49
50
4บทที่ การรุกเข้าอุตสาหกรรมรถยนตข์ อง บรษิ ัทซลิ ิคอน วัลเล่ย์ ใน 10 ปีท่ผี ่านมาบริษทั เทคโนโลยีของบรษิ ัทต่างๆ ใน ซิลคิ อนวลั เลย่ ์ ประสบความสำ� เรจ็ อยา่ งมากและเทคโนโลยเี หลา่ นเ้ี ขา้ มามบี ทบาทสำ� คญั ในชวี ติ ประจำ� วนั ของคนกวา่ 3 พนั ลา้ นคน ความตอ้ งการเทคโนโลยีท่ีดีขน้ึ ทำ� ให้มบี ริษัทเทคโนโลยีใน ซิลิคอน วัลเลย่ ์ เกิดขึ้นอยา่ งรวดเรว็บรษิ ทั แอปเปิล (Apple) กลายเปน็ บรษิ ทั ท่ที �ำกำ� ไรอันดับหน่งึ ของโลกบรษิ ัทเทคโนโลยี 10 บรษิ ัทเป็นผู้ก�ำรายไดส้ ว่ นใหญก่ วา่ ร้อยละ 50 ของรายได้ประชากรโลก บริษัทเทคโนโลยีเหล่านี้ก�ำลังเข้าสู่อุตสาหกรรมรถยนต์ในการพัฒนารถยนต์ที่สามารถขับเคล่ือนด้วยตนเองและควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติ ผู้ผลิตรถยนต์ยักษ์ใหญ่ด้านเทคโนโลยีก�ำลังแข่งขันกันสร้างรถยนต์รุ่นใหม่ หัวเลี้ยวหัวต่อใครร่วมกับใคร ใครซื้อใครเกิดใครจะขึ้นมาเป็นผู้ย่ิงใหญ่ในอุตสาหกรรมรถยนต์ ท้ังนี้อุตสาหกรรมรถยนตก์ ำ� ลงั เดนิ สกู่ ารแขง่ ขนั ยคุ ใหม่ ผแู้ ขง็ แกรง่ ในอตุ สาหกรรมรถยนต์ปัจจุบันก�ำลังเจอคแู่ ขง่ จาก ซิลคิ อน วัลเลย่ ์ ซ่งึ เข้ามาแข่งขันกบั ผผู้ ลติรถยนต์ในยคุ ของเทคโนโลยรี ถยนตข์ บั เคลอ่ื นดว้ ยตวั เองและรถยนตร์ ะบบไฟฟา้ หรอื ไฮโดรเจน เรามาดวู วิ ฒั นาการอตุ สาหกรรมรถยนต์ต้งั แตแ่ รกเรมิ่ และมาคาดเดากนั วา่ ในอกี 10 ปขี า้ งหนา้ รปู ลกั ษณร์ ถยนตห์ รอื ระบบขนสง่ จะเป็นอย่างไร ใครจะขน้ึ มาเป็นผู้นำ� ในอุตสาหกรรมน้ี 51
หลงั จากการคน้ พบเครอื่ งยนตร์ ะบบเผาไหมภ้ ายในโดยNicephoreNiepce ในปี ค.ศ. 1807 และ Karl Benz ไดน้ �ำเทคโนโลยีนีม้ าพัฒนาเปน็ รถยนตค์ นั แรกในปี ค.ศ. 1886 แตอ่ ตุ สาหกรรมรถยนตก์ ลบั มาเตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งสหรัฐอเมริกาในยคุ ต้นๆ ค.ศ. 1900 มีผูผ้ ลติ รถยนต์กว่า 30 บรษิ ัทโดยประมาณ ต่างก็ผลิตรถยนต์ออกส่ตู ลาดรถยนตร์ ่นุ แรกๆ จะเปน็ รถยนต์ที่มี 3 ล้อ พวงมาลยั ใช้วิธีโยกซ้ายและขวาโดยใช้มือจบั แบบรถจักรยาน ในปี ค.ศ. 1908 Henry Ford ตง้ั บริษัทFord Motor และสร้างรถยนต์ Ford Model T เขาสร้างการผลิตระบบสายพานที่มีการผลิตอย่างต่อเนื่องข้ึนโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะสร้างรถยนต์ที่ราคาถูกและมีคุณภาพ ทดแทนการผลิตที่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหลายคนในการผลิตรถยนต์แต่ละคัน Henry Ford ต้ังใจสรา้ ง Ford Model T มาทดแทนรถเทยี มมา้ ท่ชี าวอเมริกนั ใช้อยู่ ราคาขายเริ่มต้นท่ี $850 ต่อคัน รถยนต์ Ford Model T เป็นรถยนต์สีด�ำท่ีขายดีที่สุดมีการผลิตปีละเกือบ 3 ล้านคันด้วยระบบการผลิตระบบสายพานและปริมาณการจ�ำหน่ายที่สูงขึ้น Ford Model T ขายได้ในราคา $350 ต่อคัน Ford เป็นรถยนต์ท่ีขายดีท่ีสุดในสหรัฐอเมริกาและเริ่มขยายไปขายในยุโรปและประเทศต่างๆ ในขณะเดียวกัน 52
William C. Durant ไดก้ อ่ ตงั้ บรษิ ทั General Motors ในชว่ งเวลานนั้ มกี ารประดษิ ฐ์หวั เทียนไฟฟ้า William Durant ได้น�ำไปติดตง้ั ในรถ Cadillacทำ� ใหร้ ถยนตข์ องเขาสามารถจดุ ประกายไฟไดด้ ว้ ยหวั เทยี นจากแบตเตอร่ีในชว่ งตน้ ปี ค.ศ. 1900 บริษทั ดูปองท์ เขา้ ร่วมกับ General Motors โดยดปู องทน์ ำ� ความรดู้ า้ นวศิ วกรรมมาชว่ ยพฒั นาเทคโนโลยขี องรถยนต์ ในปีค.ศ. 1928 General Motors คิดค้นระบบ Synchromesh Transmissionและน�ำไปติดต้ังที่ Cadillac ท�ำให้รถยนต์สามารถเข้าเกียร์ได้อย่างงา่ ยดาย แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามดว้ ยราคาทถ่ี กู และระบบการตลาดทด่ี ขี อง Fordท�ำให้รถยนต์ Ford Model T ยังครองตลาดของสหรัฐอเมริกาและมีส่วนแบ่งการตลาดถึงร้อยละ 80 ในปี ค.ศ. 1930 General Motorsได้น�ำวทิ ยุมาติดต้งั ในรถยนต์ มีการประดษิ ฐ์ Coil Spring มาตดิ ต้ังขน้ึในรถยนต์เพื่อให้การขับข่ีสบายข้ึน ในปี ค.ศ. 1932-1935 เป็นช่วงสงครามโลกครั้งท่ี 2 การพัฒนารถยนต์ต้องหยุดชะงักลงบริษัทรถยนต์ตา่ งตอ้ งเขา้ ไปชว่ ยรฐั บาล รถ Jeep ถกู พฒั นาขนึ้ มาใชใ้ นการทหาร สว่ นในโลกอีกซีกหนึ่งในประเทศเยอรมันก็มีการผลิตรถยนต์ Volkswagen(รถยนตส์ �ำหรบั ประชาชน) ขนึ้ โดยฮิตเลอร์ (มผี ้กู ลา่ วว่า Henry Ford อยู่เบอื้ งหลังการสรา้ งรถยนต์ Volkswagen ของฮิตเลอร)์ แต่หลงั สงครามอตุ สาหกรรมตา่ งๆ ในเยอรมนั ตอ้ งหยดุ ตวั ลง แตก่ ารพฒั นาอตุ สาหกรรมรถยนตก์ ลบั เติบโตอย่างมากในสหรัฐอเมริกา ในชว่ งสงครามโลก ยางกลายเปน็ วสั ดทุ ร่ี ฐั บาลสหรฐั อเมรกิ าถอื วา่เปน็ วสั ดทุ สี่ ำ� คญั ในการสงคราม มกี ารตงั้ หนว่ ยวจิ ยั พฒั นายางสงั เคราะห์เพอ่ื ทดแทนยางธรรมชาตแิ ละเทคโนโลยกี ารทำ� ยางอยา่ งกวา้ งขวาง หลงัสงครามสหรฐั อเมรกิ าคอื ผนู้ ำ� ในการผลติ ยางสงั เคราะหข์ องอตุ สาหกรรมยางและลอ้ รถยนต์ ชว่ งหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 Alfred P. Sloan ไดข้ นึ้ มาเปน็ ผูน้ ำ� คนใหม่ของ General Motors และ Alfred Sloan ได้ช่อื ว่าเป็น 53
นักการตลาดท่ีเก่งและเขาได้เปล่ียนโฉมประวัติศาสตร์รถยนต์อเมริกาโดยการแนะน�ำรถยนต์ 4 รุ่นท่ีมีการออกแบบและต้ังราคาให้เหมาะสมกบั กำ� ลังซอื้ และรสนยิ มของผ้ใู ช้ General Motors สามารถแยง่ สว่ นแบ่งตลาดจากFord และไดข้ นึ้ มาเปน็ ผผู้ ลติ รถยนตอ์ นั ดบั หนง่ึ ของโลก รถยนต์ของ General Motors ทกุ รุ่นได้ตดิ ตัง้ ระบบ Automatic transmissionในรถยนต์ทกุ คัน ตามมาด้วยระบบ Power Stealing ในปี ค.ศ. 1959General Motors ไดเ้ ตบิ โตขนึ้ มาเปน็ บรษิ ทั ยกั ษใ์ หญท่ ม่ี รี ายไดเ้ ปน็ อนั ดบัหนง่ึ ของโลก การพฒั นารถยนตไ์ มไ่ ดห้ ยดุ ที่ General Motors อยา่ งเดยี วบรษิ ทั ในยโุ รปและญป่ี นุ่ ในชว่ งปี ค.ศ.1960 ไดเ้ ตบิ โตขนึ้ มาและมกี ารพฒั นาเทคโนโลยขี องตวั เอง ในปี ค.ศ. 1958 Volvo ประดษิ ฐส์ ายคาดนริ ภยั 3 จดุตดิ ตัง้ ในรถ Volvo ทุกคนั (ทุกชีวติ ปลอดภัยในรถ Volvo) ในปี ค.ศ.1968 TRW สหรัฐอเมริกาประดิษฐ์ระบบ transmission ซึ่งใช้ได้ทั้งระบบพลงั งานจากเคร่อื งยนต์กบั พลังงานจากระบบไฟฟ้า ในปี ค.ศ. 1973 มีการตดิ ตงั้ Air bag ในรถยนตแ์ ละมกี ารตดิ ตง้ั ระบบ catalytic converterในท่อไอเสีย ในช่วงปี ค.ศ. 1970 การพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนต์ในญ่ีปุ่นได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ด้วยความต้ังใจให้รถยนต์ญี่ปุ่นเป็นรถยนต์ท่ีมีราคาถกู และคงทน และมบี รกิ ารหลงั การขายทเี่ ปน็ เยยี่ ม รถยนตโ์ ตโยตา้และฮอนดา้ กลายเปน็ รถขนาดเลก็ ทข่ี ายดใี นสหรฐั อเมรกิ า ในชว่ ง ค.ศ.1980ในขณะท่ีเทคโนโลยีรถยนต์มีการพัฒนาไปเร่ือยๆ ระบบหัวฉีดอเิ ล็กทรอนกิ สไ์ ดถ้ กู ประดิษฐ์และตดิ ต้งั ในรถยนต์ ท�ำให้การเผาไหม้เกิดประสิทธภิ าพสูงขนึ้ ในปี ค.ศ. 2000 โตโยตา้ ประดิษฐร์ ถยนต์ Hybrid ซ่ึงเป็นการขับเคลื่อนโดยใช้พลังงานผสมผสานระหว่างแบตเตอร่ีไฟฟ้าและพลังงานจากเคร่ืองยนต์ท�ำให้รถยนต์ Hybrid รุ่น Prius ของ Toyotaขายดีมากในตลาดสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 2001 ระบบสอื่ สารไดเ้ ข้ามา 54
มบี ทบาทในอตุ สาหกรรมรถยนต์ มกี ารตดิ ตง้ั Bluetooth เพอ่ื การเชอื่ มโยงระหวา่ งโทรศพั ทม์ อื ถอื กบั รถยนต์ และมกี ารตดิ ตงั้ ระบบปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุการชนกันในรถยนต์ในปถี ัดมา ต่อมาในปี ค.ศ. 2003 ก่อตัง้ บรษิ ัท TeslaMotor ผู้ผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้า และปี ค.ศ. 2009 ก่อต้ังบริษัทUber Technologies เพื่อจดั การระบบการใชร้ ถรว่ มกนั (Ride-sharingservices) เป็นเครอื ขา่ ยขนสง่ บนแอ็พพลิเคชัน่ และบรษิ ัทแท็กซี่ ซึ่งใช้กบัรถแทก็ ซีใ่ นสหรฐั ฯ และแพร่หลายในหลายๆ ประเทศ และปีเดียวกนั นนั้บรษิ ทั Google เรมิ่ โครงการรถยนต์ไรค้ นขบั (Google self-driving carproject) รถยนตต์ ้นแบบอจั ฉริยะสามารถขับเคล่ือนอัตโนมตั ดิ ว้ ยตัวเองที่ควบคมุ โดยคอมพิวเตอรเ์ พียงอย่างเดยี ว Google คาดวา่ รถไร้คนขบั นี้จะพรอ้ มผลติ และจำ� หนา่ ยแกส่ าธารณชนในชว่ งปี ค.ศ. 2017-2020 นคี่ อืจุดเร่มิ ต้นทบ่ี ริษทั เทคโนโลยขี อง ซิลคิ อน วลั เลย์ เขา้ มามบี ทบาทในการผลิตรถยนต์ หลายคนมองว่าในอนาคตรถยนต์อีก 5 ปีข้างหน้าบริษัทชน้ั นำ� ทางดา้ นเทคโนโลยจี ะเขา้ มาเปลย่ี นแปลงโฉมหนา้ รถยนตใ์ นอนาคตบรษิ ัทรถยนตท์ ้งั หลายตา่ งรบี เร่งหาพันธมิตรเพือ่ ใหไ้ ดเ้ ทคโนโลยดี จิ ิตอลเพ่ือพัฒนาระบบขับเคล่ือนอัตโนมัติเพื่อไม่ให้แพ้บริษัทเทคโนโลยีจากซิลิคอน วลั เล่ย์ ที่จะเขา้ มาแขง่ ในอุตสาหกรรมรถยนต์ 55
การท่ีบริษัท Tesla Motor เข้ามาพัฒนาระบบขับเคล่ือนรถยนต์ด้วยแบตเตอร่ีลิเธียมไอออนท�ำให้รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแรงผลักดันการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมรถยนต์ รถยนต์ระบบไฟฟ้าเข้ามีบทบาทมากข้ึนและเข้ามาทดแทนระบบเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน การพัฒนาประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ท่ีมีพลังสูงจะค่อยๆ หายไป เป็นการเร่งพัฒนาแบตเตอรี่และมอเตอร์ท่ีมีประสิทธิภาพสูงและต้นทุนการผลิตที่ถกู ลงและสามารถใชง้ านไดย้ าวนานขนึ้ จากการอดั แบตเตอรต่ี อ่ ครงั้ มกี ารพฒั นามอเตอร์ทีข่ บั เคล่อื นให้มีประสิทธิภาพที่ดขี น้ึ เร่งเครื่องได้รวดเร็วเทา่ กับรถยนต์ท่ใี ชเ้ ครื่องยนตเ์ ผาไหม้ภายใน ในระยะยาวตัวรถยนต์ไฟฟ้าจะเข้ามาทดแทนรถยนต์ที่ใช้เครอ่ื งยนตแ์ ละนอี่ าจจะทำ� ใหร้ าคานำ้� มนั ถกู ลง อนาคตบรษิ ทั ผผู้ ลติ นำ�้ มนัทั้งหลายจะถูกกระทบและต้องเปลี่ยนแปลงทิศทางธุรกิจในอนาคตของตนเองเชน่ เดยี วกบั บรษิ ทั ผลติ รถยนต์ บรษิ ทั เชลลแ์ ละเอสโซซ่ งึ่ เปน็ บรษิ ทัน้�ำมันอันดับต้นๆ ต้องปรับกลยุทธ์การผลิตน้�ำมันและมองเห็นว่าความต้องการน�้ำมันเบนซิลและดีเซลลดลง การกลั่นน�้ำมันจากน้�ำมันดิบจะยงุ่ ยากเพราะสดั สว่ นความตอ้ งการจากการกลน่ั จะเปลยี่ นไปจากปจั จบุ นัความต้องการใช้ไฟฟ้าจะมากข้ึนจากรถยนต์ไฟฟ้าท่ีก�ำลังจะเติบโตข้ึนบริษัทผู้ผลิตน�้ำมันต่างหันมาสนใจขุดเจาะแก๊สธรรมชาติแทนน้�ำมันดิบแก๊สธรรมชาติจะเป็นเชื้อเพลิงสะอาดทดแทนน�้ำมันเตาหรือถ่านหินในการผลิตไฟฟ้า เพราะความต้องการไฟฟ้าจะสูงขึ้นและความต้องการเชื้อเพลิงสะอาดในการผลิตไฟฟ้าก็จะสูงขึ้นตามไปด้วย เมื่อรถยนต์ไฟฟ้าเขา้ มาแทนรถยนต์ระบบเครอื่ งยนต์ ผูผ้ ลติ เคร่ืองยนต์และระบบที่เกยี่ วขอ้ งกบั เครอ่ื งยนต์ เชน่ Catalytic converter และ Thermo chargerกจ็ ะคอ่ ยๆ หายไปจากตลาด ผผู้ ลติ ชนิ้ สว่ นยางทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เครอ่ื งยนต์จะถกู กระทบจากรถยนตไ์ ฟฟา้ ทเ่ี ขา้ สตู่ ลาด บรษิ ทั ผลติ ยางสงั เคราะหก์ จ็ ะถกู กระทบจากการเขา้ มาของรถไฟฟา้ เช่นเดยี วกัน 56
รถยนต์ในอนาคตนอกจากระบบขับเคล่ือนด้วยไฟฟ้าและระบบการขับเคล่ือนเองอตั โนมตั แิ ล้ว รถยนตท์ ่สี ามารถสื่อสารระหว่างรถยนต์และสัญญาณจราจรได้จะท�ำให้ผู้ขับข่ีไม่ต้องกังวลกับสัญญาณจราจรและการขับขี่หลังพวงมาลัย การขับขี่จะปลอดภัยขึ้น ผู้ขับขี่จะมีเวลาเปน็ ของตวั เองในขณะขบั ขร่ี ถยนต์ จอของรถยนตจ์ ะเปน็ ทใ่ี หข้ า่ วสารและโฆษณา บรษิ ทั Google และ Facebook ไดเ้ ปรยี บในเรอื่ งของขอ้ มลู ของผู้บริโภคจะเป็นผู้ครองตลาดการสื่อสารในรถยนต์ส่วนบุคคลในอนาคตอุบัติเหตุบนท้องถนนจากรถยนต์จะลดลงเพราะรถยนต์ท่ีขับเคลื่อนเองจะปลอดภยั มากขนึ้ บรษิ ทั ประกนั รถยนตท์ งั้ หลายจะตอ้ งเปลย่ี นแนวทางในการประกอบอาชีพ ขณะเดียวกันคนในเมืองอาจไม่จ�ำเป็นต้องมีรถยนต์เป็นของตนเอง Uber ซ่ึงเป็นบริษัทแท็กซ่ีท่ีใหญ่ที่สุดจะเข้ามามบี ทบาทในธรุ กจิ รถยนต์ Uber จะท�ำใหร้ ะบบการใชร้ ถยนต์ร่วมกนั และรถแท็กซี่จะเป็นที่นิยมมากขึ้น การจราจรบนท้องถนนจะลดน้อยลงที่จอดรถยนต์จะน้อยลง แท็กซี่ที่ขับเคล่ือนเองราคาค่าบริการจะถูกลงเพราะไม่ต้องมีคนขับ ผู้คนจะย้ายออกมาอาศัยอยู่ชานเมืองมากข้ึนเพราะระบบขนสง่ สาธารณะดขี น้ึ การจราจรในเมอื งลดความหนาแนน่ ลงผูส้ งู อายุแม้แต่คนตาบอดหรอื ผู้พิการกจ็ ะสามารถขบั รถได้ 57
Google, Apple, Uber, Lyft จะมบี ทบาทมากข้นึ จนผู้ผลติ รถยนต์ต้องจับตามองและต้องรีบหาพันธมิตรจากผู้ผลิตระบบการส่ือสารหรือบริษัทด้านเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ๆ ตลอดเวลาท่ีผ่านมามีรายงานว่าApple จัดตง้ั โครงการท่ีจะผลติ รถยนตย์ ่ีหอ้ Apple แต่แลว้ ล่าสุด Appleต้องหยุดชะงักโครงการลงทั้งน้ีเพราะการลาออกของ Steve Zadeskyหัวหนา้ โครงการ Titan ของ Apple กอ่ นหนา้ น้ี Steve Zadesky เคยเป็นวิศวกรของ Ford มาก่อนแล้วจึงเข้ามาร่วมงานกับ Apple อยู่หลายปีApple ตดั สนิ ใจหยดุ โครงการTitan และหนั มาเปน็ บรษิ ทั พฒั นาระบบการขับเคล่ือนอัตโนมัติ รวมทงั้ ระบบกล้องเซนเซอร์ และ Software ท้ังหมดใหก้ บั บรษิ ทั ผลติ รถยนต์ การตดั สนิ ใจครงั้ นท้ี ำ� ใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญหลายรอ้ ยคนที่จา้ งมาทำ� ในโครงการ Titan ต่างทยอยลาออก Ford กอ่ ตัง้ บรษิ ัท Smart Mobility เพื่อพฒั นา Software TechService และธุรกจิ การเคลือ่ นที่ GM ลงทนุ $500 ลา้ น ในบรษิ ทั Lyft เพอ่ื เสรมิ สรา้ งฐานของSoftwareสำ� หรับยานยนตแ์ ละ GM ยงั เขา้ ซอ้ื บริษทั Cruise Automation ด้วยเงิน$1 พนั ลา้ น Cruise เปน็ บรษิ ทั เทคโนโลยที กี่ อ่ ตวั ขนึ้ แค่ 2-3 ปี เรม่ิ ตน้ จากCruise ตง้ั ใจจะทำ� ระบบจดั สง่ Pizza และระบบรถขนส่งขนาดเลก็ และ 58
ระบบรถรว่ มทงั้ GM, Lyft และ Cruise ทงั้ 3 บรษิ ทั รว่ มกนั พฒั นา softwareโดยใชฐ้ านการบรกิ ารขนสง่ ของ Lyft และเทคโนโลยขี อง Cruise ในระบบขับเคล่อื นอตั โนมตั ิ ในขณะเดยี วกนั Google และ Apple กำ� ลงั หนั เหธรุ กิจการสื่อสารเขา้ สรู่ ะบบอตุ สาหกรรมรถยนต์ และระบบการสอ่ื สารของรถยนต์Googleลงทนุ $258 ลา้ น ในบรษิ ทั Uber ทางToyota กเ็ จรจากบั Uber เพอื่ เสรมิ สรา้ งขีดความสามารถของตนเอง Volkswagen ลงทนุ $300 ลา้ น ในบรษิ ัทขบั เคลอ่ื นและขนสง่ GettApple ลงทนุ $1 พนั ลา้ น ในบรษิ ทั DidiChuxingของจนี และเข้าไปเป็นหุน้ ส่วนทางการค้ากบั Fiat Chrysler Automobilesเพอ่ื ติดตั้งระบบขบั เคลื่อนอตั โนมตั ิในรถบสั เล็ก (Pacifica) กบั ระบบ EV(Electric Vehicle) และระบบขบั เคลอ่ื นอตั โนมตั ิ บรษิ ทั Uber เปน็ บรษิ ทัทม่ี คี ่าทางตลาดมากกวา่ บรษิ ทั ผู้ผลติ รถยนตเ์ องอจั ฉรยิ ะผู้สรา้ งธรุ กิจพนั ล้าน ใน ซลิ คิ อน วลั เลย์ มเี ดก็ หนมุ่ อจั รยิ ะและเศรษฐเี กดิ ขนึ้ มากมายKyleVogt และ Daniel Kan คอื ตัวอย่างคนหนมุ่ ใน ซิลิคอน วลั เลย์ ที่ประสบความส�ำเร็จ ซลิ ิคอน วลั เลย์ คือดนิ แดนของผู้ทที่ ะเยอทะยาน เป็นดนิแดนแห่งความทา้ ทายของผูท้ มี่ ีความคิดสรา้ งสรรค์ และต้องการท้าทายความสามารถของตนเอง เป็นท่ีเกิดของมหาเศรษฐีอย่าง Elon Musk,Steve Jobs หรอื Larry Page ลา่ สุดการเขา้ ซอ้ื Cruise Automation ของGeneral Motors ด้วยเงินพันล้านเหรยี ญ ท�ำใหเ้ ดก็ หน่มุ 2 คนกลายเป็นมหาเศรษฐที นั ที Cruise Automation ไมใ่ ชบ่ รษิ ทั แรกของ Kyle Vogt เขาเคยร่วมกับ Justin.tv ทำ� Video game และ Broadcaster Justin.tv เป็นอจั ฉรยิ ะใน ซลิ คิ อน วลั เลย่ ์ เขารว่ มกบั เพอ่ื นๆ ทำ� Video game และขายลขิ สทิ ธ์ิ Instagram-like vieo ใหบ้ รษิ ทั ยกั ษใ์ หญท่ าง software Autodesk 59
ในปี ค.ศ. 2012 ดว้ ยเงนิ $60 ลา้ น ขณะทีบ่ ริษัทอกี บริษัทท่ี Justin.tvและเพื่อนๆ กลุ่มน้ีท�ำต่อคือ Twitch บริษัทผู้ผลิต Video gameทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ เปน็ อยา่ งมาก มลี กู คา้ กวา่ 55 ลา้ นคนเขา้ เลน่ Videogame ในท่ีสดุ Amazon ก็เข้าซอื้ บรษิ ัท Twitch ดว้ ยเงิน $970 ลา้ นในขณะท่ี Volt เรม่ิ ธรุ กิจ Cruise Automation เม่ือปี ค.ศ. 2013 โดยมีDaniel Kan เปน็ ผูจ้ ดั การฝา่ ยปฏบิ ตั ิการ ขณะนน้ั มีคำ� ถามมากมายว่าทำ� ไมเขามาเรมิ่ ตน้ กอ่ ตงั้ CruiseAutomation เพอ่ื นๆ หลายคนมองไมเ่ หน็ความส�ำเรจ็ ของบรษิ ทั น้ี เรม่ิ ต้นเขาต้งั ใจจะแคส่ ร้าง Software ควบคุมเป็นชุดๆ ออกจ�ำหน่าย แต่ด้วยกระแสของรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติท่ีมาแรง เขาจึงทุ่มเทและเข้าไปพัฒนาระบบขับเคล่ือนอัตโนมัติอย่างเต็มตวั วิวัฒนาการของ Cruise Automation ท�ำให้ GM สนใจและส่งตวั แทนมาเจรจา และในเดอื นมนี าคม ค.ศ. 2015 GM ประกาศซอื้ กจิ การของCruiseAutomation ดว้ ยเงนิ พนั ลา้ นเหรยี ญVogt และKan กลายเปน็เศรษฐแี ละผบู้ รหิ ารทอี่ ายนุ อ้ ยทสี่ ดุ ในGM มนั เปน็ ความทา้ ทายสำ� หรบั เขาท้ังสองคนที่เคยท�ำงานอย่างทุ่มเทในแบบฉบับของตนเอง แล้วเข้ามาทำ� งานระดบั สูงของ GM ท่กี อ่ ตง้ั มา 108 ปี พนกั งานกวา่ 216,000 คนและดว้ ยยอดขาย $152.4 ล้านลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ อจั ฉรยิ ะบคุ คลทยี่ ง่ิ ใหญแ่ หง่ ยคุ ทผี่ เู้ ขยี นอยากยกตวั อยา่ งอกี บคุ คลหน่งึ ในทนี่ ้คี ือ Mark Zuckerberg ผู้สรา้ ง Facebook ต้งั แต่สมยั ยังเรียนอยูม่ หาวิทยาลัย Harvard ดว้ ยวยั เพยี ง 22 ปี เขากอ่ ตั้ง Facebook’swebsite เพ่ือใหเ้ พอ่ื นๆ ในมหาวิทยาลัย upload รูปภาพและประวัติสว่ นตัว มีผ้ใู ช้ website ของเขากว่า 6 ลา้ นคน ณ เวลานี้ Zuckerbergอายุ 32 ปี เขาถกู จดั อนั ดบั โดยหนงั สอื Fortune อนั ทรงอทิ ธพิ ล ยกยอ่ งให้Zuckerberg เป็น Fortune’s Businessperson of The Year จากเด็กหนุม่ท่ีเลิกเรียนกลางคันหันมาเป็นนักธุรกิจท่ีเชื่อมโยงมนุษย์กว่าพันล้านคน 60
ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ปัจจุบัน Facebook มีมูลค่าในตลาดกว่า$350,000 ล้าน ดว้ ยรายได้ $27,000 ลา้ น และมผี ูใ้ ชบ้ ริการ Facebookมากถึง 1.8 พันลา้ นคน บรษิ ทั ในกลุม่ ท่รี วม Family Application เชน่บริษัท Instagram สำ� หรับ share รปู ภาพ และบริษทั WhatsApp ซ่ึงZuckerberg ซื้อมาดว้ ยเงนิ $2.5 พนั ลา้ น และ $19,000 ลา้ น ตามลำ� ดับอกี ทงั้ บรษิ ทั OculusVR ดว้ ยเงนิ $2 พนั ลา้ น ทงั้ หมดนเ้ี สรมิ ความแขง็ แกรง่ให้ Facebook ในตลาดการสอื่ สาร Zuckerberg ผมู้ วี สิ ยั ทศั นอ์ นั กวา้ งไกลเขามองธุรกิจไปล่วงหน้ามากกว่า 10 ปีเสมอ เขาก�ำลังสร้างเรือเหาะหรือ อากาศยานทีไ่ ม่มีคนขบั (Drones) ท่ีใช้พลงั แสงอาทิตยท์ ี่สามารถอยู่บนอากาศได้นานกว่า 90 วันต่อการบินต่อคร้ัง เขาอยากใช้โดรนเหล่านี้เป็นตัวส่งสัญญาณอินเตอร์เน็ตในพื้นท่ีห่างไกล ซึ่งเป็นหน่ึงในวตั ถปุ ระสงค์ของ Zuckerberg ท่จี ะเชอื่ มโลกเข้าด้วยกันเทคโนโลยคี ือจุดเปลี่ยนของอตุ สาหกรรมรถยนต์ ข่าวของ Elon Musk สร้างรถไฟฟ้า Tesla เป็นข่าวสะเทือนไปทั่ววงการอุตสาหกรรมรถยนต์แม้แต่ประเทศไทย หน่วยงานของรัฐและสถาบันการศึกษาต่างจัดสัมมนาทิศทางอุตสาหกรรมรถไฟฟ้าเพื่อหาค�ำตอบให้กับอุตสาหกรรมรถยนตข์ องประเทศไทย บรษิ ทั ยักษ์ใหญ่ของสหรฐั อเมรกิ าใน ซลิ คิ อน วลั เลย์ กม็ กี ารเคลอื่ นไหวอยา่ งมากมาย ผทู้ ไ่ี มเ่ คยอยใู่ นอตุ สาหกรรมรถยนตก์ ห็ นั เหไปใหค้ วามสนใจในอตุ สาหกรรมรถยนต์อยา่ งเชน่ Google ทที่ ำ� การทดสอบรถยนตข์ บั เคลอ่ื นดว้ ยตนเอง จากผลการทดสอบ 6 ปขี องรถยนตข์ บั เคลอื่ นดว้ ยตนเอง ดว้ ยระยะทาง 1.6 ลา้ นกโิ ลเมตร ประสบความสำ� เรจ็ อยา่ งดเี ยยี่ มแมจ้ ะมอี บุ ตั เิ หตเุ กดิ ขน้ึ 12 ครงั้กต็ าม ซง่ึ Google ชแ้ี จงวา่ ไมไ่ ดเ้ กดิ จากปญั หาของระบบ ทง้ั กรณรี ถไฟฟา้และรถยนต์ขับเคลื่อนด้วยตัวเองคือสิ่งท่ีบ่งบอกถึงเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น 61
ก�ำลังเปล่ียนแปลงโฉมหน้าของผู้ผลิตรถยนต์และอุตสาหกรรมรถยนต์ในอนาคต บรษิ ัทเทคโนโลยี ซิลคิ อน วัลเล่ย์ ก�ำลงั เขา้ มามีบทบาทในอตุ สาหกรรมรถยนตใ์ นอนาคต เมื่อต้นปี ค.ศ. 2016 มีการคาดคะเนวา่บริษทั Apple อาจจะเข้าสวู่ งการอตุ สาหกรรมรถยนต์ ถา้ ดจู ากตวั เลขในมลู คา่ สนิ ทรพั ยข์ อง Apple เปน็ บรษิ ทั ทรี่ ำ�่ รวยดว้ ยเงนิ สดทมี่ มี ลู คา่ กวา่ $2แสนล้าน ปัจจุบนั Apple มเี งนิ อย่ใู นมอื กวา่ หน่ึงแสนสามหมื่นเจ็ดพันลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ และเปน็ สง่ิ ทไ่ี มย่ ากนกั ที่Apple จะเขา้ ไปควบซอ้ื กจิ การของรถยนตย์ กั ษใ์ หญข่ องยโุ รปไมว่ า่ จะเปน็ บรษิ ทั Volkswagen ซง่ึ มมี ลู คา่สินทรัพย์อยูท่ ี่ห้าหม่ืนแปดพนั ลา้ นยโู ร Daimler มีมูลค่าสินทรพั ย์สห่ี ม่นืแปดพนั ล้านยโู ร และ BMW มีมลู คา่ สนิ ทรพั ยท์ เี่ จด็ หมืน่ หนึง่ พันลา้ นยูโรรวมมูลค่าสินทรัพย์ของยักษ์ใหญ่ค่ายเยอรมันหน่ึงแสนเจ็ดหมื่นเจ็ดพันลา้ นยโู ร แตส่ ง่ิ นค้ี งเกดิ ขน้ึ ไมง่ า่ ยนกั เพราะ Volkswagen มกี ฎและผถู้ อื หนุ้จากตระกูล Porsche and Peach ปกป้องอยู่ ในขณะที่ BMW มตี ระกูลQuandt และKlahan คอยปกปอ้ งอยเู่ ชน่ กนั เหลอื แตร่ ถยนตค์ า่ ยDaimlerที่มีผู้ถือหุ้นกระจัดกระจายซึ่งมีเศรษฐีชาว Kuwait, Emirates และRenault-Nissan Group เปน็ ผถู้ อื หนุ้ อยู่ ซง่ึ อาจจะเปดิ โอกาสให้ Daimlerถูกควบกิจการได้ง่าย อะไรคือสัญชาตญาณบ่งบอกวา่ Apple จะเขา้ สู่วงการอุตสาหกรรมรถยนต์ แม้ Apple เองจะไมป่ ระกาศในสาธารณะวา่ Apple จะเข้าสอู่ ุตสาหกรรมรถยนต์ แตด่ จู ากโครงการ Apple Titanที่รวบรวมผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ในอุตสาหกรรมรถยนต์เข้าสู่ศูนย์พัฒนาใหมน่ ้ี โดยตัง้ เป้าหมายไอที 1,800 คน มกี ารคาดคะเนวา่ AppleiCar คงจะออกสตู่ ลาดกอ่ นปี ค.ศ.2020 แตใ่ นทสี่ ดุ Apple ตอ้ งยตุ คิ วามคดิทจี่ ะเขา้ สกู่ ารสรา้ งรถยนตข์ องตวั เอง แตจ่ ะเปน็ ผผู้ ลติ ระบบและ softwareปอ้ นอุตสาหกรรมรถยนตแ์ ทน 62
ใครคอื Elon Musk ผู้สร้างรถไฟฟ้า Tesla Elon Musk เปน็ ชาวแอฟรกิ าใต้ เกดิ 28 มถิ นุ ายน ค.ศ. 1971 พอ่ เปน็ชาวอังกฤษแมเ่ ปน็ ชาวแคนาดา Elon Musk เปน็ เดก็ ท่ชี อบคอมพวิ เตอร์ต้ังแต่เด็กและย้ายมาศึกษาท่ีแคนาดาจนจบ High School ในปี ค.ศ.1989 Elon Musk เข้าเรยี นที่ Queen’s University in Kingston, Ontarioอยู่ 2 ปี และย้ายไปเรียนต่อที่ University of Pennsylvania จนจบปริญญาตรีทาง Physics และปรญิ ญาตรที างเศรษฐศาสตร์จาก WhartonSchool of Business จากนั้น Elon Musk ยา้ ยไปเรยี นต่อ Ph.D. (Appliedscience and materials science) ท่ี Stanford University แตเ่ ขาออกจากมหาวิทยาลัยกอ่ นเพราะต้องการไปเร่มิ ต้นวชิ าชพี ทีต่ วั เองรกั ในปี ค.ศ. 1995 Elon Musk รว่ มกบั นอ้ งชาย Kimbal Musk ต้ังบรษิ ทั Zip2 Corporation ซง่ึ ทำ� ในสว่ นของธรุ กจิ Web Software ดว้ ยเงนิเรม่ิ ตน้ $28,000 จากคณุ พอ่ บรษิ ทั นพ้ี ฒั นาและทำ� การตลาดบน Internetในชอ่ื “City Guide” สำ� หรบั อุตสาหกรรมหนังสอื พิมพ์ เขาให้บรกิ ารกับหนังสอื พิมพย์ กั ษใ์ หญ่ เขาโชคดีท่ีได้สัญญาจาก The New York Times 63
และ Chicago Tribune แลว้ ในทีส่ ดุ ในปี ค.ศ. 1999 บรษิ ัท CompaqComputer ไดซ้ อื้ Zip2 ดว้ ยเงิน $307 ล้าน จากเงินสว่ นแบง่ จากการขาย Zip2 Elon Musk ตัง้ บรษิ ัท X.com ซ่ึงเปน็ บรษิ ทั บริการทางการเงนิออนไลน์ และ E-mail payment ตอ่ มา X.com ไดซ้ อ้ื บรษิ ทั ชอ่ื Confinityซึ่งได้เริ่มสรา้ งวิธีการโอนเงินผา่ น Internet หรือท่เี รยี กว่า PayPal ในปีค.ศ. 2002 eBay ได้ซื้อ PayPal ด้วยเงิน $1.5 พนั ลา้ น และ Elon Muskไดร้ บั สว่ นแบ่ง $165 ล้าน จากการปันผลหุ้น eBay ด้วยความฝนั ทีจ่ ะนำ� มนุษยส์ ู่ดาวอังคาร Elon Musk ก่อต้ังบริษทัศึกษาเทคโนโลยที างอวกาศ บริษัท SpaceX เมอ่ื ปี ค.ศ. 2002 เขาและทีมวิจัยให้ความสนใจกับเทคโนโลยีระบบขับเคล่ือนการส่งยานยนต์สู่อวกาศโดยมุ่งที่เทคโนโลยีของจรวด เขาทุ่มเทอยู่กับการออกแบบจรวดFalcon และยานอวกาศ Dragon ในปี ค.ศ. 2006 SpaceX ได้รบั สัญญาจาก NASA และ Spacecraft เพอ่ื ขนสง่ สงิ่ ของจากโลกสสู่ ถานบี นอวกาศนานาชาติ ในปี ค.ศ. 2008 จรวด Falcon ของ SpaceX เปน็ จรวดที่ผลติจากบริษทั เอกชนบรรจุเชอ้ื เพลงิ เหลวที่ใชใ้ น NASA ในการสง่ ดาวเทยี ม 64
ข้ึนสู่วงโคจรโลก และเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2012 ยานอวกาศ Dragonของ SpaceX ที่ถูกน�ำไปใชเ้ ป็นยานอวกาศเพื่อลำ� เลยี งคนและสัมภาระเข้าสสู่ ถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station) กอ่ นหนา้นี้การขนส่งมนุษย์อวกาศไปสถานีอวกาศนานาชาติกระท�ำโดย Soyuzของรัสเซียแตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว ปจั จุบนั SpaceX เปน็ บรษิ ทั ของสหรัฐอเมริกาท่ีไดร้ บั สัญญาในการพัฒนาการขนสง่ มนุษยอ์ วกาศ SpaceX ยงั สามารถพัฒนาน�ำจรวดขับเคลื่อนตอนแรกกลับสู่โลกและน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ซ่ึงช่วยใหค้ ่าใช้จา่ ยในการสง่ จรวดขน้ึ สูอ่ วกาศลดลงอย่างมาก SpaceX เป็นผู้ผลิตมอเตอร์ส�ำหรับจรวดที่ใหญ่ท่ีสุด Merlin 1Dเปน็ มอเตอรท์ ท่ี รงพลังมหาศาล Merlin 1D หน่ึงเคร่อื งยกนำ้� หนกั เทา่ กบัรถยนต์40 คนั ขนึ้ ตามแนวดง่ิ ได้SpaceX กำ� ลงั สรา้ งเครอ่ื งยนต์Merlin1Dเพื่อใช้จรวดขบั เคล่ือน Falcon 9 Elon Musk มีเปา้ หมายท่จี ะลดคา่ ใช้จา่ ยในการสง่ มนษุ ยส์ ู่อวกาศใหไ้ ด้ เหลอื แค่ 1 ใน 10 ท่ใี ช้อยู่ ณ ปัจจุบัน เขามีความฝันทจ่ี ะส่งมนุษย์ไปสู่ดาวองั คารในอีก 10-20 ปีขา้ งหน้าและตอ้ งการใหม้ นุษย์สามารถไปต้งั ถิ่นฐานในดาวอังคารได้ 80,000 คนในปี ค.ศ. 2040 และเน่อื งจากดาวองั คารเปน็ ดาวทไี่ มม่ อี อกซเิ จน ฉะนนั้ ยานยนตท์ ใ่ี ชต้ อ้ งเปน็ ยานยนต์ขบั เคลื่อนดว้ ยไฟฟา้ น่ีคือที่มาของการพฒั นา “รถยนตไ์ ฟฟ้าของ TeslaMotors”Tesla Motors จรงิ ๆ แลว้ บริษัท Tesla Motors นกี้ ่อตง้ั โดย Martin Eberhardและ Marc Tarpenning เมอ่ื ปี ค.ศ. 2003 ในชว่ งวกิ ฤตการเงนิ สหรฐั ฯ ในปีค.ศ.2008ElonMusk เขา้ ไปดแู ลบรษิ ทั TeslaMotors ปตี อ่ มาTesla Motorsสร้าง Tesla Roadster รถสปอร์ตคนั แรกออกส่ตู ลาดจ�ำนวน 2,500 คนั 65
และเร่ิมพัฒนารถยนต์น่ัง Tesla Motors ออกสู่ตลาดในปี ค.ศ. 2012Elon Musk มคี วามตั้งใจที่จะให้ระบบรถไฟฟา้ ที่เขาค้นควา้ และสรา้ งข้นึแพร่หลายไปท่ัวโลก Tesla Motors จงึ ขายระบบ Electric Powertrain ให้กับ Daimler เพ่อื ผลติ Smart EV, Mercedes B-class และ MercedesA-class ที่ขับเคล่ือนดว้ ยระบบไฟฟ้าและขายระบบ Electric Powertrainนีใ้ ห้ TOYOTA เพอื่ ทำ� RAV4 EV ความต้ังใจของ Elon Musk คือสร้างรถยนต์ไฟฟ้าท่ีขายในราคาต่�ำกว่า $30,000 และสร้างอะไหล่ Powertrain ส�ำหรับผู้ผลิตรถยนต์ยี่ห้ออื่นๆ เพื่อสร้างรถไฟฟ้าของตนเองในราคาที่ทุกคนสามารถซื้อได้และบริษัทรถยนต์ยี่ห้ออ่ืนสามารถสร้างรถไฟฟ้าได้โดยไม่ต้องมาเริ่มต้นพฒั นาเครอ่ื งยนตข์ บั เคลอ่ื นไฟฟา้ ของตวั เอง สง่ิ ที่TeslaMotors ตอ้ งทำ� คอืสรา้ งเครอื ข่าย สถานี Supercharger จากฟากตะวันออกสู่ฟากตะวนั ตกของสหรัฐอเมรกิ าและแคนาดา Elon Musk ยังให้ความสนใจพลังงานทางเลือกใหม่คือพลังงานแสงอาทติ ย์ เขาเขา้ ไปชว่ ยญาตขิ องเขา Lyndon และ Peter Rive ในบรษิ ทัSolarCity Corporation ซึ่งเป็นบริษัทที่ให้ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ในสหรฐั อเมริกา เพอื่ จุดมุ่งหมายในการตอ่ ส้กู บั สภาวะของโลกทรี่ อ้ นขึ้น(Global Warming)Hyperloop ใน ค.ศ. 2013 Elon Musk เร่ิมบรรยายถึงทฤษฎใี นการสรา้ งระบบขนส่งท่ีมีความเร็วสูง ด้วยการลดความดันในท่อที่ซ่ึงมีแคปซูลใช้เป็นท่ีนั่ง (ภายใต้บรรยากาศ) แคปซูลน้ีจะเคล่ือนท่ีไปในลักษณะลอยอยู่เหนืออากาศเหนือพ้ืนภายในท่อสุญญากาศ และขับเคล่ือนด้วย Linearinduction motors และ air compressor เขาใชว้ ศิ วกรจาก SpaceX และ 66
Tesla Motors ในการออกแบบระบบขนสง่ นี้ การออกแบบนยี้ นื อยบู่ นทฤษฎีการใช้ Partial vacuum เพอ่ื ลดแรงต้านการเคล่ือนท่ี (AerodynamicDrag) ถา้ ทฤษฎที อ่ี อกแบบนป้ี ระสบความสำ� เรจ็ เขาจะสามารถสรา้ งระบบขนส่งท่ใี ห้ความเรว็ สงู ใช้พลงั งานน้อย โครงการน้ีจะใชเ้ งิน $6 พันล้านเพื่อสรา้ ง Hyperloop ระหว่าง Los Angeles และ San Franciscoบรษิ ัท OpenAI ในปี ค.ศ. 2015 Elon Musk ประกาศจัดตงั้ บรษิ ัท OpenAI เปน็บริษัทที่ไมห่ วงั ผลก�ำไรในการวิจัย artificial intelligence เพอื่ ประโยชน์แกม่ นษุ ยชาติ Elon Musk เป็นมนุษย์มหัศจรรย์ท่ีมีจินตนาการและใช้ความรู้ความสามารถทเี่ รียนมาสร้างโครงการต่างๆ ทใ่ี ฝฝ่ ันใหส้ ำ� เร็จ ความฝนัของElonMusk ทจี่ ะสรา้ งเมอื งในดาวองั คารกเ็ ปน็ ความฝนั ทไี่ มไ่ กลเกนิ รออะไรคือรถยนต์ในอนาคต เป็นภาพที่ค่อยๆ ชัดขึ้นมาว่ารถยนต์ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าและรถยนตท์ ส่ี ามารถขบั เคลอ่ื นดว้ ยตวั เองคอื รถยนตท์ จ่ี ะปรากฏขน้ึ ในตลาดในอกี 3-5 ปขี า้ งหนา้ แตส่ ง่ิ ท่ี Toyota และ Daimler กำ� ลงั วจิ ยั เครอื่ งยนต์ไฮโดรเจน ซงึ่ Toyota เชอ่ื วา่ รถยนตไ์ ฟฟา้ ทใี่ ช้ Hydrogen fuel cell นา่ จะเปน็ รถยนต์ Eco car ท่ีตอบโจทย์ตลาดรถยนต์ในอีก 10 ปีข้างหน้า แต่ในชว่ งแปรเปลีย่ นจากนไ้ี ปถึง Hydrogen fuel cell รถยนต์ Hybrid ท่ีใช้ระบบไฟฟา้ และพลงั งานจากเครอ่ื งยนตเ์ ผาไหมภ้ ายในจะเปน็ เทคโนโลยีรถยนต์ที่อยู่ในช่วงผ่อนถ่ายระหว่างปัจจุบันจนถึงระบบเคร่ืองยนต์Hydrogen fuel cell 67
เรามาดูพยากรณ์ของ McKinsey & Company เม่ือต้นเดือนมกราคม 2015 ทผี่ า่ นมา (โดย Paul Gao, Hans-Werner Kaas, DeltterMoller และ Dominik Fleet) ในหัวเร่ือง “Disruptive trends that withtransfer the auto industry” ซง่ึ กลา่ วไว้ว่า การเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกิจท�ำให้เกิดการพัฒนาในตลาดเกิดใหม่ท�ำให้เกิดการรีบเร่งในการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อธุรกิจตนเองจะได้เติบโตอย่างยั่งยืน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคและความตอ้ งการอะไรใหม่ๆ ท่ีดีขนึ้ การพัฒนาด้านเทคโนโลยที างดา้ น IT และDigital ท�ำให้เกิดการพัฒนาด้านออโตเมชั่นอย่างรวดเร็ว การพัฒนาเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมหนึ่งจะไปมีอิทธิพลต่ออุตสาหกรรมอ่ืนอตุ สาหกรรมยานยนตก์ ห็ นกี ารเปลย่ี นแปลงนไ้ี มพ่ น้ ทำ� ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นไปใน4 ทศิ ทาง การใชย้ านยนตร์ ว่ มกนั (Sharedmobility) การขบั เคลอ่ื นเองของยานยนต์(Autonomousdriving) ระบบพลงั งานไฟฟา้ (Electrification)และการเช่อื มโยงสือ่ สาร (Connectivity) McKinsey มองเข้าไปในธรุ กจิและอุตสาหกรรมยานยนต์ในปี ค.ศ. 2030 ดงั น:้ี 1) การใชร้ ถยนตร์ ว่ มกัน การสือ่ สาร และการท�ำให้สมรรถนะของยานยนต์ดีข้ึน จะท�ำให้ยอดขายทางรถยนต์เพิ่มขึ้น 30% จากปัจจุบันทำ� ใหย้ อดขายรถยนตแ์ ละบรกิ ารหลงั การขายจาก $6.8 ลา้ นลา้ น เพม่ิ ขนึ้50% จากยอดขาย ณ ปจั จุบัน โดยแยกเป็น: (ก) 4 ลา้ นลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ จากการขายรถยนต์ (ข) 1.2 ลา้ นล้านเหรียญสหรัฐฯ จากบริการหลงั การขาย (ค) 1.5 ลา้ นลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ จากรายได้จากการบริการ ใหม่ๆ เชน่ ระบบใช้รถยนตร์ ่วมกนั และการเคลอ่ื นย้าย (E-hailing) และค่าบริการข้อมูลการส่ือสาร (Data-connectivity) ซงึ่ รวมถงึ apps และการปรบั ปรงุ ขอ้ มลู (Software-upgrades) ให้ดขี ้นึ 68
2) McKinsey มองว่ายอดขายรถยนต์ยังคงโตอย่างตอ่ เนื่องเพราะการเกิดขึ้นของผู้มีรายได้ระดับกลางในจีน อินเดีย และตลาดเกิดใหม่แต่จากการใช้รถยนต์ร่วมกันและรายได้ชนช้ันกลางที่เพิ่มขึ้นคาดว่ายอดขายรถยนตย์ งั คงเตบิ โตแตอ่ ตั ราทล่ี ดลง 2% ตอ่ ปี จากยอดขายทง้ั สน้ิของรถยนต์ในปี ค.ศ. 2015 ท่ี 2.75 ลา้ นลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ มาท่ี 4 ลา้ นลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ 3) ทงั้ น้เี พราะความแออัดบนท้องถนน ปญั หาที่จอดรถรวมทัง้ การบรกิ ารท่ดี ขี องระบบใช้รถยนตร์ ่วมกัน พฤตกิ รรมผใู้ ช้รถยนต์กจ็ ะเปลี่ยนจะเกดิ การใชร้ ถรว่ มกนั ร้อยละ 10 ของยอดขาย ในปี ค.ศ. 2030 และในขณะเดยี วกนั รถยนตท์ ใ่ี ชใ้ นเมอื ง(UrbanCar) จะมคี วามตอ้ งการมากกวา่รถยนต์ทใี่ ชเ้ ดนิ ทางระยะยาว 4) ดว้ ยเทคโนโลยที กี่ ำ� ลงั พฒั นารอ้ ยละ15 ของรถยนตใ์ นปี ค.ศ.2030จะเปน็ รถยนต์ท่ขี บั เคลอื่ นดว้ ยตัวเอง (Fully autonomous) 5) เนื่องจากกฎที่เข้มงวดของการปล่อยแก๊สจากยานยนต์และราคาแบตเตอรท่ี จี่ ะถกู ลง การพฒั นาอยา่ งจรงิ จงั ของบรษิ ทั ยานยนตแ์ ละผลที่ได้จากการลดหย่อนทางภาษีรถยนต์ขับเคลื่อนระบบไฟฟ้า Hybridplug-in และ Hydrogen fuel cell จะเข้ามามสี ว่ นแบ่งตลาดร้อยละ 50ในปี ค.ศ. 2030 และรถยนต์ท่ีขับเคลื่อนด้วยระบบเผาไหม้ภายในจะคอ่ ยๆ เลือนหายไปจากอตุ สาหกรรม 6) ด้วยเทคโนโลยีที่ต่างก�ำลังพัฒนา อีกท้ังระบบการขับเคลื่อนยานยนต์ด้วยตนเองจะท�ำให้ผู้ผลิตยานยนต์ทั้งหลายเกิดการร่วมมือกันเปิดเผยเทคโนโลยีให้แกก่ ันมากข้นึ 69
บทสมั ภาษณ์ของ Mary T. Barra ใน World Economic Forum เรามาดูยักษ์ใหญ่รถยนต์ค่ายอเมริกาก่อน CEO ของ GeneralMotors Mary T. Barra ให้สมั ภาษณ์ใน World Economic Forum ในต้นปีค.ศ. 2016 นใ้ี นหวั ขอ้ “The next revolution in auto industry” มใี จความโดยยอ่ ว่า การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยไี ดเ้ กดิ ขน้ึ และเปน็ ไปอยา่ งคลอ่ งตวัและทำ� ใหเ้ กดิ ววิ ฒั นาการดา้ นยานยนตใ์ น 10 ปขี า้ งหนา้ มากกวา่ ทเ่ี กดิ ขน้ึเมอ่ื 50 ปมี าแลว้ เรากำ� ลงั แปรเปลย่ี นอตุ สาหกรรมทม่ี มี ากวา่ 100 ปี จากยานยนต์ที่ขับเคล่ือนและควบคุมด้วยเครื่องจักรกล มนุษย์ และแหล่งพลังงานท่ีเกิดจากปิโตรเลียมมาสู่การเช่ือมโยงติดต่อซ่ึงกันและกันด้วยระบบอิเล็กทรอนิคและขับเคลื่อนด้วยพลังงานหลายรูปแบบ นี่คือววิ ฒั นาการทางอตุ สาหกรรมยานยนตแ์ ละเปน็ สงิ่ สำ� คญั ของ “ววิ ฒั นาการอตุ สาหกรรม4.0” การขบั เคลอื่ นดว้ ยพลงั ไฟฟา้ และระบบอเิ ลก็ ทรอนคิ ในยานยนต์ เปน็ ฐานของการพฒั นายานยนตท์ มี่ คี วามปลอดภยั การนำ� เครอ่ื งมอื สอ่ื สารทท่ี นั สมยั มาใชใ้ นยานยนต์ เชน่ กลอ้ ง เรดา้ และเซนเซอรท์ ที่ นัสมยั ทำ� ใหเ้ กิดเทคโนโลยอี นั ชาญฉลาด เป็นการอดุ ชอ่ งโหวท่ ี่มนุษยม์ องไมเ่ หน็ เปน็ การปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตทุ จ่ี ะเกดิ ขน้ึ โดยจะสง่ สญั ญาณไปสรู่ ะบบ 70
ขบั เคลอื่ นตวั เองและระบบเบรก รถยนตจ์ ะสามารถทำ� การหยดุ รถเองกอ่ นทอี่ บุ ตั เิ หตจุ ะเกดิ ขน้ึ เมอ่ื ระบบสอ่ื สารทท่ี นั สมยั ตวั รถยนตส์ ามารถพดู คยุกบั รถยนต์อน่ื และสญั ญาณจราจร อบุ ัตเิ หตกุ ็จะป้องกันได้ จากรายงานของสหประชาชาติและกรมอนามัยโลกแจ้งว่าอุบัติเหตุของรถยนต์เป็นสาเหตุของการสูญเสียคดิ เปน็ ตัวเลข 3% ของ GDP ของประเทศทกุ ปีในขณะเดยี วกนั เทคโนโลยไี ดแ้ ปรเปลย่ี นพฤตกิ รรมของคนในเมอื ง เปลยี่ นพฤตกิ รรมการขบั รถในเมอื งทมี่ กี ารจราจรหนาแนน่ และตอ้ งการทจี่ อดรถมาเปน็ การใชร้ ถรว่ มกนั การเปน็ พนั ธมติ รกบั บรษิ ทั Lyft ของ GM เปน็ การตอบสนองพฤติกรรมของคนในเมืองท่ีจะใช้รถร่วมกัน (Car sharing)อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นส่วนส�ำคัญของวิวัฒนาการอุตสาหกรรม 4.0GM จะขอเปน็ สว่ นหนง่ึ ทที่ ำ� งานและตอบสนองการขับเคลอื่ นส่วนบุคคลในอนาคตใครจับมอื ใครในอตุ สาหกรรมรถยนต์ BMW ทมุ่ เทกบั การพัฒนารถยนต์ทใี่ ช้ในเมอื ง (Urban mobilityconcept) และระบบ eDrive ด้วยการพัฒนาระบบเครื่องยนต์อันทรงประสิทธิภาพของตัวเองมาตลอดเวลา BMW มีความม่ันใจว่าตัวเองจะสามารถรักษาขีดความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมรถยนต์ได้BMW i8 คอื รถยนต์ระบบไฟฟ้า BMW ยงั ไมล่ ดละในการพัฒนาระบบplug-in hybrid เพือ่ ใชใ้ นรถสปอร์ตของตัวเอง โดยใช้ระบบผสมระหว่างมอเตอร์ไฟฟ้าและพลังงานจากเครื่องยนต์ระบบเผาไหม้ภายใน BMWร่วมมือกบั Toyota ในการพฒั นาระบบเทคโนโลยี Hydrogen fuel cellส�ำหรับรถยนตใ์ นปี ค.ศ. 2020 ส�ำหรับวัสดทุ ีจ่ ะใช้ BMW ให้ความสนใจพัฒนาอลูมิเนียมส�ำหรับเชสซีและห้องโดยสารจะท�ำจากพลาสติกคาร์บอนคอมโพสิต 71
ขณะเดยี วกนั Daimler พฒั นารถยนตข์ องตนเองไปในทศิ ทางเดยี วกบั BMW ในการพฒั นารถยนต์ไฟฟา้ ระบบ Hydrogen fuel cell เชน่ กันแต่ปัจจบุ นั Daimler น�ำเสนอเทคโนโลยี plug-in hybrid อยู่ในตลาด ในดา้ น Porsche เจา้ แหง่ ตลาดรถสปอรต์ รถยนต์ Porsche 919 hybrid เปน็ระบบเคร่ืองยนต์อันทรงประสิทธิภาพในตลาดสปอร์ตและสนามแข่งรถPorsche จะเปน็ คู่แข่งในรถสปอรต์ ไฟฟ้าของ Tesla ด้วยรถ Mission Eซ่ึงเป็นรถสปอร์ตไฟฟ้าดว้ ยพลัง 600 แรงม้า ซึ่งสามารถเรง่ ข้ึนจาก 0 ถึง100 กม./ชม. ภายใน3.5 วนิ าที และวงิ่ ได้500 ก.ม. ตอ่ การชารต์ แบตเตอร่ีต่อคร้ัง Porsche ตั้งเป้าท่ีจะชาร์ตไฟฟ้าให้ได้ 80% ของความจุภายในเวลา 15 นาที ในด้าน Tesla Motor, Elon Musk ไดเ้ ปดิ เผยสิทธบิ ัตรในการสรา้ งรถไฟฟ้าให้บริษัทผลิตรถยนต์อ่ืนและร่วมมือกับบริษัทอื่นในการพัฒนารถไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพสงู ข้นึ แมป้ จั จบุ นั เขาไดส้ รา้ งรถไฟฟา้ สปอรต์แตร่ ถไฟฟา้ Model S (รถยนตห์ รู 4 ประต)ู ทมี่ กี ำ� ลงั 422 แรงมา้ (310 KW)จะประสบความส�ำเร็จได้ไม่ง่ายนัก ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือทางด้านเทคโนโลยจี าก Daimler ในการนรี้ ถยนตจ์ ากคา่ ย Stuttgart ไดห้ นุ้ ใน TeslaMotor 4% เปน็ การแลกเปล่ียนท่ีสง่ Prof. Dr. Thomas Weber และทมีมอื ดจี าก Daimler ไปรับผิดชอบในศนู ย์วิจยั ของ Tesla Motor ในขณะเดียวกัน Elon Musk ก็เอาเทคโนโลยี Electrical Powertrains ให้กับบริษทั รถยนต์อน่ื รวมท้งั Toyota ยกั ษใ์ หญร่ ถยนต์ค่ายญ่ปี ุน่ อาจจะสรุปได้ว่าระบบดิจิตอลจะเปล่ียนอนาคตของการขับขี่รถยนต์ ส่วนพลังงานขับเคล่ือนระบบไฟฟ้าและ Hydrogen จะเข้ามาทดแทนระบบเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน การพัฒนาประสิทธิภาพของยานยนต์ และมอเตอรท์ ม่ี พี ลงั สงู ดว้ ยระบบเผาไหมภ้ ายในจากปโิ ตรเลยี มจะคอ่ ยๆ หายไป เปน็ การเรง่ พฒั นาแบตเตอรท่ี ม่ี คี ณุ ภาพสงู เวลาการใชง้ าน 72
ยาวขน้ึ จากการอดั แบตเตอรต่ี อ่ ครง้ั และมอเตอรท์ ใี่ ชพ้ ลงั ขบั เคลอ่ื นทแ่ี รงและทรงประสทิ ธภิ าพ ราคาแบตเตอรจ่ี ะถกู ลง นำ้� มนั ทใี่ ชใ้ นการขบั เคลอ่ื นยานยนต์จะลดลง ราคาน้�ำมันก็จะต�่ำลง บริษัทปิโตรเลียมยักษ์ใหญ่ทั้งหลายต้องปรับกลยุทธ์ของตนเอง บริษัท เชลล์ ซ่ึงเป็นบริษัทน�้ำมันอันดบั หน่งึ ก�ำลังหันมาสนใจขุดเจาะแก๊สธรรมชาตแิ ทนนำ�้ มนั ดิบ เพราะเชอ่ื วา่ แกส๊ ธรรมชาตจิ ะเปน็ เชอื้ เพลงิ สะอาดทดแทนนำ้� มนั เตาหรอื ถา่ นหนิในการผลิตไฟฟ้า อุตสาหกรรมที่เคยเติบใหญ่ขึ้นมาจากการเติบโตของอุตสาหกรรมรถยนต์จะถูกกระทบหนัก อุตสาหกรรมเหล็กก็จะเป็นอีกอตุ สาหกรรมหนงึ่ ทถี่ กู กระทบเชน่ กนั ตามมาดว้ ยอตุ สาหกรรมชน้ิ สว่ นยางบางส่วนจะหายไปพร้อมกับเคร่ืองยนต์ บริษัทผู้ผลิตยางสังเคราะห์และผู้ผลิตชิ้นส่วนยางก็จะถูกกระทบจากรถยนต์ไฟฟ้า แล้ววัสดุอะไรที่จะเข้ามาทดแทนส่ิงท่ีหายไป อลูมิเนียมที่เป็นวัสดุท่ีเบากว่าจะถูกน�ำมาใช้มากขนึ้ ในโครงสรา้ ง Urban car ของรถไฟฟ้า Carbon Composite คอืวัสดุเบาและคงทนก็จะมีบทบาทมากขึ้น ลิเธียม (Lithium) คือ โลหะท่ีผู้ผลิตแบตเตอร่ีทั้งหลายตามหาอยู่ในการผลิตแบตเตอรี่ลิเธียมนอกจากลเิ ธยี มเปน็ วสั ดหุ ลกั แลว้ นเิ กลิ (Nickel) โคบอลต์ (Cobalt) และอลูมิเนียมออกไซด์ยังเป็นวัสดุท่ีจะใช้ในการท�ำ Lithium ion batteryอีกด้วย ปัจจบุ ัน Elon Musk รว่ มกบั Panasonic ในการพฒั นาแบตเตอรี่ส�ำหรับรถยนต์ไฟฟ้าของ Tesla แต่เพื่อให้แน่ใจว่าเขาจะได้แบตเตอร่ีสำ� หรบั รถยนต์50,000 คนั ในปี ค.ศ.2018ElonMusk ลงทนุ ตง้ั โรงงานผลติแบตเตอร่ีขนาดยักษ์ของตนเองขึ้นท่ีรัฐเนวาดา จุดประสงค์หลักคือการพฒั นาประสทิ ธภิ าพความหนาแนน่ ของพลงั งาน(Energydensity) ทปี่ ระจุเขา้ ในแบตเตอรซี่ งึ่ บง่ บอกถงึ ระยะทางทเี่ พม่ิ ขนึ้ ตอ่ การชารจ์ ไฟแตล่ ะครง้ัรวมถึงความเร็วของการชาร์จไฟในแต่ละคร้ังด้วย อีกทั้ง Elon Musk 73
ตอ้ งการผลติ ภายใตก้ ารควบคมุ ของเขาเพอื่ ใหต้ น้ ทนุ การผลติ ลดลง ขณะท่ีจนี เองกม็ องหาแหล่งป้อนลเิ ธียมแบตเตอร่ี 5 ลา้ นชิ้นต่อปสี ำ� หรบั รถยนต์ของจนี เองในอกี 3 ปขี า้ งหนา้ ถา้ รวมแบตเตอรท่ี จี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั มอื ถอื และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคต่างๆ ทั่วโลกจะมีความต้องการลิเธียมและนิเกิลจำ� นวนมากในการนำ� มาผลติ แบตเตอรี่Tesla รดู้ วี า่ เขาตอ้ งแขง่ กบั ประเทศจีน เกาหลี และญี่ปุ่น ในการกุมแหล่งของวัตถุดิบเหล่าน้ี Tesla เซ็นสญั ญากบั Pure Energy Minerals ซง่ึ กำ� ลงั สำ� รวจแหลง่ ลเิ ธยี ม ในเนวาดาหุบเขา Clayton และ Bacanora Minerals ซ่ึงก�ำลังพัฒนาแหล่งลิเธียมใน Sonora ประเทศเมก็ ซิโก เทคโนโลยขี อง Cruise ในระบบขบั เคลื่อนเอง นอกจากควบและซ้ือบริษัท Software ดังกล่าวมาท่ี Front Train Valley แคลิฟอร์เนียวิศวกรของ GM ซุ่มเงียบในการพัฒนารถของ GM’s Chevrolet-FNRGM เหมอื นบรษิ ทั รถยนตอ์ นื่ ๆ ในการพฒั นารถไฟฟา้ และขบั เคลอ่ื นตวั เองโดยมงุ่ เนน้ ถงึ ความปลอดภยั และรถยนตส์ ามารถขบั เคลอื่ นอยา่ งปลอดภยัดว้ ยความเรว็ สงู ในเวลากลางคนื ในงานแสดงรถยนตท์ เ่ี ซยี่ งไฮใ้ น ค.ศ.2015GM จดั แสดงรถChevrolet-FNRGM ยงั มงุ่ เนน้ ทต่ี ลาดใหญใ่ นประเทศจนีและเชอื่ ว่าอีก 10 ปขี า้ งหน้ารถยนต์ไฟฟา้ ท่ีขบั เคลอ่ื นตวั เองจะมีราคาท่ีถกู ลงอยา่ งมากเหมาะสำ� หรบั ตลาดขนาดใหญอ่ ยา่ งจนี รถChevrolet-FNRจะมสี งิ่ อำ� นวยความสะดวกและเปน็ หอ้ งบนั เทงิ ทมี่ คี วามหรหู รา ตวั รถจะใช้ Carbon-composite ทีเ่ บาและแขง็ แรง ปี ค.ศ. 2017 GM คาดวา่เขาจะสามารถน�ำระบบส่ือสารระหว่างรถยนต์กับรถยนต์ ซ่ึงจะป้องกันอุบัติเหตรุ ถยนตช์ นกนั มาติดต้งั ในรถ Cadillac CTS Daimler-Benz น�ำระบบ Mercedes Distronic Plus ซ่งึ ถูกระบวุ า่เปน็ ระบบชว่ ยการขบั ขที่ ท่ี นั สมยั ทสี่ ดุ มาตดิ ตง้ั ในรถ Mercedes ทจี่ ะออกสู่ตลาด ขณะที่ Audi จะตดิ ตง้ั ระบบ Road-legal AV และ Volvo ตั้ง 74
เปา้ หมาย “รถขับเคล่อื นปลอดภัย” โดยมีเป้าหมายของอุบตั เิ หตรุ ถยนต์ชนกันเท่ากบั ศนู ย์ในปี ค.ศ. 2020 Volvo ผนู้ ำ� ในรถยนตป์ ลอดภยั เมอ่ื 20 ปที แี่ ลว้ ดว้ ยคำ� ขวญั “ทกุ ชวี ติปลอดภยั ใน Volvo” วอลโวเ่ คยลงทนุ รว่ มกบั Autotiv (บรษิ ทั สวเี ดนทเี่ ปน็ผู้บกุ เบิกการใช้เขม็ ขัดนริ ภัยในช่วง ค.ศ.1950) กำ� ลงั ร่วมลงทนุ ใหมก่ ับAutotiv อกี ครง้ั ในการสรา้ งSoftware สำ� หรบั ระบบขบั เคลอื่ นอตั โนมตั ขิ องรถ Volvo โดยตั้งเป้าหมายวา่ บริษทั ร่วมทนุ นี้จะสรา้ งรถ Volvo ทีต่ ิดต้ังระบบผู้ช่วยในการขับรถ (Advance driver assistance system) ในปีค.ศ. 2019 และระบบขบั เคลอื่ นอตั โนมตั ใิ หก้ บั รถ Volvo ทกุ คนั ในปี ค.ศ.2021 ทงั้ นี้ Volvo กย็ งั ประกาศลงทนุ รว่ มกบั Uber ในระบบ Ride-sharingservice ในสหรฐั อเมรกิ า รถยนตใ์ นอนาคตไมเ่ พยี งหยดุ ท่ีEV,Hybrid หรอื HydrogenFuelCelทขี่ บั เคลอื่ นเอง กลมุ่ อจั ฉรยิ ะใน ซลิ คิ อน วลั เลย์ อยา่ ง Larry Page (ผรู้ ว่ มกอ่ ตงั้ Google) ตงั้ บรษิ ทั ZeeAero รวบรวมนกั วจิ ยั จากNASA และทมี งานวจิ ยั จากGoogle ในรถยนตข์ บั เคลอ่ื นเองมาวจิ ยั และประดษิ ฐร์ ถยนตเ์ หาะที่ขึ้นลงตามแนวดิ่ง มีงานที่ต้องพัฒนาวิจัยและกฎระเบียบการจราจรท่ี 75
LarryPage ตอ้ งเอาชนะอปุ สรรคเหลา่ นนั้ ใหไ้ ดค้ งไมน่ านเกนิ รอ การจราจรในโลกนจ้ี ะเหมอื นดงั หนงั Sci-Fi(วทิ ยาศาสตร)์ ทเ่ี หน็ รถยนตข์ บั เคลอ่ื นดว้ ยตนเองบนิ ขนึ้ ลงในจงั หวะทร่ี ถตดิ ไมม่ ตี ำ� รวจจราจร รถยนตเ์ ปน็ รถยนตร์ ว่ มซง่ึ ไม่ต้องการท่ีจอดรถมากมายนกั Toyota ประกาศว่าจะไม่น�ำเสนอรถยนต์เครื่องดีเซลและรถยนต์ในอนาคตรนุ่ ใหม่จะไม่มีรถยนต์ดเี ซล ขณะท่ี Nissan Renault ประกาศว่าในอนาคตจะไม่มีรถยนต์ดีเซลวิ่งในยุโรปเพราะการพัฒนารถยนต์ดีเซลให้เข้าเกณฑ์ควบคุมการปล่อยไอเสียและคาร์บอนไดออกไซด์ในยโุ รปจะมรี าคาแพงมาก ดตู ามทศิ ทางนรี้ ถยนตด์ เี ซลจะหมดอนาคตและประเทศไทยซ่ึงเป็นรถยนต์ระบบดีเซลเป็นหนึ่งในแชมป์ในอุตสาหกรรมรถยนตไ์ ทยตอ้ งปรบั ตวั ตงั้ แตบ่ ดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป โรงกลน่ั นำ�้ มนั ทง้ั หมดกต็ อ้ งปรับตวั เพราะการใชน้ ำ้� มนั ดีเซลจะหดหายไป ประเทศจีนเป็นอีกประเทศหนึ่งที่จับจ้องเทคโนโลยีรถไฟฟ้าอยู่ประเทศจีนซึง่ เปน็ ประเทศท่ผี ลติ รถยนตม์ ากทีส่ ดุ (มากกว่า 10 ลา้ นคนัตอ่ ปี) ประเทศจีนเป็นประเทศทม่ี มี ลภาวะในเมอื งใหญ่เพราะเมอื งใหญ่เหล่าน้ีมีประชากรหนาแนน่ และเพ่มิ จ�ำนวนขนึ้ อยา่ งรวดเร็ว และประสบกับปัญหามลภาวะจากรถยนต์มาก รัฐบาลจีนต้องประกาศนโยบายส่งเสรมิ การลงทุนในการพฒั นาเทคโนโลยีรถไฟฟา้ อนั ท่จี ริงประเทศจีนเป็นตลาดที่ใหญ่ท่ีสุดของรถยนต์ที่ใช้พลังงานทดแทนใหม่ ซึ่งรวมถึงรถยนต์ไฟฟา้ รถยนต์ Plug-in hybrids และรถยนต์ Fuel cell ดว้ ยยอดจ�ำหนา่ ย 330,000 คัน ในปี ค.ศ. 2015 และรัฐบาลตงั้ เป้าหมายใหผ้ ลิตรถไฟฟ้าให้ได้ 3 ลา้ นคันใน 10 ปีข้างหนา้ โครงการนเ้ี รยี กความสนใจจากมหาเศรษฐีของจนี อย่าง Jack Ma ของ Alibaba และมหาเศรษฐีอสังหาริมทรัพย์อย่าง Li Ka-sing ที่ประกาศเข้าร่วมโครงการรถไฟฟ้าของรัฐบาล มีบรษิ ัทกวา่ 200 บรษิ ัทท่ยี นื่ สมัครในโครงการสรา้ งรถไฟฟา้ 76
รัฐบาล ในการนี้รัฐบาลต้องออกมาตรฐานเข้มงวดเพ่ือคดั เลอื กผ้เู ขา้ ร่วมโครงการน้ี 10 บริษทั ท้ัง Alibaba และ Foxcom Technology น่าจะเปน็ 2 บรษิ ัทที่มีเทคโนโลยีเข้าข่ายในเกณฑ์ Foxcom ประกาศใช้เงิน $2พันล้าน เพ่ือสร้างรถที่ใช้พลังงานทดแทนน�้ำมันผู้ผลิตรถยนต์อย่างเช่นBeijing Electrical Vehicle ซึ่งเป็นบรษิ ัทลกู ของ BAIC Group ซึ่งเป็นบริษทั ผลติ รถ Hyundai และ Mercedes Benz และ บริษทั HangzhauChangjiang Passenger Vehicle ก็อยู่ในข่ายพิจารณาอันรวมถึงWanxiang Group ท่เี ปน็ บริษัทผลิตรถหรู ในขณะท่มี ีบริษัทในจีนทเ่ี ข้ามาลงทุนในการสร้างโรงงานแบตเตอร่ีลิเธียมไอออน แต่เทคโนโลยีของจนี ในแบตเตอรย่ี งั ตอ้ งพฒั นาอีกมากโฟลค์ สวาเกนยักษ์ใหญ่แห่งวงการรถยนตท์ ำ� อะไรบ้าง ส�ำหรับค่ายรถยนต์ค่ายน้ีไม่อาจท่ีจะไม่กล่าวถึงได้น่ันคือค่ายรถยนต์โฟล์คสวาเกนจากเยอรมัน ยักษ์ใหญ่ของอุตสาหกรรมรถยนต์ท่ีตดิ อันดับผู้ผลติ รถยนตอ์ ันดับหน่งึ หรอื สองของโลก บริษทั โฟล์คสวาเกนได้ชื่อว่าเป็นบริษัทที่มีความเช่ียวชาญเร่ืองเครื่องยนต์ดีเซลอย่างมากการพัฒนาระบบเทอร์โบชาร์จเจอร์ทำ� ให้เครื่องยนต์ดีเซลมีประสิทธิภาพสูงข้ึน ประหยัดน�้ำมันและลดมลภาวะทางอากาศเพราะประสิทธิภาพของเครื่อง การนำ� ระบบ Hybrid เข้ามาตดิ ตัง้ กบั ระบบเครอื่ งยนตด์ เี ซลย่ิงเพ่ิมสมรรถนะการประหยัดน�้ำมัน อีกท้ังลดภาวะส่ิงแวดล้อมมากขึ้นก่อนที่จะมีคดีดีเซลเกทหรือการจับโกหกค่าวัดระดับไอเสียจากรถยนต์ดีเซลของโฟล์กสวาเกนและแบรนด์รถในเครือ รถยนต์เคร่ืองยนต์ดีเซลของคา่ ยนีแ้ ละคา่ ยรถอน่ื ๆ ยงั สามารถขายไดใ้ นตลาดโลก เรามาดูว่าท�ำไมโฟล์คสวาเกนต้องโกงค่าวัดระดับการปล่อยคารบ์ อนไดออ็ กไซดข์ องโฟลค์ สวาเกน ตน้ เหตเุ พราะความเขม้ งวดของการ 77
ตง้ั คา่ ของการปลอ่ ยคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นยโุ รปและสหรฐั อเมรกิ า แมว้ า่บรษิ ทั รถยนตท์ ง้ั หลายจะตา่ งพฒั นาเทคโนโลยแี ลว้ อกี ทงั้ นำ� ลอ้ รถยนตท์ ี่ตดิ ปา้ ยGreenLabel มาใชก้ ย็ งั ยากทจี่ ะพฒั นารถยนตข์ องตวั เองใหเ้ ขา้ กบักฎเกณฑ์ที่เข้มงวดมากข้ึนของแต่ละประเทศ ซึ่งเทคโนโลยีเคร่ืองยนต์ทั้งหลายตอบโจทย์น้ีไม่ได้ฉะน้ันการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าจึงเป็นค�ำตอบผู้เขียนมองว่าแม้มีการพัฒนาเคร่ืองยนต์ดีเซลจนถึงระดับสูงสุดเครอ่ื งยนตด์ เี ซลยงั ไมส่ ามารถตอบโจทยก์ ารควบคมุ ไอเสยี และกฎเกณฑ์การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ของประเทศสหรัฐอเมริกาและยุโรปที่เขม้ งวดขนึ้ ทุกปีได้ ผู้เขียนวา่ การพฒั นาเคร่อื งยนตอ์ าจจะหยุดลงเพราะทุกคนหันมาสนใจการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าที่ตอบโจทย์ในความเข้มงวดของการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ได้ การผลิตเครื่องยนต์จะค่อยๆชะลอตัวลง แต่รถยนต์ที่ใช้ระบบเครื่องยนต์ยังคงมีตลาดในประเทศท่ีก�ำลังพัฒนาไปอีกระยะหน่ึงเพราะยังมีต้นทุนการผลิตที่ต่�ำจนกว่าการผลติ แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนจะถูกลง Volkswagen เปดิ ตัวรถไฟฟ้า I.D. ซง่ึ วง่ิ ได้ 249-373 ไมลต์ อ่ การชารจ์ ไฟหนึง่ ครงั้ ในงานแสดงสนิ ค้า Paris Motor Show 2016 ทีผ่ า่ นมาVolkswagen I.D. มขี นาดภายนอกเทา่ กบั รถกอลฟ์ แตห่ อ้ งโดยสารภายในกวา้ งเท่ากับ Passat เพราะผลจากการหายไปของเครื่องยนต์ จึงทำ� ให้ขยายห้องโดยสารได้กว้างข้ึน และจะวางตลาด Volkswagen I.D. ในปี ค.ศ. 2020 Volkswagen I.D. ไมใ่ ชร่ ถไฟฟ้าร่นุ แรกของโฟล์คสวาเกนเพราะโฟลค์ สวาเกนไดอ้ อกรถไฟฟา้ มาแลว้ 2 รนุ่ คอื e-Golf และ e-Upซง่ึ ทงั้ คู่เปน็ รถทใี่ ชใ้ นเมืองเพราะว่ิงได้ระยะทางสูงสุด 160 กโิ ลเมตรต่อการชารจ์ ไฟหนึ่งครงั้ 78
ประเทศไทยกบั รถยนต์ไฟฟ้า อตุ สาหกรรมรถยนตเ์ ปน็ หนง่ึ ในอตุ สาหกรรมหลกั ของประเทศไทยดว้ ยจ�ำนวนการผลติ กว่า 2 ลา้ นคนั ตอ่ ปี และเป็นอุตสาหกรรมทก่ี ่อเกิดรายได้ให้ประเทศกว่า 300,000 ล้านบาทต่อปี และการจ้างงานกว่า 4แสนคน รถยนต์ท่ีผลิตกว่าร้อยละ 60 มีการจ�ำหน่ายไปต่างประเทศรถยนต์บรรทุกเล็กขนาด 1 ตัน คือรถที่ท�ำให้อุตสาหกรรมรถยนต์ไทยเปน็ ฐานการผลติ รถบรรทกุ เลก็ ทใ่ี หญเ่ ปน็ อนั ดบั 2 ของโลก รองลงมาจากสหรฐั อเมรกิ า แตร่ ถบรรทกุ เลก็ ของสหรฐั อเมรกิ าเปน็ รถทม่ี ขี นาดใหญก่ วา่ของไทยและมีก�ำลังมากกว่า เพื่อให้ไทยคงเป็นอุตสาหกรรมรถยนต์ท่ีส�ำคัญในภูมิภาค ส�ำนักงานส่งเสริมการลงทุนแห่งประเทศไทยได้มีการสง่ เสริมการลงทนุ ผลติ รถยนต์ Eco car ซึง่ เปน็ รถยนตน์ ัง่ สว่ นบคุ คลที่มีขนาดเล็กและประหยัดน�้ำมัน ในกลุ่มอาเซียนอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยนบั ว่ามขี นาดท่ีใหญ่ที่สดุ ใน 10 ประเทศอาเซยี นและยังเป็นผูส้ ่งออกช้ินส่วนส�ำคัญให้ต่างประเทศ แม้ประเทศอินโดนีเซียรัฐบาลจะพยายามเร่งส่งเสริมอุตสาหกรรมรถให้เติบใหญ่แต่เน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจโลก 79
ที่เกิดข้ึนใน 4-5 ปีท่ีผ่านมาอุตสาหกรรมรถยนต์อินโดนีเซียก็ยังมีการผลิตในระดบั 1.2 ล้านคันต่อปีและช้นิ สว่ นส�ำคัญบางส่วนยงั ตอ้ งนำ� เข้าจาก ประเทศไทย ส่วนอุตสาหกรรมรถยนต์ในมาเลเซียยังคงประสบปัญหาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รถยนต์ Proton ซ่งึ เป็นรถยนต์ที่อดีตผนู้ ำ� ประเทศหวังสร้างเป็นรถยนต์ของประเทศแต่ก็ประสบกับปัญหาด้านคุณภาพจนรัฐบาลมาเลเซียต้องเชิญ บริษัท Mitsubishi จากญีป่ นุ่ มาชว่ ยแกป้ ญั หาเวยี ดนามกเ็ ปน็ ประเทศทเี่ ตบิ โตดา้ นเศรษฐกจิ ใหมใ่ นอาเซยี นเปน็ ประเทศท่ีน่าจับตามองเป็นประเทศท่ีมีการพัฒนาด้านเศรษฐกิจท่ีมีการเติบโตรอ้ ยละ 7-8 มา 3 ปแี ลว้ (และยงั จะโตตอ่ เนอื่ งในอตั รารอ้ ยละ 7 ในอกี 2 ปีข้างหน้า) ระยะเวลา 10 ปีท่ีผ่านมาประเทศเวียดนามมีการผลิตรถมอเตอรไ์ ซด์5 ลา้ นคนั ตอ่ ปี ดว้ ยเศรษฐกจิ ทโ่ี ตอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและประชาชนที่มีรายได้ระดับกลางขยายตัวมากข้ึน คนเวียดนามจึงหันมาใช้รถยนต์มากขึน้ ตามไปด้วย การผลิตรถมอเตอรไ์ ซด์มแี นวโนม้ วา่ จะลดลง มีการประกอบรถยนตใ์ นเวยี ดนามกวา่ 250,000 คนั ในปี ค.ศ. 2015 โตขนึ้ เกอื บร้อยละ 50 จากปี ค.ศ. 2014 และพยากรณว์ า่ จะมีการประกอบรถยนต์กว่า 5 แสนคันในอกี 3 ปีขา้ งหนา้ Mercedes Benz, Toyota, Mazda,Honda, Hyundai ต่างใช้โรงงานประกอบรถยนต์ท่ีเวียดนาม บริษัทTruong Hai Auto เป็นบริษัทประกอบรถยนต์เอกชนท่ีมีศักยภาพมากนอกจากโรงผลติ ตวั ถงั รถยนต์ Truong Hai Auto ยงั มโี รงงานผลติ ชน้ิ สว่ นสำ� คญั อน่ื ๆ อกี ดว้ ย และครองสว่ นแบง่ ตลาดรถยนตป์ ระกอบในประเทศกว่าร้อยละ 50 เวียดนามนับเป็นประเทศที่น่าจับตามองที่จะขึ้นมาเป็นคูแ่ ขง่ ทีส่ �ำคญั ของอตุ สาหกรรมรถยนต์ไทยในอนาคต ด้วยทิศทางการเปล่ียนแปลงในอุตสาหกรรมรถยนต์ในอนาคตหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลไม่อาจน่ิงนอนใจจึงมีการเร่งรีบท่ีจะท�ำ 80
อตุ สาหกรรมรถยนตใ์ หเ้ กดิ ขนึ้ ในประเทศไทย เปน็ นโยบายของรฐั บาลให้มีแนวทางอนรุ ักษ์พลังงาน ค.ศ. 2015-2027 (Energy Efficiency Plan:EEP 2015) โดยมีแนวทางมาตรการสง่ เสรมิ ลดพลังงานใน 4 ภาคส่วนที่ใชพ้ ลงั งานสงู คอื (1) ภาคขนส่ง (2) ภาคอตุ สาหกรรม (3) ภาคธุรกิจและ (4) ภาคบา้ นและทอ่ี ยอู่ าศยั หนง่ึ ในมาตรการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานในภาคขนส่งคือการส่งเสริมการใช้งานรถไฟฟ้า (EV) โดยมีเป้าหมายให้มี EV1.2 ล้านคันในปี ค.ศ. 2036 และมีสถานีอัดไฟ 690 แห่งทั่วประเทศโดยหวังว่ารถไฟฟ้าน้ีจะลดการใช้น�้ำมันในประเทศ และลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ลง โดยให้ส�ำนักงานส่งเสริมการลงทุนเร่งให้มีการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ ให้ส�ำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมออกขอ้ กำ� หนดเกยี่ วกบั ยานยนตไ์ ฟฟา้ และมาตรฐานเตารบั -เตาจา่ ยของสถานีอดั ประจไุ ฟฟา้ และกรมขนสง่ ทางบกออกระเบยี บการจดทะเบยี นรถยนต์ไฟฟ้า โดยคาดหวังว่ารถยนต์ไฟฟ้าจะมีราคาที่ลดลงและเป็นที่นิยมมากขน้ึ ปจั จบุ นั ราคาแบตเตอรยี่ งั มรี าคาคอ่ นขา้ งสงู อยทู่ ี่268US$/kWh และมแี นวโน้มจะลดลงเรอ่ื ยๆ โดยคาดวา่ จะลดลงเหลือ 100-125 US$/kWh 81
ขณะท่ีส�ำนักงานส่งเสริมการลงทุนแห่งประเทศไทยก�ำลังร่างนโยบายวา่ ดว้ ยการสง่ เสรมิ การลงทนุ รถยนตไ์ ฟฟา้ โดยมหี ลกั เกณฑใ์ หญๆ่วา่ ผทู้ จี่ ะมาลงทนุ และขอสง่ เสรมิ การผลติ รถยนตไ์ ฟฟา้ ตอ้ งดงึ เพอื่ นธรุ กจิการค้าหรือห่วงโซ่อปุ ทานท่ีสำ� คญั มาดว้ ย นั่นคือ ผูผ้ ลติ แบตเตอรลี่ เิ ธียมไอออน อกี ทั้งผ้ผู ลติ มอเตอรแ์ ละระบบควบคมุ (ต้งั แต่การบังคับการจ่ายไฟจากมอเตอรม์ าทต่ี ัวมอเตอร์ และสตู่ วั ขับเคลื่อนของล้อ) ผู้ขอส่งเสริมจะไดร้ บั สทิ ธนิ ำ� เขา้ รถยนตไ์ ฟฟา้ ยหี่ อ้ ของตนเองโดยยกเวน้ ภาษนี ำ� เขา้ (ในจำ� นวนท่กี �ำหนดให)้ เพ่อื มาทดสอบตลาด ในขณะที่การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติการไฟฟา้ ภมู ภิ าค และการไฟฟ้านครหลวง ต่างต้องรีบเรง่ พจิ ารณาชนิดของเต้าเสียบจ่ายไฟ และติดตั้งให้ทันกับยุคของรถไฟฟ้า อีกท้ังบริษัทเอกชนที่เป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำมันในปัจจุบันอย่างเช่น ปตท. ต่างกร็ บี เรง่ หามาตรการที่จะตดิ ต้งั สถานจี ่ายไฟให้กับรถไฟฟ้าทีจ่ ะเกิดขนึ้ สถานการณ์ล่าสุดรัฐบาลเยอรมันประกาศในเดือนตุลาคม ค.ศ.2015 ว่าเยอรมันจะยกเลิกจ�ำหน่ายรถยนต์ใช้น้�ำมันท้ังเบนซิน และเคร่ืองยนต์ดีเซลต้ังแต่ปี ค.ศ. 2030 เป็นต้นไป น่ีคือจุดอวสานของเคร่ืองยนตร์ ะบบเผาไหม้ภายใน บริษทั รถยนตแ์ ละผู้ผลติ นำ้� มนั ทง้ั หลายต้องปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน ดังท่ีว่า “เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงธุรกจิ และอุตสาหกรรม” 82
83
84
5บทท่ี แบตเตอรี่ ลิเธยี ม-ไอออน (Lithium-Ion Battery) ท่ีจรงิ แบตเตอรีล่ เิ ธียมไอออน มกี ารพฒั นามานานแลว้ ตั้งแตช่ ว่ งปีค.ศ. 1970 เรม่ิ ตน้ ด้วย M. Stanley Whittingham ซึ่งขณะนั้นท�ำงานในหอ้ งวจิ ยั ของ Exxon Mobil เขาทดสอบใช้ Titanium (IV) sulfide และโลหะลิเธียมเป็นขวั้ ไฟฟ้า แต่แบตเตอร่ที ี่ Whittingham คน้ ควา้ อยู่มคี วามไม่เสถยี รของTitanium-sulfide ทำ� ให้Exxon เลกิ วจิ ยั แบตเตอรลี่ เิ ธยี มตอ่ การวจิ ยั ตอ่ ๆ มาจงึ มงุ่ เนน้ การวจิ ยั คอมปาวดข์ องลเิ ธยี ม เปน็ ขว้ั ไฟฟา้ ในการปลอ่ ยและรบั ลเิ ธยี มไอออน ในเวลาเดยี วกนั J.O. Besenhard ไดน้ ำ� เสนอผลงานปฏกิ ิริยาแปรผนั ของ Graphite ที่ใช้เป็นแกนข้ัวลบของแบตเตอร่ีตลอดช่วงปี ค.ศ. 1970 มีผลงานออกมามากมายในแบตเตอร่ีลิเธียมไอออน เชน่ การค้นคว้าของ Adam Heller ใน Lithium-thionyl chlorideซง่ึ เป็นแบตเตอร่ที ี่มอี ายกุ ารใช้งานนานถึง 20 ปี และใหค้ วามหนาแน่นของพลังงานสูง อีกท้ังใช้ได้ในสภาวะอุณหภูมิท่ีกว้าง และถูกน�ำมาใช้เปน็ แบตเตอรท่ี ใี่ ชใ้ นรา่ งกายมนษุ ยจ์ นถงึ ปจั จบุ นั การคน้ พบของ Neo A.Goodshall แหง่ มหาวิทยาลยั Stanford ใน Lithium-cobalt oxide ท่ีใชเ้ ปน็ ขวั้ ประจบุ วกและโลหะลิเธียม และกราไฟทเ์ ป็นขัว้ ประจุลบ นำ� มาซึง่ การผลติ LiCoO2 จนถงึ ปจั จุบนั LiCoO2 ซ่งึ เปน็ Electrode ขว้ั บวกท่ีมีความเสถียรและท�ำให้แบตเตอรี่ลิเธียมไออนสามารถน�ำมาชาร์จไฟ 85
ใหมไ่ ด้ Goodshall ยงั วจิ ัยตอ่ ในคอมปาวดล์ ิเธยี มตวั อื่นๆ อันนำ� มาซง่ึการผลติ แบตเตอรล่ี เิ ธยี มไออนทต่ี น้ ทนุ ถกู ลงและไมม่ สี ารพษิ ของโคบอลต์ตกคา้ ง เชน่ คอมปาวดล์ เิ ทยี มแมงกานสี ออกไซด,์ ลเิ ธยี มเฟอรสั ออกไซด์และลเิ ธียมนิกเกลิ ออกไซด์ ขณะเดยี วกนั Michael M. Thackeray และJohn B. Goodenough ของมหาวทิ ยาลัย Oxford กพ็ ยายามพัฒนาลเิ ธยี มแมงกานสิ ออกไซด์ เปน็ อเิ ลก็ โทรดขว้ั บวกทม่ี ตี น้ ทนุ การผลติ ตำ�่ ในปีค.ศ. 1991 Sony และ Asahi Kasei ผลติ แบตเตอรล่ี เิ ธยี มไออนออกสตู่ ลาดYet-Ming Chiang ของมหาวทิ ยาลัย MIT ได้พัฒนาประสทิ ธิภาพของแบตเตอรลี่ ิเธยี มไออนต่อ โดยใช้เหล็กฟอสเฟต (Iron (III) phosphate)ทีม่ ขี นาดเลก็ กวา่ 100 นาโนเมตรมาเพม่ิ บรเิ วณหน้าผิวอิเลก็ โทรดทำ� ให้แบตเตอรล่ี เิ ธยี มไอออนมคี วามจแุ ละประสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้ อยา่ งมาก ทำ� ให้แบตเตอรท่ี ชี่ ารจ์ ไฟใหมไ่ ดน้ ใี้ ชง้ านกนั อยา่ งแพรห่ ลาย ปจั จบุ นั การพฒั นาใช้วัสดุนาโนท�ำกันอย่างต่อเนื่องเพื่อลดต้นทุนการผลิตและแบตเตอร่ีมีความปลอดภัยสูง โครงสร้างของแบตเตอร่ี ลิเธียมไอออนมีส่วนประกอบส�ำคัญ 3ส่วนคือ อิเลก็ โทรด (Electrode), ข้ัวบวกและขั้วลบ และอเิ ลค็ โทรไลท์(Electrolyte) โดยทว่ั ไปอเิ ลค็ โทรดขว้ั ลบจะเปน็ กราไฟท์ (Graphite) หรอื 86
C6 และอิเล็กโทรดข้ัวบวกจะเป็นสารประกอบออกไซด์ (Oxides) ของลิเธยี มไออน เช่น ลเิ ธยี มโคบอลต์ออกไซด์ หรอื ในรูป polyanion เช่นลเิ ธียม-เหลก็ ฟอสเฟต (Lithium-ion phosphate) หรอื ลักษณะ Spinalเชน่ ลเิ ธยี มแมงกานสิ ออกไซด์ สว่ นอเิ ลก็ โทรไลทท์ ใี่ ชค้ อื เกลอื ของลเิ ธยี มเช่น LiPF6 หรอื LiCIO4 ในตัวละลายอินทรยี ์ เช่น ethylene carbonate,dimethyl carbonate และ diethyl carbonate สารละลายอนิ ทรยี เ์ หลา่ นี้ก็อาจสลายตัวได้ง่ายและการสลายตัวน้ีท�ำให้เกิดเป็นฉนวนไม่ให้ประจุลิเธียมไอออนผ่านง่าย จึงมีการพัฒนาสารประกอบอิเล็กโทรไลท์ Poly(Oxyethylene) ท่ีเสถียรกว่ามาใช้ในแบตเตอร่ีลิเธียมไอออนที่ขายอยู่ณ ปัจจบุ นัปฏกิ ริ ยิ าไฟฟา้ เคมใี นแบตเตอร่ีลิเธยี มไออนเป็นอยา่ งไร ก่อนอ่ืนต้องกล่าวถึงในองค์ประกอบหลักของแบตเตอรี่ลิเธียมไออนนี้ต้องมีแท่งขั้วบวกและขั้วลบ (Electrodes) แช่อยู่ในของเหลวอิเลคโทรไลท์ซ่ึงเป็นสื่อกลางท่ีประจุของลิเธียมสามารถเคล่ือนที่ไปมา 87
ระหวา่ งอเิ ลก็ โทรดทง้ั สองขวั้ ลเิ ธยี มไออนตอ้ งสามารถเคลอ่ื นผา่ นภายในอเิ ลค็ โทรดทั้งสองไดส้ ะดวกในชว่ งใช้งาน (Discharging) ลิเธียมไอออนเหล่าน้ีจะเคลื่อนท่ีจากอิเล็กโทรดข้ัวลบเข้าสู่อิเล็คโทรดข้ัวบวก (มักเป็นGraphite) เขา้ ไปในอเิ ล็กโทรดแตก่ ลบั กันระหวา่ ง (Charging) ลเิ ธยี มไอออนจะวง่ิ สวนออก ปฎิกิริยาไฟฟ้าที่เกิดข้ึนท่ีข้ัวบวกจากอิเล็กโทรดขั้วบวกเข้าสู่ อเิ ล็กโทรดขัว้ ลบ ปฎกิ ิริยาไฟฟ้าทีเ่ กิดขึ้นทขี่ ั้วบวก ในแบตเตอรี่ ลิเธียมไออนจะว่ิงเข้าออกระหว่างอิเล็กโทรดข้ัวบวกและข้ัวลบ และท�ำให้เกิดปฏิกิริยาออกซิเดช่ันในโลหะโคบอลต์ท่ีกำ� ลงั เปล่ียนแปลง Li1-XCoO2 ที่อยใู่ นรปู Co3+ จะเปลยี่ นเป็น Co4+ระหวา่ งการชารจ์ (Charging) และจะถกู เปลย่ี นกลบั มาเปน็ Co3+ อกี ครงั้ในชว่ งใชง้ าน (Discharging) นค้ี อื แบตเตอรที่ พ่ี ฒั นาโดย Sony ในปี ค.ศ.1990 แต่ถ้าแบตเตอร่ีถูกชารจ์ ดว้ ยความตา่ งศักย์เกนิ 5.2 โวลต์จะเกิดโคบอลต์ออกไซด์ท�ำให้แบตเตอรี่ลิเธียมไออนเส่ือมประสิทธิภาพลงน่ีคือสาเหตุของการเส่อื มของแบตเตอรี่ แบตเตอร่ลี ิเธียมไออนฟอสเฟต และกราไฟทจ์ ะให้ความต่างศักย์อยทู่ ่ี 3.2 Volt และชารจ์ โดยใชก้ ระแส 3.6 Volt สว่ นลเิ ธยี มนเิ กลิ แมงกานสิโคบอลท์ออกไซดจ์ ะให้ความต่างศกั ย์ท่ีสูงกวา่ คือ 3.7 Volt และใชก้ ระแสชารจ์ ที่ 4.2 Volt การชาร์จแบตเตอรี่ทุกครัง้ จะทำ� ให้ลดกระแสเริม่ ต้นลง3% แบตเตอรล่ี เิ ธยี มไออนไมส่ ามารถทจี่ ะชารจ์ ไฟอยา่ งรวดเรว็ ได้ ปจั จบุ นั 88
ไดพ้ ัฒนาระยะเวลาการชารจ์ ให้ตำ�่ กว่า 40 นาที และจะมกี ารพัฒนาให้ดยี ง่ิ ข้ึน สว่ น Cathode หรอื ขว้ั อเิ ลก็ โทรดบวก นอกจากกราไฟทแ์ ลว้ มกี ารพฒั นาใชแ้ ผน่ บางๆ ของกราไฟทซ์ ง่ึ เปน็ สารคารบ์ อนอะตอมเดยี วทเี่ รยี งตวัในระนาบเดยี วกันมาใชเ้ ป็น Cathode ในขณะท่ี Toshiba มีการพัฒนาใช้ลเิ ธียมไททาเนต (Lithium-Titanate Li4Ti5O12 ) ส�ำหรับรถยนต์ไฟฟ้าและกรดิ ไฟฟา้ (Electrical Grid) เพราะลเิ ธยี มไททาเนตจะใหพ้ ลงั งานทด่ี ีกวา่ และลดระยะเวลาชารจ์ แบตเตอรี่ ส่วนทาง Sony ใชต้ ะกวั่ -โคบอลต์(tri/Cobalt alloy) ซงึ่ ใหก้ ารบรรจไุ ฟฟา้ (Electrical Capacity) ทม่ี ากขนึ้และใชก้ บั แบตเตอรข่ี นาดเล็กของเคร่ืองใช้ไฟฟา้ลิเธียม (Lithium) คืออะไร Lithium Carbonate & Compounds มีผู้ขนานนามลิเธียมว่าเป็นน้�ำมันส�ำหรับโลกตัวใหม่ และผู้คนในตลาดหลกั ทรพั ยส์ หรฐั อเมรกิ าตา่ งจอ้ งมองลเิ ธยี มวา่ เปน็ สนิ คา้ ทจ่ี ะมรี าคารอ้ นแรงท่สี ดุ เรามาท�ำความเข้าใจและแหล่งทม่ี าของสารชนดิ นกี้ นั กอ่ น 89
ลิเธียมเป็นธาตทุ ่มี สี ัญลักษณ์ทางเคมี Li และมี atomic number36Li และ 7Li และจะพบในธรรมชาติแตม่ ี 7Li มากถงึ 92.5% ลเิ ธียมเปน็ธาตใุ นตระกลู Alkali เป็นโลหะสที องเงนิ และเปน็ โลหะทเ่ี บาทส่ี ุด ลเิ ธียมเหมือนโลหะ Alkali อื่นๆ ท่ีมีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาทั้งนี้ธาตุลิเธียมมีอิเล็กตรอนตัวท่ี 3 ในวงแหวนรอบนอกสุดท่ีว่องไวที่จะท�ำปฏกิ ริ ิยากบั สารอืน่ เราจะไม่พบลเิ ธียมอย่เู ป็นอสิ ระในธรรมชาติ มนั จะอยใู่ นลกั ษณะสารประกอบไอออน และพบลเิ ธยี มละลายอยใู่ นนำ�้ ทะเลและดนิ เหนยี วรอบๆ ทะเล สารประกอบไออนของลเิ ธยี มในธรรมชาตทิ ลี่ ะลายในนำ�้ เคม็ จะระเหยออกโดยแสงแดด จากนนั้ เราแยกธาตลุ เิ ธยี มบรสิ ทุ ธอ์ิ อกโดยกรรมวธิ ี electrolytic เชน่ เดยี วกบั ทเี่ ราแยกโซเดยี มในการทำ� โซเดยี มไฮออกไซด์ในขบวนการทำ� โซดาไฟ ลิเธียมเป็นโลหะอ่อนท่ีมีจุดหลอมเหลวที่ 180 Cํ และมีความถ่วงจ�ำเพาะต�่ำมาก (0.534 gm/cm2) ลิเธียมท�ำปฏิกิริยาได้ง่ายกับอากาศและความชืน้ ทำ� ใหเ้ กดิ การติดไฟและการระเบิด ฉะนน้ั ลิเธียมจงึ ตอ้ งเก็บกักไวใ้ นนำ้� มนั (Petroleum jelly) 2Li + 3H2O 2Li OH + 2H2 2Li + OH + CO2 Li2CO3 + H2 ลิเธยี มเองมี 2 Isotope คอื 6Li และ 7Li แต่พบ 7Li มากกว่าในธรรมชาติ นักดาราศาสตร์เชื่อว่าลิเธียมเป็นสาเหตุหนึ่งของการระเบิดครงั้ ใหญ่ (Big Bang) เพราะดาราศาสตรพ์ บลเิ ธยี มในดวงดาวตา่ งๆ และพบลเิ ธียมทกุ ครัง้ ท่เี กิด solar wind cosmic rays ทก่ี ระทบกบั อะตอมหนักอนื่ นอกจากนีล้ ิเธียมยังพบในเซลล์ของมนษุ ย์ สัตว์ และพชื อีกดว้ ย 90
ประเทศชลิ ีเปน็ ประเทศท่ีพบแหล่งลเิ ธยี มกวา่ 7.5 ล้านตนั ถดั มาSalar de Uyuni ของประเทศโบลเิ วยี เปน็ แหลง่ ของลเิ ธยี มกวา่ 5.4 ลา้ นตนัจีน ออสเตรเลีย อาร์เจนตินา และทะเลสาบเกลือแห้งที่อัฟกานิสถานก็เป็นแหล่งของลิเธียม ปัจจุบันมีการส�ำรวจใหม่และค้นพบบ่อน้�ำเค็มที่Nevada และWyoming เปน็ แหลง่ สะสมลเิ ธยี มทมี่ คี วามอดุ มสมบรู ณ์ ในปี ค.ศ. 2012 ทว่ั โลกใชล้ เิ ธยี มไป 150,000 ตนั เพราะความตอ้ งการลเิ ธยี มในการผลิตแบตเตอรี่ลิเธียมไออนมีการพยากรณ์ว่าความต้องการของลิเธียมจะเพิ่มขึ้นเป็น 300,000 ตัน/ปี ในปี ค.ศ. 2020 ซึ่งปัจจุบันลเิ ธียมขายอย่ใู นราคา 24,000 ดอลล่าร์/ตัน และคาดการณว์ า่ ราคาจะเพ่ิมขึน้ หลายเท่าตัวในปถี ึงสองปีนี้ประโยชน์ของลเิ ธยี ม อตุ สาหกรรมถลงุ เหลก็ และอลมู เิ นยี มใชล้ เิ ธยี มเปน็ ตวั เตมิ (Flux) ในการถลงุ เหลก็ และอลมู เิ นยี มมาชา้ นานแลว้ อตุ สาหกรรมแกว้ และเซรามกิกใ็ ชล้ เิ ธยี มออกไซดเ์ ปน็ ตวั เตมิ ในการถลงุ ซลิ กิ าเพอื่ ลดจดุ หลอมในซลิ กิ าและเพม่ิ ความหนืดของเน้ือแกว้ ทำ� ให้แกว้ ทไ่ี ดม้ คี วามใสมากขึน้ และลดสมั ประสทิ ธกิ์ ารขยายตวั ของแกว้ แกว้ ทไี่ ดจ้ ะนำ� มาใชใ้ นผลติ ภณั ฑแ์ กว้ ในเตารอ้ น(Oven) ในทางทหารลเิ ธยี มและLi(AlH4) ถกู ใชเ้ ปน็ สว่ นผสมในเชอ้ืเพลงิ และในเช้ือเพลิงแข็งของจรวด ลิเธยี มเปน็ วสั ดเุ ร่มิ ต้นในการเตรยี มTritium ซง่ึ ใชเ้ ปน็ Neutron absorbers ในอาวธุ นวิ เคลยี ร์ (Nuclear Fusion)Lithium Deuteride เคยถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเป็นเช้ือเพลิงของระเบิดไฮโดรเจน (H-bomb) ปัจจุบันแบตเตอรี่ลิเธียมไออนกลายเป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าท่ีส�ำคัญใหก้ บั เครอื่ งอเิ ลก็ ทรอนคิ และเครอื่ งมอื สอ่ื สารในจำ� นวน1.4 พนั ลา้ นเครอื่ งของโทรศพั ทม์ อื ถอื และ 184 ลา้ นเครือ่ งของ Labtop ทีใ่ ชก้ นั อยู่ทวั่ โลก 91
ต่างต้องพึ่งพาแบตเตอร่ีลิเธียมไออน การพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าท�ำให้เกิดความต้องการของแบตเตอรลี่ ิเธยี มไออนเพ่มิ ข้นึ อย่างรวดเรว็ จงึ มคี �ำพูดเล่นๆ ว่าลิเธียมเปรียบเสมือนทองขาวท่ีมีการแย่งซ้ือและขายในตลาดอนาคต (White gold rush)ไฮโดรเจน ฟเู อลเซล (Hydrogen fuel cell) ไฮโดรเจน ฟูเอลเซล ท่ีผสมระหว่างไฮโดรเจนและออกซิเจนเพื่อผลิตไฟฟ้า ความร้อน และไอน�้ำ ซ่ึงมักจะถูกเปรียบเทียบเหมือนกับแบตเตอรที่ ผ่ี ลติ ไฟฟา้ เพราะทงั้ สองแบบเปน็ การผลติ พลงั งานโดยปฏกิ ริ ยิ าเคมีเป็นไฟฟ้าท่ีใช้ประโยชน์ได้ ไฮโดรเจนเป็นพลังงานสะอาดและให้พลังงานสูง NASA ใช้พลงั งานจากไฮโดรเจนเหลวต้ังแต่ ค.ศ. 1970 เพอื่ดันจรวดข้นึ สู่วงโคจร และใชไ้ ฮโดรเจน ฟเู อลเซล ภายในยานอวกาศในการผลติ ไฟฟา้ และยงั ไดน้ ำ้� ดม่ื สะอาดเปน็ ผลพลอยไดใ้ หก้ บั นกั บนิ อวกาศอกี ดว้ ย ความจริงแลว้ เราสามารถใชแ้ ก๊สธรรมชาติ เมทิลแอลกอฮอลใ์ นการผลิตไฮโดรเจนเพ่ือใช้กับฟูเอลเซล ประดิษฐกรรมฟูเอลเซลน้ีเกิดขึ้นครง้ั แรกเม่อื ปี ค.ศ. 1836 แต่โครงการ NASA ทีใ่ ชฟ้ เู อลเซลทำ� ให้เกดิ 92
การพัฒนาฟเู อลเซลในอุตสาหกรรมอืน่ ๆ มากขึน้ รวมทัง้ ใช้ฟูเอลเซลในรถยนต์ รถมอเตอรไ์ ซด์ และเรือด�ำน�ำ้ ฟูเอลเซลมีหลายเทคโนโลยี แต่ท้ังหมดนี้ประกอบด้วยข้ัวไฟฟ้าประจบุ วกและประจลุ บ และอเิ ลก็ โทรไลต์ (ของเหลวระหวา่ งขวั้ ไฟฟา้ เพอ่ืใหป้ ระจไุ ฟฟา้ ไหลผา่ น) ขวั้ ไฟฟา้ ทงั้ สองขวั้ เปน็ สารประกอบทม่ี แี คทาลสิ ท์(Catalyst) ซ่ึงท�ำให้เชื้อเพลิงเกิดปฏิกิริยาเคมีและเกิดประจุบวกของไฮโดรเจนและอิเล็กตรอน ประจุไฮโดรเจนจะวิ่งผ่านอิเล็กโทรไลต์ไปยังขวั้ ลบ ณ จดุ นไี้ อออนของไฮโดรเจน อเิ ลก็ ตรอน และออกซเิ จน จะทำ� ปฏกิ ริ ยิ ากันเกิดเป็นน้�ำ ในขณะที่อิเล็กตรอนจะวิ่งไปยังขั้วบวกโดยผ่านวงจรภายนอกท�ำให้เกิดกระแสไฟฟ้าตรง ชนิดของฟูเอลเซลที่แตกต่างคือชนิดของขั้วไฟฟ้าและอิเล็กโทรไลต์จาก Proton exchangemembrane fuel cells (PEM fuel cells) หรอื Solid oxide fuel cell (SOFC)ซ่ึงทั้ง 2 ระบบจะผลิตไฟฟ้า 0.7 volts ถ้าวางฟูเอลเซลน้ีเรียงกันเรากจ็ ะได้พลังไฟฟ้าที่ต้องการ ฟเู อลเซลเกดิ ขน้ึ ในปี ค.ศ.1838 โดยWelshWiliamGrove ดว้ ยการใช้แผ่นเหล็ก แผ่นทองแดง และแผ่นเซรามิก แช่อยู่ในสารละลายกรดกำ� มะถนั และไดม้ กี ารพฒั นาฟเู อลเซลอกี ครงั้ โดย บรษิ ทั GeneralElectricCompany หรอื GE ในปี ค.ศ.1955 และมกี ารพฒั นามาอยา่ งตอ่ เนอื่ งโดยใชโ้ ลหะ ทองค�ำขาว ไปเคลอื บไว้บนแผน่ Membrane เพือ่ เป็นตวั เร่งปฏกิ ริ ิยาสำ� หรบั การเกิดออกซิเดช่ันของไฮโดรเจน และปฏกิ ริ ยิ ารดี กั ชนั่ของออกซเิ จน ซง่ึ รจู้ ักกนั ดวี ่า “Grubb-Niedrach fuel cell” ซึง่ GE นำ�เทคโนโลยนี ไ้ี ปพฒั นากบั NASA และเครอื่ งบนิ McDonnel Douglas ทำ� ให้เกิดโครงการ Gemini ต่อมามีการพัฒนาฟูเอลเซลกันมาอย่างต่อเน่ืองและ Roger E. Billings ไดน้ ำ� ฟเู อลเซลไปใชเ้ ป็นรถยนต์ในปี ค.ศ. 1991 93
รถไฟฟา้ ฟูเอลเซล ในปี ค.ศ. 2015 มรี ถไฟฟ้าฟเู อลเซลออกจ�ำหนา่ ยในตลาด 2 ยีห่ ้อคอื Toyota Mirai และ Hyundai ix 35 FCEV รถไฟฟ้าฟเู อลเซลสามารถวิ่งไดร้ ะยะทางกว่า 400 กโิ ลเมตรในการเตมิ ไฮโดรเจนต่อครง้ั (การเตมิไฮโดรเจนจะใช้เวลาน้อยกวา่ 5 นาท)ี ต่อมาในปี ค.ศ. 2016 คา่ ยรถยนต์ใหญๆ่ ตา่ งกน็ ำ� เสนอรถไฟฟา้ ฟเู อลเซลออกสตู่ ลาด เชน่ Mercedes-BenzFuel Cell, Honda FCX Clarity, Nissan และ General Motors แตท่ ัง้ นี้ทงั้ นนั้ รถไฟฟา้ ฟเู อลเซลยงั ตอ้ งมกี ารพฒั นาอกี มาก เพอื่ ใหร้ าคาตำ�่ ลงมาใหส้ ามารถแข่งขันกับรถไฟฟา้ ลเิ ธยี มออิ อนได้ 94
95
INDUSTRIAL REVOLUTIONS 96
6บทท่ี การปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม ดังที่กล่าวมาแล้วในบทก่อนว่าความต้องการของมนุษย์เป็นแรงผลักดันให้เกิดการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการใหม่ๆ เพื่อตอบสนองสิ่งท่ีต้องการ ขณะเดียวกันประดิษฐ์กรรมใหม่ๆ กลับมาเป็นตวั แปรเปลย่ี นอตุ สาหกรรม สงั คมและความเปน็ อยขู่ องมนษุ ย์ การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมเกดิ จากการขยายตวั ทางการคา้ มนษุ ยม์ คี วามตอ้ งการสนิ คา้มากขึ้น มนุษย์พยายามประดิษฐ์เครื่องกลเข้ามาทดแทนการท�ำงานด้วยเครอื่ งมอื เครอื่ งกลทใี่ ชพ้ ลงั งานจากนำ�้ และไอนำ้� มาทดแทนการใชแ้ รงงานจากคนและสตั ว์ ตามมาดว้ ยการคน้ พบการใชพ้ ลงั งานชนดิ ใหมๆ่ ทที่ ำ� ให้เครอื่ งจกั รทำ� งานมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้ เรอื่ ยๆ ทำ� ใหเ้ กดิ การปฏวิ ตั อิ นั เปน็ผลจากการยกระดับเทคโนโลยีการผลิตจากระดับหน่ึงไปอีกระดับหนึ่งทำ� ใหม้ กี ารพฒั นาจากระบบการผลติ แบบครวั เรอื นทบ่ี รรพบรุ ษุ ทำ� กนั มาสู่ระบบโรงงาน การพัฒนาอุตสาหกรรมเริ่มตน้ ท่อี งั กฤษทั้งน้ีมีเน่อื งมาจากการคา้ ทเี่ ตบิ โตขนึ้ ทำ� ใหเ้ กดิ ความตอ้ งการสนิ คา้ ในปรมิ าณทมี่ ากขน้ึ พอ่ คา้ทม่ี รี ายไดส้ งู จะเขา้ มาควบคมุ กระบวนการผลติ วา่ จา้ งชาวบา้ นใหร้ วมกลมุ่กนั ผลติ สนิ ค้าเปน็ ระบบโรงงาน อุตสาหกรรมเร่มิ ตน้ คอื เสอื้ ผ้า พอ่ ค้าซอ้ืขนแกะจากผู้เลี้ยงแกะมาจ้างชาวบ้านปั่นเป็นเส้นด้ายและไปทอเป็นผ้าขนแกะน�ำมาตัดเย็บเป็นเสื้อผ้าออกจ�ำหน่าย เม่ือความต้องการสินค้ามี 97
มากข้ึนพ่อค้าได้จัดกระบวนการผลิตเส้ือผ้าตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ น�ำชาวบ้านมารวมกันปั่นด้ายทอเป็นผ้าและท�ำเป็นเสื้อผ้าส�ำเร็จรูปออกจ�ำหนา่ ย น่คี อื จดุ เร่ิมตน้ ของโรงงานในศตวรรษท่ี 17การปฏิวัติอุตสาหกรรมยคุ ท่ี 1 การปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรมยคุ ต้นเรมิ่ ตน้ ทป่ี ระเทศองั กฤษในยุคนน้ั ในขณะทฝ่ี ร่งั เศสก�ำลงั ยุ่งกบั สงครามนโปเลยี น การค้าขององั กฤษขยายตัวมากกวา่ ประเทศอนื่ ๆ องั กฤษเรมิ่ ออกลา่ อาณานคิ มทางตะวนั ออกพอ่ คา้ชาวอังกฤษเป็นผู้น�ำสินค้าออกขายในประเทศเหล่านี้และสร้างรายได้เป็นกอบเปน็ ก�ำ ท�ำให้พ่อคา้ นำ� รายไดจ้ ากการค้ามาท�ำการผลติ ในระบบโรงงาน ในปี ค.ศ. 1705 Thomas Newcomen ไดป้ ระดิษฐ์เคร่ืองจักรท่ใี ช้พลงั งานจากน้�ำมาเปน็ เครือ่ งจักรพลงั นำ�้ แบบงา่ ยๆ ในขณะท่ี JohnKay ประดษิ ฐก์ ระสวยส�ำหรับเครอื่ งทอผา้ และ Lewis Paul และ JohnWyatt ประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งแยกเมลด็ ออกจากนนุ่ และตใี หฟ้ ู สง่ิ ประดษิ ฐท์ ง้ั สามนำ� มาซง่ึ การพฒั นาเครอ่ื งจกั รในการทอผา้ และการพฒั นาอตุ สาหกรรมทอผา้ ขององั กฤษ ในปี ค.ศ. 1763 James Watt ไดป้ ระดษิ ฐเ์ ครอื่ งจักรทใี่ ช้พลงั งานจากไอนำ�้ ทำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงครงั้ ใหญจ่ ากการใชพ้ ลงั งานจากนำ�้ มาเปน็ การใชพ้ ลงั งานจากไอนำ�้ ทใี่ หพ้ ลงั งานสงู กวา่ และโรงงานไม่จ�ำเปน็ ต้องอย่ใู กล้กับธารน�้ำ จากการค้นพบเคร่ืองจักรไอน�้ำท�ำให้กระบวนการผลิตมีประสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้ ตามมาดว้ ยความตอ้ งการเชอ้ื เพลงิ สำ� หรบั เครอ่ื งจกั รไอน�้ำและต้องการเหล็กในการท�ำเครื่องจักรกลมากขึ้นท�ำให้เกิดอตุ สาหกรรมถา่ นหนิ และเหลก็ จงึ ขยายตวั ในองั กฤษ อกี ทง้ั ประดษิ ฐกรรมของเครอื่ งจกั รอกี หลายอยา่ งทเี่ กดิ ตามมาทำ� ใหก้ ารผลติ และอตุ สาหกรรมขององั กฤษเตบิ โตโดดเดน่ กวา่ ทกุ ประเทศ ในขณะนน้ั สหรฐั อเมรกิ ายงั อยู่ 98
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148