Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รด.64-อัญชลินทร์-เล่มงานวิจัยฝอยทอง

รด.64-อัญชลินทร์-เล่มงานวิจัยฝอยทอง

Published by Guset User, 2023-06-16 07:34:18

Description: รด.64-อัญชลินทร์-เล่มงานวิจัยฝอยทอง

Search

Read the Text Version

รายงานผลการวิจยั เร่ือง การพัฒนาผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชอ่ื มของพชื THE DEVELOPMENT OF FOY THONG PRODUCT FROM PLANT SYRUP โดย ผูชวยศาสตราจารยอญั ชลนิ ทร สิงหค ำ โครงการวจิ ัยไดรบั เงนิ สนบั สนนุ จากงบประมาณเงนิ รายได คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ประจำปง บประมาณ 2564

รายงานผลการวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลิตภณั ฑฝอยทองจากน้ำเชอ่ื มของพชื โดย ผชู ว ยศาสตราจารยอญั ชลนิ ทร สิงหคำ โครงการวจิ ยั ไดรบั เงินสนับสนุนจากงบประมาณเงนิ รายได คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ประจำปงบประมาณ 2564

บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาชนิดน้ำตาลจากผลไมที่เหมาะสมในการผลิตฝอยทอง จากน้ำตาลผลไม ทำการศึกษาชนิดของน้ำตาลมะพราว น้ำตาลโตนด น้ำออยสด น้ำสัปปะรด ทดแทนน้ำตาลทรายในสัดสว นที่คาของแข็งท่ีละลายน้ำไดเ ทากนั คือ 60 ° Brix นำตัวอยางท่ีไดในแตละ สิง่ ทดลองวเิ คราะหคณุ สมบัติทางกายภาพและเคมี คา สี และลักษณะปรากฏโดยใชประสาทสัมผสั ทง้ั 5 ผลการวิเคราะหจากการศึกษาผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไม คุณลักษณะทาง ลักษณะปรากฏ พบวา ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลโตนดมีลักษณะดานสีที่มีสีเหลือง มีกลิ่น หอมมาก และมีรสหวาน ลักษณะเนื้อสัมผัสเปนเสน นุม เหนียว คุณลักษณะทางกายภาพ พบวา มีคา ความสวาง (L*) คือ 22.56 มีคาสีแดง (a*) คือ 8.17 มีคาสีเหลือง (b*) คือ -2.46 คุณลักษณะทางเคมี พบวา มีปริมาณความชื้นรอยละ 25.52 ปริมาณเถารอยละ 2.85 ไขมันรอยละ 0.32 เสนใยรอยละ 0.0016 โปรตีนรอยละ 15.21 คารโบไฮเดรตรอยละ 56.09 ปริมาณแคลอร่ี 288.08 กิโลแคลอรี่/กรัม และของแข็งท่ีละลายไดในนำ้ 60 °Brix คณุ ลักษณะทางประสาทสัมผสั พบวาผูทดสอบชิมใหคาคะแนน ความชอบดานลักษณะปรากฏ 6.03 มีคะแนนดานสี 6.01 มีคะแนนดานกลิ่น 5.94 มีคะแนนดาน เนื้อสมั ผัส 5.72 มีคะแนนดา นรสชาติ 4.95 มคี ะแนนดา นความชอบโดยรวม 5.76 คำสำคญั : ขนมฝอยทอง, นำ้ ตาลมะพรา ว, นำ้ ตาลโตนด, นำ้ ออยสด (2)

ABSTRACT The objective of this research is to study the suitable type of sugar from fruit for producing FOY THONG Studied a type of sugar, coconut palm sugar cane juice, fresh pineapple juice instead of sugar in proportion to the value (Brix) is equal to 60 ° Brix samples received in each experiment, analyze the physical and chemical properties color and appearance by using the 5 senses. The results of the study products FOY THONG from the fruit. Features the appearance of the product palmyra palm sugar syrup has the color yellow. Very fragrant and sweet, texture is a soft, sticky physical attributes showed that the brightness (L *) is 22.56 with the red (a *) is 8.17 with the yellow (b *) is -2.46. Chemical found a quantity moisture 25.52 %, ash 2.85 %, fat 0.32 %, fiber 0.0016 %, protein 15.21 %, carbohydrate 56.09 % intake of calories 288.08 Kcal/g, total soluble solids in water 60 ° Brix. Sensory attributes found that the appearance of color have scored 6.03, 6.01, 5.94 a color score of 6.01, a odor score of 5.94, a texture score of 5.72, a taste score of 4.95 with a total liking score of 5.76 Keywords : Foy Thong, Coconut palm sugar, Palmyra palm sugar, Sugarcane juice (2)

กิตตกิ รรมประกาศ งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของพืช (Product development of Foy Thong product from plant syrup) ไดรับงบประมาณสนับสนุนจาก จากเงินงบประมาณ รายได ประจำป 2564 ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร ผูทำการวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวางานวิจัยฉบับน้ี จะมปี ระโยชนแกผทู ส่ี นใจไมมากกน็ อย อัญชลินทร สิงหค ำ (3)

สารบัญ หนา บทคัดยอ (1) กติ ตกิ รรมประกาศ (3) สารบัญ (4) สารบัญตาราง (6) สารบญั ภาพ (9) บทที่ 1 บทนำ 10 1.1 ความสำคัญและทีม่ าของปญ หา 11 1.2 วตั ถปุ ระสงค 11 1.3 ขอบเขตการทดลอง 11 1.4 กรอบแนวคิดของการทดลอง 11 1.5 ประโยชนที่คาดวา จะไดรับ บทท่ี 2 ตรวจเอกสาร 12 2.1 นำ้ ตาลทราย 12 2.2 น้ำตาลมะพราว 15 2.3 น้ำตาลโตนดสด 18 2.4 นำ้ ออ ยสด 20 2.5 สบั ปะรด 21 2.6 ไข 24 2.7 ขนมฝอยทอง 26 2.8 งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวของ (4)

สารบัญ (ตอ ) หนา บทที่ 3 วธิ ีการดำเนินการทดลอง 29 3.1 วัตถดุ ิบ อุปกรณ และสารเคมี 33 3.2 วธิ ีการทดลอง 35 3.3 การวเิ คราะหคุณภาพ 35 3.4 การวเิ คราะหผ ลทางสถติ ิ 35 3.5 ประเมนิ การยอมรบั ทางประสาทสัมผสั ของผูทดสอบชิม 37 บทท่ี 4 ผลการทดลองและวจิ ารณผล 4.1 การวเิ คราะหคณุ สมบัติทางกายภาพ (คาส)ี ของน้ำเชื่อมและผลติ ภณั ฑ 51 ฝอยทอง 54 55 บทที่ 5 สรปุ ผลการทดลอง 58 บรรณานกุ รม 68 ภาคผนวก 70 74 ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค ภาคผนวก ง ภาคผนวก จ (5)

สารบญั ตาราง หนา ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะหคุณภาพนำ้ ตาลโตนดสด 17 ตารางท่ี 2 คณุ คาทางโภชนาการของฝอยทอง 100 กรัม 26 ตารางที่ 3 แสดงอตั ราสว นของสว นผสมในการผลิตผลิตภณั ฑฝ อยทอง 33 ตารางท่ี 4 คุณสมบตั ทิ างกายภาพ (คา ส)ี ของนำ้ ผลไม(กอนเคี่ยว-หลังเคี่ยว) 38 ตารางท่ี 5 คณุ สมบตั ทิ างกายภาพ (คาสี) ของผลติ ภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไม 40 ตารางท่ี 6 คุณลักษณะปรากฏของผลิตภัณฑฝอยทองจากนำ้ เชื่อมของผลไม 41 ตารางท่ี 7 การวิเคราะหเน้ือสัมผัสของฝอยทองจากนำ้ เชื่อมของผลไม 43 ตารางที่ 8 คุณสมบตทิ างเคมขี องผลิตภัณฑฝอยทองจากนำ้ เชือ่ มของผลไม 44 ตารางท่ี 9 คา คะแนนความชอบประสาทสมั ผัสของผลิตภัณฑฝ อยทองจากนำ้ เชื่อมของ 47 ผลไม (6)

สารบัญตาราง (ตอ ) หนา ตารางภาคผนวกท่ี 1 แสดงลำดบั การชมิ ผลิตภัณฑฝ อยทองจากนำ้ เช่อื มของผลไม 72 ตารางภาคผนวกที่ 2 ผลแสดงการวเิ คราะหความแปรปรวนทางกายภาพคาความสวาง (L*) 75 ของนำ้ ผลไม ตารางภาคผนวกที่ 3 ผลแสดงการวเิ คราะหความแปรปรวนทางกายภาพคา ความสวา ง (a*) 75 ของน้ำผลไม ตารางภาคผนวกที่ 4 ผลแสดงการวเิ คราะหความแปรปรวนทางกายภาพคา ความสวา ง (b*) 75 ของน้ำผลไม ตารางภาคผนวกที่ 5 ผลแสดงการวเิ คราะหความแปรปรวนทางกายภาพคาความสวา ง (L*) 76 ของน้ำเชอ่ื มจากนำ้ ผลไม ตารางภาคผนวกท่ี 6 ผลแสดงการวิเคราะหความแปรปรวนทางกายภาพคา ความสวาง (a*) 76 ของน้ำเชื่อมจากน้ำผลไม ตารางภาคผนวกท่ี 7 ผลแสดงการวเิ คราะหค วามแปรปรวนทางกายภาพคาความสวา ง (b*) 76 ของนำ้ เชื่อมจากน้ำผลไม ตารางภาคผนวกท่ี 8 ผลแสดงการวเิ คราะหความแปรปรวนทางกายภาพคา ความสวาง (L*) 77 ของผลติ ภัณฑฝ อยทองจากน้ำเชอื่ มของผลไม ตารางภาคผนวกที่ 9 ผลแสดงการวิเคราะหความแปรปรวนทางกายภาพคาความสวาง (a*) 77 ของผลิตภัณฑฝ อยทองจากน้ำเชอื่ มของผลไม ตารางภาคผนวกท่ี 10 ผลแสดงการวเิ คราะหความแปรปรวนทางกายภาพคาความสวา ง (b*) 77 ของผลิตภณั ฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไม (7)

สารบญั ตาราง (ตอ) หนา ตารางภาคผนวกท่ี 11 ผลแสดงการวเิ คราะหค วามแปรปรวนทางกายภาพของเนือ้ สมั ผสั 78 ตารางภาคผนวกท่ี 12 ผลแสดงการวเิ คราะหความแปรปรวนทางเคมีของปรมิ าณความชื้น 78 ตารางภาคผนวกท่ี 13 ผลแสดงการวิเคราะหค วามแปรปรวนทางเคมีของปริมาณเถา 78 ตารางภาคผนวกที่ 14 ผลแสดงการวิเคราะหความแปรปรวนทางเคมีของปริมาณเสน ใย 79 ตารางภาคผนวกที่ 15 ผลแสดงการวิเคราะหความแปรปรวนทางเคมีของปริมาณไขมัน 79 ตารางภาคผนวกที่ 16 ผลแสดงการวิเคราะหค วามแปรปรวนทางเคมีของปริมาณโปรตีน 79 ตารางภาคผนวกท่ี 17 ผลแสดงการวเิ คราะหค วามแปรปรวนทางเคมีของปริมาณ 80 คารโบไฮเดรต ตารางภาคผนวกท่ี 18 ผลแสดงการวิเคราะหความแปรปรวนทางเคมีของแคลอรี่ 80 ตารางภาคผนวกท่ี 19 ผลแสดงการวิเคราะหความแปรปรวนของความชอบดานลกั ษณะ 80 ปรากฏ ตารางภาคผนวกท่ี 20 ผลแสดงการวิเคราะหค วามแปรปรวนของความชอบดานสี 81 ตารางภาคผนวกที่ 21 ผลแสดงการวเิ คราะหความแปรปรวนของความชอบดานกลิน่ 81 ตารางภาคผนวกที่ 22 ผลแสดงการวิเคราะหค วามแปรปรวนของความชอบดานเน้ือสัมผสั 81 ตารางภาคผนวกท่ี 23 ผลแสดงการวิเคราะหค วามแปรปรวนของความชอบดานรสชาติ 82 ตารางภาคผนวกที่ 24 ผลแสดงการวเิ คราะหความแปรปรวนของความชอบดานความชอบ 82 โดยรวม (8)

สารบญั ภาพ หนา ภาพที่ 1 ขั้นตอนการผลติ ฝอยทอง 34 ภาพท่ี 2 ผลติ ภัณฑฝอยทองโดยน้ำเชื่อมจากน้ำตาลของผลไม 39 (9)

บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความสำคัญและท่ีมาของปญ หา ขนมไทยจัดเปน อาหารท่ีอยคู ูกบั คนไทยมานานเปน สิ่งที่บงบอกไดถ ึงวฒั นธรรมและภูมิปญญา ของคนไทยขนมไทยแตละชนิดลวนมีเสนหเฉพาะตัวทั้งในดานกลิ่นรสชาติและรูปลักษณทั้งๆท่ี สวนประกอบของขนมไทยนั้นประกอบดวยแปงไขน้ำตาลเปนสวนมากแตก็ยังสามารถดัดแปลง สรางสรรคเปนขนมไดหลากหลายชนิดขนมไทยเปนเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมอยางหนึ่งเนื่องจาก เปนสิ่งที่แสดงใหเห็นถึงความละเอียดประณีตในการทำตั้งแตการคัดเลือกวัตถุดิบกรรมวิธีการผลิตที่มี ความพิถพี ถิ ันยกตวั อยา งเชน ฝอยทองเปนอาหารหวานที่ไทยไดวิธีการทำมาจากชาวโปรตุเกสชื่อเลดีออรเดอควีมา (คุณทาวทองกีบมา) ภรรยาของเจาพระยาวิชเยนทรกงสุลโปรตุเกส ไดนำมาสอนฝายในในสมัยสมเด็จ พระเจานารายณมหาราชชาวโปรตุเกสรับประทานฝอยทองแกลมกับเนื้อยางเปนอาหารคาว สวนคน ไทยนำมาเปนอาหารหวานนิยมใชเปนขนมเลี้ยงพระในงานมงคลตางๆเนื่องจากชื่อขนมมีคำวา“ทอง” จึงถือเปนมงคลขนมฝอยทองในงานเหลานี้ตองเปนเสนที่ยาวมาก เพราะถือเปนเคล็ดตามชื่อและ ลักษณะของฝอยทองวาทำใหอายุยืนยาวจะตัดฝอยทองใหสั้นเปนคำๆเพื่อใหงายตอการรับประทาน ไมไ ดกฎท่ีถือกนั มาจนเปน ประเพณขี องไทย (ศริ ลิ ักษณ, 2533) ในดานคณุ คา ทางโภชนาการคุณสมบัติหลายประการของผลผลิตตามธรรมชาติก็จะยังคงมีอยู มาก จากการสำรวจคุณคาทางโภชนาการขนมไทย ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขพบวาขนม ไทยสวนใหญ นอกจากจะมคี ุณคา ในสารอาหารหลกั ๆ อยางคารโบไฮเดรต โปรตนี ไขมนั แลวยังมแี รธาตุ และวิตามนิ ทส่ี ำคญั ตอรา งกายรวมอกี ดวย (พรทพิ ย, 2552) อยา งไรก็ตามนำ้ ตาลจากผลไมย ังมีปญหาทางโภชนาการท่เี ปนอปุ สรรคสำคัญคอื การมีน้ำตาล เปนองคประกอบในปริมาณสูงทำใหเกิดผลเสียเชิงสุขภาพตอผูบริโภคเนื่องจากการบริโภคน้ำตาลใน ปริมาณมากมีสวนสำคัญที่ทำใหเกิดโรคเบาหวานอาการของเบาหวานตอบสนองโดยตรงตอปริมาณ น้ำตาลที่บริโภคเขาไปนอกจากนี้โรคอวนโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและโรคฟนผุก็ยังมีการระบุวา เกี่ยวพันกันกับปริมาณการบริโภคน้ำตาลที่มากขึ้นซึ่งแสดงใหถึงความสัมพันธกันของปญหาสุขภาพที่ 10

ผูบริโภคเผชิญอยูกับอันตรายของน้ำตาลที่เกิดจากการบริโภคน้ำตาลในปริมาณมากเกินไป (ณัฐรัตน 2555) ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความประสงคที่จะนำน้ำตาลจากผลไมแตละชนิดไดแก น้ำตาลมะพราว น้ำออยสด นำ้ ตาลโตนด สบั ปะรด มาใชแทนนำ้ เช่ือมทที่ ำจากนำ้ ตาลทราย ทงั้ นเี้ พอ่ื เพิ่มทางเลือกใหกับ ผบู รโิ ภคที่ใสใจสุขภาพ ในการบรโิ ภคฝอยทองท่ีทำจากน้ำตาลผลไมนอกจากนี้ยงั มลู คา ใหน้ำตาลผลไม 1.2 วตั ถุประสงค 1.2.1 เพ่ือศึกษาชนดิ ของนำ้ ตาลจากผลไมท เี่ หมาะสมในการผลิตฝอยทองจากน้ำตาลผลไม 1.2.2 เพอื่ ศึกษาคณุ สมบตั ทิ างกายภาพ เคมีของฝอยทองท่ที ำจากน้ำตาลจากผลไม 1.2.3 เพ่ือศกึ ษาความชอบทางประสาทสมั ผสั ของฝอยทองท่ีทำจากน้ำตาลจากผลไม 1.3 ขอบเขตของการทดลอง ศึกษาการใชน้ำผลไมที่มีในประเทศไทยใหความหวานทดแทนน้ำตาลทรายขาวโดยปจจัยที่ ทำการศึกษา 5 ปจจัยไดแก น้ำตาลทรายขาว น้ำตาลมะพราว น้ำตาลโตนด น้ำตาลจากออยคั้นสด สับปะรด 1.4 กรอบแนวคิดของการทดลอง น้ำตาลจากผลไม เปนน้ำตาลที่มีประโยชนที่มีปริมาณน้ำตาลอิสระหลายประเภท ผลไม ประกอบไปดว ยสารอาหารมากมายทีช่ วยปรบั สมดลุ รางกายใหมสี ุขภาพดี ดังน้ันการศกึ ษาน้ำเช่ือมจาก น้ำตาลของผลไม จึงเปนแนวทางเลือกที่นาสนใจ และยังเปนแนวทางในการนำมาประยุกตใชกับ ผบู รโิ ภคที่ใสใจสขุ ภาพ 1.5 ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรบั 1.5.1 ไดท ราบชนิดของน้ำตาลจากผลไมท ่ีเหมาะสมในการผลติ ฝอยทอง 1.5.2 ไดท ราบคณุ สมบตั ทิ างกายภาพเคมีของฝอยทองท่ที ำจากนำ้ ตาลผลไม 1.5.3 ไดทราบความชอบทางประสาทสมั ผัสของผทู ดสอบชมิ ฝอยทองทท่ี ำจากน้ำตาลผลไม 11

บทท่ี 2 ตรวจเอกสาร 2.1 น้ำตาลทราย น้ำตาลเปนสารประกอบอินทรียที่เปนผลึกละลายไดด ีและมีรสหวานจัดอยูใ นอาหารประเภท คารโบไฮเดรตน้ำตาลทรายหรือน้ำตาลซูโครสซึ่งมีสูตรทางเคมี คือ C12H22O11 น้ำตาลทรายขาวจะมี ขนาดความละเอียดตางกันมีตั้งแตผงละเอียดธรรมดาและหยาบน้ำตาลทรายขาว ที่ใชไดผลดีควรมี ความละเอียดและขาวเพราะจะสามารถผสมเขากับสวนผสมอื่นไดดี ถาน้ำตาลมีผลึกใหญและหยาบจะ ละลายไมดีเทาที่ควรเพราะผลึกใหญละลายไมหมด แตจะสามารถละลายไดดีเมื่อถูกความรอนน้ำตาล ทรายขาวจะใหความหวานแกผ ลิตภัณฑและเนื้ออาหารมลี ักษณะทด่ี ีเพิ่มคุณคาทางอาหารแกผลิตภัณฑ โดยน้ำตาลทรายขาว 1 กรัมจะใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ นอกจากนี้น้ำตาลยังมีคุณสมบัติดูดและเก็บ ความชนื้ น้ำเชอ่ื มเปนสารละลายชนิดเขมขน มีน้ำเปนตวั ทำละลายและมีนำ้ ตาลเปนตัวถกู ทำละลาย ท้ัง สองเปน เนือ้ เดยี วกนั ดงั นัน้ ทกุ สว นของนำ้ เช่ือมนนั้ ยอมมีสวนประกอบตางๆเหมือนกัน ความสามารถใน การละลายของน้ำตาลหมายความถึงปริมาณของน้ำตาลที่สามารถละลายในน้ำปริมาณหนึ่งมีอุณหภูมิ หรือความดันที่กำหนดโดยทั่วไปมักจะหมายความถึงจำนวนกรัมของน้ำตาลที่ละลายไดในน้ำ 100 มิลลิลิตรที่ 20 องศาเซลเซียส เนื่องจากน้ำตาลเปนสารที่ตกผลกึ ได ดังนั้นความสามารถในการละลาย ไดจ งึ มขี ดี จำกัดในการละลายในนำ้ นำ้ ตาลจะดดู ซึมความรอนความรอ นยงิ่ สูงนำ้ ตาลจะละลายไดมากขึ้น (ศริ ลิ ักษณ, 2533) น้ำเชื่อมเมื่อเกี่ยวไดที่บางครั้งจะสกปรกไมขาวใสเนื่องจากน้ำตาลที่ไมสะอาดอาจใชวิธีการ ฟอก โดยใชเปลือกไขผ สมกับนำ้ ตาลทรายใหทัว่ จงึ ใสน้ำลงไปยกข้นึ ตัง้ ไฟพอเดอื ดชอนฟองออก เคย่ี วตอ สิ่งสกปรกจะถูกจับดวยไขขาวที่ติดอยูที่เปลือกไข จนกระทั่งน้ำเชื่อมใสยกลงกรองดวยผาขาวบางให สะอาดอกี คร้งั เพือ่ นำไปทำขนมตอ ไป (ศริ ลิ ักษณ, 2533) 2.2 น้ำตาลมะพราว น้ำตาลมะพราวเปนผลิตผลที่ไดจากจั่นมะพราวซึ่งจะใหน้ำตาลสดเมื่อตนมะพราวมีอายุได 3-4 ป เม่อื มะพราวมีชอดอกชาวสวนจะเรม่ิ ทำการเกบ็ น้ำตาลขน้ั ตอนในการปฏิบัติมดี ังนี้ 12

(1) การโนมนั้นมะพราวเริ่มมีนั่นแทงออกมาระหวางโคนทางมะพราวเลือกหุนที่มีความยาว 40 เซนติเมตรจากนั้นโนมนั่นใหอยูในแนวระนาบควรจะเริม่ ทำในตอนบายเพราะน่ันจะน่ิมทำใหโนมได งา ย (2) การปาดนั้นหรือการปาดตาลเมื่อโนมนั่นไดที่แลวใหทำการปาดหุนมะพราวออกโดยตัด จากปลายฉนั เขามาประมาณ 6 เซนติเมตรแลวปอกเปลอื กจันออกใชเชอื กมดั ฉนั ไวเปน เปลาะ ๆ หา งกนั ประมาณ 1. 5 ถึง 2 นิ้วเพื่อปองกันการแตกของจั่นในชวง 2 ถึง 3 วันแรกใหปลอยทิ้งไวโดยไมรองรับ น้ำตาลแตต องปาดลนั่ ทกุ เชาเยน็ หลังจากนั้นเรมิ่ ทำการรองรบั น้ำตาลสด (3) การรองรับน้ำตาลสดเมื่อฉนั มีนำ้ ตาลที่ไหลออกมาดีใหนำกระบอกไปรองโดยใสเปลือกไม พะยอมหรอื ไมเค่ียมลงไปประมาณ 2 ถึง 3 กรัมลงไปในกระบอกนำ้ ตาลแลว จึงนำไปแขวนไวท่ีปลายจัน ใชเ ชือกท่รี อยติดกบั กระบอกผูกติดจั่นไว ฤดูทำน้ำตาลทำไดทั้ง 3 ฤดแู ตน ้ำตาลที่เก็บไดในฤดูหนาวเปน น้ำตาลเนื้อดีมีน้ำตาลมากสวนในฤดูรอนน้ำตาลที่ไดไมดีเนื้อใสมีรสเปรี้ยวน้ำตาลที่เก็บไดในฤดูฝนมี คุณภาพปานกลาง 2.2.1 องคป ระกอบทางเคมขี องน้ำตาลมะพราว การพจิ ารณาองคป ระกอบของน้ำตาลสดจากมะพรา วตอ งมีการแยกความแตกตา งระหวาง Sweet teddy หมายถึงน้ำตาลสดที่สดจริง ๆ ยังไมมีการบูดเกิดขึ้นสว น toddy หมายถึงน้ำตาลสดท่มี ี การบดู เกดิ ข้ึนไปแลวในภาพตางๆ กนั (ศิริพร, 2519) องคประกอบของน้ำตาลมะพรา วสด Sweet toddy ท่มี ีผวู ิเคราะหไว ดังน้ี การวเิ คราะหข องฟลิปปนส (ศิรพิ ร, 2519) น้ำตาลซโู ครส 16. 5 กรัมตอ 100 มลิ ลิลิตร โปรตีน 0. 60 กรัมตอ 100 มลิ ลิลติ ร เถา 0. 40 กรมั ตอ 100 มิลลลิ ติ ร การวิเคราะหของไทย (ประเทอื ง, 2503) พีเอช 4. 7 = 7. 2 ของแขง็ ทั้งหมด 16. 10 - 18. 99 กรมั ตอ 100 มลิ ลิลิตร เมื่อนำน้ำตาลมะพราวสดมาตมระเหยน้ำออกจะไดน้ำตาลมะพราวเดี่ยวซึ่งมีรายงานการ วิเคราะหไ วดงั ตอ ไปนี้ คณุ สมบัติและองคป ระกอบทางเคมีของน้ำตาลมะพราวเคย่ี ว 13

ความชน้ื 11, 40% น้ำตาล 72. 47% น้ำตาลรดี ิวซิง 7. 79% เถา 1.13% โปรตนี 0. 55% เพกดนิ กมั 7. 09% แคลอรีต่ อ 100 กรัม 321. 60 แคลอรี่ คุณสมบตั ิและองคประกอบทางเคมีของนำ้ ตาลมะพราวเค่ียว ซโู ครส 68. 35 กรมั ตอ 100 กรมั ความช้ืน 10. 92 กรัมตอ 100 กรัม เพคตินและกัม 8. 72 กรัมตอ 100 กรัม น้ำตาลรดี วิ ชงิ 6. 58 กรมั ตอ 100 กรัม เถา 2. 19 กรัมตอ 100 กรมั คุณคา ทางโภชนาการของน้ำตาลมะพราวเคยี่ ว พลงั งาน 383 กิโลแคลอร่ี โปรตีน 0. 4 กรัมตอ 100 กรมั ไขมัน 0. 1 กรัมตอ 100 กรมั คารโ บไฮเดรต 95 กรมั ตอ 100 กรมั แคลเซียม 80 มก. ตอ 100 กรัม ฟอสฟอรสั 43 มก. ตอ 100 กรัม เหล็ก 11. 4 มก. ตอ 10 กรมั วิตามนิ เอ 280 IU ตอ 100 กรัม วติ ามนิ บี3 1 มก. ตอ 100 กรัม 14

2.3 นำ้ ตาลโตนดสด น้ำตาลโตนดเปนน้ำหวานที่ไดจากชอดอกของตนตาลโตนด (BorassAs flabellifer Linn.) เปน พชื ตระกลู ปาลมที่สามารถขึ้นไดในเขตรอ นพบ โดยทั่วไปในประเทศอินเดยี ไทย พมา ศรลี ังกา และ เขมร ตนตาลโตนดสามารถพบไดหลายพื้นที่ในประเทศไทยจังหวัดที่มีตนตาลโตนดมาก เชนจังหวัด สงขลา นครศรีธรรมราช เพชรบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี ชัยนาท พิษณุโลก บุรีรัมย โดยจังหวัดที่มีตน ตาลโตนดมากที่สุด คือจังหวัดสงขลา มีตนตาลโตนดประมาณ 1,262,771 ตน ครอบคลุมพื้นที่ใน จังหวัดสงขลาจำนวน 6 อำเภอ ไดแก อำเภอสะทิงพระ อำเภอสิงหนคร อำเภอกระแสสินธุ อำเภอ ระโนด อำเภอควนเนยี ง และอำเภอรัตภมู ิ น้ำตาลโตนดสดสามารถนำมาแปรรปู ผลิตภณั ฑไดหลายชนิด เชน น้ำตาลโตนดเขมขน น้ำสมสายชูหมัก น้ำตาลโตนดพาสเจอรไรซ และน้ำตาลโตนดสเตอริไลซ เปน ตน (สภุ ารตั น, 2547) 2.3.1 ลกั ษณะทางสรรี วทิ ยาและนิเวศวทิ ยาของตาลโตนดสด ตาลโตนด เปน ไมวงศป าลมเชน เดียวกับมะพราว แตต าลโตนดมคี วามแข็งแรง ทนทาน และอายุยืนยาวกวามะพราวมากโดยมีอายุยืนยาวประมาณ 80-100 ป โตเต็มที่จะสูงประมาณ 2,700 เซนติเมตร (90 ฟุต) หรือมากกวามีเสนรอบวงโคนตนอยูระหวาง 60-120 เซนติเมตร (2-4 ฟุต) และมี ใบเปนรปู พัด (Fan leaf) ขนาดใหญแข็งและหนา โดยจะใหผ ลผลติ หลังจากปลูกแลว ประมาณ 10-15 ป ตาลโตนดขน้ึ ไดบนดินทุกชนิดทนทั้งความแหง แลงและน้ำทวมมีรากลึกมาก โดยรากของตาลโตนดไมแผ ออกดานขางจึงสามารถปลูกรวมกับพืชอื่นไดดตี าลโตนดทีข่ ึ้นอยูในบรเิ วณนาขาวก็ไมทำใหผลผลิตของ ขาวลดลง นอกจากนี้ยังชวยปองกันลมพายเุ ปนที่อยูอาศัยของนกและคางคาวซึ่งชวยควบคมุ แมลงและ ใหปุยแกช าวนาอีกดว ย ตาลโตนดท่ขี ึน้ อยโู ดยทั่วไปมีลกั ษณะและสวนประกอบดงั น้ี (ก) ราก รากเปนเสี้ยนกลมยาวเปนกระจุกคลายมะพราวแตหยั่งลึกลงไปในดินไดลึก มากไมแผไ ปตามผวิ ดินเหมอื นรากมะพราวจงึ ยึดกับดนิ ไดด โี อกาสท่ีจะโคน ลมหรือถอนรากเปนไปไดยาก จึงใชปลูกเพือ่ เปน หลักในการแบง เขตของคนั นาหรือเพือ่ เสริมความแข็งแรงใหก ับดินในบริเวณที่ทำการ ทดนำ้ เขา นา 15

(ข) ลำตน ตาลโตนดเปน พชื ลำตนเดีย่ วทมี่ ลี กั ษณะสงู ชะลูด ความสูงโดยทัว่ ไป ประมาณ 18-20 เมตร โตเต็มที่จะสูงประมาณ 25-27 เมตร (บางตนอาจสูงถึง 30 เมตร) ลำตนตรง หรือโคงเล็กนอย โคนตนอวบใหญวัดโดยรอบไดประมาณ 1 เมตร เมื่อมีความสูงประมาณ 4 เมตร ลำ ตน จะเรมิ่ เรียวลงวัดโดยรอบไดประมาณ 40 เซนติเมตร ระยะความสงู 10 เมตร นับจากพ้นื ดินลำตนจะ เริ่มขยายออกใหมวัดโดยรอบไดประมาณ 50 เซนติเมตร และคงขนาดนี้ไปจนถึงยอดเปลือกลำตน ขรุขระ และมีสีขี้เถาเปนวงซอนๆกันเปนเสี้ยนแข็งเหนียวไมหักงายสวนเนื้อไมภายนอกแข็งแรง และ คอยๆออ นเขาไปสูภายในลำตน (ค) ใบ มีลักษณะเปนรูปพัด (Fan leaf หรือ Palmate) ขนาดใหญแข็งและหนา โดย แตละใบจะมีใบยอยเรียกวา Segment ซึ่งจะแตกออกจากจุดๆเดียวกันที่ปลายกานใบ ยอดตาลแตละ ตนประกอบดวยใบตาลประมาณ 25-40 ใบ (แลวแตอายุตาล) ใบมีสีเขียวเขมเปนรูปพัดถาตาลตนใด ไมไดใชประโยชน ใบแกจะมีสีน้ำตาลออนหอยแนบลำตน ความกวางของใบวัดไดประมาณ 50-70 เซนตเิ มตร ใบแตละใบอายุไมเ กนิ 3 ปตาลโตนคตน หนง่ึ ๆสามารถใหใบตาลได 12-15 ใบตอ ปสว นท่ีเปน กานใบหรือทางตาลยาวประมาณ 1-2 เมตรทางตาลนี้จะหนาโคงตามความยาวรอบขอบ ทางตาลทั้ง สองขา งมีหนามแหลมสัน้ ขนาดไมสมำ่ เสมอกนั (ง) ดอก ออกดอกเปนชอ โดยดอกตัวผูและตัวเมียจะอยูแยกตนกัน ชอดอกของตน ผูเรียก“งวงตาล” แตกแขนงออกเปน 2-4 งวงตอขอ ยาวงวงละประมาณ 30-40 เซนติเมตร ในแตละ งวงมคี อกเลก็ ๆตน ตัวผูตนหน่งึ จะมชี อดอก 3-9 ชอ สว นชอดอกของตนตัวเมยี เรยี ก“ปลตี าล” ตน ตัวเมยี จะออกชอหลังตนตัวผูเล็กนอยมีประมาณ 10 ชอ ขนาดใหญและชุมน้ำหวานมากกวาในแตละชอจะมี ดอกนอยกวาดอกตัวผูโดยทั้งตนตัวผูและตนตัวเมียจะทยอยออกชอเรื่อยๆ สามารถเก็บรองน้ำตาลได ตลอดป (จ) ผล จะออกกับตนตัวเมยี เทา น้นั ระยะเวลาตั้งแตออกดอกจนถงึ เก็บผลออนใชเวลา ประมาณ 75-80 วนั โดยผลจะออกเวียนรอบตนตามกานใบ โดยในแตละกานใบจะออกหน่ึงปลีโดยแต ละปลีจะใหชอดอกประมาณสามชอ ในหนึ่งชอดอกใหผลหนึ่งทะลาย โดยในแตละทะลายมี 10-20 ผล ผลออนมีสีเขียวผลแกจัดมีสนี ้ำตาลเขมหรือสีดำเปนมัน เนื้อภายในเปนเสนใยละเอียด เมื่อสุกเต็มที่จะ ประกอบดวยแปงและน้ำตาล มีสีเหลืองแกและมีกลิ่นหอมนิยมนำไปใชทำขนมตาล และใชแตงสีขนม ตางๆ โดยทั่วไปในแตละผลจะประกอบดวยเมล็ดตาลสามเมล็ดอยูภายในผลเมล็ดมีลักษณะแบนๆ ยาว ประมาณ 4 น้วิ และหนาประมาณ 1. 5 น้ิว 16

2.3.2 องคป ระกอบของนำ้ ตาลโตนดสด ตารางที่ 1 แสดงผลการวเิ คราะหค ุณภาพน้ำตาลโตนดสด สว นประกอบ ตน ตาลโตนดสด* ตน ตาลโตนดสด** คา pH 5.09 5.76 คา ของแขง็ ทงั้ หมดทล่ี ะลายได (°Brix ) 13.80 11.20 คานำ้ ตาลทง้ั หมด (%) 12.34 10.91 คา ความเปนกรดท้งั หมด (%) 0.036 0.032 ท่ีมา : * เรณกุ า (2545) ** สุภารตั น (2547) เพม่ิ เติม :* นำไมพยอมมาใสในภาชนะที่เก็บน้ำตาลโตนดการวิเคราะหและทำหลังจากเก็บกลา ปาลมได 12 ช่วั โมง ** ไมคีรีถูกเพิ่มเขามาในภาชนะซึง่ เก็บจากตนปาลม ทำการวิเคราะหหลังจากเก็บน้ำนม ปาลมได 15 ชัว่ โมง กรมสงเสริมการเกษตร (2541) ในสุภารัตน (2547) รายงานวาน้ำตาลโตนดสดจะ ประกอบดวยปริมาณน้ำตาลทั้งหมด (น้ำตาลอินเวอรท) รอยละ 11. 54 น้ำตาลซูโครสรอยละ 13-17 น้ำตาลกลูโคสรอยละ 0.78 โปรตีนรอยละ 0.02 - 0.03 คาพีเอชประมาณ 4.69 ปริมาณกรดทั้งหมด เทากับรอยละ 0.098 และคาปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมดเทากับ 13.93 บริกซจาก ตารางท่ี 1 แสดงผลการวิเคราะหคุณภาพน้ำตาลโตนดสด จากนักวิจัยหลายทานเปรียบเทียบกันพบวาระยะเวลา ระหวางรองรับน้ำตาลโตนดที่ตนจะสงผลถึงคุณภาพน้ำตาลโตนดสด โดยเมื่อใชระยะเวลารองรับจนถงึ ระยะเวลากอนถึงการวิเคราะหนานจะมีผลใหคาพีเอชของน้ำตาลโตนดสดเริ่มลดลงและสอดคลองกับ ปริมาณกรดทั้งหมดที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเกิดจากจุลินทรียพวกแลกติกแบคทีเรียที่มีปริมาณมากขึ้นและใช นำ้ ตาลเปน อาหารผลติ กรดแลกตกิ เพ่มิ มากข้ึนน่นั เอง 17

2.4 นำ้ ออ ยสด 2.4.1 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข องออย (สมชยั , 2548) ออยจัดเปนพืชในตระกูลหญามีชื่อทางวิทยาศาสตรวา Saccharurn officinarum L. ลักษณะภายนอกประกอบดวยลำตนที่มีขอและปองชัดเจนมีใบเกิดสลับขางกันและมีสวนกาบใบหุมลำ ตนไวโดยกาบใบและใบจะมีไขและขนอยูดวยออยทั่วไปแบงออกเปน 3 พวกใหญ ๆ ไดแก ออย อุตสาหกรรมออ ยเคย้ี วและออยค้นั นำ้ ลกั ษณะท่วั ไปของออยค้ันน้ำมีดังตอไปนี้ (สมชยั , 2548) 1. ลำตน ประกอบดว ยขอและปองจำนวนมากเรยี งตดิ กนั ขอหมายถงึ สว นท่ีอยูระหวาง รอยกาบถึงวงเจริญปลอง คอื สว นตั้งแตวงเจริญถึงรอยกาบที่อยเู หนือข้นึ ไป โดยทั่วไปมักจะเรียกสั้น ๆ วาปลองซึ่งหมายถึง ความยาวจากรอยกาบหนึ่งถึงรอยกาบอีกอันหนึง่ ของลำตน ประกอบไปดวยปลอง หลายปลองซ่งึ มคี วามยาวตา งกนั ลำคนประกอบดวยสว นตา ง ๆ ของปลอง ก) ตาเกดิ ทข่ี อ ในบรเิ วณเกิดรากปกตแิ ตละขอขอมีหนง่ึ ตาเกิดสลับกัน ข) บรเิ วณเกิดรากคอื สวนทอ่ี ยรู ะหวางรอยกาบและวงเจรญิ เปน ท่ีเกดิ ของปมุ ราก ค) ปุมรากเปน จดุ เลก็ ๆ ในบริเวณเกดิ รากรากเจริญออกมาจากปุมเหลา น้ี ง) วงเจริญหรอื วงแหวนลักษณะเปน วงแหวนเรยี บอยูเ หนือบรเิ วณเกดิ รากไมมี จ) รอยกาบเปนรอยท่เี กดิ ข้นึ หลงั จากกาบใบหลดุ แลว ฉ) วงไขคอื สว นท่อี ยูใ ตรอยกาบสวนนมี้ กั จะมีไขเกาะมากกวา สวนอ่นื ๆ ของลำตน ช) รอยแตกลายงาคือรอยที่ผวิ ของลำตน ทมี่ ักเกิดขึน้ ที่ใตบ ริเวณวงใน ซ) รอยแตกลกึ เปนรอยแตกขนาดใหญเกดิ ตามความยาวของลำตน เขาไปในเน้ือ ม) รอยตกสะเกด็ หมายถึงรอยแตกทผ่ี วิ ซ่งึ เกดิ เช่อื มตดิ กนั เปน แผน ญ) รอ งตาเปนรอ งท่เี กิดที่ปลอ งเหนอื ขอข้ึนไป 2. ใบประกอบดวยสวนสองสวนคือกาบใบและแผนใบกาบคือสวนที่หอหุมลำตน แผน ไบคอื สวนที่อยเู หนือแผนใบขนึ้ ไปท้ังสองสวนแยกออกมาจากกันทคี่ อบดา นในหรือสวนที่เกิดขึ้นล้ิน ใบนั้นเอง 3. ชอดอกในกรณที ีอ่ อยออกดอกเราอาจใชล กั ษณะชอออกในการจำแนกพนั ธุ 4. กลมุ ขนกลมุ ขนทอี่ าจใชจ ำแนกพนั ธสุ ว นใหญอ ยูท่กี าบใบและที่ตา 18

2.4.2 สวนประกอบของลำออย สวนประกอบของออยเมื่อไดทำการคัดยอดออยและใบออยแลวโดยทั่วๆ ไปมี สว นประกอบดังตอ ไปนี้คอื นำ้ 73-76%, เยอ่ื 11-16% และของแข็งท่ลี ายนำ้ ได 10-16% เมื่อพิจารณาเฉพาะสวนของแข็งที่ละลายน้ำไดโดยเทียบเปนรอยละจะไดวาสวนประกอบตางๆ มี ดังนค้ี ือ (สมชยั , 2548) น้ำตาลซูโครส 70-80% น้ำตาลกลูโครส 2-4% น้ำตาลฟรกุ โตรส 2-4% เกลอื ของกรดอนนิ ทรยี  1.5 - 4.5% เกลอื ของกรดอนิ ทรีย 1.0 - 3.0% Carboxylic acids 1.1- 3.0% Amino acids 0.5 - 0.6% โปรตีน 0.5- 0.6% แปง 0.001 - 0.050% Gums 0.3 - 0.6% Wax, Fats, Phosphatides 0.05 - 0.15% Unidentified non-Sugars 3.0 - 5.0% 19

2.5 สบั ปะรด สับปะรดมีชื่อวิทยาศาสตรวา Ananas commosus (L.) Mer. อยูในวงศ Bromeliaceae มี ถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใตสามารถเจริญเติบโตไดดีในเขตรอ น เนื่องจากสับปะรดเปนพืชทีไ่ มสามารถ ทนทานตออุณหภูมิต่ำจนถึงจดุ นำ้ คางแข็งได ดังนั้นพื้นที่ท่ีมีสภาพแวดลอมเหมาะสมตอการปลูกจงึ มกั เปนบริเวณใกลชายทะเล ซึ่งจะมีระดับอุณหภูมิและความชื้นไมแปรปรวนมากนัก คือไมรอนจัดหรือ หนาวจดั (Barthomew and Kadaimin, 1977) สบั ปะรดเปน ผลไมป ระเภท Non-climacteric มอี ัตรา การหายใจต่ำมากในระยะเก็บเกี่ยวซึ่งไมสามารถนำมาบมใหสุกได จึงเปนสาเหตุใหเกิดปญหาดาน คุณภาพของสับปะรด ท้งั น้ีเนื่องจากสบั ปะรดในแปลงจะสุกไมพรอมกันแตจะทยอยกันสกุ ทำใหตองทำ การเก็บเกี่ยว 3-4 ครง้ั จงึ จะหมดแปลง (จารุพันธ,ุ 2526) เมอ่ื ผลสบั ปะรดเจริญเติบโตถงึ ระยะเก็บเก่ียว สีของเปลอื กสบั ปะรดจะเปลีย่ นจากสีเขียวเปน สเี หลือง และเนือ้ สับปะรดจะเปลี่ยนจากสขี าว เปน สีเหลือง โดยเนื้อภายในผลอาจสุกไปแลวมากกวารอยละ 50 (จินดารัฐ, 2541) การเก็บเกี่ยวเพื่อ รับประทานผลสดในประเทศจะเก็บเก่ียวเมื่อสับปะรดมีตาสีเหลืองรอยละ 90 สวนการเก็บเกี่ยว สบั ปะรดเพ่อื สง ตลาดตางประเทศ ควรเก็บเม่อื สบั ปะรดทจี่ ะมีตาสีเขียวทุกตาหรือมตี าสเี หลืองไดไมเกิน รอยละ 20 (สำหรับการสงออกทางเรือ) ทั้งนี้เพราะสับปะรดที่สุกเกินไปจะเก็บในอุณหภูมิต่ำไดไมนาน เนื่องจากจะเกิดอาการผิดปกติทางสรีระเชนการเกิดอาการไสสีน้ำตาล ซึ่งทำใหคุณภาพในการบริโภค ลดลงถา เกิดอาการรนุ แรงมากจะไมสามารถรับประทานไดแตใ นกรณีท่ีสงออกทางเครื่องบินสามารถเก็บ เก่ียวเม่ือผลสกุ แกรอ ยละ 50 (จารพุ ันธ,ุ 2526) 2.5.1 สบั ปะรดพนั ธปุ ต ตาเวีย เปน สบั ปะรดในกลุม Cayenne หรือ Smooth Cayenne ไดร บั ความนิยมปลกู มาก ที่สุดในประเทศไทยแหลงปลูกที่สำคัญในปจจุบันคือ ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี ชลบุรี และลำปาง สับปะรดพนั ธุปต ตาเวยี มีลักษณะสำคัญคือ ขอบใบเรียบ มีหนามเล็กนอยบริเวณปลายใบผลมีขนาดและ รูปรางแตกตางกันหนักประมาณ 2.3-3.6 กิโลกรัม หากผลมีขนาดใหญมากจะมีรูปทรงใหญปลายเรียว แบบกรวยหากผลมขี นาดเลก็ มกั เปนทรงกลมหรือปอมหรือทรงกระบอกเปลือกผลเมอื่ ดบิ จะมสี เี ขียวเขม เมื่อแกจัดจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองอมสมประมาณครึ่งผลดานลางเนื้อมีสีเหลืองออน แตจะเปลี่ยนเปนสี เขมในฤดูรอน ตาตื้น เยื่อใยปานกลาง เนื้อนุมฉ่ำ น้ำรสชาติดี โดยเฉลี่ยมีปริมาณกรดที่ไทเทรตรอยละ 20

0.3- 0.7 และปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมดรอยละ 12-16 นิยมปลูกไวเพื่อบริโภคสดและเปน วัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมสบั ปะรดกระปอง (จารุพนั ธ,ุ 2526) 2.5.2 องคป ระกอบทางเคมขี องสับปะรด สับปะรดเมื่อแกจะมีรสหวานอมเปรีย้ ว ผลสับปะรดสดประกอบดวยน้ำรอยละ 80-85 สารอาหารหลักที่พบในสับปะรดคือ คารโบไฮเดรตซึ่งเปนน้ำตาลรอยละ 12-15 ประกอบดวย น้ำตาลซูโคร น้ำตาลกลูโคส และน้ำตาลฟรุกโตส (จารุพันธุ, 2526) มีแปงเปนสวนประกอบนอยกวา 0.002 ของน้ำหนัก นอกจากนั้นผลสับปะรดยังมีปริมาณโปรตีนรอยละ 0.4 และไขมันรอยละ 0.1 สำหรับกรดอนิ ทรยี มีปรมิ าณรอ ยละ 0.6 โดยกรดอนิ ทรียท ีส่ ำคญั ในสบั ปะรดมีอยู 2 ชนดิ คือ กรดซิตริก และกรดมาลิก (จารุพันธุ, 2526) องคประกอบทางเคมีของสับปะรดจะขึ้นอยูกับชวง ระยะเวลาการสกุ และสภาพแวดลอ มขณะปลกู เชน การบำรุงดแู ลรกั ษา (จารพุ นั ธุ, 2526) 2.6 ไข (Eggs) ไขมีความสำคัญตอการประกอบและแปรรูปอาหารมากเพราะนอกจากไขจะมีคุณคาทาง โภชนาการสูงราคาถูกและสามารถประกอบอาหารไดมากมายหลายชนิดแลวไขยังสามารถทำหนาท่ี ตา งๆในการประกอบและแปรรปู อาหารไดอีกดวยซ่งึ ไดแก 1. เปนโครงสรางใหแกอาหารเชน ในเคก ตา งๆ 2. ชว ยในการกกั เกบ็ ฟองอากาศ เชน ในเมอแรงค 3. เปนตัวชวยใหอาหารขนเชนในไสพ าย 4. ทำใหเกดิ เจล เชน ในคัสตารด และสงั ขยา 5. ชวยยดึ เครอื่ งปรุงตางๆใหต ดิ กันเชนในขนมปงหนาตา งๆและเนื้อกอ น 6. ไขแ ดงชว ยใหไขมันรวมตวั กับเคร่ืองปรงุ ที่เปน น้ำและเคร่ืองปรุงอ่นื เชนในการทำน้ำ สลดั อยางขน ไขจัดอยใู นอาหารประเภทโปรตีนสูงไข 1 ฟองใหโ ปรตีนประมาณ 7 กรมั โปรตีนในไขเปน โปรตีนที่สมบูรณมีกรดอะมิโนครบทุกชนิดตามที่รางกายตองการในปริมาณสูงรางกาย สามารถนำ โปรตีนจากไข ไปใชไดทั้งหมดนอกจากไขจะมีโปรตีนแลวยังมีเกลือแรตางๆที่สำคัญมากมาย เชนเหล็ก วติ ามนิ ดี และบีสองการทำฝอยทองจะใชเปลือกไขฟอกนำ้ เชื่อมใหใส โดยอาศยั คณุ สมบตั กิ ารจับตัวเปน กอนของโปรตีนในไขขาว ที่ติดอยูกับเปลือก เมื่อไขขาวจับตัวเปนกอนก็จะนำเอาสิ่งแขวนลอยอื่นๆติด ไปดวยทำใหน ้ำเชือ่ มใสขึ้นการฟอกน้ำเชือ่ มจะใชเปลือกไขประมาณ 5 ฟองตอน้ำตาลทราย 1 กิโลกรัม 21

สวนไขขาวที่นำมาทำฝอยทองนั้นเปนไขขาวใสชั้นนอก โดยทั่วไปมักเรียกไขขาวใสชั้นนอกวาไขน้ำคาง หรอื นำ้ คา งไขห รือนำ้ เล้ยี งไขซ ่ึงมีจดุ ประสงคในการเติมลงไปในฝอยทองเพื่อเพิ่มความเหนยี วและชวยให โรยเปนเสนไดงายแตการเติมไขน้ำคางในปริมาณที่มากเกินไปจะทำใหเสนฝอยทองแบน (ศิริลักษณ, 2533) 2.6.1 ปจ จยั ของไขท ม่ี ผี ลตอ คณุ ภาพของฝอยทอง 1. อายุไข ไขที่มอี ายุการเก็บมากจะมปี ริมาณของไขแดงไขน้ำคา งและปริมาณความช้ืน ในไขแดงมากไปดวยการเพิ่มของปริมาณไขน้ำคาง เนื่องมาจากเมื่อเก็บไขไวนานโอโวมิวซินจะมีการ สลายตัวทำใหไขขาวขนมีลักษณะเหลวและมีผลทำใหน้ำในไขขาวเขาไปในไขแดงไดมากขึ้น ทำให ฝอยทองที่ไดมีความชื้นสูงขึ้นดวยผิวของฝอยทองจึงมีความเรียบมากขึ้นแสงจะสะทอนไปในทิศทาง เดียวกันมากขึ้น ทำใหฝอยทองมีลักษณะเปนเงามันนอกจากนี้ไขที่มีอายุการเก็บนานขึ้น ยังมีผลทำให ฝอยทองที่ไดมีความเหนียวลดลงเนื่องจากเมื่อเก็บไขไวน านปริมาณน้ำที่ซึมเขาไปในไขแดงก็เพิ่มขึ้นจึง เปนการเจือจางโปรตีนที่มีในไขแดงและอาจเปนผลมาจากโอโวบูมิซึ่งเปนโปรตีนที่จับตัวเปนกอน เม่ือ ไดรับความรอนนั้นเปลี่ยนไปเปนเอส-โอโวบูมินซึ่งทนความรอนมากกวาโอโวบูมินทำใหการจับตัวเปน กอ นของโปรตนี เกิดขึ้นไดนอ ยกวา ไขที่ใหมกวา (ศิริลกั ษณ, 2533) 2. ความเขมขนของน้ำเชื่อม น้ำเชื่อมท่ีมีความเขมขน มากทำใหส ีและความเงามันของ ฝอยทองลดลงแตความเหนียวและความหวานเพิ่มขึ้นทั้งน้ี เนื่องจากน้ำเชื่อมที่มีความเขมขนมากจะมี อุณหภูมิจุดเดือดสูงโปรตีนจะจับตัวกันแนนและแข็งและมีน้ำเหลืออยูนอยการสะทอนแสงจะมีมากขน้ึ สีจึงจางลงและการตกผลึกของน้ำตาลที่เกิดขึ้นรอบๆเสนฝอยทองก็มากขึ้นดวย ทำใหปริมาณน้ำอิสระ ในเสนฝอยทองมีนอยลงซึ่งเปนผลทำใหความเขมขนของโปรตีนในเสนฝอยทองเพิ่มมากขึ้น ความ เหนียวจึงเพิ่มขึ้นอีกทั้งยังทำใหอุณหภูมิสูงขึ้นการจับตัวเปนกอนของโปรตีนเกิดขึ้นอยางรวดเร็วมีการ สญู เสยี นำ้ ออกมาเปนผลใหฝอยทองมลี ักษณะเหนียวแข็ง (ศิรลิ ักษณ, 2533) 3. อัตราสวนไขแดงของไขเปดตอไขแดงของไขไก การใชไขแดงของไขไกในอัตราสวน มากข้ึน มีผลทำใหฝอยทองมีความเหนียวนอยลงหรือนุมมากขึ้น เนื่องมาจากในไขแดงของไขไกมี ปริมาณโปรตีนนอยกวาโปรตีนของไขเปดและยังมีผลทำใหฝอยทองมีความเงามันเพิ่มขึ้นอีกดวย เนื่องจากในไขแดงของไขไกมีความชื้นสูงกวาไขแดงของไขเปดดังนั้นเมื่อใชไขแดงของไขไกมากขึ้น ฝอยทองจงึ มคี วามชนื้ สูงขึน้ ทำใหเ กิดความเงามนั ตอฝอยทอง 22

