Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

203

Published by วีรสิทธิ์ หารัญดา, 2019-05-15 03:21:07

Description: 203

Search

Read the Text Version

หลกั การพจิ ารณาเลอื กซ้ืออปุ กรณอ์ อกกำ�ลังกาย 11. วตั ถปุ ระสงคข์ องการใชง้ าน ïïใช้เพื่อกิจกรรมการออกกำ�ลังกายหรือเล่นกีฬาเพื่อการฝึกซ้อมหรือแข่งขัน ในการแข่งขันต้องใช้อุปกรณ์กีฬาที่วัสดุ คุณภาพดี มีมาตรฐานระดับสากลรับรอง มีราคาสูง หากใช้เพื่อการฝึกซ้อมอาจจะใช้ ทั้งอุปกรณ์ตามชนิดกีฬา ซึ่งวัสดุคุณภาพ รองลงมา มีมาตรฐานระดับประเทศรับรอง และมีราคาไม่สูงมาก ในการฝึกซ้อมสำ�หรับนักกีฬาจะมีกิจกรรม ตัวอย่าง อุปกรณ์กีฬาเพื่อการ ก า ร ฝึ ก ซ้ อ ม เ ป็ น ต า ร า ง กำ � ห น ด ไ ว้ ว่ า จ ะ ฝึกซ้อม มีเครื่องหมายแสดง ออกกำ�ลังกายส่วนใด เสริมสร้างร่างกาย มาตรฐานการผลิตระดับประเทศ ในด้านใดบ้างเพื่อให้สอดคล้องกับชนิดกีฬา เช่น มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ซึ่งก็มีกิจกรรมเสริม เช่น นักมวยวิ่งและใช้ อุตสาหกรรม (มอก.) ประทับ ยางรถยนต์ถ่วงน้ำ�หนักเพื่อเป็นการพัฒนา ที่อุปกรณ์ ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือดพร้อมทั้ง เสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาด้วย ตัวอย่าง อุปกรณ์กีฬาเพื่อการแข่งขัน มีเครื่องหมาย รับรองจากสหพันธ์กีฬาสากล เช่น FIFA FIVB 150 วทิ ยาศาสตร์การกีฬากบั การประยกุ ต์ใช้ในชุมชน

ïïใช้เพื่อกิจกรรมการออกกำ�ลังกายเพื่อสุขภาพ สำ�หรับประชาชนทุกเพศทุกวัย เน้นการมีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง ส่งเสริมสมรรถภาพทางกายพื้นฐานทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความทนทานของกล้ามเนื้อ ความทนทานของระบบไหลเวียนของเลือด ความยืดหยุ่นของ กล้ามเนื้อและข้อต่อหรือความอ่อนตัว และความเหมาะสมของ สัดส่วนของร่างกาย โดยมีรูปแบบการออกกำ�ลังกายที่หลากหลาย เช่น วิ่ง เต้นแอโรบิก โยคะ ฟุตบอล แบดมินตัน ฯลฯ การเลอื กอุปกรณ์ออกกำ�ลังกาย 151

ïïใช้เพื่อกิจกรรมการออกกำ�ลังกายหรือเล่นกีฬาเพื่อนันทนาการ กล่าวคือ เป็นกิจกรรมการออกกำ�ลังกาย ทส่ี มคั รใจท�ำ ในยามวา่ ง เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเพลดิ เพลนิ ผ่อนคลายความตึงเครียดทั้งร่างกายและจิตใจ เช่น ลีลาศ เต้นแอโรบิก โยคะ เกมเบ็ดเตล็ด เป็นต้น 152 วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬากบั การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชุมชน

22. งบประมาณ น้อย อุปกรณ์กีฬา เป็นอุปกรณ์ การออกก�ำ ลงั กายทม่ี รี าคาถกู และหาซื้อได้ง่าย สามารถใช้ได้ ทุกเพศ ทุกวัย และใช้ได้ทั้งเพื่อ การออกกำ�ลังกายและการแข่งขัน เช่น ลูกฟุตบอล ลูกตะกร้อ ลูกบาสเกตบอล ไม้แบดมินตัน ไม้ปิงปอง ฯลฯ ปานกลาง อุปกรณ์ออกกำ�ลังกายกลางแจ้ง เป็นอุปกรณ์การออกกำ�ลังกาย ที่มีราคาปานกลาง หน่วยงานที่มี โครงการส่งเสริมสุขภาพสามารถ จัดซื้อได้ในงบประมาณที่ไม่สูงนัก ตัวเครื่องมักใช้ระบบคานและระบบ ลูกล้อที่ไม่ซับซ้อน สามารถใช้งาน ได้ง่าย การเลือกอปุ กรณ์ออกกำ�ลังกาย 153

มาก อุปกรณ์ออกกำ�ลังกายในร่ม เป็นอุปกรณ์ออกกำ�ลังกายที่มีราคาสูง เนื่องจากมีการนำ� เทคโนโลยีมาใช้ มีระบบการทำ�งานที่ทันสมัย มีโปรแกรมการออกกำ�ลังกายที่เครื่องสามารถ คำ�นวณได้ตามความต้องการของผู้ใช้ ส่วนมากนิยมใช้ในศูนย์ออกกำ�ลังกายของเอกชนซึ่งมี การเก็บค่าใช้บริการ และอุปกรณ์ประเภทนี้ต้องใช้งบประมาณในการดูแลรักษาค่อนข้างสูง แต่หากไม่ดูแลรักษาจะทำ�ให้อายุการใช้งานสั้น ไม่คุ้มค่ากับงบประมาณที่เสียไป 154 วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬากับการประยกุ ต์ใช้ในชุมชน

33. ความตอ้ งการของผใู้ ช้งาน ïïอายุ คนในแตล่ ะชว่ งอายจุ ะมคี วามสนใจและความเหมาะสมกบั การออกกำ�ลังกายที่แตกต่างกัน เช่น เด็กเล็ก ควรมีกิจกรรม การออกกำ�ลังกายที่เป็นในลักษณะการเล่นเกมส์หรือการ เคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงเพื่อสร้างความสนุกสนาน หรอื ผสู้ งู อายุ ไมค่ วรออกก�ำ ลงั กายดว้ ยกจิ กรรมทอ่ี อกแรงมาก หรือเคลื่อนไหวเร็ว ïïเพศ เพศหญิงและเพศชายมีความสนใจที่แตกต่างกัน เชน่ ผหู้ ญงิ ตอ้ งการออกก�ำ ลงั กายเพอื่ รกั ษารปู รา่ งและทรวดทรง แต่ผู้ชายต้องการออกกำ�ลังกายเพ่ือเสริมสร้างกล้ามเน้ือ เชน่ การออกก�ำ ลงั กายแบบมแี รงตา้ น ผหู้ ญงิ โดยสว่ นมากจะเนน้ การกระชับกล้ามเนื้อ แต่ผู้ชายจะเน้นสร้างกล้ามเนื้อให้ใหญ่ขึ้น ïïความสนใจในกิจกรรม ในแต่ละพื้นที่ แต่ละชุมชน จะมีความ สนใจในเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ภาคใต้มีการรำ�มโนราห์ จึงมี การนำ�มาประยุกต์เป็น โนราห์บิก ควรสำ�รวจความสนใจ ของคนในชุมชนว่าสนใจกิจกรรมการออกกำ�ลังกายประเภทใด แล้วจัดอุปกรณ์ให้ตรงตามความสนใจ ïïความบ่อยในการใช้งาน อุปกรณ์บางประเภทหากไม่ค่อยได้ ใช้งาน จะเสื่อมสภาพได้ง่าย เช่น อุปกรณ์ที่มีลูกยางเป็น ส่วนประกอบ อุปกรณ์ที่ใช้สายพาน ïïกลุ่ม ชมรม สมาคม ควรสำ�รวจว่าในชุมชนมีกลุ่ม ชมรม หรือสมาคมออกกำ�ลังกายประเภทใดอยู่แล้วบ้าง แล้วจึงจัดซื้อ อุปกรณ์ออกกำ�ลังกายเพื่อที่จะได้สนับสนุนอุปกรณ์ออกกำ�ลัง กายได้ตรงตามกลุ่มเป้าหมาย ïïความสามารถในการออกกำ�ลังกาย สำ�รวจดูช่วงอายุ ของประชากรสว่ นมากในชมุ ชนเพอ่ื น�ำ มาใชว้ เิ คราะหค์ วามสามารถ ในการออกกำ�ลังกาย หากอยู่ในช่วงวัยรุ่นจนถึงวัยทำ�งาน ความสามารถในการออกก�ำ ลงั กายจะสงู ซึง่ แตกตา่ งจากวยั เดก็ และผู้สูงอายุ การเลอื กอุปกรณ์ออกกำ�ลงั กาย 155

44. สถานที่ใช้งาน ห้องภายในอาคาร ïïตรวจสอบพื้นที่จัดวางอุปกรณ์ ขนาดความกว้าง ระยะห่าง ระหว่างอุปกรณ์แต่ละเครื่อง และชนิดของพื้น ïïต้องเป็นห้องที่มีอากาศถ่ายเท ได้ดี พื้นที่กลางแจ้ง ïïมีป้ายบอกถึงประโยชน์และวิธี ïïตรวจสอบพื้นที่จัดวางอุปกรณ์ การใช้อย่างชัดเจน เนื่องจาก ขนาดความกว้าง ระยะห่าง ïïช่วงเวลาการใช้งานถูกจำ�กัด อาจจะไม่มีเจ้าหน้าที่อยู่ ระหว่างอุปกรณ์แต่ละเครื่อง ด้วยสภาพอากาศ ประจำ�จุดคอยให้คำ�แนะนำ� และชนิดของพื้น 156 วิทยาศาสตรก์ ารกีฬากบั การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชมุ ชน

55. ความเหมาะสมของวัสดุ ïïหากอยู่กลางแจ้งต้องใช้วัสดุที่คงทน ต่อสภาพอากาศ เช่น ทาเคลือบด้วย สีกันสนิม ïïพื้นที่ในการจัดวางอุปกรณ์ ต้องมีขนาดที่พื้นที่ที่เหมาะสม และสามารถรองรับน้ำ�หนักของอุปกรณ์ ออกกำ�ลังกายได้ มีคุณสมบัติกันลื่น และลดแรงกระแทก การเลอื กอปุ กรณ์ออกกำ�ลงั กาย 157

บรรณานกุ รม ฉัตรดาว อนุกูลประชา. การเลือกอุปกรณ์ออกกำ�ลังกาย. เอกสารประกอบการ อบรมและพัฒนาความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาแก่เจ้าหน้าที่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นกฬี าและสขุ ภาพในสว่ นภมู ภิ าค. ส�ำ นักวิทยาศาสตร์การกฬี า กรมพลศึกษา, 2558. เพิ่มศักดิ์ สุริยจันทร์. วิทยาศาสตร์การกีฬากับการประยุกต์ใช้. เอกสารประกอบ การอบรมและพัฒนาความรู้และทกั ษะดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าแกเ่ จา้ หนา้ ที่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นกฬี าและสขุ ภาพในสว่ นภมู ภิ าค. ส�ำ นกั วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศึกษา, 2558. ราตรี เรืองไทย. หลักการออกกำ�ลังกายและกิจกรรมทางกาย. เอกสารประกอบ การอบรมและพัฒนาความรู้และทกั ษะดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าแกเ่ จา้ หนา้ ที่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นกฬี าและสขุ ภาพในสว่ นภมู ภิ าค. ส�ำ นกั วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศึกษา, 2558. อมรทตั ต์ อคั คะพ.ู รจู้ กั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า. เอกสารประกอบการอบรมและพฒั นา ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตรก์ ารกฬี าแก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบตั งิ านดา้ นกฬี า และสขุ ภาพในสว่ นภมู ภิ าค. ส�ำ นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศกึ ษา, 2558. เอกสิทธิ์ จิตธรรม. โภชนาการการกีฬา. เอกสารประกอบการอบรมและพัฒนา ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาแกเ่ จา้ หนา้ ทผ่ี ปู้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นกีฬา และสขุ ภาพในสว่ นภมู ภิ าค. ส�ำ นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศกึ ษา, 2558. 158 วิทยาศาสตร์การกฬี ากับการประยุกตใ์ ชใ้ นชุมชน

คณะผู้จดั ทำ� ทีป่ รึกษา ดร.กิตติพงษ์ โพธิมู อธิบดีกรมพลศึกษา นายนิวัตน์ ลิ้มสุขนิรันดร์ รองอธิบดีกรมพลศึกษา นางสาวดารณี ลิขิตวรศักดิ์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักวิทยาศาสตร์การกีฬา นางสาวเนาวรัตน์ เหลืองรัตนเจริญ ผู้อำ�นวยการกลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีทางการกีฬา คณะวทิ ยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพิ่มศักดิ์ สุริยจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ราตรี เรืองไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.อมรทัตต์ อัคคะพู ผู้อำ�นวยการกลุ่มวิจัยและพัฒนา สำ�นักวิทยาศาสตร์การกีฬา นายเอกสิทธิ์ จิตธรรม โรงพยาบาลกรุงเทพ นางสาวฉัตรดาว อนุกูลประชา นักพัฒนาการกีฬาชำ�นาญการ บรรณาธิการ นักพัฒนาการกีฬาปฏิบัติการ นายชลิตพล สืบใหม่ ผู้แสดงแบบ นายณพล หอมจันทร์ การเลือกอุปกรณอ์ อกกำ�ลังกาย 159

160 วิทยาศาสตรก์ ารกีฬากับการประยกุ ตใ์ ช้ในชุมชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook