ในยุคบุกเบิก และสหรัฐอเมริกากลายเป็นแหล่งป้อนฝ้ายซึ่งเป็นวัตถุดิบใหแ้ กอ่ ตุ สาหกรรมทอผา้ ขององั กฤษและเปน็ ตลาดสง่ สนิ คา้ สำ� เรจ็ รปู ขององั กฤษ เนอ่ื งจากอุตสาหกรรมและการค้าท่ีขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ องั กฤษต้องการระบบขนส่งที่ดีเพื่อลดต้นทุนการขนส่งวัตถุดิบและสินค้าออกสู่ตลาด ทำ� ใหป้ ระเทศองั กฤษเรง่ พฒั นาถนนและระบบขนสง่ ภายในประเทศระบบขนส่งทางน�้ำถูกพัฒนาขึ้นแทนการขนส่งทางบกโดยเกวียน น่ีเป็นการขนสง่ อกี ทางหนง่ึ ทช่ี ว่ ยลดตน้ ทนุ การขนสง่ มกี ารขดุ คลองเชอื่ มตอ่ กบัแมน่ ำ�้ ทำ� ใหเ้ กดิ ระบบขนสง่ ทางนำ�้ ทชี่ ว่ ยขนสง่ ถา่ นหนิ และสนิ คา้ หนกั ๆ ได้ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 George Stephenson ไดป้ ระดิษฐ์รถไฟไอน้ำ�และ Robert Fulton ประดษิ ฐเ์ รอื กลไฟไอนำ�้ นคี่ อื ววิ ฒั นาการระบบขนสง่ท้งั ทางบกและทางนำ้� ท่ีสำ� คัญซงึ่ ทำ� ให้เมืองต่างๆ ถกู เชอ่ื มโยงเขา้ หากนัสินค้า วตั ถุดบิ การผลิต (โรงงาน) และสนิ คา้ ส�ำเรจ็ รปู ดว้ ยการขนสง่ ท่ีสะดวกขึ้น นีเ่ ป็นระยะการปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมยุคท่ี 1 ทเี่ กิดขน้ึ อย่างเตม็รูปแบบ การปฏิวัติอุตสาหกรรมท�ำให้รูปแบบการผลิตเปล่ียนไปขณะเดียวกันสังคมและความเป็นอยู่ของมนุษย์และการเมืองก็เปลยี่ นแปลงตามไปดว้ ย ผคู้ นอพยพจากชนบทเขา้ สตู่ วั เมอื งเพอ่ื แสวงหาโอกาสและรายได้ที่ดีกว่าเมืองจึงขยายตัวขึ้น ประชากรในอังกฤษเพิ่มจ�ำนวนข้ึนอย่างรวดเร็ว ในระยะนั้นการเปลี่ยนแปลงวิธีการผลิตแบบครวั เรือนสู่โรงงาน คนงานย้ายเขา้ สตู่ วั เมอื งและเขา้ สโู่ รงงาน ชีวติ ทเ่ี คยอสิ ระกส็ นิ้ สดุ ลง คนงานทำ� งานหนกั ตอ่ เนอื่ งวนั ละ 10 ชว่ั โมง เกดิ คนงานหญิงและเด็กซ่ึงถูกจ้างด้วยอัตราค่าจ้างที่ถูกกว่าคนงานชาย ท�ำให้เกิดความเหล่ือมล�้ำทางสังคม ความแตกต่างของรายได้ และความเป็นอยู่ระหว่างนายทุนกับคนงาน น�ำมาซ่ึงการก่อต้ังสหภาพของคนงานเพื่อ 99
การต่อรองกับนายจ้าง และการเจรจาต่อรองเกิดขึ้นบ่อยครั้งในอังกฤษตามมาด้วยการผละงาน ในยุคน้ันการค้าของอังกฤษเจริญถึงขีดสุดฝรงั่ เศสในชว่ งกอ่ น ค.ศ.1815 ยงั ยงุ่ อยกู่ บั สงครามของนโปเลยี น แมส้ น้ิ ยคุนโปเลียนไปแล้วฝรั่งเศสก็ค่อยๆ เร่ิมตามอังกฤษมาอย่างช้าๆ ส่วนในอีกซีกโลกหนึ่งสหรัฐอเมริกาเพิ่งเป็นยุคบุกเบิกหลังสงครามในประเทศยุตลิ ง สหรฐั อเมรกิ ายังอยู่ในระยะฟื้นตวั เครอื่ งจักรและการผลติ ต่างตอ้ งซื้อจากอังกฤษ นิวอิงแลนด์คือเมืองชายฝั่งของสหรัฐอเมริกาท่ีผู้อพยพจากยโุ รปไปตง้ั ถน่ิ ฐานเรมิ่ มกี ารพฒั นาอตุ สาหกรรมในตน้ ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 และเริ่มต้นพัฒนาเครื่องจักรกลต่างๆ ข้ึนมาเอง และประดิษฐ์กรรมต่างๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนทำ� ใหน้ ักอตุ สาหกรรมชาวอเมริกนั เรม่ิ พัฒนาระบบการผลิตในรูปแบบของตัวเอง (American system of manufacturing)ผอู้ พยพจากฝรง่ั เศสตระกลู DuPont คอื ตวั อยา่ งนกั อตุ สาหกรรมทหี่ นภี ยัจากการปฏวิ ตั ใิ นฝรงั่ เศสมาตง้ั รกรากท่รี ฐั เดลาแวร์ DuPont เริ่มตน้ จากการผลิตดินปืนมาสู่การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ จนเป็นบริษัทท่ีมีการค้นคว้าและพัฒนาด้านเคมีที่โดดเด่นที่สุดในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 20ต่อเนือ่ งถึงตน้ ครสิ ต์ศตวรรษที่ 21การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรมยุคที่ 2 ในช่วงปี ค.ศ. 1880 ถงึ ค.ศ. 1960 เปน็ ชว่ งทม่ี ีการน�ำความร้ดู า้ นวิทยาศาสตร์เข้ามาพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง นักเคมีและวิศวกรได้เปิดความลับด้านฟิสิกส์และเคมี วิชาวิศวเคมีเป็นวิชาแขนงใหม่ที่เกิดขึ้นเพราะความต้องการนักวิศวกรท่ีมีความรู้ผสมผสานไปกับความรู้ด้านเคมีอุตสาหกรรมเหล็ก ปิโตรเลียม ปิโตรเคมี ได้เติบใหญ่ในยุคนี้ ความสามารถในการพัฒนาไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้าน�ำมาซ่ึงการพัฒนาการก�ำเนิดไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ เครื่องจักรเครื่องกลต่าง 100
ใช้พลังงานไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพการพัฒนาไฟฟ้ามาใช้ในอุตสาหกรรมเรมิ่ ตน้ เมอื่ ปี ค.ศ.1882 โดยThomasAlvaEdison เปน็ ผตู้ ดิ ไฟฟา้ สอ่ งสวา่ งทั่วท้งั เมืองนิวยอร์ก ไฟฟ้าถูกนำ� ไปใช้เป็นพลงั งานขบั เคล่ือนเครอื่ งยนต์ตา่ งๆ และเปน็ พลงั งานสำ� คญั สำ� หรบั อตุ สาหกรรม บรษิ ทั WestinghouseElectric และ General Electric เปน็ บรษิ ทั เครอื่ งจกั รไฟฟา้ ทโ่ี ดง่ ดงั ในยคุน้ันท�ำให้ประสิทธิภาพการผลิตสูงข้ึนแต่ต้นทุนการผลิตลดลง ในยุคน้ันบรษิ ทั US Steel และ Standard Oil เป็นบริษทั ยกั ษใ์ หญใ่ นสหรัฐอเมรกิ าทค่ี มุ กจิ การตา่ งๆ การคน้ ควา้ และพฒั นาในหลายๆ ดา้ นเกดิ ขน้ึ มากมายในสหรฐั อเมรกิ า Alexander Graham Bell ไดล้ ขิ สทิ ธิโ์ ทรศพั ทใ์ นปี ค.ศ.1876 ท�ำให้มีการพัฒนาระบบเครือข่ายโทรศัพท์ไปทั่วสหรัฐอเมริกาอันเป็นผลให้ธุรกิจขยายตัวได้เร็วเพราะผู้จัดการสามารถติดต่อและควบคุมกิจการจากท่ีห่างไกลได้คล่องตัวข้ึนด้วยโทรศัพท์ ท�ำให้เกิดวิชาการบรหิ ารองคก์ รขึน้ โดย Frederick Winslow Taylor เป็นผู้จดั ตงั้ Henry Ford เป็นบคุ คลสำ� คัญอกี ผ้หู นง่ึ ทท่ี ำ� ให้อตุ สาหกรรมยุคท่ี 2เจรญิ อย่างสดุ ขดี Henry Ford เป็นนักวิศวกรและนักอตุ สาหกรรมพฒั นารถยนต์ระบบเผาไหม้ภายในให้มีประสิทธิภาพดีข้ึน อีกทั้งน�ำระบบขบวนการผลิตแบบสายพานมาใช้เป็นครั้งแรกในอุตสาหกรรมในการผลิตรถยนต์ Ford Model T ระบบสายพานการผลติ ท�ำให้ Ford ไม่ตอ้ งใช้ผู้ช�ำนาญการพิเศษหลายคนมาช่วยกันท�ำงานในการผลิตรถยนต์หนึ่งคนั ในโรงงานของ Ford ช้ินสว่ นต่างๆ จะเคล่อื นที่ไปตามสายพานและคนงานในแต่ละจุดก็จะหยิบช้ินส่วนที่ไหลมาน�ำไปประกอบเป็นรถยนต์ ระบบสายพานการผลิตท�ำให้การผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้นและท�ำให้ผลิตได้ปริมาณมากในขณะท่ีต้นทุนการผลิตลดลง ในยุคอุตสาหกรรม 2.0 คุณภาพสินค้าทผ่ี ลิตไดเ้ ป็นปัจจยั สำ� คัญท่ชี ้คี วามเป็นผูน้ ำ� ในสินค้านัน้ Dr.Edwards Deming เป็นผูแ้ นะนำ� การบรหิ ารคณุ ภาพ 101
ให้แก่อุตสาหกรรม แต่เขาไม่ได้รับความสนใจจากนักอุตสาหกรรมในสหรัฐอเมริกา Dr.Edwards Deming ไดน้ ำ� กระบวนการควบคมุ คุณภาพนี้ไปช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมในญี่ปุ่นอันท�ำให้อุตสาหกรรมญี่ปุ่นในยุคค.ศ. 1950 เติบโตเพราะคุณภาพสินค้าท้ังรถยนต์และเคร่ืองใช้ไฟฟ้ามีคุณภาพท่ีโดดเด่นและสินค้าคงทนขึ้น จึงสร้างชื่อเสียงและภาพพจน์ให้กับสนิ ค้าญีป่ ่นุ มาโดยตลอดการปฏิวัติอุตสาหกรรมยคุ ท่ี 3 หรือยุคดจิ ิตอล นค่ี อื ยคุ ของการววิ ฒั นาการเปลย่ี นถา่ ยจากอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อนาลอ็ ก(Analog Electronics) สู่อิเล็กทรอนิกส์ ดิจิตอล อันน�ำไปสู่ระบบการควบคมุ การผลติ และการผลติ ออโตเมตกิ รวมไปถงึ หนุ่ ยนตท์ ชี่ ว่ ยในการผลติ ววิ ฒั นาการนีเ้ รมิ่ ตน้ ในชว่ ง ค.ศ. 1950 ถึง 1970 เพราะการพัฒนาคอมพิวเตอร์ดิจติ อลและการเก็บขอ้ มูลแบบดจิ ิตอล การพฒั นานี้เกิดขึน้อย่างต่อเนื่องและเป็นไปอย่างรวดเร็วใน 10 ปีท่ีผ่านมา คอมพิวเตอร์ดิจิตอลและเทคโนโลยีการส่ือสาร ท�ำให้เทคโนโลยีด้านดิจิตอลและอนิ เตอรเ์ นต็ เขา้ มาเปน็ สว่ นหนงึ่ ในชวี ติ ประจำ� วนั ของคนกวา่ 3 พนั ลา้ นคนโทรศัพท์มอื ถอื กลายเปน็ หนึง่ ในปจั จยั 5 ของมนษุ ย์ ในด้านอุตสาหกรรมระบบควบคุมอัตโนมัติถูกน�ำมาใช้อย่างกว้างขวางในเครื่องจักรและกระบวนการผลิตของโรงงาน ระบบควบคมุอัตโนมัตินี้ท�ำให้เราสามารถควบคุมกระบวนการผลิตไม่ให้เกิดการผดิ พลาด อนั เปน็ ผลใหล้ ดตน้ ทนุ กระบวนการผลติ ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งจกั รและคณุ ภาพของสนิ คา้ อกี ทง้ั ประหยดั พลงั งานและแรงงานกระบวนการควบคมุ การผลติ อาจเปน็ การควบคมุ เฉพาะทห่ี รอื ควบคมุ การผลิตทั้งกระบวนการ ทั้งน้ีท้ังน้ันคอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยหนึ่งของระบบควบคุมในการรับข้อมลู วิเคราะหข์ อ้ มลู และส่งต่อขอ้ มูล นี่คือการกา้ ว 102
เขา้ สู่ยคุ ของ Everything Connected ระบบควบคุมการผลิตมีหลายระบบซ่ึงใช้ควบคุมเคร่ืองมือและเครอ่ื งจักรในการผลติ เช่น ระบบ SCADA (Supervisory Control AndData Acquisition) ระบบ DCS (Distributed Control System) และระบบเลก็ ลงมาซ่งึ ควบคุมเครื่องจกั รน้ันๆ หรอื PLC (Programmable LogicController) ระบบควบคุมเหล่าน้ีถูกพัฒนาข้ึนเพราะเพ่ือควบคุมและสั่งการให้เคร่ืองจักรท�ำงานไปอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐานท่ีก�ำหนดไว้อีกทั้งเก็บข้อมูลและแสดงข้อมูลการผลิตทุกขั้นตอนจากเซ็นเซอร์ท่ีมีอยู่ในระบบพร้อมทง้ั แจง้ เตือนให้ผ้ผู ลิตทราบทนั ทีท่มี ีสิ่งผดิ ปกติ เนอ่ื งจากการผลติ ในยุตอุตสาหกรรม 2.0 กระบวนการผลติ จะเป็นกระบวนการผลติ ตอ่ เนอ่ื งโดยใชค้ นไปควบคมุ เครอ่ื งจกั ร การผลติ จดุ หนงึ่มีผลต่อเน่ืองกับผลผลิตในอีกจุดหนึ่งตลอดกระบวนการผลิต โตโยต้ามีกฎควบคุมคุณภาพการผลิตที่ว่า “ไม่ส่งต่อส่ิงที่ไม่ถูกต้องไปยังกระบวนการผลติ ข้ันตอ่ ไป” ในกระบวนการผลิตตอ่ เนือ่ งนพ้ี นกั งานต้องมคี วามชำ� นาญในการดแู ลการผลติ ทกุ จดุ จงึ เกดิ ความตอ้ งการเครอ่ื งมอืในการควบคมุ การผลติ ในแตล่ ะจดุ และทกุ ๆ จดุ ของการผลติ ทตี่ อ่ เนอ่ื งกนัPLC เปน็ เครอื่ งมอื ควบคมุ เครอื่ งจกั รนนั้ ๆ PLC เกดิ ขนึ้ จากความตอ้ งการท่ีจะควบคุมกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมรถยนต์ในสหรัฐอเมริกาด้วยการพฒั นาของดจิ ติ อลคอมพวิ เตอร์ท�ำให้สามารถพฒั นาเคร่ืองมอื ที่สามารถดงึ ขอ้ มลู จากสญั ญาณในแตล่ ะจดุ ของเครอ่ื งจกั รได้ เชน่ รอบของเครอื่ งจกั ร ความรอ้ น แรงดนั ความสน่ั สะเทอื น พลงั งานทใ่ี ช้ เปน็ ตน้ มาเขา้ สู่ระบบควบคมุ PLC เพอ่ื ควบคมุ ปรบั เปลยี่ นแสดงขอ้ มลู จากคำ� สงั่ ทไี่ ดต้ ง้ั ไว้ระบบ SCADA คอื ระบบควบคมุ สำ� คญั ทถี่ กู สรา้ งขนึ้ เพอื่ เปน็ ทเ่ี กบ็ รวบรวมข้อมูลจาก PLC และวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้เป็นระบบควบคุมข้อมูลที่ 103
ทรงประสทิ ธภิ าพทใ่ี ชค้ อมพวิ เตอรเ์ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู (Networked Data)และวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทไี่ ดร้ บั อาจแสดงเปน็ รปู กราฟหรอื ขอ้ มลู ตวั เลข อกี ทงั้ควบคุมระบบการท�ำงานในจุดต่างๆ ได้ทันเวลาผ่านระบบเชื่อมโยงซงึ่ ตอ่ ไปถงึ จดุ เซน็ เซอรใ์ นเครอื่ งจกั รทกุ จดุ อกี ทงั้ ระบบควบคมุ ทม่ี กั ใชใ้ นอตุ สาหกรรมเคมี หรอื อุตสาหกรรมปิโตรเลยี มและปิโตรเคมี ซึง่ มีหนว่ ยผลติ หลายหน่วย คอื ระบบ DCS (Distributed Control System) เป็นระบบรบั ขอ้ มลู จากหลายจดุ ของการผลติ มารวมศนู ยใ์ นหอ้ งควบคมุ DCSสามารถตง้ั คา่ ควบคมุ และเปลย่ี นแปลงการทำ� งานของเครอ่ื งจกั รในหนว่ ยผลิตหลายๆ จุดได้ ในขณะเดียวกัน Computer-aided technology หรือ CAXCAD และ CAM เขา้ มาชว่ ยในการออกแบบวิเคราะห์ท้ังผลิตภัณฑแ์ ละกระบวนการผลติ ทำ� ใหย้ น่ ระยะเวลาการออกแบบและพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ ห้ส้นั ลงและแม่นย�ำข้นึ หนุ่ ยนตก์ ลายเปน็ ศาสตรท์ รี่ วมแขนงความรขู้ องวศิ วกรรมเครอ่ื งกลไฟฟา้ และคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ ดว้ ยกนั เทคโนโลยเี รม่ิ ตน้ จากทม่ี นษุ ยต์ อ้ งการเคร่อื งจกั รกลเข้ามาท�ำงานแทนมนุษย์ จากความร้แู ละความสามารถในดา้ นพฒั นาซอฟแวรท์ างคอมพวิ เตอรบ์ วกกบั การพฒั นาดา้ นกลอ้ งดจิ ติ อลและเทคโนโลยีเซ็นเซอร์ท�ำให้เกิดความพยายามท่ีจะพัฒนาหุ่นยนต์ท่ีคิดได้ตัดสินใจได้ (Pseudo-intelligent) โดยการรับข้อมูลจากหน่วยปอ้ นขอ้ มลู เข้ามา ท�ำให้ห่นุ ยนตส์ ามารถตดั สนิ ใจไดว้ ่าจะทำ� อะไรท�ำอย่างไร หุ่นยนต์ถูกน�ำมาใช้อย่างมากมายในอุตสาหกรรม เพ่ือให้หุน่ ยนตท์ ำ� งานแทนมนุษยใ์ นการยก ล�ำเลยี ง และเคลือ่ นย้ายสงิ่ ของ 104
อุตสาหกรรม 4.0 อตุ สาหกรรม 4.0 หรอื การเชอื่ มโยงการสื่อสารตา่ งๆ ระหว่างกันผ่านทางอินเตอร์เน็ต (Internet of Things) เป็นวิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยี อุตสาหกรรมและธุรกิจเกดิ ขน้ึ เร็วมากในรอบ 10 ปที ี่ผ่านมาทั้งน้ีเพราะความก้าวหน้าและการพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีดิจิตอลท�ำให้เกิดเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย การเช่ือมต่อกับระบบต่างๆ ท�ำให้การส่ือสารและติดต่อระหว่างมนุษย์กับสิ่งของและเคร่ืองจักรเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว เป็นผสมผสานกันระหวา่ งการจ�ำลองโลกเสมอื นจรงิ (Virtual simulation) และเทคโนโลยีที่มนุษยม์ ีอยู่ ณ ปจั จบุ นัเขา้ ด้วยกัน การเช่ือมโยงสงิ่ ต่างๆ เหลา่ นีโ้ ดยผา่ นเครอื ข่ายอินเตอร์เนต็ในอตุ สาหกรรม 4.0 จะทำ� ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและศกั ยภาพการในการผลติเพิ่มข้ึนอย่างทวคี ูณ 105
ดว้ ยระบบตา่ งๆ ในกระบวนการผลติ (ทง้ั ระบบหว่ งโซข่ องการผลติ )มกี ารเชอ่ื มตอ่ กนั ทำ� ใหเ้ กดิ ปรมิ าณขอ้ มลู มากมาย มผี วู้ จิ ยั และรายงานวา่ดว้ ยระบบการเชอ่ื มโยงนที้ ำ� ใหเ้ กดิ ขอ้ มลู เพม่ิ ขน้ึ มปี รมิ าณเพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ40 ตอ่ ปแี ละมอี ตั ราเพม่ิ ขน้ึ ทกุ ปี จงึ เกดิ ปญั หาวา่ ผผู้ ลติ จะเอาขอ้ มลู เหลา่ น้ีมาวเิ คราะหเ์ พอื่ ใหก้ ารผลติ มปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ไดอ้ ยา่ งไร ฉะนนั้ วศิ วกรการผลิตจึงต้องเรียนรู้และสามารถเข้าใจท่ีจะใช้ประโยชน์จากระบบทั้งหลายเหลา่ น้ี เช่น ระบบเซ็นเซอร์ ระบบวัดการเกบ็ ขอ้ มลู และวิเคราะห์ข้อมลู เพ่อื ให้เครอ่ื งจกั รท�ำงานและปรับกระบวนการผลิตเอง อนั นำ� ไปสู่โรงงานอัจฉริยะส�ำหรับอนาคต โรงงานอัจฉริยะคือโรงงานท่ีสามารถจัดการระบบภายในโรงงานได้โดยอัตโนมัติทันทีท่ีมนุษย์ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ เช่น เร่ิมต้นต้ังแต่ค�ำสั่งซ้ือจากลูกค้าจะมีการส่งต่อข้อมูลไปถึงห่วงโซ่ในการผลิตเพื่อจะเริ่มต้นการผลิตอย่างถูกต้องและรวดเร็วตลอดทงั้ กระบวนการ เทคโนโลยีเป็นตัวแปรเปลี่ยนอุตสาหกรรมในยุคอุตสาหกรรม 4.0หรือยุคของการเช่ือมโยงระหว่างกัน (Internet of Things) เกิดการเปล่ียนแปลงที่รวดเร็วและมีผลกระทบกับอุตสาหกรรมมากมาย ในท่ีน้ีอยากเอาอุตสาหกรรมรถยนต์เป็นตัวอย่างผลกระทบอันเกิดจากการแปรเปลีย่ นของเทคโนโลยี อุตสาหกรรมรถยนตค์ อื ตวั อย่างท่เี ห็นชดั ของอุตสาหกรรม 4.0 การเปลย่ี นแปลงครง้ั ใหญใ่ นห่วงโซ่อุปสงคแ์ ละอุปทานของอตุ สาหกรรมรถยนตไ์ ฟฟา้ แมย้ ังมีความคิดเหน็ ท่มี องวา่ รถไฟฟ้าไม่นา่ เกดิ ข้ึนเรว็ ในประเทศไทย รถ Eco Car น่าจะยงั เป็นคำ� ตอบในการประหยัดน�้ำมนั และลดมลภาวะสิ่งแวดลอ้ ม แตเ่ ราไม่อาจประมาทเพราะทิศทางของรถยนต์ไฟฟ้าในยุโรปและอเมริกาก�ำลังมาแรง เราหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่ารถยนต์ไฟฟ้าต้องเข้ามาทดแทนเครื่องยนต์เผาไหม้ภายในเพราะความต้องการในการลดภาวะโลกร้อน หรือการปล่อยก๊าซ 106
คาร์บอนไดออกไซด์ และการพัฒนาขีดความสามารถท่ีดีขึ้นต้นทุนการผลติ แบตเตอรล่ี เิ ธยี มไออนกล็ ดลงอยา่ งตอ่ เนอื่ งจาก $1,500 ตอ่ kWhมาที่ $750 ตอ่ kWh ในปี ค.ศ. 2015 และจะลดลงเหลอื $420 kWhในอกี 6 ปขี า้ งหนา้ หว่ งโซอ่ ปุ สงคแ์ ละอปุ ทานของรถยนตท์ ม่ี อี ยปู่ จั จบุ นั จะแปรเปลี่ยนไป ผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าและผู้ผลิตแบตเตอร่ีจะเป็นพันธมิตรส�ำคัญซึ่งกันและกัน Panasonic ผู้ผลิตแบตเตอร่ีไฟฟ้าท่ีโดดเด่นในคณุ ภาพ เปน็ หนุ้ สว่ นทางการคา้ กบั Tesla การเปน็ หนุ้ สว่ นการคา้ ระหวา่ งสองบริษัทเป็นการป้องกันความลับทางการค้าและเทคโนโลยีระหว่างกันดว้ ย Tesla สรา้ งโรงงานขนาดยักษท์ รี่ โี น่เป็นบรษิ ทั ผลิตรถฟ้า Tesla และภายในโรงงานขนาดใหญน่ จ้ี ะมโี รงงานผลติ แบตเตอรขี่ องตวั เอง หนุ้ สว่ นการค้าที่มีความส�ำคัญในห่วงโซ่น้ีคือผู้ผลิตมอเตอร์และแผงควบคุมจากแบตเตอรี่ไปยังมอเตอร์และระบบขับเคล่ือนต้องเชื่อมโยงกันและเป็นพันธมิตรกันตลอดทง้ั หว่ งโซ่อตุ สาหกรรมน้ี Batteries positioned under floor (Tesla Model S) เรามาจินตนาการกันว่าในห่วงโซ่ของยานยนต์ในประเทศไทยมีอุตสาหกรรมอะไรบา้ งที่จะไดร้ ับผลกระทบจาก EV สมมตวิ ่ารถยนต์ท่ีมีระบบเผาไหมภ้ ายในคนั หนง่ึ ถกู ถอดเครอื่ งยนตอ์ อกเหลอื แบตเตอรอี่ ยา่ งเดียว มีมอเตอร์ที่จะขับเคลื่อนล้อหน้าและระบบควบคุมการเคล่ือนท่ีอีกทั้งตัวรถยนต์ไฟฟ้าน้ีสามารถขับเคลื่อนเองได้ อุตสาหกรรมแรกที่จะถูกกระทบน่ันก็คืออุตสาหกรรมน้�ำมันและไฟฟ้า น้�ำมันหล่อลื่นจะไม่มี 107
ความจ�ำเป็นอีกต่อไป น�้ำมันเบนซินหรือน�้ำมันดีเซลก็ไม่จ�ำเป็นต้องใช้นอกจากกระทบอุตสาหกรรมปิโตรเลียมแล้วผู้ผลิตพืชผลทางการเกษตรเช่น น�ำ้ ตาล มันส�ำปะหลัง ขา้ วโพดท่ีผลติ เพ่ือท�ำแกส๊ โซฮอล์ และผู้ผลิตน้�ำมันปาล์มส�ำหรับท�ำไบโอดีเซลจะถูกกระทบหนักเช่นกัน ในขณะที่การใช้ไฟฟ้าจะมีมากขึ้น ถ่านหินและน้�ำมันเตาจะถูกทดแทนดว้ ยแกส๊ ธรรมชาติ ผู้ผลิตเครือ่ งยนต์, Catalytic converter, ThermoCharger, ระบบระบายความร้อน, ท่อน�้ำ, ท่อน�้ำมัน, ปะเก็น และยางคณุ ภาพสงู ทที่ นนำ�้ มนั และความรอ้ นจะหายไปจากตวั รถไฟฟา้ เพราะตวั ถงั รถไฟฟา้ ตอ้ งการวสั ดทุ เี่ บา อลมู เิ นยี มและโพลเิ มอรค์ อมโพสติ จะเขา้มาทดแทนอตุ สาหกรรมเหลก็ ทมี่ อี ยใู่ นปจั จบุ นั จะเกดิ ความตอ้ งการวสั ดุโพลเิ มอรช์ นดิ ใหมเ่ ขา้ มาปอ้ นใหแ้ กอ่ ตุ สาหกรรมรถยนตไ์ ฟฟา้ มนั ไมง่ า่ ยที่ผู้อยู่ในห่วงโซ่อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยจะปรับตัวได้ทนั ทว่ งที แตไ่ มช่ า้ ไมน่ านทศิ ทางของรถไฟฟา้ จะตอ้ งเขา้ มาอยา่ งแนน่ อนเราจึงต้องรบี หาแนวทางในการปรบั ตวั ไว้เสยี แต่วันนี้ อุตสาหกรรมทส่ี ำ� คัญอีกอุตสาหกรรมคือ อตุ สาหกรรมนำ�้ มันและไฟฟา้ ผเู้ ช่ยี วชาญ Ross McCracken กรรมการผูจ้ ัดการ Platts analysisในขา่ วสาร Energy Economist พยากรณไ์ วว้ า่ ถา้ รถไฟฟา้ เกดิ ขนึ้ หนง่ึ ลา้ นคนั และโตในอัตราร้อยละ 30 (อัตราเตบิ โตทสี่ งู มาก ในอัตราเดยี วกนั กบัการเกิดของพลงั งานจากแผงโซล่าเซลล์) จะมีผลกระทบต่อการใช้น้ำ� มันและไฟฟา้ อยา่ งมากจะทำ� ใหเ้ กดิ การลดปรมิ าณนำ้� มนั กวา่ 2 ลา้ นบารเ์ รลตอ่ วันใน 13 ปถี ดั ไปและมีความตอ้ งการไฟฟา้ เพมิ่ ขึ้น 2,700 kWh ในปีค.ศ. 2040 โดยการคำ� นวณรถยนตป์ ลกั๊ อนิ ไฮบรดิ (PHEV) และรถไฟฟา้ จะใชไ้ ฟ 0.3 kWh ต่อไมล์ ฉะน้นั เราคำ� นวณงา่ ยๆ คือการใช้ไฟของจ�ำนวนรถยนต์ 2 ชนดิ ตอ่ ปคี ณู ดว้ ยระยะทางการใชง้ านตอ่ ปี คณู ดว้ ยตวั เลขคงที่0.3 สว่ นจ�ำนวนนำ้� มนั ทล่ี ดลง (บารเ์ รลตอ่ วัน) จะเท่ากับจ�ำนวนรถไฟฟ้าคณู ดว้ ยระยะทางเปน็ ไมลต์ อ่ ปี หารดว้ ยจำ� นวนนำ้� มนั ตอ่ แกลลอนตอ่ ไมล์ที่ใช้ สำ� หรบั เครื่องยนต์ ICE หารด้วย 365 วัน หารดว้ ย 42 คอื จ�ำนวน 108
แกลลอนทใี่ ชใ้ น 1 บารเ์ รล ถา้ คาดคะเนวา่ จำ� นวนรถยนต์ EV เพม่ิ จำ� นวนขึ้นและมใี ช้ 50 ลา้ นคนั ใน ค.ศ. 2040 บรษิ ทั เอสโซ่ ประมาณการดว้ ยขอ้สมมตุ ฐิ านนี้ว่า นำ้� มันจะถกู ทดแทนดว้ ยการใชไ้ ฟฟา้ ของ EV 0.83 ล้านบารเ์ รลตอ่ วัน แตน่ ีไ่ ม่ใช่สมมุติฐานทแ่ี ท้จรงิ เอสโซ่ค�ำนวณว่าถ้าปี ค.ศ.2040 GDP โลกเติบโตสองเทา่ ตวั ความต้องการของพลังงานจะเติบโตอย่างมากมายในการคมนาคมขนส่ง สิ่งที่เป็นพลังงานส�ำคัญในระบบขนส่งคอื ไฟฟ้าและแกส๊ ธรรมชาติ (แทนน�ำ้ มนั เตาหรอื ถา่ นหนิ ) ในด้านอุตสาหกรรมยางและโพลิเมอร์ ณ ขณะนี้ต้องมองเห็นผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับอุตสาหกรรมยางเป็นล�ำดับแรก ยางที่ใช้ท้ังหมดในส่วนของเครื่องยนต์จะหายไป แต่ช้ินส่วนอ่ืนอาจยังคงอยู่แต่ต้องเปล่ียนแปลงคุณสมบัติให้เหมาะกับรถไฟฟ้าที่ต้องการความเบาเป็นสารไม่ตดิ ไฟ ยางหรอื พลาสติกทใี่ ชใ้ นสายไฟต้องทนความตา่ งศักด์ิได้สูงขึ้นปริมาณยางท่ีใช้ในระบบของรถไฟฟ้าจะลดลงโดยเฉพาะยางChloroprene, Acrylic Rubber, NBR และ FKM อีกทั้งโรงงานปโิ ตรเคมีและโรงงานผลิตยางสังเคราะห์ท่ีเคยเร่งขยายตัวใน 5 ปีท่ีผ่านมาจะถูกกระทบอย่างมากจากการเปล่ียนแปลงจากรถยนต์ระบบเคร่ืองยนต์เป็นระบบไฟฟ้า อตุ สาหกรรมแบตเตอร่ีแบบเกา่ จะถกู ทดแทนด้วย แบตเตอรลี่ เิ ธียมไอออน 109
อู่ซ่อมรถท่ีมีอยู่ปัจจุบันจะหายไป เพราะระบบอิเล็คโทรนิคในรถยนต์ไฟฟ้าจึงจ�ำเป็นต้องเข้าซ่อมที่ศูนย์บริการของผู้แทนจ�ำหน่ายโดยตรง เราไม่อาจปฏิเสธส่ิงที่ก�ำลังเข้ามา เราต้องเตรียมตัวเราเองให้พรอ้ มส�ำหรบั การเข้ามาของเทคโนโลยีใหมๆ่การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคมเป็นตัวผลักดันให้เกิดอตุ สาหกรรม 4.0 ในรอบ 10 ปีท่ีผ่านมานอกจากการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิตอลและการสื่อสารเช่ือมโยงผ่านอินเตอร์เน็ต และอีกปัจจัยหน่ึงท่ีผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 อย่างรวดเร็วน่ันคือการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคม ผู้เขียนมองว่านี่คือแรงผลักดันท่ีสำ� คญั ทที่ ำ� ใหม้ นษุ ยเ์ ขา้ สเู่ ศรษฐกจิ 4.0 หรอื อตุ สาหกรรม 4.0 อยา่ งรวดเรว็ โลกาภิวัตน์ท�ำให้การสื่อสารท่ัวโลกเป็นไปอย่างรวดเร็ว มนุษย์ในสงั คมทเ่ี คยอยอู่ ยา่ งงา่ ยๆ และเคยชนิ กบั สง่ิ ตา่ งๆ พวกเขาเรมิ่ ไดร้ บั ขา่ วสารมากมาย ท�ำให้รสนิยมเปล่ียนอันเกิดจากการเลียนแบบ ตามมาด้วยความต้องการสิง่ แปลกใหม่ ดีกว่า สะดวกกวา่ ถูกกว่า และมคี วามเป็นเอกลักษณ์ โลกาภิวัฒน์ท�ำให้เกิดการแข่งขันไม่จ�ำกัดเฉพาะตลาดในประเทศหรือภูมิภาค เปน็ การแข่งขนั ระดับท่ัวโลก อุตสาหกรรมทอ่ี ยไู่ ด้ตอ้ งเปน็ อตุ สาหกรรมทมี่ เี ทคโนโลยี การพฒั นาดา้ นนวตั กรรมและตน้ ทนุ ที่แขง่ ขนั ไดใ้ นตลาดสากล เปน็ ผลผลกั ดนั ใหเ้ ทคโนโลยใี หมๆ่ เกดิ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ แรงผลักดนั ด้านสังคมและสิง่ แวดล้อมก็เปน็ อีกปจั จัยหนึง่ การเปลยี่ นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจทีพ่ ัฒนาอยา่ งรวดเร็วในรอบ 10 ปีท่ชี ว่ ยผลกั ดันให้เกิดการเปลย่ี นแปลงในอตุ สาหกรรมทผี่ ่านมา ประเทศเศรษฐกจิ ใหมอ่ ยา่ งจนี อนิ เดยี ลาตนิ อเมรกิ า อนิ โดนเี ซยี ซงึ่ เปน็ ประเทศ 110
ที่มีประชากรมากกว่าคร่ึงของประชากรโลก ประชากรมีการเคลื่อนย้ายเขา้ สตู่ วั เมอื งเพอื่ แสวงหาทท่ี ม่ี รี ายไดม้ ากขน้ึ ประชากรโลกกวา่ ครงึ่ เขา้ มาอาศัยอยู่ในเมอื งและรอบๆ ตวั เมือง สหประชาชาติพยากรณ์วา่ อีก 30 ปีขา้ งหน้าประชากรกว่าร้อยละ 64 ของประเทศก�ำลงั พฒั นา และร้อยละ84 ของประเทศท่ีพัฒนาแล้วจะอยู่ในตัวเมือง ประชากรโลกขณะน้ันจะเพิม่ ขน้ึ เป็น 11,000 คน ส่งิ ท่ตี ามมาคอื มลภาวะที่เกิดขึ้นในตวั เมืองตงั้ แตม่ ลภาวะทางนำ้� ของเสยี จากภาคครวั เรอื นและมลภาวะทางอากาศการเปลีย่ นแปลงทเี่ กดิ ขึ้นในโลกนที้ ำ� ใหเ้ กดิ ความตอ้ งการใหมใ่ นอนาคตมลภาวะทางอากาศอนั เปน็ ผลจาการเผาไหมแ้ ละสนั ดาปของเชอื้ เพลงิ กบัออกซเิ จนในอากาศอนั กอ่ ใหเ้ กดิ คารบ์ อนไดออกไซด์ ไนตรกิ ออกไซด์ และซลั เฟอรไ์ ดออกไซดห์ รอื ไฮโดรเจนซลั ไฟต์ ไนตรสั และไนตรกิ ออกไซด์ เปน็มลภาวะท่เี กิดขึน้ อย่างหลีกเลีย่ งไมไ่ ด้ อีกท้งั การเผาไหม้อนั เกิดจากการกระทำ� ของมนษุ ยโ์ ดยเจตนาหรอื ไมเ่ จตนา เชน่ การเผาปา่ หรอื เศษวชั พชืทางการเกษตรในช่วงหน้าร้อน การเผาไหม้ของเช้ือเพลิงไม่ว่าจะเป็นของแขง็ หรอื ของเหลวเพอื่ กำ� เนดิ เปน็ พลงั หรอื ความรอ้ น หรอื สงิ่ ทเี่ กดิ ขนึ้โดยธรรมชาติ เช่น ไฟไหมป้ า่ ในสหรฐั อเมริกาและออสเตรเลยี ท่เี กดิ ขึ้นเปน็ ประจำ� ทุกปี แมแ้ ต่ตน้ ขา้ ว ตน้ ขา้ วโพด ในชว่ งเจริญเติบโตจะปลอ่ ยแก๊สมีเทน แก๊สที่ปล่อยออกจากสิ่งท่ีกล่าวมาข้างต้นจะก่อให้เกิดภาวะเรอื นกระจกอนั สง่ ผลทำ� ใหส้ ภาพดนิ ฟา้ อากาศทว่ั โลกแปรปรวนและทำ� ให้โลกรอ้ นขนึ้ (Global warming) เราจะเหน็ วา่ จากผลตา่ งของประชากรทเ่ี พมิ่ ขนึ้ และการเคลอื่ นยา้ ยของประชากรเข้าสู่ตัวเมืองท�ำให้จ�ำนวนพาหนะท่ีต้องใช้ในตัวเมืองเพิ่มมากขึ้น ส่ิงท่ีตามมาคือมลภาวะทั้งทางน้�ำและทางอากาศท�ำให้มนุษย์จ�ำต้องหาวิถีทางในการลดและควบคุมภาวะส่ิงแวดล้อมที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบและเร่งด่วน การออกกฎระเบยี บต่างๆ เพือ่ ควบคมุ การปล่อย 111
คาร์บอนไดออกไซดท์ ำ� ให้ประเทศในแถบยุโรปและสหรัฐอเมริกาตง้ั กฎท่ีเข้มงวดเหลา่ น้ี ท�ำใหบ้ ริษทั ยานยนตต์ ่างตอ้ งรบี พฒั นาเทคโนโลยีเพอื่ ให้ยานยนตป์ ลอ่ ยมลพษิ สอู่ ากาศนอ้ ยทสี่ ดุ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยการประดษิ ฐ์Catalyticconverter ตามดว้ ยเคร่ือง Turbocharger , electronic injection และรถยนต์ Hybrid ส่ิงเหล่านี้เป็นเทคโนโลยีท่ีเร่งพัฒนาข้ึนในรอบ 15 ปีที่ผ่านมาเพื่อลดมลพิษท่ีเครื่องยนต์ปล่อยออกมา อีกท้ังเป็นการปรับประสิทธิภาพการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดการใช้น้�ำมันลง ลดขนาดของรถยนต์ที่ใช้ในตัวเมืองให้เล็กลงท�ำให้ประหยัดน้�ำมันต่อระยะการเดินทางเท่ากัน มาตรการท่ีตามมาคือการหันมาปรับประสิทธิภาพของล้อรถยนต์ โดยลดแรงเสียดทานของล้อรถยนต์กับผิวถนนในขณะเคล่ือนที่ แต่กฎเหล็กที่เข้มงวดท่ีรัฐบาลยุโรปออกมาเพ่ือลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ท�ำให้บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ทงั้ หลายตา่ งปวดเศยี รเวยี นเกลา้ ทจี่ ะสรา้ งรถยนตใ์ นอนาคตทเี่ ขา้ กฎเหลก็เหล่าน้ีได้ มีเหตกุ ารณ์เมอื่ ปี ค.ศ. 2014 ที่บรษิ ัทโฟล์คสวาเกน รถยนต์คา่ ยยโุ รปทมี่ กี ารพฒั นาเทคโนโลยเี ครอ่ื งยนตเ์ กง่ ทส่ี ดุ ยงั โกงการอา่ นระดบัคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกจากเครื่องยนต์จนกระทั่งมีการพัฒนารถไฟฟา้ ไดเ้ ตม็ รปู แบบ อกี ทง้ั บรษิ ทั เทคโนโลยี ซลิ คิ อน วลั เลย์ ประดษิ ฐ์เทคโนโลยกี ารขบั รถยนตเ์ องโดยไรผ้ ขู้ บั ซงึ่ เปน็ เทคโนโลยที ร่ี ถยนตส์ อ่ื สารระหว่างรถยนต์กันเอง รถยนต์ส่ือสารกับระบบจราจร และสิ่งที่เกิดข้ึนบนท้องถนนท่ีรถก�ำลังเคลื่อนที่ไป รถถูกน�ำทางไปในทิศทางท่ีเจ้าของรถต้องการ เทคโนโลยี 4.0 หรอื เทคโนโลยี Internet of Things เขา้ มามีบทบาทในอตุ สาหกรรมรถยนตอ์ ยา่ งเตม็ รปู แบบ ผผู้ ลติ รถยนตแ์ ละรฐั บาลเยอรมันเห็นว่ายังไงก็ตามการพัฒนาเทคโนโลยีของระบบเคร่ืองยนต์เผาไหมภ้ ายในคงไมม่ ที างตอบสนองความตอ้ งการการลดมลภาวะทเ่ี กดิขนึ้ ได้ วฒุ สิ ภาเยอรมนั สงั่ ประเทศไมใ่ หม้ ผี ลติ รถยนตเ์ ผาไหมภ้ ายในตง้ั แต่ปี ค.ศ. 2030 เป็นตน้ ไป 112
ล้อรถยนต์ในอนาคต เทคโนโลยีการขับเคลื่อนไม่ได้หยุดอยู่ท่ีเฉพาะการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าหรือไฮโดรเจนฟูเอลเซล หรือระบบควบคุมและการขับเคล่ือนด้วยตัวเองการพัฒนายังต่อเนื่องไปถึงยางรถยนต์ในอนาคต ล่าสุดGoodyear บรษิ ทั ผผู้ ลติ ยางรถยนตท์ ม่ี ชี อื่ เสยี งและเกา่ แกข่ องโลก นำ� เสนอยางรถยนตใ์ นอนาคต ยางรถยนตข์ อง Goodyear จะเปน็ ยางรปู ทรงกลมและขับเคล่ือนโดยระบบแม่เหล็กไฟฟ้า ยางทรงกลมน้ีมีดอกยางทั่วทั้งลูกยางและด้วยลักษณะรูปทรงกลมน้ีท�ำให้รถยนต์สามารถเคลื่อนท่ีไปรอบทิศทางไม่จ�ำเพาะเคล่ือนไปข้างหน้าและถอยหลัง การท่ีล้อรถยนต์สามารถเคลื่อนที่ไปทุกทิศทางท�ำให้รถยนต์ในอนาคตสามารถเคล่ือนที่ไปดา้ นข้าง 90ํ ต้งั ฉากกบั ท้องถนนได้ ผูผ้ ลิตลอ้ รถยนต์ในประเทศไทยต้องตามเทคโนโลยีน้ีให้ทันนะครบัSteve Jobs อัจฉรยิ ะบรุ ษุ ผ้กู อ่ ต้ังบรษิ ัทแอปเปิลท่ีควรค่าแก่การยกย่องในยุคดิจติ อล หลายๆ คนอาจได้อ่านหนังสือ Steve Jobs ต่างก็ท่ึงในความอจั ฉริยะของ Steve Jobs ผู้เขียนจะไมเ่ ลา่ เรอ่ื งประวัตขิ อง Steve Jobsแต่จะยกตอนหนง่ึ ของ Steve Jobs ในบรษิ ทั แอปเปลิ เม่ือ iPhone ออกสู่ตลาดใหมๆ่ SteveJobs รแู้ ตแ่ รกวา่ iPhone ของเขายงั มสี ง่ิ ทตี่ อ้ งปรบั ปรงุอกี มาก iPhone รนุ่ แรกเปน็ เพยี งเครอ่ื งมอื สอ่ื สารทม่ี อี ยแู่ ลว้ ในตลาด ไมม่ ี 113
กลอ้ งถา่ ยรปู ในตวั แบตเตอรใ่ี ชง้ านไมเ่ ตม็ ประสทิ ธภิ าพ และสอ่ื สารดว้ ยระบบ 2G จาก AT&T ทีใ่ ห้ความเรว็ ทค่ี ่อนข้างช้า แต่ Steve Jobs แนใ่ จว่าโทรศัพท์มือถือคือเครื่องมือส่ือสารท่ีสำ� คัญในโลกอนาคต ในขณะนั้นบรษิ ทั แอปเปลิ จะตอ้ งสง่ั ซอื้ อะไหลต่ า่ งๆ จากผผู้ ลติ อะไหล่ สงั่ Chip ทใ่ี ช้ในเครอื่ งเลน่ DVD จากซมั ซงุ ตอ่ มา Steve Jobs ตดั สนิ ใจทจ่ี ะสรา้ งสนิ คา้ตัวอย่างที่มีความแตกต่างออกไปจากคู่แข่ง หรือเสนอสินค้าท่ีมีคุณค่าแตกตา่ งจากคู่แขง่ ใหก้ บั ผู้ใช้ นอกจากการสร้างวศิ วกรออกแบบแอปเปิลSteve Jobs ต้องสร้าง Silicone ของตวั เองใหส้ �ำเร็จ การตดั สินใจสรา้ งSemiconductors ท่ีมีขนาดเท่ากับดวงตราไปรษณีย์อากรให้มีขีดความสามารถและประสิทธิภาพสูงสุด Semiconductors คือหัวใจในเครื่องคอมพวิ เตอร์ เครอ่ื งเลน่ เกม การเลน่ สอื่ ผา่ นหนา้ จอ เครอื่ งมอื สอ่ื สารมอื ถอืการถา่ ยภาพที่มีประสทิ ธภิ าพและอน่ื ๆ กระแสจำ� นวนนอ้ ยๆ ท่ไี หลผา่ นทรานซสิ เตอรเ์ ลก็ ๆ จำ� นวนนบั ลา้ นเกดิ การสงั่ งานและตอบสนองในเสย้ี วลา้ นวนิ าที (Nano second) มนั เปรยี บเหมอื นแผงวงจรมหมึ าถกู บรรจลุ งใน Chip ตวั เลก็ ๆ ถา้ Chip ตวั นที้ ำ� งานไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพเครอ่ื งมอื สอ่ื สารนั้นก็น่าจะถูกโยนทิ้งไป ความส�ำเร็จของแอปเปิลคือความส�ำเร็จท่ีSteve Jobs ต้องการสร้างผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณค่าเหนือคู่แข่งที่สนองตอบความตอ้ งการของผ้ใู ช้ Steve Jobs ทุ่มเทสร้างเทคโนโลยี Chip ตัวเลก็ ๆของแอปเปิลขึ้นมา Semiconductors ท่ีมีประสิทธิภาพต้องเกิดขึ้นจากการประสานระหว่างวิศวกรผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์และวิศวกรผู้สร้างSemiconductors ตอบโจทย์ท่ีปิดช่องว่างระหว่างความต้องการของผ้บู รโิ ภคท้ังปจั จุบันและอนาคต วิศวกร Semiconductors ต้องประสานและรู้ซึ้งว่า Software memory ต้องการ Chip ชนิดใดทจ่ี ะสามารถสรา้ งรปู แบบใหมๆ่ ในเครอื่ งมอื สอื่ สารมอื ถอื ได้ วศิ วกร Semiconductors ตอ้ งเข้าใจความต้องการของวิศวกรออกแบบที่ต้องการเคร่ืองมือส่ือสารท่ีมี 114
คณุ สมบตั บิ างและเบาลง รวมทง้ั มรี ปู ลกั ษณท์ ปี่ ระทบั ใจผซู้ อ้ื ดว้ ยโจทยท์ ี่ยุง่ ยากเหล่านี้ Steve Jobs ได้สร้างทมี งานบรษิ ัทแอปเปิลข้นึ โดยได้ผมู้ ีประสบการณจ์ าก IBM และ Intel มาดแู ลแผนก Processor chips ซงึ่ เป็นมนั สมองภายในของ iPhone, iPad, Apple Watch และ Apple TV เขาคอืJohn Srouji หวั หน้าวศิ วกรรมนกั ออกแบบต้องวางแผนงานและผลติ ชิปท่ีตอบสนองโจทยเ์ หลา่ น้ี iPhone 4 ทใี่ ช้ Processor A4 ไดถ้ กู พฒั นาให้ดขี ึ้นจาก iPhone 2 ทีใ่ ชช้ ิปจากผผู้ ลิตภายนอก A4 ได้ถูกออกแบบและผลติ ใหม้ พี ลงั สงู สำ� หรบั โทรศพั ทม์ อื ถอื ทตี่ อ้ งการภาพถา่ ยทคี่ มชดั และการสอื่ สารทร่ี วดเรว็ ขน้ึ การใชไ้ ฟฟา้ ลดลงทำ� ใหแ้ บตเตอรใี่ ชง้ านไดน้ านขน้ึ ตอ่การบรรจไุ ฟใหมต่ อ่ ครง้ั ทมี งานของเขาสามารถพฒั นาProcessorchipA9ทที่ รงประสทิ ธภิ าพสงู ในiPhone6 และสรา้ งTabletProcessor,A9X ทเ่ี พง่ิพฒั นาขน้ึ มาใหมท่ ำ� ให้ iPad Pro ออกสตู่ ลาดดว้ ยชปิ ทม่ี คี วามเรว็ มากขน้ึบนจอกวา้ ง 12.9 นิ้ว และกลอ้ งถา่ ยภาพ 5.6 ลา้ นพิกเซล การพัฒนาของแอปเปลิ ทั้ง iPhone และ iPad ทอ่ี อกมาในแต่ละรนุ่ ทีมวิศวกรของJohn Srouji ต้องท�ำงานท่ีหนักและรวดเร็วเพ่ือท�ำให้แอปเปิลยืนอยู่ใน 115
ตลาดแนวหน้าของเคร่ืองมือสื่อสารเคล่ือนที่ แม้กระน้ันแอปเปิลก็ยังมีคู่แข่งที่นา่ กลัวอย่าง Samsung ท่ีพฒั นาเทคโนโลยไี ลต่ ามมาตลอด และโทรศพั ทม์ อื ถอื จากจนี ทข่ี ายราคาหนึ่งในสิบของแอปเปิล Symphony Xplorer V80 ทผ่ี ลติ ในประเทศจนี ขายในราคา $85 ในขณะที่ iPhone 6 ขายในราคา$910 แอปเปลิ ตอ้ งรบี นำ� เสนอAppleWatch ทเ่ี ปน็ นวตั กรรมใหม่ออกสู่ตลาดเข้ามาเสรมิ ทพั “การสร้างคุณค่าให้แก่องค์กร ต้องมีผู้น�ำที่สามารถเปลี่ยนแปลงและสามารถน�ำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการท่ีมีคุณค่าที่ลูกค้าและตลาดต้องการ ผ่านขบวนการเปลยี่ นแปลงภายในองค์กร สร้างเทคโนโลยีใหม่เพอ่ื น�ำไปสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรมใหมๆ่ สู่ตลาดได้”Leadership Value to Technology Innovation Customer Leaderทะเลคือแหลง่ ของน�้ำจดื ในอนาคต จากการพยากรณ์ว่าประชากรโลกจะเพ่ิมขึ้นเป็นหน่ึงหมื่นหนึ่งพันล้านคนในอีก 10 ปีข้างหน้า ส่ิงท่ีเป็นปัญหาของสังคมนอกจากอาหารท่ีอยู่อาศัย และมลภาวะแล้ว น้�ำดื่มน้�ำใช้จะเป็นปัญหาท่ีมนุษย์จะต้องแกไ้ ขตามมา การไดม้ าจากแหลง่ นำ�้ ธรรมชาติจะลดลงเพราะอณุ หภูมิที่รอ้ นขน้ึ ฝนไมต่ กตามฤดกู าล แหลง่ นำ�้ ทง้ั หลายกจ็ ะเหอื ดแหง้ ถา้ เราดดู ๆีแหล่งน�ำ้ ท่ีไหลจากทิเบตมาสูเ่ อเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (จนี ตอนใต้ พม่าลาว ไทย เขมร) มปี ัญหาแย่งชงิ น้�ำกันเกิดขึน้ การสรา้ งเขือ่ นขนาดใหญ่ของจีนเป็นท่ีวิตกอย่างมากจากประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพราะถูกกักเก็บน�้ำในช่วงหน้าแล้งและปล่อยน้�ำออกท่วมไร่นาในยามน้�ำหลาก 116
อนั ทจี่ รงิ แหลง่ นำ้� ของประเทศทม่ี อี าณาเขตตดิ กบั ทะเลคอื ทม่ี าของแหลง่นำ้� สะอาดและมีตน้ ทนุ การผลิตทถ่ี กู กวา่ การสร้างเข่ือนและการบ�ำบัดน�้ำในการบรโิ ภคเสยี อกี เทคโนโลยีMembraneReverseOsmosis คอื คำ� ตอบของแหล่งน�ำ้ สะอาดทมี่ คี ุณคา่ และต้นทุนต่ำ� บริษทั IDE Technologiesของอิสราเอลคือเจ้าของเทคโนโลยีการบ�ำบัดน�้ำทะเลเป็นน�้ำจืด ระบบReverse Osmosis (Desalination) และมีต้นทนุ การผลติ ที่ 0.5 เซนต์ต่อแกลลอน เทคโนโลยีท่ีได้จากความพยายามพัฒนาน�้ำดื่มน้�ำใช้ของผู้ขาดแคลนน้�ำอย่างอิสราเอลคือตัวอย่างของการผลักดันเทคโนโลยีเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ บรษิ ัท IDE ตั้งอยู่ตอนใตข้ องเมืองTelAviv และผลติ นำ�้ ได้165 ลา้ นแกลลอนตอ่ วนั และกำ� ลงั กอ่ สรา้ งโรงงานDesalination ในอกี 40 ประเทศรวมถงึ เมก็ ซโิ ก จนี และในแคลฟิ อรเ์ นยี ของสหรฐั อเมรกิ าทีก่ ำ� ลังขาดแคลนนำ�้ ดืม่ และนำ้� ใช้ในการเกษตรพลงั งานทางเลอื ก (Renewal Energy) ดว้ ยความตอ้ งการท่ีจะลดภาวะโลกร้อน นอกจากแรงผลักดนั ของนวตั กรรมรถยนตไ์ ฟฟา้ แทนรถยนตท์ มี่ เี ครอ่ื งยนตเ์ ผาไหมภ้ ายใน ถามวา่ไฟฟา้ ทใี่ ชม้ ากขน้ึ ตอ้ งมาจากการเผาไหมข้ องเชอ้ื เพลงิ หรอื ไม่ ฉะนนั้ การใช้ไฟฟ้าเพ่ิมข้ึนก็เป็นการเพิ่มขึ้นของการก่อเกิดภาวะเรือนกระจกที่เพิ่มข้ึนปจั จบุ นั นนี้ กั วทิ ยาศาสตรแ์ ละวศิ วกรตา่ งหนั มองบนทอ้ งฟา้ (พลงั งานแสงอาทติ ย์) และลมท่พี ัดอยตู่ ลอดเวลา เป็นเวลากว่า 10 ปีท่มี นษุ ย์พยายามเอาพลังงานจากสองแหล่งน้ีมาใช้เป็นพลังงานทางเลือกเพ่ือทดแทนพลงั งานจากการสนั ดาป แตพ่ ลงั งานจากสองแหลง่ นยี้ งั มรี าคาแพงเพราะแผงพลงั งานแสงอาทติ ยท์ ่ียงั ราคาสงู และมีประสิทธภิ าพในการใชง้ านไม่เต็มที่ อกี ทั้งพลงั งานลมก็มจี ำ� กัดเฉพาะบางพน้ื ที่ แต่ดว้ ยการพฒั นาในชว่ ง 4-5 ปีทผ่ี า่ นมา พลังงานจากแหลง่ ธรรมชาติทั้งสองมีตน้ ทนุ ทตี่ �่ำลง 117
ด้วยนโยบายส่งเสริมในสมัยประธานาธิบดีโอบามาในนโยบายพลังงานสะอาด และทบทวนนโยบายเหมอื งถา่ นหนิ ในสหรฐั อเมรกิ าทำ� ใหเ้ กดิ การลงทุนจากบริษัทยักษ์ใหญ่ในสหรัฐอเมริกา อย่างเช่น บริษัท Walmartประกาศแผนลงทุนในพลังสะอาด โดยมุ่งที่พลังงานแสงอาทิตย์ ส่วนMicrosoft ท�ำสัญญาผลิตไฟฟ้า 237 megawatts จากแหล่งพลังงานลมในภาคกลางของสหรัฐอเมริกา ในนขณะเลือกตั้งประธานาธิบดีDonald Trump หาเสียงและทบทวนนโยบายสะอาดของประธานาธิบดีโอบามาแต่ผู้ช�ำนาญการทั้งหลายยังต่างมองว่าพลังงานสะอาดในสหรัฐอเมริกายังเป็นสิ่งท่ีจ�ำเป็นและบริษัทใหญ่ๆ ในสหรัฐอเมริกาต่างแสวงหาและลงทุน ดังเช่น Amazon.com ลงทุนในพลังงานลม 417megawatts, Microsoft ลงทุนในพลังงานลมจ�ำนวน 237 megawattsและพลังงานแสงอาทิตย์ 20 megawatts, Google ลงทนุ ในพลังงานลม200 megawatts, Dow Chemical ลงทนุ ในพลงั งานลม 150 megawatts,3M ลงทนุ ในพลังงานลม 120 megawatts, Switch Super NP ลงทนุในพลงั งานแสงอาทติ ย์ 117 megawatts, Walmart 101 megawatts,Johnson & Johnson 100 megawatts และบรษิ ทั อื่นๆ อกี หลายบริษัท นี่คืออีกทิศทางของการเปลี่ยนแปลงเพราะแรงผลักดันท่ีเกิดจากความตอ้ งการลดภาวะโลกรอ้ น 118
119
120
7บทท่ี ประเทศไทย 4.0 ในปี พ.ศ. 2558 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ กล่าวมอบนโยบายและน�ำปาฐกถาพิเศษในงานต่างๆ ในการน�ำพาประเทศให้ก้าวสู่โมเดล“ประเทศไทย 4.0” จรงิ ๆ แลว้ ประเทศไทย 4.0 คอื อะไร ค�ำตอบทเ่ี ราจะมองเห็นง่ายๆ จะขอน�ำเอาประเทศไทยในอดตี มาอธบิ ายเราจะเหน็ ภาพชัดได้ขนึ้ประเทศไทย 1.0 คือ ประเทศท่ีอาศัยเกษตรกรรมเป็นพ้ืนฐานของเศรษฐกิจในประเทศ ประชากรรอ้ ยละ 90 อาศยั การเกษตร การประมง การเลยี้ งสตั ว์เปน็ สิ่งเลีย้ งชพี สบื ทอดจากบรรพบุรุษ ขา้ วเปน็ สินค้าสง่ ออกของประเทศคดิ เปน็ ร้อยละ 70 ของมลู คา่ การส่งออกในประเทศไทย ชาวจนี เข้ามาต้งัรกรากในประเทศไทย ชาวองั กฤษและชาวฮอลแลนดเ์ รมิ่ เขา้ มาคา้ ขายในประเทศไทย นำ� สนิ คา้ เคมแี ละเครอ่ื งอปุ โภคเขา้ มาจำ� หนา่ ยและซอื้ สนิ คา้เกษตรออกไปขายยังต่างประเทศ 121
ประเทศไทย 2.0 คือ ยุคของการผลิตโดยมุ่งเน้นสินค้าอุปโภคบริโภคและสินค้าทดแทนการนำ� เขา้ อตุ สาหกรรม 2.0 เปน็ อตุ สาหกรรมขนาดเลก็ ทเ่ี กดิ ขนึ้หลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. 2475 การคา้ ระหวา่ งประเทศเร่มิ เติบโตจากอทิ ธิพลพอ่ ค้าคนจนี พ่อคา้ องั กฤษ และพ่อคา้ ฮอลแลนด์ทม่ี าตงั้ รกรากในประเทศไทยผลติ สนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภคมาจำ� หนา่ ยในสมยัรฐั บาล นายกรฐั มนตรี จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ดำ� เนนิ นโยบาย “ชาตนิ ยิ ม”และใช้รัฐวิสาหกิจเป็นจุดเริ่มต้นก่อตั้งอุตสาหกรรมขนาดย่อมจดุ แปรเปลย่ี นเกดิ ขน้ึ ในชว่ ง จอมพล สฤษดิ์ ธนะรชั ต์ ในปี พ.ศ. 2500 ได้เขา้ มาเปลย่ี นโครงสรา้ งเศรษฐกจิ โดยผา่ นความชว่ ยเหลอื ของธนาคารโลกรัฐบาลขายรัฐวิสาหกิจท่ีไม่เก่ียวข้องกับสาธารณูปโภคให้เอกชนและตั้งสำ� นกั งานเศรษฐกจิ หลายแหง่ เชน่ สำ� นกั งานงบประมาณคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนแห่งประเทศไทย มีการลดภาษีวัตถุดิบสำ� หรับการผลิต และกฎหมายควบคุมแรงงาน ผลท่ีได้คือท�ำให้ประเทศไทยดึงดูดการลงทุนจากตา่ งชาตไิ ด้ โดยเฉพาะยโุ รปเขา้ มาลงทนุ และทำ� การคา้ ในประเทศไทยมากขนึ้ จอมพล สฤษด์ิ ได้เชอ้ื เชญิ ดร.ปว๋ ย อง๊ึ ภากรณ์ มาเปน็ ผูว้ า่ การธนาคารแหง่ ประเทศไทย ดร.ป๋วย เขา้ มาควบคมุ และจดั ระเบียบการเงนิอยา่ งเขม้ งวดทำ� ใหเ้ ศรษฐกจิ และการเงนิ ประเทศไทยเตบิ โตไดด้ ใี นชว่ งนน้ัประเทศไทย 3.0 เป็นยุคที่ประเทศไทยมุ่งสู่อุตสาหกรรมที่มีความทันสมัยและซับซ้อนมากข้ึน แต่อุตสาหกรรมส่วนใหญ่อาศัยเทคโนโลยีจากต่างชาติอตุ สาหกรรมปโิ ตรเลยี มและปโิ ตรเคมี อตุ สาหกรรมรถยนต์(ซง่ึ ตามมาดว้ ยอุตสาหกรรมท่ีเป็นห่วงโซ่ของอุตสาหกรรมรถยนต์) อุตสาหกรรม 122
เกษตรแปรรปู อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ วมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ งตงั้ แต่ชว่ ง พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์ เข้ามาเปน็ นายกรัฐมนตรี ทา่ นสรา้ งความสมั พนั ธก์ ับภาคธุรกจิ อยา่ งแนน่ เฟ้น นกั ธรุ กิจรวมตัวกนั ตง้ั สมาคมธนาคารไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย มกี ารตงั้ คณะกรรมการรว่ มภาครฐั และเอกชนเพอ่ื แกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจ (กรอ.) รัฐบาลให้ความสนใจในอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมีจึงมีการพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดภาคเอกชนเริ่มใหค้ วามสนใจในอตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู มีการลงทนุของชาวตา่ งชาตมิ ากขึ้น ยุคน้ันยงั เป็นอตุ สาหกรรมท่ีใชแ้ รงงานเปน็ หลกัเชน่ อุตสาหกรรมทอผ้าและเส้อื ผา้ อุตสาหกรรมรองเท้า การลงทุนของอุตสาหกรรมรถยนต์ยังคงเป็นอุตสาหกรรมการประกอบรถยนต์จดุ แปรเปลย่ี นของประเทศไทยอกี ครงั้ ในชว่ งอตุ สาหกรรม 3.0 อกี จดุ หนง่ึคือเกิดวิกฤตเศรษฐกิจต้มย�ำกุ้งเป็นเวลากว่า 4 ปีที่ประเทศไทยลม้ ละลายซงึ่ เกดิ ในชว่ งที่ พลเอก ชวลติ ยงใจยทุ ธ์ ขนึ้ มาเปน็ นายกรฐั มนตรีสถาบันการเงิน ธุรกิจและอุตสาหกรรมใหญ่ๆ ท่ีลงทุนด้วยเงินกู้ตา่ งประเทศ ตา่ งมีหนี้เพม่ิ ขน้ึ มากกวา่ เทา่ ตวั จากการลดค่าเงนิ บาทของพลเอก ชวลติ ท�ำให้เศรษฐกจิ เขา้ สู่วกิ ฤต ในเวลาตอ่ มานายกรัฐมนตรีชวน หลีกภยั เขา้ มารกั ษาการโดยมี นายธารินทร์ นิมมานเหมินท์ เปน็รัฐมนตรีการคลัง รัฐบาลไทยต้องใช้นโยบายเข้มงวดทางการเงินและรดั เขม็ ขดั ตลอดเวลา4 ปี ซง่ึ เปน็ ระยะเวลาทธี่ รุ กจิ การคา้ ถดถอย ประชาชนเดอื ดรอ้ น นแี่ หละผลของการเมอื ง พอ่ คา้ นกั การเมอื ง และผทู้ ไ่ี มม่ คี ณุ ธรรมที่ท�ำให้ประชาชน 60 ล้านคนต้องรับเคราะห์ แต่นักการเมือง พ่อค้านักธุรกิจการเมือง และเจ้าของสถาบันการเงินท่ีท�ำธุรกิจอย่างไม่มีจรรยาบรรณต่างหลบหลีกกฎหมาย บา้ งกห็ ลบอยเู่ บื้องหลังนักการเมอื งบา้ งกห็ ลบหนไี ปตา่ งประเทศ แตม่ บี างคนทหี่ นไี มท่ นั หรอื ไมม่ นี กั การเมอื งท่ีแข็งแกรง่ สนับสนุนอยู่เบอ้ื งหลังก็ตอ้ งรบั ผลกรรมทีก่ อ่ เอาไว้ 123
หลังวิกฤตต้มย�ำกุ้ง พ.ต.ท.ดร. ทักษิณ ชินวัตร ได้ข้ึนมาเป็นนายกรัฐมนตรี ใช้วธิ กี ารท�ำใหเ้ กดิ สภาพคล่องทางการเงิน มกี ารจบั จา่ ยใชส้ อยมากขน้ึ ทำ� ใหก้ ารลงทนุ กลบั เขา้ มาอกี ครงั้ ในประเทศไทย นกั ธรุ กจิและอุตสาหกรรมให้ความสนใจท่ีจะพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นฐานการสง่ ออกโดยเฉพาะอตุ สาหกรรมรถยนต์ มกี ารผลกั ดนั รถบรรทกุ ขนาด1 ตนั ใหเ้ ปน็ รถยนต์ Product champion ของประเทศไทย มกี ารพัฒนาห่วงโซ่อุตสาหกรรมอย่างจริงจัง ในอุตสาหกรรมรถยนต์น�ำมาซ่ึงการพฒั นาอตุ สาหกรรมเหลก็ ปโิ ตรเคมี ยาง ลอ้ รถยนต์ ถามวา่ อตุ สาหกรรมชว่ งยคุ ประเทศไทย 3.0 เปน็ ชว่ งท่ีประเทศไทยได้เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมทกุ ด้านเพ่อื การสง่ ออก เป็นยุคที่อตุ สาหกรรมไทยโตสดุ ขดี แลว้ หรือไม่?คำ� ตอบคอื ไม.่ ..ชว่ งนเ้ี ปน็ ชว่ ง10 ปที อ่ี ตุ สาหกรรมของไทยโตอยา่ งมาก แต่ถา้ วเิ คราะหใ์ หล้ ะเอยี ดจะเหน็ วา่ อตุ สาหกรรมเหลา่ นย้ี งั คงอาศยั เทคโนโลยีจากต่างชาติเป็นส่วนใหญ่แม้แต่อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เทคโนโลยีและตัวเรง่ ปฏิกริ ยิ า (Catalyst) ท่ีใชย้ งั ตอ้ งอาศัยเทคโนโลยจี ากต่างชาตเิ ป็นสว่ นใหญ่ หว่ งโซอ่ ตุ สาหกรรมรถยนต์ ตงั้ แตผ่ ปู้ ระกอบรถยนต์ และ Tier 1(อาจรวมถงึ Tier 2 ทสี่ ำ� คัญ) ยงั อยู่ในมอื ของชาวต่างชาติ อตุ สาหกรรมเหล็กกต็ ้องอาศัยการคำ�้ จุนทางภาษเี พือ่ ความอย่รู อด อุตสาหกรรมของประเทศไทยในช่วงก่อน พลเอก ประยุทธ์จนั ทร์โอชา ปฏิวตั ิในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 ถอื ว่าเปน็ ช่วง 10 ปีของการสูญเปล่าของประเทศไทย การพยายามโค่นล้มระบอบทักษิณในขณะทอ่ี กี ฝา่ ยพยายามรกั ษาอำ� นาจของตวั เอง ทำ� ใหเ้ กดิ การเดนิ ขบวนประทว้ งและเสียชวี ิต ตลอด 10 ปีของการเมืองท่ไี มส่ งบ การลงทุนและธุรกิจหยุดชะงัก เปน็ 10 ปขี องยคุ มดื ของประเทศไทยที่เกดิ ความสญู เสียทงั้ เสยี โอกาสและทรพั ยส์ นิ มากมาย ในขณะทเี่ พอ่ื นบา้ นพฒั นาเศรษฐกจินำ� หนา้ ประเทศไทยไปอีกก้าวหนง่ึ 124
จริงๆ แลว้ อตุ สาหกรรมประเทศไทย 3.0 ยงั โตไมถ่ ึงขดี สดุ เหมือนอตุ สาหกรรม3.0 ของประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ นอกจากวกิ ฤตทางการเมอื งแลว้อุตสาหกรรมไทยเราเองก็ยังไม่สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและการวิจัยให้เกิดนวัตกรรมที่แท้จริงของตนเอง การวิจัยของประเทศไทยยังอยู่ในระดบั ตำ่� ผู้ท�ำการวจิ ัยและพฒั นาในภาคเอกชนมนี อ้ ย และเงนิ ช่วยเหลอืในงานวจิ ยั ของรฐั บาลยงั ไปกองอยทู่ สี่ ำ� นกั วจิ ยั ของประเทศ ซง่ึ ไมส่ ามารถท�ำการวิจัยให้สอดคล้องกับการพัฒนาเทคโนโลยีที่จ�ำเป็นของอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงระหว่างภาคการศึกษาและอุตสาหกรรมยังเกิดข้ึนได้ล�ำบากหมอกควันความเป็นอาจารย์ยังครอบง�ำแนวความคิดผเู้ ขยี นมคี วามเหน็ วา่ คณาจารยค์ วรจะเขา้ มาเรยี นรจู้ ากอตุ สาหกรรมเพอ่ืน�ำไปสอนนิสิตและนักศึกษาให้ตรงกับเทคโนโลยีท่ีก�ำลังวิ่งไปข้างหน้าอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถในมหาวิทยาลัยนั้นมีอยู่มากแต่มีเพียงส่วนนอ้ ยทจ่ี ะเข้ามาชว่ ยพัฒนาเทคโนโลยขี องอตุ สาหกรรม พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา ปฏวิ ตั ใิ นเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2557เหตุการณต์ ่างๆ ไมเ่ ขา้ ขา้ งนายกฯ ประยุทธ์ เพราะเศรษฐกจิ ชะลอตวัต่อเน่ืองมาถึง พ.ศ. 2558 สิ่งแรกที่นายกฯ คนใหม่เข้ามาจัดการคือ 125
การจัดระเบียบทางสังคมและการเมืองซ่ึงเป็นนิมิตหมายอันดีส�ำหรับประเทศไทยมีการโอนอ�ำนาจการจัดการให้สภาปฏิวัติแห่งชาติมีอ�ำนาจขน้ั สงู สดุ ตามมาคอื การจดั ตงั้ สภารา่ งรฐั ธรรมนญู เพอื่ นำ� เสนอรฐั ธรรมนญูฉบบั ใหม่ ดว้ ยอำ� นาจเดด็ ขาด พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรีไดด้ �ำเนินการปราบคอรร์ ปั ชันโดยเอาคดีความต่างๆ ทคี่ ง่ั คา้ งและยังไม่หมดอายุความมาด�ำเนินคดีต่อ เช่น คดีกรุงไทย อีกทั้งเร่งสืบสวนคดีจำ� นำ� ข้าว เหล่าน้เี ป็นต้น ในหน่งึ ปีแรกมี ม.ร.ว. ปรดี ยิ าธร เทวกลุ เปน็รองนายกรฐั มนตรี ดูแลเศรษฐกจิ และการคลัง ม.ร.ว. ปรีดยิ าธร เทวกุลเปน็ นกั การเงนิ และธนาคารทม่ี ปี ระสบการณส์ งู มากจงึ เขา้ มาดแู ลระเบยี บการเงินการธนาคารได้ดี แต่เน่ืองจากปัจจัยจากภายนอกท�ำให้ยอดส่งออกของไทยลดลงอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้เกิดปัญหาภาคการเกษตรที่มีรายได้ตกต�่ำ หนี้ครัวเรือนสูงข้ึน ชาวนาต้องไปกู้หน้ีนอกระบบประเทศไทยมีอัตราเงินเฟ้อท่ีติดลบ (-0.5%) อันบ่งบอกถึงสาเหตุที่ประชาชนไม่กล้าใช้จ่ายหรือมีก�ำลังการซ้ือลดลง มีเพียงอุตสาหกรรมการทอ่ งเทีย่ วที่ยังเติบโตไดด้ ี มกี ารคาดการณว์ า่ จะมีนักท่องเทีย่ วเขา้ มาประเทศไทยจำ� นวน 28.8 ล้านคน (โตข้นึ คิดเปน็ ร้อยละ 13.7) ธนาคารแห่งประเทศไทยต้องปรับอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจไทยในปี พ.ศ.2558 ลงจากรอ้ ยละ 3.8 ลงมาท่รี อ้ ยละ 3 (ล่าสุดธนาคาร ADB มีการพยากรณ์อตั ราการเตบิ โตเศรษฐกิจไทยในปี พ.ศ. 2558 มาที่ร้อยละ 2.7แตใ่ หก้ ารเติบโตในปี พ.ศ. 2559 อยู่ทร่ี ้อยละ 3.8 และอตั ราเงินเฟ้อที่ติดลบในปี พ.ศ. 2559 มาที่รอ้ ยละ 1.5 โดยภาพรวมรายได้มวลรวมประชาชาติขณะท่ี พลเอก ประยุทธ์จนั ทรโ์ อชา ในปแี รกเขา้ มาบรหิ ารประเทศลดถอยลงจากปกี อ่ นที่ พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา จะเขา้ มาบรหิ ารประเทศ บญั ชกี ารชำ� ระเงนิ ทแี่ ยล่ ง 126
ดร.สมคิด จาตุศรพี ิทกั ษ์ ม.ร.ว. ปรดี ยิ าธร เทวกุลทั้งนเี้ พราะการสง่ ออกท่ลี ดลง ประเทศไทยมหี น้ีสนิ (เงนิ กู้ตา่ งประเทศ)สงู เกอื บรอ้ ยละ 37 ของรายไดม้ วลรวมประชาชาตแิ ละหนส้ี าธารณะสงู ถงึรอ้ ยละ 46.3 ในเดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2558 พลเอก ประยุทธ์ ปรบั เปลีย่ นคณะรฐั มนตรี และเชญิ ดร.สมคดิ จาตศุ รพี ทิ กั ษ์ เขา้ มาดแู ลระบบเศรษฐกจิแทน ม.ร.ว. ปรีดิยาธร สงิ่ แรกท่ี ดร.สมคดิ ทำ� คอื การต้ังงบประมาณ1.36 แสนบาท เพอ่ื กระตนุ้ เศรษฐกจิ ลงทนุ ระบบขนสง่ มวลชน และเขา้ ไปแกป้ ญั หาหนน้ี อกระบบในครวั เรอื น เงนิ ชว่ ยเหลอื SME ทข่ี าดสภาพคลอ่ งเร่งส่งเสริมอุตสาหกรรมโดยดูจากคลัสเตอร์ที่ประเทศไทยที่มีจุดแข็งและมีความจ�ำเป็นกับการส่งออก แต่สิ่งท้าทายรัฐบาลชุดนี้ยังมีอีกมากทง้ั ปจั จัยจากเศรษฐกิจภายนอกประเทศ สงิ่ ที่รัฐบาลชุดน้ีท�ำได้คอื ชะลอความเดือดร้อนของประชาชน แต่ปัจจัยภายนอกโดยเฉพาะจีนและประเทศในอาเซียนด้วยกันซ่ึงเป็นคู่แข่งส�ำคัญของไทยมีก�ำลังการซื้อลดลงท�ำให้สินค้าเกษตรอย่างเช่นยางพาราและข้าวมีราคาลดลง การท่ีราคาสนิ คา้ เกษตรมรี าคาลดลงกท็ ำ� ใหก้ ารสง่ ออกของไทยมอี ตั ราทลี่ ดลงอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ท่ีเป็นอุตสาหกรรม 127
หลักมีกำ� ลังการผลติ ลดลงต่อเนอื่ งมา 3 ปี และมีแนวโน้มลดลงอกี ในปีพ.ศ. 2558 - 2559 เพราะขาดกำ� ลงั ซอื้ จากภายในประเทศและตา่ งประเทศความต้องการเหล็กลดลงท�ำให้ บริษัท สหวริ ิยาสตลี อินดสั ตรี จ�ำกดั(มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเหล็กรีดร้อนรายใหญ่ต้องปิดกิจการโรงงานเหล็กของสหวิริยาในอังกฤษลง เพราะสู้กบั ราคาเหล็กจากจีนไมไ่ ด้ท�ำให้ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย และธนาคารทสิ โก้ ต้องแบกรับภาระหน้ี5.3 หมน่ื ลา้ นบาท ขณะเดยี วกนั ภยั แลง้ ในปี พ.ศ.2558 จะกระทบกบั การผลิตทางการเกษตรในหลายๆ จงั หวัด ซึง่ จะเปน็ ภาระหนกั ของรัฐบาลท่ีจะต้องใช้งบประมาณมหาศาลไปจุนเจือเกษตรกรอันจะท�ำให้รฐั บาลกอ่ ภาระหนสี้ าธารณะมากยงิ่ ขนึ้ ยงั มสี ง่ิ ทรี่ อการแกไ้ ขและทา้ ทายทางเศรษฐกจิ และการเงินอยู่เบือ้ งหนา้ อกี มากท้ัง พลเอก ประยทุ ธ์ และกูรกู ารตลาดอยา่ ง ดร.สมคิด จาตุศรพี ทิ ักษ์ประเทศไทย 4.0 นี่คือจุดมุ่งมั่นของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ท่ีต้องการจะทำ� การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งเศรษฐกจิ ไทยไปสกู่ ารสรา้ งเศรษฐกจิ ทสี่ รา้ งคุณค่าหรือเศรษฐกิจท่ีสร้างเทคโนโลยีของตัวเองอันน�ำไปสู่นวัตกรรมพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พยายามผลักดันการน�ำเทคโนโลยีดิจิตอลและสร้างความเช่ือมโยง “ประชารัฐ” น�ำไทยไปสู่“ประเทศไทย 4.0” ดร.สวุ ิทย์ เมษนิ ทรยี ์ รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงพาณชิ ยไ์ ดอ้ อกมาอธบิ ายถงึ ยทุ ธศ์ าสตรส์ ำ� คญั ทน่ี ายกรฐั มนตรเี นน้ ในการพัฒนาประเทศไทยส่คู วามมนั่ คง ม่ังคงั่ และย่งั ยนื ดว้ ยการสรา้ งความแข็งแกรง่ จากภายในของเราเองผ่านกลไก “ประชารัฐ” โดยยกตวั อยา่ งประเทศสหรฐั อเมรกิ าทกี่ ำ� ลงั พดู ถงึ “ A nation of makers” องั กฤษกำ� ลงั 128
ผลักดัน “Design of Innovation” ขณะท่จี ีนประกาศ “Made in China2025” สว่ นอินเดียกป็ ระกาศ “Made in India” ในขณะทเ่ี กาหลีประกาศเศรษฐกจิ “Creative Economy” ในขณะทีป่ ระเทศไทยอยใู่ น “ทศวรรษแห่งความว่างเปล่า” ประเทศไทย 4.0 จึงเป็นการเปล่ียนแปลงระบบใน 4 องคป์ ระกอบส�ำคัญคือ 1) เปล่ยี นแปลงจากการเกษตรแบบดง้ั เดมิ (Traditional Farming)ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (SmartFarming) 2) เปล่ียนแปลงจากธุรกิจขนาดเล็กแบบดั้งเดิมที่ต้องขอความชว่ ยเหลอื อยตู่ ลอดเวลาเป็น Smart Enterprises และ Startup ทมี่ ีศักยภาพสงู 3) เปลย่ี นจากการบรหิ ารแบบเกา่ ๆ ทม่ี กี ารสรา้ งมลู คา่ คอ่ นขา้ งตำ�่ไปสู่ธุรกจิ บรกิ ารที่มีมูลค่าสูง 4) เปล่ียนจากแรงงานทักษะต�่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้ ความเชย่ี วชาญ และทกั ษะสูง ดร.สวุ ทิ ย์ เมษนิ ทรยี ์ เนน้ ถงึ การขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ดว้ ยนวตั กรรมโดยมองว่า “เครื่องยนต์เพ่ือขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจ” ของประเทศไทยมีอยู่ 2 ดา้ นคือ “ความหลากหลายเชงิ ชีวภาพ” และ “ความหลากหลายเชงิ วฒั นธรรม” และตอ่ ยอดความไดเ้ ปรยี บ 5 กลมุ่ เทคโนโลยีและอตุ สาหกรรมเปา้ หมายคือ (1) กลุม่ อาหาร เกษตร และเทคโนโลยชี วี ภาพ (2) กลุม่ สาธารณสขุ สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (3) กลุม่ เคร่อื งมืออปุ กรณอ์ ัจฉรยิ ะ หุ่นยนต์ และระบบเคร่อื งกลที่ใช้อิเล็กทรอนกิ ส์ควบคมุ 129
(4) กลมุ่ ดจิ ติ อลเทคโนโลยอี นิ เตอรเ์ นต็ ทเี่ ชอ่ื มตอ่ และบงั คบั อปุ กรณ์ตา่ งๆ มปี ญั ญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝงั ตัว (5) กลมุ่ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมและบรกิ ารทม่ี มี ลู คา่ สงู ในการนี้ ดร.สุวิทย์ เมษนิ ทรีย์ มองวา่ ประเทศไทยตอ้ งสร้างสรรค์“Thailand 4.0” ผ่านพลัง \"ประชารัฐ\" คอื การเชอื่ มโยงและความร่วมมอืให้เกดิ ขึ้นระหว่าง 5 องค์กรสำ� คญั ของประเทศคือ ภาครัฐ ภาคสถาบันการศึกษา ภาคเอกชน ภาคการเงิน และภาควิจัยของรัฐ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าความมุ่งม่ันของท่านนกยกรัฐมนตรีพลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา คงจะทำ� ใหป้ ระเทศไทยสามารถพฒั นาไปอีกระดบั หน่ึงของการแข่งขันในระดับสากล 130
131
132
8บทท่ี อินโนเวชนั่ 4.0 \"เราจะเตบิ โตอย่างยง่ั ยืนไดอ้ ยา่ งไรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล?\" นค่ี ือคำ� ถามท่ที ้าทายของทกุ ๆ องค์กร ธุรกิจของกลุ่มบริษัทอินโนเวช่ันเติบโตขึ้นตามลักษณะการเติบโตของเศรษฐกิจและกลุ่มอุตสาหกรรมของประเทศไทย ซึ่งอาจแบ่งระยะการพัฒนาของกลุ่มบรษิ ทั อนิ โนเวชั่นออกเปน็ 4 จังหวะคืออินโนเวชัน่ 1.0 (พ.ศ. 2526 -2531)เป็นระยะการกอ่ ตงั้ องค์กร เชน่ เดยี วกบั นกั ธรุ กจิ ทมี่ คี วามฝนั ความเชอื่ มนั่ และมองเหน็ ชอ่ งทางทจ่ี ะทำ� ธรุ กจิ จากองคก์ รเรม่ิ ตน้ ดว้ ยคน3 คน นำ� เขา้ ของชำ� รว่ ยจากฮอ่ งกงมาจำ� หนา่ ยในประเทศไทย แตผ่ เู้ ขยี นโชคดกี วา่ SME อนื่ ท่ี บรษิ ทั ดปู องท์ซ่ึงเป็นบริษัทเคมีอันดับหน่ึงของโลกในขณะน้ันให้ความไว้วางใจแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนจ�ำหน่ายสินค้าโพลิเมอร์อุตสาหกรรมในประเทศไทยเป็นเวลากว่า 6 ปีที่ล้มลุกคลุกคลานในการท�ำธุรกิจของช�ำร่วยและเคมีอุตสาหกรรม แต่โชคดีที่สินค้ามีย่ีห้อดูปองท์เป็นยี่ห้อค�้ำประกันในตัวสินค้าท�ำให้สามารถประครองตัวค่อยๆ สร้างองค์กรอินโนเวช่ันให้เตบิ ใหญ่ น่ีเปน็ ระยะเดียวกันของอุตสาหกรรมในยคุ ประเทศไทย 2.0 133
อินโนเวชัน่ 2.0 (พ.ศ.2532-2540)เป็นระยะการสร้างเทคโนโลยีจากการวิจัยและพฒั นา เนอ่ื งจากความเปน็ นกั เคมบี วกกบั ประสบการณท์ ท่ี ำ� งานกบั บรษิ ทัดปู องท์ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของการวจิ ยั และพฒั นา การสรา้ งคณุ คา่ ใหก้ บัสินค้าอุตสาหกรรมและการบริการด้วยการให้ค�ำตอบโจทย์ด้านเทคนิคทแ่ี ทจ้ รงิ แกล่ กู คา้ จงึ รวบรวมทรพั ยส์ นิ ทงั้ หมดทมี่ ไี ปขอวงเงนิ จากธนาคาร(ดว้ ยดอกเบย้ี รอ้ ยละ 15 ตอ่ ป)ี มาตง้ั หอ้ งวจิ ยั เลก็ ๆ ขอสง่ เสรมิ การทำ� วจิ ยักบั สำ� นกั งานสง่ เสรมิ การลงทนุ เพราะตอ้ งการลดหยอ่ นภาษนี ำ� เขา้ เครอ่ื งมือวจิ ัยและทดสอบรอ้ ยละ 30 ของราคาเคร่ืองจกั รนำ� เข้า แต่ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ในขณะนั้นวิเคราะห์โครงการที่ขอไปเหน็ วา่ การวจิ ยั อยา่ งเดยี วโครงการนอี้ ยไู่ มร่ อด จำ� ตอ้ งมโี รงงานผลติสนิ คา้ และนำ� ผลการวจิ ยั ไปผลติ เปน็ สนิ คา้ เพอ่ื ออกจำ� หนา่ ย ฉะนนั้ การขอวจิ ัยคร้ังนน้ั จงึ ตอ้ งมีโรงงานทำ� คอมปาวด์ PVC ด้วย เร่ิมตน้ จ้างนกั เคมีมา 1 คน สองแรงแขง็ ขนั ท�ำการวจิ ัยและพฒั นายางและ EVA (EthyleneVinyl Acetate) เพอื่ ชว่ ยพัฒนาคณุ ภาพของพื้นรองเท้าและโฟมรองเท้าให้มีคุณภาพที่บริษัทรองเท้าใหญ่ๆ ต้องการ ขณะเดียวกันก็ได้ศึกษาการท�ำคอมปาวด์ PVC เพอ่ื ใช้ฉีดทำ� พน้ื รองเทา้ นักเรยี น PAN ของบริษัทบางกอกรบั เบอร์ก็เปน็ ไปดว้ ยดี 134
เปน็ เวลากว่า 8 ปีทธ่ี ุรกจิ ของ บรษิ ทั เคมี อินโนเวชน่ั และ บริษัทพี ไอ อินดัสทรี มีการเจริญเติบโตไปกับการเติบโตของอุตสาหกรรมรองเทา้ อตุ สาหกรรมยางและสิ่งทอ ห้องทดลองวิจยั ทม่ี นี ักเคมี 2 คนทำ� งานอยา่ งหนกั ในการตอบโจทยล์ กู คา้ และสรา้ งคณุ คา่ ใหก้ บั สนิ คา้ ของดปู องทท์ เี่ ราเปน็ ตวั แทนจำ� หนา่ ย การวจิ ยั ชว่ ยตอบโจทยด์ า้ นเทคโนโลยใี นอตุ สาหกรรมรองเทา้ ทำ� ใหย้ างและผลติ ภณั ฑ์ EVA ของดปู องทม์ สี ว่ นแบง่ตลาดไดร้ ้อยละ 80 สร้างรายได้และชอ่ื เสียงใหก้ ับองค์กร ในปลายอินโนเวช่ัน 2.0 ผูจ้ ดั การ Reebok ประจำ� ประเทศไทยได้เหน็ ถงึ ขดี ความสามารถในการวจิ ยั และพฒั นาจงึ ขอเขา้ มาศกึ ษาและวจิ ยัร่วมกับอินโนเวชน่ั เพื่อพฒั นายางสำ� หรบั พ้ืนรองเท้า Reebok เพื่อนำ� ไปผลติ เปน็ พน้ื รองเทา้ Reebok ทวั่ โลก นคี่ อื อกี กา้ วหนงึ่ ทอี่ นิ โนเวชน่ั กา้ วไปสู่อุตสาหกรรมการผลิตคอมปาวด์ยาง เครื่องจักรเครื่องแรกที่ซ้ือเป็นเคร่อื งจกั รผสมยางแบบง่ายๆ จากไต้หวนั ผลติ ยางป้อนโรงงาน Reebokทกุ ประเทศ ยงั ไมท่ นั เร่มิ สง่ คอมปาวด์ Reebok ออกต่างประเทศกเ็ กดิวกิ ฤตต้มย�ำก้งุ ข้นึ ในปี พ.ศ. 2540 ทุกอย่างตอ้ งหยดุ ชะงกั ลงอนิ โนเวชัน่ 3.0 (พ.ศ. 2540 ถึงปัจจุบนั )ส่คู วามเปน็ เลศิ ในเทคโนโลยียางและโพลเิ มอร์ น่ีคือระยะท่ีกลุ่มบริษัทอินโนเวช่ันพัฒนาเทคโนโลยีด้านยาง และเพอื่ ทจี่ ะเปน็ กลมุ่ บรษิ ทั ทส่ี ามารถตอบโจทยแ์ ละสนองตอบความตอ้ งการของลูกคา้ ในด้านยางได้อยา่ งครบวงจร ในวิกฤตที่เกิดขึ้นมีผลอย่างรุนแรงต่อธุรกิจและอุตสาหกรรมในประเทศไทยและเป็นวิกฤตท่ีเกิดขึ้นทั่วเอเชีย ช่วงวิกฤตเศรษฐกิจคา่ เงนิ บาทออ่ นตวั จาก 25 บาทตอ่ ดอลลารส์ หรฐั ไปถงึ 57 บาทตอ่ ดอลลาร์สหรัฐ แต่ธรุ กิจของ Reebok ไมไ่ ด้หยุดชะงกั ยังมีคำ� สั่งซอ้ื ยางคอมปาวด์เข้ามาอยา่ งต่อเนือ่ งจาก 50 ตันตอ่ เดือน เพิม่ ข้ึนถงึ 350 ตนั ตอ่ เดอื น 135
ระยะเวลากวา่ 5 ปที ธ่ี รุ กจิ และอตุ สาหกรรมตา่ งๆ ในประเทศประสบวกิ ฤตท้ังปัญหาการเงินและการค้า แต่เป็นช่วงจังหวะท่ีกลุ่มบริษัทอินโนเวชั่นมีการค้าท่ีดีและมีผลก�ำไรสูงจากการขายคอมปาวด์ยาง (ท่ีไม่มีคู่แข่ง)ให้กับ Reebok โดยคิดเป็นเงินดอลลาร์ในราคาที่ตกลงกันไว้ต้ังแต่ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ อีกท้ังธุรกิจขายสินค้าโพลิเมอร์ของดูปองท์กย็ ังดำ� เนนิ ไปได้ด้วยดี สรา้ งรายไดใ้ ห้กบั กล่มุ บรษิ ทั อินโนเวชน่ั เพม่ิ มากขึ้นบวกกับในขณะน้ันบริษัทญี่ปุ่นต้ังใจใช้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตรถยนต์ โดยเฉพาะบรรทกุ ขนาด1 ตนั สรา้ งโอกาสทางธรุ กจิ ใหก้ บั กลมุ่ บรษิ ทัอนิ โนเวชน่ั มากยงิ่ ขน้ึ ตลอดเวลา 8 ปที ผ่ี า่ นมาคอื ระยะเวลาของการขยายการวิจัยและพัฒนา ขยายก�ำลังการผลิตและการตลาด เสริมสร้างเทคโนโลยกี ารผลิตและความร้คู วามสามารถด้านวศิ วกรรม ความรูด้ า้ นคอมพิวเตอร์ การออกแบบและการเช่อื มโยงตลาดในนานาประเทศ นำ�สินค้าท่ีผลิตออกสู่ตลาดสากลด้วยจุดมุ่งหมายสู่ความเป็นเลิศในธุรกิจท่ีท�ำ อีกทั้งสามารถเชื่อมโยงไปในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยางไปท้ังห่วงโซ่อุตสาหกรรมรถยนต์ในหลายๆ ประเทศ นคี่ อื ระยะเวลาการสร้าง Value Creation โดยมคี วามมุง่ ม่นั ทีท่ �ำทกุ อยา่ งใหไ้ ดด้ ที สี่ ดุ ขบั เคลอ่ื นองคก์ รบนพน้ื ฐานของจรรยาบรรณธรุ กจิ ทด่ี ีและช่วยเหลือสังคมในด้านความรู้และเทคโนโลยีทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคการศึกษา ศูนย์วิจัยและพัฒนาของกลุ่มบริษัทอินโนเวชั่น คือศูนย์การฝึกอบรมและเรียนรู้ด้านเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยท่ัวประเทศ ในช่วงปิดภาคฤดูร้อนของทุกปีมากว่า 14 ปี ในเวลาต่อมาด้วยความร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีของรัฐ กลุ่มบริษัทอินโนเวชั่นได้สร้างศูนย์วิศวกรรมที่มีความสามารถในการออกแบบ (Simulation Design) PLC Automation อกี ทงั้ สร้างศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ ศูนย์ทดสอบมาตรฐานเครื่องจักร และศูนย์วิศวกรรมออกแบบ วิศวกรรมไฟฟ้าและเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์และหุ่นยนต์ เป็นการพัฒนาความแข็งแกร่งให้กับ 136
กลุ่มบริษัทอินโนเวชัน่ ในอกี 2-3 ปีขา้ งหนา้ อกี ทง้ั เพ่ือเรง่ ใหก้ ลุ่มบรษิ ทัอนิ โนเวชัน่ ไปสู่ อนิ โนเวชัน่ 4.0อนิ โนเวช่ัน 4.0ขยายขีดความสามารถด้านเทคโนโลยใี หเ้ ป็นแกนกลางของธุรกจิ ในอนาคต ทิศทางการทำ� ธุรกจิ ของ อินโนเวชนั่ 4.0 แบ่งความสำ� คัญในการพัฒนาออกเป็น 5 แนวทาง โดยมีเทคโนโลยีเป็นแกนกลางประดุจด่ังนิวเคลียร์ซ่ึงมีอ�ำนาจระเบิดทวีคูณในคุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการที่นำ� เสนอในตลาด 137
1) พัฒนาบคุ ลากรและองค์กรอนิ โนเวชัน่ ไปสู่องคก์ รเรียนรู้ สร้างนวตั กรรมของชาวอนิ โนเวชน่ั มจี ติ สำ� นกึ การทำ� งานทม่ี จี รยิ ธรรม ทำ� ความดีใฝ่หาความรแู้ ละเทคโนโลยี สร้างนวัตกรรมภายใต้องค์กรอินโนเวช่นั มีศนู ยฝ์ กึ อบรมบคุ ลากรในองคก์ ร มอบทนุ การศกึ ษาแกพ่ นกั งานใหเ้ พมิ่ พนูความรคู้ วามสามารถ มโี ครงการฝกึ อบรมใหค้ วามรแู้ กน่ สิ ติ และนกั ศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง อีกท้ังให้ทุนการศึกษาและวจิ ยั สำ� หรบั นสิ ติ นกั ศกึ ษา เปน็โครงการเชอื่ มโยงการวจิ ยั ระหวา่ งอตุ สาหกรรมกบั สถาบนั การศกึ ษาผา่ นโครงการวจิ ยั ปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก จดั ฝกึ อบรมและสมั มนาวชิ าการเพื่อยกระดับอตุ สาหกรรมไทยไปสู่ อตุ สาหกรรมไทย 4.0 2) ลงทนุ กบั ตา่ งชาตผิ ลติ ผลติ ภณั ทย์ างและโพลเิ มอรท์ ม่ี เี อกลกั ษณ์โดดเดน่ ครบวงจรและขยายการลงทนุ การผลติ ไปสู่ตา่ งประเทศ โรงงานของอินโนเวชัน่ ตอ้ งเป็นโรงงานสเี ขียวท่ใี ช้ระบบควบคุมทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและดำ� เนนิ การดว้ ยระบบอตั โนมตั ิ อกี ทงั้ ใชร้ ะบบหนุ่ ยนตห์ รอื เครอื่ งมอื กลเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการผลิต โรงงานผลิตคอมปาวด์ยางต้องเป็นโรงงานคอมปาวด์ยางท่ีดีท่ีสุด อีกท้ังพร้อมด้วยความรู้ความสามารถในกระบวนการผลติ โรงงานผลติ ชนิ้ สว่ นยางคณุ ภาพสงู ของอนิ โนเวชนั่ ตอ้ งผลิตยางที่มีเอกลักษณ์ของตวั เองโดยใช้ความรูด้ ้านเคมี โพลิเมอร์ และใช้วิศวกรรมควบคุมการผลิตตลอดกระบวนการ โรงงานออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ยางจะเป็นส่วนหนึ่งที่เสริมขีดความสามารถและความเป็นเอกลักษณ์ให้แก่โรงงานผลิตช้ินส่วนยางคุณภาพสูง โรงงานพลาสติกคอมปาวดเ์ ป็นโรงงานผลิตคอมปาวด์พลาสติกที่ดี เสริมสนิ คา้ ครบวงจรให้กับบริการอุตสาหกรรมรถยนต์ โรงงานผลิตชุดป้องกันภัยส่วนบุคคลในโรงงานและชว่ ยเสรมิ สรา้ งทกั ษะการใชอ้ ปุ กรณท์ ป่ี ลอดภยั ขณะทำ� งานในสถานการณท์ ม่ี คี วามเสย่ี ง อนิ โนเวชน่ั 4.0 คอื ระยะเวลาทเี่ พม่ิ การรว่ มลงทุนกับต่างชาติในผลิตภัณฑ์ท่ีมีเอกลักษณ์โดดเด่นและการขยายการผลติ ไปสูป่ ระเทศทม่ี ศี ักยภาพ 138
3) ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นา และศนู ยเ์ สรมิ สรา้ งเทคโนโลยเี ปน็ ทพี่ สิ จู น์แลว้ ในอนิ โนเวชนั่ 3.0 วา่ เทคโนโลยคี อื หวั ใจของการสรา้ งความเจรญิ และแข็งแกร่งให้กับองค์กร ในขณะที่เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ก�ำลังเข้ามาอย่างรวดเรว็ ทำ� ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในธรุ กจิ และอตุ สาหกรรม ศนู ยว์ จิ ยั และพัฒนาของกลุ่มบริษัทอินโนเวชั่นต้องรีบปรับตัวเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถใหท้ นั กบั การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยเทคโนโลยที สี่ รา้ งตอ้ งเปน็แกนกลางการสรา้ งผลิตภณั ฑ์ ธุรกจิ และตลาดใหม่ที่มีคุณค่า ศูนย์วิจยัและพัฒนายางและโพลิเมอร์ของกลุ่มบริษัทอินโนเวช่ันยังคงเป็นพื้นฐานของการพัฒนาเทคโนโลยีโพลิเมอร์ แต่ต้องเสริมสร้างความรู้ในทิศทางท่ีอุตสาหกรรมจะด�ำเนินไป เช่น เทคโนโลยีทางคอมโพสิตโพลิเมอร์ผลติ ภณั ฑข์ องรถยนตไ์ ฟฟา้ และผลติ ภณั ฑส์ เี ขยี วไรส้ ารเคมที เ่ี ปน็ อนั ตรายต่อผู้ใช้และส่ิงแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะกับอาหารและเคร่ืองด่ืมกลุ่มบริษัทอินโนเวช่ันก�ำลังสร้างศูนย์ออกแบบ (Simulation Design)ทดสอบผลติ ภณั ฑแ์ ละผลติ ภณั ฑต์ น้ แบบ เพอ่ื ใหก้ ลมุ่ อนิ โนเวชนั่ สามารถนำ� เสนอผลติ ภณั ฑใ์ หมๆ่ ใหก้ บั อตุ สาหกรรมยานยนตอ์ เิ ลก็ ทรอนคิ ส์ การกอ่ สรา้ งและคมนาคม และปโิ ตรเคมี ศนู ยอ์ อกแบบทดสอบและผลติ ภณั ฑ์ต้นแบบนี้จะพลิกผันบทบาทของอินโนเวช่ันจากการเป็นผู้รับจ้างผลิต(อนิ โนเวชน่ั 2.0) มาสกู่ ารพฒั นาและวจิ ยั ผลติ ภณั ฑร์ ว่ มกนั (อนิ โนเวชนั่ 3.0)มาสู่การสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติโดดเด่นและมีคุณค่าแก่ลูกค้าและอุตสาหกรรม (อินโนเวชั่น 4.0) ในขณะเดียวกันศูนย์วิศวกรรมที่ก�ำลังจดั ตง้ั ทสี่ วนอตุ สาหกรรมโรจนะเปน็ ศนู ยว์ ศิ วกรรมทจี่ ะชว่ ยพฒั นาความรู้ความสามารถด้านวิศวกรรมท่จี ะเกดิ ข้ึนในอตุ สาหกรรม 4.0 เชน่ ความรู้ความสามารถในระบบแผงควบคุมการผลิต ระบบผลิตอัตโนมตั ิ และนำ�หนุ่ ยนตเ์ ขา้ มาชว่ ยในการผลติ อกี ทงั้ ศนู ยว์ จิ ยั และออกแบบทางวศิ วกรรมน้ีมีความสามารถในระบบการสื่อสาร ระบบอินเตอร์เน็ต และดิจิตอล 139
ศูนย์สอบเทียบเคร่ืองมือคืออีกศูนย์หน่ึงที่จะพัฒนาขึ้นมาเพ่ือสอบเทียบเครอ่ื งมอื เครอื่ งจกั รของกลมุ่ บรษิ ทั อนิ โนเวชน่ั และจะขยายศนู ยท์ ดสอบน้ีเปน็ ศูนยใ์ หบ้ รกิ ารแกล่ กู ค้าและภาคอุตสาหกรรม ศูนย์ทุกศูนย์ท่ีก�ำลังพัฒนาเป็นอีกสถานที่หน่ึงที่จะใช้ฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานในกลุ่มบริษัทอินโนเวชั่นและนิสิตนักศึกษาเพ่ือให้มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีอันเป็นหัวใจส�ำคัญท่ีจะน�ำไปสู่อตุ สาหกรรม 4.0 4) ในระยะเวลา 4-5 ปีท่ีผ่านมา ฝ่ายการตลาดและผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวอย่างต่อเน่ืองด้วยการสนับสนุนจากศูนย์วิจัยและพัฒนาของกลุ่มบริษัทอินโนเวชั่นซ่ึงเป็นกลุ่มบริษัทท่ีลูกค้าท้ังในประเทศและตา่ งประเทศเลอื กทจี่ ะเปน็ พนั ธมติ รทางการคา้ เพอ่ื ทำ� การวจิ ยั และพฒั นาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ร่วมกัน พร้อมกันนี้กลุ่มบริษัทอินโนเวช่ันก็วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของอุตสาหกรรมในอนาคตออกมาอย่างสม่�ำเสมอ ฝ่ายการตลาดเป็นฝ่ายที่ส�ำคัญของกลมุ่ บรษิ ทั อนิ โนเวชนั่ ทจี่ ะนำ� สงิ่ ทม่ี คี ณุ คา่ ของอนิ โนเวชน่ั นำ� เสนอแกล่ กู คา้และอุตสาหกรรม นค่ี อื การพฒั นากลมุ่ บรษิ ทั อนิ โนเวชน่ั ไปสู่ อนิ โนเวชน่ั 4.0 โดยอาศยัเทคโนโลยีเป็นแกนกลางของการสร้างธุรกิจที่มีคุณค่าและน�ำเสนอไปสู่ลูกค้าในตลาดที่ยังต้องการผลิตภัณฑ์ยางที่สามารถสร้างคุณค่าแก่ผลิตภณั ฑ์ของเขาได้ท้งั ในปจั จุบันและอนาคต 140
141
เก่ยี วกบั ผู้เขยี น ดร.บญั ชา ชณุ หสวสั ดิกลุ ส�ำเร็จการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.เคมี) รุ่น 33 จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เม่ือปี พ.ศ. 2507 วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาอนิ ทรยี ์ เคมี จากมหาวิทยาลัยเท็กซัส เมือง ออสติน สหรฐั อเมริกา ระหวา่ งศกึ ษา ต่อได้ท�ำงานต�ำแหน่ง Research & Teaching Assistance ในปี พ.ศ.2515 หลังจากนั้นได้เดินทางกลับมายังประเทศไทยและได้เข้าท�ำงานที่ บริษัท เชลล์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ต�ำแหน่งผู้จัดการขายแผนกเคมีอุตสาหกรรมและส�ำเร็จการศึกษา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2520 ต่อมาในปี พ.ศ.2522 ได้เข้าท�ำงานที่ บริษัท ดูปองท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ในต�ำแหน่งผู้จัดการฝ่ายการตลาด และในปี พ.ศ. 2524 ได้เข้าท�ำงานท่ี บริษัท ดูปองท์ เอเชีย แปซิฟิก จ�ำกัด ประจ�ำประเทศฮ่องกงต�ำแหน่งผู้จัดการวางแผนธุรกิจและการลงทุนภาคพ้ืนเอเชียแปซิฟิกเปน็ เวลา 4 ปี และในปี พ.ศ. 2554 รบั ดษุ ฎี บณั ฑติ Doctor of Philosophyสาขา Technology Management จากมหาวิทยาลัย Rushmore,USA ในปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัทอินโนเวชั่น ซ่งึ เป็นผู้นำ� ทางเทคโนโลยดี ้านยาง พลาสตกิ และพอลเิ มอร์ที่ครบวงจร ส�ำหรับผลงานทางด้านวิชาการ ได้รับแต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราภิชาน เงินกองทุน ดร.คัทสึโนะสึเดะ มาเอดะ ในกองทุน 142
รัชดาภเิ ษกสมโภช คณะวทิ ยาศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบนัโดยรบั ผดิ ชอบการสอนรายวชิ าตา่ งๆ ของภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และรับเชิญเป็นอาจารย์บรรยายระดับอดุ มศกึ ษาในหลายสถาบนั นอกจากการอทุ ศิ ตนเพอ่ื ถา่ ยทอดความรดู้ า้ นวชิ าการแลว้ ยงั สละทนุ ทรพั ย์ เพอื่ สนบั สนนุ การวจิ ยั ของสถานศกึ ษาตา่ งๆไดแ้ ก่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยัสงขลานครินทร์ ฯลฯ และใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การสง่ เสรมิ การศกึ ษาของเยาวชนด้วยการมอบทุนการศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกอยา่ งตอ่ เนอ่ื งมาจนถงึ ปจั จบุ นั ดว้ ยปณธิ านทมี่ งุ่ มนั่ จะเปน็ สว่ นหนงึ่ ในการสรา้ งนกั วทิ ยาศาสตรใ์ หก้ บั ประเทศไทย สามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นระดบั สากล ด้านวิชาการ เป็นกรรมการบริหารสถาบันวิจัยโลหะและวิศวะ,กรรมการบริหารศูนย์เครื่องมือวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และในปี พ.ศ. 2548-2549 เป็นประธานนสิ ิตเก่าเคมี จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยในปี พ.ศ. 2543 จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ได้มอบรางวัลนสิ ิตเก่าดเี ดน่คณะวิทยาศาสตร์ และในปี พ.ศ. 2550 มอบรางวัลนิสิตเก่าดีเด่นผู้มีคณุ ปู การตอ่ ภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ นอกจากนย้ี งั ไดส้ รา้ งผลงานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากมายจนได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณเชิดชูเกียรติต่างๆ เช่น ปี พ.ศ. 2554 รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ “บุคคลคุณภาพแห่งปี 2011” จากมูลนิธิสภาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (มสวท.) ในปี พ.ศ. 2555กลมุ่ บริษัทอนิ โนเวช่นั ภายใตก้ ารบรหิ ารของ ดร.บัญชา ชณุ หสวัสดิกุลได้รับโล่เชิดชูเกียรติ “องค์กรดีเด่นด้านการส่งเสริมวิทยาศาสตร์”ประจำ� ปี 2555 จากมลู นธิ ิศาสตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ ในปี พ.ศ. 2558 ได้รับพระราชทานปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกติ ตมิ ศกั ด์ิจากสภาจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 143
แหล่งขอ้ มูลอา้ งองิ 1) นติ ยสาร Fortune และ นิตยสาร Bloomberg Businessweek, 2015-2016 2) Steve Jobs by Walter Isaacson 3) The Fourth Industrial Revolution, by Klaus Schwab - World Economic forum 4) ประเทศไทย 4.0 – Admission Premium 5) ประเทศไทย 4.0 อะไร ทำ� ไม และอยา่ งไร โดย ดร.บวร เทศารนิ ทร์ 6) Thailand 4.0 - Asian Institute of Technology (AIT) 7) The Third Industrial Revolution (book) by Jeremy Rifkin, from Wikipedia 8) Lithium battery, From Wikipedia 9) What is urbanization, by The Population Reference Bureau10) Analysis electric vehicles industry, by International Economic Development Council11) Top 10 Inventions that Changed the World, by Live Science12) Hydrogen Energy and Fuel Cell Technology, by RenewableEnergyWorld.com13) Timeline of historic inventions, From Wikipedia14) How Has Technology Affected Human Behavior? (Guest Blog by JaguarPC), from Bennis Public Relations Inc.15) พระราชประวตั ,ิ พระราชกรณยี กจิ , พระบดิ าแหง่ เทคโนโลยขี องไทย, เรารักพระเจา้ อยูห่ ัว.com 144
16) หวั ขอ้ ข่าว “เสด็จเปิดรถไฟฟา้ ใต้ดิน สายแรกของประเทศไทย”, BANGKOK CITISMART.com17) 11 สงิ่ ปลกู สร้างทค่ี นไทยได้เหน็ ในสมัย ในหลวง รัชกาลที่ 9, DecorMTHAT.com วันท่ี 19 ต.ค. 255918) หัวข้อขา่ ว “ในหลวง โปรดเกลา้ พระราชทานชื่อ 'ฉลองรัชธรรม' ให้รถไฟฟ้าสายสีมว่ ง”, โดย ไทยรัฐออนไลน์ วนั ท่ี 30 ม.ิ ย. 255919) รถไฟฟา้ มหานคร, วกิ ิพีเดีย สารานกุ รมเสรี20) พระราชด�ำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว พระราชทานถึง การถไฟแหง่ ประเทศไทย เมอื่ วนั ท่ี 27 มิถุนายน 2554, Facebook ทีม พีอาร์ การรถไฟแหง่ ประเทศไทย21) พระมหากษตั รยิ ์ไทยกบั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย,ี โดย มาลนิ ี อศั วดษิ ฐเลิศ จากวารสาร @ll BIOTECH ปีที่ 2 ฉบับท่ี 22 เดอื นตลุ าคม 2547 และวชิ าการ.คอม22) \"ในหลวง\" มพี ระราชกระแสให้หาแนวทางแก้ปัญหาจราจรรอบ ร.พ.ศริ ริ าช, ผจู้ ดั การออนไลน์ ขา่ วพระราชสำ� นกั วนั ที่27 มถิ นุ ายน 255423) พระราชกรณยี กิจดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร, สำ� นกั ข่าวเจา้ พระยา ออนไลน์ 145
“ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา ตอ้ งการเปลย่ี นแปลงโครงสร้างเศรษฐกจิ “ “ไทยไปสู่การสร้างเศรษฐกิจท่ีสร้างคุณค่าหรือเศรษฐกิจที่สร้างเทคโนโลยีของตัวเองอนั น�ำ ไปสู่นวัตกรรม โดยพยายามผลักดนั การน�ำ เทคโนโลยีดจิ ติ อลและสร้างความเชอ่ื มโยง “ประชารฐั ” น�ำ ไทยไปสู่ “ประเทศไทย 4.0”“ การสร้างคุณค่าให้แก่องค์กรต้องมีผู้นำ�ที่สามารถนำ�การเปลี่ยนแปลงและสามารถนำ�เสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณค่าที่ลูกค้าและตลาดต้องการผา่ นขบวนการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร สร้างเทคโนโลยใี หมเ่ พ่อื น�ำ ไปสูก่ ารสร้างนวตั กรรมใหม่ๆ ส่ตู ลาดได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148