ทรงพระเจรญิ เนื่องในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจา สิรกิ ิติ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง ดดว ว ยยเเกกลลาาดดว วยยกกรระะหหมมอ อ มม ขขออเเดดชชะะ ขขา าพพรระะพพุทุทธธเเจจาา กกอองงบบรรรรณณาาธธกิ กิ าารรววาารรสสาารรววิททิ ยยาาจจาารรยย 12 สิงหาคม เป็น “วันแมแ่ หง่ ชาต”ิ หนว่ ยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน บทบรรณาธกิ าร ต่างร่วมมือร่วมใจกัน จัดกิจกรรมเพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ในโอกาสทท่ี รงเจรญิ พระชนมพรรษา (ดร.วฒั นาพร ระงบั ทุกข)์ 87 พรรษา ในวนั ที่ 12 สงิ หาคม 2562 ในโอกาสนี้ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา บรรณาธิการ และประชาชนท่ัวประเทศต่างพร้อมใจกันถวายพระพรให้พระองค์ทรงพระเจริญ มพี ระชนมายยุ งิ่ ยนื นาน สถติ เปน็ พระแมข่ องปวงชนชาวไทยตลอดไป พระราชกรณยี กจิ ของพระองค์ได้ประจักษ์แก่พสกนิกรชาวไทยท่ัวประเทศ ทรงเป็นแบบอย่างของ ความเปน็ แมแ่ ละความเปน็ ครู และไดร้ บั การถวายพระราชสมญั ญา “พระผทู้ รงเปน็ แม่ และครูแห่งแผ่นดิน” เมอื่ เดอื นกรกฎาคมท่ผี ่านมา นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ ไดเ้ ข้ารบั ตำ� แหน่ง เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการคนปัจจุบัน พร้อมด้วย คุณหญิงกัลยา โสภณพนชิ และนางกนกวรรณ วลิ าวลั ย์ เปน็ รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในโอกาสนี้ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดม้ อบนโยบายการศกึ ษาและจดุ เนน้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 วารสารวิทยาจารย์ไดน้ �ำมา เสนอไว้ในสกูป๊ พิเศษ ส�ำหรับ “คร”ู ซ่ึงได้รบั การยกย่องวา่ เปน็ พอ่ แม่คนทีส่ องนัน้ เปน็ ความหวงั ของพ่อแม่ผูป้ กครองท่ีได้ฝาก “ลูกหลาน” ใหม้ าเปน็ “ลูกศิษย”์ โดยหวังให้ไดร้ บั ความรู้และการฝึกฝนบ่มเพาะในวิถีทางที่ถูกต้องและดีงาม เพ่ือเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ทเ่ี ปน็ คนดแี ละมคี ณุ ภาพ ดฉิ นั เชอ่ื วา่ คณุ ครทู กุ ทา่ นตา่ งมคี วามรกั ความเมตตาตอ่ ศษิ ย์ เปรยี บดจุ ลกู หลานเชน่ กนั ขอใหท้ กุ ทา่ นไดร้ ว่ มกนั หลอ่ หลอม “ลกู ศษิ ย”์ ใหเ้ ปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ของประเทศชาตใิ นการสรา้ งสรรคส์ งั คมใหร้ ุ่งเรอื งและผาสุกสืบไปค่ะ ขอเชญิ ร่วมสง่ บทความ เรอ่ื งส้ัน บทกวี เกีย่ วกับการประกอบวิชาชีพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เพือ่ เผยแพรใ่ นวารสารวิทยาจารย์ โดยสามารถสง่ ผลงาน ไดด้ งั นี้ 1. e-mail : [email protected] 2. ไปรษณยี ์ : กองบรรณาธิการวารสารวิทยาจารย์ สำ�นกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา 128/1 ถนนนครราชสมี า แขวงดสุ ิต เขตดสุ ติ กรงุ เทพ ฯ 10300 3. โทร. / โทรสาร : 0 2282 1308 ผลงานทส่ี ง่ มานั้น ต้องมไิ ด้ลอกเลยี น ดัด แปลงงานของผอู้ ื่น ผลงานทไี่ ด้รบั คัดเลือกเผยแพร่ จะได้รบั คา่ ตอบแทนตามทกี่ องบรรณาธกิ ารกำ�หนด
วารสารเพื่อการพัฒนาวิชาชพี ครู ปที ี่ 118 ฉบับท่ี 10 เดอื นสงิ หาคม 2562 04 33 Open Eyes คะแนนสอบ O-NET ต�ำ่ ความรู้นอ้ ยหรือขอ้ สอบยาก 39 ห้องเรยี นวชิ าการ เรียนร้จู ากความผิดพลาดของนักเรยี น 01 บทบรรณาธิการ 43 โรงเรียนดี โครงการเด่น 04 สกปู๊ พิเศษ การบรหิ ารงานวชิ าการดว้ ยระบบคณุ ภาพ นโยบายการศกึ ษา รฐั มนตรี ศธ. คนใหม่ : TK SMART ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ โรงเรยี นธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม 11 รอบร้วั ครุ ุสภา 46 Full Frame 13 ครรู กู้ ฎหมาย การจดั การเรียนรู้บนฐานภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ • การพจิ ารณาการประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณวชิ าชพี ในศตวรรษท่ี 21 ทางการศึกษา (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2559 • การพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณ 49 เรียนรอบตัว ของผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา กรณี สิทธแิ ละหน้าทขี่ องผถู้ ูกกลา่ วหา/ การสรา้ งแรงบนั ดาลใจในการเรยี นตามศาสตร์ ผู้ถกู กล่าวโทษ NLP (Neuro - Linquistic Programming) 53 ประสบการณ์ “พันธะใจ” 19 Read Up Zone 57 ยทุ ธศาสตร์ศึกษา 6 ครดู อย กศน. ร่วมเสวนาแนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี การแสวงหาโอกาส : ตามพระราชดำ� ริ ฯ ในการประชมุ วชิ าการ กพด. สิ่งจำ� เป็นในชีวติ ของผู้บริหาร ตอนที่ 4 25 Knowledge All Around แหล่งเรยี นรู้ นวตั กรรมดจิ ิทัลส�ำหรบั ผสู้ ูงอายุ KVC - Cisco Innovation Center 29 การศึกษารอบทศิ 40 คณะอนกุ รรมการวิสามญั (อ.ก.ค.ศ. วสิ ามัญ) ซงึ่ ทำ� การแทน ก.ค.ศ. 2 วทิ ยาจารย์
62 มิติการศึกษา กองบรรณาธกิ าร ปรชั ญาการศกึ ษานอกโรงเรียน ทปี่ รกึ ษา : 67 บริหารการศกึ ษา คณะกรรมการคุรสุ ภา คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ อันก�ำเนิดเกดิ มาในหล้าโลก ดร.บรู พาทศิ พลอยสุวรรณ์ สขุ กบั โศกมไิ ด้สิ้นอย่างสงสัย นายยทุ ธชัย อตุ มา 71 วิชาการบันเทิง ผทู้ รงคุณวุฒ/ิ นักวิชาการประจำ� : คา่ น้�ำนม ศ.กิตติคณุ สุมน อมรวิวฒั น์ รศ.ดร.วชิ ยั วงษ์ใหญ่ 74 ตระเวนเท่ียว รศ.ดร.สนานจิตร สุคนธทรพั ย์ รศ.ดร.สมศกั ดิ์ คงเท่ียง ไซง่ ่อนออ้ นฝน รศ.ดร.พรพพิ ฒั น์ เพิม่ ผล รศ.ดร.กลา้ ทองขาว 80 ร้ไู วใ้ ชว่ า่ รศ.ดร.สขุ ุม เฉลยทรัพย์ รศ.ดร.มนสชิ สทิ ธิสมบรู ณ์ สาชาวิชาสตั วรกั ษ์ กบั อาชพี การพยาบาลสตั ว์ ดร.ประพฒั นพ์ งศ์ เสนาฤทธ์ิ ดร.ปฐมพงศ์ ศุภเลศิ 86 ยำ� สามกรอบ ดร.จกั รพรรดิ วะทา ดร.พลสัณห์ โพธิ์ศรที อง คร้ังหน่งึ ..ซึง่ นานแลว้ ! แตว่ นั นี.้ ..ใช่วนั นน้ั ! บรรณาธกิ าร : ดร.วัฒนาพร ระงับทุกข์ 92 หน่ึงโรงเรยี น หน่ึงนวัตกรรม หัวหนา้ กองบรรณาธิการ : • รปู แบบการพัฒนาทกั ษะการอ่าน การคดิ วิเคราะห์ ดร.ราณี จนี สทุ ธิ์ และเขียนโดยใช้กิจกรรมเปน็ ฐานการเรยี นรู้ รองหวั หนา้ กองบรรณาธกิ าร : โรงเรยี นอนุบาลตาก นายจันทร์ยงยทุ ธ บญุ ทอง • “เล่น เรียน รู้ พฒั นาสูท่ ักษะสมอง เพ่ือชีวิตที่ส�ำเร็จ (EF) ประจ�ำ กองบรรณาธกิ าร : ด้วย Baankunmae Kids Model” โรงเรียนบา้ นคุณแม่ นางภทั ราวรรณ ประกอบใน • สนุกกับการเรียนร้กู ารอ่าน เขยี น ภาษาไทย นางจริ ภฎา ทองขาว ดว้ ยเทคโนโลยีมลั ติพอยท์ โรงเรยี นบ้านแม่อา่ งขาง นางสาววนิ ีตา รงั สิวรารักษ์ นางสาวธญั รตั น์ ศิรเิ มฆา 101 ทัศนศ์ ึกษา นางสาววรวรรณ พรพพิ ฒั น์ นายวชั รพล เหมอื งจา สอนภาษาไทยอย่างไรใหส้ นกุ สนาน พรอ้ มพัฒนา นายทรงชัย ชนื่ ล้วน ทักษะการคดิ วเิ คราะห์: เทคนิค 5 T Model บรู ณาการกิจกรรม รอ้ ง เลน่ เต้น เรียน ตอนท่ี 1 ประสานงานฝ่ายผลติ : 107 รอบรู้การศึกษา นางภัทราวรรณ ประกอบใน นางจริ ภฎา ทองขาว การศกึ ษาตามอธั ยาศัย = การศกึ ษาในวถิ ชี วี ิต ศลิ ปกรรม/รูปเลม่ /จัดพมิ พ์ : วารสารวิทยาจารย์ กองบรรณาธิการ/ฝา่ ยสมาชิก โทร./โทรสาร 0 2282 1308 บริษัท ออนปา้ จ�ำ กดั ท่อี ยู่ 128/1 ถนนนครราชสมี า แขวงดสุ ิต เขตดุสิต กรุงเทพ ฯ 10300 111/1 อาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 e-mail : [email protected] แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม www.withayajarnksp.com กรุงเทพ ฯ 10120 โทร. 0 2689 1056 โทรสาร 0 2689 1081 www.onpa.co.th
สก๊ปู พเิ ศษ กองบรรณาธกิ าร นโยบายการศกึ ษา รัฐมนตรี ศธ. คนใหม่ ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2562 นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ เขา้ รบั ต�ำแหนง่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มีคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช และ นางกนกวรรณ วิลาวลั ย์ เป็นรฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายการด�ำเนินงานของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้น�ำแนวทางของรัฐบาล มาตอ่ ยอดเปน็ แนวทาง และจะจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั งิ านใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ รวมทงั้ นโยบาย ของรฐั บาล โดยไดม้ อบนโยบายการปฏบิ ตั งิ านใหแ้ กค่ ณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ดงั นี้ 1. การศกึ ษาขั้นพื้นฐานต้องมคี วามเทา่ เทียมกัน 5. การพฒั นาครู จะตอ้ งสร้างครูทีม่ ีประสิทธภิ าพ ท้งั ประเทศ โดยมีแผนการด�ำเนนิ งานภายใน 2 - 3 ปี ทนั สมยั ตอ้ งจดั สรรงบประมาณในการพฒั นาครเู พอื่ ตอ่ ยอด 2. งบประมาณ ใหม้ กี ารวางแผนการใชง้ บประมาณ ความรทู้ ่คี รมู ีอยู่แลว้ และจะตอ้ งมีระบบตรวจสอบ ประเมนิ ลว่ งหนา้ 3ปีเพอื่ ใหใ้ ชง้ บประมาณไดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ ลดความซำ�้ ซอ้ น วดั ผล หลงั จากการพฒั นาครเู สรจ็ แลว้ การพฒั นาครอู าจจะ โดยจะบรู ณาการงบประมาณของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทงั้ ระบบ พัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีแทนการอบรมเพื่อประหยัด 3. การจดั ท�ำขอ้ มลู พนื้ ฐานเกยี่ วกบั สถานศกึ ษา งบประมาณในดา้ นนี้และครทู กุ คนจะตอ้ งมคี วามรคู้ วามสามารถ จะปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ใหถ้ กู ตอ้ ง สอดคลอ้ ง ตรงกนั กบั ทกุ ภาคสว่ น เท่าเทียมกัน เช่น ครูท่ีอยู่ชายขอบและครูท่ีอยู่ในเมือง โดยจะเรม่ิ จากปรบั ขอ้ มลู ใหต้ รงกบั กระทรวงมหาดไทยกอ่ น จะตอ้ งมคี วามสามารถใกลเ้ คยี งกนั ทสี่ ำ� คญั ครทู กุ คนจะตอ้ งรู้ เพ่อื น�ำข้อมูลไปใช้ในการจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสม ภาษาองั กฤษภายใน 3 ปี และจะดูแลในเร่ืองหน้สี นิ ครูดว้ ย 4. การควบรวมโรงเรยี นเพอื่ ใหก้ ารจดั การศกึ ษา 6. การใชบ้ รกิ ารจากหนว่ ยงานภายในกระทรวง มีประสทิ ธภิ าพ จะตอ้ งมีการวางแผนให้ชัดเจน สื่อสารให้ ศึกษาธิการ ควรใช้หน่วยงานภายในกระทรวงศึกษาธิการ ประชาชนรบั ทราบวา่ การควบรวมทำ� ใหป้ ระชาชนไดป้ ระโยชน์ ในการซอ่ มเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ หรอื อาจจะจา้ งมาจดั นทิ รรศการ อย่างไร ลูกหลานของเขาจะได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีมี เพื่อไม่ให้งบประมาณรั่วไหลออกนอกกระทรวงศึกษาธิการ ประสิทธิภาพ แต่การควบรวมจะต้องไม่ลิดรอนสิทธิของ มากเกินไป ผเู้ กยี่ วขอ้ ง เพอ่ื ลดแรงกดดนั ใหน้ อ้ ยลง โดยถา้ ควบรวมแลว้ โรงเรยี นมขี นาดใหญม่ าก กอ็ าจจะมผี อู้ ำ� นวยการหลายฝา่ ย เชน่ ฝา่ ยประถมศึกษา ฝา่ ยมธั ยมศึกษา เป็นต้น 4 วทิ ยาจารย์
7. คุณภาพของโรงเรยี นข้นึ อยกู่ ับผู้อ�ำนวยการ 11. กฎหมาย จะพจิ ารณาปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมาย โรงเรียน ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนท่ีไม่มีคุณภาพจะสะท้อน ตา่ ง ๆ ทต่ี ราไวเ้ กนิ 5 ปี ทที่ ำ� ใหก้ ารขบั เคลอ่ื นการดำ� เนนิ งาน ใหเ้ หน็ ในทกุ ภาคสว่ นของโรงเรยี นไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งความสะอาด ตามนโยบายเปน็ ไปอยา่ งลา่ ชา้ หรอื เคลอ่ื นไปไมไ่ ดจ้ ะปรบั ปรงุ ภูมิทัศน์ของโรงเรียน เป็นต้น ส�ำนักงานคณะกรรมการ แก้ไขใหม่ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานควรจดั หางบประมาณสำ� หรบั ปรบั ปรงุ 12. การศกึ ษาพเิ ศษ จะนำ� นกั เรยี นทจี่ บการศกึ ษา หอ้ งนำ�้ นกั เรียนและโรงอาหารส�ำหรบั นกั เรยี นดว้ ย จากโรงเรียนการศึกษาพิเศษมาเป็นครูสอนในโรงเรียน 8. การศกึ ษาปฐมวยั จะจดั ใหเ้ ดก็ 0 - 6 ขวบ ไดร้ บั ในสงั กดั และจะขอการสนบั สนนุ ทนุ การศกึ ษาจากภาคเอกชน การพฒั นาอยา่ งเตม็ ที่โดยจะจดั สรรงบประมาณเพอื่ การนดี้ ว้ ย ใหก้ ับนักเรยี นการศึกษาพิเศษด้วย 9. นักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษา จะแยกนกั เรียนกลุ่ม นอกจากน้ี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีศักยภาพออกมาต่างหาก เพ่ือน�ำมาอยู่ในส่ิงแวดล้อม ไดป้ ระกาศนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพอ่ื ใหส้ อดรบั ทดี่ แี ละพฒั นาศกั ยภาพใหเ้ ตม็ ท่ี เพอ่ื ใหค้ นกลมุ่ นมี้ าเปน็ ผนู้ ำ� กับยุทธศาสตร์ชาติท่ีจะเตรียมความพร้อมของคนเข้า ของประเทศในอนาคต ส่ยู คุ ศตวรรษที่ 21 ดงั น้ี 10. หลกั สตู ร ปัจจบุ ันหลกั สูตรการเรยี นการสอน ไม่ทนั สมัย ไมเ่ ป็นศตวรรษที่ 21 จะปรบั ปรงุ ใหมใ่ หท้ นั สมัย วิทยาจารย์ 5
นายณัฏฐพล ทปี สวุ รรณ รมว.ศึกษา ฯ พร้อม รฐั มนตรชี ่วย 2 คน คอื คณุ หญิงกลั ยา โสภณพนิช และ นางกนกวรรณ วลิ าวัณย์ เข้าท�ำงานวนั แรก (18 กรกฎาคม 2562) 6 วทิ ยาจารย์
ประวตั ิ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รฐั มนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธกิ าร เกดิ วนั ท่ี 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 ทเ่ี มือง บอสตนั รฐั แมสซาชเู ซตส์ (Massachusetts) ประเทศสหรฐั อเมริกา การศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สาขามาร์เก็ตตง้ิ บอสตนั ยูนเิ วอร์ซติ ้ี ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ระดบั ปริญญาโท สาขาการตลาด มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ การท�ำงาน ปี 2562 ส.ส. บญั ชรี ายชื่อ พลงั ประชารัฐ ปี 2561 รองหวั หนา้ พรรค พลังประชารัฐ ปี 2552 - 2554 ส.ส. กทม ประชาธปิ ตั ย์ ปี 2550 เลขาธิการสมาคมเทควันโด แห่งประเทศไทย ผจู้ ัดการทั่วไป บรษิ ทั รอยลั ไทย จ�ำกดั สาขาดไู บ สหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส์ ผู้บริหารกจิ การกระเบอ้ื งคมั พานา พรมไทปงิ และพรม Royal Thai ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาดและการขาย บริษัทอตุ สาหกรรมพรมไทย จ�ำกดั (มหาชน) วิทยาจารย์ 7
8 วทิ ยาจารย์
วทิ ยาจารย์ 9
10 วทิ ยาจารย์
รอบรว้ั คุรุสภา กองบรรณาธกิ าร แจง้ เผตอื ู้ทนผี่ ่านการรับรองความรู้ครบ 9 มาตรฐาน ใหร้ ีบปฏบิ ตั กิ ารสอนต่อเนื่องเปน็ เวลา ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี ภายในวนั ที่ 3 ตุลาคม 2563 สำ� หรับผู้ทผ่ี ่านชอ่ งทางการรบั รองความรคู้ รบ 9 มาตรฐานแลว้ โดยการทดสอบ เทยี บโอนความรู้ อบรมความรู้ ฯ ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยการรับรองความรู้และประสบการณ์วิชาชีพเพ่ือการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พ.ศ. 2550 และยงั ไมย่ น่ื ขอขนึ้ ทะเบยี นรบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู จงึ มเี วลาอกี ประมาณ 1 ปี ในการดำ� เนนิ การ จงึ ขอเตอื นใหร้ บี ดำ� เนนิ การ ยนื่ ขอรบั ใบอนญุ าตปฏบิ ตั กิ ารสอน และไปปฏบิ ตั กิ ารสอนตอ่ เนอ่ื งเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี เมอื่ ผา่ นการประเมนิ จากสถานศกึ ษา ให้น�ำรายงานผลการประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพประสบการณ์วิชาชีพครู มาดำ� เนนิ การ ขอขน้ึ ทะเบยี นรบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู พรอ้ มดว้ ยเอกสารหลกั ฐานตามทค่ี รุ สุ ภากำ� หนด ภายในวนั ที่ 3 ตลุ าคม 2563 หากพ้นกำ� หนดแล้ว จะไม่สามารถขอรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ครูได้ ทง้ั นี้ การดำ� เนนิ การดงั กลา่ วเปน็ ไปตามขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา วา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2561 ขอ้ 17 วรรค 3 ว่า กรณีผู้มีคุณวุฒิไม่ต�่ำกว่าปริญญาตรี และผ่านการรับรองมาตรฐานความรู้ ครบ 9 มาตรฐาน แต่ยังขาดประสบการณ์ วชิ าชพี ครูตามทก่ี ำ� หนดในขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยการรบั รองความรแู้ ละประสบการณว์ ชิ าชพี เพอื่ การประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2550 เมื่อได้ผ่านการรับรองประสบการณ์วิชาชีพครูแล้ว ให้สามารถใช้เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชพี ครูได้ ภายในวันที่ 3 ตุลาคม 2563 หากพน้ กำ� หนดแลว้ ไม่สามารถขอรับใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพครไู ด้ เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกในการดำ� เนินการขอข้ึนทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู คุรุสภาได้เปิดให้บริการ ยื่นขอข้นึ ทะเบียนรบั ใบอนุญาต ฯ ด้วยตนเอง ผา่ นระบบ KSP e-Service โดยเขา้ ไปท่ี http://selfservice.ksp.or.th จากนนั้ ดำ� เนินการสมัครสมาชกิ ภายหลังจากสมคั รแล้วรอการยนื ยนั ตัวตน (ประมาณ 1 วนั ท�ำการ) เมื่อไดร้ บั การยนื ยนั ตัวตนแลว้ สามารถด�ำเนนิ การยน่ื ค�ำขอใชบ้ รกิ ารด้านใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา อัพโหลดเอกสารหลักฐานตามท่คี ุรุสภา กำ� หนดในระบบ KSP e-Service ซึง่ สะดวกรวดเร็วกวา่ การย่นื เอกสารทางไปรษณียแ์ ละทางเคานเ์ ตอรบ์ รกิ าร วิทยาจารย์ 11
ครุ ุสภาจดั โครงการจรรยาบรรณสูค่ รดู ี...เพื่อเดก็ ดี “ครดู ีจึงบอกตอ่ ” คุรุสภาจัดโครงการจรรยาบรรณสู่ครูดี...เพื่อเด็กดี “ครูดีจึงบอกต่อ” มีวัตถุประสงค์เพ่ือรณรงค์ให้ครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาเกิดความตระหนักในจรรยาบรรณวชิ าชีพครู และสง่ เสรมิ ใหค้ รูและบคุ ลากร ทางการศึกษา นกั เรียน และนสิ ิต นกั ศกึ ษา และรวมถงึ ประชาชนทวั่ ไปไดม้ สี ว่ นรว่ มกบั ครุ สุ ภาในการสง่ เสรมิ จรรยาบรรณวชิ าชพี ครใู หเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม คุรุสภาขอเชิญชวนครูและบุคลากรทางการศึกษา นิสิต นักศึกษา นักเรียน และประชาชนทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรม “ครดู ีจงึ บอกต่อ” จำ� นวน 2 กจิ กรรม กิจกรรมแรกอดั คลิปวดิ โี อบอกเลา่ ลักษณะครูดีตามแบบฉบับตนเองและครูดที ช่ี นื่ ชอบ จำ� นวน 1 คลปิ ความยาวไมเ่ กนิ 3 นาที กจิ กรรมท่ี 2 บอกเลา่ ครดู ตี ามแบบฉบบั ตนเองผา่ นภาพถา่ ย จำ� นวน 1 ภาพ พรอ้ มตง้ั ชอ่ื ภาพถ่าย ผู้ที่สนใจสามารถสมัครเข้าร่วมกิจกรรมได้ท่ี http://bit.ly/sharedgoodteacher2019 ต้ังแต่บัดน้ีจนถึงวันท่ี 30 กนั ยายน 2562 (สง่ ไดก้ จิ กรรมละ 1 ผลงาน) ทงั้ นี้ ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม “ครดู จี งึ บอกตอ่ ” จะไดร้ บั เกยี รตบิ ตั รขอบคณุ จากครุ สุ ภา ทไี่ ดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมในครง้ั นี้ พรอ้ มทงั้ คลปิ วดิ โี อ/ภาพถา่ ยทไี่ ดร้ บั การคดั เลอื กจะนำ� ไปเผยแพรผ่ า่ นชอ่ งทางสอื่ ของครุ สุ ภาตอ่ ไป นอกจากน้ี ขอเชญิ ชวนรบั ชมหนังส้ันครูสร้างฅน ครดู เี พราะมจี รรยาบรรณ ทกุ วนั พฤหสั บดี เวลา 08.30 น. ผา่ นทาง Facebook เพจครูดี 360 องศา /เพจคุรุสภา /Khurusapha YouTube Channel เร่ิมวันท่ี 15 สิงหาคม 2562 เป็นต้นไป เพอ่ื สะท้อนถึงตัวอยา่ งครดู ีทีม่ ีลักษณะแตกต่างกนั ตามกรอบจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่อีเมล์ [email protected] หรือเบอรโ์ ทรศัพท์ 0 2280 2735 หรอื เพจครดู ี 360 องศา 12 วทิ ยาจารย์
ครรู ู้กฎหมาย กองบรรณาธิการ การพิจารณาการประพฤตผิ ิดจรรยาบรรณวิชาชพี ทางการศึกษา (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2559 “……ครทู ่ีแท้จรงิ นนั้ ตอ้ งเปน็ ผทู้ �ำแต่ความดี คอื ตอ้ งหมั่นขยนั และอุตสาหะ พากเพยี ร ตอ้ งเออื้ เฟอ้ื เผอ่ื แผเ่ สยี สละ ตอ้ งหนกั แนน่ อดทน และอดกลน้ั ส�ำรวม ระวงั ความประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องตน ใหอ้ ยใู่ นระเบยี บ แบบแผนทดี่ งี าม รวมทงั้ ตอ้ งซอื่ สตั ย์ รักษาความจรงิ ใจ วางใจเป็นกลาง ไม่ปล่อยไปตามอ�ำนาจอคติ……” พระราชด�ำรัส พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระราชทานแก่ครอู าวุโส ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วันองั คารที่ 28 ตุลาคม 2523 จากพระราชด�ำรัส พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดพ้ ระราชทานแก่ครอู าวโุ ส วันที่ 28 ตลุ าคม 2523 ในประโยคท่ีวา่ “…ครูท่ีแทจ้ รงิ น้ัน ตอ้ งเปน็ ผทู้ ำ� แตค่ วามด…ี ” เพราะครตู อ้ งเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี เปน็ ทรี่ กั และศรทั ธาของศษิ ย์ และประชาชน ครุ สุ ภาในฐานะองคก์ รวชิ าชพี ของครจู งึ ตอ้ งทำ� หนา้ ทใี่ นการควบคมุ กำ� กบั ดแู ลใหผ้ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ครู ประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ในปัจจุบันคุรุสภาได้แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2559 ขึ้น เพ่ือให้ทันต่อ เหตกุ ารณแ์ ละใหเ้ กดิ ความชดั เจนในทางปฏบิ ตั ิ โดยประกาศลงในราชกจิ จานเุ บกษา วนั ที่ 25 สงิ หาคม 2559 และใหม้ ผี ลบงั คบั ใชว้ นั ถดั จากในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป คอื วนั ที่ 26 สงิ หาคม 2559 จงึ เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั ทีผ่ ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาตอ้ งรู้ หลกั การสำ� คญั ของแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยการพจิ ารณาการประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณ วชิ าชพี ทางการศกึ ษา (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2559 คอื กรณที ผี่ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณวชิ าชพี ปรากฏตอ่ สาธารณชนเชน่ ทางสอ่ื มวลชนหรอื ทางโซเชยี ลมเี ดยี (SocialMedea) ใหค้ ณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี สง่ั พกั ใชใ้ บอนญุ าตเปน็ การชวั่ คราวโดยไมต่ อ้ งรอผลสบื สวน หรอื สอบสวนก็ได้ ซง่ึ เพิ่มเตมิ เปน็ หมวดท่ี 13 การพักใชใ้ บอนญุ าต ข้อ 60/1 ถงึ ขอ้ 60/4 วทิ ยาจารย์ 13
ข้อ 60/1 กรณีปรากฏว่าผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา กระท�ำผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ อยา่ งรา้ ยแรงดงั ตอ่ ไปน้ี ใหเ้ ลขาธกิ ารครุ สุ ภานำ� เสนอคณะกรรมการพจิ ารณาแตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการ สบื สวนหรอื สอบสวนทนั ที เมอื่ คณะกรรมการไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการสบื สวนหรอื สอบสวน แลว้ ให้ คณะกรรมการพิจารณาวนิ ิจฉัยพักใชใ้ บอนุญาตไวก้ ่อน โดยไม่ตอ้ งรอผลสบื สวนหรอื สอบสวนกไ็ ด้ (1) มพี ฤตกิ รรมเกย่ี วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 หรอื เกี่ยวขอ้ งกบั การค้าประเวณตี ามพระราชบญั ญตั ิปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ ประเวณี พ.ศ. 2539 (2) มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับการกระท�ำล่วงละเมิดทางเพศต่อนักเรียนหรือนักศึกษาไม่ว่า จะอยใู่ นความดแู ลรบั ผดิ ชอบของตนหรอื ไม่ หรอื กระทำ� ลว่ งละเมดิ ทางเพศกบั ขา้ ราชการครหู รอื บคุ ลากร ทางการศกึ ษาหรอื บุคคลอนื่ (3) ถกู ฟ้องในคดีอาญาเกย่ี วกับทรัพยห์ รือทจุ ริตต่อหน้าท่ี ข้อ 60/2 การวินจิ ฉยั พกั ใช้ในอนญุ าตตามขอ้ 60/1 ให้วินจิ ฉยั พักใช้ใบอนุญาตทกุ ประเภท ไดไ้ มเ่ กนิ หกสบิ วนั นบั แตว่ นั ทผี่ ถู้ กู กลา่ วหาหรอื ผถู้ กู กลา่ วโทษไดร้ บั ทราบคำ� วนิ จิ ฉยั หากลว่ งเลยกำ� หนด ระยะเวลาดังกล่าวแล้ว การสืบสวนหรือสอบสวนยังไม่แล้วเสร็จให้คณะกรรมการวินิจฉัยยกเลิก การพักใช้ใบอนุญาต ทั้งน้ี ให้ค�ำวินิจฉัยยกเลิกการพักใช้ใบอนุญาต มีผลย้อนหลังนับถัดจากวันท่ี ครบก�ำหนดในค�ำวนิ จิ ฉัย ข้อ 60/3 ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งคณะกรรมการวินิจฉัยพักใช้ใบอนุญาตตามข้อ 60/1 อาจอทุ ธรณค์ ำ� วินจิ ฉยั ตอ่ คณะกรรมการคุรสุ ภาภายในสามสิบวนั นับแต่วนั ที่ได้รับคำ� วนิ จิ ฉัย ขอ้ 60/4 เมอื่ ไดม้ กี ารพกั ใชใ้ บอนญุ าตตามขอ้ 60/1 ถา้ ภายหลงั ผลการสบื สวนหรอื สอบสวน ปรากฏว่าผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาผู้นั้น ไม่มีพฤติกรรมประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ ใหค้ ณะกรรมการมีค�ำวนิ จิ ฉยั ยกเลกิ การพักใช้ใบอนญุ าตทันที 14 วทิ ยาจารย์
นอกจากนี้ยงั แกไ้ ขขอ้ บงั คบั เพม่ิ เตมิ ในขอ้ 55/1 “การพกั ใชใ้ บอนญุ าตหรอื เพกิ ถอนใบอนญุ าต ให้คณะกรรมการวินิจฉัยพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตทุกประเภทท่ีผู้ประกอบ วชิ าชพี ทางการศกึ ษาไดร้ บั ” จากเดมิ การพกั ใชห้ รอื เพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ของผปู้ ระกอบ วชิ าชพี ทางการศกึ ษา ขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภากำ� หนดใหพ้ กั ใชเ้ ฉพาะใบอนญุ าตทผี่ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ผนู้ นั้ กระทำ� ความผดิ เพยี งใบเดยี ว เชน่ ผบู้ รหิ ารกอ่ นไดร้ บั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ผบู้ รหิ ารจะตอ้ งมใี บอนญุ าต ประกอบวิชาชีพครูด้วย จึงท�ำให้ผู้บริหารมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพมากกว่าหน่ึงใบ เม่ือผู้บริหาร ท�ำร้ายร่างกายเด็ก คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยให้พักใช้ใบอนุญาต ก็จะถูกส่ังพักใช้ ใบอนุญาตเฉพาะใบอนุญาตของผู้บริหาร เพราะขณะกระท�ำความผิดด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหาร แตผ่ ้บู ริหารกย็ งั สามารถใช้ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพครูทำ� หนา้ ท่ีสอนเดก็ ตอ่ ไป อยา่ งไรกต็ ามคนทเี่ ปน็ ครเู ปน็ ผทู้ แี่ บกภาระหนกั เพราะทา่ นเปน็ ผทู้ ด่ี แู ลลกู หลานคนอนื่ ซงึ่ มพี ฤตกิ รรม ทห่ี ลากหลาย จงึ ตอ้ งอดทน ใจเยน็ ไตรต่ รองกอ่ นกระทำ� เสมอ รวมถงึ ความอยากไดอ้ ยากมที ท่ี ำ� ใหข้ าดสติ พลั้งเผลอกระท�ำความผิด เล่าจื๊อ ศาสดาของศาสนาเต๋า กล่าวว่า “ชื่อเสียงชักพาให้ผู้คนแก่งแย่ง ทรพั ยส์ นิ กระตนุ้ ใหผ้ คู้ นละโมบเรง่ เรา้ ใหเ้ กดิ เลห่ เ์ หลย่ี มฉอ้ ฉล นค่ี อื สาเหตแุ หง่ ความวนุ่ วายของสงั คม” บางครั้งผู้ประกอบวิชาชพี อาจคดิ ว่ากฎหมายหา้ มไม่ใหล้ งโทษเดก็ ด้วยความรนุ แรง เช่น ใช้ไม้เรียวตี กเ็ ลยหนั มาใชก้ ารลงโทษดว้ ยการตบหนา้ บา้ ง บอ้ งหบู า้ ง ใชอ้ ะไรทอี่ ยใู่ กลม้ อื ขวา้ งปาบา้ ง จงึ ฝากขอ้ คดิ ของมหาตมะคานธี ว่า “ส่ิงท่ีคุณท�ำอาจไม่ใช่เร่ืองส�ำคัญ แต่สิ่งส�ำคัญกว่าคือการลงมือท�ำ” และ ผลจากการกระทำ� จะย้อนกลับมาส่ผู กู้ ระทำ� ซง่ึ บางกรณอี าจรสู้ ำ� นึกก็สายเสียแล้ว ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา มีอายุใช้ได้ 5 ปี และต้องของต่อใบอนุญาต กอ่ นวันที่ใบอนญุ าตจะหมดอายไุ มน่ อ้ ยกว่า 180 วัน วทิ ยาจารย์ 15
การพิจารณาการประพฤติผดิ จรรยาบรรณ ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา กรณี : สิทธิและหน้าท่ีของผถู้ ูกกล่าวหา/ผถู้ กู กล่าวโทษ ตามพระราชบญั ญตั สิ ภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 มาตราที่ 51 ไดก้ ำ� หนด ให้บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพของผู้ได้รับอนุญาต ประกอบวิชาชพี มสี ิทธิกลา่ วหา และบคุ คลซง่ึ เปน็ กรรมการครุ สุ ภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ หรอื บุคคลอื่นใดท่ีมีสิทธิกล่าวโทษ ผู้ประกอบวิชาชีพว่าประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ ซ่ึงเป็นสิทธิ ของผกู้ ลา่ วหาหรอื ผู้กล่าวโทษ เมอ่ื มกี ารกลา่ วหาหรอื กลา่ วโทษเกดิ ขน้ึ แลว้ ในขนั้ ตอนการสอบสวนการประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณ ของวิชาชีพ ตามข้อ 26 แห่งข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ พ.ศ. 2553 ก�ำหนดให้คณะอนุกรรมการสอบสวนมีหน้าท่ีต้องแจ้งสิทธิและหน้าที่ของ ผูถ้ ูกกลา่ วหา หรอื ผถู้ กู กล่าวโทษให้ทราบ ตามข้อ 19 ข้อ 20 ขอ้ 23 และข้อ 24 ดังนี้ ข้อ 19 ในการสอบสวน คณะอนกุ รรมการสอบสวนตอ้ งให้ผถู้ ูกกลา่ วหาหรอื ผู้ถูกกล่าวโทษ มีโอกาสได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ มีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานของตนเว้นแต่ จะมีผลท�ำให้ระยะเวลาที่กฎหมายหรือข้อบังคับนี้ก�ำหนดว่าต้องล่าช้าออกไป หรือปรากฏโดยสภาพ เหน็ ไดช้ ดั วา่ การให้โอกาสดังกลา่ วไม่อาจกระท�ำได้ การอา้ งพยานหลักฐานเพ่ือแกข้ ้อกลา่ วหาหรอื ขอ้ กล่าวโทษผถู้ กู กลา่ วหาหรอื ผถู้ กู กลา่ วโทษ จะนำ� พยานหลกั ฐานมาเองหรอื จะอา้ งพยานหลกั ฐานแลว้ ขอใหค้ ณะอนกุ รรมการสอบสวนเรยี กพยาน หลกั ฐานนั้นมาก็ได้ ข้อ 20 ในการสอบสวน ผู้ถกู กลา่ วหาหรือผถู้ กู กลา่ วโทษ มีสิทธนิ �ำทนายความหรอื ที่ปรกึ ษา ของตนเข้ามาร่วมฟังการสอบสวนก็ได้ แต่จะให้ถ้อยค�ำหรือตอบค�ำถามแทนผู้ถูกกล่าวหาหรือ ผถู้ กู กล่าวโทษหรอื เสนอความเห็นใดแกค่ ณะอนกุ รรมการสอบสวนไม่ได้ ขอ้ 23 ผถู้ กู กลา่ วหาหรอื ผถู้ กู กลา่ วโทษมสี ทิ ธคิ ดั คา้ นผไู้ ดร้ บั แตง่ ตง้ั เปน็ อนกุ รรมการสอบสวน ถา้ ผนู้ ้ันมเี หตุอย่างใดอยา่ งหน่งึ ดงั ต่อไปนี้ 16 วทิ ยาจารย์
(1) ร้เู หน็ เหตกุ ารณใ์ นขณะกระทำ� การในเรอื่ งท่ีกล่าวหาหรือกลา่ วโทษ (2) มีสาเหตุโกรธเคอื งกับผถู้ ูกกลา่ วหาหรอื ผถู้ กู กลา่ วโทษ (3) เป็นผู้กล่าวหาหรือผู้กล่าวโทษ หรือเป็นคู่หมั้น คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน พ่ีน้อง รว่ มบดิ ามารดา หรอื รว่ มบดิ ามารดา ลกู พลี่ กู นอ้ งนบั ไดเ้ พยี งภายในสามชนั้ หรอื เปน็ ญาติ เกย่ี วพนั ทาง แตง่ งานนับไดเ้ พียงสองชนั้ ของผูก้ ล่าวหรือหรอื ผู้กลา่ วโทษ (4) เป็นเจ้าหนห้ี รือลกู หนีข้ องผ้กู ลา่ วหาหรือผูก้ ล่าวโทษ (5) เป็นหรือเคยเป็นผแู้ ทนโดยชอบธรรมหรือผู้พิทักษ์ หรอื ผูแ้ ทน หรอื ตัวแทนของผูก้ ลา่ วหา หรือผู้กล่าวโทษ (6) เป็นผ้บู ังคับบญั ชาหรือผู้ใตบ้ ังคบั บัญชาของผู้กลา่ วหาหรอื ผู้กล่าวโทษ (7) มเี หตอุ น่ื ซง่ึ นา่ เช่อื อย่างยง่ิ ว่าจะท�ำให้การสอบสวนเสยี ความเป็นธรรมหรือไมเ่ ปน็ กลาง การคดั คา้ นใหก้ ระทำ� ภายในเจด็ วนั นบั แตว่ นั รบั ทราบคำ� สง่ั แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการสอบสวน หรือนับแต่วันที่ทราบสาเหตุแห่งการคัดค้านโดยท�ำเป็นหนังสือแสดงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย ทเ่ี ปน็ เหตแุ หง่ การคดั คา้ นไวใ้ นหนงั สอื คดั คา้ นดว้ ยวา่ จะทำ� ใหก้ ารสอบสวนไมไ่ ดค้ วามจรงิ และความยตุ ธิ รรม อย่างไร ย่ืนต่อประธานกรรมการหรือส่งทางไปรษณีย์ตอบรับก็ได้และให้ประธานกรรมการส่งส�ำเนา หนังสือคัดค้าน และแจ้งวันท่ีได้รับหนังสือคัดค้านให้ประธานอนุกรรมการสอบสวนทราบและรวมไว้ ในส�ำนวนการสอบสวนพรอ้ มทง้ั แจง้ ให้ผถู้ กู คัดคา้ นทราบ ในการน้ใี หห้ ยดุ การสอบสวนไวก้ ่อน ข้อ 24 ในชั้นการพิจารณาของคณะกรรมการการผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษมีสิทธิ คดั ค้านกรรมการ ถา้ กรรมการ ผู้ถกู คดั ค้านมเี หตุอย่างใดอย่างหนึ่งตามขอ้ 23 วรรคหน่ึง ทง้ั น้ี สิทธใิ นการโตแ้ ยง้ และแสดงพยานหลักฐานของผู้ถกู กล่าวหาหรอื ผถู้ กู กล่าวโทษ ตามที่ ก�ำหนดไว้ในข้อ 19 นั้น ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษมีสิทธิท�ำค�ำชี้แจงเป็นหนังสือหรือพยาน หลกั ฐานใด ๆ มาสนบั สนนุ แกข้ อ้ กลา่ วหาหรอื ขอ้ กล่าวโทษไดภ้ ายใน 15 วนั แตห่ ากผถู้ กู กลา่ วหาหรือ ผถู้ กู กล่าวโทษไม่ประสงค์จะยนื่ คำ� ช้แี จงเปน็ หนังสอื วทิ ยาจารย์ 17
คณะอนุกรรมการสอบสวนก็จะดำ� เนนิ การเพ่อื ให้ผ้ถู กู กล่าวหาหรือผู้ถกู กล่าวโทษใหถ้ อ้ ยค�ำ และน�ำสืบแก้ข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษได้โดยไม่ชักช้า ตามข้อ 34 วรรค 4 แห่งข้อบังคับเดียว กันน้ี ซง่ึ ถอ้ ยค�ำชีแ้ จงของผู้ถกู กลา่ วหาหรอื ผถู้ ูกกล่าวโทษ รวมทงั้ พยานหลกั ฐานใด ๆ ท่ีย่นื แสดงมา พร้อมกบั ค�ำช้แี จงน้ัน คณะอนุกรรมการสอบสวนจะน�ำมาประกอบการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณของ วชิ าชพี แตห่ ากพยานหลกั ฐานใดทผ่ี ถู้ กู กลา่ วหา หรอื ผถู้ กู กลา่ วโทษอา้ งนน้ั ไมส่ ามารถนำ� มาสนบั สนนุ คำ� ชแี้ จงแกข้ อ้ กลา่ วหาหรอื ขอ้ กลา่ วโทษได้ คณะอนกุ รรมการสอบสวนกส็ ามารถทจี่ ะไมน่ ำ� พยานหลกั ฐาน ดงั กลา่ วมาประกอบการพิจารณาได้เช่นกนั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา มีอายุใช้ได้คราวละ 5 ปี และจะต้องขอต่ออายุ ใบอนญุ าต ฯ ภายใน 180 วัน ก่อนวนั ทใี่ บอนญุ าตจะหมดอายุ หากย่นื ค�ำขอต่ออายุ ฯ หลงั จากวันท่ี ใบอนุญาตหมดอายุแล้ว จะต้องเสียค่าด�ำเนินการกรณีขอต่ออายุใบอนุญาตล่าช้าเป็นเงินเดือนละ 200 บาท เร่ิมนับต้ังแต่วันท่ี 7 มิถนุ ายน 2560 เปน็ ต้นไป 18 วทิ ยาจารย์
Read Up Zone ส�ำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 6 ครดู อย กศน. ร่วมเสวนาแนวปฏิบัติทด่ี ตี ามพระราชดำ� ริ ฯ ในการประชุมวชิ าการ กพด. เม่ือเร็ว ๆ น้ี หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้เข้าร่วมการประชุมวิชาการการพัฒนาเด็กและเยาวชน ในถน่ิ ทรุ กนั ดารตามพระราชดำ� ริ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประจำ� ปี การศกึ ษา 2561 ณ อมิ แพค็ ฟอรมั่ เมอื งทองธานี โดยมสี ำ� นกั งานโครงการสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กองบัญชาการต�ำรวจตระเวนชายแดน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สำ� นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน ส�ำนกั พระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่ิน เขา้ รว่ ม และมีสำ� นกั การศึกษา กรงุ เทพมหานคร เปน็ เจ้าภาพหลัก ภายใต้หวั ข้อ “นวตั กรรมดา้ นทกั ษะอาชพี ของสถานศกึ ษา” ในสว่ นของสำ� นกั งาน กศน. มคี รู ศศช.ทช่ี นะเลศิ แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี จำ� นวน 6 ราย ซ่ึงไดเ้ ข้าร่วมเสวนาวชิ าการนำ� เสนอผลการดำ� เนินงานในเวทีอันทรงเกียรติแห่งนีด้ ว้ ย โดยท้ัง 6 คน มคี วามภาค ภูมิใจท่ีมีโอกาสได้ท�ำงานภายใต้โครงการพระราชด�ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และสามารถนำ� เสนอเนื้อหาได้อยา่ งนา่ สนใจ ดงั นี้ วทิ ยาจารย์ 19
แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี ดา้ นโภชนาการและสุขภาพอนามยั เรอ่ื ง “สขุ ภาพดดี ว้ ยอาหารโปรตนี จากไข่” นางอมั พร สขุ ใจ ครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บา้ นสนั ปูเลย หมทู่ ี่ 11 ต�ำบลปางหินฝน อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ บ้านสันปูเลยมีประชากรทั้งหมด 313 คน เป็นชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง นบั ถอื ศาสนาครสิ ต์ เปน็ หมบู่ า้ นเกษตรกรรม ชาวบา้ นปลกู พชื และเลยี้ งสตั ว์ ศูนย์การเรียน ฯ บ้านสันปูเลย มีนักเรียน จ�ำนวน 25 คน มีพัฒนาการ ดา้ นโภชนาการและสขุ ภาพอนามยั ยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานนำ�้ หนกั และส่วนสูงของนักเรียนบางคนต�่ำกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดจึงท�ำการศึกษา คน้ ควา้ และลงมอื ปฏบิ ตั ริ ว่ มกบั ผปู้ กครองหาแนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ใี นเรอ่ื งสขุ ภาพดี ด้วยอาหารโปรตีนจากไข่ เพ่ือแก้ปัญหานักเรียนท่ีมีภาวะโภชนาการ ตำ�่ กวา่ เกณฑ์ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นและผปู้ กครองมคี วามรเู้ รอ่ื งการเลยี้ งไก่ และ โภชนาการโปรตนี จากไขไ่ ก่ นำ� ไปสกู่ ารขยายผลการเลย้ี งไกไ่ ขส่ ชู่ มุ ชน เปา้ หมายในการจดั กจิ กรรม คอื นกั เรยี น จำ� นวน 25 คน และผ้ปู กครอง จ�ำนวน 20 คน โดยการจดั กิจกรรมอบรมการเลี้ยงไก่ไข่ พร้อมการฝึกปฏบิ ัติ นำ� ผลผลิตไขไ่ กม่ าจัดประกอบ อาหารกลางวนั ส�ำหรบั นกั เรยี น อย่างน้อยอาทิตยล์ ะ 2 วนั และส่งเสรมิ การรบั ประทานไข่ไก่ เปน็ ต้น ผลการด�ำเนนิ งานพบว่า สามารถแก้ปัญหานักเรียนท่ีมีภาวะโภชนาการต่�ำให้เป็นไปตามเกณฑ์มีจ�ำนวนท่ีเพิ่มขึ้น นักเรียนและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับคุณค่าสารอาหารโปรตีนจากไข่ไก่และมคี วามรเู้ ร่ืองการเลย้ี งไกไ่ ขแ่ ละสามารถขยายผลสู่ชมุ ชนได้ แนวปฏิบัติทีด่ ดี ้านการส่งเสรมิ คณุ ภาพการศึกษา (ภาษาไทย) “นิทานแสนสนกุ น�ำสกู่ ารอ่านออก เขยี นได้ รคู้ วามหมายของค�ำ” นางสาวชชิ าชาญ กอบกาญจก์ ลุ ครศู นู ยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ า้ หลวง” บ้านคทุ ะ หมู่ท่ี 15 ต�ำบลแม่สอง อ�ำเภอทา่ สองยาง จงั หวดั ตาก จากการสอนวิชาภาษาไทยของศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นคทุ ะ ในระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 ครสู ังเกตว่า นกั เรยี นยงั อา่ นเขยี นไมค่ ลอ่ งและไมส่ ามารถแตง่ ประโยคได้ เพราะทผี่ า่ นมา ได้จัดการเรียนการสอนแบบท่องจ�ำจึงท�ำให้นักเรียนท่องจ�ำอย่างเดียว แต่ไม่รู้ความหมายของค�ำ ครูจึงคิดกิจกรรมการพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียนโดยใช้กิจกรรมนิทานแสนสนุกน�ำสู่การอ่านออกเขียนได้ รู้ความหมาย ผลการด�ำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนให้ความสนใจกับ กิจกรรมเป็นอย่างดีส่งผลให้นักเรียน มีทักษะในการอ่านการเขียนและ แตง่ ประโยคได้ดีขน้ึ ตามล�ำดับ 20 วทิ ยาจารย์
แนวปฏิบตั ทิ ่ดี ดี ้านการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เรอื่ ง “ฝายมีชวี ิต พลกิ พืน้ ป่าตน้ น�ำ้ บา้ นแม่ปะกลาง” นายสน่ัน เชยี งแก้ว ครศู ูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นแม่ปะกลาง หมู่ที่ 2 ต�ำบลแม่สวด อ�ำเภอสบเมย จังหวัดแมฮ่ ่องสอน ชมุ ชนบา้ นแมป่ ะกลางประสบปญั หาขาดแคลนนำ้� เพอื่ อปุ โภคบรโิ ภค และ ขาดไฟฟ้าใช้ในหมู่บ้าน จากการที่ครูใช้ความพยายามในการน�ำข้อมูล ชมุ ชนมารว่ มกนั วเิ คราะหส์ ภาพปญั หารว่ มกบั ชาวบา้ น พบวา่ การเรง่ ฟน้ื ฟู อนุรักษ์ป่าต้นน�้ำเพื่อให้มีน้�ำในการอุปโภคบริโภครวมท้ังการให้ชุมชน บา้ นแมป่ ะกลางจะไดใ้ ชท้ รพั ยากรนำ้� ในการทำ� กระแสไฟฟา้ โครงการฝาย มชี วี ติ พลกิ ผนื ปา่ ตน้ นำ�้ บา้ นแมป่ ะกลาง ครไู ดจ้ ดั กจิ กรรมแบบมสี ว่ นรว่ ม กบั ชาวบา้ นทกุ ขนั้ ตอนตงั้ แตเ่ รม่ิ การประชมุ การรว่ มกนั สรปุ และหาแนวทาง การแกป้ ญั หาทอี่ ยอู่ าศยั โดยไดร้ บั ความรว่ มมอื จากภาคเี ครอื ขา่ ยภายนอก ท�ำให้ชุมชนบ้านแม่ปะกลางมีน�้ำอุปโภคบริโภค ใช้ในฤดูแล้งและน�้ำ ยังเพียงพอในการน�ำมาเป็นพลังงานในหมู่บ้านซ่ึงท�ำให้ครูสามารถ จัดกิจกรรมเรียนรู้ได้ท้ังกลางวันและกลางคืนทั้งกลุ่มเด็กและผู้ใหญ่ ไดส้ ่งผลใหช้ าวบ้านมคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ มี ากยงิ่ ข้ึน แนวปฏิบัตทิ ดี่ ดี ้านคุณธรรมจรยิ ธรรม เรอ่ื ง “ออมดี มีเงินเกบ็ ” นางนงนชุ วรรณวตั ร ครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บา้ นกว่ิ จนั ทร์ หมทู่ ่ี 10 ต�ำบลขนุ นา่ น อ�ำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวดั นา่ น กลมุ่ ออมทรพั ยบ์ า้ นกว่ิ จนั ทร์ มสี มาชกิ ผรู้ ว่ มกลมุ่ จำ� นวน 32 คน วตั ถปุ ระสงค์ ของกลุ่ม เพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณธรรมและจริยธรรม ด้านความ สามัคคี มีวินัย และการเก็บออมเงิน รวมท้ังให้ประชาชนมีความรู้เร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทาง ในการดำ� เนนิ ชวี ติ ของตนเองได้ โดยมกี ระบวนการขน้ั ตอนการดำ� เนนิ งาน 5 ขั้นตอน พาคิด พาทำ� ทำ� ใหด้ ู ปลอ่ ยใหเ้ ขาท�ำเอง และเราเปน็ พ่ีเลี้ยง ผลการด�ำเนินงานพบว่า ผู้ร่วมกลุ่มออมทรัพย์มีวินัยมีความรับผิดชอบ ตอ่ ตนเอง มกี ารออมเงนิ เปน็ ประจำ� ซง่ึ สมาชกิ กลมุ่ ออมทรพั ย์ มยี อดเงนิ ฝาก ในบญั ชี ตง้ั แตเ่ ดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 ระยะเวลา 2 ปี 5 เดือน คนละ 900 บาท รวมยอดเงินฝากของกลุ่ม เปน็ เงินจำ� นวน 28,800 บาท (สองหม่ืนแปดพนั แปดรอ้ ยบาทถ้วน) วิทยาจารย์ 21
แนวปฏบิ ตั ิทีด่ ีด้านการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมท้องถ่ิน เรอ่ื ง “ตา้ ถ่ากิ๊เขว่ : ลายผ้ากอกะเหรยี่ งบ้านขุนหาด” นางสาววรนิ ทิรา กา้ นค�ำ ครศู นู ยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นขนุ หาด ต�ำบลยางเปยี ง อ�ำเภออมกอ๋ ย จังหวดั เชยี งใหม่ คำ� วา่ “ต้าถ่าก๊เิ ขว่” เป็นภาษากะเหร่ียงสะกอแปลว่าลายผ้าทอ เป็นการ ด�ำเนินงานที่สอดคล้อง กับแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดาร ตามพระราชดำ� รสิ มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับท่ี 5 พ.ศ. 2560 – 2569 เป้าหมายหลักที่ 6 เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการอนุรักษ์และสืบทอด วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของทอ้ งถ่นิ และของชาตไิ ทย เพื่อรวบรวมและบนั ทึกผ้าทอลายต่าง ๆ ของชมุ ชน เพอ่ื จดั กจิ กรรม การเรยี นรู้และฝกึ ทกั ษะการทอผา้ สำ� หรบั เดก็ และเยาวชน และสบื สานและอนรุ กั ษป์ ระเพณวี ฒั นธรรมของทอ้ งถน่ิ ในการทอผา้ ใหค้ งอยใู่ นวิถีชวี ติ ของคนในชมุ ชน กลุ่มเปา้ หมายเป็นนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 - 6 จำ� นวน 17 คน และนกั ศกึ ษา กศน. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำ� นวน 33 คน ดำ� เนนิ กจิ กรรมโดยครผู นู้ ำ� ชาวบา้ น นกั เรยี นและ นกั ศกึ ษา รว่ มกนั สำ� รวจและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู สภาพปญั หา ความตอ้ งการของหมบู่ า้ นโดยการจดั เวทปี ระชาคมเพอ่ื นำ� ขอ้ มลู ไปวางแผนการพัฒนาหมบู่ า้ นโดยกำ� หนดกิจกรรมในการอนุรกั ษ์ ไดแ้ ก่ กิจกรรมวาดภาพลายผ้าทอจากเสือ้ ของจริง ศกึ ษา ลายผา้ ทอกะเหรย่ี งในหมบู่ า้ นขนุ หาด โดยการสมั ภาษณผ์ รู้ ภู้ มู ปิ ญั ญาเกย่ี วกบั ชอ่ื ของลายผา้ ทอ พรอ้ มทง้ั วาดลายผา้ ทอตา่ ง ๆ และจดบันทึกขั้นตอนการทอผ้า เรียนรู้และฝึกทักษะการทอผ้ากับผู้รู้และภูมิปัญญา และกำ� หนดให้นักเรียนและนักศึกษา แต่งกายมาเรียนดว้ ยชุดกะเหร่ยี ง (สกอร์) ทุกวันศกุ ร์ ผลการดำ� เนินงานพบวา่ นักเรยี นสามารถรวบรวมบนั ทึกและวาดภาพ ผา้ ทอได้ จำ� นวน 3 ลาย ได้แก่ กเิ๊ คถาหรแิ มะคลี (ลายรูปกรรไกรและดวงตา) กเิ๊ คโตกแมะคลี (ลายรปู สะพานและดวงตา) กเ๊ิ คตะชอเคอะ (ลายรปู ส่เี หล่ียมซ้อนกันหลายช้ัน) นอกจากน้ี นักเรยี นช้ันประถมปีที่ 5 - 6 และนกั ศกึ ษาระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ และมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถทอผ้าได้ จ�ำนวน 28 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 84.84 ทส่ี ำ� คัญนักเรยี นและนักศกึ ษา ทกุ คนแตง่ กายมาเรยี นดว้ ยชดุ กะเหรยี่ ง (สกอร)์ ทกุ วนั ศกุ ร์ นอกจากน้ี ยงั พบวา่ นกั เรยี นนกั ศกึ ษาสามารถนำ� ลายผา้ ทงั้ ลายเกา่ และลายใหม่มาผสมผสานเพอื่ เกดิ ผา้ ทอลายใหม่ เชน่ ก๊ิเคถาหริผสมกบั ลายดอกไม้ 22 วิทยาจารย์
แนวปฏิบัติทีด่ ีดา้ นอาชีพ เรื่อง “ผลติ ภัณฑ์ผา้ ทอ ปกาเกอะญอประยกุ ต์สรา้ งรายได้ ใหช้ มุ ชน” นางวราภรณ์ กันธะรักษา ครูศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ า้ หลวง” บา้ นซอแขว่ าคี หมทู่ ่ี 8 ต�ำบลแมส่ อง อ�ำเภอทา่ สองยาง จงั หวดั ตาก บา้ นซอแข่วาคี มีประชากร 252 คน เป็นชาวไทยภเู ขาเผา่ ปกาเกอะญอ อาชีพหลัก คือ การปลูกข้าวไร่ ข้าวนา ข้าวโพด และอ้อย หญิงชาว ปกาเกอะญอ จะทอผา้ เพอ่ื ใชท้ �ำเคร่อื งน่งุ หม่ นอกจากนี้ ยังมีอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้ คือการทอผ้าปกาเกอะญอ ผา้ พันคอปกาเกอะญอ และ ผา้ พันคอโปรง่ สง่ ให้แก่ร้านภูฟา้ สำ� นกั งานโครงการสว่ นพระองค์สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี แต่เน่ืองจากรายได้ไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย ในชีวิตประจ�ำวัน ครูและสมาชิกกลุ่มผู้ทอจึงร่วมกันวิเคราะห์หาแนวทางเพื่อเพิ่มรายได้ในครัวเรือน จากน้ันได้ประสานกับ เจ้าหน้าที่โครงการหลวง ๆ มาให้ความรู้เกี่ยวกับการประยุกต์ผ้าทอปกาเกอะญอแบบสมัยใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ กลมุ่ แมบ่ า้ นบา้ นซอแขว่ าคี สามารถทอผา้ แบบสมยั ใหม่ ผลติ และจำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑจ์ ากผา้ ทอได้ และสรา้ งรายไดเ้ สรมิ ใหแ้ ก่ ครอบครวั โดยมกี ลมุ่ เปา้ หมายคอื สมาชกิ กลมุ่ ทอผา้ ปกาเกอะญอ จำ� นวน 14 คน ผลการดำ� เนนิ งานพบวา่ สมาชกิ กลมุ่ ทอผา้ ปกาเกอะญอ จ�ำนวน 4 คน สามารถทอผ้าแบบสมัยใหม่ ซึ่งผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผ้าทอได้ โดยประยุกต์และ เพมิ่ ลวดลายรูปแบบทที่ ันสมยั ท�ำให้มคี นสนใจสวมใส่ชดุ ผา้ ทอกนั มากขึน้ โดยดูได้จากการส่งั สินค้าทางออนไลนท์ เี่ สนอขาย ผา่ นเฟซบุ๊กท�ำใหส้ มาชิกกล่มุ มรี ายไดเ้ สรมิ ให้แก่ครอบครวั เพมิ่ มากขนึ้ วทิ ยาจารย์ 23
นอกจากนี้ สำ� นกั งาน กศน. ยงั รว่ มจดั นทิ รรศการ : หวั ขอ้ กศน.เรยี นรนู้ วตั กรรม สร้างอาชีพเพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดี เน้ือหาที่น�ำเสนอเป็นเรื่องราวของ เด็ก ๆ ใน ศศช. บนพนื้ ทสี่ งู ทอ่ี ยหู่ า่ งไกลทรุ กนั ดาร การคมนาคมลำ� บาก ไกลจากโรงเรยี นและโรงพยาบาล ทำ� ใหข้ าดโอกาสและไมไ่ ด้รับการศึกษา ตอ่ มาเม่อื มคี รู ศศช. เข้ามาอยใู่ นพืน้ ท่ี เด็ก ๆ จึงได้รับความรู้ท้ังด้านการศึกษาและด้านอาชีพ เพื่อการด�ำรงชีพในชุมชน ผลิตภัณฑ์ และผลิตผลทีน่ �ำมาจัดในนิทรรศการ จะคัดเลอื กมาจากแนวปฏบิ ัตทิ ่ีดดี ้านการส่งเสริม อาชพี ทช่ี นะประกวดแนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ขี องสำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั เขา้ รว่ ม ไดแ้ ก่ การเลยี้ งแพะ การเพาะเห็ดหอม (แม่ฮ่องสอน) การปลูกกาแฟ ตามโครงการสร้างป่าสร้างรายได้ (เชียงใหม่) การทอผ้าผลิตภัณฑ์ผ้าทอปกากะญอ (ตาก) ซ่ึงเป็นผลท�ำให้ชุมชนและ เด็ก ๆ มีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน มีรายได้ในครัวเรือนเพิ่มข้ึน ตลอดจน น�ำเสนอผลงานของนกั เรียน ศศช. ที่ชนะเลิศการประกวดแขง่ ขันทักษะดา้ นอาชพี ของ นกั เรยี น ศศช. ระดบั อนบุ าล สง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ โดยการนำ� วสั ดตุ า่ ง ๆ ทสี่ ามารถ นำ� มาปัน้ เป็นชน้ิ งาน อาทิ พวงกญุ แจของทรี่ ะลึก กระปุกออมสนิ ฯลฯ เพอ่ื สรา้ งรายได้ และพัฒนาตอ่ ยอดให้แกต่ นเองและครอบครัวต่อไป และ “การสรา้ งสรรค์ส่ิงประดิษฐ”์ การปัน้ ดนิ น�ำ้ มัน ตามเนื้อเรือ่ ง “ความสขุ ทีบ่ ้านเรา” โอกาสน้ี ครู ศศช.ที่ชนะเลิศแนวปฏิบัติท่ีดี จ�ำนวน 6 ราย นักเรียน ศศช. ท่ีประกวดการแข่งขันทักษะภาษาไทย จ�ำนวน 5 ราย และนักเรียน ศศช. ที่ประกวด การแข่งขันทักษะทักษะด้านอาชีพ จ�ำนวน 15 ราย ได้เข้ารับพระราชทานเกียรติบัตร จากสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เพือ่ เป็นขวญั ก�ำลงั ใจในการปฏิบตั งิ านตามแนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ตี อ่ ไปอยา่ งตอ่ เน่ืองอีกดว้ ย 24 วิทยาจารย์
Knowledge All Around ดร.กติ ติ์กาญจน์ ปฏพิ นั ธ์ แหล่งเรยี นรู้ นวตั กรรมดิจิทัลสำ� หรบั ผสู้ ูงอายุ KVC - Cisco Innovation Center ปรากฏการณท์ ส่ี ำ� คัญ ระบบไอทเี ชงิ สรา้ งสรรค์ (Creative IT) ท่ปี ระกอบ ทกั ษะทสี่ ำ� คญั และจำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ ในศตวรรษท่ี 21 ไปด้วย การสอนเชิงสร้างสรรค์ การเรยี นเชงิ สร้างสรรค์ และ (21st Century Skills) คอื ทกั ษะแหง่ การเรยี นรแู้ ละนวตั กรรม แหลง่ เรยี นรเู้ ชงิ สรา้ งสรรค์ นำ� มาบรหิ ารจดั การเรยี นการสอน การคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์ใสใ่ จนวตั กรรมมวี จิ ารณญาณแกป้ ญั หา สาขาไอที วทิ ยาลยั อาชีวศึกษา (วอศ.) ขอนแกน่ ส่งผลให้ อย่างสร้างสรรค์ สือ่ สารดี มจี ติ อาสา ทักษะดา้ นเทคโนโลยี ผเู้ รยี นมคี วามสขุ ในการเรยี นรู้มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทด่ี ขี น้ึ สารสนเทศ ทักษะชีวิตและอาชีพ ที่มีความยืดหยุ่น ริเริ่ม ออกแบบและพัฒนาแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีเฉพาะทาง ฯ สงิ่ ใหม่ ๆ อยเู่ สมอ การขับเคลือ่ นประเทศสูไ่ ทยแลนด์ 4.0 จนสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอที) วอศ. ขอนแก่น เป็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศ เปน็ แหลง่ เรยี นรเู้ ทคโนโลยเี ฉพาะทางดา้ นดจิ ทิ ลั ทมี่ มี าตรฐาน ทห่ี ลากหลายมติ ิใหห้ ลดุ พน้ กบั ดกั ประเทศทม่ี รี ายไดป้ านกลาง ได้รับรางวัลเหรียญทองชนะเลิศระดับชาติ มากท่ีสุด ด้วยนวัตกรรม และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ท่ีมีวิสัยทัศน์ ในประเทศไทย การพัฒนาอย่างต่อเนื่องก้าวต่อไปคือ เป็นประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศ การต่อยอดและพัฒนาการเรียนการสอน และแหล่งเรียนรู้ ท่พี ฒั นาแล้ว วทิ ยาจารย์ 25
เทคโนโลยเี ฉพาะทางสกู่ ารบม่ เพาะนวตั กรและผลติ พลกิ ผันมาสร้างสรรค์ นวตั กรรม กอ่ เกดิ KVC - Cisco Innovation Center แนวความคดิ ในการออกแบบ มาจากการออกแบบ ซ่ึงเป็นศูนย์นวัตกรรมท่ีมีวิสัยทัศน์คือ เป็นผู้น�ำ และพฒั นาสถานทเี่ รยี นรเู้ ทคโนโลยเี ฉพาะทาง ทมี่ กี ระบวนการ ด้านดิจิทัลและนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ มีภารกิจ ในการพัฒนาทั้ง 4 องค์ประกอบคือ 1) ด้านการจัดสภาพ คอื พฒั นานวตั กรผลติ นวตั กรรมสรา้ งบคุ ลากรใหเ้ ปน็ แวดลอ้ ม 2) ดา้ นการใชท้ รพั ยากรสนบั สนนุ 3) ดา้ นกระบวนการ ผนู้ ำ� ดา้ นความคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์ ศนู ยน์ วตั กรรม ฯ และ 4) ดา้ นผลสมั ฤทธขิ์ องผูเ้ รยี น โดยองค์ประกอบในการ ประกอบไปดว้ ยผลผลติ ของผเู้ รยี นและผสู้ อน ดงั นี้ พัฒนานี้อ้างอิงแนวคิดการประเมินของสตัฟเฟิลบีม Smart Pharmacy Cabinet (เครอ่ื งแจง้ เตอื นการจา่ ยยา (Stufflebeam’s CIPP Model) ซ่ึงเป็นทฤษฎีการประเมิน อตั โนมัต)ิ และ Smart Aging Care (ระบบจดจำ� ทเี่ ปน็ สากล ในปจั จบุ นั เรยี กกนั ยอ่ ๆ วา่ CIPP Model ประกอบ ใบหนา้ และสง่ั การดว้ ยเสยี ง) Healthy Aging Care ไปดว้ ย 1) ด้านบริบทหรอื สภาวะแวดลอ้ ม (Content : C) (นวตั กรรมอาหารสำ� หรบั ผสู้ งู อายุ : กอ้ ยคว่ั สะดงิ้ 2) ด้านปัจจัยเบื้องต้นหรือปัจจัยป้อน (Input : I) 3) ด้าน และคกุ กส้ี ะดิง้ ) และ Smart Food อาหารอจั ฉริยะ กระบวนการ (Process : P) และ 4) ดา้ นผลผลติ (Product : P) ท่ีผ่านการสกดั และแปรรูปอย่างมีคณุ ภาพ โดยใน ในการพฒั นาสถานทเี่ รยี นรเู้ ทคโนโลยเี ฉพาะทางอาชวี ศกึ ษา อนาคตอันใกล้น้ีจะมีการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ เปน็ กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาสงั กดั สำ� นกั งาน นวัตกรรมดิจิทัลใหม่ ๆ และเพ่ือการเรียนรู้เชิง คณะกรรมการการอาชีวศึกษาทุกแห่ง ได้จัดสถานท่ีเรียนรู้ นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์และช่วยเหลือ หรือสถานท่ีส�ำหรับการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ มีการเผยแพร่ ผู้สูงอายทุ ีม่ ปี รมิ าณเพ่ิมขน้ึ เรือ่ ย ๆ ผลงานนวัตกรรมด้านปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อผู้เรียนท้ังใน สถานศกึ ษา และนอกสถานศกึ ษา รวมทงั้ ประชาชนไดเ้ ขา้ ถงึ 26 วทิ ยาจารย์ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต (Life long Learning) สง่ เสรมิ ใหม้ กี าร
พฒั นาอาคารสถานทห่ี อ้ งเรยี น หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โรงฝึกงาน Creative Web Design ประจ�ำปี 2559 แหล่งเรียนรู้ ให้เหมาะสมต่อการเรียนรู้ ท้ังด้านบรรยากาศความสะอาด เทคโนโลยีเฉพาะทาง ฯ Mobile Application รางวัล และศกึ ษาคน้ ควา้ ไดด้ ว้ ยตนเอง (Self Learner) และสง่ เสรมิ เหรียญทอง ระดับชาติ ประจ�ำปี 2558 แหล่งเรียนรู้ ให้มีการพัฒนาอุปกรณ์เคร่ืองมือเคร่ืองจักรท่ีได้รับ เทคโนโลยเี ฉพาะทาง ฯ MultimediaandDigitalContent การสนบั สนนุ จากภาคเอกชนหรอื จากงบประมาณเพอ่ื ขยายผล และ ประจำ� ปี 2560 แหลง่ เรยี นรเู้ ทคโนโลยเี ฉพาะทาง ฯ ใหเ้ ปน็ สถานทสี่ ำ� หรบั การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นทกุ ระดบั โดยมี Animation and Digital Content องคป์ ระกอบในการเรยี นรคู้ รบถว้ นตามหลกั การใหก้ ารเรยี นรู้ ปัจจัยที่เก้ือหนุนสู่ความส�ำเร็จ นอกจากพลัง (Learning How to Learn) และสถานศกึ ษาเปน็ แหลง่ เรยี นรู้ แห่งทีมงานเชิงสร้างสรรค์ของบุคลากรครูและผู้เรียน ของสงั คม (Learning College) ในการออกแบบและพฒั นา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความมุ่งม่ัน ทุ่มเท เปน็ ไปอยา่ งมรี ะบบ เปน็ ขน้ั ตอนทงั้ ระยะสนั้ และระยะยาว เสียสละ เอาจริงเอาจังแล้ว ส่ิงส�ำคัญท่ีขาดมิได้คือ โดยอิงหลักคิด หลักสูตรและหลักสากล ส่งผลให้มีรางวัล การอำ� นวยความสะดวก การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ จาก ระดบั ชาตมิ ากมายอาทิ รางวลั ชนะเลศิ เหรยี ญทอง ระดบั ชาติ คณะผบู้ รหิ ารวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาขอนแกน่ นบั เปน็ ความ ประจ�ำปี 2557 แหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีเฉพาะทาง ฯ โชคดีขององค์กรที่มีผู้บริหารท่ีมีวิสัยทัศน์ มีความคิด สรา้ งสรรค์ เหน็ คณุ คา่ และตระหนกั ในการทำ� งานเปน็ ทมี น�ำไปสู่การผสานความร่วมมือทางวิชาการกับ สถานประกอบการชั้นนำ� ของโลก วอศ. ขอนแกน่ และ บริษัท ซสิ โก้ ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกดั ไดจ้ ับมือกัน จดั การศกึ ษารว่ มกนั โดยศนู ยน์ วตั กรรม ฯ จะมงุ่ เนน้ ผลติ ผู้เรียนให้เป็นนวัตกรและบ่มเพาะนวัตกรรมด้านดิจิทัล ดว้ ยการสนบั สนนุ งบประมาณวสั ดอุ ปุ กรณ์ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ความเร็วสูง และการบ่มเพาะนวัตกรด้วยผู้เช่ียวชาญ เฉพาะด้าน จากบริษัท ฯ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ในยุคดิจิทัลท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว รวมทั้งสร้างสังคม ผสู้ งู อายใุ หน้ า่ อยู่มคี ณุ คา่ เขม้ แขง็ ยงั่ ยนื โดยยดึ หลกั 5 จ. คือเปิดใจ จริงใจ ใส่ใจ ตั้งใจ และไว้วางใจ ซ่ึงจะมี รายละเอยี ดดังน้ี วิทยาจารย์ 27
เปดิ ใจ การคดิ และมองอยา่ งยดื หยนุ่ เปดิ ตา เปดิ ใจ แบบอย่างแห่งความภาคภูมใิ จ รับรู้ เรียนรูส้ ่ิงใหม่ ๆ เป็นเสมือนน�ำ้ ท่ไี ม่เตม็ แก้ว การประสบความส�ำเร็จอย่างต่อเน่ือง จรงิ ใจ การมคี วามจรงิ ใจ มสี จั จะ วาจา ตรงไปตรงมา สะทอ้ นถงึ การบรหิ ารการจดั การเรยี นการสอนอยา่ ง ไม่เอารัดเอาเปรยี บซงึ่ กนั และกัน มคี ณุ ภาพ ตอกยำ้� ความเชอื่ ทพ่ี สิ จู นแ์ ลว้ วา่ การจดั ใส่ใจ การใส่พลังพเิ ศษในการทำ� งาน ไม่ใชท่ ำ� ตาม การศึกษาที่มีแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีเฉพาะทาง หนา้ ที่ ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั น�ำส่คู วามสำ� เรจ็ ดา้ นดจิ ทิ ลั และดา้ นนวตั กรรมเปน็ เปา้ หมายทส่ี ำ� คญั ต้ังใจ การมุ่งม่ันตั้งใจท�ำงานร่วมกัน ไม่ย่อท้อ เป็นแรงขับเคล่ือนท่ีมีประสิทธิภาพส�ำหรับ ต่ออุปสรรค การพฒั นาคนสกู่ ารพฒั นาประเทศชาตอิ ยา่ งยงั่ ยนื ไว้วางใจ การไว้เน้ือเชื่อใจกันและกันโดยพ้ืนฐาน ตอบสนองการท่ีจะท�ำให้รายได้ของประชากร มาจากความซื่อสัตย์ ในประเทศกา้ วพนั กบั ดกั รายไดป้ านกลางดว้ ยหลกั คดิ ผลจากการพัฒนาสถานท่ีเรียนรู้เทคโนโลยี และหลกั การทีเ่ ปน็ หลักสากลอยา่ งแท้จรงิ เฉพาะทางดา้ นดจิ ทิ ลั และการรว่ มมอื กบั สถานประกอบการ ดา้ นดิจิทัลชั้นน�ำ ของโลก โดยมีเป้าหมาย คอื ประเทศชาติ และผู้เรียน น�ำไปสู่การเปิดศูนย์บ่มเพาะนวัตกร ที่ชื่อว่า KVC - Cisco Innovation Center 28 วิทยาจารย์
การศกึ ษารอบทิศ ดรุวรรณ บุญมาก คณะอนุกรรมการวสิ ามัญ (อ.ก.ค.ศ. วิสามัญ) ซ่ึงทำ� การแทน ก.ค.ศ. ตอ่ เนอื่ งจากฉบบั ทแ่ี ลว้ ทเี่ สนอเรอ่ื งระบบการบรหิ ารงานของ ก.ค.ศ. วา่ ก.ค.ศ. มีระบบการบริหารงานโดยการกระจายอ�ำนาจไปยังองค์คณะต่าง ๆ 3 ระดับ ได้แก่ อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั กศจ./อ.ก.ค.ศ.ท่ี ก.ค.ศ. ตัง้ ในส่วนราชการ และ อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั เฉพาะกจิ ฯ ฉบบั น้ีจะน�ำเรื่องของคณะกรรมการที่ ก.ค.ศ. ต้งั ข้ึนมาเพื่อช่วยพจิ ารณา เรือ่ งต่าง ๆ แทน ก.ค.ศ. วิทยาจารย์ 29
พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการครแู ละ 1 อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั เกยี่ วกบั การพฒั นานโยบายและ บคุ ลากรทางการศกึ ษาพ.ศ.2547และทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ มาตรา 17 ก�ำหนดให้ ก.ค.ศ. มีอ�ำนาจต้ัง ระบบบริหารงานบุคคล ท�ำหน้าท่ีพิจารณาเรื่องที่เกี่ยวข้อง คณะอนกุ รรมการวสิ ามญั เรยี กโดยยอ่ วา่ “อ.ก.ค.ศ. กบั การจดั ทำ� รา่ ง กฎ ระเบยี บ หลกั เกณฑ์ ขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั วิสามัญ” เพื่อท�ำการใด ๆ แทน ก.ค.ศ. หรือ การบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากร ทำ� หนา้ ทเ่ี ชน่ เดยี วกบั คณะอนกุ รรมการอน่ื ทก่ี ำ� หนด ทางการศกึ ษา ในเรอ่ื งการกำ� หนดเกณฑอ์ ตั รากำ� ลงั เงอื่ นไข ตามพระราชบญั ญตั นิ …ี้ การจ้างเพื่อบรรจุและแต่งต้ังบุคคลเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ประกอบกับค�ำส่ังหัวหน้าคณะรักษา ในตำ� แหนง่ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาในหนว่ ยงาน ความสงบแห่งชาติที่ 16/2560 เรื่อง การบริหาร การศกึ ษา การสรรหาบคุ คลเขา้ รบั ราชการรวมทง้ั การกำ� หนด งานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา อตั ราเงนิ เดอื น คา่ ตอบแทน พจิ ารณารบั รองวฒุ ิ และพจิ ารณา ลงวันที่ 21 มีนาคม 2560 ข้อ 5 กำ� หนดให้ ก.ค.ศ. การดำ� เนนิ การตามมาตรการบรหิ ารและพฒั นากำ� ลงั คนภาครฐั มอี ำ� นาจตง้ั อ.ก.ค.ศ.วสิ ามญั เพอื่ ทำ� การใด ๆ แทน ก.ค.ศ. ดังนี้ 2 อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั เกย่ี วกบั การเสรมิ สรา้ งและพฒั นา อออ...กกก...คคค...ศศศ... แ วววสิลสิสิ าะาามบมมญั ุคญัญั ลเเกเากกย่ี ก่ียย่ี วรววกทกกบั าับบักงวกฎกนิ าหายัรรมอแศาุทลกึยธะษแรกลาณาะรร์แะอลเอบะกยีกจบาารขกรา้ ้อรราางชชทกกกุ าาขรร์ ครู ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั ริ าชการของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร นอกจาก อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั ตามวรรคหนง่ึ ทางการศึกษา ท�ำหนา้ ทีใ่ นการพจิ ารณาเรือ่ งทเ่ี กี่ยวข้องกับ ก.ค.ศ. อาจแตง่ ตงั้ อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั อน่ื เพอ่ื ทำ� การ การปรบั ปรงุ อตั ราเงนิ เดอื น เงนิ วทิ ยฐานะ เงนิ ประจำ� ตำ� แหนง่ ใด ๆ แทน ก.ค.ศ. หรือท�ำหน้าที่เช่นเดียวกับ เงินเพ่ิมค่าครองชีพ สวัสดิการ จัดท�ำและพัฒนาร่างกฎ คณะอนกุ รรมการอนื่ ทก่ี ำ� หนดตามกฎหมายวา่ ดว้ ย ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการประเมินผล ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การปฏิบัติงาน การประเมินเลื่อนเงินเดือน เงินเพิ่มส�ำหรับ กไ็ ด้ ตำ� แหนง่ ทม่ี เี หตพุ เิ ศษมาตรการใหก้ ารเสรมิ สรา้ งวนิ ยั คณุ ธรรม จากกฎหมาย 2 ฉบับดังกล่าวข้างต้น และจริยธรรม ขวัญก�ำลังใจ และการยกย่องเชิดชูเกียรติ ทีก่ ำ� หนดให้ ก.ค.ศ. มีอ�ำนาจตง้ั อ.ก.ค.ศ. วิสามัญ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เพอ่ื ทำ� การใด ๆ แทน ก.ค.ศ. ได้ ดงั นนั้ ก.ค.ศ. จงึ ได้ ตั้ง อ.ก.ค.ศ. วิสามัญ เพ่ือท�ำการแทน ก.ค.ศ. 3 อ.ก.ค.ศ.วสิ ามญั เกยี่ วกบั เขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ ในการพจิ ารณาเรอ่ื งทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การบรหิ ารงาน บคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จังหวัดชายแดนภาคใต้ ท�ำหน้าท่ีในการบริหารงานบุคคล จำ� นวน 11 คณะ ซ่ึงมอี ำ� นาจหน้าที่ ดงั น้ี ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ นอกเหนือจากหลักเกณฑใ์ นพืน้ ทปี่ กติ 4 อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับต�ำแหน่งข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ทำ� หนา้ ทพี่ จิ ารณากำ� หนดกรอบ อัตราก�ำลงั ก�ำหนดต�ำแหน่ง การบรรจุและแต่งตงั้ การยา้ ย การเปลยี่ นตำ� แหนง่ เลอื่ นตำ� แหนง่ และระดบั ตำ� แหนง่ บรรจุ กลับผู้ออกจากราชการไปแล้ว การตัดโอนต�ำแหน่งและ อตั ราเงนิ เดอื น ของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 30 วิทยาจารย์
5 อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั เก่ยี วกับวทิ ยฐานะขา้ ราชการครู 9 อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเก่ียวกับการอุทธรณ์และ และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทำ� หนา้ ทพี่ จิ ารณาการใหข้ า้ ราชการครู การรอ้ งทกุ ข์ทำ� หนา้ ทพี่ จิ ารณาเรอื่ งการอทุ ธรณแ์ ละการรอ้ งทกุ ข์ และบุคลากรทางการศึกษามีหรือเล่ือนวิทยฐานะ จัดท�ำ เก่ียวกับการลงโทษทางวินัยและการออกจากราชการของ และพัฒนากฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการเก่ียวกับ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และพิจารณา การประเมนิ วทิ ยฐานะขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา การร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กรณีท่ีเหน็ วา่ กศจ. หรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตัง้ กระท�ำการ 6 อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับต�ำแหน่งบุคลากร มมี ตขิ ดั หรอื แยง้ กบั กฎหมายกฎระเบยี บขอ้ บงั คบั หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการที่ ก.ค.ศ. ก�ำหนด ทางการศกึ ษาอนื่ ตามมาตรา 38 ค. (2) พจิ ารณาดำ� เนนิ การ เกยี่ วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลของตำ� แหนง่ บคุ ลากรทางการศกึ ษา 10 อ.ก.ค.ศ.วสิ ามญั เกยี่ วกบั การรอ้ งทกุ ข์และการรอ้ งเรยี น อน่ื ตามมาตรา 38 ค.(2) และเสนอ ก.ค.ศ. พจิ ารณา ขอความเป็นธรรมเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลของ 7 อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ทำ� หนา้ ทพี่ จิ ารณา ตรวจสอบข้อเท็จจริงในเรื่องการร้องทุกข์ หรือการร้องเรียน ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา มหี น้าทพ่ี จิ ารณา ขอความเปน็ ธรรมเกย่ี วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครู จดั ทำ� และพฒั นารา่ งกฎหมายกฎก.ค.ศ.และระเบยี บเกยี่ วกบั และบุคลากรทางการศึกษา ย่ืนต่อ ก.ค.ศ. กรณีที่พบว่า การบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สว่ นราชการ หรอื หนว่ ยงานการศกึ ษา คณะอนกุ รรมการ หรอื พิจารณาวินิจฉัย ตีความปัญหาที่เกิดขึ้นเน่ืองจาก ผู้มีหน้าท่ีปฏิบัติตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู การบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและ และบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติการหรือมีมติไม่ถูกต้อง บุคลากรทางการศึกษา รวมท้ังให้ค�ำปรึกษาและพิจารณา ไมเ่ หมาะสม หรอื ปฏบิ ตั กิ ารโดยขดั หรอื แยง้ กบั กฎหมาย กฎ ตอบขอ้ หารือในประเด็นปัญหาเกย่ี วกับกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์และวธิ ีการที่ ก.ค.ศ. ก�ำหนด 8 อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับวินัยและการออกจาก 11 อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั เกย่ี วกับการก�ำกบั ตดิ ตามและ ราชการ ทำ� หนา้ ทพ่ี จิ ารณาเรอื่ งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การดำ� เนนิ การ ประเมินผลการบริหารงานบุคคล ท�ำหน้าท่ี เสนอ ก.ค.ศ. ทางวนิ ยั และการออกจากราชการและการรายงานการดำ� เนนิ การ ในการวางระบบและกลไกการตรวจตดิ ตามและประเมนิ ผล ทางวินัยและการออกจากราชการของส่วนราชการและ การบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา หนว่ ยงานการศึกษา ตรวจสอบเพื่อให้ส่วนราชการ หน่วยงานการศึกษา กศจ. อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ. ตง้ั และองค์คณะบคุ คลท่มี หี น้าทปี่ ฏิบตั ิ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบตั ิตามมติของ ก.ค.ศ. และ กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ออกระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับ การรายงานการบริหารงานบุคคลส�ำหรับข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งจัดท�ำระบบทะเบียนประวัติ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา วทิ ยาจารย์ 31
จากการที่ก.ค.ศ. ไดต้ งั้ อ.ก.ค.ศ.วสิ ามญั จำ� นวน11คณะทำ� การแทน ก.ค.ศ. ซงึ่ มอี ำ� นาจหนา้ ทตี่ า่ ง ๆ ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาแลว้ นนั้ อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั คณะตา่ ง ๆ ยงั สามารถ ตง้ั อ.ก.ค.ศ.วสิ ามญั เฉพาะกจิ ฯ เพอื่ ทำ� หนา้ ทพี่ จิ ารณา กลน่ั กรอง เรอื่ งตา่ ง ๆ กอ่ นนำ� เสนอขอความเหน็ ชอบตอ่ อ.ก.ค.ศ.วสิ ามญั อกี ชนั้ หนงึ่ ได้โดยในขณะนี้ มี อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเฉพาะกิจ ที่ท�ำหน้าที่พิจารณากลั่นกรองเร่ืองต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จ�ำนวนกวา่ 100 คณะ ส�ำหรับการพิจารณาต้ังบุคคลเพ่ือเข้ามาท�ำหน้าที่ใน อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั เฉพาะกจิ หรอื อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั นน้ั ก.ค.ศ. จะตง้ั บคุ คลทม่ี คี วามรู้ ความสามารถในเร่ืองนั้น ๆ เข้ามาท�ำหน้าที่ประธาน และอนุกรรมการ โดยในแต่ละคณะจะประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา ผแู้ ทนสว่ นราชการ ผแู้ ทนขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทเี่ กยี่ วขอ้ ง และมีเจ้าหน้าท่ีสำ� นักงาน ก.ค.ศ. ทำ� หนา้ ท่ฝี ่ายเลขานุการของคณะตา่ ง ๆ และในการประชุมเพื่อพิจารณาเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จะต้องมีการนัดประชุม เพอื่ ใหอ้ งคป์ ระชมุ ครบทง้ั องคป์ ระกอบของคณะกรรมการ และองคป์ ระชมุ เกนิ กวา่ กง่ึ หนง่ึ ของคณะกรรมการทง้ั หมดเพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทร่ี อบคอบรอบดา้ น กอ่ นน�ำเสนอ ก.ค.ศ. พิจารณาและมมี ติในล�ำดับสดุ ทา้ ย อยา่ งไรกต็ าม ในมมุ มองของบคุ คลภายนอก และผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ได้สะท้อนความคิดเห็นกลับมายังส�ำนักงาน ก.ค.ศ. ว่า หลักเกณฑ์และ วธิ กี ารเกย่ี วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ที่ก.ค.ศ.กำ� หนดมกี ารเปลย่ี นแปลงบอ่ ยทำ� ใหก้ ารปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑแ์ ละ วธิ กี ารนนั้ เกดิ ปญั หาอปุ สรรคจนนำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ทิ ไี่ มเ่ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ และวิธีการที่ ก.ค.ศ. ก�ำหนด ซึ่งในความเป็นจริง การก�ำหนดหลักเกณฑ์ และวธิ ีการบริหารงานบคุ คลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา จะมาจากเหตุปัจจัย 2 ประการ คอื นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร และ สภาวการณ์ในขณะน้ัน ทั้งน้ี การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ น้ัน ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องและ ก.ค.ศ. ต่างก็มีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ การเสริมสร้าง ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั งิ านใหก้ บั ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพอ่ื สง่ ผลตอ่ ผเู้ รยี น และระบบการศกึ ษาของประเทศ ใหม้ กี ารพฒั นากา้ วหนา้ ทัดเทยี มกับนานาอารยประเทศนน่ั เอง ในฉบับท่ีผ่านมา และฉบับน้ี หวังว่าผู้อ่านทุกท่านจะได้รับทราบ ถงึ กระบวนการบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา โดย ก.ค.ศ. และสำ� นักงาน ก.ค.ศ. ท่ีกระจ่างชัดเจนขึน้ 32 วทิ ยาจารย์
Open Eyes ดร.วเิ ชยี ร เกตุสิงห์ คะแนนสอบ O-NET ตำ�่ ความรู้น้อย หรอื ขอ้ สอบยาก การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ สำ� หรบั การสอบ O-NET ซงึ่ เปน็ การทดสอบรวบยอด ข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) มีวัตถุประสงค์หลัก เพ่ือ ปลายชว่ งชนั้ ที่ 2 - 4 ของการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน คือ ชัน้ ป.6 ตรวจสอบมาตรฐานด้านคุณภาพการศึกษา ม.3 และ ม.6 ช่วงแรกมีการทดสอบครบท้ัง 8 สาระวิชา ขั้นพื้นฐานของประเทศ โดยมีสถาบันทดสอบ จนกระทง่ั ในปี 2558 ลดเหลอื 5 วชิ า คอื ภาษาไทย สงั คมศกึ ษา ฯ ทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) เปน็ หนว่ ย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ยกเว้น ทรี่ บั ผดิ ชอบในการดำ� เนนิ งานกอ่ ตงั้ เมอื่ ปีพ.ศ.2548 ในปี 2560 ไมม่ กี ารสอบวชิ าสงั คมศกึ ษา ฯ ในชน้ั ป.6 และ ม.3) โดยรับช่วงการสอบเข้ามหาวิทยาลัย (การสอบ และผลการสอบ O-NET ดังกล่าวได้รับการยอมรับว่า Entrance ท่ีใช้ข้อสอบ O-NET และ A-NET) เปน็ ตวั บง่ ชค้ี ณุ ภาพของการศกึ ษาแตล่ ะระดบั ไดด้ พี อสมควร ซงึ่ เปน็ การทดสอบหลงั จบชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในดา้ นความรตู้ ามหลกั สตู รของแตล่ ะระดบั มาด�ำเนินการต่อ ภายหลังมีการทดสอบเพ่ิม จึงกล่าวได้ว่าผลการทดสอบ O-NET เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพ ในระดบั ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ดว้ ย การศกึ ษาท่ไี ดร้ ับการยอมรับจากสังคมมากในปจั จบุ ัน และในปจั จบุ นั มกี ารพฒั นาการทดสอบ จนมกี าร สอบตา่ ง ๆ มากมาย ทส่ี ำ� คญั เชน่ การสอบ GAT วิทยาจารย์ 33 PAT V-NET I-NET N-NET B-NET และ การทดสอบสมรรถนะครู เป็นตน้
ประเดน็ ทจี่ ะกลา่ วถงึ ในทนี่ อ้ี ยทู่ กี่ ารนำ� ผลการทดสอบ ผลการทดสอบวชิ านน้ั ๆ ยงั ไมไ่ ดม้ าตรฐานหรอื ยงั ไมน่ า่ พอใจ ไปใช้ประโยชน์ โดยเร่ิมต้นจากการแปลความหมายของ ดูเผิน ๆ ก็เหมือนว่าการสรุปเช่นนั้นมีความเหมาะสมแล้ว ผลการทดสอบ ซ่ึงก็คือ คะแนนท่ีได้จากการทดสอบนัน่ เอง แตใ่ นความเปน็ จรงิ การทผ่ี ลการทดสอบจะไดค้ ะแนนเทา่ ไร ในภาพรวมของการแปลความหมายมกั จะดจู ากคะแนนเฉลย่ี นน้ั ขนึ้ อยู่กับสองเรื่อง คอื 1) ความร้ใู นวิชาทท่ี ดสอบมีมาก เปรยี บเทยี บกบั คะแนนเตม็ ของแตล่ ะวชิ า และเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจ หรอื นอ้ ย และ 2) ขอ้ สอบทใี่ ชส้ อบยากหรอื งา่ ยเพยี งใด ดงั นน้ั งา่ ยข้ึนก็ใช้วิธแี ปลงเป็นร้อยละ ในกรณขี องคะแนน O-NET ตามหลกั แลว้ กอ่ นทจี่ ะแปลความหมายคะแนน ตอ้ งพจิ ารณา แต่ละวิชาใชค้ ะแนนเต็มเทา่ กบั 100 คะแนน ดงั น้นั คะแนน ระดบั ความยากของขอ้ สอบในแบบทดสอบทใ่ี ชใ้ นการทดสอบ ทไี่ ดก้ ค็ อื รอ้ ยละนนั่ เองการแปลความหมายจงึ ดจู ากคะแนนเฉลย่ี ด้วย ไดเ้ ลย ประเดน็ สำ� คญั ของเรอ่ื งนจี้ งึ อยทู่ วี่ า่ คะแนนเฉลย่ี เทา่ ไร ถา้ น�ำผลการทดสอบทางการระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน จงึ จะเปน็ ทนี่ า่ พอใจ (หรอื บางทา่ นอาจเรยี กวา่ “ไดม้ าตรฐาน”) (O-NET) ท่ีทดสอบนักเรียนทั่วประเทศในช่วงเจ็ดที่ผ่านมา โดยทวั่ ไปกม็ กั จะยดึ เอาครง่ึ หนงึ่ ของคะแนนเตม็ หรอื รอ้ ยละ50 คือต้ังแต่ ปี 2554 - 2560 ทั้งสามระดับ ใน 5 รายวิชา เปน็ ระดบั ทน่ี า่ พอใจหรอื ไดม้ าตรฐานกลา่ วคอื ถา้ ผลการทดสอบ มาพิจารณาประกอบกับระดับความยากของข้อสอบ ไดค้ ะแนนเฉลย่ี ไมถ่ งึ 50 คะแนน หรอื รอ้ ยละ 50 กม็ กั จะสรปุ วา่ ในแบบทดสอบท่ีใช้สอบในแตล่ ะปี จะปรากฏดงั น้ี 34 วทิ ยาจารย์
ตารางแสดงคา่ ความยากเฉล่ยี ของขอ้ สอบและคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ในแตล่ ะวชิ า ในการทดสอบนกั เรียนชน้ั ป.6 ม.3 และ ม.6 ในปี 2554 - 2560 ชน้ั วชิ า รายการ 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 เฉล่ีย ภาษาไทย ความยาก 0.49 0.43 0.46 0.45 0.48 0.51 0.45 0.47 ค่าเฉลยี่ 50.04 45.68 45.02 44.88 49.33 51.20 44.89 47.29 สงั คมศกึ ษา ฯ ความยาก 0.55 0.44 0.38 0.50 0.49 0.45 ไมม่ สี อบ 0.47 ค่าเฉลี่ย 52.22 44.22 38.31 50.67 49.18 45.33 ไมม่ สี อบ 46.66 ภาษาอังกฤษ ความยาก 0.41 0.37 0.33 0.35 0.39 0.34 0.35 0.36 คา่ เฉล่ีย 38.37 36.99 33.82 36.02 40.31 33.8 35.28 36.37 ป.6 คณติ ศาสตร์ ความยาก 0.52 0.42 0.44 0.41 0.47 0.44 0.45 0.45 ค่าเฉล่ีย 52.4 35.77 41.95 38.06 43.47 39.1 35.86 40.94 วิทยาศาสตร์ ความยาก 0.36 0.37 0.37 0.42 0.42 0.39 0.39 0.39 คา่ เฉล่ยี 40.82 37.46 37.4 42.13 42.59 40.38 38.16 39.85 ภาษาไทย ความยาก 0.49 0.43 0.41 0.33 0.43 0.46 0.48 0.43 ค่าเฉล่ยี 48.11 54.48 44.25 35.2 42.64 45.91 47.81 45.49 สังคมศึกษา ฯ ความยาก 0.43 0.47 0.39 0.47 0.46 0.49 ไมม่ สี อบ 0.45 คา่ เฉลี่ย 42.73 47.12 39.37 46.79 46.24 48.52 ไมม่ สี อบ 45.13 ภาษาอังกฤษ ความยาก 0.30 0.29 0.30 0.27 0.30 0.28 0.3 0.29 คา่ เฉล่ีย 30.49 28.71 30.35 27.46 30.54 31.6 30.31 29.92 ม.3 คณติ ศาสตร ์ ความยาก 0.34 0.31 0.29 0.35 0.38 0.34 0.3 0.33 ค่าเฉลีย่ 32.08 26.95 25.45 29.65 32.4 29.02 26.02 28.80 วิทยาศาสตร์ ความยาก 0.38 0.34 0.36 0.38 0.37 0.35 0.32 0.36 คา่ เฉล่ีย 32.19 35.37 37.95 36.62 37.63 34.79 32.09 35.23 ภาษาไทย ความยาก 0.39 0.47 0.49 0.49 0.49 0.50 0.48 0.47 ค่าเฉล่ีย 41.88 47.19 49.26 50.76 49.36 52.12 49.11 48.53 สงั คมศึกษา ฯ ความยาก 0.31 0.34 0.29 0.35 0.36 0.33 0.31 0.33 คา่ เฉล่ีย 33.39 36.27 33.02 36.53 39.71 35.82 34.64 35.63 ภาษาอังกฤษ ความยาก 0.26 0.25 0.26 0.27 0.28 0.28 0.28 0.27 ม.6 คา่ เฉล่ยี 21.8 22.13 25.35 23.44 24.98 27.71 28.27 24.81 คณิตศาสตร ์ ความยาก 0.26 0.25 0.23 0.25 0.30 0.28 0.27 0.26 ค่าเฉล่ยี 22.73 22.73 20.48 21.74 26.59 24.81 24.46 23.36 วทิ ยาศาสตร ์ ความยาก 0.28 0.33 0.20 0.35 0.31 0.30 0.27 0.29 ค่าเฉล่ยี 27.9 33.1 30.48 32.54 33.4 31.56 29.32 31.19 ทมี่ า : สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) วทิ ยาจารย์ 35
จากตารางขา้ งตน้ ซง่ึ แสดงคา่ ความยาก - งา่ ย (หรอื ถา้ พจิ ารณาคา่ ความยากของแบบทดสอบทใี่ ชส้ อบ เรยี กสน้ั ๆ วา่ “ความยาก”) ของขอ้ สอบในแบบทดสอบแตล่ ะ โดยรวมของการสอบ โดยพิจารณาจากค่าความยากเฉล่ีย วิชาโดยเฉลี่ย และคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนที่เข้าสอบ ของแบบทดสอบแตล่ ะวชิ าทใ่ี ชส้ อบในชว่ ง 6 - 7 ปี พบวา่ วชิ า ทวั่ ประเทศจากการสอบในแตล่ ะระดบั /ชนั้ ตง้ั แตป่ ี2554-2560 ท่ีมีค่าความยากเฉลี่ยสูงสุดหรือง่ายที่สุดคือวิชาภาษาไทย พบว่า แบบทดสอบทใี่ ช้สอบนักเรยี นในแต่ละวชิ า ในแต่ละ และวิชาสังคมศึกษา ฯ ชนั้ ป.6 และวชิ าภาษาไทยช้ัน ม.6 ระดบั ในแตล่ ะปีเกอื บทงั้ หมดมคี า่ ความยากเฉลยี่ ตำ่� กวา่ 0.50 ซงึ่ มคี ่าความยากเฉล่ียในรอบ 6 - 7 ปี เท่ากับ 0.47 จัดอยู่ ท่ีเป็นค่าความยากปานกลาง (ค่าความยากท่ีใช้ในกรณีนี้ ในระดบั ความยากปานกลางสำ� หรบั การสอบนกั เรยี นในแตล่ ะชน้ั ตามหลักการจะมีค่าท่ีเป็นไปได้ต�่ำสุดคือ 0 = ยากที่สุด ส่วนวิชาท่ีมีค่าความยากเฉลี่ยต่�ำสุดหรือยากท่ีสุดคือ คา่ สงู สดุ คอื 1.00 = งา่ ยทสี่ ดุ ) แสดงวา่ แบบทดสอบทใี่ ชส้ อบ แบบทดสอบวชิ าคณติ ศาสตร์ ชนั้ ม.6 ทมี่ คี า่ ความยากเฉลย่ี อยู่ในสภาพท่ีค่อนข้างยากถึงยากมากในหลายวิชาส�ำหรับ 7 ปี เท่ากับ 0.26 จัดอยู่ในระดับยากมากส�ำหรับการสอบ นกั เรยี นทง้ั ประเทศในแตล่ ะระดบั ชนั้ โดยพบวา่ แบบทดสอบ นักเรียนช้ัน ม.6 ถ้าจะแบ่งแบบทดสอบออกเป็นสองกลุ่ม ทม่ี คี า่ ความยากเฉลย่ี สงู สดุ หรอื งา่ ยทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ แบบทดสอบ คอื กลมุ่ ทม่ี คี วามยากปานกลางนา่ จะไดแ้ ก่ แบบทดสอบวชิ า วชิ าสงั คมศกึ ษา ชน้ั ป.6 ทใ่ี ชส้ อบในปี 2554 ซง่ึ มคี า่ ความยาก ภาษาไทย ทง้ั 3 ชน้ั กบั วชิ าสงั คมศกึ ษา ฯ ชนั้ ป.6 และ ม.3 เฉลยี่ เทา่ กบั 0.55 รองลงมาคอื แบบทดสอบวชิ าคณติ ศาสตร์ ซงึ่ พบวา่ มคี า่ ความยากเฉลย่ี ในรอบ 6 - 7 ปี อยรู่ ะหวา่ ง 0.43 ชน้ั ป.6 ทใี่ ชส้ อบในปี 2554 และแบบทดสอบวชิ าภาษาไทย ถึง 0.47 ส่วนกลุ่มท่ีมีความยากอยู่ในระดับยากคือ ช้นั ป.6 ทใ่ี ชส้ อบในปี 2559 โดยมีคา่ ความยากเฉลีย่ เทา่ กับ แบบทดสอบวชิ าคณติ ศาสตร์ชนั้ ม.3และม.6วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 0.52 และ 0.51 ตามล�ำดับ แบบทดสอบท้ังสามฉบับ และภาษาองั กฤษทง้ั 3ชน้ั ซงึ่ มคี า่ ความยากเฉลยี่ จากการสอบ ดงั กลา่ วตามหลกั วชิ าการวดั ผลถอื วา่ มคี วามยากปานกลาง ในรอบ 7 ปอี ยรู่ ะหว่าง 0.26 ถึง 0.39 เหมาะสมกบั นกั เรยี นในแตล่ ะกลมุ่ สว่ นแบบทดสอบทม่ี คี า่ หากพจิ ารณาผลการทดสอบโดยดจู ากคะแนนเฉลย่ี ความยากตำ�่ สดุ หรอื ยากทส่ี ดุ คอื แบบทดสอบวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ระดับชาติในแต่ละวิชา แต่ละชั้น ในการทดสอบแต่ละปี ชั้น ม.6 ท่ีใช้สอบในปี 2556 มีค่าความยากเฉลี่ยเท่ากับ จะเหน็ วา่ วิชาที่มีคะแนนเฉลย่ี คอ่ นข้างต่�ำหรือต่ำ� มาก เช่น 0.20 รองลงมาคือแบบทดสอบวิชาคณิตศาสตร์ ช้ัน ม.6 วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ทใี่ ชส้ อบในปี 2556 ซงึ่ มคี า่ ความยากเฉลยี่ เทา่ กบั 0.23 และ ทใ่ี ชส้ อบนกั เรยี นชนั้ ม.3 และ ม.6 จะเปน็ วชิ าทม่ี คี อ่ นขา้ งยาก แบบทดสอบวิชาเดียวกันที่ใช้สอบในปี 2555 และ 2557 หรอื ยากมากนน่ั เอง ที่มีค่าความยากเฉล่ียเท่ากับ 0.25 ทั้งสองปี แบบทดสอบ อีกแง่หนึ่ง การท่ีคะแนนเฉล่ียสูงหรือต�่ำมีความ ทั้งสองวิชาดังกล่าวถือว่ายากมากส�ำหรับนักเรียนชั้น ม.6 เกี่ยวข้องกับความยาก - ง่ายของข้อสอบที่ใช้ในการสอบ ท่วั ประเทศ หรือไม่ สามารถพิจารณาได้จากกราฟแสดงค่าเฉล่ียของ คะแนนสอบกับค่าความยากเฉล่ียของข้อสอบท่ีใช้สอบ โดยใชข้ ้อมลู จากตารางขา้ งต้น ดงั น้ี 36 วิทยาจารย์
กราฟแสดงคา่ ความยากของขอ้ สอบกบั คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศของวชิ าตา่ ง ๆ 5 วิชา ในชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 ในการสอบตั้งแต่ปี 2554 - 2560 ป.6 ม.3 ม.6 ภาษาไทย 52 60 60 50 48 50 50 46 44 40 40 ¤ÇÒÁÂÒ¡ 42 ¤ ÇÒÁÂÒ¡ ¤èÒà©ÅÕè 40 ¤èÒà©ÅÕè 30 ¤ ÇÒÁÂÒ¡ 38 ¤ÇÒÁÂÒ¡ 20 ¤èÒà©ÅÕè 30 ¤èÒà©ÅÕè 1234567 10 20 ¤ÇÒÁÂÒ¡ ¤èÒà©ÅÕè 0 สังคมศกึ ษา 10 1 ¤ÇÒÁÂÒ¡ 60 23456 7 45 0 ¤èÒà©ÅÕè 60 40 ภาษาองั กฤษ 6 35 ¤ÇÒÁÂÒ¡ 50 50 ¤3Ç0ÒÁÂÒ¡ 12345 6 7 ¤èÒà©ÅÕè 2345 7 ¤2èÒ5à©ÅÕè 2345 6 7 40 40 20 ค2 ณ3ติ ศ4าสต5 ร์ 6 15 30 ¤ÇÒÁÂÒ¡30 10 ¤èÒà©ÅÕè 5 20 30 20 0 25 1 10 10 ¤ÇÒÁÂÒ¡ 0 2345 6 0 1 2¤0èÒà©ÅÕè 45 1 23456 7 32 1 40 31 15 35 30 29 10 30 28 25 27 20 15 ¤ÇÒÁÂÒ¡ 10 26 5 600 ¤èÒà©ÅÕèÂ25 50 1 24 5 40 40 305 30 1 2 3 4 5 6 7 30 35 20 25 30 10 วิทยาศาสตร์ ¤2ÇÒ0ÁÂÒ¡ ¤ÇÒÁÂÒ¡ 25 ¤è1Òà5©ÅÕè 0 ¤èÒà©ÅÕè 20 1 23456 7 123 4567 1 7 10 15 23456 44 5 10 42 400 5 35 1 2 3 4 5 6 7 40 30 309 38 38 ¤ ÇÒÁÂÒ¡ 36 37 36 2¤è5Òà©ÅÕè 34 35 20 ¤ ÇÒÁÂÒ¡34 15 32 ¤èÒà©ÅÕèÂ33 10 1234567 32 5 31 0 30 29 1234567 วทิ ยาจารย์ 37
จากกราฟข้างต้น ซ่ึงแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ ระหว่างกลุ่มย่อยต่าง ๆ ในแต่ละวิชาในแต่ละปี ยังท�ำได้ ระหว่างค่าความยากของข้อสอบกับคะแนนเฉลี่ยระดับ แตถ่ า้ ตอ้ งการเปรยี บเทยี บระหวา่ งวชิ า หรอื ระหวา่ งปตี า่ ง ๆ ประเทศของแตล่ ะวิชา ในแต่ละชนั้ จะเหน็ วา่ สว่ นใหญ่หรือ ควรเปล่ียนคะแนนที่ได้จากการสอบเดิม ให้เป็นคะแนน เกอื บทง้ั หมดปใี ดทข่ี อ้ สอบวชิ าใดงา่ ยคะแนนเฉลย่ี ของวชิ านนั้ มาตรฐาน (Standard Score) เสียก่อน เช่น เปล่ียนเป็น ก็จะสงู ในขณะปีท่ขี อ้ สอบยากกวา่ คะแนนเฉลยี่ กจ็ ะต่ำ� ลง คะแนน - ที (T -Score) ท่ีปรบั คะแนนเฉลย่ี ทัง้ ประเทศเดมิ แสดงว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศจะต่�ำหรือสูงข้ึนอยู่กับ ให้เป็น 50 แต่การใช้คะแนน - ที ไม่สามารถใช้ได้กับ ความยาก - งา่ ยของข้อสอบนนั่ เอง การเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ยี ทง้ั ประเทศ เพราะคะแนน - ที จากที่กล่าวมาทั้งหมด จึงเป็นที่มาของข้อสงสัย จะมีค่าเฉลี่ยรวมท้ังประเทศเท่ากับ 50 เสมอ ให้ใช้เฉพาะ ทวี่ า่ ทน่ี กั เรยี นไดค้ ะแนน O-NET ตำ�่ ในบางวชิ านนั้ เปน็ เพราะ การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มย่อย ๆ เท่าน้ัน เช่น ระหว่าง นกั เรียนมคี วามรูน้ อ้ ยหรือเพราะขอ้ สอบยากกันแน่ สังกดั ระหว่างภาค ระหวา่ งจงั หวัด เปน็ ตน้ ในกรณีของการน�ำผลการทดสอบไปใช้ประโยชน์ เรอ่ื งนกั เรยี นสอบ O-NET ไดค้ ะแนนตำ่� ในบางวชิ า เพอ่ื หลกี เลย่ี งปญั หาอนั เกดิ จากความยาก - งา่ ยของขอ้ สอบ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ เคยมคี นถามผเู้ ขยี นวา่ จะมวี ธิ ที ำ� ใหค้ ะแนน ในแบบทดสอบแต่ละวิชา หรอื แตล่ ะปี ทแี่ ตกต่างกัน ไม่ว่า สงู ข้ึนได้อยา่ งไร ผูเ้ ขยี นกต็ อบติดตลกวา่ “ง่ายนิดเดยี ว ก็ใช้ จะยากไป หรอื งา่ ยไปกต็ าม การนำ� ไปใชใ้ นการเปรยี บเทยี บ ขอ้ สอบง่าย ๆ คะแนนสอบกส็ ูงขน้ึ เอง” “ สว่ นใหญ่หรอื เกือบทงั้ หมด ปใี ดท่ขี ้อสอบวชิ าใดง่าย คะแนนเฉลี่ยของวิชานั้นกจ็ ะสงู ในขณะทปี่ ที ่ีข้อสอบยากกว่า คะแนนเฉลีย่ กจ็ ะต�่ำลง “ 38 วทิ ยาจารย์
หอ้ งเรียนวิชาการ นพิ นธ์ ลิม้ พงษา เรยี นรู้จาก ความผดิ พลาดของนกั เรียน คนที่ได้ประกอบอาชีพครู หน้าท่ีก็คือ การสอน อบรมลูกศิษย์ให้มีความรู้ มีความสามารถ เพอื่ นำ� ไปประกอบอาชพี เพอ่ื ศกึ ษาตอ่ และเปน็ คนดขี องสงั คมหลงั จากจบหลกั สตู รการศกึ ษาในแตล่ ะ ชว่ งชนั้ ซง่ึ ผลการสอนของครจู ะมคี ณุ ภาพในระดบั ใดกด็ ไู ดจ้ ากแบบฝกึ หดั แบบทดสอบ ผลงานนกั เรยี น ชิ้นงานนักเรียน อื่น ๆ เป็นต้น กรณีแบบทดสอบถ้าครูได้น�ำแบบทดสอบมาตรวจสอบมาวิเคราะห์ ก็จะพบปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคลท่ีแตกต่างกัน ก็จะท�ำให้ครูได้หาวิธีการแก้ไข และปรับปรุง การเรยี นการสอนใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั และวางแผนการสอนเรอ่ื งตอ่ ไปไดส้ ำ� หรบั นกั เรยี นแตล่ ะบคุ คล ขา้ พเจา้ ไดส้ อนวชิ าคณติ ศาสตรท์ เ่ี ปน็ พน้ื ฐานระดบั ชนั้ ม.4 และไดใ้ ชแ้ บบทดสอบประเภทเขยี นคำ� ตอบใหน้ กั เรยี นทำ� ซง่ึ ไดน้ ำ� บางขอ้ มานำ� เสนอแกเ่ พอ่ื นครคู ณติ ศาสตร์ ทำ� ใหพ้ บคำ� ตอบทผี่ ดิ พลาดทเ่ี ปน็ ปญั หาบางสว่ น และจากแบบฝกึ หัดของนกั เรียนระดบั ช้นั ม.5 ท่มี ีการแสดงวธิ ีทำ� ที่ผิดมาแสดงดังนี้ ตวั อย่างที่ 1 จงเขยี นเซตต่อไปนแ้ี บบแจกแจงสมาชิก 1.1 เซตของจ�ำนวนคบี่ วกท่นี อ้ ยกว่า 20 พบค�ำตอบท่ผี ดิ พลาด 1) { 2,4,6,8,10,12,14,16,18 } นกั เรยี นอา่ นโจทยแ์ ลว้ ตคี วามไมถ่ กู นกั เรยี นไมเ่ ขา้ ใจเรอ่ื งจำ� นวนคท่ี เ่ี ปน็ จำ� นวนบวก 2) {-9,-8,-7,…,-1} นักเรยี นอ่านโจทย์ไมล่ ะเอียด โจทย์ตอ้ งการจำ� นวนค่ีบวก 3) 1,3,5,7 นกั เรยี นเขยี นไมถ่ กู หลกั คณติ ศาสตร์ เชน่ ไมใ่ สว่ งเลบ็ ปกี กา และเขยี นไมค่ รบจำ� นวน 4) ไมต่ อบคำ� ถาม นกั เรียนอา่ นหนงั สือไม่คอ่ ยออก และเขียนไมค่ ลอ่ ง 1.2 เซตของจ�ำนวนเตม็ ลบที่มากกวา่ -100 พบค�ำตอบทผี่ ิดพลาด 1) {-200,-300,-400,-500,...} นักเรียนไมเ่ ข้าใจเรือ่ งจ�ำนวนเตม็ ลบ จำ� นวนลบใดมคี ่ามากกวา่ กนั 2) {-10,-20,-30,-40,-50} เขยี นไมถ่ ูกหลกั คณติ ศาสตร์เช่นไมใ่ สว่ งเลบ็ ปีกกา และเขียนไมค่ รอบคลมุ 3) {-10-20-30-40-50 } ไมใ่ ส่เครอ่ื งหมาย “,” ระหวา่ งสมาชกิ และเขียนไม่ครอบคลุม 4) {-101,-102,-103,...} นกั เรียนไมส่ ามารถเรียงล�ำดับจ�ำนวนลบท่มี คี ่ามากไปหาคา่ นอ้ ย วิทยาจารย์ 39
1.3 เซตของชื่อจงั หวดั ในประเทศไทยท่ีขึ้นต้นด้วย “นคร” พบค�ำตอบท่ีผดิ พลาด 1) {1,2,3,4} นักเรียนใชจ้ ำ� นวนแทนช่ือจังหวดั แบง่ เปน็ ภาค 2) {10} นกั เรยี นใช้จ�ำนวนแทนช่ือจงั หวัดทง้ั หมดในประเทศไทยที่นักเรยี นคดิ ได้ 3) บงึ กาฬ นักเรยี นขาดความร้ชู ่ือจังหวดั ในประเทศไทยที่ถูกต้อง 4) ไม่ตอบค�ำถาม นักเรยี นอา่ นหนังสอื ไม่คอ่ ยออก และเขยี นไมค่ ลอ่ ง น�ำผลการตอบค�ำถามมาวิเคราะห์ โดยเลือกนักเรียนสายวิทยาศาสตร์ห้องจ�ำนวน 1 ห้อง และนักเรียนทวิศึกษา จำ� นวน 1 ห้อง มาเปรียบเทยี บจะพบว่าจำ� นวนนักเรยี นท่ตี อบค�ำถามถกู บางส่วน ตอบถูกต้องสมบรู ณร์ วมกัน ดงั ตาราง แผนการเรียน จ(�คำนนว)น ขอ้ 1.1 ตอ%บถูก ขอ้ 1.2 ตอ%บถูก ขอ้ 1.3 ตอ%บถกู 40 28 70 8 20 34 85 วิทยาศาสตร์ - คณติ ศาสตร์ 33 17 51.52 4 12.12 27 81.82 ทวิศกึ ษา จากตัวอยา่ งที่ 1 ซง่ึ เปน็ พืน้ ฐานเกย่ี วกับเซต (ความรู้ความจำ� ) ตอบถูกบางส่วน หรอื ตอบถูกตอ้ งสมบูรณ์ ขอ้ 1.1 จำ� นวนตอบถกู สมบรู ณจ์ รงิ ๆ กย็ งั มจี ำ� นวนปานกลาง โดยตอ้ งแกไ้ ขแบบเรง่ ดว่ นเนอื่ งจากเปน็ การจำ� นวนเตม็ บวก ที่เป็นพื้นฐาน ซึง่ นักเรยี นไม่ควรตอบผิดจ�ำนวนมาก ข้อ 1.2 นักเรยี นสอบไมผ่ า่ น หรือผ่านไม่ถึง 50% ของท้งั 2 สาย โดยท่คี รตู ้องไปหาแนวทางแก้ไขแบบเร่งดว่ นอย่างมาก เนอ่ื งจากนกั เรียนมีความรูท้ ่ผี ดิ เกีย่ วกับการเรยี งลำ� ดบั จ�ำนวนเตม็ ลบจากน้อยไปหามาก หรอื เรยี งจากมากไปหาน้อย ขอ้ 1.3 นกั เรยี นสว่ นใหญต่ อบได้ แตม่ สี ว่ นนอ้ ยตอบผดิ หรอื ไมต่ อบ สาเหตมุ าจากอา่ นหนงั สอื ไมค่ อ่ ยออก และเขยี นไมค่ ลอ่ ง เปน็ ปัญหาใหญข่ องครู ของโรงเรียน และประเทศชาติทีม่ ีคนกลุม่ น้ีมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างที่ 2 มาจากแบบฝึกหดั ของนักเรียนระดับช้นั ม.5 1. นักเรยี นไมเ่ ขา้ ใจคณุ สมบตั จิ รงิ กรณที อี่ ยใู่ นรปู กรณฑท์ สี่ องเกย่ี วกบั การบวก การลบ และการคูณ 2. นกั เรยี นไมเ่ ขา้ ใจคณุ สมบตั จิ รงิ กรณที อี่ ยใู่ นรปู กรณฑท์ สี่ องเกย่ี วกบั การหาร สรปุ นักเรยี นขาดความเขา้ ใจจำ� นวนที่อยใู่ นรปู ของกรณฑ์ ตัวอย่างท่ี 3 มาจากแบบฝึกหดั ของนกั เรียนระดบั ชัน้ ม.5 1. นกั เรียนแยกตวั ประกอบพหุนามกำ� ลงั สองไม่ถูกตอ้ ง 2. นกั เรียนแก้สมการไมถ่ ูกตอ้ ง 3. นักเรียนหาคา่ 2y=0 แล้ว y=1/2ไม่ถูกต้อง สรปุ นกั เรียนขาดความรคู้ วามเข้าใจหลกั คณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐานท่ถี ูกต้อง เช่น หลกั การแยกตวั ประกอบ การแกส้ มการ การหารจำ� นวนเตม็ 40 วทิ ยาจารย์
ตัวอยา่ งท่ี 4 มาจากแบบฝึกหดั ของนกั เรยี นระดับชั้น ม.5 1. นกั เรียนเขา้ ใจการหารเศษสว่ นทผี่ ดิ โดยเปลยี่ นหารเปน็ คณู 2. เปน็ คำ� ตอบทผี่ ดิ สรุป นักเรียนไมเ่ ขา้ ใจการเปลยี่ นสญั ลกั ษณก์ ารหาร ใหอ้ ยใู่ นรปู เศษสว่ นและไมเ่ ขา้ ใจหลกั การหารเศษสว่ น ตวั อยา่ งท่ี 5 มาจากแบบฝึกหัดของนักเรยี นระดบั ชน้ั ม.5 1. นกั เรียนไมเ่ ขา้ ใจการบวก การลบเศษสว่ น โดยตอ้ งทำ� สว่ น ใหเ้ ทา่ กนั กอ่ น 2. นักเรียนลบฟงั กช์ นั ตรโี กณมติ ทิ อ่ี ยใู่ นวงเลบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง 3. นกั เรียนไมเ่ ขา้ ใจการหารเศษสว่ นทถ่ี กู ตอ้ ง โดยอาจมเี หตผุ ล มาประกอบแลว้ แทนคา่ ไซนเ์ ขา้ ไปแทน สรปุ นร.ไมเ่ ขา้ ใจการบวก ลบและหารทอ่ี ยใู่ นรปู เศษสว่ น และ การแทนคา่ ไซนท์ ไี่ มถ่ กู หลกั ตัวอย่างที่ 6 มาจากแบบทดสอบของนักเรยี นระดบั ช้ัน ม.4 คำ� ตอบทผ่ี ดิ ของนักเรยี น 5.1 นักเรียนสับสนสมาชิกในเซต A ระหว่างจำ� นวนหรือ ตวั อกั ษร 5.1 A={ 1,5,6,7,8 } โดยนักเรยี นใสเ่ ฉพาะจ�ำนวน 5.2 A={1, a , 6} 5.3 A={5,7,8} 5.2 นกั เรียนเลอื กสมาชกิ ของเซต A ท่ไี มซ่ ้�ำซ้อนกบั เซต B 5.4 A ={ 1,2,3,4,5,6,7,8 } 5.3 นักเรียนไม่เข้าใจคณุ สมบัติของเซต 5.5 ไมต่ อบคำ� ถาม 5.4 นักเรยี นไม่เขา้ ใจคุณสมบตั ิของเซต โดยเลอื กเฉพาะจ�ำนวน มาเป็นสมาชกิ ส่วนตวั อกั ษรคิดว่าเป็นชอ่ื เซตอื่น 5.5 นกั เรยี นอา่ นหนงั สือไม่คอ่ ยออก และเขยี นไม่คลอ่ ง สรปุ 1. นกั เรยี นมีปัญหาเกยี่ วกับคุณสมบัติพนื้ ฐานของเซต 2. นกั เรยี นอา่ นหนงั สอื ไมค่ อ่ ยออก และเขยี นไมค่ ลอ่ งจำ� นวนมาก เปน็ เรอ่ื งเร่งด่วน ถ้าอา่ นหนังสอื ไมค่ ลอ่ ง ตีความไมไ่ ด้ การเรียนการสอนทกุ วิชามปี ัญหาแนน่ อน วิทยาจารย์ 41
จากตวั อยา่ งทกี่ ลา่ วมาครคู ณติ ศาสตรท์ กุ ทา่ นทเี่ นน้ “ยังสอบไม่ผ่านในรายวิชาคณิตศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ นกั เรียนท�ำแบบฝกึ หัด แบบทดสอบประเภทเขียนตอบหรือ ถา้ เป็นข้อสอบเขยี นตอบ ขอ้ สอบอัตนัย นักเรยี นจะยง่ิ สอบ แบบทดสอบประเภทอตั นยั กจ็ ะพบขอ้ ผดิ พลาดของนกั เรยี น ไมผ่ า่ นมากยงิ่ ขนึ้ ถงึ แมข้ อ้ สอบ O-NET จะไมใ่ ชต่ วั ชว้ี ดั ของ ทหี่ ลากหลายแตกตา่ งกนั ไป และในปจั จบุ นั จะพบวา่ นกั เรยี น การศกึ ษา แตต่ อ้ งมขี อ้ สอบมาตรฐานมาวดั ความรขู้ องนกั เรยี น เขยี นหรอื แสดงวิธที ำ� ไมไ่ ด้ หรอื ไมเ่ ขยี น เพราะไมร่ ู้จะเขยี น ในระดับมัธยมศึกษาทุกภาคเรียน เพ่ือเป็นการกระตุ้นครู อย่างไร แต่ครูส่วนใหญ่ไปเน้นแบบทดสอบประเภทปรนัย นกั เรยี น ผปู้ กครอง และผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ไมใ่ ชเ่ ปน็ การจบั ผดิ มากเกนิ ไป เพราะสะดวกในการตรวจสอบของครู และประเมนิ แตเ่ ปน็ การพฒั นาการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น ถา้ ปลอ่ ยใหโ้ รงเรยี น งา่ ยกวา่ แบบทดสอบอน่ื ๆแตส่ ำ� หรบั นกั เรยี นทม่ี ปี ญั หาพน้ื ฐาน รายงานผลอยา่ งทผี่ า่ นมาตง้ั แตอ่ ดตี จนปจั จบุ นั กจ็ ะไดต้ วั เลข ด้านคณิตศาสตร์ส่วนใหญ่ ถ้าท�ำแบบทดสอบประเภท ทส่ี วยงาม แตใ่ นทางปฏบิ ัติกลับตรงกนั ขา้ ม ปรนยั สว่ นใหญจ่ ะตอบคำ� ถามโดยไมอ่ า่ นโจทยค์ ำ� ถาม และ การแก้ไขไมต่ ้องใช้งบประมาณละลายแม่นำ้� หรือ ใชเ้ วลาทำ� ไมน่ านกไ็ ดค้ ะแนนเชน่ กนั ถงึ แมเ้ พอื่ นครจู ะแจง้ วา่ ท�ำโครงการเพ่ือต้องการใช้แต่งบประมาณอย่างท่ีผ่านมา ในการท�ำแบบทดสอบรายจุดประสงค์ก็เขียนอยู่แล้วก็จริง ในเมอื่ บคุ ลากรครทู เี่ ปน็ อาจารย์ 3 มมี ากอยแู่ ลว้ จนเปน็ เรอื่ ง แต่ถ้ารู้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนและครูไม่น�ำผลการสอบนักเรียนมา ปรกติ ถ้านำ� ผลงานทไี่ ด้มาพัฒนานกั เรยี นในแตล่ ะโรงเรยี น วิเคราะห์แกป้ ัญหาอย่างจรงิ จงั ผลทีเ่ กดิ ข้นึ กบั นักเรียนกจ็ ะ กน็ า่ จะแก้ไขไดม้ าก และทางฝา่ ยบรหิ ารต้องจดั หาอุปกรณ์ สะสมมากขน้ึ ไปเรอ่ื ยๆ นกั เรยี นกจ็ ะไมแ่ สดงกระบวนการคดิ เสรมิ เพม่ิ เตมิ และสง่ เสรมิ คณุ ภาพนกั เรยี นตามนโยบายของ ออกมาเนอ่ื งจากไมไ่ ดถ้ กู ฝกึ ใหค้ ดิ มากกวา่ เนน้ คำ� ตอบนกั เรยี น รฐั บาลทก่ี ำ� หนดเปน็ ระยะเวลาทก่ี ำ� หนด เพอ่ื พฒั นานกั เรยี น สว่ นใหญร่ วู้ า่ ทำ� ไมไ่ ดก้ ไ็ มม่ อี ะไรเกดิ ขนึ้ ลอกเพอ่ื นสบายกวา่ อย่างจริงจัง และควรส่งเสริมเป็นโครงการของครูแต่ละคน เดยี๋ วกไ็ ดค้ ะแนนเหมอื นกนั การสอบ หรอื ไมส่ อบมคี า่ เทา่ กนั ท่ีควรปฏบิ ัติ เนอื่ งจากครอู ย่พู ัฒนานกั เรยี นจนกว่าเกษยี ณ นบั วา่ เปน็ คา่ นยิ มทผี่ ดิ อยา่ งมาก จดุ บอดของวงการศกึ ษาไทย อายุราชการยอ่ มรู้ปญั หาดีกว่าบคุ คลอ่นื ถา้ ครคู ิดถงึ ตนเอง ท่ีเป็นมาทุกยุค ทุกสมัย การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ มากกว่านักเรียน ผลท่ีตามมาประเทศชาติคงไดน้ ักเรยี นท่ีมี ถา้ ไมฝ่ กึ กระบวนการคดิ ของนกั เรยี นอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน การใช้ ปัญหาคุณภาพต่�ำ ท่ีมีแต่ปริมาณ ถ้าตรวจสอบนักเรียน หลกั คณติ ศาสตร์ บทนยิ าม ทฤษฎบี ทสตู รการคำ� นวณทถ่ี กู ตอ้ ง ในดา้ นความรทู้ เ่ี นน้ กระบวนการคดิ การคดิ วเิ คราะห์การประยกุ ต์ ยิ่งท�ำให้นักเรียนขาดทักษะกระบวนการคิดอย่างมาก และ มกี ารพฒั นานอ้ ยมาก ไมค่ อ่ ยมเี ปลยี่ นแปลง ทำ� ใหส้ ง่ ผลตอ่ ถ้าครูปล่อยละเลยคิดว่านักเรียนคงไปเรียนสายอาชีพแทน ความคิดสร้างสรรค์ คงเกิดยาก ส่งผลการสร้างนวัตกรรม หรือจบไปก็จะประกอบอาชีพแรงงานระดับล่างโดยทั่วไป เทคโนโลยีใหม่ ๆ ท่ีคิดได้เองก็คงเกิดยาก ประเทศไทย กจ็ ะเปน็ ปญั หาสะสมของนกั เรยี นจนจบการศกึ ษา และจะมี กค็ งพฒั นาการศกึ ษาแบบวงั วนเปน็ รปู วงกลม ไมเ่ ปลยี่ นแปลง ผลกระทบต่อการศึกษาของนักเรียนท่ีต้องการเรียนต่อ …ถึงเวลาท่ีจะรอไม่ได้อีกแล้ว ครู บุคลากรทางการศึกษา ในระดับสูงต่อไป ตลอดจนมีผลต่อการเรียนรู้เป็นลูกโซ่ ผปู้ กครองนกั เรยี นตอ้ งเปลยี่ นมมุ มองใหมใ่ นดา้ นการศกึ ษาใหม่ ต่อไปเรอื่ ย ๆ เพราะคณติ ศาสตรส์ อนใหร้ จู้ กั กระบวนการคดิ กอ่ นทีจ่ ะเป็นตัวถ่วงในการพัฒนาประเทศ การคดิ วเิ คราะหอ์ ยา่ งเปน็ ระบบถา้ วนั นคี้ รทู กุ ทา่ นปลอ่ ยปะละเลย อนาคตนกั เรยี นจะยงิ่ มปี ญั หาในการเรยี นรใู้ นดา้ นกระบวนการคดิ “อนาคตขา้ งหน้า ท่ียังตามหลังประเทศในกลุ่มอาเซียน และจะไม่สอดคล้อง กบั นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ตราบใดคณุ ภาพนกั เรยี นไมม่ กี าร จะมีการเปลย่ี นแปลงไปอย่างไร พัฒนาอย่างจริงจังก็คงหาคนที่มีคุณภาพในการพัฒนา เราไมร่ ู้ แตท่ ่รี ู้ คือ ประเทศรุ่นตอ่ ไปล�ำบากมากย่ิงขึ้น การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนอย่างง่ายที่สุด ครตู อ้ งเปน็ ครมู อื อาชีพ ทส่ี ะทอ้ นผลการเรยี นของนกั เรยี น คอื ขอ้ สอบ O-NET จะเปน็ ตวั ชว้ี ดั เบอื้ งตน้ แมข้ อ้ สอบเปน็ ประเภทปรนยั นกั เรยี นสว่ นใหญ่ 42 วทิ ยาจารย์
โรงเรียนดี โครงการเดน่ ดร.วิทยา ศรชี มภู การบรหิ ารงานวชิ าการด้วยระบบคณุ ภาพ : TK SMART โรงเรียนธรรมศาสตรค์ ลองหลวงวทิ ยาคม สวัสดีครับ ทา่ นผอู้ า่ นทร่ี กั โรงเรียนดี โครงการเด่น เทยี บเคยี งกบั โรงเรยี นชน้ั นำ� มกี ารพฒั นาบคุ ลากรมอบหมายงาน ฉบบั น้ี เสนอนวตั กรรมเรอ่ื ง การบรหิ ารงานวชิ าการดว้ ยระบบ ตามขีดความสามารถ จัดรูปแบบการท�ำงาน เสริมสร้าง คณุ ภาพ : TK SMART ของโรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวง วัฒนธรรมองค์กรและความผูกพัน เพื่อจัดการปฏิบัติการ วิทยาคม สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา ออกแบบหลกั สตู ร กระบวนการท�ำงาน กระบวนการจัดการ เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดย นางสาวชนัญชิดา ม่วงทอง เรยี นรู้ การพฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอน การนเิ ทศตดิ ตามและ รองผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี น วทิ ยฐานะ ชำ� นาญการพเิ ศษ และ การวัดผลประเมินผลเพ่ือให้นักเรียนโรงเรียนธรรมศาสตร์ คณะครผู รู้ ว่ มพฒั นาการบรหิ ารงานวชิ าการดว้ ยระบบคณุ ภาพ คลองหลวงวิทยาคม มีเอกลักษณ์เฉพาะ คือ TK SMART : TK SMART MODEL เป็นรูปแบบการบริหารจัดการเป็น ดังน้ี นักเรียนมีความเป็นเลิศทางด้านทักษะและวิชาการ ระบบ เป็นกระบวนการ น�ำองค์กรด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ (Talent) นกั เรยี นมคี วามเขม้ แขง็ ในองคค์ วามรตู้ ามหลกั สตู ร เปา้ ประสงค์ ก�ำหนดเปน็ กลยทุ ธ์ และแผนพฒั นาการศกึ ษา สามารถนำ� ความรไู้ ปใชใ้ นการศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทส่ี งู ขน้ึ หรอื แผนปฏิบัติการประจ�ำปี จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ประกอบอาชพี และการพฒั นาวชิ าชพี ของตน (Knowledge) ให้ตรงตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการ นกั เรียนมีทกั ษะ (Skill) กระบวนการวิทยาศาสตร์ (Science รับฟังเสียง รับข้อเสนอแนะและประเมินความพึงพอใจ Process) และการคดิ วเิ คราะห์ (Critical Thinking) มีทกั ษะ รวบรวมข้อมูลที่ได้รับจากการประเมินจัดท�ำเป็นข้อมูล การสอ่ื สารและมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ (Communication & Relation) สารสนเทศประกอบการตดั สนิ ใจเปรยี บเทยี บผลการดำ� เนนิ งาน ทกั ษะการแกป้ ญั หา(ProblemSolving)และทกั ษะกระบวนการ วทิ ยาจารย์ 43
ในการทำ� งาน นกั เรยี นมภี าวะผนู้ ำ� (Leadership) มีความสามารถในการบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participative Management) และน�ำตนเอง ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น (Self - Directed Learning) โดยมคี รเู ปน็ ผสู้ นบั สนนุ (Management) นกั เรยี น ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากการสรา้ งวฒั นธรรมสถานศกึ ษา ไดร้ บั การเพาะบม่ ใหเ้ ปน็ คนดี มนี ำ�้ ใจ ใฝเ่ รยี นรู้ และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข (Attitude) นกั เรยี นเขา้ ถงึ แหลง่ เรยี นรทู้ ม่ี ที รพั ยากรเพอ่ื การ เรียนรู้ท่ีเพียงพอเหมาะสม ครูและบุคลากร ในโรงเรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ท่ีสามารถ ถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์ให้แก่ นกั เรยี นอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล (Resource) บคุ ลากร ทกุ คนสามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน และสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี น ทุกคนได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสว่ นหนง่ึ ของกิจกรรมการเรียนและในชีวิตประจ�ำวัน (Technology) 44 วทิ ยาจารย์
ผลลพั ธข์ องการบรหิ ารงานในมมุ มองเชงิ ระบบ นำ� องคก์ ร อย่างมีวิสัยทัศน์ ความเป็นเลิศท่ีมุ่งเน้นนักเรียน ให้ความส�ำคัญ กับบุคลากร เป็นการเรียนรู้ระดับองค์กร และความคล่องตัว มงุ่ เนน้ ความสำ� เรจ็ เปน็ การจดั การโดยใชข้ อ้ มลู จรงิ เพอื่ นวตั กรรม มีจริยธรรมความโปร่งใส ความรับผิดชอบต่อสังคม แสดงถึงการ ส่งมอบคุณค่าและผลลัพธ์ สว่ นการขยายผลและเผยแพรผ่ ลการ พัฒนา คือการน�ำรูปแบบ วิธีการบริหารและพัฒนางานวิชาการ ไปใช้กับกลุ่มบริหารงานอื่น ๆ ของโรงเรียน และขยายผลไปยัง โรงเรียนท่ีเข้าสู่โรงเรียนมาตรฐานสากลทั้งระดับประถมและ มัธยมศึกษา ภายใต้บริบทเดียวกัน และนอกจากนี้ ยังเผยแพร่ ผลการพฒั นาในรปู แบบต่าง ๆ สเู่ พือ่ นรว่ มวชิ าชพี การบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพ เปน็ การชว่ ยโรงเรยี น ในการตอบคำ� ถาม วา่ โรงเรยี นดำ� เนนิ การไดด้ เี ทา่ ทคี่ วรเปน็ ไปหรอื ไม่ โรงเรยี นอยไู่ ดอ้ ยา่ งไร และโรงเรยี นควรปรบั ปรงุ หรอื เปลย่ี นแปลง อะไร ด้วยวิธีการอย่างไร เป็นการวัดผลส�ำเร็จในการจัดการและ ดำ� เนนิ การของโรงเรยี น ดา้ นนำ� องคก์ ร กลยทุ ธ์ นกั เรยี นผมู้ สี ว่ นได้ ส่วนเสีย การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ บุคลากร การปฏิบัติการ ซ่งึ ในทุก ๆ ด้านควบคมุ การด�ำเนนิ งานดว้ ยระบบ วงจร PDCA น�ำไปสผู่ ลลัพธ์แหง่ ความเปน็ เลศิ (TK SMART) วทิ ยาจารย์ 45
Full Frame สุรชัย ทุหมัด การจดั การเรียนรูบ้ นฐานภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ในศตวรรษท่ี 21 ในช่วงกว่าทศวรรษท่ีผ่านมาหลังโลกก้าวเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงเป็นยุค แห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน แนวคิดการจัดการเรียนรู้บนฐานภูมิปัญญา ท้องถิ่นถูกพูดถึงเปน็ อย่างมากในวงการการศกึ ษาของประเทศไทย ในฐานะทีเ่ ปน็ ทั้งแนวทางและวิธีการในการจัดการเรียนรู้เพื่อรับมือกับสภาพการเปล่ียนแปลง ทางสังคมท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว นักวิชาการหลากหลายแขนงจึงหันกลับมา ให้ความส�ำคัญกับภูมิปัญญาท้องถ่ิน เนื่องจากภูมิปัญญาท้องถิ่นน้ันเป็นมรดก ทางวฒั นธรรมทบี่ รรพบรุ ษุ ไดส้ รา้ งสรรคข์ น้ึ เพอ่ื ใชใ้ นการแกป้ ญั หาการดำ� รงชวี ติ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของวฒั นธรรมทม่ี คี ณุ คา่ และสามารถชว่ ยพฒั นามนษุ ยท์ งั้ ทางดา้ น กายภาพและดา้ นจติ ใจ เหน็ ไดว้ า่ ภมู ปิ ญั ญานนั้ มคี ณุ คา่ มหาศาล จงึ ทำ� ใหก้ ารศกึ ษา ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศตระหนักถึงความส�ำคัญและน�ำภูมิปัญญามาใช้ บูรณาการและสร้างสรรค์ในการจัดการเรียนการสอนใหก้ ับผ้เู รียนในทกุ ระดับชั้น 46 วทิ ยาจารย์
ปัจจุบันวิธีการจัดการเรียน การสอนโดยการบรู ณาการการเรยี นรู้ ของผู้เรียนกับภูมิปัญญาท้องถิ่น มหี ลากหลายวธิ กี าร แตโ่ ดยสรปุ แลว้ มวี ธิ กี ารหลกั สามารถทำ� ได้ 3 วธิ กี าร ไดแ้ ก่ การนำ� โรงเรยี นออกสภู่ มู ปิ ญั ญา ท้องถ่ิน การน�ำภูมิปัญญาท้องถ่ิน บูรณาการเข้าสู่โรงเรียน และวิธี ผสมผสานทง้ั 2 วธิ ี โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี วธิ กี ารท่ี 1 การนำ� โรงเรยี นออกสภู่ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ หมายถงึ การทผ่ี สู้ อนไดอ้ อกแบบ กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ โดยพาผเู้ รยี นออกไปศกึ ษาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ยงั สถานทจ่ี รงิ วธิ นี ม้ี ขี อ้ ดี คอื ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรภู้ มู ปิ ญั ญา ในบรบิ ทจรงิ เข้าใจข้อมูลอย่างลึกซ้ึง ตระหนักและเห็นคุณค่าได้โดยง่าย อย่างไร กต็ าม วธิ กี ารนมี้ จี ำ� กดั คอื อาจไมส่ ะดวกในการเดนิ ทาง หรอื การควบคมุ ดแู ลผเู้ รยี นอาจท�ำไดค้ อ่ นขา้ งล�ำบาก และไมท่ ่ัวถึง วธิ ีการท่ี 2 น�ำภูมิปัญญาท้องถ่ินบูรณาการเข้าสู่โรงเรียน วิธีการน้ีสามารถท�ำได้ อย่างหลากหลาย ได้แก่ การเชิญปราชญ์ชาวบ้านมาให้ความรู้ หรือ การท่ีโรงเรียนและชุมชนร่วมมือกันจัดต้ังพิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ขนึ้ ในโรงเรยี น แลว้ ใหน้ กั เรยี นไดศ้ กึ ษาขอ้ มลู จากพพิ ธิ ภณั ฑน์ นั้ วธิ กี ารน้ี มขี อ้ ดคี อื มคี วามสะดวกเพราะแหลง่ ขอ้ มลู อยใู่ นโรงเรยี น ผเู้ รยี นสามารถ เรียนรู้ได้เองท้ังในและนอกชั่วโมงเรียน ข้อจ�ำกัด คือ หากพิพิธภัณฑ์ ในโรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นออกแบบได้ไม่น่าสนใจ ก็จะท�ำให้ผู้เรียน เกดิ ความเบอ่ื หนา่ ยไมเ่ กดิ ความเขา้ ใจไมต่ ระหนกั ในคณุ คา่ ของภมู ปิ ญั ญา วทิ ยาจารย์ 47
วิธีการที่ 3 จากทกี่ ลา่ วมา การจดั การเรยี นรบู้ นฐานภมู ปิ ญั ญา คือ วิธีผสมผสาน คือ การผนวกทั้ง “น�ำโรงเรียนออกสู่ ทอ้ งถน่ิ ในศตวรรษท่ี 21 มเี ปา้ หมายใหผ้ เู้ รยี นไดร้ บั การพฒั นา ภูมิปัญญาท้องถิ่น” และ “น�ำภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการ ทกั ษะในหลากหลายมติ อิ ยา่ งรอบดา้ น โดยมงุ่ เนน้ การเรยี นรู้ เขา้ สโู่ รงเรยี น” มาบรู ณาการรว่ มกนั ซงึ่ วธิ จี ะชว่ ยลดขอ้ จำ� กดั จากคตชิ น เนอ่ื งจากคตชิ นเปน็ สว่ นสำ� คญั ของการสรา้ งสรรค์ ในสภาพแวดล้อมและปัจจัยท่ีแตกต่างกันของแต่ละ ภมู ปิ ญั ญาแตล่ ะทอ้ งถน่ิ และมคี วามสมั พนั ธก์ บั การพฒั นา ทอ้ งถน่ิ ได้ ฉะนน้ั แลว้ หากไดบ้ รู ณาการทงั้ 2 วธิ ขี า้ งตน้ มาใช้ ทักษะของกลุ่มคนให้สามารถปรับตัวเพ่ือความอยู่รอดได้ รว่ มกนั และเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดม้ สี ว่ นรว่ มในการสรา้ งสรรค์ ซึ่งการเรียนรู้ในรูปแบบน้ีท�ำให้ผู้เรียนสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ ภูมิปัญญาย่อมท�ำให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ความสนุกสนาน ในสงั คมในยคุ สมยั แหง่ ความเปลย่ี นแปลงไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ และตระหนักในคณุ คา่ ของภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ได้ นอกจากน้ี สถานศึกษาควรก�ำหนดประเด็นการบูรณาการกิจกรรม การเรยี นรภู้ มู ปิ ญั ญากบั กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งและ เหมาะสมเพ่ือใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพในการเรยี นรู้ ทมี่ า: ศริ วิ รรณ วณชิ วฒั นวรชยั และชลธชิ า หอมฟงุ้ , วารสาร Veridian E-Journal, Silpakorn University ปที ่ี 11 (3), 2561. สโรชาเมฆอรณุ ,รายงานวจิ ยั การจดั การพพิ ธิ ภณั ฑใ์ นสถานศกึ ษาเพอื่ เปน็ แหลง่ เรยี นรู้:กรณศี กึ ษาพพิ ธิ ภณั ฑก์ ารศกึ ษาไทย โรงเรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั และพิพิธภัณฑเ์ พือ่ การศึกษาโรงเรียนเทพศริ นิ ทร์, 2557, สถาบันวฒั นธรรมและศลิ ปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. 48 วทิ ยาจารย์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116