Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ด้านที่ 2 ส่วนที่ 1 ข้อที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้

ด้านที่ 2 ส่วนที่ 1 ข้อที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้

Published by ราวีญา ซอมัด, 2022-05-15 02:48:51

Description: ด้านที่ 2 ส่วนที่ 1 ข้อที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 กล่มุ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ 3 รหัสวิชา ส 32103 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอื่ ง เวลาและการแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ จำนวน 5 ชัว่ โมง แผนการสอนเร่อื ง การนบั และการเทียบศักราชในประวติ ิศาสตรส์ ากล จำนวน 2 ชวั่ โมง ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ครูผูส้ อน นางสาวราวีญา ซอมัด ___________________________________________________________________________ 1. สาระสำคัญ (ความคิดรวบยอด) การศึกษาเวลาเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล มีความสำคัญต่อการทำความเข้าใจ ประวัติศาสตร์ของสังคมมนุษย์ในแต่ละยุคสมัย การศึกษาประวัติศาสตร์จะมีความสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อมีการระบุ ศักราช เพราะจะทำให้ทราบวา่ เหตกุ ารณส์ ำคญั ต่างๆเกดิ ขนึ้ ชว่ งเวลาใด วิธีการนบั ศกั ราชของแต่ละภมู ภิ าคของ โลกหรือบางประเทศมีความแตกตา่ งกัน 2. ตัวชว้ี ดั /จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 ตัวชี้วดั ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการ เปลย่ี นแปลงของมนษุ ยชาติ 2.2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. วเิ คราะห์ความสำคัญของเวลาและชว่ งเวลาในการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ได้ (K) 2. ใช้หลักเกณฑ์การเทยี บศกั ราชและเทยี บศักราชได้ (P) 3. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตรไ์ ด้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ 1. ความสำคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ 2. การนบั และการเทยี บศักราชในประวัติศาสตรส์ ากล 3. แบง่ ยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตรส์ ากล 4. ตวั อยา่ งเวลาและยุคสมยั ท่ีมีในหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 4.1 ความสามารถในการคิด 4.2 ความสามารถในการสอื่ สาร 5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้

6. กิจกรรมการเรยี นรู้ (เทคนคิ การสอน : กระบวนการสรา้ งความตระหนัก) ช่วั โมงท่ี 1 ขั้นนำเขา้ สูบ่ ทเรียน 1. ใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนจำนวน 15 ขอ้ ใช้เวลาในการเตรียมความพรอ้ มและทำข้อสอบ 15 - 20 นาที 2. ครูนำภาพทางประวตั ศิ าสตร์ 2 ภาพ ใหน้ กั เรยี นดู ภาพที่ 1 ภาพจิตรกรรมฝาผนังในยคุ หินเก่า ภาพท่ี 2 ภาพปฏิทินสลักบนผนงั แหง่ วิหารแห่งเมืองคารน์ ัค 3. ครตู ั้งคำถามกระต้นุ ความสนใจของนกั เรยี น ได้แก่ - ภาพที่ 1 คอื ภาพอะไร มีความสำคัญทางประวัตศิ าสตร์อย่างไร (แนวตอบ : ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ถ้ำลาสโกซ์ที่ประเทศฝรั่งเศส เป็นรูปวัว กวาง ม้า ผลงาน สรา้ งสรรค์ของมนษุ ย์ในยคุ หินเกา่ ) - ภาพที่ 2 คือภาพออะไร เก่ียวข้องกับปจั จุบนั อย่างไร (แนวตอบ : ภาพปฏิทินสลักบนผนังแห่งวิหารแห่งเมืองคาร์นัคของบรรพชนม์ชาวอียิปต์แต่ โบราณกาล) ข้ันจัดการเรียนรู้ 1. ให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ในเอกสารการเรียน การสอน 2. นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายถึงความสัมพนั ธ์และความสำคญั ของอดตี ท่ีมตี ่อปัจจุบันและอนาคต 3. ครูส่มุ ถามนักเรยี นเพ่ืออธิบายความรู้ เชน่ - เวลาในประวัติศาสตร์มีความสำคัญอยา่ งไร (แนวตอบ ทำให้เรารู้ว่าเรื่องราว เหตุการณ์ต่างๆในอดีตนั้น เกิดขึ้นเมื่อใดและสิ้นสุดเมื่อใดหรือเกิด ขึ้นมานานเทา่ ใดแลว้ นอกจากนี้การเรียนรู้เกีย่ วกับเวลายังสามารถนำมาใช้ในการดำเนินชีวิต ทำให้เราสื่อสาร กันไดอ้ ันเน่อื งมาจากการมีความเข้าใจพ้นื ฐานเกยี่ วกบั ระบบการบอกเวลา) 4. ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ เพ่ือให้ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ 5. ครูให้นักเรียนอ่านเสริมความรู้เพิ่มเติมจากใบความรู้เรื่อง ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทาง ประวตั ศิ าสตร์ 6. ครูใหน้ กั เรียนสอบถามความรเู้ พ่ิมเติม เพอื่ ความเขา้ ใจชดั เจนยิ่งขึ้น ขัน้ สรุป 1. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ ความรเู้ รื่อง ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์

2. นักเรยี นผลัดกนั สรุปและแลกเปลีย่ นผลการเรยี นรรู้ ่วมกัน ชั่วโมงที่ 2 เทคนิคการสอน : แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขน้ั ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ 1. ครูนำปฏิทินของฮิจเราะหศ์ ึกราชและพุทธศักราชให้นักเรียนดู แล้วให้นกั เรยี นแสดงความคิดเห็นว่า ปฏทิ ินบง่ บอกถึงเร่อื งใด และสามารถเทียบศกราชไดห้ รือไม?่ 2. ครคู อยกระตนุ้ ให้นกั เรียนมีสว่ นรว่ ม เพือ่ เช่อื มโยงเขา้ ส่เู นือ้ หา ขั้นท่ี 2 สำรวจค้นหา 3. ให้นกั เรียนจบั คู่กัน และกำหนดหมายเลขประจำตัวของตัวเอง คอื หมายเลข 1 และ 2 4. ให้นักเรียนร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์สากล จาก หนงั สอื เรียน หนังสอื ค้นคว้าเพ่มิ เตมิ เพือ่ นำความรมู้ าทำงใบงานท้ายชั่วโมงเรียนดังน้ี นกั เรยี นหมายเลข 1 ศึกษาความรเู้ รื่อง การนับและการเทยี บศักราชของโลกตะวนั ตก นักเรียนหมายเลข 2 ศกึ ษาความร้เู รือ่ ง การนบั และการเทียบศักราชของโลกตะวนั ออก 5. ให้นกั เรยี นศกึ ษาความรู้ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ขัน้ ที่ 3 อธิบายความรู้ 6. ให้นกั เรียนแลกเปลย่ี นเรียนรู้หวั ขอ้ ทต่ี นเองศกึ ษาให้กับคู่ของตัวเอง 7. ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับการนับและการเปรียบเทียบศักราชแบบต่างๆ เพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนมี ความเขา้ ใจชัดเจนยิ่งข้นึ 8. ครอู ธิบายและยกตวั อย่างการเทยี บศกั ราช เพ่ือให้นกั เรยี นสามารถเทยี บศกั ราชได้ ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ 9. ครแู จกใบงานที่ 1.1 เร่ือง การนับและการเทียบศักราชให้นักเรียนแต่ละคชู่ ่วยกันทำ 10. นกั เรียนแตล่ ะคู่ผลัดกันอธิบายความรู้ เพอ่ื ใหม้ ีความเข้าใจยง่ิ ขึน้ ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล 11. ครูตรวจสอบผลนักเรยี นจากการทำใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง การนบั และการเทยี บศักราช 12. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรเู้ ร่อื ง การนับและการเปรยี บเทยี บศกั ราชแบบต่างๆ 7. การวดั ผลและประเมินผล เคร่อื งมอื เกณฑ์ วธิ กี าร แบบทดสอบกอ่ นเรียน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ทำใบงานที่ 1.1

8. เกณฑก์ ารตดั สินผลงาน ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 321 1 เน้อื หาละเอียดชดั เจน 2 ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หา รวม การตอบคำถามสอดคล้องกบั รายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 3 คะแนน การตอบคำถามสอดคล้องกับรายการประเมินเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน การตอบคำถามสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางสว่ น ให้ 1 คะแนน การตอบคำถามไมส่ อดคลอ้ งกับรายการประเมนิ ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนนการประเมนิ ระดับคุณภาพ คะแนนผลงาน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5-6 3 หมายถงึ ดมี าก 5 100 4-3 2 หมายถงึ ดี 4 80 2-1 1 หมายถึง พอใช้ 3 60 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ 2 40 0 9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สือ่ การเรียนรู้ 1. ภาพ 2. หนงั สือเรยี น ประวตั ศิ าสตรส์ ากล ม.4-ม.6 3. ใบความร้เู รื่อง ความรู้เก่ยี วกบั เวลาในประวัติศาสตร์ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมดุ 2. ห้องเรยี น

10. บันทกึ หลงั การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………...……….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ปัญหาและอปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……...………. ………………………………………………………………………………………………………………………………….…….................… ลงชื่อ……………………………………………….. (นางสาวราวีญา ซอมัด) ตำแหนง่ ครู คศ.1 ความคิดเห็นของหวั หน้ากลุ่มสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………....………. ลงชื่อ………………………………………………. (นายนนท์นรนิ ทร์ ปนิ่ แก้ว) หัวหนา้ กลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ความคดิ เหน็ ของหัวหน้ากลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงช่ือ……………………………………………….. (นายนิวัติ กลบั กลาย) ตำแหน่ง ครู คศ.3 หวั หนา้ กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

ความคิดเห็นของรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงชอ่ื ……………………………………………….. (นายพภิ พ รุ่งโรจน์รงั สรร) ตำแหน่ง รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นทา่ ขา้ มวิทยาคาร ความคดิ เหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงชื่อ……………………………………………….. (นายสมชาย ขวญั มนจิ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนท่าข้ามวิทยาคาร

ใบความรู้ ความร้เู ก่ยี วกับเวลาในประวัตศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ คือ วิชาท่วี า่ ด้วยเหตกุ ารณห์ รือเร่ืองราวที่เกิดขึ้นในอดีต เปน็ เรื่องที่มีความสำคัญ ควร แก่การศึกษา เพื่อให้ชนรุ่นหลังรับรู้ความรู้เกี่ยวกับเวลาในประวัติศาสตร์ จึงทำให้รู้และเปรียบเทียบช่วงเวลา ของการเกิดเหตุการณว์ ่าผา่ นมานานแล้วอย่างไร ศกั ราช หมายถึง ปีท่ตี ้งั ข้นึ ตามเหตกุ ารณ์ วรรษ หมายถึง ปี ทศวรรษ หมายถึง เวลาในระยะ 10 ปี ศตวรรษ หมายถึง เวลาในระยะ 100 ปี สหสั วรรษ หมายถึง เวลาในระยะ 1,000 ปี ศก หมายถงึ ยคุ สมัย ปี วธิ นี บั ปี ปนี ักษตั ร หมายถงึ การนับปีที่กำหนด 12 ปี เป็น 1 รอบ คือ ชวด ฉลู ขาล เถาะ มะโรง มะเสง็ มะเมยี มะแม วอก ระกา จอ กุน การนบั เวลามี 2 แบบ คือ 1. นับตามปรากฏการณ์ของดวงอาทิตย์ที่โลกโคจรรอบ เรียกว่า นับทางสุริยคติ เป็นการนับแบบ สากลในปัจจุบัน และนับตามดวงจันทร์ที่โคจรรอบโลก เรียกว่า นับทางจันทรคติ เป็นการนับ เวลาแบบโบราณของดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันยังมีใช้บ้างในทางพระพุทธศาสนาและ โหราศาสตร์ 2. นบั ตามกำเนดิ ของศาสนาทีส่ ำคญั คือ - พุทธศักราช (พ.ศ.) เริ่มจากปีที่พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพาน โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจา้ อยู่หวั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ ช้เปน็ ทางการ เมอื่ วนั ท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2455 - ครสิ ตศ์ กั ราช (ค.ศ.) เร่มิ จากปที พ่ี ระเยซปู ระสตู ิ แตกตา่ งจากพทุ ธศกั ราช 543 ปี - ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) เริ่มจากวันที่ท่านศาสดานบีมูฮัมหมัดอพยพจากเมืองเมกกะไปยัง เมือง เมดนิ า แตกตา่ งจากพทุ ธศกั ราช 1,122 ปี

ใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง เวลาและยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ 1. คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนตอบคำถามทก่ี ำหนดให้ถกู ต้อง 1. วชิ าทเี่ กยี่ วกบั เหตุการณ์หรือเรอ่ื งราวที่เป็นมาแลว้ ผา่ นไปตามกาลเวลา เรยี กว่า 2. ระยะเวลาในช่วง 10 ปี เรยี กวา่ 3. ระยะเวลาในชว่ ง 100 ปี เรียกวา่ 4. ปอี ธิกสรุ ทนิ มจี ำนวน วัน และเดอื นกมุ ภาพนั ธม์ ี วนั 5. ในรอบ 1 ปี มชี ื่อเดือนทล่ี งท้ายว่า “ คม ” เดอื น คอื เดือน 6. พทุ ธศกั ราช เกดิ ก่อนครสิ ตศ์ ักราช ปี 7. ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 17 อยใู่ นระยะ ค.ศ. ถึง ค.ศ. ตรงกับ ค.ศ. 8. ปนี ี้ตรงกบั รตั นโกสนิ ทรศ์ กใด 9. ผทู้ น่ี บั ถือศาสนาอสิ ลามนับจำนวนปเี ปน็ 10. ปีท่นี กั เรียนเกิดคอื พ.ศ. 2. คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนเทยี บศกั ราชตา่ งๆ ดงั ต่อไปนีใ้ หถ้ ูกตอ้ ง 1. จ.ศ. 1129 ตรงกบั ค.ศ. .................... ม.ศ. ........................ พ.ศ. ........................ 2. ค.ศ. 1945 ตรงกบั พ.ศ. ........................ พ.ศ. ........................ ร.ศ. .................... 3. พ.ศ. 2475 ตรงกับ ร.ศ. ........................ จ.ศ. ........................ ฮ.ศ. .................... 4. ร.ศ. 112 ตรงกบั ค.ศ. ........................ ม.ศ. ........................ พ.ศ. .................... 5. ค.ศ. 1914 ถงึ 1918 ตรงกบั จ.ศ. ........................................ ฮ.ศ. ..................................... ม.ศ. .....................................

เฉลยใบงานท่ี 1.1 เรือ่ ง เวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ 1. คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนตอบคำถามท่กี ำหนดให้ถกู ต้อง 1. วิชาท่ีเก่ียวกบั เหตกุ ารณห์ รอื เรอื่ งราวท่เี ปน็ มาแล้วผ่านไปตามกาลเวลา เรียกว่า ประวัตศิ าสตร์ 2. ระยะเวลาในชว่ ง 10 ปี เรยี กว่า ทศวรรษ 3. ระยะเวลาในช่วง 100 ปี เรียกว่า ศตวรรษ 4. ปีอธกิ สรุ ทินมีจำนวน 366 วนั และเดือนกุมภาพนั ธ์มี 29 วนั 5. ในรอบ 1 ปี มีช่อื เดือนทลี่ งท้ายว่า “ คม ” 7 เดอื น คอื เดือน มกราคม มนี าคม พฤษภาคม กรกฎาคม สงิ หาคม ตลุ าคม ธันวาคม 6. พทุ ธศกั ราช เกิดก่อนครสิ ตศ์ ักราช 543 ปี 7. คริสตศ์ ตวรรษที่ 17 อย่ใู นระยะ ค.ศ. 1601 ถึง ค.ศ. 1700 8. ปีนี้ตรงกบั รตั นโกสินทรศ์ กใด 266 (2551-2325) 9. ผู้ท่นี บั ถือศาสนาอสิ ลามนบั จำนวนปีเป็น ฮิจเราะห์ศักราช 10. ปที ี่นกั เรียนเกดิ คือ พ.ศ. ตรงกับ ค.ศ. (เฉลยตามอายุของนักเรียน) 2. คำชแ้ี จง ให้นักเรียนเทยี บศกั ราชตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปนีใ้ ห้ถูกต้อง 1. จ.ศ. 1129 ตรงกบั ค.ศ. 1767 ม.ศ. 1689 พ.ศ. 2310 2. ค.ศ. 1945 ตรงกับ พ.ศ. 2488 พ.ศ. 1366 ร.ศ. 164 3. พ.ศ. 2475 ตรงกับ ร.ศ. 151 จ.ศ. 1294 ฮ.ศ. 1353 4. ร.ศ. 112 ตรงกบั ค.ศ. 1893 ม.ศ. 1895 พ.ศ. 2436 4. ค.ศ. 1914 ถงึ 1918 ตรงกบั จ.ศ. 1276 - 1280 ฮ.ศ. 1335 - 1339 ม.ศ. 1836 – 1840

แบบทดสอบก่อนเรียน ประจำหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง เวลาและการแบ่งยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ คำช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นเลอื กคำตอบทถ่ี กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพียงคำตอบเดียว 1. พทุ ธศักราช เกดิ ก่อนคริสตศ์ ักราชก่ปี ี ก. 245 ข. 453 ค. 543 ง. 1124 2. พ.ศ. 2467 อย่ใู นชว่ งพุทธศตวรรษทเ่ี ท่าไร ก. 26 ข. 25 ค. 24 ง. 23 3. ฮิจเราะหศ์ กั ราช เปน็ การใชศ้ กั ราชโดยคนทีน่ ับถอื ศาสนาใด ก. ศาสนาฮนิ ดู ข. ศาสนาคริสต์ ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนายดู าห์ 4. มหาศกั ราชเป็นศกั ราชท่ีไทยได้แบบอยา่ งมาจากชาติใด ก. ลงั กา ข. ขอม ค. อินเดีย ง. จนี 5. ยคุ ประวตั ศิ าสตรเ์ ร่มิ เมอื่ ไร ก. ร้จู ักทำการเกษตร ข. มกี ารตั้งชมุ ชนขน้ึ ค. มกี ารใช้โลหะเป็นอาวธุ ง. มีการบันทกึ เป็นลายลักษณ์อักษร 6. ขอ้ ใดคอื ลกั ษณะของมนุษย์ยคุ หินกลาง ก. รู้จกั การทำเคร่อื งปน้ั ดนิ เหนียว ข. ใชข้ วานหนิ หรอื ขวานกำปน้ั ค. ใช้หนิ กะเทาะในการลา่ สตั ว์ ง. มชี วี ิตเรร่ อ่ นตามแหล่งสตั ว์ชกุ ชมุ 7. สรา้ งทพ่ี ักดว้ ยดินเหนยี ว รู้จกั รอการเกบ็ เกี่ยว หมายถึงมนษุ ย์ในขอ้ ใด ก. ยคุ โลหะ ข. ยคุ หนิ เกา่ ค. ยุคหนิ กลาง ง. ยุคหินใหม่ 8. ศิลปวัฒนธรรมตะวันตกและตะวนั ออก มาบรรจบเป็นครั้งแรกท่ใี ด ก. เปอร์เซยี ข. ล่มุ น้ำสินธุ ค. ล่มุ น้ำฮวงโห ง. ลุ่มนำ้ อริ วดี 9. ชุมชนบ้านเชยี ง จัดอยใู่ นยุคใด ก. ยคุ หนิ แรก ข. ยุคหินเก่า ค ยุคหินกลาง ง. ยุคหินใหม่ 10. รูปแบบการดำเนินชีวิตและการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ในปัจจุบันส่วนใหญ่ ได้รับ อทิ ธพิ ลจากศาสนาใดมากทส่ี ุด ก. คริสต์ ข. อิสลาม ค. ยดู าห์ ง. ถูกทุกข้อ

11. การคน้ พบสิ่งใดทำใหม้ นษุ ย์ก้าวเข้าสูส่ มยั ประวตั ศิ าสตร์ ก. มนุษย์คน้ พบไฟ และการใช้ภาษาพดู ข. มนุษยป์ ระดษิ ฐภ์ าษาเขียนและการบนั ทกึ ค. มนษุ ยม์ าอยรู่ วมกันเปน็ สังคมและรูจ้ กั การเพาะปลกู 12. สมยั ประวตั ศิ าสตร์ของโลกตะวันตกเรม่ิ ทแ่ี หล่งอารยธรรมใด ก. อารยธรรมกรีก ข. อารยธรรมโบราณ ค. อารยธรรมลุ่มแม่นำ้ สินธุ ง. อารยธรรมลมุ่ แมน่ ้ำไทกรสิ -ยเู ฟรทสี 13. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ความเจรญิ ของมนุษย์ยคุ หินใหม่ ก. การใช้เคร่ืองมือหินขัด ข. เรร่ ่อนเกบ็ ของปา่ ล่าสัตว์ ค. การตง้ั ถิน่ ฐานเปน็ สงั คมเมอื ง ง. รู้จักทำภาชนะเครอื่ งปัน้ ดนิ เผา 14. ช่วงเวลาสมยั กอ่ นประวัติศาสตรใ์ ชส้ งิ่ ใดเป็นเกณฑใ์ นการแบง่ ยุคสมยั ก. ประเภทของปศสุ ัตว์ ข. ทอ่ี ยู่อาศยั ของมนษุ ย์ ค. อาณาจักร หรือราชวงศ์ ง. เครือ่ งมือเคร่อื งใชข้ องมนุษย์ 15. ชว่ งเวลากับยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์เหมือนหรอื แตกตา่ งกันอย่างไร ก. เหมอื นกนั ชว่ งเวลาเป็นสง่ิ ท่กี ำหนดยคุ สมัย ข. เหมือนกัน ยคุ สมัยเปน็ ส่งิ ที่กำหนดช่วงเวลา ค. ตา่ งกนั ชว่ งเวลากลา่ วถึงเวลา แตย่ ุคสมัยกล่าวถงึ สภาพสงั คม ง. ต่างกัน ช่วงเวลาแบ่งจากจำนวนปีทุกๆ 10 ปี หรือร้อยปี แต่ยุคสมัยแบ่งจากพัฒนาการทาง ประวัตศิ าสตร์ เฉลย 1. ค 2. ข 3. ค 4. ข 5. ง 6. ก 7. ง 8. ข 9. ง 10. ค 11. ข 12. ง 13. ข 14. ข 15. ง

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 2 กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ าประวัติศาสตร์ 3 รหัสวชิ า ส 32103 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง เวลาและการแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ จำนวน 5 ชวั่ โมง แผนการสอนเรอื่ ง แบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตรส์ ากล จำนวน 2 ชวั่ โมง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ครูผ้สู อน นางสาวราวญี า ซอมดั ___________________________________________________________________________ 1. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตะวันตก มีวิธีการแบ่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัย ประวตั ิศาสตร์ ซึง่ มีผลตอ่ ความเขา้ ใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การแบ่งยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ตะวันออก ของประเทศจีน แบ่งได้เปน็ 2 ลักษณะใหญ่ๆ คอื ตามแบบสากลและตามแบบลทั ธิมากซ์ ส่วนการแบ่งยุคสมัย ของทางประวัติศาสตร์ของประเทศอินเดีย แบ่งไดเ้ ปน็ 2 สมยั คอื สมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตร์และสมยั ประวตั ิศาสตร์ 2. ตวั ชี้วดั /จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 ตวั ช้ีวัด ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการ เปลยี่ นแปลงของมนษุ ยชาติ 2.2 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายการแบ่งยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ได้ (K) 2. ยกตวั อยา่ งเรือ่ งราวที่เกดิ ขึ้นทางประวัติศาสตร์ได้ (P) 3. เหน็ ความสำคญั ของชว่ งเวลาสำหรบั การศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ 1. การแบ่งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ตะวนั ตก 2. การแบ่งยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตรต์ ะวนั ออก 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 4.1 ความสามารถในการคดิ 4.2 ความสามารถในการสอื่ สาร 5. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มุ่งม่ันในการทำงาน

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (เทคนคิ การสอน : โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม) ช่ัวโมงท่ี 1 ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ครูนำภาพสิ่งของเครื่องใช้หรือเหตุการณ์ของมนุษย์สมัยโบราณ เช่น ขวานหิน เครื่องปั้นดินเผา กำไลข้อมอื สร้อยคอ เปน็ ต้น ให้นกั เรยี นดู 2. ครูตั้งคำถามกระตุ้นความสนใจของนักเรียน เช่น ภาพนี้คือภาพอะไร มีความสำคัญอย่างไร เพ่ือ เช่อื มโยงเขา้ สู่เนื้อหา ขั้นจดั การเรยี นรู้ 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 4 คน โดยมหี น้าทที่ ีต่ ้องปฏบิ ัตดิ ังต่อไปน้ี - คนที่ 1 เป็นหวั หนา้ กลุม่ ทำหนา้ ทอ่ี ่านเนอ้ื หาเพ่ือนำเสนอ - คนท่ี 2 เป็นรองหัวหน้ากลุม่ ทำหนา้ ทอี่ ่านและเขยี นเนอื้ หาสรุป - คนที่ 3 เป็นสมาชกิ ทำหนา้ ท่อี ่านเนอ้ื หาสรปุ จบั ใจความ - คนท่ี 4 เปน็ สมาชิกทำหน้าทอ่ี ่านเน้ือหาสรุปและนำเสนอ 2. ครูแบ่งหัวขอ้ ใหส้ มาชิกแต่ละกลุ่มรว่ มกันศึกษา ดังน้ี - คนที่ 1 - 2 อา่ นเนือ้ หาเรื่อง การแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตรต์ ะวนั ตกสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ - คนท่ี 2 - 4 อา่ นเนอ้ื หาเรื่อง การแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ตะวันตกสมยั ประวัติศาสตร์ 3. นักเรียนรว่ มกันศกึ ษาความรู้เรื่องการแบ่งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ตะวนั ตก 4. ครสู ่มุ ตวั แทนกลุม่ จำนวน 3 กลุม่ เพือ่ นำเสนอ 5. ครูอธิบายความรู้เรื่อง การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ให้ นักเรียนฟงั เพิม่ เติม เพ่ือให้นกั เรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจชัดเจนมากยง่ิ ข้ึน ขน้ั สรปุ 1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ ความรเู้ รือ่ ง การแบ่งยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตรต์ ะวันตกสมยั 2. ครแู นะนำให้นกั เรยี นนำความรทู้ ีไ่ ด้จากการศึกษาไปประยุกตใ์ ช้ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ด้านอ่ืนๆ ตอ่ ไปในอนาคต ชว่ั โมงที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ (เทคนิคการสอน : โดยใช้ KWL) ข้ันนำเข้าส่บู ทเรียน ข้ันท่ี 1 K (What you know) 1. ครใู ห้นักเรียนดภู าพแหล่งอารยธรรมล่มุ แม่น้ำหวางเหอ ภาพอกั ษรกระดองเต่า 2. ใหน้ กั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับภาพดงั กลา่ วเพอ่ื เชื่อมโยงเข้าสูเ่ นอ้ื หา 3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 - 6 คน จำนวน 8 กลุ่ม คละกันตามความสามารถ เก่ง ปานกลาง และออ่ น 4. ครูแจกใบความรู้เรื่อง การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตะวันออก โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ทำการศกึ ษาดังน้ี กลุ่มท่ี 1 - 4 ศกึ ษาความรเู้ ร่ือง การแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ตะวันออกของประเทศจีน กลมุ่ ท่ี 5 - 8 ศกึ ษาความรเู้ รอื่ ง การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตรต์ ะวันออกของประเทศอนิ เดยี 5. ครแู จกใบงานที่ 1.2 ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ ชว่ ยกนั ทำและครูช้แี จงขั้นตอนการทำใบงาน

6. ครชู แี้ จงสง่ิ ท่นี ักเรียนต้องปฏิบัติคือ ให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ศึกษาเน้ือหาจากหัวข้อท่ีได้ ในส่ือเอกสาร การเรยี นการสอนและใบความรู้ 7. จากน้นั ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มช่วยกนั ระดมสมอง โดยเขียนคำตอบสิ่งทน่ี ักเรียนเรียนรู้มา ลงในใบ งานที่ 1.2 ช่อง K (ผเู้ รยี นรอู้ ะไรบ้าง) ขน้ั จดั การเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 2 W (What you want to know) 1. ให้แต่ละกลุ่มตั้งประเด็นคำถามในเรื่องที่นักเรียนสงสัยหรืออยากเรียนรู้เพิ่มเติมนอกเหนือจาก บทเรยี น แล้วใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ บนั ทึกลงในใบงานที่ 1.2 ชอ่ ง W (ผู้เรยี นต้องการรู้อะไรบ้าง) 2. ให้นักเรียนสง่ ตวั แทนแตล่ ะกลุม่ นำเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรยี น ขั้นสรปุ ขน้ั ที่ 3 L (What you have learned) 1. ครูอธิบายความรู้เพ่ิมเติม จากประเดน็ คำถามของแต่ละกลุ่ม โดยใช้ภาพประกอบคำอธิบาย เพอื่ ให้ นักเรียนหาคำตอบจากส่ิงทีน่ ักเรียนสงสยั หรืออยากรู้เพ่ิมเตมิ 2. ครใู ห้นักเรยี นศกึ ษาความรู้เรื่องเดิมอีกคร้ัง โดยอ่านอยา่ งละเอียดและพยายามหาคำตอบในส่ิงท่ีตน ตั้งคำถามไว้ แล้วเขยี นข้อมลู ทไี่ ด้ลงในใบงานท่ี 1.2 ชอ่ ง L (ผูเ้ รยี นไดเ้ รียนรอู้ ะไรบ้าง) 3. จากนนั้ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรปุ เนือ้ หา 7. การวัดและประเมนิ ผล เคร่ืองมือ เกณฑ์ วธิ กี าร สมดุ สรปุ เน้อื หา ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ แบบสงั เกตพฤติกรรมการนำเสนอ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจเนอ้ื หาสรปุ ความรู้ ใบงานท่ี 1.2 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ การนำเสนอ ตรวจใบงานท่ี 1.2 8. เกณฑ์การตดั สนิ ผลงาน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 1 เนื้อหาละเอยี ดชัดเจน ให้ ให้ 4 คะแนน 2 ความถกู ต้องของเน้ือหา ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน 3 ภาษาท่ใี ช้เขา้ ใจงา่ ย 1 คะแนน 4 ประโยชนท์ ี่ได้จากการนำเสนอ 5 วิธกี ารนำเสนอผลงาน รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ผลงานสอดคล้องกับรายการประเมินสมบรู ณ์ชัดเจน ผลงานสอดคล้องกบั รายการประเมินเปน็ ส่วนใหญ่ ผลงานสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางส่วน ผลงานไม่สอดคล้องกบั รายการประเมนิ

เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ คะแนนผลงาน คิดเป็นร้อยละ ชว่ งคะแนนการประเมิน 4 หมายถงึ ดมี าก 5 100 17-20 3 หมายถึง ดี 4 80 13-16 2 หมายถงึ พอใช้ 3 60 9-12 1 หมายถงึ ปรับปรงุ 2 40 5-8 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 1 เนื้อหาละเอยี ดชดั เจน 2 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา 3 ภาษาทใ่ี ชเ้ ข้าใจง่าย 4 ประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากการนำเสนอ 5 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน การนำเสนอผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ สมบูรณช์ ัดเจน ให้ 3 คะแนน การนำเสนอผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน การนำเสนอผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน การนำเสนอผลงานไม่สอดคล้องกบั รายการประเมนิ เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ คิดเปน็ ร้อยละ 17-20 4 หมายถึง ดีมาก 100 13-16 3 หมายถงึ ดี 80 9-12 2 หมายถึง พอใช้ 60 5-8 1 หมายถึง ปรับปรุง 40 9. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรยี น ประวตั ิศาสตรส์ ากล ม.4-ม.6 2. รูปภาพ

10. บันทกึ หลงั การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………...……….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ปัญหาและอปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……...………. ………………………………………………………………………………………………………………………………….…….................… ลงชื่อ……………………………………………….. (นางสาวราวญี า ซอมดั ) ตำแหน่ง ครู คศ.1 ความคิดเห็นของหวั หน้ากลุ่มสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………....………. ลงช่ือ………………………………………………. (นายนนท์นรนิ ทร์ ปิ่นแก้ว) หวั หนา้ กลุม่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ความคดิ เหน็ ของหัวหน้ากลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงชอื่ ……………………………………………….. (นายนิวตั ิ กลับกลาย) ตำแหน่ง ครู คศ.3 หัวหน้ากลุม่ บริหารงานวชิ าการ

ความคิดเห็นของรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงชอ่ื ……………………………………………….. (นายพภิ พ รุ่งโรจน์รงั สรร) ตำแหน่ง รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นทา่ ขา้ มวิทยาคาร ความคดิ เหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงชื่อ……………………………………………….. (นายสมชาย ขวญั มนจิ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนท่าข้ามวิทยาคาร

ใบความรู้ เร่ือง ประวัติศาสตรส์ มัยโบราณ (3500 ปกี ่อนคริสต์ศกั ราช - ค.ศ. 476) ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ หมายถึง ช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักการตั้งถิ่นฐานถาวร สร้างอารยธรรม วัฒนธรรม อักษรต่าง ๆ ขึ้นมา ซึ่งในแต่ละประเทศ สมัยโบราณจะมาถึงเร็วหรือช้า จะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับว่า ช่วงเวลาใดทีประเทศนั้นอยู่ในช่วงสร้างและประดิษฐ์อารยธรรมที่จะเป็นหลักฐานยืนยันได้ว่าอารยธรรมของ ประเทศนี้เรมิ่ ตน้ ขึน้ แล้ว ชว่ งเวลานัน้ ของประเทศน้ัน กจ็ ะจัดอยใู่ นชว่ งสมัยโบราณ สมยั โบราณโดยเฉลยี่ ของโลกจะตรงกับ 3,500 ปกี อ่ นคริสตกาล - ค.ศ. 476 เพราะในช่วงเวลาดงั กล่าว อารยรรมที่โด่งดังจำนวนมากของโลกถือกำเนิดในช่วงนี้ เช่น อารยธรรมโรมัน กรีก เมโสโปเตเมีย จีน อินเดีย อยี ิปต์ ฯลฯ นักประวัตศิ าสตร์ทั่วโลกจึงกำหนดช่วงเวลาดงั กล่าวให้เปน็ สมัยโบราณโดยเฉลย่ี ของโลก สมัยโบราณโดยเฉลี่ยของโลก สิ้นสุดใน ค.ศ. 476 เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายลง เหลือแต่ จักรวรรดิโรมันตะวันออก ที่เปิดเมืองรับเอาศาสนาคริสต์เข้ามามีบทบาทสูงในสังคมโรมัน และอิทธิพลของ โรมันก็แผ่ขยายไปทั่วยุโรป และไปทั่วโลก ทำให้โลกโดยรวมออกจากสมัยโบราณ เข้าสู่สมัยกลาง ( Middle Ages) ทางด้านอารยธรรมสมัยโบราณของต่างประเทศ โดยเฉพาะในแถบยโุ รป มีอารยธรรมทีน่ า่ สนใจเกิดข้ึน เป็นจำนวนมาก เช่น อารยธรรมอยี ิปต์ กรกี โรมัน บคุ คลทีม่ ีชวี ติ อยู่ในช่วงหลายพนั ปีก่อน แล้วยังมีช่ือเสียงอยู่ จนถึงปัจจบุ นั มมี ากมาย เช่น จูเลียส ซีซาร์, คลีโอพตั รา รวมท้ังฟาโรหห์ ลายพระองค์แห่งอยี ปิ ต์

ใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง ........................................................................................... คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นศกึ ษาหัวขอ้ ทกี่ ำหนด แล้วบนั ทกึ ตามลำดับข้นั ตอน K W L (ผู้เรียนรอู้ ะไรบา้ ง) (ผู้เรียนตอ้ งการร้อู ะไรบ้าง) (ผ้เู รยี นได้เรียนรอู้ ะไรบ้าง) สมาชิกในกลุ่ม ชน้ั ม. 1. …………………………………………………….เลขท…ี่ ………. 4. ………………………………………………………เลขท…ี่ ………. 2. …………………………………………………….เลขท…่ี ………. 5. ………………………………………………………เลขท…ี่ ………. 3. …………………………………………………….เลขท…่ี ………. 6. ………………………………………………………เลขท…ี่ ……….

สื่อการเรยี นการสอน ภาพแหลง่ กำเนิดอารยธรรมเมโสโปเตเมยี ภาพอกั ษรคนู ิฟอร์ม

กำไล เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผา เคร่อื งมือเครอ่ื งใช้ เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการล่าสตั ว์

ภาชนะสำรดิ หรือตงิ 4 ขา กำแพงเมืองจนี แม่นำ้ ฮวงโห

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาประวัตศิ าสตร์ 3 รหสั วิชา ส 32103 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง เวลาและการแบง่ ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ จำนวน 5 ชว่ั โมง แผนการสอนเรอ่ื ง ตวั อย่างเวลาและยุคสมยั ท่มี ใี นหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ จำนวน 1 ชวั่ โมง ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ครูผูส้ อน นางสาวราวีญา ซอมัด ___________________________________________________________________________ 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลมีความสัมพันธ์กัน ดังจะเห็นได้จากหลักฐานทาง ประวัติศาสตรข์ องยคุ สมัยของโลกตะวันตกและโลกตะวนั ออก 2. ตวั ชว้ี ัด/จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 ตัวชว้ี ดั ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการ เปล่ยี นแปลงของมนุษยชาติ 2.2 จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายเวลาและยคุ สมัยท่ีปรากฏอยใู่ นหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรส์ ากลได้ (K) 2. ยกตวั อยา่ งหลักฐานทางประวัติศาสตรข์ องโลกตะวันตกและตะวันออกได้ (P) 3. เหน็ ความสำคัญของชว่ งเวลาและยุคสมยั สำหรับการศึกษาประวัติศาสตร์ (A) 3. สาระการเรียนรู้ ตัวอย่างเวลาและยุคสมยั ทีป่ รากฏอยู่ในหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรส์ ากล 1. ตวั อย่างเวลาและยุคสมยั ของโลกตะวนั ตก 2. ตัวอยา่ งเวลาและยุคสมยั ของโลกตะวันออก 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 4.1 ความสามารถในการคิด 4.2 ความสามารถในการสื่อสาร 5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน

6. กจิ กรรมการเรียนรู้ (เทคนคิ การสอน : แบบบรรยาย) ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรยี น 1. ครูนำภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของโลกตะวันตกและตะวันออกให้นักเรียนดู จากนั้นให้ นักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ ถึงความสำคญั ของหลกั ฐานดังกล่าว 2. ครูตั้งประเดน็ คำถามเพอ่ื เช่ือมโยงเขา้ สูบ่ ทเรยี น ขั้นจดั การเรียนรู้ 1. ให้นักเรียนร่วมกันศึกษาความรู้เรื่องตัวอย่างเวลาและยุคสมัยของโลกตะวันตกและโลกตะวันออก จากหนังสอื เรยี น 2. ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกันอภิปรายถึงสาระสำคัญร่วมกัน 3. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการจัดทำประมวลกฎหมายฮัมมูราบีว่าเกิดขึ้นในสมัยใด แล้วกฎหมาย ดังกลา่ วมีความสำคัญต่อสงั คมโลกตะวันตกอยา่ งไร 4. นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจ จากนั้นครอู ธบิ ายความรเู้ พิ่มเตมิ 5. ครูซักถามนักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับราชวงศ์ของจีนว่าแต่ละราชวงศ์มีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ อยา่ งไร 6. นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ จากน้นั ครูอธบิ ายความรู้เพิ่มเติมเพือ่ ความเข้าใจชัดเจนยงิ่ ข้ึน 7. ครูใหน้ กั เรียนทำใบงานท่ี 1.3 คำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ เพอ่ื สรปุ ผลการเรียนรู้ ข้ันสรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องตัวอย่างเวลาและยุคสมัยที่ปรากฏอยู่ในหลักฐานทาง ประวัติศาสตรส์ ากล 7. การวัดและประเมนิ ผล เคร่อื งมอื เกณฑ์ วิธีการ ใบงานท่ี 1.3 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ แบบทดสอบหลงั เรยี น รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.3 ทดสอบหลังเรยี น 8. เกณฑ์การตดั สนิ ผลงาน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 321 1 เน้อื หาละเอียดชัดเจน 2 ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หา รวม การตอบคำถามสอดคลอ้ งกับรายการประเมินสมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 3 คะแนน การตอบคำถามสอดคล้องกับรายการประเมนิ เป็นสว่ นใหญ่ ให้ 2 คะแนน การตอบคำถามสอดคล้องกบั รายการประเมินบางสว่ น ให้ 1 คะแนน การตอบคำถามไม่สอดคลอ้ งกบั รายการประเมิน ให้ 0 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนนการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ คะแนนผลงาน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5-6 3 หมายถึง ดมี าก 5 100 4-3 2 หมายถึง ดี 4 80 2-1 1 หมายถงึ พอใช้ 3 60 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง 2 40 0 9. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน ประวตั ิศาสตรส์ ากล ม.4-ม.6 2. รปู ภาพ 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. เหตุการณส์ ำคัญทางประวตั ศิ าสตร์

10. บันทกึ หลังการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………...……….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……...………. ………………………………………………………………………………………………………………………………….…….................… ลงชื่อ……………………………………………….. (นางสาวราวีญา ซอมัด) ตำแหนง่ ครู คศ.1 ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลุ่มสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………....………. ลงชื่อ………………………………………………. (นายนนท์นรนิ ทร์ ปนิ่ แก้ว) หัวหน้ากลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ความคดิ เหน็ ของหัวหน้ากลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงช่ือ……………………………………………….. (นายนิวัติ กลบั กลาย) ตำแหน่ง ครู คศ.3 หวั หนา้ กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

ความคิดเห็นของรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงชอ่ื ……………………………………………….. (นายพภิ พ รุ่งโรจน์รงั สรร) ตำแหน่ง รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นทา่ ขา้ มวิทยาคาร ความคดิ เหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงชื่อ……………………………………………….. (นายสมชาย ขวัญมนจิ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนท่าข้ามวิทยาคาร

ใบงานที่ 1.3 คำช้ีแจง ใหน้ ักเรียนตอบคำถามประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ต่อไปนี้ลงในสมุดของนักเรยี น

แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรือ่ ง เวลาและการแบ่งยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ 1. ชมุ ชนบ้านเชยี ง จดั อยูใ่ นยุคใด ก. ยุคหนิ แรก ข.ยุคหนิ เก่า ค. ยคุ หนิ กลาง ง. ยคุ หนิ ใหม่ 2. ระบบเงินตราของจนี เปน็ อัตราเดยี วกนั ทัว่ จักรวรรดิในสมยั ราชวงศ์ใด ก. โจว ข. จ๋นิ ค. ถงั ง. ฮั่น 3. สง่ิ ใดไม่ใช่สง่ิ ประดษิ ฐท์ ่ชี าวจนี คดิ ข้ึนมา ก. เข็มทิศ ข. นาฬิกาแดด ค. หลอดไฟ ง. เคร่ืองตรวจแผน่ ดนิ ไหว 4. ระบบเศรษฐกจิ ของจนี ไดร้ ับการผอ่ นคลายใหเ้ ปน็ เสรนี ยิ มมากขึ้นในสมยั ผู้นำใด ก. จู เอ็น ไล ข. ซนุ ยดั เซน็ ค. เหมา เจอ๋ ตุง ง. เติ้ง เส่ยี ว ผิง 5. วรรณกรรมเร่ืองรามายณะและมหาภารตะของอินเดีย สะท้อนแนวคดิ เรื่องใดเปน็ สำคญั ก. ระเบียบวนิ ัย ข. ความสามัคคี ค. ความกตญั ญู ง. ความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ี 6. กษัตริย์อินเดียพระองค์ใดทท่ี รงเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยงั ดินแดนตา่ งๆในเอเชยี ก. พระเจ้าพิมพสิ าร ข. พระเจ้าอชาตศัตรู ค. พระเจา้ มิลนิ ทรราชา ง. พระเจา้ อโศกมหาราช 7. แนวความคดิ ของกลุม่ เมโสโปเตเมยี มองฐานะของตนในสายตาพระเจา้ เหมอื นอะไร ก. ขนม ข. ของเล่น ค. ของขวญั ง. ลกู ของพระองค์ 8.ชาวสุเมเรยี นจารึกอักษรภาพ (คนู ิฟอร์ม) ลงบนวสั ดอุ ะไร ก. ไม้ ข. หนิ ค. ดินเหนยี ว ง. กระดาษ 9. ข้อใดเปน็ ผลงานของสถาปตั ยกรรมแบบเรอเนสซองก์ ก. หอเอนปซิ า – อติ าลี ข. หอไอเฟล – ฝร่ังเศส ค. วหิ ารเวสมินเตอร์ - อังกฤษ ง. วิหารเซนตป์ ีเตอร์ - อิตาลี 10. ข้อใดเป็นผลงานของลีโอนาโด ดาวินชี ก. ยโู ทเปีย ข. โมนาลซิ า ค. สาวน้อยเต้นระบำ ง. เรอื กลไฟ 11. พุทธศักราช เกดิ ก่อนครสิ ตศ์ ักราชกี่ปี ก. 245 ข. 453 ค. 543 ง. 1124 12. พ.ศ. 2467 อยู่ในช่วงพทุ ธศตวรรษท่ีเทา่ ไร ก. 26 ข. 25

ค. 24 ง. 23 13. ฮิจเราะหศ์ กั ราช เป็นการใช้ศักราชโดยคนทน่ี บั ถือศาสนาใด ก. ศาสนาฮนิ ดู ข. ศาสนาคริสต์ ค. ศาสนาอิสลามง. ศาสนายดู าห์ 14. มหาศกั ราชเป็นศักราชทไี่ ทยไดแ้ บบอยา่ งมาจากชาตใิ ด ก. ลังกา ข. ขอม ค. อนิ เดยี ง. จีน 15. ยุคประวตั ศิ าสตร์เร่ิมเมื่อไร ก. รู้จักทำการเกษตร ข. มีการต้ังชุมชนข้นึ ค. มกี ารใช้โลหะเป็นอาวธุ ง. มกี ารบนั ทกึ เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรอ่ื ง เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ 1. ง 2. ข 3. ค 4. ง 5. ง 6. ง 7. ข 8. ค 9. ง 10. ข 11. ค 12. ข 13. ค 14. ข 15. ง

สอ่ื การเรียนการสอน สญั ลักษณ์ประมวลกฎหมายฮมั มูราบี กระดาษปาปริ สุ หวั สงิ ห์ของพระเจ้าอโศกมหาราช

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 รหัสวชิ า ส 32103 จำนวน 4 ชั่วโมง กลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ าประวตั ิศาสตร์ 3 จำนวน 2 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรอื่ ง การสรา้ งองค์ความรู้ใหมท่ างประวตั ศิ าสตร์สากล ภาคเรียนท่ี 1 แผนการสอนเรือ่ ง วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ครูผสู้ อน นางสาวราวญี า ซอมัด 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ในอดีตโดยคำนึงถึงมิติของเวลา และพฤติกรรมของมนุษย์ที่สำคัญซึ่ง ก่อให้เกิดผลต่อสังคมส่วนรวม การศึกษาประวัติศาสตร์จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ในการตามหารอย อารยธรรมโลก โดยการใช้วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 2. ตัวชวี้ ัด/จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตวั ช้วี ดั ส 4.1 ม.4-6/2 สร้างองคค์ วามรู้ใหม่ทางประวตั ิศาสตร์ โดยใช้วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.2 จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายขน้ั ตอนวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ (K) 2. สรา้ งองค์ความรโู้ ดยใชว้ ธิ กี ารทางประวัติศาสตรไ์ ด้ (P) 3. เห็นความสำคญั ของวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์สำหรับการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ (A) 3. สาระการเรียนรู้ วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ 1. การกำหนดหวั เรื่องท่จี ะศึกษา 2. การรวบรวมหลักฐาน 3. การประเมินคณุ ค่าของหลกั ฐาน 4. การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์และจดั หมวดหมขู่ อ้ มูล 5.การเรียบเรยี งหรอื การนำเสนอ 4. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 4.1 ความสามารถในการคิด 4.2 ความสามารถในการสือ่ สาร 5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งม่ันในการทำงาน

6. กิจกรรมการเรยี นรู้ (เทคนคิ การสอน สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ชว่ั โมงท่ี 1 ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน ข้ันท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ 1. ใหน้ ักเรียนทดสอบก่อนเรียน 15 ข้อขอ้ ใชเ้ วลาเตรยี มความพร้อมและทำแบบทดสอบ 15 - 20 นาที 2. ครูเลา่ เหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ เช่น สงครามโลกคร้ังท่ี 1 สงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเย็น ครู ให้นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ วา่ ทำไมนกั เรยี นถึงรู้เหตุการณต์ า่ งๆทีเ่ กดิ ขึ้น 3. ครูอธบิ ายเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ข้ันจดั การเรียนรู้ ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา 1. ให้นักเรยี นแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 6 คน คละความสามารถกนั เก่ง ปานกลาง ออ่ น 2. ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั ศกึ ษาความรู้เร่ืองวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ ในประเดน็ ต่อไปนี้ - การกำหนดหวั เรอ่ื งท่ีจะศึกษา - การรวบรวมหลักฐาน 3. นกั เรียนรว่ มกนั ศกึ ษาความรู้ตามทไี่ ด้รับมอบหมาย ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ 1. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มผลดั กันอธบิ ายความร้ทู ไ่ี ด้จากการศึกษา 2. ให้นกั เรียนผลดั กนั ซกั ถามข้อสงสยั และอธบิ ายจนมคี วามเข้าใจชดั เจนตรงกนั ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ 1. ครูอธิบายความรู้เพมิ่ เติมเพือ่ ให้นักเรียนเข้าใจชดั เจนยง่ิ ข้นึ 2. ครูซักถามนักเรียนถึงผลการศึกษาความรู้ จากนั้นครูอธิบายวิธีการสืบค้นข้อมูลด้วยวิธีการทาง ประวตั ิศาสตร์ 3. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนสบื ค้นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์สากลตามความสนใจ 1 เหตุการณ์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเหตุการณ์ แล้วติดภาพและบันทึกข้อมูล โดยให้นักเรียนเตรียม เนือ้ หาเพอ่ื นำมาใช้ในการเรียนในช่ัวโมงท่ี 2 ขั้นสรุป ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล 1. นกั เรยี นร่วมกันสรุปความร้เู ร่ืองวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 2. ครทู ำหน้าท่ใี ห้คำแนะนำและตรวจสอบความถูกต้อง กิจกรรมการเรียนรู้ (เทคนิคการสอน สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ชวั่ โมงท่ี 2 ขนั้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น ขั้นท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ 1. ครูทบทวนความรูเ้ ดิม โดยการตั้งคำถามวา่ นกั เรยี นสนใจเหตกุ ารณท์ างประวัติศาสตร์เรื่องใด 2. ครูสอบถามความคืบหน้าเรือ่ งทีค่ รมู อบหมายใหน้ ักเรยี นสืบค้นเรื่องราวท่ีนักเรยี นสนใจ 3. ครอู ธบิ ายเชอื่ มโยงเขา้ สู่บทเรียน

ขน้ั จัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 2 สำรวจคน้ หา 1. ให้นกั เรยี นแบ่งกล่มุ กลุม่ ละ 6 คน (กลุ่มเดิม) คละความสามารถกนั เกง่ ปานกลาง อ่อน 2. ครใู ห้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั ศึกษาความรู้เรื่องวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ในประเด็นตอ่ ไปน้ี - การประเมินคุณคา่ ของหลกั ฐาน - การวเิ คราะห์ สังเคราะห์และจดั หมวดหมู่ขอ้ มูล - การเรียบเรียงหรอื การนำเสนอ 3. นักเรยี นรว่ มกนั ศกึ ษาความรตู้ ามที่ไดร้ บั มอบหมาย ขั้นท่ี 3 อธบิ ายความรู้ 1. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ผลดั กนั อธิบายความรทู้ ่ีได้จากการศึกษา 2. ใหน้ ักเรียนผลัดกนั ซักถามข้อสงสยั และอธิบายจนมคี วามเข้าใจชดั เจนตรงกัน ข้นั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ 1. ครอู ธิบายความรูเ้ พ่ิมเติมเพือ่ ใหน้ กั เรยี นเข้าใจชัดเจนย่งิ ข้ึน 2. ครูซักถามนักเรียนถึงผลการศึกษาความรู้ จากนั้นให้นักเรียนทำใบงานที่ 2.1 โดยให้นักเรียนเลือก ประเด็นศึกษาหรือเร่ืองทน่ี กั เรยี นสนใจ แลว้ ใหศ้ ึกษาโดยใชว้ ิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ 3. ครูทำหนา้ ทีใ่ ห้คำแนะนำและควบคมุ การทำกิจกรรมของนักเรียน 4. นักเรียนแต่ละกลมุ่ อาสาสมัครและใหต้ วั แทนออกมานำเสนอข้อมลู หนา้ ชนั้ เรยี น ขน้ั สรุป ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล 1. นักเรยี นร่วมกันสรุปความรูเ้ รอ่ื งวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ 2. ครูทำหน้าที่ให้คำแนะนำและตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 7. การวดั และประเมินผล วิธีการ เครอื่ งมือ เกณฑ์ ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบก่อนเรยี น ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การนำเสนอหนา้ ช้ันเรยี น แบบสังเกตการณ์นำเสนอผลงาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

8. เกณฑก์ ารตดั สนิ ผลงาน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 321 1 เน้อื หาละเอียดชดั เจน 2 ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หา รวม การตอบคำถามสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 3 คะแนน การตอบคำถามสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน การตอบคำถามสอดคลอ้ งกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน การตอบคำถามไม่สอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนนการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ คะแนนผลงาน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5-6 3 หมายถึง ดมี าก 5 100 4-3 2 หมายถงึ ดี 4 80 2-1 1 หมายถึง พอใช้ 3 60 1 หมายถงึ ปรับปรงุ 2 40 0 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน ลำดับท่ี รายการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 1 เนอ้ื หาละเอียดชัดเจน 2 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา 3 ภาษาทีใ่ ชเ้ ขา้ ใจง่าย 4 ประโยชนท์ ี่ไดจ้ ากการนำเสนอ 5 วิธีการนำเสนอผลงาน รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน การนำเสนอผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 3 คะแนน การนำเสนอผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเปน็ ส่วนใหญ่ การนำเสนอผลงานสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางสว่ น ให้ 2 คะแนน การนำเสนอผลงานไมส่ อดคล้องกบั รายการประเมิน ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ คิดเป็นรอ้ ยละ 17-20 4 หมายถงึ ดีมาก 100 13-16 3 หมายถึง ดี 80 9-12 2 หมายถงึ พอใช้ 60 5-8 1 หมายถึง ปรับปรุง 40 9. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี น ประวัติศาสตร์สากล ม.4-ม.6 2. รปู ภาพ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. เหตกุ ารณ์สำคัญทางประวตั ิศาสตร์ 3. อินเตอร์เน็ต

10. บันทกึ หลงั การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………...……….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ปัญหาและอปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……...………. ………………………………………………………………………………………………………………………………….…….................… ลงชื่อ……………………………………………….. (นางสาวราวีญา ซอมัด) ตำแหนง่ ครู คศ.1 ความคิดเห็นของหวั หน้ากลุ่มสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………....………. ลงชื่อ………………………………………………. (นายนนท์นรนิ ทร์ ปนิ่ แก้ว) หัวหน้ากลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ความคดิ เหน็ ของหัวหน้ากลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงช่ือ……………………………………………….. (นายนิวัติ กลบั กลาย) ตำแหน่ง ครู คศ.3 หวั หนา้ กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

ความคิดเห็นของรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงชอ่ื ……………………………………………….. (นายพภิ พ รุ่งโรจน์รงั สรร) ตำแหน่ง รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นทา่ ขา้ มวิทยาคาร ความคดิ เหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….……. ลงชื่อ……………………………………………….. (นายสมชาย ขวญั มนจิ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนท่าข้ามวิทยาคาร

ใบงานที่ 2.1 คำชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์สากลตามความสนใจ 1 เหตุการณ์ โดยใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ในการศกึ ษาเหตุการณ์ แลว้ ติดภาพและบันทึกข้อมูล 1. การกำหนดหัวเร่อื งที่จะศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………....………. 2. การรวบรวมหลักฐาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………....………. 3. การประเมนิ คุณค่าของหลักฐาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………....………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… 4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจดั หมวดหม่ขู ้อมูล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………....………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… 5. การเรยี บเรยี งหรอื การนำเสนอข้อมลู …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………....………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………....……….

แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง การสรา้ งองค์ความรใู้ หม่ทางประวัตศิ าสตรส์ ากล คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรยี นเลอื กคำตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคำตอบเดยี ว 1. สงิ่ สำคัญทเ่ี กีย่ วข้องกบั ประวัตศิ าสตร์ คือข้อใด ก. หลักฐานตา่ งๆในแตล่ ะยุคสมัย ข. บคุ คลสำคญั และสถานทที่ เี่ ก่ยี วข้อง ค. ข้อมูลของมนษุ ยแ์ ละชว่ งเวลาทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ง. พฤตกิ รรมของมนษุ ย์และสถานที่ทเี่ กี่ยวข้อง 2. เหตใุ ดจึงกล่าววา่ การศึกษาประวัติศาสตร์เหมือนการถักทอผ้า ก. ต้องใชค้ วามเพียรพยายาม ข. ตอ้ งใชเ้ วลาในการรวบรวมข้อมูล ค. ต้องใช้ความตัง้ ใจจริงในการศึกษา ง. ตอ้ งใช้ความรอบคอบในการศึกษา 3. ในความหมายที่ประวัติศาสตร์เปน็ ศาสตรแ์ ขนงหน่ึงส่งผลในดา้ นใด ก. การสังเคราะห์ข้อมูลอย่างรอบคอบ ข. การใชส้ ตปิ ัญญาในการรวบรวมประสบการณ์ ค. การใชเ้ วลาในการพจิ ารณาความจรงิ ของข้อมลู ง. การประมวลความรขู้ องมนุษยจ์ ากอดีตสู่อนาคต 4. ผศู้ กึ ษาประวตั ศิ าสตร์อย่างแทจ้ ริงจะเปน็ ผ้ทู ี่มีบคุ ลิกภาพอยา่ งไร ก. อดทน เสยี สละ ข. มีเหตุผล ยตุ ิธรรม ค. มวี สิ ัยทศั น์ มอี ุตสาหะ ง. รอบคอบ มีความเพียร 5. ยคุ ประวตั ิศาสตร์เร่ิมเมื่อไร ก. รจู้ ักทำการเกษตร ข. มกี ารต้งั ชมุ ชนขึ้น ค. มกี ารใช้โลหะเป็นอาวุธ ง. มีการบนั ทึกเป็นลายลักษณ์อักษร 6. เหตใุ ดวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์จงึ มคี วามสำคัญ ก. จำลองอดีตได้อย่างถกู ต้องสมบูรณ์ ข. เป็นเกณฑก์ ำหนดในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ ค. เป็นกระบวนการทีไ่ ด้มาซึ่งข้อมลู ในอดตี ง. ทำใหป้ ระวตั ิศาสตร์ได้รับการยอมรับจากทั่วโลก 7. ชาติแรกทเ่ี ป็นผู้รเิ ริ่มวธิ กี ารสอบสวน ตรวจตรา ค้นคว้า ซักถาม เรอื่ งราวในอดตี คอื ขอ้ ใด

ก. จีน ข. กรกี ค. อนิ เดยี ง. องั กฤษ 8. เหตกุ ารณใ์ นลักษณะใดทเ่ี ปน็ ปจั จยั ทท่ี ำใหเ้ กิดประวัตศิ าสตร์ ก. พฤติกรรมของมนุษย์ ข. การสร้างหลกั ฐาน ค. การตคี วามหมายตรวจตรา ง. ถกู ทุกข้อ 9. ผูท้ ีใ่ ชว้ ิธกี ารคาร์บอน 14 คือใคร ก. นกั วรรณคดี ข. นักโบราณคดี ค. นกั วทิ ยาศาสตร์ ง. นักมานุษยวทิ ยา 10. คุณลกั ษณะใดของมนุษย์ทีต่ อบสนองดว้ ยการศึกษาประวตั ิศาสตร์ ก. ความอดทน ข. ความอยากรู้ ค. ความคิดรเิ ริ่ม ง. ความพอดขี องพฤติกรรม 11. จุดเด่นของหลักฐานชั้นตน้ คืออะไร ก. มคี วามเก่าแก่ ข. มคี วามสมบรู ณ์ ค. มคี วามน่าเชอ่ื ถือ ง. ไม่มเี จตนาแอบแฝง 12. เหตุใดการตีความข้อมูลหลักฐานจากหลักฐานช้ินเดยี วกันจงึ มีความแตกตา่ งกนั ก. ตคี วามในเวลาทตี่ า่ งกัน ข. ใชข้ อ้ มูลในการตีความท่ตี า่ งกัน ค. ความคดิ เหน็ ของผูต้ ีความต่างกัน ง. การตคี วามขอ้ มลู แต่ละสว่ นใช้วิธีการแตกต่างกนั 13. การวเิ คราะห์เปรียบเทยี บหลักฐานชิ้นหน่ึงกับหลกั ฐานชน้ิ อืน่ มปี ระโยชน์อย่างไร ก. เพ่อื พจิ ารณาความนา่ เช่อื ถือของหลกั ฐาน ข. เพือ่ พจิ ารณาว่าเปน็ หลักฐานปลอมหรือไม่ ค. เพ่อื พจิ ารณาวา่ หลกั ฐานใดคือหลักฐานชั้นต้น ง. เพ่ือจดั หมวดหมู่หลักฐานทสี่ อดคล้องกนั เขา้ ไวด้ ้วยกัน 14. ขอ้ มูลใดเป็นประโยชน์ต่อการประเมินคุณค่าของหลักฐานมากทีส่ ดุ ก. ทราบวา่ พบหลักฐานที่ไหน ข. ทราบว่าไดห้ ลักฐานมาอยา่ งไร ค. ทราบว่าผสู้ ร้างหลกั ฐานคอื ใคร ง. ทราบว่าผู้สร้างหลักฐานสรา้ งเมอื่ ไหร่ 15. การนำเสนอขอ้ มลู ทด่ี คี วรทำอย่างไร ก. แยกการนำเสนอเป็นประเดน็ ข. แสดงความคดิ เห็นของผู้ศกึ ษา ค. แยกความร้ใู หม่กบั ความรู้เกา่ ง. แสดงความสมั พันธข์ องเหตุการณ์ เฉลย 1. ค 2. ก 3. ง 4. ข 5. ง 6. ก 7. ข 8. ก 9. ค 10. ข 11. ค 12. ค 13. ก 14. ค 15. ก

ส่อื การเรยี นการสอน ประติมากรรมรูปชายมีเครา ทชั มาฮาล

แมกนา คาร์ตาหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรเ์ กี่ยวกับการเมืองการปกครองในประเทศอังกฤษ เฮโรโดตัส บิดาแหง่ ประวัติศาสตร์โลกตะวนั ตก

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 รหสั วิชา ส 32103 จำนวน 4 ชว่ั โมง กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ 3 จำนวน 2 ชัว่ โมง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง การสร้างองคค์ วามรูใ้ หมท่ างประวตั ิศาสตร์สากล ภาคเรียนที่ 1 แผนการสอนเรอ่ื ง หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรส์ ากล ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ครูผูส้ อน นางสาวราวีญา ซอมัด 1. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ในอดีตโดยคำนึงถึงมิติของเวลา และพฤติกรรมของมนุษย์ที่สำคัญซึ่ง ก่อให้เกิดผลต่อสังคมส่วนรวม การศึกษาประวัติศาสตร์จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ในการตามหารอย อารยธรรมโลก โดยการใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 2. ตัวช้วี ดั /จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 ตวั ช้ีวัด ส 4.1 ม.4-6/2 สร้างองคค์ วามรูใ้ หม่ทางประวตั ิศาสตร์ โดยใช้วิธกี ารทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.2 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. จำแนกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ได้(K) 2. เปรยี บเทียบความแตกต่างของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ของไทยและสากลได้ (P) 3. วเิ คราะหค์ ุณค่าและประโยชนข์ องหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ด้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 1. ประเภทและแหล่งรวบรวมหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ 2. ตัวอยา่ งหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์สากล 4. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น 4.1 ความสามารถในการคดิ 4.2 ความสามารถในการสอื่ สาร 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

6. กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ (เทคนคิ การสอน : แบบสบื สวนสอบสวน OEPC Techniques) ชว่ั โมงท่ี 1 ข้ันนำเขา้ สูบ่ ทเรียน ขันท่ี 1 ขนั้ สงั เกต (Observation - O) 1. ครนู ำภาพทางประวตั ิศาสตร์ มาให้นกั เรยี นดู แลว้ ให้นักเรยี นตอบคำถามเกยี่ วกับภาพ ตามทัศนะและความรู้เดมิ ดังนี้ - ภาพอะไร หรอื ภาพใคร - เหตกุ ารณน์ น้ั เกิดเม่ือไร - มคี วามสำคญั อย่างไร - ภาพเหล่านนั้ เป็นประวตั ิศาสตร์หรอื ไม่ เพราะเหตุใด 2. ครอู ธบิ ายตามภาพและเชอ่ื มโยงเข้าสูบ่ ทเรียน ขั้นจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 2 ขน้ั อธบิ าย (Explanation - E) 1. ครูแบ่งนักเรียนเป็น 8 กลุ่ม ซึ่งเป็นกลุ่มคู่กัน ร่วมกันศึกษาเรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ น่าสนใจ - กลมุ่ 1 - 2 สบื ค้นข้อมลู หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ของยุคกอ่ นประวตั ิศาสตร์ตะวันตก - กลุม่ 3 - 4 สืบคน้ ข้อมูลหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ของยคุ ประวตั ิศาสตรต์ ะวันตก - กลมุ่ 5 - 6 สืบคน้ ขอ้ มลู หลักฐานทางประวัตศิ าสตรข์ องยคุ กอ่ นประวัติศาสตรต์ ะวนั ออก - กลุ่ม 7 - 8 สืบคน้ ขอ้ มลู หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ของยคุ ประวัตศิ าสตรต์ ะวนั ออก 2. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลของหลักฐานนั้นๆว่า เป็นหลักฐานประเภทใด และมีประวัติ ความเป็นมาอยา่ งไร ขน้ั ที่ 3 ขั้นทำนายหรือคาดคะเน (Prediction - P) 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มที่ครูจับคู่ เช่น กลุ่มที่ 1 คู่กับกลุ่มที่ 2 ตั้งประเด็นคำถามจดไว้ในสมุดเรียนของ นกั เรียน เพื่อสืบสวนสอบสวน ขอ้ มลู เชิงลกึ ถึงประวัตคิ วามเป็นมา สาเหตุ และผลกระทบซงึ่ กันและกัน 2. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ เชื่อมโยงเหตกุ ารณ์ทางประวตั ิศาสตร์ทเ่ี กิดข้นึ ในอดตี ทีส่ ่งผลต่อโลกปจั จุบัน 3. ครอู ธบิ ายความรเู้ พ่มิ เติมเพอ่ื ให้นักเรยี นเขา้ ใจชัดเจนยิง่ ขึน้ ขั้นสรุป 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานผลงานที่ทำ จากนั้นจึงสรุปเสนอผลงานหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ท่นี ่าสนใจ 2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความรูเ้ ร่อื ง หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรส์ ากล 3. ครูทำหนา้ ทใ่ี หค้ ำแนะนำและตรวจสอบความถกู ตอ้ ง กิจกรรมการเรียนรู้ (เทคนิคการสอน : กระบวนการกลมุ่ ) ชว่ั โมงที่ 2 ขนั้ นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมเร่ือง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์แต่ละยคุ สมัยและแต่ละภูมภิ าค 2. ครอู ธิบายเชือ่ มโยงเขา้ สู่บทเรียน ขั้นจัดการเรียนรู้

1. ครูแบ่งนักเรียนเป็น 6 กลุ่ม ซึ่งเป็นกลุ่ม ร่วมกันศึกษาเรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์สากลและ ตัวอย่างหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์สากล - กลุม่ 1 ศึกษาความรเู้ รอ่ื งประเภทหลักฐานชน้ั ตน้ - กล่มุ 2 ศึกษาความรู้เรอ่ื งประเภทหลักฐานชนั้ รอง - กลมุ่ 3 ศกึ ษาความรู้เรื่องตวั อยา่ งหลกั ฐานสมัยโบราณ - กลุ่ม 4 ศกึ ษาความรเู้ รื่องตัวอยา่ งหลกั ฐานสมยั กลาง - กลมุ่ 5 ศึกษาความรเู้ รอ่ื งตวั อยา่ งหลกั ฐานสมยั ใหม่ - กลุ่ม 6 ศึกษาความรู้เร่อื งตัวอยา่ งหลักฐานสมัยปจั จบุ ัน 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลของหลักฐานนัน้ ๆว่า เป็นหลักฐานประเภทใด และมีประวัติ ความเป็นมาอย่างไร 3. ใหน้ กั เรียนบันทึกข้อมลู ท่ีได้ศึกษาลงในสมุดเรยี นของนกั เรียน พรอ้ มทงั้ อธิบายถึงคุณค่าและวิธีการ อนรุ ักษ์หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ 4. ครูทำหนา้ ที่ควบคุมและให้คำแนะนำแกน่ ักเรยี น 5. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนกลุ่มละ 1 คน เพื่อออกมานำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียนพร้อมทั้งให้นักเรียน เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งหรอื ความเหมือนของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ของไทยและสากล 6. ครูเปดิ โอกาสให้นกั เรียนไดซ้ ักถามข้อสงสัยหลงั จากแตล่ ะกลุ่มนำเสนอข้อมูล 7. ครอู ธบิ ายความรู้เพ่ิมเตมิ เพื่อให้นกั เรยี นเขา้ ใจชดั เจนยิง่ ขึน้ 8. ครูยกตวั อย่างการศึกษาโดยใช้วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์เพมิ่ เติมจากเน้ือหา ขนั้ สรปุ 1. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ ความรเู้ รอ่ื ง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรส์ ากล 2. ใหน้ กั เรยี นทำใบงานที่ 2.2 ตอบคำถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู้เพือ่ สรุปขอ้ มูล 3. ครูทำหนา้ ที่ให้คำแนะนำและตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 4. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียนจำนวน 15 ข้อ 7. การวดั และประเมนิ ผล วิธกี าร เคร่อื งมอื เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.2 ใบงานท่ี 2.2 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การนำเสนอหน้าช้นั เรยี น แบบสังเกตการณ์นำเสนอผลงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ทำแบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลงั เรียน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

8. เกณฑก์ ารตดั สนิ ผลงาน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 321 1 เนื้อหาละเอยี ดชัดเจน 2 ความถูกต้องของเน้ือหา รวม การตอบคำถามสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 3 คะแนน การตอบคำถามสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน การตอบคำถามสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน การตอบคำถามไม่สอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนนการประเมิน ระดับคุณภาพ คะแนนผลงาน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5-6 3 หมายถึง ดมี าก 5 100 4-3 2 หมายถงึ ดี 4 80 2-1 1 หมายถึง พอใช้ 3 60 1 หมายถงึ ปรับปรงุ 2 40 0 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ลำดับท่ี รายการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 1 เนอ้ื หาละเอียดชดั เจน 2 ความถูกตอ้ งของเนอื้ หา 3 ภาษาทีใ่ ชเ้ ขา้ ใจง่าย 4 ประโยชนท์ ี่ได้จากการนำเสนอ 5 วิธีการนำเสนอผลงาน รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน การนำเสนอผลงานสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 3 คะแนน การนำเสนอผลงานสอดคล้องกับรายการประเมินเปน็ ส่วนใหญ่ การนำเสนอผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ บางสว่ น ให้ 2 คะแนน การนำเสนอผลงานไมส่ อดคล้องกบั รายการประเมิน ให้ 1 คะแนน