4. ปริมาณไขน้ำคาง ปริมาณของไขน้ำคางที่เพิ่มขึ้น จะทำใหฝอยทองมีความเหนียว และความเงามันเพม่ิ ข้ึนซึ่งจากการทดลองของศิรลิ ักษณ (2533) เพือ่ ศึกษาปจจยั ที่มีผลตอคุณภาพของ ฝอยทองพบวา ปริมาณไขนำ้ คา งท่เี หมาะสมคอื ประมาณรอ ยละ 18 ของนำ้ หนักไขแ ดง 5. ปริมาณน้ำมันพืช การใชน้ำมันพืชมากขึ้นทำใหฝอยทองมีความเหนียวลดลง เนื่องจากน้ำมันไปเคลือบสายของโปรตีน ซึ่งเปนการขัดขวางการจับตัวกันของโปรตีนแตความมันเงา ของฝอยทองจะเพิ่มขึ้นเปนผลใหผิวขรุขระแสงจะสะทอนในลักษณะกระจายไปทุกทิศทาง ทำใหความ เงามนั ลดลงสว นความเหนยี วนุม 2.6.3 คุณภาพของไข (Quality of Eggs) คุณภาพของไขจะเส่ือมลงตามเวลาที่เกบ็ แตจ ะเสื่อมเร็วหรือชาขึ้นอยูกับองคประกอบ หลายอยา งโดยเฉพาะอยา งยงิ่ คือการเก็บรักษาดงั รายละเอยี ดตอไปนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงของไขระหวางการเกบ็ รักษาไขจะมีการเปล่ยี นแปลงตางๆดังน้ี 1.1 ขนาดของโพรงอากาศใหญขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากเมื่อไขออกมาจากไกอุณหภูมิ ภายในไขจะเริ่มลดลง ทำใหของเหลวภายในไขหดตัวลง ทำใหเกิดโพรงอากาศตรงดานปานของไขย่ิง เก็บไขไวนานเทาใดน้ำก็ยิ่งระเหยออกจากไขมากขึ้น ทำใหโพรงอากาศขยายใหญขึ้นจากเมื่อความ เขมขนของน้ำเชื่อมสูงจะสามารถดึงน้ำอิสระที่มีอยูในฝอยทองออกมาไดมากกวา เปน เหตุใหไขราคาตก ในแงการคาแตไมมผี ลเสียหายตอการบรโิ ภคมากนักยกเวนการเสียนำ้ หนัก และปริมาตรไปบางการเก็บ ไขไ วใ นท่ีที่มคี วามช้ืนสงู คือประมาณรอยละ 70-80 จะชวยลดอัตราการขยายตัวของโพรงอากาศได 1.2 ไขขาวขนเหลวลงเนื่องจากในไขขาวมีโพรทิโอไลติคเอนไซม (Proteolytic Enzymes) ซ่งึ ทำการยอ ยไขขาวอยูต ลอดระยะเวลาทเ่ี กบ็ ไขไว 1.3 ไขแดงใหญขึ้น เนื่องจากไขแดงมีความเขมขนมากกวาไขขาวน้ำในไขขาวจึง เคลื่อนเขาสูไขแดงดวยแรงดันออสโมติค (Osmotic Pressure) ทำใหไขแดงขยายใหญขึ้นคือถาเก็บไว ถึง 5 วันที่อุณหภูมิ30 องศาเซลเซียส น้ำในไขแดงจะเพิ่มขึ้นรอยละ 45-50 ทำใหไขแดงเหลวขึ้นเปน เหตใุ หเ ย่ือหุม ไขแ ดงลดความเหนียวลงสายยึดไขแดงกล็ ดแรงยึดลงทำใหไขแดงไมส ามารถทรงตัวอยูตรง กลางไดเ ม่ือตอยไขแดงออกไขแดงจะแบนราบและอาจแตกไดง าย 1.4 ไขมีความเปน ดางเพ่มิ ขนึ้ ในระหวางการเก็บกา ซคารบ อนไดออกไซดจ ะระเหย ออกไปจากไขทำใหคา pH ของไขค อยๆเพม่ิ จาก 7. 9 เปน 9. 3 ใน 3 วนั แรกของการเก็บรักษาการเพ่ิม จะคอยๆ ลดลงหลงั จากน้ันสำหรับไขแดงคา pH เดมิ เทา กับ 6. 2 และจะเพ่ิมข้ึนเพียงเลก็ นอ ยเม่ือเกบ็ 23

ไขไ วเ ราสามารถลดอัตราการเพิ่มของคา pH ไดโ ดยการเก็บไขไ วในบรรยากาศทม่ี ีกาซคารบอนได- ออกไซดร อยละ 2. 5 1.5 กลิน่ และรสดอยลงระหวางการเก็บไขจะดูดกลน่ิ ของบรรยากาศท่ีเก็บไขเขาไป ตามรูของเปลือกนอกจากน้ันกลิน่ และรสจะเสื่อมลงตามเวลาทเี่ กบ็ โดยเฉพาะเมื่อใชไขปรงุ อาหารที่ไมได ใชเ ครือ่ งปรุงแตงกลิน่ และรสอาหารมากเชนไขลวกหรือไขตม 1.6 จุลินทรียเพิ่มขึ้น เมื่อไขออกจากไกเปดหรือสัตวอ ื่นๆปกติจะปราศจากเชื้อโรค แตเมื่อไขออกมาสูบรรยากาศที่ไมบริสุทธโดยเฉพาะถาไขเปอนดวยสิ่งสกปรกตางๆเชนมลู สัตวการเช็ด หรือลา งไขแ มด วยสารทำลายจุลินทรยี ก็ไมสามารถขจัดจลุ ินทรยี ไดหมดจลุ ินทรยี จ ะแทรกซึมเขาไปตาม รเู ปลอื กไขแ ละทำใหไขเสียไดถ าทิง้ ไวเปนเวลานาน 2.7 ขนมฝอยทอง ในประวัติศาสตรมีหลักฐานซ่ึงสะทอนใหเห็นถึงการเจริญสัมพันธไมตรีกับตา งชาติ โดยมีขนม เปนผลพวงของการติดตอกับตางประเทศดวย ดังตัวอยางในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชถือไดวา เปนยุคทองของการทำขนมไทย (วีรชัย, 2550) มีบันทึกจดหมายเหตุของฝรั่งโบราณวามีหญิงชาว โปรตุเกส ชื่อ เมรี กีมาร เปนลูกครึ่งญี่ปุนผสมแขกเบงกอล เกิดในกรุงศรีอยุธยามารีกีมาร แตงงานกับ คอนสแตนตินฟอลคอล ชาวกรีกที่เขามารับราชการในแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราชจนเปนท่ี โปรดปรานและ ไดรับการแตงตั้งเปนอัครมหาเสนาบดีฟอลคอน และตอมาไดรับพระราชทาน บรรดาศักดิ์เปนเจาพระยาวิชาเยนทรสวน มารี กีมารนอกจากไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปนทาน ผูหญิงวิชาเยนทรแลว ยังไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปน “ทาวทองกีบมา” และทำงานเปนหัวหนา หองเครือ่ งตน มีหนา ทที่ ำขนม และประดิษฐคิดคนขนมประเภทตางๆขนมหวานที่ทาวทองกีบมานำเขา มาสอนชาววัง คือขนมที่มีไขเปนสวนผสมหลัก ไดแก ขนมหมอแกงขนมทองหยิบทองหยอดและขนม ฝอยทองเปนตนซึ่งขนมทั้งหมดที่กลาวมาขางตนลวนแลวแตเปนขนมไทยโบราณที่คนไทยรูจัก (วีรชัย, 2550) ฝอยทองน้นั มกี ารบนั ทกึ ไวว า เปนขนมที่มีตนกำเนิดมาต้ังแตสมยั สมเดจ็ พระนารายณมหาราช โดยเฉพาะเมื่อชาวโปรตุเกสอยางทานผูหญิงวิชาเยนทรหรือบรรดาศักดิ์วา ทาวทองกลีบมา ผูเปนตน เครื่องขนมหรือของหวานในวังไดสอนใหชาววังทำของหวานตางๆที่มักมีการนำไขมาเปนสวนผสม โดยเฉพาะขนมฝอยทองซง่ึ เปนขนมที่ยังไดรบั ความนิยมมาจนถึงปจ จบุ ันเนือ่ งจากรสชาติทอ่ี รอยและชื่อ 24

ที่มีความเปนสิริมงคลจึงทำใหงานมงคลตางๆ เชน งานแตงงาน งานขึ้นบานใหม ฯลฯ นิยมมีขนม ฝอยทองเพื่อถวายใหกับพระและแขกที่มารวมงานไดรับประทานเพื่อความเปนสิริมงคล โดยขนม ฝอยทองจะมีสวนผสมที่มีไขแดงเปนสวนผสมหลักแลวนำไขไปโรยบนน้ำเชื่อมก็จะไดเปนเสนฝอยทอง (วีรชยั , 2550) จนกระทั่งมาถึงสมัยรัตนโกสินทรเมื่อมีงานพระราชพิธีสมโภชนพระพุทธมณีรัตนมหา ปฏมิ ากรพระแกวมรกตและฉลองวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม ซง่ึ สมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช ทรงพระราชศรัทธาใหจัดขึ้น พระราชพิธีน้ันในจดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวีพระ เจา นอ งยาเธอในรัชกาลท่ี 1 กลาววา นมิ นตพระสงฆฉันอาหารวนั ละ 2,000 รปู มกี ารต้งั สำรับคาวหวาน สำหรับเครื่องตนสำรับหวานประกอบดวย ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมไสไก ขนมฝอย ขนม เหนยี วแกว ขนมผงิ สังขยา และขนมอน่ื ๆอีกมาก (วีรชยั , 2550) 2.7.1 ธรุ กจิ ขนมไทยและขนมฝอยทอง จากการสำรวจตลาดของขนมฝอยทองที่มีจำหนายในประเทศไทยปจจบุ ันมี 2 รปู แบบ ใหญๆคือขนมฝอยทองที่ยังในน้ำเชื่อมและขนมฝอยทองแบบแหงที่เรียกวาขนมฝอยทองกรอบซึ่งทั้ง 2 รูปแบบจะใชไขแดงเปนสวนผสมหลักสำหรับไขขาวที่เหลือใชก็สามารถนำมาพัฒนา เปนขนมที่มี ลักษณะคลายฝอยทองในอีกรูปแบบหนึ่งเรียกวาฝอยเงินการผลิตขนมฝอยทองในเชิงอุตสาหกรรม พบวา มกี ารผลติ โดยการใชเครื่องโรยจึงเหมาะสำหรบั การผลติ ในปริมาณมากในเชงิ ธุรกจิ ขนมไทยมีการ พัฒนารูปแบบหลากหลายมากขึ้นในปจจุบันทั้งตัวขนมเองหรือแมแตบรรจุภัณฑ เพื่อเพิ่มกลยุทธทาง การตลาดนอกจากนี้กลิ่นและสีจากธรรมชาติยังถูกสรางเปนจุดแข็ง เพื่อนำมาใชประชาสัมพันธตัว ผลิตภัณฑแตในขณะเดียวกันอุปสรรคในการพัฒนารูปแบบธุรกิจของขนมไทยใหมีความนาสนใจก็ยังมี อยูบาง ไมวาจะเปนการติดอยูกับภาพลักษณเดิมๆที่บานเราอนุรักษโดยไมมีเปลี่ยนแปลงเกิดขอดีก็คือ เราสามารถดึงขนมทเี่ ผยแพรจ ากชาวตางชาติเก็บเอาไวไดทง้ั หมดทำใหประเทศไทยคือแหลงท่ีมีขนมมา รวมตัวกันมากที่สุดในโลก แตในขณะเดียวกันอุปสรรคก็คือการตีกรอบกระบวนการความคิดขาดการ พัฒนารูปแบบใหแปลกใหมและทันสมัยในอนาคตตลาดสงออกขนมไทยนาจะเจริญเติบโตไดดีแตสิ่งที่ ตองการคือ สวนของผูเชี่ยวชาญในการใหคำปรึกษาดานหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice, GMP) ซึ่งหากมองในภาพรวมแลว อุตสาหกรรมขนมไทยสามารถดงึ เงนิ ตราเขาประเทศไดอ กี มากมาย (สุปรียา, 2550) 25

2.7.2 คุณคาทางโภชนาการ ฝอยทองมีคุณคาในสารอาหารหลักๆ อยางคารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมันแลวยังมีแร ธาตุและวิตามนิ ที่สำคัญตอ รางกายรวมอกี ดวย อาทเิ ชน แคลเซียม ฟอสฟอรสั เหล็ก วิตามินเอ เรตนิ อล แคโรทนี เปน ตน ซงึ่ คุณคา อาหารรวมหมูแ บบนจ้ี ะหาไมไดในผลิตภณั ฑเ สรมิ อาหาร ตารางที่ 2 คุณคา ทางโภชนาการของฝอยทอง 100 กรัม พลังงาน 433 กโิ ลแคลอร่ี น้ำ 21.1 กรมั โปรตนี 12.8 กรมั ไขมัน 24.3 กรัม คารโบไฮเดรต 40.8 กรัม ทีม่ า : พรทิพย (2552) ขนมไทยหลายชนิดก็มีปญหาทางโภชนาการที่เปนอุปสรรคสําคัญคือ การมีน้ำตาลเปน องคประกอบในปริมาณสูง ทําใหเกิดผลเสียเชิงสุขภาพตอผูบริโภค เนื่องจากการบริโภค น้ำตาลใน ปริมาณมากมีสวนสําคัญที่ทําใหเกิดโรคเบาหวาน อาการของเบาหวานตอบสนองโดยตรง ตอปริมาณ น้ำตาลท่ีบริโภคเขา ไป นอกจากน้ี โรคอวน โรคความดันโลหติ สูง โรคหวั ใจ และ โรคฟน ผุ กย็ งั มกี ารระบุ วาเกยี่ วพันกนั กบั ปริมาณการบริโภคน้ำตาลท่ีมากข้ึน ซึ่งแสดงใหถ งึ ความสมั พันธ กนั ของปญหาสุขภาพ ทีผ่ บู ริโภคเผชญิ อยูก ับอันตรายของน้ำตาลทเี่ กดิ จากการบริโภค นำ้ ตาลใน ปรมิ าณมากเกนิ ไป 2.8 เอกสารท่ีเก่ียวของ ณฏั ฐจริ ัชยา (2549) เนอ่ื งจากองคความรูพน้ื ฐานเกย่ี วกบั ปจจัยในการผลติ และการเก็บรักษา น้ำตาลมะพราวยังมีอยูนอยมากจึงไดทำการศึกษาผลของ pH (4.0 5.5 7.0 และ 8.5) และวิธีการให ความรอนในการเกยี่ ว (การใหค วามรอ นแบบเร็วดว ยกระทะไฟฟาและการใหความรอนแบบชาดวยหมอ สองชั้น) ตอคุณภาพของน้ำตาลมะพราวโดยนำน้ำตาลสดมาปรับพีเอชเคี่ยวดวยความรอน และทำการ วิเคราะหน้ำตาลมะพราวเค่ียวที่ไดพบวาการปรับ pH 4.0 ใหน้ำตาลที่มีความเขมของสีนอยที่สุด มีลักษณะเหลวหนืด มีคาความแข็งนอยที่สุด การปรับ pH 8.5 ใหน้ำตาลที่มีความเขมของสีมากที่สุด น้ำตาลมีลักษณะแข็งตัว วิธีการใหความรอนแบบชาใชเวลาในการเคี่ยวนานกวาจึงไดน้ำตาลที่มีความ เขมของสีและกลิ่นมากกวาวิธีการใหความรอนแบบเร็วน้ำตาลมะพราวเคี่ยวทั้งแบบเร็วและแบบชา 26

มีความช้นื ประมาณรอยละ 8-13 นำ้ ตาลเค่ยี วจากน้ำตาลสด pH 4.0 มปี รมิ าณกรดทั้งหมดและสดั สวน ของน้ำตาลอินเวอรท (กลูโคสและฟรุคโตส) มากท่สี ุด สุภารัตน (2547) การศึกษาผลของการใชความดันสูงและความรอนตอคุณภาพของน้ำตาล โตนด โดยใชความรอนระดับพาสเจอรไรสที่อุณหภูมิ 70 80 90 และ 10 องศาเซลเซียส นาน 10 15 และ 20 นาทีความรอนระดับสเตอริไลสที่อุณหภูมิ 114 องศาเซลเซียส นาน 25 นาทแี ละความดันสูงท่ี ระดับ 20 400 400 และ 30 เมกกะปาสคาล นาน 15 และ 30 นาที พบวาการใชความรอนระดับพาส เจอรไ รสมีผลใหน ้ำตาลโตนดมสี ีน้ำตาลปนเหลืองและขนุ มากขน้ึ ปริมาณของแข็งที่ละลายไดท้ังหมดและ ปริมาณน้ำตาลทั้งหมด การใชความรอนระดับพาสเจอรไรสมีผลทำใหสารประกอบที่ระเหยไดซึ่งเปน ลกั ษณะเฉพาะของนำ้ ตาลโตนดลดลง เมือ่ เก็บรกั ษาที่อณุ หภูมิ 4 องศาเซลเซยี ส นาน 5 สปั ดาห นำ้ ตาล โตนดมลี ักษณะใสข้นึ คาพเี อชปรมิ าณน้ำตาลทั้งหมดความจำเพาะสัมพัทธของเอนไซมโ พลเี มอออกซิเคส และเอนไซมเปอรออกซิเคส กิจกรรมของเอนไซมอินเวอรเทสและสารประกอบที่ระเหยไดมีคาลดลง (pH 0.05) สวนปริมาณกรดทั้งหมดปริมาณน้ำตาลรีดิวซและจำนวนจุลินทรียทั้งหมดมีคาเพิ่มขึ้น (P<0.05) การใชความรอนระดับสเตอริไลสทำใหน้ำตาลโตนดมีสีเหลืองปนน้ำตาลและขุนมากขึ้น ปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมดและปริมาณน้ำตาลทั้งหมดมีคาเพิ่มขึ้น (P<0.05) สวนปริมาณ น้ำตาลรีดิวซปริมาณสารประกอบที่ระเหยไดมีคาลดลงจากน้ำตาลโตนดสด (P<0.05) คุณภาพของ น้ำตาลโตนดสเตอริไลสไมม ีการเปล่ียนแปลงเมื่อผานการเกบ็ รักษาท่ีอุณหภูมหิ องนาน 6 เดือนสวนการ ใชความดันสูงตอคุณภาพของน้ำตาลโตนด พบวาน้ำตาลโตนดผานความดันสูงมีคุณภาพใกลเคียงกับ น้ำตาลโตนดสดและการใชความดันสูงสามารถยับย้ังกิจกรรมของเอนไซมล ดจำนวนจุลินทรียและรักษา ชนิดและปรมิ าณของสารประกอบท่ีระเหยได นวพร และคณะ (2551) การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณลักษณะทางกายภาพของ ผลติ ภัณฑฝอยทองในดา นรสหวานความนมุ เหนยี วสีโดยเลอื กผลิตภัณฑฝ อยทองแบบเจาะจง 4 ตัวอยาง จากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ 15 คนโดยเลือกตัวอยางที่ผูเชี่ยวชาญที่เลือกซ้ำกันอยางนอย 8 คนแลว ทดสอบความหวานของผลิตภัณฑดวยเครื่องรีแฟรกโทมิเตอร ทดสอบความนุมเหนียวดวยเครื่องเน้ือ สัมผัส (Texture Analyzer) และทดสอบสีดวยเครื่องวัดสี (Hunter Lab Color fler) ประเมิน ผลิตภัณฑโดยผูเชี่ยวชาญดวยการทดสอบประสาทสัมผัส ในดานรสชาติความนุมเหนียวสีกลิ่นและ ลักษณะโดยรวมทางกายภาพจากการประเมินและการทดสอบ พบวาคุณลักษณะทางกายภาพ ผลติ ภัณฑฝอยทองท่ีมีคณุ ภาพคือขนาดเสนควรมีขนาดใกลเ คียงกันและแตละเสนมีความเรยี บสม่ำเสมอ 27

มีความหวานปานกลางมีปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมดประมาณ 30.2 องศาบริกซ ลักษณะเนื้อ สัมผสั นุมเหนยี วไมเละหรือเปอยยุยไมแข็งกระดางมีคาความนมุ เหนยี วทวี่ ัดไดประมาณ 248.98 กรัมตอ มิลลิเมตรมีสีท่ีดีตามธรรมชาติของไขแดงสามารถวัดคาของสีได L*67.48a* 18.85 * 67.41 มีกลิ่นหอม นำ้ เชอ่ื มไมมกี ลนิ่ คาวไข ณัฐรัตน (2555) ขนมอาลัวและฝอยทองเปนขนมไทยที่มีปริมาณน้ำตาลสูงซึ่งอาจสงผลเสีย เชิงโภชนาการตอ สขุ ภาพของผบู รโิ ภคไดง านวจิ ัยน้ีจึงมวี ตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษาผลของการใชสารใหความ หวานทดแทนนำ้ ตาลทราย ในขนมอาลัวและฝอยทองโดยเมือ่ ใชซ อรบ ิทอล มอลททอล ไอโซมอลท และ แมนนิทอล ทดแทนน้ำตาลทรายในขนมอาลวั ทีร่ ะดับรอยละ 25, 50, 75 และ 100 ปรับความหวานให คงเดิมดวยซูคราโลส พบวาการเติมสารใหความหวานสงผลตอสมบัติการใหความหนืดของสวนผสม แตกตางกันขึ้นกับชนิดและระดับการทดแทนของสารใหความหวานที่ระดับการทดแทน 25% ขนม อาลัวจะยังคงลักษณะเฉพาะตัวของสวนเปลือกและเนื้อ ในการเติมสารใหความหวานทดแทนน้ำตาล ทราย มแี นวโนมทำใหขนมอาลวั มปี ริมาณความชน้ื คา water activity (aw) และคา L * ของสว นเปลือก ลดลงแตค า L * สว นเนือ้ ในขนมและคา Hardness ของขนมมีคา เพ่มิ มากขึน้ สามารถเลือกใชซอรบิทอล และไอโซมอลททดแทนน้ำตาลทรายในระดับ 25% ไดโดยคะแนนความชอบรามของขนมอาลัวไมตาง จากสูตรควบคุมอยา งมนี ยั สำคญั ทางสถิติ (P<0. 05) 28

บทท่ี 3 อปุ กรณและวิธกี ารทดลอง 3.1 วัตถุดบิ อปุ กรณแ ละสารเคมี 3.1.1. วตั ถดุ ิบและสวนผสม 1. ไขไก 2. ไขเ ปด 3. น้ำตาลทรายขาว (ตรามิตรผล) 4. น้ำลอยดอกมะลิ 5. น้ำตาลมะพรา ว (ตลาดสมี่ มุ เมอื ง) 6. นำ้ ออยสด (ตลาดส่ีมมุ เมอื ง) 7. นำ้ ตาลโตนด (ตลาดสีม่ ุมเมือง) 8. สับปะรด (ตลาดส่มี มุ เมือง) 3.1.2. เครอ่ื งมอื และอุปกรณท่ใี ชใ นการผลิตฝอยทอง 1. กระทะทองเหลอื ง 2. กรวยโรยฝอยทอง 3. ไมแ หลม 4. ผา ขาวบาง 5. ถาดอะลูมิเนยี ม 6. เตาแกส 7. ตะแกรงพกั ฝอยทอง 8. กะละมงั 9. ถว ย 29

3.1.3 อุปกรณและเครื่องมอื ทใ่ี ชในการวิเคราะห 3.1.3.1 อปุ กรณในการวเิ คราะหกรด - ขวดปรับปรมิ าตร (Volumetric flask) - ขวดรูปชมพู (Erlenmayer flask) - บกี เกอร (Beaker) - ปเปต (Pipette) - บิวเรต (Buret) - กรวยกรอง (Glass funnel) - แทงแกวคนสาร (Rod) 3.1.3.2 สารเคมี - โซเดียมไฮดรอกไซด (Sodium hydroxide ; NaOH) ความเขมขน 0.1 N และผานการหาความเขมขน ท่ีแนน อน (Standardized) - ฟนอฟทาลีน อนิ ดิเคเตอร (Phenolpthalein Indicator) 3.1.3.3 อปุ กรณในการวเิ คราะหห าความช้นื - กระปอ งหาความช้ืน (Moisture can) - โถดูดความชนื้ (Desiccator) - ตอู บรมรอน (Hot air oven) - เครือ่ งชงั่ ทศนยิ ม 4 ตำแหนง - อางควบคมุ อณุ หภูมิ (Water Bath) 3.1.3.4 อปุ กรณในการวเิ คราะหป รมิ าณเถา (Ash content) - ถั่วกระเบอื้ งเคลอื บ (Crucible) - เตาเผาเถา (Muffle furnace) - โถดูดความช้นื (Descicator) - เครอื่ งช่งั (Analytical balance) - ตดู ดู ความชน้ื (Hood) - เตาใหความรอนแบบแผน (Hot plate) 30

3.1.3.5 อปุ กรณก ารวเิ คราะหป รมิ าณไขมนั ในอาหาร (Crude fat) - เครอ่ื งสกัดไขมนั (Soxhlet apparatus) - กระดาษกรองเบอร 42 - ทิมเบอรกระดาษ (Cellulose thimble) - ตูอบรมรอ น (Hot air oven) 3.1.3.6 สารเคมี - ปโตรเลยี มอเี ทอร จดุ เดอื ด 30-60 องศาเซลเซยี ส (Petroleum ether) 3.1.3.7 อุปกรณการวเิ คราะหป รมิ าณเสน ใย (Crudefiber) - กรวยกรอง (Buchner funnel) - ขวดกรองสญุ ญากาศ (Suction flask) ขนาด 500 มล. - บกี เกอร (Beaker) ขนาด 600 มล. 50 มล. และ 250 มล. - ตอู บลมรอ น (Hot air oven) - เตาเผาถาน (Muffle furnace) - ถวยกระเบอ้ื งเคลอื บ (Crucible) - อางควบคุมอุณหภมู ิ (Water bath) - กระดาษกรอง เบอร 4 - โถดูดความชน้ื (Desiccator) 3.1.3.8 สารเคมี - เอทลิ แอลกอฮอลเขม ขน รอ ยละ 95 (Ethyl alcohol) - กรดซัลฟูริคเขม ขน รอ ยละ 1.25 (Sulfuric acid ; H2SO4) - โซเดยี มไฮดรอกไซดเขม ขนรอยละ 1.25 (Sodium hydroxide ; NaOH) 3.1.3.9 อปุ กรณการวิเคราะหป ริมาณโปรตนี ในอาหาร (Crude Protein) - เครือ่ งยอ ยสารและเครื่องกลน่ั หาไนโตรเจน - ขวดสำหรับยอ ย - บิวเรตตข นาด 50 มลิ ลิลติ ร - เคร่ืองชงั่ ไฟฟา ละเอียด 4 ตำแหนง 31

3.1.3.10 สารเคมี - โซเดยี มไฮดรอกไซด (NaOH) - กรดบอริก (H3BO3) - โพแทสเซียมไฮโดรเจนพาธาเลด (potassium hydrogen phthalate) - เมทิลเรด (methyl red) - ฟน อลฟทาลีน (phenolphthalein) - เอทลิ แอลกอฮอล 95% (ethanol, C2H5OH ) - กรดซัลฟูรกิ เขมขน - กรดไฮโดรคลอริกเขมขน (HCI, เขม ขน รอยละ 37 หรอื 12 mol/L) - สารเรง ปฎกิ ริ ยิ า (catalyst: CuSO4 และ K2SO4 ) 32

3.2 วธิ ีการทดลอง พัฒนาผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำตาลผลไม 4 ชนิด คือ น้ำเชื่อมจากน้ำตาลทราย น้ำตาล มะพรา ว น้ำตาลโตนด น้ำตาลจากสบั ปะรด และนำ้ ออ ย โดยใชน ำ้ ตาลจากผลไมเปนสวนผสมในการทำ ฝอยทอง ทงั้ 5 ส่งิ ทดลอง แสดงดังตารางที่ 3 และข้ันตอนการผลติ ฝอยทองแสดงดงั ภาพที่ 1 ตารางที่ 3 แสดงอัตราสว นของสวนผสมในการผลติ ผลิตภณั ฑฝ อยทอง สวนผสม สิ่งทดลอง (กรมั ) 1 2 3 4 5 ไขแดงของไขเ ปด 375 375 375 375 375 ไขแดงของไขไ ก 275 275 275 275 275 น้ำ 600 - - - - นำ้ ตาลทราย 600 - - - - น้ำตาลมะพรา ว - 1200 - - - น้ำตาลโตนด - - 1200 - - นำ้ ออยสด - - - 1200 - สบั ปะรด - - - - 1200 คาปริมาณของแข็ง 50.00 15.20 14.40 12.00 11.30 ทัง้ หมดท่ีละลายได เริม่ ตน (๐Brix) คา ปรมิ าณของแข็ง 60 60 60 60 60 ทง้ั หมดทลี่ ะลายได ทตี่ องการ (๐Brix) ท่มี า : ดลุ ยพล (2550) หมายเหตุ : สวนผสม น้ำตาลทราย น้ำตาลมะพราว น้ำตาลโตนด น้ำออยสด สับปะรด นำมาวัดคา (Brix) เรมิ่ ตน เคย่ี วใหไ ดความหวานเทา น้ำตาลทราย แลวนำไปใชใ นการทำฝอยทอง 33

น้ำเชือ่ ม น้ำตาลมะพรา ว นำ้ ตาลโตนด นำนำ้ ตาลทราย นำน้ำตาลมะพราว นำนำ้ ตาลโตนดท และน้ำมาเคยี่ ว ท่ีไดจากตลาดส่มี มุ จากตลาดสี่มุมเมอื ใหไดคา ความ เมือง มาวัดคาความ มาวดั คา ความหว หวาน 60 °Brix หวานเริ่มตน ได เริม่ ตน ได 14.40 15.20 °Brix จากนน้ั °Brix จากนนั้ นำไ นำไปเคย่ี วจนใหไดค า เค่ียวจนใหไ ดค าค ความหวาน 60 °Brix หวาน 60 °Brix ตอกไข แยกไขข าวและไขแดงออกจากกัน ผสมน้ำคา งไข(น้ำไขข าวใสๆท่ตี ดิ กบั เ ใสไขแดงที่เตรียมไวลงในกรวยโรยฝอยทอง จากนั้นโรยวนในกระทะน้ำเชื่อม แลว พับเปนแพบนตะแกรงทีม่ ถี าดรบั น้ำเชือ่ มและจัดใสภาชนะทป่ี ดสนทิ เก็บไว ภาพท่ี 1 ข้นั ตอนการผลิตฝอยทอง ทมี่ า : ดลุ ยพล (2550)

น้ำออ ยสด สับปะรด ทีไ่ ด นำออยสดท่ีไดจาก นำสับปะรดท่ีไดจ ากตลาดส่มี ุม อง ตลาดสี่มุมเมืองมาคั้น เมืองมาค้นั แยกกากออกแลว นำน้ำสับปะรดไปวดั คา ความ าน และนำน้ำออยสดไปวดั 0 คา ความหวานเริม่ ตน หวานเริม่ ตน ได 11.30 °Brix ไป ได 12.00 °Brix จากนั้น จากนน้ั นำนำ้ สบั ปะรดท่ไี ดมา ความ นำมาเคีย่ วใหไ ดคา เคย่ี วใหไ ดคาความหวาน 60 ความหวาน 60 °Brix °Brix เปลอื กไข) ประมาณ 2 ชอ นโตะ ลงในไขแ ดง แลว กรองดว ยผา ขาวบาง มที่กำลังเดือด พอไขสุกใชไมปลายแหลมสอดใตเสนแลวยกขึ้นสายไปมาในน้ำเชื่อม วท่ีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส 34

3.3 การวิเคราะหคณุ สมบตั ิทางกายภาพ เคมี และประสาทสมั ผสั นำฝอยทองทั้ง 5 ส่งิ ทดลอง วเิ คราะหคุณสมบตั ทิ างกายภาพ เคมี และประสาทสัมผสั ดงั น้ี 3.3.1 การวิเคราะหค ณุ ภาพทางกายภาพ 1. วิเคราะหล กั ษณะปรากฏโดยใชป ระสาทสมั ผสั ทง้ั 5 2. วเิ คราะหคา สี (Lab) วเิ คราะหโ ดยการใช Color Meter (รนุ Color Flex) 3. วิเคราะหปริมาณของแขง็ ท่ีละลายไดในน้ำ (Brix) โดยการใช Portable Refractometer (รุน n3-Atago) 4. วเิ คราะหเน้อื สมั ผัส (Texture Analyzer) โดยใชเคร่ืองวเิ คราะหเ นอ้ื สัมผสั หวั เข็ม Spaghetti/ Noodle rig อัตราเรว็ ขณะวดั 3.0 mm/s 3.3.2 การวเิ คราะหคุณภาพทางเคมี 1. วิเคราะหปริมาณความชืน้ (อัญชลนิ ทร, 2549) 2. วเิ คราะหป ริมาณเถา (อญั ชลินทร, 2549) 3. วิเคราะหป รมิ าณไขมัน (อัญชลินทร, 2549) 4. วิเคราะหป ริมาณเสน ใย(crude fiber )ในอาหาร (อัญชลินทร, 2549) 5. วเิ คราะหป ริมาณโปรตีน (อญั ชลนิ ทร, 2549) 6. วเิ คราะหป ริมาณคารโ บไฮเดรต (A.O.A.C.,2000) 7. วเิ คราะหปริมาณแคลอรดี่ วยเคร่ือง Bomb calorimeter รนุ model 1261 3.4 การวิเคราะหผ ลทางสถิติ ทำการวเิ คราะหขอมูลทางสถิตจิ ากขอมลู การวิเคราะหคุณภาพทางเคมี โดยวิธีการวิเคราะห ความแปรปรวน (Analysisof Variance; ANOVA) ตามแผนการทดลองแบบสมุ สมบรู ณ Completely Randommized Design (CRD) และเปรยี บเทียบคาเฉลีย่ โดยวิธี Duncun’s New multiple (DMRT) 35

3.5 ประเมินการยอมรับทางประสาทสัมผสั ของผูทดสอบชิม วิเคราะหการยอมรับทางประสาทสัมผัสของผูทดสอบชิม จำนวน 50 คน วัดลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ และความชอบโดยรวม โดยใชแบบทดสอบชิม และวิเคราะหขอมูลทางสถิติของการ วิเคราะหทางประสาทสัมผัสโดยวิธีการวิเคราะหความแปรปรวนตามแผนการทดลองแบบสุมในบล็อก สมบูรณ 3.6 การวเิ คราะหผ ลทางสถิตขิ องการประเมนิ การยอมรบั ทางประสาทสัมผัส ทำการวิเคราะหขอมูลทางสถิติจากขอมูลการวิเคราะหคุณภาพทางประสาท โดยวิธีการ วิเคราะหความแปรปรวน (Analysisof Variance; ANOVA) ตามแผนการทดลองแบบ แผนการทดลอง แบบบลอ กสมุ สมบรู ณ (Randomized Complete Block Design, RCBD) และเปรียบเทยี บคา เฉลย่ี โดยวิธี Duncun’s New multiple (DMRT) 36

บทท่ี 4 ผลการทดลองและวจิ ารณผล 4.1 การวิเคราะหค ุณสมบัติทางกายภาพ (คาส)ี ของนำ้ เชอ่ื มจากนำ้ ตาลทรายและนำ้ ผลไม 4 ชนดิ 4.1.1การวเิ คราะหคุณสมบัติทางกายภาพของน้ำเช่ือมจากน้ำตาลทรายและน้ำเชอ่ื มจากผลไม การวิเคราะหคาสีของน้ำเชื่อมกอนเคี่ยวและหลังเคี่ยว เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางทั้ง 5 สิ่งทดลอง พบวามีความแตกตางทางสถิติ (P≤0.05) โดยคาสีกอนเคี่ยวและหลังเคี่ยว คา L* ของทั้ง 5 สิ่งทดลอง มีคาความสวางลดลง คา a* ของสิ่งทดลองที่ 1,3 มีคาสีแดง,สีเขียวลดลง เนื่องจากคาสีที่ลดลงมีการ เปลี่ยนแปลงจากการใหความรอนหลังเคี่ยว และสิ่งทดลองที่ 2, 4, 5 มีคาสีแดง, สีเขียวเพิ่มขึ้น และคา b* มคี าสีเหลือง,สนี ำ้ เงนิ ของท้ัง 5 สิ่งทดลอง มีคา สลี ดลง โดยผลแสดงดงั ตารางที่ 4 37

ตารางที่ 4 คณุ สมบัติทางกายภาพ (คา ส)ี ของนำ้ ผลไม (กอนเคย่ี ว-หลงั เคี่ยว) ค สิ่งทดลอง คา ส(ี กอ นเคย่ี ว) ของ L*1/ a*1/ b*1/ ละลา ๐Brix 1 6.42±0.50e 3.73±1.00c 1.42±4.04e 50 2 26.23±0.44b 5.29±1.11b 21.53±1.06c 15 3 25.28±0.42d 5.33±1.24a 22.5±1.12b 14 4 26.86±0.28a -2.60±0.66e 22.94±0.77a 12 5 26.15±0.17c -1.86±0.58d 16.27±2.03d 11 CV.(รอยละ) 1.71 10.69 46.52 หมายเหตุ: สง่ิ ทดลองที่ 1 ผลิตภัณฑฝอยทองจากนำ้ เช่อื มนำ้ ตาล สง่ิ ทดลองท่ี 2 ผลติ ภณั ฑฝ อยทองจากน้ำเชอ่ื มนำ้ ตาล สง่ิ ทดลองที่ 3 ผลติ ภัณฑฝ อยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาล สิง่ ทดลองที่ 4 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเช่อื มน้ำออย สง่ิ ทดลองที่ 5 ผลิตภัณฑฝอยทองจากนำ้ เชือ่ มน้ำตาล 38

คุณสมบตั ิทางกายภาพ งแข็งที่ คาส(ี หลงั เค่ียว) ของแข็งที่ ละลายในนำ้ : ายในนำ้ : L*1/ a*1/ b*1/ ๐Brix (สดุ ทาย) x(เรม่ิ ตน) 6.89±0.90b -3.91±0.84c 60 0.00 1.64±0.63e 8.19±3.69a -9.78±3.32e 60 2.04±0.21e -5.11±3.56b 60 5.20 17.46±0.68c 5.11±2.70c -7.52±3.37d 60 2.10±15.67d 2.48±10.97a 60 4.40 18.30±0.91b 56.89 97.36 2.00 16.84±0.41d 1.30 19.49±1.46a 5.58 ลทราย ลมะพรา ว ลโตนด ยสด ลสบั ปะรด 8

4.1 การวิเคราะหคุณสมบัตผิ ลิตภณั ฑฝ อยทอง 4.1.1 การวเิ คราะหล กั ษณะปรากฏของผลิตภณั ฑฝ อยทองจากนำ้ เชื่อมของผลไม นำผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเช่ือมของผลไมทั้ง 5 สิ่งทดลอง มาวิเคราะหลักษณะ ปรากฏของผลติ ภณั ฑฝ อยทอง โดยใชประสาทสัมผสั ทงั้ 5 ไดผ ลดังตารางที่ 5 และภาพท่ี 2 T1 T2 T3 T4 T5 ภาพที่ 2 ผลติ ภณั ฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไม หมายเหตุ: T1= ผลิตภัณฑฝอยทองจากนำ้ เชื่อมน้ำตาลทราย T2= ผลิตภณั ฑฝอยทองจากนำ้ เชอ่ื มนำ้ ตาลมะพรา ว T3= ผลติ ภัณฑฝ อยทองจากน้ำเช่อื มนำ้ ตาลโตนด T4= ผลติ ภณั ฑฝ อยทองจากน้ำเช่ือมน้ำออยสด T5= ผลติ ภัฑฝ อยทองจากน้ำเชื่อมนำ้ ตาลสบั ปะรด 39

ตารางที่ 5 คุณลักษณะปรากฏของผลติ ภณั ฑฝอยทองจากนำ้ เช่อื มของผลไม ลักษณะปรากฏ สงิ่ ทดลอง สี กลน่ิ รสชาติ เนอื้ สัมผัส เปน เสน นมุ เหนยี ว 1 เหลอื ง หอมมาก รสหวาน เปน เสน นมุ เหนยี ว เปนเสน นมุ เหนียว 2 น้ำตาล หอมเลก็ นอย รสหวาน เปนเสน นมุ เหนยี ว 3 เหลอื ง หอมมาก รสหวาน ไมเ ปนเสน นุม ไมเ หนียว 4 เหลอื ง มีกลนิ่ ของน้ำเชอื่ ม รสหวาน (60 ° Brix) (60 ° Brix) ที่เหม็นเขียว (60 ° Brix) (60 ° Brix) 5 เหลอื ง มกี ลน่ิ สับปะรด รสเปรี้ยว (60 ° Brix) หมายเหตุ: ส่ิงทดลองที่ 1 ผลติ ภณั ฑฝ อยทองจากนำ้ เช่ือมนำ้ ตาลทราย สิ่งทดลองที่ 2 ผลิตภัณฑฝ อยทองจากนำ้ เชอื่ มน้ำตาลมะพรา ว ส่ิงทดลองท่ี 3 ผลิตภณั ฑฝอยทองจากน้ำเชือ่ มนำ้ ตาลโตนด สิ่งทดลองท่ี 4 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเช่ือมน้ำออยสด สิง่ ทดลองท่ี 5 ผลติ ภัณฑฝ อยทองจากนำ้ เชอ่ื มนำ้ ตาลสับปะรด จากการศึกษาลักษณะที่ปรากฏการพัฒนาผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไมตาม ตารางที่ พบวา สิ่งทดลองที่1 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลทราย มีลักษณะดานสีที่มีสีเหลือง มีกลิ่นหอมมาก และมีรสหวาน ลักษณะเนื้อสัมผัสเปนเสน นุม เหนียว สิ่งทดลองที่2 ผลิตภัณฑ ฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลมะพราว มีลักษณะดานสีที่มีสีน้ำตาล มีกลิ่นหอมเล็กนอย และมีรสหวาน ลักษณะเนื้อสัมผัสเปนเสน นุม เหนียว สิ่งทดลองที่3 ผลิตภัฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลโตนด มีลักษณะดานสีที่มีสีเหลือง มีกลิ่นหอมมาก และมีรสหวาน ลักษณะเนื้อสัมผัสเปนเสน นุม เหนียว สิ่งทดลองที่ 4 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลออย มีลักษณะดานสีที่มีสีเหลือง มีกลิ่นของ น้ำเชื่อมที่เหม็นเขียว และมีรสหวาน ลักษณะเนื้อสัมผัสเปนเสน นุม เหนียว และสิ่งทดลองท่ี 5 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลสับปะรด มีลักษณะดานสีที่มีสีเหลืองมีกลิ่นสับปะรด และมีรส เปรยี้ วลักษณะเนื้อสัมผัสไมเ ปนเสน นุม ไมเหนยี ว 40

4.1.2 การวเิ คราะหคณุ สมบัติกายภาพ (คาสี) ของฝอยทอง นำผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไมทั้ง 5 สิ่งทดลอง มาวิเคราะหคาสีของ ฝอยทองโดยนำ้ เชอื่ มของผลไมโ ดยเปรียบเทียบความแตกตางทงั้ 5 สิ่งการทดลอง ไดผลดงั ตารางท่ี 6 ตารางที่ 6 คุณสมบัติทางกายภาพ (คา ส)ี ของผลติ ภัณฑฝอยทองจากนำ้ เช่อื มของผลไม ส่ิงทดลอง สมบตั ิทางกายภาพ (คา ส)ี L* (คาความสวา ง) a* (สแี ดง, สเี ขยี ว) b* (สีเหลอื ง, สีน้ำเงนิ ) 1 24.04±0.40a 10.77±1.60a 0.53±0.63a 2 20.24±0.69e 6.00±1.03e -2.11±3.56d 3 22.56±0.42b 8.17±1.67c -2.46±1.05b 4 21.60±0.62c 9.67±1.95b -1.05±1.05c 5 20.28±0.51d 7.76±0.58d -4.03±2.55e CV.(รอยละ) 2.45 16.20 92.93 หมายเหตุ : ส่ิงทดลองที่ 1 ผลติ ภณั ฑฝ อยทองจากนำ้ เชื่อมน้ำตาลทราย (60 ° Brix) ส่ิงทดลองที่ 2 ผลติ ภัณฑฝอยทองจากนำ้ เชอ่ื มน้ำตาลมะพรา ว (60 ° Brix) ส่งิ ทดลองที่ 3 ผลติ ภณั ฑฝอยทองจากน้ำเชอ่ื มนำ้ ตาลโตนด (60 ° Brix) ส่ิงทดลองที่ 4 ผลติ ภัณฑฝอยทองจากน้ำเชอ่ื มน้ำออ ยสด (60 ° Brix) สิง่ ทดลองที่ 5 ผลิตภณั ฑฝอยทองจากน้ำเชอ่ื มนำ้ ตาลสบั ปะรด (60 ° Brix) 41

จากการวิเคราะหคาความสวาง (L*) พบวาผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไมทั้ง 5 สิ่งทดลอง มีคาความสวางลดลงเมื่อเปรียบเทยี บกบั ฝอยทองสูตรท่ี1 (สูตรน้ำตาลทราย) และมีคาความ แตกตางกันทางสถิติ (P≤0.05) โดยท่ีสิ่งทดลองที่1 น้ำเชื่อมจากน้ำตาลทราย มีคาความสวางมากที่สุด และไมมคี วามแตกตางกันทางสถิติ (P≤0.05) รองลงมาคือ ส่ิงทดลองท่ี 3, 4 และ 5 น้ำเชอ่ื มจากน้ำตาล โตนด, น้ำเชื่อมจากน้ำออยสด, น้ำเชื่อมจากน้ำตาลสับปะรด มีคาความสวางที่ 22.56, 21.60, 20.28 โดยสิ่งทดลองท่ี 2 นำ้ เชื่อมจากนำ้ ตาลมะพราว มีคาความสวางนอ ยทสี่ ุด 20.24 จากการวิเคราะหคาสีแดง (a*) พบวาผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไมท้ัง 5 สิ่งทดลอง มีคาสีแดงใกลเคียงกับฝอยทองสูตรที่ 1 (สูตรน้ำตาลทราย) มีคาความแตกตางกันทางสถิติ โดยที่สิ่งทดลองที่ 4 น้ำเชื่อมจากน้ำออยสด มีคาสีแดงมากที่สุดและไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (P≤0.05) รองลงมาคอื ส่ิงทดลองที่ 3, 5 น้ำเช่ือมจากนำ้ ตาลโตนด, น้ำเชอื่ มจากน้ำตาลสับปะรด มีคาสี แดง 8.17, 7.76 และสง่ิ ทดลองที่ 2 นำ้ เชอ่ื มจากนำ้ ตาลมะพรา ว มีคา สีแดงนอ ยทีส่ ดุ 6.00 จากการวิเคราะหคาสีเหลือง (b*) พบพบวาผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไมทั้ง 5 สิ่งทดลอง มีคาความแตกตางกันทางสิถิติ (P≤0.05) โดยสิ่งทดลองที่ 2, 3, 4, 5 น้ำเชื่อมจากน้ำตาล มะพราว, น้ำเชื่อมจากน้ำตาลโตนด, น้ำเชื่อมจากน้ำตาลออยสด, น้ำเชื่อมจากน้ำตาลสับปะรด มีคาสี น้ำเงินมากที่สุด และมีคาความแตกตางกันทางสิถิติ (P≤0.05) รองลงมาคือ สิ่งทดลองที่4 น้ำเชื่อมจาก น้ำตาลทราย มีคา สีเหลืองนอ ยทสี่ ุด 0.53 4.1.2 การวิเคราะหค ุณสมบตั ิกายภาพ (ลักษณะเนอ้ื สัมผัส) ของฝอยทอง นำผลิตภณั ฑฝอยทองจากนำ้ เชื่อมของผลไมท้ัง 5 สิ่งทดลอง มาวิเคราะหลักษณะเน้อื สัมผัส (แรงดึง) ของฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไม โดยใชเครื่องวิเคราะหลกั ษณะเนื้อสัมผัส (Texture analyzer) เปรยี บเทียบความแตกตา งทง้ั 5 ส่ิงการทดลอง ไดผ ลดงั ตารางที่ 7 42

ตารางที่ 7 การวเิ คราะหเนื้อสัมผสั ของฝอยทองจากนำ้ เชอ่ื มของผลไม ส่งิ ทดลอง สมบัติทางกายภาพ (เนอ้ื สัมผสั ) 1 เน้อื สัมผสั (g/mm) 2 50.66±0.100b 3 24.23±0.100c 4 59.86±0.100a 5 19.93±0.100d 11.94±0.100e CV.(รอยละ) 57.70 หมายเหตุ : สิ่งทดลองที่ 1 ผลิตภัณฑฝ อยทองจากน้ำเชอ่ื มน้ำตาลทราย (60 ° Brix) ส่ิงทดลองท่ี 2 ผลติ ภัณฑฝ อยทองจากนำ้ เชอื่ มน้ำตาลมะพราว (60 ° Brix) สง่ิ ทดลองท่ี 3 ผลิตภัณฑฝอยทองจากนำ้ เชอ่ื มนำ้ ตาลโตนด (60 ° Brix) ส่ิงทดลองท่ี 4 ผลติ ภัณฑฝอยทองจากน้ำเชอ่ื มนำ้ ออยสด (60 ° Brix) สิ่งทดลองท่ี 5 ผลิตภัณฑฝ อยทองจากน้ำเชือ่ มนำ้ ตาลสับปะรด (60 ° Brix) จากการวเิ คราะหเนือ้ สัมผสั พบวาผลิตภัณฑฝอยทองจากนำ้ เชื่อมของผลไมทัง้ 5 ส่ิงทดลอง มี คาความแตกตางกันทางสถิติ (P≤0.05) สิ่งทดลองท่ี3 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลโตนด มี คาแรงดึงมากที่สุด คือ 59.86 รองลงมาคือ สิ่งทดลองที่ 1,2,4 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาล ทราย, ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลมะพราว, ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำออยสด มี คาแรงดงึ คือ 50.66, 24.23, 19.93 และสิ่งทดลองท่ี 5 ผลิตภณั ฑฝ อยทองจากน้ำเชื่อมนำ้ ตาลสับปะรด มีคาแรงดึงนอยที่สุด คือ 11.94 เนื่องจากที่ความเขมขนน้ำเชื่อมสูง มีจุดเดือดสูง ทำใหการจับตัวเปน กอนของโปรตีนเกิดอยางรวดเร็ว เสนฝอยทองจึงกลม และน้ำเชื่อมเขมขนสูงมีความหนืดเพิ่มสูงกวา น้ำเชื่อมเขมขนต่ำ น้ำตาลจะไปเคลือบ และจับตัวอยูบนเสนฝอยทองมากทำใหเสนฝอยทองเกิดความ เหนยี วแขง็ มากกวาความเขมขนของนำ้ เช่ือมตำ่ (เกศรนิ ทร, 2545) 4.1.4 การวเิ คราะหคุณสมบัติทางเคมีของฝอยทอง นำผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชือ่ มของผลไมท้ัง 5 สง่ิ ทดลอง มาวิเคราะหคุณสมบติทาง เคมีของฝอยทองจากนำ้ เชื่อมของผลไมเปรียบเทียบความแตกตางท้ัง 5 สิ่งทดลอง ไดผ ลดงั ตารางที่ 8 43

ตารางที่ 8 คุณสมบตทิ างเคมีของผลติ ภัณฑฝอยทองจากนำ้ เชื่อมของผลไม คุณสมบตั ทิ สิง่ ความชน้ื เถา ไขมนั (ร ทดลอง (รอ ยละ) (รอ ยละ) (รอยละ) 1 20.25±0.57e 1.48±0.19e 0.19±0.11d 0.003 2 22.52±5.23d 2.16±0.30c 0.29±0.01b 0.000 3 25.52±0.60c 2.85±1.14a 0.20±0.13a 0.001 4 26.30±0.12b 2.32±0.26b 0.26±0.01c 0.000 5 32.90±0.33a 1.86±0.34d 0.27±0.04e 0.002 CV. 5.28 21.15 25.52 (รอ ยละ) หมายเหตุ : 1/ = มีความแตกตางกนั อยา งมนี ัยสำคญั (P≤0.05) ns = ไมม คี วามแตกตา งกันอยางมีนัยสำคญั ทางสถิติ (P>0.05)

ทางเคมี1/ โปรตีน คารโ บไฮเดรต ปริมาณแคลอรี่ (รอ ยละ) (รอยละ) (Kcal/g) เสนใย รอ ยละ) 33±0.0011a 15.66±1.29b 62.41±0.0010a 313.99 06±0.0005d 16.10±0.92a 58.92±0.0015b 302.73 16±0.0011e 15.21±1.39d 56.09±0.0006c 288.08 06±0.0011c 15.57±0.77c 55.54±0.0010d 282.73 23±0.0023b 11.35±1.46e 53.73±0.0010e 261.67 73.41 7.91 5.47 6.89 ) 44

จากการวเิ คราะหคาความชื้นพบวา ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไมท้ัง 5 สิ่งทดลอง มีคาความชืน้ มากกวา ฝอยทองสตู รที่ 1 (สตู รน้ำตาลทราย) และมีคาความแตกตางกนั ทางสถติ ิ (P≤0.05) ซึ่งอุณหภมู ิรองลงมาคือ ส่ิงทดลองท่ี 2, 3, 4 ผลติ ภัณฑฝอยทองจากน้ำเช่ือมน้ำตาลมะพราว,ผลิตภัณฑ ฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลโตนด, ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำออยสด มีความชื้น รอยละ 22.52, 25.52 , 26.30 และสิ่งทดลองที่ 5 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลสับปะรด มีความชื้น มากท่สี ดุ รอยละ 32.90 จากการวิเคราะหปริมาณเถา พบวาผลิตภณั ฑฝอยทองจากน้ำเชอื่ มของผลไมท้ัง 5 ส่งิ ทดลอง มปี ริมาณเถา มากกวาฝอยทองสูตรท1ี่ (สตู รน้ำตาลทราย) และมคี า ความแตกตางกนั ทางสถติ ิ (P≤0.05) สิ่งทดลองที่ 3 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลโตนด มีปริมาณเถามากที่สุด และไมมีความ แตกตางกันทางสถิติ (P>0.05) รองลงมาคือ สิ่งทดลองที่ 1, 2, 4, 5 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อม น้ำตาล, ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลมะพราว, ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำออยสด, ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลสับปะรด มีปริมาณเถารอยละ 1.48, 2.16, 2.32 และรอยละ 1.86 มีความแตกตางกันทางสถิติ (P≤0.05) ซึ่งมีปริมาณแตกตางกันไป เนื่องจากเถาทั้งหมดเปน สารประกอบอนินทรียที่เหลืออยูหลังจากสารประกอบอินทรียถูกเผาหมดไป เถาที่เหลืออยูอาจไม สามารถตรวจพบไดในปริมาณเดิม เพราะบางสวนอาจแปรสภาพโดยทำปฏิกิรยิ ากับสวนประกอบอื่นๆ ขณะเผาดวยความรอ นสูง (อนุธิดา, 2550) จากการวิเคราะหปริมาณไขมัน พบวาผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมของผลไมทั้ง 5 ส่ิง ทดลอง มีปริมาณไขมันมากกวาฝอยทองสูตรท่ี1 (สูตรน้ำตาลทราย) และมีความแตกตางกันทางสถิติ (P≤0.05) สิ่งทดลองที่ 2 ผลิตภัณฑฝอยทองจากน้ำเชื่อมน้ำตาลมะพราว มีปริมาณไขมันมากที่สุด รองลงมาคือ ส่ิงทดลองท่ี 3, 4, 5 ผลิตภัณฑฝ อยทองจากนำ้ เช่ือมน้ำตาลโตนด, ผลติ ภัณฑฝอยทองจาก นำ้ เชอื่ มน้ำออ ยสด, ผลติ ภัณฑฝ อยทองจากนำ้ เช่ือมน้ำตาลสบั ปะรด มปี ริมาณไขมนั รอ ยละ 0.20, 0.26, 0.27 มีความแตกตางกันทางสถิติ (P≤0.05) เนื่องจากฝอยทองมีไขแดงเปนองคประกอบหลัก เพราะ ในไขแดง 100 กรัม มีปรมิ าณไขมนั 27 กรัม (HonestDocs, 2019) 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook