Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore eventpat2bio

eventpat2bio

Published by pannawadee2004, 2021-02-18 03:46:37

Description: eventpat2bio

Search

Read the Text Version

วชิ าชีววิทยา อ.วรี วชั เอนกจานงค์พร (พี่วเิ วยี น) สถาบนั กวดวิชาออนดมี านด์ พันธุศาสตร์ 19.42% ระบบนิเวศ 13.17% เซลล์ 8.75% ความหลากหลาย 8.50% โครงสร้างพืช 7.50% สังเคราะหแ์ สง 5.75% ระบบประสาท 4.92% การสลายอาหาร 4.50% เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิง่ มีชีวิต 3.50% ประชากร 3.00% ววิ ัฒนาการ 3.00% ระบบเลือด 2.33% การสืบพันธุ์ของสตั ว์ 2.33% กลอ้ งจุลทรรศน์ 2.17% การแบง่ เซลล์ 2.00% ระบบย่อยอาหาร 1.92% ระบบต่อมไรท้ อ่ 1.50% ระบบขับถา่ ย 1.50% พฤตกิ รรมของสิง่ มีชีวิต 1.50% การสืบพันธุข์ องพชื 1.25% การศึกษาชีววทิ ยา 0.67% การเคลื่อนที่ของสิง่ มีชีวิต 0.42% ระบบหายใจ 0.42% 30.00% พันธุศาสตร์ 19.42% 25.00% ระบบนเิ วศ 13.17% 20.00% เซลล์ 8.75% 15.00% ความหลากหลาย 8.50% 10.00% โครงสร้างพืช 7.50% 5.00% สังเคราะห์แสง 5.75% 0.00% ระบบประสาท 4.92% การสลายอาหาร 4.50% 1234567 เคมีที่เป็นพืน้ ฐานของสง่ิ มีชีวิต 3.50% ประชากร 3.00% 1 ววิ ัฒนาการ 3.00% ระบบเลือด 2.33% การสืบพันธุข์ องสตั ว์ 2.33% กล้องจุลทรรศน์ 2.17% การแบ่งเซลล์ 2.00% ระบบยอ่ ยอาหาร 1.92% ระบบต่อมไร้ท่อ 1.50% ระบบขับถา่ ย 1.50% พฤตกิ รรมของส่งิ มีชีวิต 1.50% การสืบพันธุ์ของพืช 1.25% การศกึ ษาชีววทิ ยา 0.67% การเคลือ่ นทีข่ องส่ิงมีชีวติ 0.42% ระบบหายใจ 0.42%

เตรยี มตัวก่อนสอบ 1. อา่ นหนังสอื ตง้ั แต่วนั น้ี (อย่าคดิ วา่ คอ่ ยอา่ นใกลส้ อบ จากประสบการณพ์ ี่ ไมเ่ คยมีใครเรม่ิ อา่ นใกล้สอบแลว้ จะอ่านทนั ) 2. อ่าน/ฝึกตามลาดับความสาคญั (เน้นบท/เรื่องท่อี อกสอบมากก่อน) 3. ฝึกโจทย์ไปดว้ ยขณะอ่านบทนัน้ และถ้าทาไม่ไดใ้ ห้ open book ดวู ิธีคิด ของเฉลยกอ่ นจะไดไ้ อเดีย แตถ่ า้ ไม่แน่ใจว่าเฉลยถกู ตอ้ งหรือเปล่า กลบั ไป เปิดหนังสอื เพือ่ หาคาตอบทถี่ ูกตอ้ งเลย 4. เม่อื พบขอ้ ท่ีเราตอบผิดใหจ้ ดไวห้ นา้ ขอ้ หรอื สมดุ เลก็ ๆ สกั เล่ม วา่ เราผดิ เรอื่ งนี้ แลว้ เอามาดตู อนทบทวนจะไดไ้ ม่ผิดอีก (แอบบอกวา่ เวลาว่างๆ หยบิ มาดกู ็เตือนสติได้ดีมากๆ อันนี้พ่ีขอขดี เส้นใต้คอนเฟิร์ม) 5. เตรียมจิตใจใหพ้ ร้อมกอ่ นการสอบ by “ทาความดี” หลกั การทาขอ้ สอบชีวะ 1. หา keyword ของโจทย์ใหเ้ จอ + ส่งิ ที่โจทยถ์ าม 2. อา่ นตัวเลือกใหค้ รบ 4 ตัวเลอื ก 3. ขณะทาโจทยถ์ ามตวั เองเสมอว่า ข้อสอบหลอกอะไรเรา ? ระวงั ดงั ตอ่ ไปน้ี ผิด, ไม่, ยกเว้น, อันดบั แรก, อันดบั สดุ ท้าย, หน่วยมากไปน้อย, หน่วย นอ้ ยไปมาก, สูงไปต่า, ตา่ ไปสูง, เหมอื น, แตกตา่ ง สดุ ท้าย คาถาเพมิ่ คะแนน (อยา่ งนอ้ ย 1-2 คะแนน) : ทบทวนหลังทาเสร็จว่า ฝนตรงกับทเ่ี ลือกไวห้ รือไม่ 2

เซลล์ (Cell) 3

4

5

6

7

ชนดิ และลักษณะของ organelle หนา้ ท่ี 1. ribosome สงั เคราะห์ protein สรา้ งจาก nucleolus 1.1 ribosome ที่ RER (80s) (พบเฉพาะ eukaryote สรา้ ง protein ประกอบด้วย protein + rRNA ไม่มีเยือ่ หุม้ ใช้นอก cell) มี 2 subunit 1.2 ribosome อสิ ระ – 70s (prokaryote) 30s + 50s = 70s 40s + 60s = 80s ใน cytoplasm – 80s (eukaryote) สรา้ ง protein ใชภ้ ายใน cell 2. รา่ งแหเอนโดพลาสซมึ 1.3 ribosome ทเ่ี ยอ่ื หุม้ นิวเคลยี ส (80s) (eukaryote) Endoplasmic Reticulum = ER สร้าง protein ในภายในนวิ เคลยี ส มีเยอื่ หมุ้ 1 ชน้ั มี 2 แบบ คือ 1.4 ribosome ใน matrix (70s) (eukaryote) สร้าง protein ใน mitochondria - RER (rough) มี ribosome มาเกาะ ทา 1.5 ribosome ใน stroma (70s) (eukaryote) หนา้ ท่เี กี่ยวกับ protein สรา้ ง protein ใน chloroplast - SER (smooth) ไม่มี ribosome มาเกาะ 2.1 RER สรา้ ง protein ใช้นอก cell (หลกั ) ทาหนา้ ท่ีเกีย่ วกับไขมนั ตรวจสอบ protein, เติมน้าตาลใหก้ ับ protein (เสริม) 2.2 SER - ใน gonad & adrenal cortex สร้าง steroid hormone - ร่วมกบั mitochondria เกดิ detoxification ใน cell ตับ - ดูดซมึ ไขมนั ท่เี ยือ่ บุผวิ ลาไส้เล็ก - ร่วมกบั mitochondria สงั เคราะห์ไขมนั พวก cholesterol ใน cell ท่ัวไป - กาจดั เกลือ (Na+) ท่ีมากเกนิ ไปในสัตว์ทะเลบริเวณเหงือก (gill) - สะสม Ca2+ ใช้ในการเคลอื่ นไหวของ muscle เรียก SER ว่า Sarcoplasmic Reticulum (รปู ร่างคลา้ ยเส้นกว๋ ยจั๊บ) 8

9

ชนิดและลักษณะของ Organelle หน้าท่ี 3. golgi body 3.1 รบั protein จาก RER มาอดั ใหแ้ นน่ เปน็ เม็ด (ดงึ นา้ ออก) (สร้าง golgi complex glycoprotein แปรรปู protein) golgi apparatus 3.2 เติมสาร polysaccharide ให้ protein เปน็ ครง้ั ท่ี 2 (RER > - เยือ่ หมุ้ 1 ช้ัน golgibody) - แหลง่ สะสม peptide hormone และ 3.3 ตรวจสอบ protein เปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ย enzyme ก่อนส่งออกนอก cell 3.4 สร้างเยอ่ื หมุ้ protein เรียก vesicle หน้าที่เสริม 3.5 สรา้ ง enamel จาก CaF2, Ca3(PO4) 2 3.6 สรา้ ง root cap 3.7 สรา้ งถงุ acrosome ที่ Head ของ sperm 3.8 สรา้ ง cell plate (Ca2+ pectate) ใชใ้ นการแบง่ cell พชื 3.9 สรา้ งเมอื ก (น้าลาย, นา้ มูก) 3.10 สรา้ ง nematocyst ใน Coelenterate 4. vesicle หน้าที่ของ lysosome (พบเฉพาะในสัตว์) - เยอ่ื ห้มุ 1 ชั้น 4.1 ย่อยอาหาร ใน food vacuole และ ใน digestive tract - บรรจสุ ารพวก protein ถ้าเป็นนา้ ยอ่ ยเรยี ก 4.2 กาจัดเชอื้ โรค + สิง่ แปลกปลอม lysosome 4.3 กาจัด cell หมดสภาพ ตบั /ม้าม (สลาย RBC), ในกระดกู (WBC>RBC), หางลกู อ๊อด, พงั พืดรอ่ งนิ้วเท้า/มอื ของตวั ออ่ นสตั ว์ (autolysis) 4.4 กาจดั organelle เรยี ก autophagy 5. vacuole - มีเยือ่ หุม้ 1 ช้นั เรยี ก tonoplast - เก็บสารอื่นทีไ่ มใ่ ช่ protein - มี 3 ชนดิ คอื 5.1 sap vacuole พบเฉพาะในพชื ใหญ่มาก - เก็บสารตง้ั ตน้ ชอ่ื malic â ใช้ใน photosynthesis ของ CAM เบยี ดนวิ เคลียสติดรมิ cell ขนาดแปรผัน plant ตามอายุ - เก็บของเสียเช่น CO2, H2O2 - เกบ็ pigment เช่น anthocyanin ทาใหด้ อกชบา, ต้อยต่งิ , พู่ระหง, อัญชนั , พดุ ตาน, ว่านกาบหอย, หวั ใจสีม่วง 5.2 contractile vacuole พบเฉพาะ - หน้าท่ีหลกั กาจัดน้าสว่ นเกิน protozoa น้าจดื - กาจัด N-waste = NH3 (หนา้ ที่เสริม) 5.3 food vacuole พบใน protozoa - เกบ็ อาหารรอการยอ่ ย 10

ชนิดและลกั ษณะของ Organelle หน้าท่ี 6. centriole 6.1 ใชแ้ ยก chromosome ออกจากกันในระยะ anaphase โดยการ - มีเยอื่ หุ้ม 1 ชั้น สรา้ ง mitotic spindle fiber - รปู ร่าง 6.2 เป็น basal body อยู่ทีโ่ คน cilia, flagellum ชว่ ยควบคมุ การ - ประกอบด้วย microtubule โครงสรา้ ง 9+0 เคลอ่ื นไหว ใชร้ วม 54 แทง่ (27x2) - พบเฉพาะในสตั ว์ 7. mitochondria - เย่ือช้ันนอกครอบคลมุ ชนิดและปรมิ าณสารท่ีเข้าออก - เยอ่ื หุ้ม 2 ชน้ั mitochondria - มีสมบัตคิ ลา้ ย prokaryote - เย่อื ชนั้ ในสร้าง ATP (ETS) - ยบั ย้งั การจาลองตนเองโดยสาร antibiotic - รว่ มกับ SER detoxification - พบ ribosome แบบ 70 s ใน matrix - รว่ มกับ SER สงั เคราะห์ไขมัน - เยอ่ื ชนั้ ในยนื่ เข้าไปเรียก cristae และมี - สลายไขมนั โดยการเกดิ  -oxidation ได้ acetyl CoA knob เพ่ือเพ่มิ พ้ืนทผ่ี ิว (circular) - พบสารพันธกุ รรมท้ัง DNA และ RNA ใน matrix - มี replication คล้าย binary fission - ของเหลวภายในเรยี ก matrix - พบ spiral mitochondria ใน sperm 11

ชนดิ และลกั ษณะของ organelle หน้าท่ี 8. plastid - เยื่อหมุ้ 2 ช้นั (ใส) - มี 3 ชนิด คอื 8.1 leucoplast มีสีขาว พบทร่ี าก ลาตน้ 8.1.1 เก็บแปงู 8.2 chromoplast มหี ลายสี ยกเวน้ ขาวกบั 8.2.1 ทาให้กลีบดอกมสี ี ยกเวน้ กลุม่ ทีใ่ ช้ sap vacuole เขียว (เกบ็ pigment) 8.2.2 ท่หี ัวแครอทจะเกบ็ carotene (สสี ้มแดงสามารถเปลี่ยนเปน็ vitamin A) กับ xanthophyll (สีเหลืองนา้ ตาลพบในผลไมส้ ุก มะมว่ ง มะเขือเทศ) 8.3 chloroplast 8.3.1 photosynthesis - เย่ือ 2 ช้นั ใสไม่มสี ี light reaction เกดิ ที่ thylakoid - บริเวณ thylakoid, interlamella มี CO2-fixation เกิดท่ี stroma chlorophyll ทาใหม้ ีสีเขียว - ของเหลวภายในเรยี ก stroma (ใส) - เยื่อชั้นในยื่นเข้าไปในถุงเรียก lamella หรือ thylakoid - thylakoid ซอ้ นกันเป็นตงั้ เรยี ก granum - มสี มบัตคิ ลา้ ย prokaryote - พบในรูป spiral ดว้ ย ใน spirogyra algae (เทาน้า) = green algae - พบ DNA, RNA, ribosome 70 s ท่ี stroma - ยบั ยั้งโดย antibiotic - มี replication คลา้ ย binary fission 12

13

microtubule intermediate filament microfilament 1. แกนของ cilia, flagellum, 1. เช่ือมต่อ cell เรียก gap junction 1. คา้ จนุ cell อยูใ่ ต้ cell centriole 2. คา้ จุน cell เฉพาะใน cell membrane 2. แกนของ mitotic spindle fiber ประสาท เรียก neurofilament 2. ทาให้ cell เกิดรูปร่าง (ใช้ในการแบง่ cell) 3. ทาให้ cell ท่ีอยู่ใน tissue 3. แกนของ microvillus 4. การเคล่อื นที่แบบ amoeboid 3. แกนของ astral fiber (ยดึ เดียวกนั มีหน้าตาเหมือนกนั centriole ในการแบ่ง cell) movement + pseudopodium 5. ทาใหเ้ กดิ phagocytosis 4. ลาเลียง organelle ต่างๆ โดย kinesin pinocytosis exocytosis 6. การงอกของหลอดละอองเรณู 5. ลาเลยี ง microtubule 7. muscle contraction (การหดตัว 6. แกนหลักของ cell (เป็นเสาหลัก) ของกลา้ มเนื้อ) 8. cyclosis 9. cleavage furrow การคอดก่ิว cell ในระยะแบ่ง cytoplasm 10. การเคล่ือนของ coelenterate 14

cilia flagellum basal body centriole 1. 9 + 2 = 20 2. 1-2/ cell 1. 9 + 0 = 27 2. มีไม่แนน่ อน พบเฉพาะใน microtubule 3. ยาวคลา้ ยแส้ microtubule cell สัตว์ 2. จานวนมาก/ 1 cell 4. ใชก้ ารสรา้ งคลื่น 2. ข้ึนกับจานวน cilia, 3. สร้าง mitotic spindle flagellum 3. สน้ั คล้ายพาย 3. เป็นฐานของ cilia, fiber ตอน cell division 4. จาลองตวั เองไดแ้ ต่ไม่ 4. ใชก้ ารพัดโบก flagellum 4. ถกู ควบคมุ โดยเสน้ ใย อสิ ระ ไดเ้ ฉพาะตอนแบ่ง cell (อิสระเฉพาะตอน ประสานงาน แบง่ cell) ในพืชเรียก polar cap 5. แหลง่ ท่ีพบ 5. แหล่งท่พี บ - paramecium - euglena - oviduct (ท่อนาไข่) - volvox - หลอดลมคอ (trachea) - Triconympha - vorticella (เหมอื น กระดิ่ง) (bacteria ยอ่ ย - stentor cellulose ในลาไส้ ปลวก) - tryponosoma (ทาให้ เกดิ โรคเหงาหลบั ในคน) - sperm - พบใน bacteria ด้วยแต่ ไม่ใช่ สตู ร 9+2 ไม่พบ microtubule 15

16

ตารางแสดงการเปรียบเทยี บระหวา่ ง prokaryote และ eukaryote ลักษณะ prokaryote eukaryotes 1. ขนาด 2-5 µm (บางกรณีถงึ 100µm) พืช สตั ว์ 2. ผนังเซลล์ peptidoglycan 3. เยอื่ หุม้ เซลล์ มี 5-100 µm 10-60 µm 4. นิวเคลียส ไม่มี 5. centriole ไมม่ ี cellulose ไมม่ ี 6. vacuole ไม่มี 7. lysosome ไม่มี มี มี 8. ribosomes ขนาดเล็ก (70 S) 9. chloroplast ไมม่ ี มี มี 10. ER ไมม่ ี 11. mitochondria ไมม่ ี (มี mesosome) มีเฉพาะในพืชชนั้ ตา่ มี 12. golgi apparatus ไม่มี 13. chromosome เล็กเปน็ วงกลม ขนาดใหญ่อยกู่ ลางเซลล์ มี 14. การแบ่งเซลล์ binary fission 15. การเรยี งตัวของเซลล์ สว่ นใหญเ่ ป็น unicellular มี มี ขนาดใหญ่ (80 S) ขนาดใหญ่ (80 S) มี ไมม่ ี มี มี มี มี มี มี ยาว ยาว mitosis & meiosis mitosis & meiosis multicellular multicellular 17

การเคล่ือนท่รี ะดับเซลล์ 18

19

20

ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Taxonomy) 21

22

23

24

25

26

27

28

ระบบนเิ วศ (Ecosystem) 1 ชวี นิเวศหรือไบโอม (biome) ชีวนิเวศหรือไบโอม หมายถึง อาณาบรเิ วณทมี่ ีองค์ประกอบ คล้ายคลึงกันท้ังปัจจยั ทางกายภาพ (เชน่ อณุ หภูมิ ปรมิ าณนา้ ฝน ความชน้ื ความเค็ม) และปจั จยั ทางชวี ภาพ (เชน่ พืชและสตั ว)์ ซึ่งกระจายอยูใ่ นเขตภมู ิศาสตร์ตา่ งๆกนั ของโลก 1.1 ไบโอมบนบก (terrestrial biome) 29

ระบบนเิ วศป่าไม้ ลกั ษณะทวั่ ไป บรเิ วณทีพ่ บ ปา่ ไม่ผลัดใบ 1. ปุาดิบชื้น (tropical rain 1.1 มอี ณุ หภมู ิสูงไมเ่ ปลย่ี นแปลงมากนกั - พบในพ้นื ที่มีฝนตกชุก เช่น ภาคใต้ forest หรอื tropical 1.2 มคี วามชื้นสูง evergreen forest) 1.3 พืชยนื ต้นมใี บกวา้ งปกคลุมหนาแนน่ เขียวครึ้ม ตลอดปี 2. ปาุ ดบิ แล้ง 2.1 มีช่วงแหง้ แลง้ อย่างน้อย 3-4 เดอื นตดิ ตอ่ กัน - พบบรเิ วณทีร่ าบในภาคเหนอื และ (dry evergreen forest) 2.2 เปน็ ปาุ โปรง่ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 3. ปาุ ดบิ เขา (hill 3.1 จัดเป็นปาุ ตน้ น้าลาธาร - พบในพ้นื ท่สี ูงเหนอื ระดบั นา้ ทะเล evergreen forest หรอื 1,000 เมตร ขึ้นไป mountain forest) 4. ปาุ ชายเลน (mangrove 1.1 ปาุ ชายเลนจะเจรญิ ในแหลง่ นา้ กร่อย เปน็ ปุา - พบตามแนวชายฝงั่ ทะเลและ forest) รอยตอ่ ระหว่างระบบนิเวศบนบกและระบบนิเวศ ปากแม่นา้ แหลง่ น้าทาให้มีความหลากหลายทางชีวภาพสงู 1.2 พรรณไม้ทพี่ บ ได้แก่ โกงกาง ลาพู ตะบูน แสม เป็นต้น 1.3 ปาุ ชายเลนมีความสาคัญในแงเ่ ป็นแหล่งอาหาร แหลง่ อนบุ าลตวั อ่อนสตั วท์ ะเลทง้ั กงุ้ ปู ปลา และหอย เปน็ แหล่งหลบภยั และแหล่งวางไขข่ อง สตั วน์ ้า 5. ปาุ พรุ (peat swamp 5.1 สภาพเดมิ เป็นดินพรหุ รอื ดินอินทรีย์ที่เกิดจาก - พบตามทล่ี ุ่มมีน้าจดื ขังตลอดปี forest) การยอ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์ และน้าท่ขี งั มกั มสี ีน้าตาลแดง 5.2 นา้ มีความเป็นกรดสงู (เชน่ ปา่ พรุโต๊ะแดง จังหวัด นราธวิ าสเปน็ ป่าพรทุ ่มี ีความ สมบรู ณ์มากที่สุด) ปา่ ผลัดใบ 1. ปาุ เบญจพรรณ (mixed 1.1 ลักษณะเป็นปุาโปรง่ ประกอบดว้ ยพรรณไม้หลัก - พบทุกภาคในประเทศไทยยกเวน้ deciduous forest) ที่สาคัญ 5 ชนดิ (ตามชอื่ ปา่ เบญจพรรณ) ไดแ้ ก่ ในภาคใต้ สัก มะค่า แดง ประดู่ ชงิ ชัน 2. ปุาเต็งรงั หรอื ปาุ แดง 2.1 เปน็ ปาุ โปรง่ มีตน้ ไม้ขนาดใหญ่ - พบในเขตพ้ืนทีแ่ ห้งแล้งของทุกภาค ปาุ แพะ (dry dipterocarp โดยเฉพาะภาคตะวันออก forest) เฉยี งเหนอื 30

1.2 ไบโอมในนา้ หรือชวี นเิ วศในนา้ (aquatic biomes) 1) ไบโอมแหล่งนา้ จืด แบง่ เปน็ 3 เขต คือ เขตนา้ ต้ืนริมฝง่ั หรอื บริเวณชายฝั่ง (littoral zone) เขตผวิ นา้ ห่างจาก ฝัง่ หรอื บรเิ วณผวิ นา้ (limnetic zone) และเขตนา้ ลกึ ใต้เขตลมิ เนติกหรือบริเวณน้าชนั้ ลา่ ง (profundal zone) 2) ไบโอมแหล่งน้าเค็ม ได้แก่ ทะเล และมหาสมทุ ร (ร้อยละ 71 ของพืน้ ผวิ โลก) นอกจากนย้ี งั มชี ว่ งรอยต่อระหว่าง แหลง่ นา้ จดื และแหลง่ นา้ เค็มบรรจบกันทาใหบ้ ริเวณน้นั เป็นนา้ กรอ่ ยเรยี ก แหล่งน้ากรอ่ ย (estuaries) ซงึ่ มักพบตามบรเิ วณ ปากแม่นา้ ทะเลหรือมหาสมทุ รมอี าณาเขตกว้างใหญแ่ ละแบ่งเปน็ ชน้ั ตา่ งๆ กนั ตั้งแต่ชายฝ่ังไปจนถึงกน้ ทะเล ส่วนทล่ี กึ ทสี่ ดุ ประมาณ 6,000 เมตร ทาให้มสี งิ่ มชี วี ติ และสิ่งแวดล้อมแตกต่างกันไป 31

ระบบนิเวศแหล่งน้าเคม็ อาจแบง่ ออกตามลกั ษณะพน้ื ผิวทางกายภาพได้ ดังนี้  หาดทราย เปน็ ระบบนิเวศบรเิ วณชายฝง่ั ต้งั แตร่ ะดบั นา้ ลงตา่ สุ ดจนถึงระดบั น้าข้ึนทนี่ า้ ทะเลสาดซัดไปถึง ประกอบดว้ ยทรายขนาดต่างๆ กนั สง่ิ มีชีวติ ทพี่ บตามบริเวณหาดทราย ไดแ้ ก่ จั๊กจัน่ ทะเล ปูลม เหรียญทะเล หอยเสยี บ หอยหลอด  หาดหิน เปน็ บรเิ วณทป่ี ระกอบด้วยโขดหินไม่ราบเรยี บ มซี อก แอ่งนา้ มีการเปล่ยี นแปลงของปริมาณนา้ ตามนา้ ขน้ึ นา้ ลง ดงั นน้ั สิง่ มีชีวติ ทีอ่ ยู่บริเวณหาดหนิ จะมคี วามคงทนต่อการเปล่ยี นแปลงของอุณหภมู แิ ละความช้นื เชน่ ปู ปลงิ ทะเล เพรยี งหิน หอยนางรม ลิน่ ทะเล  แนวปะการัง (coral reefs) เป็นระบบนเิ วศใต้น้าทีม่ คี วามหลากหลายทางชวี ภาพมากทส่ี ุดและมอี ตั ราการ ผลิตทางนเิ วศสงู สุด นอกจากน้แี นวปะการงั ยังใช้เปน็ ดัชนีบ่งบอกถงึ สภาพแวดลอ้ มชายฝั่งทะเลบรเิ วณน้นั ได้ เน่ืองจากปะการังจะมชี ีวติ อยูไ่ ดใ้ นบริเวณทม่ี ีนา้ สะอาด มี O2 เพยี งพอ มีแสงสอ่ งถึงและอณุ หภมู ไิ ม่สงู  ระบบนเิ วศนา้ กร่อย (estuarial ecosystem) เป็นบรเิ วณท่พี ื้นนา้ ย่นื เขา้ ไปในชายฝัง่ เชน่ อา่ ว ปากน้า และ แอง่ น้าชายฝ่งั ติดต่อกับทะเลใต้ บริเวณนจี้ ะมีอาหารอดุ มสมบูรณ์ทาให้มสี งิ่ มชี วี ติ หลายชนิดเขา้ มาอาศัยอยู่ มากมายหลายชนดิ 32

2 33

3 พีระมิดแสดงความสมั พนั ธ์ของสงิ่ มีชวี ติ 1. พีระมิดจานวน (pyramid of numbers)  แสดงจานวนของสงิ่ มชี ีวิต โดยลาดับ แรกจะมจี านวนมากกว่าลาดับทา้ ยๆ  หัวกลบั ได้ในกรณีต่อไปนี้ o ภาวะอิงอาศัย  ต้นไมใ้ หญ่ o ภาวะปรสิต o saprophytism 2. พีระมดิ มวลชวี ภาพ (pyramid of biomass)  แสดงมวลรวมของสง่ิ มชี ีวิต โดยลาดับ แรกจะมมี วลมากกว่าลาดับทา้ ยๆ ยกเว้นในทะเล plankton จะมมี วลน้อย กวา่ ปลาวาฬ 3. พรี ะมดิ พลงั งาน (pyramid of energy)  พีระมดิ หัวตง้ั เสมอตามกฎ 10% law 90% หายไปกับการ หายใจและกจิ กรรมอืน่ 34

สารพษิ ทไ่ี มถ่ กู ยอ่ ยสลาย เช่น โลหะหนกั ไดแ้ ก่ ปรอท ตะกว่ั แคดเมียม หรือยาฆ่าแมลงบางชนิดทส่ี ลายตวั ยาก เช่น DDT เมอื่ เกดิ ปนเปอ้ื นในสิ่งแวดลอ้ มจะถูกถา่ ยทอดและสะสมในห่วงโซ่อาหารเปน็ แบบการเพ่ิมขยายทางชวี ภาพ (biomagnification หรอื biological magnification) โดยสิง่ มชี ีวิตในลาดบั ทา้ ยจะเกิดการสะสมพิษเหล่านีเ้ ปน็ ทวีคณู 35

4 36

พันธุศาสตร์ (Genetic) 37

NOTE 38

NOTE 39

40

41

42

43

44

45

46

ชุดเก็งขอ้ สอบชวี วทิ ยา (PAT 2) 1. คนไข้ทถ่ี ูกตัดถงุ น้าดีไมค่ วรบรโิ ภคอาหารในข้อใด ข. ขา้ วคลุกกะปิ 4. ก, ข, ค ก. ข้าวมนั ไก่ 3. ก, ค ค. ขา้ วหมกู รอบ 1. ก 2. ข 2. เหตุใดคนเราจงึ ไม่สามารถพูด หายใจเขา้ และกลืนไดพ้ ร้อมกัน ก. เวลาพูดหรือหายใจเข้า ฝาปดิ กล่องเสียงจะต้องเปิด แต่เวลากลนื ฝาปิดกล่องเสยี งจะตอ้ งปิด ข. เวลากลนื เพดานอ่อนและล้นิ ไกจ่ ะถกู ดนั ขนึ้ ปดิ ทางเดนิ หายใจ ขณะทฝ่ี าปิดกลอ่ งเสียงปดิ ค. เวลาหายใจเข้า อากาศจะผา่ นกล่องเสยี ง แต่เวลากลนื อากาศจะผา่ นกลอ่ งเสียงไมไ่ ด้ 1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ก และ ค 4. ก ข และ ค 3. สารอาหารพวกใดท่ีเมื่อดูดซมึ แลว้ จะเขา้ ตับก่อนไปท่ีหวั ใจ 1. กรดอะมิโน วติ ามินเอ กลูโคส 2. กลูโคส กรดอะมิโน วิตามินซี 3. วิตามนิ ดี กลูโคส กรดอะมโิ น 4. วติ ามินซี เกลอื แร่ วิตามินเอ 4. สภาวะของกลา้ มเน้อื ในขอ้ ใดทช่ี ว่ ยทาใหเ้ กดิ การหายใจเขา้ 1. กล้ามเนอื้ กะบังลมคลายตวั ทาให้กะบังลมโค้งขึ้น 2. กลา้ มเนอื้ บริเวณซ่โี ครงแถบนอกหดตัวทาให้กระดกู ซโ่ี ครงยกขึน้ 3. กลา้ มเนื้อบริเวณซโ่ี ครงแถบในหดตัวทาให้กระดกู ซี่โครงยกขึน้ 4. กลา้ มเนื้อหน้าท้องหดตวั ทาให้ปริมาตรในช่องท้องเพม่ิ ขนึ้ 5. ปฏกิ ิรยิ าในข้อใดเกิดในเม็ดเลอื ดแดงขณะลาเลียงผ่านเนือ้ เยอื่ กลา้ มเนื้อ ก. HCO−3 + H+ → CO2 + H2O ข. CO2 + H2O → HCO3− + H+ ค. Hb(O2)4 → Hb + 4O2 ง. Hb + 4O2 → (HbO2)4 1. ก, ค 2. ก, ง 3. ข, ค 4. ข, ง 6. ข้อใดถกู ต้องเก่ียวกบั การลาเลียง O2 และ CO2 ในระบบหายใจ ก. O2 ถกู ลาเลียงไปกบั ฮโี มโกลบินมากกว่าละลายในพลาสมา ข. CO2 สามารถลาเลียงไปกับฮีโมโกลบนิ ได้ ค. เมด็ เลือดแดงลาเลยี ง CO2 ในรปู กรดอนิ ทรีย์บางชนดิ ง. เม็ดเลอื ดของแมลงลาเลยี ง O2 และ CO2 ได้เหมอื นกับเมด็ เลือดแดงของคน 1. ก, ข 2. ข, ค 3. ก, ข, ค 4. ก, ข, ค และ ง 47

7. การทคี่ นเราสามารถกล้ันหายใจได้ช่วั ระยะหนงึ่ เป็นการสงั่ งานของสมองสว่ นใด ก. ซรี บี รัม ข. เมดลั ลาออบลองกาตา ค. พอนส์ 1. ก 2. ก, ข 3. ก, ค 4. ข, ค 8. ข้อใดไมเ่ กยี่ วขอ้ งกับไกลโคลิซิส ข. การผลติ สาร NADH ก. การถา่ ยทอดอิเลก็ ตรอน ง. การผลิตโมเลกลุ นา้ ค. การผลติ ATP ในไซโทพลาสซึม 2. ข, ค 1. ก, ข 4. ก, ง 3. ค, ง 9. เหตุการณใ์ ดเกดิ ขึน้ ระหวา่ งการหายใจแบบใชอ้ อกซเิ จน ก. มกี ารลาเลียงอิเลก็ ตรอนจากสารอาหารผา่ นตัวรับอิเลก็ ตรอนท่เี ยอ่ื ชัน้ ในของไมโทคอนเดรีย ข. มกี ารผลิต ATP ท่ีเยื่อชนั้ นอกของไมโทคอนเดรยี ค. มีออกซเิ จนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนแลว้ มารวมกบั โปรตอนได้โมเลกลุ นา้ ง. มกี ารผลิต ATP ในแมทรกิ ซแ์ ละไซโทพลาสซึม 1. ก, ข 2. ข, ค 3. ค, ง 4. ก, ค 10. การขาดวติ ามนิ ชนดิ ใดทสี่ ง่ ผลต่อการถ่ายทอดอเิ ลก็ ตรอนในการหายใจในระบบเซลล์ 1. โคลนิ ไบโอติน 2. เรตนิ อยด์ กรดโฟลกิ 3. ไนอะซิน ไรโบเฟลวิน 4. กรดแอสคอรบ์ ิก แอลฟาโทรโคเฟอรอล 11. NADH ทีส่ รา้ งจากกระบวนการไกลโคลิซสิ ของเซลลต์ ับและเซลลป์ ระสาท เมื่อนาไปใช้ในการผลติ ATP ในไมโทคอนเดรียจะได้ประมาณ ATP เปรียบเทียบกนั เป็นอยา่ งไร 1. ปรมิ าณเท่ากัน 2. เซลล์ตับผลติ ไดม้ ากกวา่ เซลล์ประสาท 3. เซลลต์ บั ผลิตไดน้ ้อยกวา่ เซลลป์ ระสาท 4. ไมแ่ นน่ อน ข้ึนอยู่กับระดบั พลังงานของอเิ ล็กตรอน 12. การสลายกลูโคสในกระบวนการหมักแอลกอฮอลข์ องยีสตจ์ ะมกี ารผลติ ATP ได้จานวนนอ้ ย เนื่องจากสาเหตุใด ก. ไมส่ ามารถลาเลียงกรดไพรวู กิ เข้าสูไ่ มโทคอนเดรียได้ ข. ไมส่ ามารถนา NADH ไปใชใ้ นกระบวนการผลิต ATP ได้ ค. ขาดเอนไซมท์ ี่ใช้ในกระบวนการหายใจแบบใช้ออกซเิ จน 1. ก, ข 2. ข, ค 3. ก, ค 4. ก, ข, ค 48

13. การทางานของเซลลใ์ นขอ้ ใดเกีย่ วขอ้ งกบั helper T-cell ข. memmory cell ก. B-lymphocyte ค. cytotxic T-cell 2. ข, ค 1. ก, ข 4. ก, ข, ค 3. ก, ค 14. สารหรือเซลลใ์ นขอ้ ใดไมพ่ บในบริเวณ A ก. เมด็ เลือดขาว ข. กลโู คส ค. โปรตนี ง. ฮอรโ์ มน 1. ก 2. ก, ข 3. ข, ค 4. ค, ง 15. การเปล่ยี นแปลงในขอ้ ใดเกดิ ข้นึ เม่ือร่างกายขาดนา้ ก. แรงดนั ออสโมติกของเลอื ดสูงขึ้น ข. ต่อมใต้สมองส่วนหลงั หล่ัง ADH ค. ท่อของหน่วยไตดูดนา้ กลับเพิม่ มากขึน้ 1. ก, ข 2. ข, ค 3. ก, ค 4. ก, ข, ค 16. ข้อใดเปน็ การเพมิ่ ปรมิ าณความรอ้ นใหก้ บั ร่างกาย ข. กล้ามเนื้อโคนขนหดตัว ก. การส่นั เพราะกล้ามเน้อื ลายหดตัว ค. การหายใจแรงและเร็วขน้ึ 3. ก, ค 4. ข, ค 1. ก 2. ก, ข 17. เม่ือกระตนุ้ เซลลป์ ระสาทดว้ ยส่งิ เรา้ ท่ีมีผลใหช้ อ่ งโซเดียมเปดิ จะทาให้ 1. ศกั ยเ์ ยอ่ื เซลลล์ ดลงและเพ่มิ โอกาสการเกิดแอกชันโพเทนเชยี ล 2. ศักย์เยอ่ื เซลล์เพ่มิ ขน้ึ และเพิม่ โอกาสการเกดิ แอกชนั โพเทนเชยี ล 3. ศักย์เยื่อเซลลล์ ดลงและลดโอกาสเกดิ แอกชันโพเทนเชียล 4. ศกั ย์เย่ือเซลล์เพิม่ ข้ึนและลดโอกาสเกดิ แอกชนั โพเทนเชียล 18. รีโพลาไรเซชนั ของเซลล์ประสาท เกิดขน้ึ เพราะเหตใุ ด 1. ช่องโซเดยี มปิดและชอ่ งโพแทสเซียมปดิ 2. ชอ่ งโซเดียมปดิ และชอ่ งโพแทสเซยี มเปดิ 3. ชอ่ งโซเดยี มเปิดและชอ่ งโพแทสเซยี มปิด 4. ช่องโซเดียมเปิดและชอ่ งโพแทสเซียมเปิด 49

19. ขอ้ ใดไมถ่ ูกตอ้ งเก่ียวกบั ระบบประสาทอตั โนมตั ชิ นดิ พาราซิมพาเทตกิ ก. นาคาสง่ั ยบั ย้งั การเต้นของหัวใจ ข. นาคาสง่ั ทาใหร้ มู ่านตาขยาย ค. เซลลป์ ระสาทหลงั ไซแนปส์หลงั่ นอร์เอพิเนฟรนิ มาควบคุมหน่วยปฏบิ ตั งิ าน ง. เซลลป์ ระสาทก่อนไซแนปส์หล่งั แอซติ ลิ โคลีนมายังเซลลป์ ระสาทหลังไซแนปส์ 1. ก, ข 2. ข, ค 3. ค, ง 4. ก, ข, ค 20. ข้อใดถกู ตอ้ งเกยี่ วกับฮอรโ์ มน ฮอร์โมน แหลง่ สรา้ ง หน้าที่ ก. เทสโทสเตอโรน อนิ เตอรส์ ตเิ ซยี ลเซลล์ ควบคุมลักษณะเพศชาย ข. เทสโทสเตอโรน อินเตอรส์ ติเซียลเซลล์ กระต้นุ การสรา้ งสเปริ ์ม ค. LH ตอ่ มใตส้ มองส่วนหน้า กระตนุ้ การหลัง่ ฮอร์โมนเพศชาย ง. FSH ต่อมใตส้ มองส่วนหน้า กระตุ้นการผลติ ฮอรโ์ มนเพศชาย 1. ก, ค 2. ก, ง 3. ข, ค 4. ข, ง 21. ในช่วงเวลาใดที่ระดบั ฮอรโ์ มนในเลอื ดมีคา่ สงู กว่าระดับปกติ ก. FSH - หลงั ตกไข่ 1 วัน ข. LH - กอ่ นตกไข่ 1 วัน ค. นอร์เอพิเนฟริน - เวลาตกใจ 1. ก, ข 2. ข, ค 3. ก, ค 4. ก, ข, ค 22. กราฟแสดงระดบั ฮอร์โมนต่างๆ ในรอบเดือนของหญิงสาว ก, ข และ ค คอื ฮอร์โมนใดตามลาดับ 2. estrogen, LH, progesterone 1. estrogen, progesterone, LH 4. LH, estrogen, progesterone 3. progesterone, estrogen, LH 23. โครงสร้างกับฮอรโ์ มนทม่ี บี ทบาทตอ่ ระบบสบื พันธุ์ในขอ้ ใดไมเ่ ขา้ คกู่ ัน 1. เซลล์ฟอลลเิ คลิ -เอสโทรเจน 2. เซลล์เลย์ติก-เทสโทสเทอโรน 3. คอร์ปสั ลูเทยี ม-โพรเจสเทอโรน 4. ตอ่ มใต้สมองสว่ นหน้า-ออกซิโทซิน 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook