 กจิ กรรมการเรียนรู้ 4. On hand (แจกใบงาน) รายวชิ าภาษาไทย พท31001 5. On Demand (ผา่ นแอฟ เรอ่ื ง การเขยี น พลเิ คชั่น) พรอ้ มสรุปและทำใบงาน มอบหมาย กรต. จัดกระบวนการเรยี นรู้ 5 รูปแบบ 1. Onsite (การพบกลมุ่ ) 2. Online (ออนไลน)์ 3. On Air (ผ่าน ETV) 4. On hand (แจกใบงาน) 5. On Demand (ผ่านแอฟ พลเิ คชั่น)

ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กระบวนการจัดการเรยี นรู้ หมายเหตุ 5 ..... ก.ค.64 กิจกรรมการเรยี นรู้ จัดกระบวนการเรยี นรู้ จัดการเรียนการ 5 รูปแบบ สอนโดยครู รายวิชาภาษาไทย พท31001 1. Onsite (การพบกลุ่ม) ผรู้ บั ผดิ ชอบ 2. Online (ออนไลน)์ เรื่อง หลักการใชภ้ าษา 3. On Air (ผ่าน ETV) เชา้ 4. On hand (แจกใบงาน) เวลา 09.00 - พรอ้ มสรปุ และทำใบงาน มอบหมาย กรต. 5. On Demand (ผ่านแอฟ 12.00 น. พลิเคชน่ั ) บา่ ย 6 ..... ก.ค.64 กจิ กรรมการเรยี นรู้ เวลา 13.00 - รายวิชาภาษาไทย พท31001 จัดกระบวนการเรียนรู้ 16.00 น. เรอ่ื ง วรรณคดีและวรรณกรรม 5 รปู แบบ พรอ้ มสรุปและทำใบงาน มอบหมาย กรต. 1. Onsite (การพบกลมุ่ ) 2. Online (ออนไลน)์ 7 ..... ก.ค.64 กจิ กรรมการเรยี นรู้ 3. On Air (ผา่ น ETV) รายวิชาศลิ ปศึกษา ทช31003 4. On hand (แจกใบงาน) เรื่อง ทศั นศิลปสากล 5. On Demand (ผา่ นแอฟ พรอ้ มสรปุ และทำใบงาน มอบหมาย กรต. พลเิ คช่นั ) 8 ..... ส.ค.64 กิจกรรมการเรยี นรู้ จัดกระบวนการเรยี นรู้ รายวิชาศิลปศึกษา ทช31003 5 รปู แบบ เรอื่ งท่ี 1 ดนตรสี ากล 1. Onsite (การพบกลุ่ม) เรื่องที่ 2 ทัศนศิลปสากล 2. Online (ออนไลน)์ พร้อมสรปุ และทำใบงาน มอบหมาย กรต. 3. On Air (ผา่ น ETV) 4. On hand (แจกใบงาน) 9 ..... ส.ค.64 กิจกรรมการเรยี นรู้ 5. On Demand (ผ่านแอฟ รายวชิ าศาสนาและหนา้ ที่พลเมอื ง สค31002 พลิเคชน่ั ) เรื่อง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี พร้อมสรปุ และทำใบงาน มอบหมาย กรต. จดั กระบวนการเรยี นรู้ 5 รปู แบบ 1. Onsite (การพบกลมุ่ ) 2. Online (ออนไลน)์ 3. On Air (ผ่าน ETV) 4. On hand (แจกใบงาน) 5. On Demand (ผ่านแอฟ พลเิ คชัน่ ) จดั กระบวนการเรียนรู้ 5 รูปแบบ 1. Onsite (การพบกลุม่ ) 2. Online (ออนไลน)์ 3. On Air (ผ่าน ETV) 4. On hand (แจกใบงาน) 5. On Demand (ผ่านแอฟ พลเิ คชั่น)

ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กระบวนการจดั การเรียนรู้ หมายเหตุ 10 ..... ส.ค.64 กจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กระบวนการเรยี นรู้ จัดการเรยี นการ รายวิชาศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง สค31002 5 รปู แบบ สอนโดยครู เรอ่ื ง หนา้ ท่ีพลเมือง 1. Onsite (การพบกลุ่ม) ผรู้ ับผิดชอบ พร้อมสรปุ และทำใบงาน มอบหมาย กรต. 2. Online (ออนไลน)์ เช้า 3. On Air (ผ่าน ETV) เวลา 09.00 - 4. On hand (แจกใบงาน) 12.00 น. 5. On Demand (ผ่านแอฟ บา่ ย พลเิ คชั่น) เวลา 13.00 - 11 ..... ส.ค.64 กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกระบวนการเรียนรู้ 16.00 น. รายวชิ าลูกเสือ กศน. สค32035 5 รปู แบบ เรื่องท่ี 1 ลกู เสือกบั การพฒั นา 1. Onsite (การพบกลุม่ ) เร่อื งที่ 2 การลูกเสือไทย 2. Online (ออนไลน)์ เรื่องที่ 3 การลกู เสือโลก 3. On Air (ผ่าน ETV) เรอ่ื งท่ี 4 คุณธรรม จรยิ ธรรมของ ลกู เสือ 4. On hand (แจกใบงาน) เร่อื งท่ี 5 วนิ ยั และความเปน็ ระเบยี บ เรยี บรอ้ ย 5. On Demand (ผ่านแอฟ พรอ้ มสรปุ และทำใบงาน มอบหมาย กรต. พลิเคช่นั ) 12 ..... ก.ย.64 กิจกรรมการเรียนรู้ จดั กระบวนการเรยี นรู้ รายวชิ าลกู เสอื กศน. สค32035 5 รปู แบบ เรอ่ื งท่ี 1 ลกู เสือ กศน.กับการพฒั นา 1. Onsite (การพบกล่มุ ) เรอ่ื งที่ 2 ลกู เสือ กศน. กบั จิตอาสาและการ 2. Online (ออนไลน์) บรกิ าร 3. On Air (ผา่ น ETV) เรอ่ื งที่ 3 การเขยี นโครงการเพ่ือพัฒนาชุมชน 4. On hand (แจกใบงาน) และสงั คม 5. On Demand (ผ่านแอฟ เรอ่ื งท่ี 4 ทักษะลกู เสือ พลเิ คช่นั ) พรอ้ มสรุปและทำใบงาน มอบหมาย กรต. 13 ..... ก.ย.64 กิจกรรมการเรยี นรู้ จัดกระบวนการเรยี นรู้ รายวิชาลกู เสอื กศน. สค32035 5 รูปแบบ เรอ่ื งท่ี 1 ความปลอดภัยในการเข้ารว่ ม 1. Onsite (การพบกลมุ่ ) กิจกรรมลูกเสือ 2. Online (ออนไลน์) เรื่องท่ี 2 การปฐมพยาบาล 3. On Air (ผ่าน ETV) เรื่องที่ 3 การเดนิ ทางไกล อยู่คา่ ยพักแรม 4. On hand (แจกใบงาน) และชีวิตชาวคา่ ย 5. On Demand (ผ่านแอฟ เร่ืองท่ี 4 การฝึกปฏบิ ตั กิ ารเดินทางไกล อยู่ พลิเคชั่น) คา่ ยพักแรม และชีวิตชาวค่าย พร้อมสรุปและทำใบงาน มอบหมาย กรต.

ท่ี วัน/เดือน/ปี เนือ้ หา กระบวนการจัดการเรียนรู้ หมายเหตุ 14 ..... ก.ย.64 กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกระบวนการเรยี นรู้ จัดการเรียนการ รายวิชาวัสดศุ าสตร์ พว32024 5 รูปแบบ สอนโดยครู เรือ่ ง หลักวัสดศุ าสตร์ 1. Onsite (การพบกล่มุ ) ผูร้ บั ผดิ ชอบ พร้อมสรปุ และทำใบงาน มอบหมาย กรต. 2. Online (ออนไลน)์ เชา้ 3. On Air (ผ่าน ETV) เวลา 09.00 - 4. On hand (แจกใบงาน) 12.00 น. 5. On Demand (ผ่านแอฟ บ่าย พลิเคชน่ั ) เวลา 13.00 - 15 ..... ก.ย.64 กจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกระบวนการเรียนรู้ 16.00 น. รายวชิ าวสั ดศุ าสตร์ พว32024 5 รูปแบบ เรอ่ื ง การใช้ประโยชน์และผลกระทบจากวัสดุ 1. Onsite (การพบกล่มุ ) พรอ้ มสรุปและทำใบงาน มอบหมาย กรต. 2. Online (ออนไลน์) 3. On Air (ผา่ น ETV) 4. On hand (แจกใบงาน) 5. On Demand (ผา่ นแอฟ พลิเคช่ัน) 16 ..... ก.ย.64 กิจกรรมการเรยี นรู้ จัดกระบวนการเรยี นรู้ รายวชิ าวสั ดุศาสตร์ พว32024 5 รปู แบบ เรอ่ื ง การคัดแยกและการรีไซเคิล 1. Onsite (การพบกลุ่ม) พร้อมสรปุ และทำใบงาน มอบหมาย กรต. 2. Online (ออนไลน์) 3. On Air (ผ่าน ETV) 4. On hand (แจกใบงาน) 5. On Demand (ผ่านแอฟ พลิเคชั่น) 17 ..... ก.ย.64 กจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกระบวนการเรียนรู้ รายวชิ าโครงงานเพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรู้ 5 รูปแบบ ทร02006 1. Onsite (การพบกลุม่ ) เร่อื ง โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ 2. Online (ออนไลน์) พรอ้ มสรุปและทำใบงาน มอบหมาย กรต. 3. On Air (ผา่ น ETV) 4. On hand (แจกใบงาน) 5. On Demand (ผ่านแอฟ พลิเคช่ัน) 18 ..... ก.ย.64 กจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกระบวนการเรยี นรู้ รายวชิ าโครงงานเพอื่ พฒั นาทักษะการเรียนรู้ 5 รูปแบบ ทร02006 1. Onsite (การพบกล่มุ ) เรอื่ ง โครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ 2. Online (ออนไลน์) พรอ้ มสรปุ และทำใบงาน มอบหมาย กรต. 3. On Air (ผ่าน ETV) 4. On hand (แจกใบงาน) 5. On Demand (ผ่านแอฟ พลิเคชั่น)

ท่ี วนั /เดอื น/ปี เนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู้ หมายเหตุ 19 ..... ก.ย.64 กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กระบวนการเรยี นรู้ จดั การเรยี นการ รายวชิ าบัญชีชาวบ้าน ทช02001 5 รูปแบบ สอนโดยครู เรอ่ื ง บัญชชี าวบ้านกบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. Onsite (การพบกลมุ่ ) ผูร้ บั ผดิ ชอบ พร้อมสรุปและทำใบงาน มอบหมาย กรต. 2. Online (ออนไลน์) เช้า 3. On Air (ผา่ น ETV) เวลา 09.00 - 4. On hand (แจกใบงาน) 12.00 น. 5. On Demand (ผ่านแอฟ บา่ ย พลเิ คชั่น) เวลา 13.00 - 20 ..... ต.ค.64 ปัจฉิมนเิ ทศ จดั กระบวนการเรียนรู้ 16.00 น. - แนะแนวการเตรยี มตวั ในการสอบปลายภาค 5 รูปแบบ - เตรียมเอกสารหลกั ฐานสำหรับนักศึกษาที่คาด 1. Onsite (การพบกลุ่ม) วา่ จบหลกั สตู ร 2. Online (ออนไลน)์ - แนะแนวการศึกษาต่อในระดับทส่ี ูงขน้ึ 3. On Air (ผา่ น ETV) - แนะแนวการประกอบอาชีพ 4. On hand (แจกใบงาน) 5. On Demand (ผา่ นแอฟ พลิเคชั่น) ปฏิทินการพบกลุ่ม : กศน.อำเภอเมอื งนราธิวาส

ตารางวเิ คราะหเ์ นอื้ หาส หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั กา ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 256 สาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมอื ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษ มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คุณค่า และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรร มาตรฐานท่ี 5.3 ปฏิบัตติ นเป็นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย มจี ิตสาธารณะ เพ มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคุณค่า และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประ 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ดำเนินชวี ิตตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย กฎระเบยี บข หวั เร่อื ง 1. ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ครง้ั ท่ี ตวั ชี้วัด เน้อื หา 9 1. ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ศาสนาที่ 1. ศาสนาตา่ งๆ สำคญั ๆ ในโลก - กำเนิดศาสนาต่างๆ - ศาสดาของศาสนาต่างๆ 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ใน 2. หลักธรรมสำคญั ของศาสนาต่างๆ หลกั ธรรมสำคัญของแต่ละศาสนา - การเผยแพรศ่ าสนาตา่ งๆ - ความขดั แยง้ ในศาสนาต่างๆ ซึง่ กอ่ ให้เกดิ ผลเสียในสงั คม (กรณีตวั อย่าง) 3. เห็นความสำคัญในการอยู่ 3. การปฏบิ ตั ิตนให้อยูร่ ว่ มกนั อย่างสนั ติ รว่ มกบั ศาสนาอืน่ อยา่ งสันตสิ ุข สุข 4. ประพฤติปฏิบตั ิตนท่สี ง่ ผลให้ 4. วิธีฝึกปฏิบัติพัฒนาจิตในแตล่ ะศาสนา สามารถอยรู่ ว่ มกบั ศาสนาอน่ื อย่าง สนั ติสุข

สาระการเรียนรู้รายวิชา 1 ารศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 64 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย อง รหสั วชิ า สค31002 จำนวน 2 หน่วยกิต 80 ช่ัวโมง ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองนราธิวาส รม ประเพณี เพื่อการอยรู่ ว่ มกันอยา่ งสันติสุข พ่อื ความสงบสขุ ของสังคม ะเพณี ของประเทศในสังคมโลก ของประเทศตา่ งๆในโลก วิเคราะห์เนอ้ื หา วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ งา่ ย ปาน ยาก เนื้อหา กรต. ครสู อน สอน โครงงาน จำนวน กลาง ลึกซึ้ง เสรมิ ชว่ั โมง  - - (3) (1) - -4  - - (3) (1) - -4  - - (3) - - -3 -  -3 - (2,5) (0.5) -

คร้งั ท่ี ตัวชีว้ ดั เน้ือหา 5. ฝึกปฏิบตั พิ ฒั นาจิต เพ่ือให้ 5. การพัฒนาสติปัญญาในการ สามารถพฒั นาตนเองให้มี แกป้ ัญหา สติปัญญาในการแก้ปญั หาตา่ งๆ ต่างๆ และการพัฒนาตนเองครอบครัว และพัฒนาตนเองครอบครวั สังคม ชุมชน สงั คม (กรณีตวั อยา่ ง) ชมุ ชน 6. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจใน 6. วฒั นธรรมประเพณีในประเทศไทย วัฒนธรรมประเพณีของประเทศ และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ไทย และประเทศตา่ งๆ ในโลก - ภาษา - การแต่งกาย - อาหาร - ประเพณที ่สี ำคัญๆ ฯลฯ 7. ตระหนักถงึ ความสำคญั ใน 7. การอนุรักษแ์ ละสบื ทอดวัฒนธรรม วฒั นธรรมประเพณีของประเทศ ประเพณี (กรณตี ัวอยา่ ง) ไทย และประเทศต่าง ๆ ในโลก 8. มสี ่วนรว่ มสืบทอดวัฒนธรรม 8. ข้อปฏบิ ัติในการมีสว่ นรว่ ม สบื ทอด ประเพณไี ทย ประพฤติปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอยา่ งใน การ อนรุ กั ษ์วฒั นธรรมประเพณีอนั ดี งามของ สังคมไทย 9. ประพฤติตนเป็นแบบอย่างของผู้ 9.1 แนวทางในการเลือกรบั ปรับ ใช้ ทม่ี วี ฒั นธรรมประเพณีอันดงี าม วฒั นธรรมตา่ งชาตไิ ดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ของสงั คมไทยและเลอื กรบั ปรับ ตนเองและสงั คมไทย (กรณีตัวอย่าง) ใช้ วัฒนธรรมจากตา่ งชาติได้อยา่ ง 9.2 ค่านยิ มที่พึงประสงค์ของสงั คมไทย เหมาะสมกับตนเองและสังคมไทย - ความเอ้ือเฟื้อเผือ่ แผ่ - การยิม้ แย้มแจ่มใส

2 วิเคราะหเ์ น้ือหา วิธีการจดั การเรียนรู้ งา่ ย ปาน ยาก เนื้อหา กรต. ครูสอน สอน โครงงาน จำนวน กลาง ลกึ ซึ้ง เสรมิ ช่วั โมง  - - (2.5) (0.5) - - 3     - - (4) (1) - - 5  - -  - - 3 (2,5) (0.5)  - -  - - 3 (2.5) (0.5)  - -  - - 3  (2.5 (0.5)   3 (3)

คร้งั ท่ี ตัวชวี้ ดั เน้อื หา 10. ประพฤติปฏิบัตติ ามคา่ นิยมที่ - การใหอ้ ภัย พงึ ประสงคข์ องสงั คมโลก 10. คา่ นิยมท่ีพงึ ประสงคข์ องประเทศ ต่างๆ ในโลก 11. เปน็ ผู้นำในการป้องกัน และ แก้ไขปญั หาพฤติกรรมตามคา่ นิยม - การตรงต่อเวลา ทไ่ี ม่พงึ ประสงคข์ องสังคมไทย - ความมีระเบียบ ฯลฯ 11. วิธปี ฏิบตั ใิ นการประพฤติตนเป็น ผู้นำรว่ มในการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา พฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ในสังคมไทย รวมจำนวนชั่วโมง

3 วเิ คราะห์เนื้อหา วธิ ีการจัดการเรยี นรู้ งา่ ย ปาน ยาก เนื้อหา กรต. ครสู อน สอน โครงงาน จำนวน กลาง ลกึ ซึ้ง เสรมิ ช่ัวโมง   - -  (3) -- 3   - - (2.5) (0.5) - - 3 - - - - 34 6 - - 40

ตารางวิเคราะหเ์ นอ้ื หาส หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับกา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 256 สาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมอื ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษ มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรร มาตรฐานที่ 5.3 ปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย มจี ติ สาธารณะ เพ มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประ 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ดำเนินชวี ิตตามวถิ ปี ระชาธิปไตย กฎระเบียบข หัวเรอ่ื ง 2. หน้าท่ีพลเมือง ตวั ชว้ี ัด เนือ้ หา ครง้ั ท่ี 10 2. หนา้ ที่พลเมอื ง 1. รู้และเข้าใจบทบัญญัติของ 1. บทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนญู ทีม่ ผี ลตอ่ รฐั ธรรมนูญ การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม และมผี ลตอ่ ฐานะของประเทศใน สงั คมโลก 2. รแู้ ละเขา้ ใจบทบาทหนา้ ท่ีของ 2. บทบาทหน้าที่องค์กรตาม องค์กรตามรัฐธรรมนญู และการ รฐั ธรรมนญู และการตรวจสอบการใช้ ตรวจสอบอานาจรัฐ อำนาจรฐั 3. อธิบายความเป็นมา และการ 3. ความเป็นมา และการเปล่ียนแปลง เปลี่ยนแปลงของรัฐธรรมนูญ ของรฐั ธรรมนญู 4. บอกวิธีปฏบิ ัติตนตาม 4. รัฐธรรมนญู และกฎหมายอ่ืน ๆ รฐั ธรรมนูญ และกฎหมาย 5. รู้และเขา้ ใจหลกั สทิ ธิมนุษยชน 5. การปฏิบัติตนใหส้ อดคล้องตาม

สาระการเรียนรรู้ ายวชิ า 4 ารศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 64 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อง รหสั วิชา สค31002 จำนวน 2 หน่วยกิต 80 ช่ัวโมง ษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองนราธิวาส รม ประเพณี เพื่อการอยรู่ ่วมกันอยา่ งสันตสิ ขุ พือ่ ความสงบสขุ ของสังคม ะเพณี ของประเทศในสงั คมโลก ของประเทศตา่ งๆในโลก วเิ คราะหเ์ น้อื หา วธิ ีการจดั การเรยี นรู้ งา่ ย ปาน ยาก เนือ้ หา กรต. ครสู อน สอน โครงงาน จำนวน กลาง ลกึ ซึ้ง เสรมิ ชวั่ โมง - - (1) - -1 - - (1) - -1  - - (9) - -9  - - (2) - -2 - - (9) - -9 

ตวั ชวี้ ดั เนือ้ หา คร้งั ที่ 6. อธบิ ายหลกั สิทธิมนษุ ยชนให้ บทบญั ญัติของรฐั ธรรมนญู และการ ผู้อ่ืนได้ สนับสนนุ สง่ เสริมให้ผู้อน่ื ปฏิบตั ิ 7. ปฏิบัติตนตามหลักสิทธิ 6. หลักสทิ ธิมนุษยชนและบทบาท มนุษยชน หน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบของ คณะกรรมการสิทธิ์ 7. กฎหมายระหว่างประเทศที่วา่ ด้วย การค้มุ ครองสิทธิดา้ นบคุ คล 8. การปฏบิ ตั ติ ามหลกั สิทธิมนุษยชน รวมจำนวนช่ัวโมง

5 วเิ คราะหเ์ นื้อหา วิธีการจัดการเรยี นรู้ ง่าย ปาน ยาก เน้อื หา กรต. ครูสอน สอน โครงงาน จำนวน กลาง ลกึ ซง้ึ เสรมิ ชวั่ โมง  - - (8) -- 8 - - (2) - - 2  (8) - - 8 - - - - 34 6 - - 40

6 แผนการจดั การเรียนรรู้ ายสปั ดาห์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ครง้ั ท่ี 9 รายวชิ า ศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมือง รหัสวชิ า สค 31002 เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง (พบกลุม่ 6 ช่วั โมง การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 34 ชวั่ โมง) วนั ท่ี …………….. เดอื น ……………………………………..พ.ศ. 2564 มาตรฐานท่ี 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณคา่ และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพื่อการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข มาตรฐานท่ี 5.3 ปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพอ่ื ความสงบสขุ ของสงั คม มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่า และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศในสังคมโลก 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ดำเนินชวี ิตตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย กฎระเบยี บของประเทศตา่ งๆในโลก ตวั ชวี้ ัด ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ศาสนาทสี่ ำคญั ๆ ในโลก 2. มีความรู้ ความเข้าใจ ในหลกั ธรรมสำคญั ของแตล่ ะศาสนา 3. เหน็ ความสำคญั ในการอย่รู ่วมกบั ศาสนาอื่นอยา่ งสันตสิ ุข 4. ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนท่ีส่งผลใหส้ ามารถอย่รู ่วมกับศาสนาอ่ืนอยา่ ง สนั ติสขุ 5. ฝกึ ปฏบิ ตั พิ ฒั นาจิต เพ่ือให้สามารถพฒั นาตนเองใหม้ ี สติปัญญาในการแก้ปญั หาตา่ งๆ และพัฒนา ตนเองครอบครัว สงั คม ชุมชน 6. มีความรู้ ความเขา้ ใจในวฒั นธรรมประเพณขี องประเทศไทย และประเทศต่างๆ ในโลก 7. ตระหนกั ถึงความสำคัญ ในวัฒนธรรมประเพณีของประเทศไทย และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 8. มสี ่วนร่วมสบื ทอดวัฒนธรรมประเพณีไทย 9. ประพฤติตนเปน็ แบบอย่างของผ้ทู ่ีมวี ฒั นธรรมประเพณอี ันดีงามของสงั คมไทยและเลือกรับ ปรับ ใช้ วฒั นธรรมจากตา่ งชาติได้อยา่ งเหมาะสมกับตนเองและสังคมไทย 10. ประพฤตปิ ฏบิ ัติตามค่านิยมที่พึงประสงค์ของสังคมโลก 11. เปน็ ผนู้ ำในการป้องกัน และแก้ไขปญั หาพฤตกิ รรมตามคา่ นยิ มที่ไม่พึงประสงคข์ องสงั คมไทย เน้ือหา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 1. ศาสนาต่างๆ - กำเนิดศาสนาตา่ งๆ - ศาสดาของศาสนาตา่ งๆ 2. หลักธรรมสำคญั ของศาสนาตา่ งๆ - การเผยแพรศ่ าสนาต่างๆ - ความขดั แย้งในศาสนาต่างๆ ซึ่ง ก่อให้เกิดผลเสยี ในสงั คม (กรณตี ัวอยา่ ง) 3. การปฏิบตั ิตนใหอ้ ยู่รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ขุ 4. วิธฝี ึกปฏิบัติพฒั นาจติ ในแตล่ ะศาสนา 5. การพัฒนาสตปิ ัญญาในการแกป้ ญั หา ตา่ งๆ และการพัฒนาตนเองครอบครัว ชมุ ชน สงั คม (กรณี ตวั อย่าง)

7 6. วัฒนธรรมประเพณีในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก - ภาษา - การแต่งกาย - อาหาร - ประเพณที ี่สำคญั ๆ ฯลฯ 7. การอนรุ กั ษแ์ ละสบื ทอดวัฒนธรรม ประเพณี (กรณีตวั อย่าง) 8. ข้อปฏิบัตใิ นการมสี ว่ นร่วม สบื ทอด ประพฤติปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอย่างในการ อนรุ กั ษ์วัฒนธรรม ประเพณอี ันดีงามของ สังคมไทย 9.1 แนวทางในการเลือกรบั ปรบั ใช้ วัฒนธรรมต่างชาตไิ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ตนเองและสังคมไทย (กรณี ตวั อยา่ ง) 9.2 คา่ นิยมที่พงึ ประสงคข์ องสังคมไทย - ความเอ้อื เฟื้อเผอ่ื แผ่ - การยิม้ แย้มแจ่มใส - การให้อภยั 10. ค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ของประเทศตา่ งๆ ในโลก - การตรงต่อเวลา - ความมรี ะเบยี บ ฯลฯ 11. วิธปี ฏิบัติในการประพฤติตนเป็นผู้นำรว่ มในการป้องกันและแก้ไขปัญหา พฤตกิ รรมที่ไมพ่ ึงประสงค์ใน สงั คมไทย

8 แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) เรือ่ ง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี วชิ า ศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง รายวิชา สค 31002 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คำชี้แจง จงเลือกคำตอบทีถ่ ูกตอ้ งท่ีสดุ เพียงขอ้ เดียว 1. ศาสนาใดเช่ือเร่ืองการเวียนวา่ ย ตาย เกดิ ใน วัฏสงสาร ก. ชกิ ข์ ข. พุทธ ค. ครสิ ต์ ง. อิสลาม 2. ศาสนาครสี ตม์ ถี น่ิ กำเนดิ ในประเทศใด ก. กรซี ข. ยเู ครน ค. อังกฤษ ง. ปาเลสไตน์ 3. ข้อใดคือพระราชโอรสของเจ้าชายสิทธัตถะกับพระนางพิมพา ก. ราหลุ ข. สทุ โธทนะ ค. โกณฑัญญะ ง. สกั กะเทวราช 4. ขอ้ ใดเป็นหลกั ธรรมเพ่ือการอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม ก. มรรค 8 ข. อรยิ สจั 4 ค. อทิ ธบิ าท 4 ง. พรหมวิหาร 4 5. ศาสนาแต่ละศาสนา มสี ่งิ ใดท่ใี ช้เปน็ แนวทางในการประพฤติปฏิบัติ ก. ความเชื่อ ข. กฎหมาย ค. แรงบันดาลใจ ง. หลักธรรมคำสอน 6. หลกั คำสอนทวี่ ่าให้ศรัทธาต่ออลั เลาะห์ ใหศ้ รัทธาโดยปราศจากข้อสงสยั ใด ๆ วา่ พระอัลเลาะห์ ทรงมีอยู่จรงิ ทรงดำรงอยู่ดว้ ยพระองค์ คอื หลักคำสอนของศาสนาใด ก. พุทธ ข. ครีสต์ ค. อสิ ลาม ง. พราหมณ์ – ฮินดู 7. การไม่ไปก้าวก่ายความเช่อื ของผูน้ บั ถือศาสนาท่ไี มต่ รงกับศาสนาท่ีตนนบั ถอื เปน็ วธิ ปี ้องกันและแกไ้ ข ความขัดแย้งทางศาสนา ตรงกับข้อใด ก. วิธียอมกนั ข. วธิ ีหลกี เล่ียง ค. วิธผี สมผสาน ง. วธิ ีการประนปี ระนอม

9 8. บคุ คลใดนาหลักธรรมอิทธิบาท 4 ในเรอ่ื ง ฉนั ทะมาใช้ได้อย่างเหมาะสม ก. สมคิด ศกึ ษาหาความรู้ใหม่ๆ อยูเ่ สมอ ข. วิมล อดทนทางานจนไดเ้ ลื่อนตำแหน่ง ค. จนิ ดา ต้ังใจทำข้อสอบจนสอบได้ ท่ี 1 ของช้ัน เรยี น ง. มิ่งขวัญ คิดไตร่ตรอง วางแผนทกุ คร้ัง ก่อนลงมือทำงาน 9. ขอ้ ใดคือประโยชนข์ องการฝึกสมาธิอย่เู สมอ ก. มใี จรา่ เริง ข. มีรายได้สูง ค. มีอาชพี ท่ีมั่นคง ง. มคี วามวอ่ งไวในการทำงาน 10. บคุ คลในข้อใดสามารถฝึกสมาธติ ามแนวปฏิบัตขิ องศาสนาครสี ต์ ก. นสิ า ชำระมลทินทางจิต ข. สมพร นง่ั สมาธิก่อนนอน ค. สชุ าติ ใหข้ นมคนเรร่ อนเป็นการใหท้ าน ง. เขม็ เพชร ทำละหมาดเป็นประจำทุกวัน 11. ประเพณวี งิ่ ควาย เป็นประเพณีของจังหวัดใด ก. ตรงั ข. ชลบรุ ี ค. ชยั นาท ง. จันทบุรี 12. หากต้องการรับประทานอาหารประจำชาติของประเทศเมยี นมาร์ ควรเลือกอาหารในข้อใด ก. ลักซา ข. อมั บยตั ค. หล่าเพด็ ง. กาโด กาโด 13. ผ้ชู ายจะนงุ่ กางเกงขายาวและสวมเส้ือผู้หญิงนงุ่ กระโปรงยาว ใสเ่ สือ้ สคี รีมแขนส้นั จับจีบยกต้ังขนึ้ เหนือ ไหล่คลา้ ยปีกผเี สือ้ เป็นชดุ ประจำชาตขิ องประเทศใด ก. ลาว ข. กัมพูชา ค. สงิ คโปร์ ง. ฟลิ ิปปินส์ 14. ข้อใดคอื ภาษาท่ีประชากรสว่ นใหญข่ องทวีปเอเชยี ใช้ดตอ่ สอื่ สารมากท่สี ดุ ก. ภาษาจีนและภาษาไทย ข. ภาษาจนี และภาษาองั กฤษ ค. ภาษาองั กฤษและภาษาไทย ง. ภาษาองั กฤษและภาษาฝร่งั เศส

10 15. ระบำอปั สรา เปน็ วฒั นธรรมของประเทศใด ก. ลาว ข. กัมพูชา ค. เมยี นมาร์ ง. ฟลิ ิปปินส์ 16. บุคคลใดปฏิบัติตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดีในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมไทย ก. แจง ให้ดอกกหุ ลาบแฟนในวันวาเลนไทน์ ข. เจน กอดและหอมแก้มแม่ทกุ ครัง้ กอ่ นไปทำงาน ค. จิตดี พาน้องทำกระทงไปลอยทท่ี ่าน้ำในวนั ลอยกระทง ง. จุย๋ เซอร์ไพรสว์ ันเกดิ ลูกชายด้วยการซอ้ื รถจักรยานยนต์เปน็ ของขวญั 17. การไม่กลา้ แสดงความคิดเห็นขัดแย้ง เพราะเกรงจะกระทบกระเทือนความรสู้ กึ ผ้อู น่ื สะทอ้ น ลักษณะนิสยั คนไทยในค่านิยมขอ้ ใด ก. ความกตญั ญูกตเวที ข. ความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ ค. ความศรทั ธาและปญั ญา ง. ความเคารพและอ่อนน้อมถอ่ มตน 18. บุคคลใดนาค่านยิ มตา่ งชาตมิ าปรบั ใชก้ บั สังคมไทยได้อย่างเหมาะสม ก. ชาตรี ทาโทษนักเรียนที่ไม่เขา้ แถวหนา้ เสาธง ข. ปรีชา เลอื กนกั เรยี นทเี่ รียนเกง่ เปน็ หวั หน้าหอ้ ง ค. เต้ย เพิม่ คะแนนให้กับนักเรยี นท่รี ้องเพลงเพราะ ง. หนอ่ ย ให้นักเรยี นรว่ มกันจัดนิทรรศการวนั วทิ ยาศาสตร์

11 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test) เร่อื ง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี วิชา ศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมือง รายวชิ า สค 31002 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1. ข 11. ข 2. ง 12. ค 3. ก 13. ง 4. ค 14. ข 5. ง 15. ก 6. ค 16. ค 7. ก 17. ง 8. ก 18. ง 9. ง 10. ค

12 วิธกี ารเรียน : แบบพบกลุ่ม (ON-Site) กระบวนการจัดการเรียนรู้ การกำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation) 1. ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรยี น ( 30 นาที ) 1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนำเขา้ สู่บทเรยี นโดยแจง้ ข่าวสารเหตกุ ารณ์ปัจจุบนั ใหน้ ักศึกษาทราบ พรอ้ มทัง้ แลกเรียนเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารเหตกุ ารณ์ปัจจบุ นั ร่วมกนั วเิ คราะห์ และแสดงความคิดเหน็ รว่ มกนั ในชัน้ เรยี น และทบทวนบทเรียนจากครั้งที่แล้ว เร่ือง แผนครง้ั ที 8 เพ่ือดงึ ความรู้และประสบการณเ์ ดมิ ของ นกั ศึกษา เน้นการมีสว่ นร่วม มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ สะท้อนความคดิ และอภิปราย โดยให้เช่ือมโยงกบั ความรู้ ใหม่ 1.2 ครนู ำเข้าสูบ่ ทเรียนโดยครูเปิดวดี ที ศั น์ เร่ือง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี จาก ลิงค์ https://www.youtube.com/watch?v ใหน้ กั ศึกษารบั ชมเพือ่ ใหน้ ักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ พร้อมทง้ั ยกตวั อย่างการสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพ่ือการอยรู่ ว่ มกัน อย่างสันติสุข ให้นักศึกษาทราบ เพอ่ื เช่ือมโยงสูบ่ ทเรยี นต่อไป 1.3 ครแู ละนกั ศึกษาสรุปสิ่งท่ีไดอ้ ภปิ รายร่วมกัน และนกั ศกึ ษาบันทกึ ลงในแบบบันทกึ การเรยี นรู้ กศน. การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรยี นรู้ (N : New ways of learning) 2. ข้นั จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ( 4 ช่ัวโมง ) 2.1 ครูอธบิ ายเน้อื หาจากหนังสือเรียนรายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง เร่ือง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ในหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี ศาสนาตา่ งๆ ในโลก ,หลักธรรมสำคัญของศาสนาต่างๆ ,การปฏบิ ตั ิตนใหอ้ ย่รู ว่ มกัน อย่างสันตสิ ุข ,วธิ ีฝึกปฏิบัตพิ ัฒนาจิตในแตล่ ะศาสนา , การพัฒนาสตปิ ัญญาในการแก้ปัญหา ต่างๆ และการพฒั นา ตนเองครอบครัว ชุมชน สังคม (กรณีตัวอยา่ ง) , วัฒนธรรมประเพณใี นประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก, การอนุรักษแ์ ละสบื ทอดวฒั นธรรม ประเพณี (กรณตี วั อยา่ ง) , ข้อปฏิบัตใิ นการมีส่วนรว่ ม สืบทอด ประพฤตปิ ฏิบตั ิ ตนเป็นแบบอย่างในการ อนุรักษว์ ฒั นธรรมประเพณีอนั ดงี ามของ สังคมไทย , แนวทางในการเลอื กรับ ปรบั ใช้ วฒั นธรรมต่างชาตไิ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ตนเองและสงั คมไทย (กรณตี วั อยา่ ง) , ค่านิยมท่พี ึงประสงค์ของสังคมไทย ,คา่ นยิ มทพี่ ึงประสงค์ของประเทศตา่ งๆ ในโลก,วิธีปฏิบัติในการประพฤติตนเป็นผู้นำรว่ มในการปอ้ งกันและแก้ไข ปญั หา พฤติกรรมที่ไม่พงึ ประสงค์ในสังคมไทย พร้อมใหน้ กั ศึกษาจดบันทกึ รายละเอียดลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. 2.2 ครูให้นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มออกเปน็ 5 กล่มุ ๆละเทา่ ๆกัน เพ่อื ศกึ ษาข้อมลู เกีย่ วกับ เรือ่ ง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 2.3 ครูให้นักศึกษา ทำกจิ กรรมสรุปความร้เู ป็นแผนผังความคิด เรือ่ ง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ลงใน กระดาษบรฟู๊ ในหัวข้อ ดงั นี้ กลมุ่ ท่ี 1 ศาสนาต่างๆ ในโลก กลุ่มที่ 2 หลกั ธรรมสำคัญของศาสนาต่างๆ กลุ่มที่ 3 การปฏิบัตติ นให้อยรู่ ่วมกนั อย่างสันติสุข ,วธิ ีฝกึ ปฏบิ ัตพิ ฒั นาจิตในแตล่ ะศาสนา กล่มุ ที่ 4 การพัฒนาสติปญั ญาในการแกป้ ญั หา ตา่ งๆ และการพฒั นาตนเองครอบครัว ชุมชน สงั คม กลุ่มที่ 5 วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 2.4 ครูให้แตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนมาออกมานำเสนอหนา้ ห้องเรยี น และครูเปน็ ผูต้ รวจสอบความ

13 ถกู ต้อง ให้ความรเู้ พ่มิ เติมและข้อเสนอแนะ โดยใหน้ ักศกึ ษาจดบันทึกสิ่งที่ได้จากการฟงั และสรปุ ลงในแบบบันทึก การเรยี นรู้ กศน. 2.5 ครสู อนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเรอ่ื ง ความสะอาด ความสุภาพ ความขยัน ความประหยัด ความซือ่ สตั ย์สจุ รติ ความสามคั คี ความมนี ้าใจ ความมีวนิ ัย ศาสน์ กษตั ริย์ รกั ความเปน็ ไทย และ ยดึ มน่ั ในวิถชี วี ติ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข การปฏิบัตแิ ละนำไปประยุกต์ (I : Implementation) 3. ขน้ั การปฏบิ ตั ิและนำไปประยกุ ตใ์ ช้ ( 30 นาที ) 3.1 ครสู ุ่มตวั แทนกลมุ่ นำเสนอ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน สรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้รว่ มกันและ ให้นกั ศึกษาบันทึกความรู้ทไ่ี ด้ ลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. 3.2 นักศกึ ษานำความรทู้ ี่ได้จากการเรียนรู้มาเปน็ แนวทางในการแกป้ ัญหาและการดำเนินชีวิตใน ประจำวันต่อไป ขน้ั ประเมนิ ผล (E : Evaluation) 4. ข้นั สรุปและประเมินผล (1 ชวั่ โมง) 4.1 ครใู หน้ กั ศึกษาทำแบบทดสอบย่อย เร่อื ง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี แบบปรนยั จำนวน 20 ข้อ จากชดุ แบบทดสอบ หรือจาก Google From พร้อมเฉลยและประเมนิ ผล ให้นักศึกษาบันทกึ คะแนนลงในแบบ บันทกึ การเรยี นรู้ กศน. 4.2 ครใู หน้ ักศึกษาทำแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) แบบปรนัย วิชา ศาสนาและหน้าทพี่ ลเมือง จำนวน 20 ขอ้ ผา่ นทาง Google Form พรอ้ มเฉลยและประเมินผล ให้นกั ศึกษาบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึก การเรยี นรู้ กศน. 4.3 ครูใหน้ ักศึกษาสรปุ การทำความดีและคณุ ธรรมทไี่ ด้ปฏิบตั ิ พร้อมบนั ทกึ ลงในสมดุ บันทกึ ความดี เพอ่ื การประเมินคุณธรรม 4.4 ครูติดตามงานทีไ่ ดม้ อบหมายนกั ศึกษา เพอื่ ติดตามความคืบหนาทางแอปพลเิ คชัน Line ดงั น้ี 4.4.1 ติดตามงานที่ไดร้ ับมอบหมายสัปดาหท์ ผี่ า่ นมา 4.4.2 ตดิ ตามการทำกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต (กพช.) 4.4.3 ติดตามสอบถามสขุ ภาพของนกั ศึกษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแต่งกาย) 4.4.4 ตดิ ตามสอบถามการทำความดใี นแตล่ ะวนั สปั ดาหท์ ี่ผา่ นมาและติดตามการบันทึก กิจกรรมที่ทำความดลี งในสมุดบันทึกบันทึกความดเี พ่ือการประเมนิ คุณธรรม 4.4.5 ติดตามสอบถามเกย่ี วกับงานอดเิ รก สุนทรยี ภาพ การเล่นกฬี า การใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ ฯลฯ 4.4.6 ตดิ ตามความก้าวหนา้ การทำโครงงาน ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรียนวชิ า สค 31002 ศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง หรอื หนังสือเรียนออนไลน์ ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download 2. คมู่ อื นกั ศึกษา 3. วีดีทศั น์, Youtube เกยี่ วกับ ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ลิงค์ https://www.youtube.com/watch?v 4. แบบทดสอบย่อย เรอื่ ง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ (ชุดแบบทดสอบ หรือ

14 Google Form) 5. แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) วชิ าศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง สค 31002 จำนวน 20 ขอ้ (ชุดแบบทดสอบ หรือ Google Form) 6. ใบความรู้ ที่ 1 เรอื่ ง หน้าที่ชาวพทุ ธ 7. ใบความรู้ ที่ 2 เรอ่ื ง ศาสนพธิ ี 8. ใบความรู้ ที่ 3 เร่ือง วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศและต่างประเทศ 9. ใบงานท่ี 1 เรือ่ ง ศาสนา ประเพณี 10. ใบงานที่ 2 เร่อื ง วฒั นธรรม ค่านยิ ม 11. แบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. การมอบหมายงาน 1. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอา่ นทบทวนเน้ือหาเพมิ่ เติมจากหนังสือเรียน เร่ือง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้ ศาสนาตา่ งๆ ในโลก ,หลักธรรมสำคญั ของศาสนาต่างๆ ,การปฏบิ ัตติ นใหอ้ ย่รู ่วมกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข ,วิธฝี ึกปฏิบตั พิ ัฒนาจติ ในแตล่ ะศาสนา , การพฒั นาสตปิ ัญญาในการแกป้ ัญหา ต่างๆ และการพฒั นา ตนเองครอบครวั ชุมชน สังคม (กรณีตวั อยา่ ง) , วัฒนธรรมประเพณใี นประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก, การอนุรักษแ์ ละสบื ทอดวัฒนธรรม ประเพณี (กรณตี ัวอย่าง) , ขอ้ ปฏบิ ตั ิในการมีสว่ นรว่ ม สืบทอด ประพฤตปิ ฏิบัติ ตนเปน็ แบบอยา่ งในการ อนรุ ักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดงี ามของ สงั คมไทย , แนวทางในการเลอื กรับ ปรับ ใช้ วัฒนธรรมตา่ งชาตไิ ดอ้ ย่างเหมาะสมกับ ตนเองและสงั คมไทย (กรณีตัวอย่าง) , ค่านิยมทพี่ ึงประสงค์ของสงั คมไทย ,คา่ นยิ มท่พี ึงประสงคข์ องประเทศตา่ งๆ ในโลก,วิธีปฏบิ ตั ิในการประพฤตติ นเปน็ ผ้นู ำรว่ มในการปอ้ งกนั และแก้ไข ปญั หา พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ในสงั คมไทย จากหนงั สือเรยี นออนไลน์ รายวชิ าศาสนาและหน้าท่ีพลเมือง ลิงค์ ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download และสรปุ ลงในแบบบนั ทึกการเรยี นรู้ กศน. 2. ครูมอบหมายให้นกั ศกึ ษาไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาจากหนังสือเรยี นออนไลน์ รายวิชาศาสนาและ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download และศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ ท่ี 1 เร่ือง หน้าที่ชาวพุทธ , ใบความรู้ ที่ 2 เร่อื ง ศาสนพธิ ี , ใบความรู้ ท่ี 3 เรอื่ ง วัฒนธรรมประเพณีในประเทศและ ตา่ งประเทศและทำใบงานท่ี 1 เร่ือง ศาสนา ประเพณี, ใบงานที่ 2 เร่ือง วฒั นธรรม คา่ นยิ ม (โดยครูจะส่งใบงานทาง Google classroom) และให้นักศึกษาส่งงานทาง LINE ตามวันเวลาทีค่ รกู ำหนด การวดั และประเมนิ ผล 1. การสงั เกตพฤติกรรมการมีรายบุคคล/รายกลมุ่ 2. การตรวจแบบบันทกึ การเรียนรู้ กศน. 3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน/ช้ินงาน 4. การตรวจใบงาน 5. การตรวจแบบทดสอบ 6. การประเมนิ คณุ ธรรม

15 วิธีการเรียน : แบบออนไลน์ (ON-Line) กระบวนการจัดการเรียนรู้ การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation) 1. ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรยี น ( 30 นาที ) 1.1 ครทู กั ทายนกั ศึกษา และนาเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยแจง้ ข่าวสารเหตุการณป์ จั จุบัน ผ่านทาง Google Classroom หรือ LINE กลมุ่ ใหน้ ักศึกษาทราบ พร้อมทั้งแลกเรียนเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารเหตกุ ารณ์ ปัจจบุ นั ร่วมกันวเิ คราะห์ และแสดงความคดิ เห็นรว่ มกัน ผ่านทาง Google Classroom หรอื LINE กลมุ่ พรอ้ ม อธิบายถึงเหตผุ ลความจำเปน็ ทตี่ อ้ งจดั กิจกรรมการเรยี นรูปแบบออนไลน์ 1.2 ครูเปิดวีดที ศั น์ เรื่อง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ให้นักศกึ ษารับชมผา่ นทาง YouTube จากลงิ ค์ https://www.youtube.com/watch?v โดยครสู ง่ ลิงค์ผา่ นทาง Google Classroom หรอื แอปพลเิ คชัน LINE แล้วครถู ามนักศึกษาว่า จากวดี ีทศั น์ทนี่ ักศกึ ษารับชม นักศกึ ษาสามารถการปฏิบตั ติ นเป็น พลเมืองดี ได้อย่างไรบ้าง โดยให้นกั ศึกษาร่วมกันวเิ คราะห์และแลกเปลยี่ นเรียนรู้แสดงความคดิ เห็นผ่านทาง Google Classroom หรอื แอปพลเิ คชัน LINE เพื่อเชื่อมโยงเข้าสบู่ ทเรียนต่อไป การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) 2. ข้นั จดั กิจกรรมการเรียนการสอน ( 4 ช่ัวโมง ) 2.1 ครูมอบหมายใหน้ กั ศึกษาไปศกึ ษาหาความรู้ เรื่อง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี จากหนงั สอื เรียน ออนไลน์ รายวชิ าศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download หรอื จากสื่อ และแหลง่ เรียนร้ตู า่ งๆ และให้สรุปลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. ในหัวขอ้ ต่อไปน้ี 1. ศาสนาต่างๆ 2. หลักธรรมสำคญั ของศาสนาต่างๆ 3. การปฏิบัตติ นให้อยรู่ ่วมกันอย่างสันตสิ ขุ 4. วธิ ีฝึกปฏบิ ตั ิพัฒนาจติ ในแต่ละศาสนา 5. การพฒั นาสตปิ ัญญาในการแก้ปัญหา ต่างๆ และการพฒั นาตนเองครอบครัว ชมุ ชน สังคม (กรณี ตวั อยา่ ง) 6. วัฒนธรรมประเพณใี นประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก 7. การอนุรกั ษ์และสบื ทอดวฒั นธรรม ประเพณี (กรณตี ัวอยา่ ง) 8. ขอ้ ปฏิบตั ิในการมสี ่วนร่วม สบื ทอด ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างในการ อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีอนั ดีงามของ สงั คมไทย 9.1 แนวทางในการเลือกรบั ปรับ ใช้ วัฒนธรรมตา่ งชาติไดอ้ ย่างเหมาะสมกับ ตนเองและสงั คมไทย (กรณตี ัวอย่าง) 9.2 ค่านยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ของสังคมไทย 10. ค่านยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ของประเทศต่างๆ ในโลก 11. วธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการประพฤตติ นเป็นผู้นำร่วมในการป้องกนั และแก้ไขปญั หา พฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ประสงคใ์ นสังคมไทย 2.2 ครูมอบหมายให้นกั ศึกษาเลอื กหวั ข้อทีส่ นใจ จำนวน 1 เรอ่ื ง ให้ไปศกึ ษาคน้ คว้าจากหนงั สือ

16 เรยี นออนไลน์ รายวิชาศาสนาและหน้าท่ีพลเมือง ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download หรือจาก แหล่งการเรยี นรู้ตา่ งๆ และให้นกั ศกึ ษาจัดทำสรปุ ความรเู้ ป็นแผนผังความคดิ ลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. ดังน้ี 1. ศาสนาตา่ งๆ 2. หลักธรรมสำคัญของศาสนาตา่ งๆ 3. การปฏิบตั ิตนให้อย่รู ว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ขุ 4. วธิ ีฝึกปฏบิ ตั ิพัฒนาจติ ในแตล่ ะศาสนา 5. การพัฒนาสตปิ ญั ญาในการแก้ปัญหา ต่างๆ และการพัฒนาตนเองครอบครัว ชุมชน สงั คม (กรณี ตัวอยา่ ง) 6. วัฒนธรรมประเพณีในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก 7. การอนุรักษแ์ ละสบื ทอดวฒั นธรรม ประเพณี (กรณีตัวอย่าง) 8. ขอ้ ปฏิบตั ิในการมีสว่ นร่วม สืบทอด ประพฤติปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งในการ อนุรักษ์วฒั นธรรม ประเพณอี นั ดีงามของ สงั คมไทย 9.1 แนวทางในการเลือกรบั ปรบั ใช้ วัฒนธรรมต่างชาตไิ ด้อย่างเหมาะสมกับ ตนเองและสงั คมไทย (กรณีตัวอย่าง) 9.2 ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ของสงั คมไทย 10. ค่านิยมท่พี ึงประสงค์ของประเทศตา่ งๆ ในโลก 11. วธิ ีปฏิบัตใิ นการประพฤติตนเปน็ ผนู้ ำร่วมในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา พฤติกรรมท่ีไม่พงึ ประสงคใ์ นสังคมไทย 2.3 ครสู อนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเร่อื ง ความสะอาด ความสุภาพ ความกตัญญู กตเวที ความขยนั ความประหยัด ความซ่อื สตั ย์ ความมนี ้ำใจ ความมีวินัย ศาสน์ กษัตรยิ ์ รักความเปน็ ไทย และยดึ ม่นั ในวถิ ชี ีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ผ่านทาง LINE กล่มุ การปฏิบตั แิ ละนำไปประยุกต์ (I : Implementation) 3. ขน้ั การปฏิบตั แิ ละนำไปประยุกต์ใช้ ( 30 นาที ) 3.1 ครสู ่มุ ตัวแทนกลุ่มนำเสนอ เพื่อแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นซ่งึ กนั และกนั สรุปสง่ิ ท่ีไดเ้ รียนรู้รว่ มกันและ ใหน้ กั ศึกษาบันทึกความรู้ทีไ่ ด้ ลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 3.2 นักศึกษานำความรู้ท่ไี ดจ้ ากการเรยี นรู้มาเป็นแนวทางในการแกป้ ัญหาและการดำเนินชวี ติ ใน ประจำวันตอ่ ไป ข้ันประเมนิ ผล (E : Evaluation) 4. ขัน้ สรุปและประเมินผล (1 ชั่วโมง) 4.1 ครูให้นกั ศึกษาทำแบบทดสอบย่อย เรื่อง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี แบบปรนยั จำนวน 20 ขอ้ ผา่ นทาง Google From พรอ้ มเฉลยและประเมินผล ให้นักศกึ ษาบนั ทึกคะแนนลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 4.2 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) แบบปรนัย วิชาศาสนาและหน้าท่ี พลเมอื ง จำนวน 20 ข้อ ผ่านทาง Google Form พร้อมเฉลยและประเมินผล ใหน้ ักศกึ ษาบนั ทึกคะแนนลงในแบบ บนั ทึกการเรยี นรู้ กศน. 4.3 ครูให้นักศึกษาสรุปการำาความดีและคณุ ธรรมที่ไดป้ ฏิบัติ จากบนั ทกึ ลงในสมดุ บนั ทึกความ ดเี พ่อื การประเมินคุณธรรม

17 4.4 ครตู ิดตามงานทไี่ ดม้ อบหมายนักศึกษา เพ่อื ตดิ ตามความคบื หน้าทางแอปพลิเคชัน Line ดังน้ี 4.4.1 ตดิ ตามงานท่ีได้รับมอบหมายสปั ดาห์ทผี่ ่านมา 4.4.2 ติดตามการทำกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต (กพช.) 4.4.3 ตดิ ตามสอบถามสุขภาพของนกั ศึกษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย) 4.4.4 ติดตามสอบถามการทำความดใี นแตล่ ะวัน สัปดาหท์ ี่ผ่านมาและติดตามการบันทึก กจิ กรรมท่ีทำความดลี งในสมุดบันทกึ บนั ทึกความดเี พื่อการประเมนิ คุณธรรม 4.4.5 ตดิ ตามสอบถามเก่ียวกับงานอดเิ รก สนุ ทรียภาพ การเล่นกฬี า การใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ฯลฯ 4.4.6 ติดตามความกา้ วหนา้ การทำโครงงาน สือ่ และแหล่งการเรียนรู้ 1. Google Classroom / แอปพลิเคชนั LINE 2. หนงั สือเรยี นวิชา สค 31002 ศาสนาและหน้าทีพ่ ลเมือง หรือ หนังสือเรยี นออนไลน์ ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download 3. แบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 4. วีดโี อ, Youtube เกย่ี วกับ เร่ือง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี จากลิงค์ https://www.youtube.com/watch?v 5. แบบทดสอบย่อย เรื่อง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี จำนวน 20 ข้อ (รปู แบบ Google Form) 6. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) วิชาศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมือง สค 31002 จำนวน 20 ขอ้ (รูปแบบ Google Form) 7. ใบความรู้ ที่ 1 เรือ่ ง หนา้ ท่ีชาวพทุ ธ 8. ใบความรู้ ท่ี 2 เรื่อง ศาสนพธิ ี 9. ใบความรู้ ท่ี 3 เร่ือง วัฒนธรรมประเพณีในประเทศและต่างประเทศ 10. ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง ศาสนา ประเพณี 11. ใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง วฒั นธรรม คา่ นยิ ม การมอบหมายงาน 1.. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอ่านทบทวนเนอื้ หาเพิ่มเติมจากหนงั สอื เรยี น เรื่อง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ในหัวข้อต่อไปน้ี ศาสนาตา่ งๆ ในโลก ,หลกั ธรรมสำคญั ของศาสนาต่างๆ ,การปฏิบตั ติ นให้อย่รู ่วมกัน อยา่ งสันตสิ ุข ,วิธฝี กึ ปฏบิ ตั พิ ัฒนาจิตในแต่ละศาสนา , การพฒั นาสติปญั ญาในการแกป้ ญั หา ตา่ งๆ และการพัฒนา ตนเองครอบครัว ชุมชน สังคม (กรณตี ัวอย่าง) , วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก, การอนรุ ักษ์และสบื ทอดวัฒนธรรม ประเพณี (กรณีตัวอยา่ ง) , ข้อปฏิบตั ใิ นการมีส่วนร่วม สบื ทอด ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ตนเปน็ แบบอย่างในการ อนุรักษว์ ัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของ สงั คมไทย , แนวทางในการเลอื กรบั ปรบั ใช้ วฒั นธรรมตา่ งชาตไิ ดอ้ ย่างเหมาะสมกับ ตนเองและสังคมไทย (กรณตี ัวอย่าง) , คา่ นยิ มท่พี งึ ประสงค์ของสังคมไทย ,คา่ นยิ มที่พึงประสงค์ของประเทศต่างๆ ในโลก,วธิ ปี ฏิบัตใิ นการประพฤตติ นเป็นผู้นำร่วมในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา พฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ในสังคมไทย จากหนังสอื เรียนออนไลน์รายวชิ าศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมือง ลงิ ค์ ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download และสรุปลงในแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน.

18 2. ครมู อบหมายให้นักศึกษาไปศกึ ษาค้นควา้ เน้ือหาจากหนังสอื เรียนออนไลน์ รายวชิ าศาสนาและ หนา้ ท่ีพลเมอื ง ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download และศกึ ษาเนื้อหาจากใบความรู้ ที่ 1 เรือ่ ง หนา้ ที่ชาวพุทธ ใบความรู้ ที่ 2 เร่ือง ศาสนพธิ ี ใบความรู้ ท่ี 3 เรอ่ื ง วฒั นธรรมประเพณีในประเทศและต่างประเทศ และทำใบงานท่ี 1 เร่ือง ศาสนา ประเพณี ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง วัฒนธรรม คา่ นิยม (โดยครูจะส่งใบงานทาง Google classroom) และใหน้ ักศกึ ษาส่งงานทาง LINE ตามวนั เวลาท่คี รกู ำหนด การวดั และประเมนิ ผล 1. การมีสว่ นรว่ มในการเข้าเรียน จาก Google Classroom/LINE 2. ตรวจแบบบันทกึ การเรยี นรู้ กศน. 3. การตรวจใบงาน 4. การตรวจแบบทดสอบ 5. การประเมินคุณธรรม

19 วธิ ีการเรยี น : แบบหนงั สือเรียน มอบหมายงาน (ON - Hand) กระบวนการจดั การเรียนรู้ การกำหนดสภาพ ปัญหา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O : Orientation) 1. ขน้ั นำเข้าสู่บทเรียน ( 30 นาที ) 1.1 ครสู ำรวจความพร้อมของนักศึกษาในการเรียนรู้ สำหรับนกั ศึกษาไม่มีอินเตอร์เนต็ และเครื่องมือ สอ่ื สาร โดยนำหนังสือเรยี น ใบความรู้ และใบงาน ให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ที่บา้ น ในรายวชิ า ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จากหนังสือท่ีครไู ดน้ ำไปให้ พร้อมให้นักศึกษา ศึกษาใบความรู้ จัดทำใบงาน พร้อมท้ังทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 1.2 ครนู ำตวั อยา่ งการเรยี นรู้แบบโครงงาน ไปให้นกั ศึกษา ศกึ ษาเรยี นรู้ท่ีบ้าน เพ่อื เชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน และมอบหมายงานต่อไป 1.3 นักศึกษาสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในตัวอย่างรูปเล่มโครงงาน บันทึกลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. และ นำสง่ ตามวนั เวลาทค่ี รกู ำหนด การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรยี นรู้ (N : New ways of learning) 2. ข้ันจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ( 4 ชั่วโมง ) 2.1 ครูมอบหมายให้นกั ศึกษาไปศกึ ษาหาความรู้ เร่ือง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี จากหนังสอื รายวิชา ศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมือง ในหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี 1. ศาสนาตา่ งๆ 2. หลกั ธรรมสำคัญของศาสนาตา่ งๆ 3. การปฏบิ ัตติ นใหอ้ ยู่ร่วมกันอย่างสนั ตสิ ขุ 4. วธิ ีฝกึ ปฏบิ ตั พิ ัฒนาจติ ในแต่ละศาสนา 5. การพฒั นาสติปญั ญาในการแกป้ ัญหา ตา่ งๆ และการพัฒนาตนเองครอบครัว ชมุ ชน สงั คม (กรณี ตัวอย่าง) 6. วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก 7. การอนุรักษแ์ ละสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี (กรณีตัวอย่าง) 8. ขอ้ ปฏิบตั ิในการมีส่วนร่วม สืบทอด ประพฤติปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอย่างในการ อนุรักษว์ ฒั นธรรม ประเพณอี ันดีงามของ สังคมไทย 9.1 แนวทางในการเลอื กรับ ปรบั ใช้ วัฒนธรรมตา่ งชาติได้อย่างเหมาะสมกับ ตนเองและสังคมไทย (กรณีตัวอย่าง) 9.2 ค่านิยมท่พี งึ ประสงค์ของสงั คมไทย 10. คา่ นิยมท่พี งึ ประสงค์ของประเทศต่างๆ ในโลก 11. วธิ ปี ฏบิ ัตใิ นการประพฤตติ นเป็นผู้นำรว่ มในการป้องกันและแก้ไขปัญหา พฤติกรรมทไี่ ม่พงึ ประสงคใ์ นสงั คมไทย 2.2 ครมู อบหมายให้นกั ศึกษาไปศึกษาคน้ คว้าเนือ้ หาจากหนงั สือเรยี นรายวชิ าศาสนาและหนา้ ที่พลเมอื ง และทำใบงาน ดงั นี้ ใบงานที่ 1 เรอื่ ง ศาสนา ประเพณี ใบงานท่ี 2 เรอื่ ง วฒั นธรรม ค่านิยม 2.3 ครูสอนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเรอ่ื ง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตัญญู

20 กตเวที ความขยัน ความประหยัด ความซ่ือสตั ย์ ความมนี ้ำใจ ความมวี นิ ยั ศาสน์ กษตั ริย์ รักความเปน็ ไทย และยึด มั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ผ่านใบความรู้ ใบ งาน การปฏิบัติและนำไปประยกุ ต์ (I : Implementation) 3. ขัน้ การปฏิบตั ิและนำไปประยกุ ตใ์ ช้ ( 30 นาที ) 3.1 ครสู ุม่ ตัวแทนกลุม่ นำเสนอ เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นซงึ่ กันและกัน สรปุ สงิ่ ท่ีไดเ้ รียนรู้ร่วมกันและ ใหน้ ักศึกษาบนั ทึกความรทู้ ไี่ ด้ ลงในแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน. 3.2 นักศกึ ษานำความรทู้ ่ไี ด้จากการเรยี นรมู้ าเป็นแนวทางในการแกป้ ัญหาและการดำเนินชีวิตใน ประจำวนั ตอ่ ไป ขน้ั ประเมนิ ผล (E : Evaluation) 4. ขน้ั สรุปและประเมินผล (1 ชว่ั โมง) 4.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ จากชุด แบบทดสอบ พร้อมเฉลยและประเมนิ ผล ให้นกั ศกึ ษาบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 4.2 ครูให้นักศึกษาสรุปการทำความดีและคุณธรรมที่ได้ปฏิบัติ พร้อมบันทึกลงในสมุดบันทึกความดี เพ่ือ การประเมนิ คณุ ธรรม 4.3 ครตู ิดตามงานทไี่ ด้มอบหมายนกั ศึกษา เพ่ือตดิ ตามความคืบหนาทางแอปพลิเคชนั Line ดังน้ี 4.3.1 ติดตามงานท่ีได้รับมอบหมายสัปดาห์ท่ผี า่ นมา 4.3.2 ตดิ ตามการทำกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) 4.3.3 ตดิ ตามสอบถามสขุ ภาพของนกั ศกึ ษา (การตรวจสุขภาพ/ความสะอาด/การแต่งกาย) 4.3.4 ตดิ ตามสอบถามการทำความดีในแตล่ ะวนั สัปดาห์ที่ผ่านมาและตดิ ตามการบนั ทึก กจิ กรรมท่ีทำความดีลงในสมุดบนั ทกึ บันทึกความดเี พื่อการประเมินคุณธรรม 4.3.5 ตดิ ตามสอบถามเกย่ี วกับงานอดเิ รก สนุ ทรียภาพ การเลน่ กีฬา การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ฯลฯ 4.3.6 ติดตามความกา้ วหน้าการทำโครงงาน สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนวชิ าศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง สค31002 2. คมู่ ือนักศึกษา 3. ใบความรู้ 4. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เร่อื ง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี แบบปรนัย จำนวน 20 ขอ้ 5..แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) วิชาศาสนาและหน้าท่ีพลเมือง สค 31002 จำนวน 20 ข้อ 6. ใบงานท่ี 1 7. ใบงานท่ี 2 8. ใบความรู้ท่ี 1 9. ใบความรู้ท่ี 2 10. ใบความรู้ท่ี 3 11. แบบบันทกึ การเรียนรู้ กศน.

21 การมอบหมายงาน 1. ครูมอบหมายให้นักศกึ ษาศึกษาเรียนรู้จากหนังสอื เรยี นรายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมอื ง โดยศึกษาใน เรอ่ื ง ศาสนาตา่ งๆ ในโลก ,หลกั ธรรมสำคัญของศาสนาตา่ งๆ ,การปฏิบตั ิตนใหอ้ ยู่ร่วมกนั อย่างสนั ติสุข ,วธิ ีฝกึ ปฏบิ ตั พิ ัฒนาจติ ในแต่ละศาสนา , การพัฒนาสติปญั ญาในการแกป้ ญั หา ต่างๆ และการพัฒนาตนเองครอบครวั ชุมชน สงั คม (กรณีตวั อยา่ ง) , วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก, การอนรุ ักษ์และสืบ ทอดวฒั นธรรม ประเพณี (กรณตี วั อยา่ ง) , ข้อปฏบิ ตั ิในการมีสว่ นร่วม สบื ทอด ประพฤติปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งใน การ อนุรกั ษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดงี ามของ สังคมไทย , แนวทางในการเลือกรบั ปรบั ใช้ วฒั นธรรมต่างชาติได้ อยา่ งเหมาะสมกบั ตนเองและสงั คมไทย (กรณตี วั อยา่ ง) , ค่านิยมท่ีพงึ ประสงคข์ องสงั คมไทย ,คา่ นยิ มท่พี ึงประสงค์ ของประเทศตา่ งๆ ในโลก,วธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการประพฤติตนเป็นผู้นำรว่ มในการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หา พฤติกรรมที่ไม่ พึงประสงค์ในสงั คมไทย และสรปุ ลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. 2. ครมู อบหมายใหน้ ักศึกษาไปศกึ ษาค้นควา้ เนือ้ หาจากหนังสือเรียนออนไลน์ รายวชิ าศาสนาและหน้าท่ี พลเมือง จากลิ้ง http://203.159.251.144/pattana/download และศึกษาเนอ้ื หาจากใบความรู้ ท่ี 1 เรื่อง หนา้ ทีช่ าวพทุ ธ ใบความรู้ ท่ี 2 เรอ่ื ง ศาสนพธิ ี ใบความรู้ ท่ี 3 เรือ่ ง วัฒนธรรมประเพณใี นประเทศและตา่ งประเทศ และทำใบงานที่ 1 เรื่อง ศาสนา ประเพณี ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง วัฒนธรรม คา่ นยิ ม และให้นักศึกษาส่งงาน (โดยครูจะ ส่งใบงานทาง Google classroom) และให้นักศึกษาส่งงานทาง LINE การวดั และประเมนิ ผล 1. การสงั เกตพฤติกรรมการมรี ายบุคคล/รายกล่มุ 2. การตรวจแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน/ชิน้ งาน 4. การตรวจใบงาน 5. การตรวจแบบทดสอบ 6. การประเมินคณุ ธรรม

22 วิธีการเรียน : แบบผา่ นช่องทาง ETV (ON-Air) กระบวนการจัดการเรยี นรู้ การกำหนดสภาพ ปัญหา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O : Orientation) 1. ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน ( 30 นาที ) 1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นกั ศึกษาแสดงความคิดเห็นในเรื่อง ศาสนาต่างๆ ใน ประเทศ และการปฏิบัติตนให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตามความเข้าใจของนักศึกษา โดยครูยกตัวอย่างความ ขดั แยง้ ในศาสนาต่างๆ ซง่ึ กอ่ ให้เกดิ ผลเสยี ในสังคม จากอินเตอรเ์ น็ต พรอ้ มท้ังแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ร่วมกันวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกันในกลุ่ม LINE พร้อมทั้งทำแบบทดสอบก่อนเรียน (ชุดแบบทดสอบ หรือ Google Form) ผ่านทาง Google Classroom หรือ LINE กลุ่ม พร้อมอธิบายถึงเหตุผลความจำเป็นที่ต้องจัดกิจกรรมการ เรยี นรูปแบบ ( ON-Air ) 1.2 ครูนำเข้าสบู่ ทเรยี นโดย ใหน้ กั ศึกษาสมัครเปน็ สมาชกิ ETV ตามลิ้งต่อไปนี้ http://203.159.251.144/pattana/download เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษามีรหัสผ่านเพ่อื เข้าไปศึกษาหาความรตู้ าม ตาราง ออนแอร์ ในแต่ละวนั ของสถานวี ิทยโุ ทรทศั นเ์ พ่ือการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ตามลง้ิ รายการโทรทศั น์สง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบโรงเรยี น http://www.etvthai.tv/Video/VDO_Detail_Ext.aspx?ContentID=320&videoid=1087&v=1&p=5 และ และ นักศึกษาสามารถตดิ ตามข่าวสารไดใ้ นเฟสบุ๊ค ETV Channel ตามลิ้งตอ่ ไปน้ี https://www.facebook.com/Etv-Channel-1512499252411798/ การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรยี นรู้ (N : New ways of learning) 2. ข้ันจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ( 4 ชั่วโมง ) 2.1 ครมู อบหมายใหน้ ักศกึ ษาเขา้ ไปศึกษาหาความรู้ ของสถานีวิทยโุ ทรทัศน์เพ่ือการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ ารตามเว็บไซต์ www.etvthai.tv โดย เข้าสู่ระบบดว้ ยรหสั ผ่านทนี่ ักศึกษาสมคั รไวแ้ ล้ว โดย สามารถดูตาราง ออนแอร์ได้ ตามลงิ้ http://www.etvthai.tv/Front_ETV/FETV_Schedule.aspx และ สามารถดรู ายการยอ้ นหลงั ได้ ตามลงิ้ http://www.etvthai.tv/home/home_External.aspx อีกชอ่ งทางการศึกษาหาความร้โู ดยผา่ น ทวี ีดจิ ิตอลช่อง 52 (กศน.) สามารถตดิ ตามขา่ วสารและตาราง ออนแอร์ได้ในเฟสบุ๊ค : ETV สอ่ื ดิจทิ ัลเพื่อการศกึ ษา สำนักงาน กศน. ตามล้ิงน้ี https://www.facebook.com/etv.digital/ 2.2 ครูมอบหมายให้นกั ศึกษาเรียนรูแ้ บบ (ON-Air) ในเรื่องการเรียนรูใ้ นรปู แบบโครงงานในหวั ข้อต่อไปนี้ 1. ศาสนาต่างๆ 2. หลักธรรมสำคัญของศาสนาต่างๆ 3. การปฏบิ ัติตนใหอ้ ยู่รว่ มกนั อย่างสันติสุข 4. วธิ ีฝึกปฏิบัติพฒั นาจติ ในแตล่ ะศาสนา 5. การพฒั นาสตปิ ัญญาในการแกป้ ัญหา ตา่ งๆ และการพัฒนาตนเองครอบครวั ชุมชน สงั คม (กรณี ตัวอยา่ ง) 6. วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก 7. การอนรุ ักษแ์ ละสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี (กรณตี ัวอยา่ ง)

23 8. ขอ้ ปฏิบัตใิ นการมสี ่วนร่วม สืบทอด ประพฤติปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งในการ อนุรักษว์ ัฒนธรรม ประเพณอี นั ดีงามของ สังคมไทย 9.1 แนวทางในการเลอื กรับ ปรับ ใช้ วฒั นธรรมตา่ งชาติไดอ้ ย่างเหมาะสมกับ ตนเองและสังคมไทย (กรณีตัวอยา่ ง) 9.2 คา่ นยิ มที่พึงประสงค์ของสงั คมไทย 10. ค่านิยมทพ่ี งึ ประสงค์ของประเทศตา่ งๆ ในโลก 11. วธิ ีปฏิบตั ิในการประพฤติตนเปน็ ผูน้ ำร่วมในการป้องกนั และแก้ไขปัญหา พฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์ในสังคมไทย และให้นักศึกษาสรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. นำส่งผ่านทาง Google Classroom หรือ แอป พลิเคชัน LINE 2.3 ครูสอนและสอดแทรกคณุ ธรรม 11 ประการ ในเรือ่ ง ความสะอาด ความสุภาพ ความกตัญญู กตเวที ความขยนั ความประหยดั ความซื่อสัตย์ ความมีน้ำใจ ความมวี นิ ยั ศาสน์ กษัตริย์ รกั ความเป็นไทย และยึด มั่นในวถิ ชี วี ติ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ผา่ นทาง LINE กลุ่ม การปฏบิ ตั แิ ละนำไปประยุกต์ (I : Implementation) 3. ขนั้ การปฏิบัตแิ ละนำไปประยกุ ต์ใช้ ( 30 นาที ) 3.1 ครสู ่มุ ตวั แทนกล่มุ นำเสนอ เพ่ือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน สรปุ สิง่ ท่ีไดเ้ รียนร้รู ว่ มกันและ ใหน้ กั ศึกษาบันทึกความรู้ทไ่ี ด้ ลงในแบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน. 3.2 นกั ศกึ ษานำความร้ทู ีไ่ ด้จากการเรียนรู้มาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและการดำเนินชวี ิตใน ประจำวันตอ่ ไป ขั้นประเมินผล (E : Evaluation) 4. ขนั้ สรุปและประเมนิ ผล (1 ช่วั โมง) 4.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ จากชุด แบบทดสอบ หรือจาก Google From พร้อมเฉลยและประเมินผล ให้นักศึกษาบันทึกคะแนนลงใน แบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน. 4.2 ครูให้นักศึกษาสรุปการทำความดีและคุณธรรมที่ได้ปฏิบัติ พร้อมบันทึกลงในสมุดบันทึกความดี เพื่อ การประเมินคณุ ธรรม 4.3 ครูตดิ ตามงานท่ไี ด้มอบหมายนกั ศึกษา เพอื่ ตดิ ตามความคบื หนาทางแอปพลิเคชนั Line ดงั น้ี 4.3.1 ติดตามงานที่ได้รับมอบหมายสปั ดาหท์ ผี่ า่ นมา 4.3.2 ติดตามการทำกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต (กพช.) 4.3.3 ตดิ ตามสอบถามสุขภาพของนกั ศกึ ษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย) 4.3.4 ติดตามสอบถามการทำความดใี นแต่ละวนั สัปดาหท์ ่ีผ่านมาและตดิ ตามการบนั ทกึ กิจกรรมท่ีทำความดีลงในสมุดบันทกึ บันทึกความดีเพื่อการประเมินคุณธรรม 4.3.5 ติดตามสอบถามเก่ยี วกับงานอดเิ รก สุนทรียภาพ การเลน่ กฬี า การใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ ฯลฯ 4.3.6 ติดตามความก้าวหนา้ การทำโครงงาน

24 สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. www.etvthai.tv 2.ทวี ดี ิจติ อลช่อง 52 (กศน.) 3. เฟสบคุ๊ https://www.facebook.com/etv.digital/ และ https://www.facebook.com/Etv-Channel-1512499252411798/ 4. Google Classroom / แอปพลเิ คชัน LINE 5. หนงั สอื เรียนวิชาศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง หรือ หนงั สือเรยี นออนไลน์ ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download 6. คมู่ อื นักศึกษา 7. วีดที ัศน์, Youtube เกีย่ วกบั ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 8. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ (ชุด แบบทดสอบ หรือ Google Form) 9. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) วชิ าศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมือง สค 31002 จำนวน 20 ข้อ (ชุดแบบทดสอบ หรือ Google Form) 10. ใบงานท่ี 1 11. ใบงานท่ี 2 12. ใบงานท่ี 3 13. แบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. การมอบหมายงาน 1. ครูมอบหมายให้นักศกึ ษาไปอา่ นทบทวนเนื้อหาเพมิ่ เติมจากหนงั สือเรยี นรายวิชาศาสนาและหน้าท่ี พลเมือง จากลง้ิ http://203.159.251.144/pattana/download (แบบเรียนออนไลน์) โดยศกึ ษาในเร่อื ง ศาสนาตา่ งๆ ในโลก ,หลกั ธรรมสำคัญของศาสนาต่างๆ ,การปฏิบัติตนใหอ้ ยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ติสุข ,วธิ ีฝกึ ปฏิบัติ พัฒนาจติ ในแต่ละศาสนา , การพัฒนาสติปัญญาในการแก้ปญั หา ต่างๆ และการพฒั นาตนเองครอบครัว ชมุ ชน สงั คม (กรณตี ัวอย่าง) , วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก, การอนรุ กั ษ์และสืบทอด วฒั นธรรม ประเพณี (กรณีตวั อย่าง) , ข้อปฏบิ ัติในการมสี ่วนรว่ ม สืบทอด ประพฤติปฏิบัตติ นเป็นแบบอย่างในการ อนุรักษ์วฒั นธรรมประเพณีอันดงี ามของ สังคมไทย , แนวทางในการเลอื กรบั ปรับ ใช้ วัฒนธรรมตา่ งชาตไิ ด้อยา่ ง เหมาะสมกบั ตนเองและสังคมไทย (กรณีตัวอย่าง) , ค่านยิ มทพี่ ึงประสงค์ของสังคมไทย ,ค่านิยมทพี่ ึงประสงค์ของ ประเทศต่างๆ ในโลก,วธิ ปี ฏิบัตใิ นการประพฤติตนเป็นผู้นำรว่ มในการป้องกนั และแก้ไขปัญหา พฤติกรรมท่ีไม่พงึ ประสงค์ในสงั คมไทย และสรุปลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 2. ครูมอบหมายให้นกั ศึกษาไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาจากหนังสือเรียนออนไลน์ รายวชิ าศาสนาและหนา้ ที่ พลเมือง จากลิ้ง http://203.159.251.144/pattana/download และศกึ ษาเนอื้ หาจากใบความรู้ ท่ี 1 เรอื่ ง หน้าที่ชาวพุทธ ใบความรู้ ที่ 2 เรื่อง ศาสนพิธี ใบความรู้ ที่ 3 เรอื่ ง วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศและต่างประเทศ และทำใบงานที่ 1 เรื่อง ศาสนา ประเพณี ใบงานที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรม ค่านิยม และให้นักศึกษาสง่ งาน (โดยครจู ะ ส่งใบงานทาง Google classroom) และใหน้ ักศึกษาสง่ งานทาง LINE

25 การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมการมรี ายบคุ คล/รายกลมุ่ 2. การตรวจแบบบันทกึ การเรียนรู้ กศน. 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน/ชิน้ งาน 4. การตรวจใบงาน 5. การตรวจแบบทดสอบ 6. การประเมินคุณธรรม

26 วธิ กี ารเรียน : ผ่านแอปพลิเคชัน (ON-Demand) กระบวนการจดั การเรียนรู้ การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น ( 30 นาที ) 1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นในเรื่อง ศาสนาต่างๆ ใน ประเทศ และการปฏิบัติตนให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตามความเข้าใจของนักศึกษา โดยครูยกตัวอย่างความ ขัดแยง้ ในศาสนาตา่ งๆ ซึง่ กอ่ ให้เกิดผลเสียในสังคม จากอนิ เตอรเ์ น็ต พร้อมท้ังแลกเปลยี่ นเรียนรู้ รว่ มกันวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน พร้อมทั้งทำแบบทดสอบก่อนเรียน (ชุดแบบทดสอบ หรือ Google Form) ผ่านทาง Google Classroom หรือแอปพลิเคชัน LINE กลมุ่ พรอ้ มอธบิ ายถงึ เหตุผลความจำเปน็ ที่ต้องจัด กิจกรรมการเรียนรปู แบบ (ON-Demand) 1.2 ครูนำเข้าส่บู ทเรียนโดยเปิดวดี ที ศั น์ เรอื่ ง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ให้นักศกึ ษารับชมผา่ นทาง YouTube จากลงิ ค์ https://www.youtube.com/watch?v ใหน้ ักศึกษารับชมเพื่อให้นกั ศึกษาสามารถปฏบิ ัติ ตนใหอ้ ยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ขุ ได้อยา่ งไร นกั ศึกษาร่วมกันวิเคราะห์และแลกเปลยี่ นเรียนรู้แสดงความคดิ เห็นผา่ น ทาง Google Classroom หรอื แอปพลิเคชัน LINE เพ่อื เชื่อมโยงเขา้ สูบ่ ทเรียนต่อไป 1.3 ครูและนักศึกษาสรุปสิ่งท่ีอภิปรายร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และบันทึกลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. ผา่ นทาง Google Classroom หรือ แอปพลเิ คชนั LINE การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) 2. ข้ันจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ( 4 ชั่วโมง ) 2.1 ครูมอบหมายให้นกั ศึกษาไปศกึ ษาหาความรู้ เรื่อง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี จากหนงั สือเรียน ออนไลน์ รายวิชาศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมือง ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download และ ศึกษาหา ความรู้ ผา่ นเวบ็ ไซต์ www.etvthai.tv และ ช่อง Yutube หรือจากสอื่ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และให้สรปุ ลงใน แบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. ในหวั ข้อต่อไปนี้ 1. ศาสนาตา่ งๆ 2. หลกั ธรรมสำคญั ของศาสนาตา่ งๆ 3. การปฏบิ ตั ิตนใหอ้ ยูร่ ว่ มกันอย่างสนั ติสุข 4. วิธฝี กึ ปฏบิ ัติพฒั นาจติ ในแตล่ ะศาสนา 5. การพฒั นาสติปญั ญาในการแก้ปัญหา ต่างๆ และการพัฒนาตนเองครอบครัว ชุมชน สังคม (กรณี ตัวอยา่ ง) 6. วัฒนธรรมประเพณีในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 7. การอนรุ กั ษ์และสบื ทอดวัฒนธรรม ประเพณี (กรณีตัวอย่าง) 8. ข้อปฏบิ ัติในการมีส่วนร่วม สืบทอด ประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งในการ อนรุ ักษ์วฒั นธรรม ประเพณีอันดีงามของ สงั คมไทย 9.1 แนวทางในการเลอื กรับ ปรับ ใช้ วัฒนธรรมต่างชาติไดอ้ ย่างเหมาะสมกับ ตนเองและสงั คมไทย (กรณตี ัวอย่าง) 9.2 คา่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ของสังคมไทย 10. ค่านยิ มท่พี งึ ประสงค์ของประเทศตา่ งๆ ในโลก

27 11. วธิ ปี ฏบิ ัติในการประพฤตติ นเป็นผ้นู ำรว่ มในการป้องกนั และแก้ไขปัญหา พฤติกรรมท่ไี ม่พงึ ประสงคใ์ นสังคมไทย 2.2 ครสู อนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเร่อื ง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตัญญู กตเวที ความขยนั ความประหยดั ความซอื่ สัตย์ ความมีน้ำใจ ความมวี ินยั ศาสน์ กษัตรยิ ์ รกั ความเป็นไทย และยึด ม่นั ในวถิ ชี วี ติ และการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข ผา่ นทาง LINE กลุ่ม การปฏบิ ัติและนำไปประยกุ ต์ (I : Implementation) 3. ขั้นการปฏบิ ตั ิและนำไปประยกุ ตใ์ ช้ ( 30 นาที ) 3.1 ครสู ่มุ ตวั แทนกลมุ่ นำเสนอ เพ่ือแลกเปล่ียนความคดิ เห็นซึ่งกันและกนั สรปุ สิง่ ท่ีได้เรียนร้รู ว่ มกนั และ ให้นกั ศึกษาบนั ทึกความรทู้ ไ่ี ด้ ลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 3.2 นกั ศึกษานำความรู้ที่ได้จากการเรยี นรูม้ าเป็นแนวทางในการแกป้ ัญหาและการดำเนินชวี ิตใน ประจำวนั ตอ่ ไป ขน้ั ประเมินผล (E : Evaluation) 4. ข้ันสรุปและประเมินผล (1 ชวั่ โมง) 4.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ จากชุด แบบทดสอบ หรือจาก Google From พร้อมเฉลยและประเมินผล ให้นักศึกษาบันทึกคะแนนลงใน แบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน. 4.2 ครูให้นักศึกษาสรุปการทำความดีและคุณธรรมที่ได้ปฏิบัติ พร้อมบันทึกลงในสมุดบันทกึ ความดี เพ่ือ การประเมินคุณธรรม 4.3 ครตู ดิ ตามงานท่ไี ด้มอบหมายนักศึกษา เพือ่ ติดตามความคบื หนาทางแอปพลิเคชนั Line ดงั น้ี 4.3.1 ตดิ ตามงานที่ได้รับมอบหมายสปั ดาห์ท่ผี า่ นมา 4.3.2 ตดิ ตามการทำกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ (กพช.) 4.3.3 ตดิ ตามสอบถามสุขภาพของนักศึกษา (การตรวจสุขภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย) 4.3.4 ตดิ ตามสอบถามการทำความดใี นแต่ละวนั สปั ดาหท์ ่ีผ่านมาและตดิ ตามการบนั ทกึ กิจกรรมท่ีทำความดีลงในสมุดบันทกึ บันทึกความดเี พื่อการประเมนิ คุณธรรม 4.3.5 ตดิ ตามสอบถามเก่ียวกับงานอดิเรก สนุ ทรียภาพ การเล่นกฬี า การใช้เวลาวา่ งให้เป็น ประโยชน์ ฯลฯ 4.3.6 ติดตามความกา้ วหนา้ การทำโครงงาน ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี นวชิ า สค 31002 ศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง หรือ หนังสอื เรียนออนไลน์ ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download 2. คูม่ ือนกั ศกึ ษา 3. วีดีทศั น์, Youtube เกีย่ วกบั พลเมอื งดี และการปฏิบัตติ นเป็นพลเมืองดี ลิงค์ https://www.youtube.com/watch?v 4. แบบทดสอบยอ่ ยก่อนเรียน เร่ือง หน้าที่พลเมือง แบบปรนยั จำนวน 20 ขอ้ (ชุดแบบทดสอบ หรือ Google Form) 5. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) วิชาศาสนาและหน้าทพี่ ลเมือง สค 31002 จำนวน 20 ขอ้ (ชดุ แบบทดสอบ หรอื Google Form)

28 6. ใบความรู้ เร่ือง พลเมอื งดีในวิถปี ระชาธิปไตย 7. ใบงานที่ 1 เรอื่ ง หน้าทข่ี องชาวไทย 8. ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง การปฏิบัตติ นเปน็ พลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย 9. ใบงานท่ี 3 เรื่อง พลเมืองดีในใจฉัน 10. แบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน. การมอบหมายงาน 1. ครูมอบหมายให้นักศกึ ษาไปอา่ นทบทวนเน้ือหาเพิ่มเติมจากหนงั สอื เรยี น เร่ือง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี ศาสนาต่างๆ ในโลก ,หลักธรรมสำคญั ของศาสนาต่างๆ ,การปฏบิ ัตติ นใหอ้ ยู่ร่วมกัน อยา่ งสนั ตสิ ขุ ,วธิ ฝี ึกปฏบิ ตั ิพัฒนาจิตในแตล่ ะศาสนา , การพฒั นาสติปัญญาในการแก้ปัญหา ต่างๆ และการพฒั นา ตนเองครอบครัว ชุมชน สงั คม (กรณีตวั อย่าง) , วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก, การอนุรักษ์และสืบทอดวฒั นธรรม ประเพณี (กรณตี ัวอยา่ ง) , ขอ้ ปฏบิ ตั ิในการมีส่วนร่วม สบื ทอด ประพฤติปฏิบตั ิ ตนเปน็ แบบอยา่ งในการ อนรุ ักษว์ ัฒนธรรมประเพณีอันดงี ามของ สงั คมไทย , แนวทางในการเลือกรบั ปรับ ใช้ วฒั นธรรมต่างชาตไิ ด้อยา่ งเหมาะสมกับ ตนเองและสงั คมไทย (กรณีตวั อยา่ ง) , ค่านยิ มทพ่ี ึงประสงค์ของสังคมไทย ,คา่ นยิ มที่พึงประสงค์ของประเทศต่างๆ ในโลก,วธิ ีปฏิบตั ิในการประพฤตติ นเปน็ ผนู้ ำรว่ มในการปอ้ งกนั และแก้ไข ปญั หา พฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงคใ์ นสงั คมไทย จากหนงั สอื เรยี นออนไลน์ รายวชิ าศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง ลิงค์ ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download และสรุปลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. 2. ครูมอบหมายใหน้ ักศึกษาไปศกึ ษาค้นคว้าเน้ือหาจากหนังสอื เรยี นออนไลน์ รายวิชาศาสนาและหน้าท่ี พลเมือง ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download และศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ ท่ี 1 เรอ่ื งหน้าท่ี ชาวพทุ ธ ใบความรู้ ที่ 2 เร่ือง ศาสนพิธี ใบความรู้ ที่ 3 เรอ่ื ง วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศและตา่ งประเทศและ ทำใบงานท่ี 1 เรอื่ ง ศาสนา ประเพณี ใบงานท่ี 2 เร่อื ง วัฒนธรรม ค่านยิ ม (โดยครูจะส่งใบงานทาง Google classroom) และใหน้ ักศกึ ษาส่งงานทาง LINE ตามวันเวลาท่ีกำหนด การวดั และประเมนิ ผล 1. การสงั เกตพฤตกิ รรมการมรี ายบุคคล/รายกล่มุ 2. การตรวจแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน/ชิ้นงาน 4. การตรวจใบงาน 5. การตรวจแบบทดสอบ 6. การประเมนิ คุณธรรม

29 การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง (กรต.) ครงั้ ท่ี 9 (จำนวน 34 ชวั่ โมง) สาระการพฒั นาสงั คม รายวิชา สค 31002 ศาสนาและหนา้ ที่พลเมอื ง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย คำสั่ง ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเป็น 5 กลุ่ม และไปทำกิจกรรมการเรียนรู้ต่อเนื่อง (กรต) โดยการไปศึกษาค้นคว้า อ่านหนังสือ จดบันทึก จากหนังสือแบบเรียน ตำรา หนังสือ และสื่ออื่นๆ ในห้องสมุดประชาชนจังหวัด ห้องสมุด ประชาชนอำเภอ โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา วิทยาลัยชุมชนในพื้นที่อำเอเมืองนราธิวาสหรือ อำเภออืน่ ๆ หรอื ไปสอบถามขอความรจู้ ากบคุ คล ในหวั ขอ้ ต่อไปนี้ กลุ่มที่ 1 ศาสนาต่างๆ - กำเนดิ ศาสนาต่างๆ - ศาสดาของศาสนาตา่ งๆ กลุ่มท่ี 2 หลกั ธรรมสำคญั ของศาสนาตา่ งๆ - การเผยแพร่ศาสนาต่างๆ - ความขัดแยง้ ในศาสนาตา่ งๆ ซง่ึ กอ่ ใหเ้ กิดผลเสยี ในสังคม กลมุ่ ท่ี 3 วฒั นธรรมประเพณีในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก - ภาษา - การแตง่ กาย - อาหาร - ประเพณีท่สี ำคัญๆ ฯลฯ กลมุ่ ท่ี 4 การอนรุ ักษ์และสืบทอดวฒั นธรรมประเพณี กลมุ่ ที่ 5 แนวทางในการเลอื กรบั ปรบั ใช้ วฒั นธรรมต่างชาตไิ ด้อย่างเหมาะสมกับ ตนเองและ สังคมไทย ขนั้ ตอนของการไปเรยี นรตู้ ่อเนื่อง (กรต.) ของนักศึกษา มดี งั น้ี 1. แผนการเรียนรู้ต่อเนื่อง (กรต.) ในแต่ละแต่ละสัปดาห์ แต่ละครั้งที่ครู กศน.ตำบล/ครู ศรช. หรือครู ประจำกลุม่ กลุ่มมอบหมาย 2. ให้บริหารเวลาและใช้เวลาในการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและทำกิจกรรมการเรียนรู้ต่อเนื่อง (กรต.) สปั ดาหล์ ะ 15 ช่ังโมงเปน็ อยา่ งนอ้ ย 3. อ่านหนังสือ สอบถามผู้รู้ และจดบนั ทกึ ทุกครั้งทมี ีการทำกิจกรรม กรต. และเก็บหลักฐานไว้ทุกคร้ังเพ่ือ ส่งครกู ศน.ตำบล/ครูศรช. หรอื ครปู ระจำกลุ่ม ตรวจใหค้ ะแนนการทำ กรต. 4. จดั ทำรายงานเปน็ เลม่ ตามแบบรายงานท่ีศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกำหนด และให้สง่ ในวันที่มกี ารนำเสนอผลการทำกรต. ในเร่ืองนนั้ ๆ 5. ตวั แทนกลมุ่ นำเสนอดว้ ยตนเอง (กรณีทีท่ ำกรต.คนเดยี ว) โดยใหน้ ำเสนอผลงานตามข้อ4 กลุ่มละ/คน ละไมเ่ กนิ 10 นาที ในวนั พบกลุม่ ครั้งตอ่ ไป

30 ใบความรู้ ท่ี 1 เรื่อง หน้าท่ีชาวพุทธ รายวชิ า ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมือง รหสั วชิ า สค31002 หน้าทช่ี าวพุทธ คอื บุคคลที่นับถอื พระพุทธศาสนา โดยยึดถอื พระรัตนตรยั เปน็ ที่พงึ่ เป็นทรี่ ะลึก และปฏิบัติตามหลกั ธรรมคำส่ังสอนของพระพทุ ธเจา้ คนไทยส่วนใหญ่นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา ซ่งึ อาจนับถือตาม บรรพบุรุษ หรือนบั ถอื ด้วยความเลื่อมใสศรัทธา ชาวพทุ ธประกอบด้วยบุคคล 4 จำพวก เรียกวา่ พุทธ บรษิ ัท 4 ได้แก่ ภิกษุ ภกิ ษุณี อบุ าสก อุบาสิกา ซ่ึงมีหนา้ ทหี่ ลัก ๆ ดงั น้ี 1.ศกึ ษาหาความรูเ้ กีย่ วกบั หลกั คำสอนของพระพุทธศาสนาตามสมควรแกว่ ัย 2. ปฏิบัตติ ามหลกั คำสอนและพิธกี รรมทางพระพทุ ธศาสนา 3. เผยแผห่ ลกั คำสอนของพระพุทธศาสนาดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ 4. ปกปอ้ งพระพุทธศาสนาไม่ใหเ้ กิดความเส่ือมเสียหรือถกู ทำลายนอกจากหนา้ ท่ีหลักดังกลา่ วนแ้ี ล้ว ชาวพุทธยงั มหี น้าท่ีอ่ืน ๆ อีกไดแ้ ก่ การเรยี นรวู้ ถิ ีชวี ติ ของพระภิกษุ การเป็นเพ่ือนทด่ี ตี ามหลักทศิ เบื้องซ้ายใน ทิศ 6 การเขา้ ค่ายคุณธรรม การเข้าร่วมพธิ ีกรรมทางพระพทุ ธศาสนา และการแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ การเรยี นรูว้ ิถีชวี ิตของพระภกิ ษุ พระภิกษุ หรือพระสงฆ์ หรือบางทีเรียนกรวมกนั ว่า พระภิกษุ สงฆ์ หมายถึง สาวกผู้ปฏบิ ัติตามและสบื ทอดคำสั่งสอนของพระพทุ ธเจา้ พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา มี 2 ประเภท คือ 1. อรยิ สงฆ์ หมายถึง พระสงฆท์ ่ปี ฏิบตั ิตามคำสง่ั สอนของพระพทุ ธเจ้าจนบรรลธุ รรมเป็นพระ อริยบคุ คล จำแนกไดเ้ ป็น 4 ประเภท คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ 2. สมมตสิ งฆ์ คือ พระภิกษุที่บวชในพระพทุ ธศาสนาโดยถกู ต้องตามพระธรรมวินัยที่พระพทุ ธองค์ได้ ทรงบัญญัติไว้ ถา้ เปน็ หมภู่ ิกษตุ ั้งแต่ 4 รูปขึ้นไป เรียกว่า สงฆ์ สมมตสิ งฆถ์ า้ ได้ศึกษาและปฏบิ ัติชอบตามพระ ธรรมวินัยจนสามารถละกิเลสไดต้ ามลำดับก็จะเรียนว่า พระอรยิ สงฆ์ ผ้ทู ีจ่ ะมาเปน็ พระภกิ ษใุ นพระพทุ ธศาสนา ได้ จะต้องผา่ นการบวชท่ถี ูกต้องสมบรู ณ์ตามขอ้ บัญญัตขิ องพระธรรมวนิ ัย การบวช คือ การละภาวะจากผคู้ รองเรือน มาดำรงภาวะเปน็ ผไู้ ม่ครองเรอื นทเี่ รียกว่าสมณเพศ การบวชเป็นพระภิกษุ ผทู้ ี่จะบวชเปน็ พระภิกษไุ ด้ ตอ้ งมีอายุตั้งแต่ 20 ปขี ึน้ ไป และมีคุณสมบตั ิ ครบบริบูรณ์ เราเรียกการบวชนว้ี า่ อุปสมบท พระภิกษรุ ักษาศลี 227 ขอ้ การบวชเป็นสามเณร ผู้ที่จะบวชเป็นสามเณร ต้องมีอายุไม่น้อยกว่า 7 ปี และรู้เดียงสาพอที่จะ รกั ษาขอ้ ปฏบิ ัตขิ องสามเณรได้ เราเรียกการบวชนีว้ า่ บรรพชา สามเณรรักษาศลี 10 ขอ้ การบวชเป็นสามเณร นยิ มบวชกันในหม่ปู ระชาชนบางส่วน สว่ นการบวชเปน็ พระภิกษุ นยิ มถือปฏบิ ัตกิ นั ทั่วไปจนกลายเปน็ ประเพณี ผู้ จะบวชเป็นพระภิกษุได้จะต้องผ่านการบวชเป็นสามเณรมาก่อน คือ ต้องทำพิธีบรรพชาก่อนแล้วจึงทำพิธี อุปสมบท การบวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนามีประวัติความเป็นมา คือ เริ่มแรกพระพุทธเจ้าประทานการ บวชแก่พระสาวก ด้วยพระวาจาของพระองค์เอง เรียนการบวชแบบนี้ว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา ต่อมา พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้สาวกอำนวยการบวช ทรงบัญญัติการบวชโดยเปล่งวาจาถือพระรัตนตรัยเป็น สมณะ เรียกการบวชแบบนี้ว่า ติสรณคมนูปสัมปทา ภายหลัง พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้พระสาวกอำนวยการ บวชแบบท่ตี ้องประชุมสงฆ์ มกี ารสวดประกาศขอรับความเห็นชอบของสงฆ์ ซ่ึงใชม้ าจนถึงปัจจบุ ัน เรียกการบวช แบบนี้ว่า ญัตติจตุตถกัมอุปสัมปทา และทรงบัญญัติให้นำการบวชแบบที่ 2 คือ ติสรณคมนูปสัมปทาไปใชใ้ นการ

31 บวชเปน็ สามเณร เมื่อบวชแล้ว พระภกิ ษุกลายเปน็ ผู้ไม่มีบ้านเรือน ทเ่ี รยี กว่า อนาคารกิ หมายถึง เป็นผู้ไม่อยู่ท่ี บา้ นเรือน ไม่มคี วามเกี่ยวข้องกบั การอยู่ครองเรอื น อาศยั อยู่ตามปา่ ตามเขา หรอื ตามวดั ทมี่ ผี ู้สร้างถวายมีสิ่งของ เครื่องใช้ตามที่พระวินัยกำหนด เลี้ยงชีวิตด้วยการบิณฑบาต คือรับการบริจาคอาหารจากผู้มีจิตรศรัทธา ไม่ด้ิน รนแสวง ไม่มีฉันก็อดทน วิถีชีวิตของพระภิกษุจึงสงบเสงี่ยม เรียบง่าย สมถะ และสมบูรณ์พร้อมไปด้วย คุณธรรม ความดงี าม นอกจากการดำเนินชีวิตที่เรียบง่ายและสมณะด้วยอาหารบิณฑบาตที่มีผู้บริจาคถวาย แล้ว พระภิกษุจะต้องดำเนินชีวิตอยู่ภายใต้แนวทางที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้ให้เป็น กิจวัตร อื่นๆ อกี ไดแ้ ก่ ทำความสะอาด กวาดวดั ปลงอาบัติ ทำวตั รสวดมนต์ ภาวนา พจิ ารณาปจั เวกขณ์ อุปฏั ฐาก พระ อุปัชฌาย์อาจารย์ บริหารสิ่งของและร่างกาย ขวนขวายเรียนธรรมวินัย เอาใจใส่ในสิง่ ของอันเป็นของสงฆ์ และ ดำรงตนให้น่ากราบไหว้ พระภิกษุใดสามารถดำเนินชีวิตตามแนวทางเหลา่ นี้ได้ครบถ้วนและเคร่งครัด ก็ย่อมเกิด คุณประโยชน์นานัปการ ช่วยกำจัดกิเลสให้เบาบางลง เป็นพื้นฐานของการปฏิบัติธรรมขั้นสูงเพื่อการหลุดพ้นใน จุดสูงสุด การเรียนรู้วิถีชีวิตของพระภิกษุ นอกจากจะช่วยให้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนต่อ พระสงฆ์ได้อย่าถูกต้องสมกับเป็นชาวพุทธแล้ว ยังจะได้เห็นแบบอย่างการดำเนินชีวิตที่ดีงาม เรียบง่ายและมี ประโยชน์เกือ้ กลู แก่สงั คม ซ่ึงจะช่วยใหเ้ กดิ แรงจงู ใจในการที่จะพฒั นาตนให้มีคณุ ธรรมสงู ข้ึนตามไปอีกด้วย

32 ใบงานที่ 1 เร่อื ง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี รายวิชา ศาสนาและหน้าท่ีพลเมอื ง รหัสวิชา สค31002 1. คณุ ค่าทางศาสนามีอะไรบา้ ง ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ให้นักศกึ ษา อธบิ าย คำวา่ “อทิ ธิบาท 4” คอื อะไร ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จดุ ประสงคข์ องการถือศีลอดในศาสนาอสิ ลาม คืออะไร ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. แนวทางการป้องกันและแกไ้ ขความขดั แยง้ ทางศาสนาต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมมวี ธิ ปี อ้ งกนั และแก้ไข อย่างไร ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. หลกั คำสอนของทุกศาสนามีลกั ษณะที่สอดคล้องกันคอื การอยู่ร่วมกันอย่างสนั ติ โดยสอนอะไรเป็น สำคญั ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ช่อื ........................................................................รหัสนักศึกษา...................................ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย

33 เฉลยใบงานท่ี 1 เรอื่ ง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี รายวิชา ศาสนาและหนา้ ที่พลเมอื ง รหสั วิชา สค31002 1. คุณคา่ ทางศาสนามอี ะไรบ้าง ตอบ 1. เป็นทย่ี ดึ เหน่ียวจติ ใจของมนุษย์ 2. เปน็ บ่อเกิดแห่งความสามัคคีของหมู่คณะและในหมมู่ นุษยช์ าติ 3. เป็นเคร่ืองดับความเรา่ ร้อนใจทำให้สงบร่มเย็น 4. เป็นบ่อเกดิ แหง่ จริยธรรมศลี ธรรมและคณุ ธรรม 5. เป็นบ่อเกิดแหง่ การศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณอี ันดีงาม 6. เปน็ ดวงประทบี สอ่ งโลกทมี่ ดื มิดอวชิ ชาให้กลับสว่างไสวด้วยวชิ ชา 2. ใหน้ ักศึกษา อธิบาย คำวา่ “อิทธิบาท 4” คืออะไร ตอบ อิทธิบาท 4 คือหลักธรรมทน่ี ำไปสูค่ วามสำเร็จแห่งกจิ การมี 4 ประการคือ (1) ฉนั ทะ คอื ความพอใจใฝ่รักใฝห่ าความรู้และความสรา้ งสรรค์ (2) วริ ิยะคอื ความเพียรพยายามมีความอดทนไม่ท้อถอย (3) จติ ตะคอื ความเอาใจใสแ่ ละต้ังใจแนว่ แนใ่ นการทำงาน (4) วมิ งั สาคอื ความหมน่ั ใช้ปัญญาและสติในการตรวจตราและคิดไตร่ตรอง 3. จดุ ประสงค์ของการถือศลี อดในศาสนาอสิ ลาม คืออะไร ตอบ 1 . เพื่อทำให้จิตใจบรสิ ทุ ธ์ิ 2 . ใหร้ จู้ กั ควบคุมจติ ใจและ ตัดกิ เลส 3 . ให้รู้จกั รสของการมขี ันติ 4 . ใหร้ จู้ กั สภาพของคนยากจน อนาถา จะทำใหเ้ กิดความเมตตาแก่คนท่ัวไป 4. แนวทางการป้องกันและแกไ้ ขความขดั แย้งทางศาสนาต่อการอยรู่ ่วมกนั ในสังคมมวี ธิ ปี ้องกนั และแกไ้ ขอยา่ งไร ตอบ วธิ ีปอ้ งกัน แกไ้ ข ความ ขัดแย้ง ทาง ศาสนา ตอ่ การ อยู่ ร่วมกนั มีวิธี ดงั นี้ 1. วิธี ยอมกนั คอื ทุกคน ลด ทฏิ ฐิ มานะ หันหนา้ เขา้ กัน ให้เกียรติ ซงึ่ กัน และ กนั 2. วิธี ผสมผสาน คอื ทกุ ศาสนา มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ หรอื ทัศนคตซิ งึ่ กันและกนั 3. วิธีหลีกเลี่ยง คือ ไมไ่ ปกา้ วกา่ ย ความเชอ่ื ของผูน้ บั ถือศาสนาทไี่ ม่ตรง กับศาสนาที่ ตนนบั ถือ 4. วธิ กี ารประนีประนอม คือ วิธีทำให้ทงั้ สองฝ่าย ยอม เสยี สละบางสิง่ บางอย่างลง 5. หลกั คำสอนของทุกศาสนามีลกั ษณะท่ีสอดคล้องกนั คือการอยู่ร่วมกนั อย่างสนั ติ โดยสอนอะไรเปน็ สำคญั ตอบ 1. สอนให้ รู้จักรัก และ ให้อภยั กัน 2. สอนให้ ใจกวา้ ง ยอมรับความเชอื่ ท่ี แตกต่างกนั 3. สอนให้ เปน็ คนดตี ามหลักศาสนาของตน

34 ใบความรู้ ท่ี 2 เรือ่ ง ศาสนพิธี รายวิชา ศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมอื ง รหสั วิชา สค31002 ศาสนพิธี คอื พิธีกรรมที่มีข้ึนเพอื่ เป็นแบบแผนในการประพฤติปฏบิ ตั ิของพุทธศาสนิกชนเพื่อแสดงออก ถึงความเชอ่ื ทางพทุ ธศาสนา การประพฤตปิ ฏิบัติศาสนพิธี ตอ้ งทำอยา่ งถกู ต้องเป็นระเบียบ เกิดความสบาย ใจ ทำให้ผปู้ ฏบิ ัตเิ ปน็ คนดีเป็นแบบอย่างท่ีดไี ด้ ๑. ประเภทของศาสนพธิ ี ศาสนพิธใี นทางพทุ ธศาสนาแบ่งไดห้ ลายประเภท ตามความต้องการของผู้ทจ่ี ะศึกษาวา่ จะศึกษาใน แนวใด เชน่ แบ่งเป็นงานมงคลกบั งานอวมงคลหรืองานศาสนพธิ ีสำหรับพระสงฆ์กับงานศาสนพธิ ีของประชาชน ๑.๑ ศาสนพธิ ใี นงานมงคลกบั งานอวมงคล มีวธิ กี ารดงั นี้ ๑.๑.๑ ศาสนพธิ ีในงานมงคล คือ การทำบญุ เลย้ี งพระในงานมงคล เพ่ือให้ เกิด ความสุข ความเจริญ เชน่ ทำบญุ วนั เกดิ ขึ้นบ้านใหม่ แต่งงาน อุปสมบท ฉลองกิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น ๑.๑.๒ ศาสนพธิ ีในงานอวมงคล คือ การทำบุญที่เกี่ยวกับการตาย หรอื ทำในสง่ิ ท่ี คิดว่าร้ายให้กลายเปน็ ดี เช่น ทำบญุ หนา้ ศพ ๗ วัน ๕๐ วนั ๑๐๐ วัน ทำบุญอฐั ิ ทำบุญอสุ นบิ าต (ฟา้ ผา่ ) สตั วไ์ ม่เป็นมงคลขึ้นบา้ น เปน็ ตน้ ศาสนพธิ ที งั้ ๒ อยา่ งน้ี ตามประเพณนี ยิ มในพระพุทธศาสนา มีวิธกี ารท่ีจะต้องจดั เตรียมการ หลายอย่าง ดังนี้ (๑) การนมิ นต์พระ งานมงคลจะนมิ นต์พระสงฆม์ าเจริญพระพทุ ธมนต์ ๕ รูป ๗ รูป ๙ รูป นอกจากงานมงคลสมรสจะนิมนต์พระมาเปน็ คู่ ส่วนงานอวมงคล จะนิมนต์ พระสงฆม์ าโดยใช้คำ ว่า ขออาราธนาสวดพระพุทธมนต์ นิยมใช้พระ ๔ รูป ๘ รูป ๑๐ รปู เปน็ ตน้ (๒) การจัดสถานท่ี ควรดูแลบริเวณทีม่ ีงานใหส้ ะอาดเรียบรอ้ ย สำหรับท่ีพระสงฆ์ ควรปูลาดอาสนะใหส้ ูงกวา่ ผ้เู ขา้ รว่ มพิธี โดยการยกใหส้ ูงขึ้น ปูเสอ่ื ปูผ้ากไ็ ด้ (๓) การตั้งโต๊ะหมบู่ ชู า นิยมใหพ้ ระพุทธรูปตงั้ อยู่ด้านขวาของพระสงฆห์ นั พระ พกั ตร์ออกทางเดียวกับพระสงฆ์ (๔) การจัดเครอ่ื งสักการะบูชา มีการเชญิ พระพุทธรูปมาต้ังบนโตะ๊ หมบู่ ูชาใหเ้ หมะ สมสวยงามถูกต้องตามพธิ ีการ (๕) เตรียมภาชนะสำหรับทำนำ้ มนต์ จะใชบ้ าตรหรือหม้อนำ้ มนตห์ รือขนั นำ้ พาน รองก็ได้ แตไ่ มค่ วรใชข้ นั เงนิ หรอื ขันทองเพราะไม่ควรแก่การจบั ต้องของพระสงฆ์ ใส่นำ้ สะอาดไว้พอเหมาะ มี เทยี นขี้ผึง้ วางไวบ้ นฝาภาชนะและมเี ครื่องปะพรมน้ำพระพุทธมนต์ ซึ่งนยิ มใช้หญ้าคามามดั เป็นกำหรือจะใชอ้ ยา่ ง อื่นแทนก็ได้แล้วแตเ่ หมาะสม (๖) การโยงดว้ ยสายสิญจน์ ใหโ้ ยงจากซา้ ยไปขวาของสถานทหี่ รือวตั ถุ เช่น รอบ บา้ น รอบร้วั แล้วโยงมาที่ฐานพระพทุ ธรปู บนโต๊ะบูชาต่อมาทีภ่ าชนะสำหรับทำน้ำมนต์แล้ววางไวบ้ นพาน (๗) การต้อนรับพระสงฆ์ เมื่อพระสงฆ์มาถึงกน็ ิมนต์ใหพ้ ักในทีท่ ่เี หมาะสม เตรียม เครอื่ งรบั รอง เช่น น้ำเย็น น้ำร้อน นำ้ ชา ตามโอกาส (๘) การดำเนนิ การ เมอื่ พรอ้ มแล้ว เจ้าภาพกจ็ ดุ เทยี น จุดธปู ทโี่ ต๊ะบูชา แล้วเริ่ม อาราธนาศลี รบั ศีล อาราธนาพระปริตร พระสงฆ์สวดมนต์ จนกระทั่งทำน้ำมนต์ (๙) การถวายภตั ตาหาร เมื่อพระสงฆเ์ จริญพระพทุ ธมนต์ ถวายภัตตาหารแก่

35 พระสงฆ์ เสร็จแล้วถวายไทยธรรม พระสงฆ์อนุโมทนา ผูร้ ่วมพธิ ีกรวดน้ำ อทุ ิศส่วนกศุ ลท่ไี ด้ทำ พระสงฆ์ปะ พรมนำ้ พระพุทธมนต์ เป็นอันเสรจ็ พธิ ี ๑.๒ ศาสนพธิ สี ำหรบั พระสงฆ์กับพุทธศาสนิกชน มรี ายละเอยี ดดังนี้ ๑.๒.๑ ศาสนพธิ สี ำหรับพระสงฆ์ หมายถงึ พธิ ีกรรมท่ีพระสงฆ์จะตอ้ งปฏบิ ัติ ตาม พระธรรมวินัย เชน่ พิธอี ปุ สมบท พิธกี ฐนิ พิธใี นวันสำคัญทางพุทธศาสนา การทำสังฆกรรมต่าง ๆ ๑.๒.๒ ศาสนพธิ สี ำหรับพุทธศาสนิกชน เป็นระเบียบแบบแผนท่ีผนู้ ับถอื ศาสนา พุทธ จะต้องปฏิบัตติ าม ได้มีการจัดหมวดหมู่ไวด้ ังนี้ (๑) กุศลพธิ ี คอื พธิ ที ่เี กี่ยวกบั การบำเพ็ญกุศลในด้านต่าง ๆ ไดแ้ ก่ การแสดงตนเปน็ พุทธ มามกะ การรักษาอุโบสถศลี การเวยี นเทียน การสวดมนตไ์ หว้พระ (๒) บญุ พธิ ี คือ การทำบญุ ตามประเพณีนิยมท้ังงานมงคลและงานอวมงคล ไดแ้ ก่ การ ทำบญุ เลี้ยงพระในงานวันเกดิ งานมงคลสมรส การทำบญุ ในงานศพ (๓) ทานพธิ ี คอื การถวายทานแดพ่ ระสงฆโ์ ดยทัว่ ๆ ไป ไดแ้ ก่การ ถวายสังฆทาน การถวาย สลากภัต ถวายผา้ ปา่ (๔) ปกณิ กพธิ ี คือ พธิ ที ั่ว ๆ ไปที่รวมไปถงึ รัฐพิธดี ้วย เช่น การแสดงความเคารพ พระสงฆ์ วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา วันปิยมหาราช วนั ฉัตรมงคล เปน็ ตน้ ๒ ประโยชน์ของศาสนพิธี ๒.๑ เปน็ การอนรุ ักษข์ นบธรรมเนยี มประเพณีให้มีสืบไป ๒.๒ เป็นการปลกู ฝงั ให้คนรุ่นใหม่ได้เข้าใจหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา ๒.๓ ทำให้เกิดความรักความสามคั คีข้ึนในหมูค่ ณะท่รี ว่ มทำพิธกี ัน ๒.๔ เปน็ สง่ิ ชักนำให้พทุ ธศาสนิกชน เวน้ จากการทำชว่ั ทำความดีมจี ติ ใจผ่องใส ๒.๕ แสดงถึงความรว่ มมือ ความเจรญิ ทางจิตใจของคนในสังคม ๒.๖ เกดิ ความสขุ ใจ อ่มิ เอมใจและเป็นแบบอย่างในการดำเนนิ ชวี ิตของผปู้ ระพฤติ ปฏบิ ตั ิ ๓ คณุ ลกั ษณะของการประกอบศาสนพิธี ๓.๑ มวี ตั ถุประสงค์ท่ีทำใหเ้ กิดความสงบสขุ เกดิ ความเรียบรอ้ ย ในสังคมผูป้ ฏิบัติเกิด ความสขุ เกิดกุศล ๓.๒ มีเปา้ หมาย เพอ่ื ใหเ้ กิดความสามคั คีในสังคม เกิดความร่วมมอื ร่วมใจในการท่ี จะใหพ้ ุทธศาสนาคงอยแู่ ละสืบทอดต่อไป ๓.๓ มกี ระบวนการท่ีเรยี บงา่ ย ไมฟ่ ุ่มเฟือยยุ่งยากทุกคนยอมรบั ที่จะปฏบิ ตั ิได้ ๔. เครื่องสักการะบชู าพระรตั นตรยั ในการประกอบศาสนพิธี เคร่ืองบูชาพระรัตนตรยั ในการประกอบศาสนพิธที างพระพทุ ธศาสนา มี ๓ อยา่ งคือ ๔.๑ ธปู สำหรบั บชู าพระพทุ ธเจ้า นยิ มจดุ บูชาคร้งั ละ ๓ ดอก โดยมีความหมายว่า พระพุทธเจ้าทรงมพี ระคุณอนั ยงิ่ ใหญ่ ๓ ประการคือ มีพระปัญญาธิคณุ พระบริสทุ ธิคุณ พระมหากรุณาคุณ ธปู สามดอกจึงบชู าแทนพระคุณท้ังหมด ลักษณะของธูปต้องมกี ลิ่นหอม แตเ่ ปน็ กลน่ิ หอมที่ทำใหก้ ิเลสยบุ ตวั ลง จติ ใจ สงบไม่ฟุ้งซา่ น ธปู หมดแล้วก็ยังมีกลน่ิ อบอวล เปรยี บเหมือนกบั พระพุทธคุณของพระพทุ ธเจ้าท่ยี งั อยใู่ นจติ ใจของ บคุ คลมาถงึ ทุกวันน้ี ๔.๒ เทียนสำหรับบชู าพระธรรม จะนิยมใชจ้ ุดครงั้ ละ ๒ เลม่ โดยมีความหมายว่า พระธรรม คำส่งั สอนของพระพทุ ธเจ้ามี ๒ ประเภท คือ พระวินยั สำหรบั ฝึกหดั กาย วาจา ใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยและ

36 พระธรรมสำหรับอบรมจติ ใจ ให้สงบระงับความชว่ั ทุจริตทุกประการ เทยี น ๒ เลม่ จะบูชาพระวนิ ัย ๑ เล่มและ พระธรรม ๑ เล่ม เทยี นที่บชู าควรมลี ักษณะเล่มใหญเ่ หมาะกับพิธีการเพราะแสงสว่างจากเทยี นเปน็ เสมือนพระ ธรรมคำสง่ั สอนของพระพทุ ธองค์ ท่ใี ห้ปราศจากความ ๔.๓ ดอกไมส้ ำหรบั บูชาพระสงฆ์ มีความหมายวา่ ดอกไมน้ านาทม่ี ีอยตู่ ามธรรมชาติกจ็ ะ สวยงามตามสภาพนนั้ ๆ เมื่อนำมาจดั สรรตบแตง่ ก็จะมีระเบยี บสวยงามข้ึนเปรียบได้กับ พระสงฆ์เมื่อยังเปน็ คฤหสั ถ์ ก็มีกรยิ ามารยาทตามฐานะตามตระกลู แต่เมื่อมาบวชในพุทธศาสนาแล้ว พระพุทธองค์ได้ทรงวางพระ ธรรมวนิ ยั ไวเ้ ป็นแบบแผนให้ประพฤตปิ ฏบิ ัติ พระสงฆ์ทุกรูปจงึ ต้องประพฤติปฏิบัติอยู่ในรปู แบบเดยี วกันจนเกิด ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย นา่ เคารพ น่าบูชา เชน่ เดียวกับดอกไม้ท่จี ัดสรรแลว้ ฉันนน้ั ดอกไม้ท่ีใชบ้ ูชา พระสงฆ์ นยิ มใช้ดอกไม้ท่มี ีลักษณะสสี วยมกี ลิน่ หอมและกำลังสดชนื่

37 ใบงานท่ี 2 เร่อื ง วัฒนธรรม ค่านยิ ม รายวชิ า ศาสนาและหน้าทีพ่ ลเมอื ง รหสั วชิ า สค31002 1. คำว่า “วฒั นธรรม” พระราชบญั ญตั วิ ัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2553 หมายถงึ อะไร ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เอกลกั ษณ์หรือลักษณะประจำชาติ หมายถงึ อะไร ในทางวิชาการมคี วามหมาย 2 ประการ คือ ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ค่านิยม หมายถงึ อะไร ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. แนวทางการปฏิบตั ิตนตามค่านิยม พ้นื ฐาน มีกป่ี ระการ ไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. คา่ นิยมทส่ี ำคญั ของสังคมไทยไดแ้ ก่ ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ช่อื ........................................................................รหัสนักศกึ ษา...................................ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook