Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา ทำ e book

ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา ทำ e book

Published by wisitsrip, 2022-04-12 05:53:53

Description: ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา ทำ e book

Search

Read the Text Version

ความรู้พ้ืนฐานทางเภสัชวิทยา หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง สาขาปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ กรมแพทยท์ หารเรือ โดย นาวาเอกหญิง เภสัชกรหญิง วิสิ ฏฐ์ ศรี เพิ่มสุขจิตต์ กรมแพทย์ทหารเรื อ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 1

เนือ้ หา ความหมายของยา ความหมายของ “เภสัชวิทยา (Pharmacology)” การเรียกช่อื ยา แหล่งท่มี าของยา (sources of drugs) กฎหมายเกีย่ วกบั ยา การแบง่ ประเภทของยาตามกฎหมายและพระราชบญั ญัติยา วัตถทุ ่อี อกฤทธต์ิ อ่ จิตและประสาท ยาเสพตดิ ให้โทษ รูปแบบของยา (dosage form) วิธกี ารใชย้ าแต่ละรปู แบบท่ถี ูกตอ้ ง การตรวจสอบลกั ษณะของยาท่ีเส่ือมคณุ ภาพและยาหมดอายุ ความคงสภาพของยา (stability)/อายกุ ารเกบ็ รกั ษา (shelf life) วันหมดอายหุ รอื วนั ส้ินอายุ (expiration date) การจัดการยาหมดอายุหรือเสื่อมสภาพ สภาวะในการเก็บรักษายา (Storage condition) หลักปฏบิ ัติในการเก็บรกั ษายาในโรงพยาบาล/หน่วยแพทย์ บรรจุภัณฑท์ ี่เหมาะสมกับรูปแบบและชนิดของยา ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 2

รายการยาที่เก็บพน้ แสง (Protect from light) รปู แบบของภาชนะบรรจุยาปราศจากเชอื้ ขอ้ มลู แสดงบนบรรจภุ ัณฑข์ องยา คาศัพทท์ างเภสชั กรรมเบ้อื งต้น (ทใ่ี ช้ในงานเภสชั กรรม หรือเกี่ยวข้อง กบั ยา) คายอ่ ที่ใชใ้ นใบส่ังยา เภสชั จลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics ) เหตกุ ารณ์ไม่พึงประสงคจ์ ากการใช้ยา (Adverse Drug Event, ADE) การคานวณทางเภสัชกรรมเบ้ืองตน้ การเลือกใชย้ า และให้คาแนะนาในการใช้ยาสาหรับดูแลสุขภาพ เบ้อื งตน้ การปฏิบตั งิ านตามหลักการจ่ายยาท่ดี ี ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 3

ความหมายของยา “ยา” ตามพระราชบญั ญตั ยิ า พ.ศ.2510 มาตรา4 หมายความว่า (1) วัตถุที่รบั รองไวใ้ นตารายาท่ีรัฐมนตรปี ระกาศ (2) วัตถุท่ีมุ่งหมายสาหรับใช้ในการวินิจฉัย บาบัด บรรเทา รักษา หรือ ปูองกนั โรค หรือความเจบ็ ปวุ ยของมนุษยห์ รอื สัตว์ (3) วัตถุท่เี ป็นเภสัชเคมภี ัณฑ์ หรือเภสชั เคมีภณั ฑก์ ง่ึ สาเรจ็ รปู หรือ (4) วัตถุท่ีมุ่งหมายสาหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการ กระทาหน้าทใ่ี ด ๆ ของรา่ งกายของมนุษย์ หรอื สตั ว์ “ยา” ตามความหมายขององค์กรอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) หมายถึง สารเคมีท่ีเม่ือให้เข้าไปในส่ิงมีชีวิต จะ มีผลเปล่ียนแปลงระบบการทางานของร่างกาย มีประโยชน์ใช้ในการ บาบดั รักษา ปูองกัน วินิจฉยั โรคต่างๆ รวมถึง ส่งเสริมสุขภาพ ความหมายของ “เภสัชวทิ ยา (Pharmacology)” เภสัชวิทยาเป็นวิชาท่ีศึกษาเก่ียวกับยาหรือสารเคมี ที่ร่างกายได้รับเข้า ไป เกดิ ปฏกิ ิริยากบั ระบบต่างๆ ผา่ นกระบวนการเปล่ียนแปลงทางชีวะ เคมี ทาให้ทราบกลไกการออกฤทธ์ิ, การดูดซึม,การกระจายตัว, การ แปรสภาพหรือการเปล่ียนแปลงยาหรือสารเคมีในร่างกาย และการ ขับถ่ายออกจากร่างกาย รวมการนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ และพิษของ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 4

ยาน้ัน ท้ังนี้องค์ความรู้ดังกล่าวจะทาให้บุคลากรทางด้านการแพทย์มี ความรู้เก่ียวกับยา เข้าใจเหตุผลในการให้ยาแก่ผู้ปุวย รวมถึงมีความรู้ เพ่ือสังเกตผลที่เกิดข้ึนจากการใช้ยา และให้คาแนะนาการใช้ยาท่ี ถูกต้อง ปลอดภัย เปน็ ไปตามแผนการรักษา การเรียกช่ือยา การเรยี กชื่อยาต่างๆ มอี ยู่ 3 ลกั ษณะ คือ 1.ชื่อสามัญ (Generic name) เป็นชื่อสากลของยา ที่ใช้เรียกอย่าง เป็นทางการ โดยทั่วไปมักจะเป็นชื่อเรียกมาตรฐานที่องค์การอนามัย โลกกาหนด ซึ่งแสดงถึงสารออกฤทธ์ิในผลิตภัณฑ์ยา ประโยชน์การใช้ ช่ือสามัญทางยาคือ ใช้ยาได้อย่างเหมาะสม หลีกเลี่ยงตัวยาที่แพ้ หรือ การใช้ยาซ้าซ้อน ช่วยลดค่าใช้จ่าย และลดความเส่ียงจากการใช้ยาเกิน ขนาดทีเ่ ปน็ ชนิดเดยี วกัน ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตราย ผู้ใช้ยาจึงควรทราบ ส่วนประกอบ หรือชื่อสามัญทางยาของยาท่ีใช้ (แต่ยาหลายตัวมีช่ือ สามญั ท่คี ล้ายกนั มาก ทาให้การสั่งยา จา่ ยยา ผดิ พลาดได)้ 2.ชื่อทางการค้า (Trade name) เป็นชื่อที่บริษัทผู้ผลิตยาต้ังข้ึนเพื่อ การค้า โดยจะต้ังช่ือจาเพาะของผลิตภัณฑ์ของตน เพื่อให้เป็น เอกลักษณ์ ง่ายต่อการจดจา และสะดวกต่อการส่งเสริมการขาย ห้าม ซ้ากัน ต้องจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้า ชื่อการค้าจะมีเคร่ืองหมาย ® กากับไว้หลังชอื่ ดา้ นบน 3.ช่ือทางเคมี (Chemical name) เป็นช่ือที่แสดงสูตรโครงสร้างทาง เคมขี องยา ช่อื มกั จะยาว เรียกยาก จาไดย้ าก ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 5

ตัวอยา่ ง1 ชอ่ื สามญั ทางยา (Generic name): Paracetamol หรือ Acetaminophen ช่ือการค้า (Trade name) : Tylenol®, SaRa®, Paracap®, Cemol®, Paracetamol GPO® ชื่อทางเคมี (Chemical name) : N-Acetyl-p-aminophenol ตวั อยา่ ง2 ชื่อสามญั ทางยา (Generic name) : Diazepam ชอื่ การค้า (Trade name): DiazepamGPO®,Sipam®,Valium® ชื่อทางเคมี (Chemical name) : 7-chloro-1,3-dihydro-1-methyl- 5-phenyl-2H-1,4-benzodiazepin 2-one แหล่งทม่ี าของยา 1 ยาทไี่ ด้จากธรรมชาติ Natural substances ยาท่ีไดจ้ ากแรธ่ าตุ สตั วแ์ ละพืช เชน่ ยาท่สี กดั จากการเลีย้ งเชือ้ จลุ นิ ทรยี ์ ได้แก่ ยาปฏิชีวนะ เช่น Penicillins ได้มาจากเช้ือราเพนิซลิ เลยี ม (Penicillium) เป็นตน้ 2 ยาที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี Synthetic substances ยา ส่วนใหญ่ท่ีใช้ในปัจจุบันได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี โดยเลียนแบบ สารบริสุทธิ์ท่ีได้จากธรรมชาติ เพื่อผลิตในปริมาณมากลดต้นทุนการ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 6

ผลิต หรืออาจเกิดจากการค้นพบโดยบังเอิญจากการสังเกต จึงค้นพบ ฤทธข์ิ องยา และนามาใช้ประโยชน์ในการรักษา 3 ยาทไ่ี ดจ้ ากการก่ึงสังเคราะห์ทางเคมี Semi-synthetic substances เป็นยาทพ่ี ฒั นาจากการนาสารจากธรรมชาตมิ าดัดแปลง โครงสร้างทางเคมี ยาท่ีไดใ้ หม่มกั มีคุณสมบัติที่ดกี วา่ เดิม มคี วามเฉพาะ เจาะจงและระยะเวลาการออกฤทธ์มิ ากข้ึน เชน่ Amoxicillin เป็น semi-synthetic penicillin 4 Biotechnology drugs ชวี ะเภสชั ภณั ฑ์ การพัฒนายาใหม่ๆโดยใช้ เทคโนโลยีทางชีวภาพมาใช้ในการพัฒนายา เพ่ือให้ได้ยาที่ออกฤทธิ์ เฉพาะเจาะจง ได้ประสิทธิภาพในการรักษา และมีผลข้างเคียงน้อย หรือเรยี กยากลุ่มนวี้ ่า “ยาชวี วตั ถุ” โดยอาจใช้ เทคโนโลยชี วี ภาพดั้งเดิม หรอื สมัยใหม่ในกระบวนการผลิตบางสว่ นหรอื ท้ังหมด เช่น ยาปฏิชีวนะ ท่ีสกัด จากเชื้อรา, อินซูลิน (insulin) ท่ีสกัดจากตับอ่อนหมู, อินซูลินท่ี ผลิตจากเทคนคิ พนั ธุวิศวกรรม, ยาโมโนโคลนอลแอนติบอดี้ ท่ีใช้ในการ รักษาโรคมะเรง็ หรือใชต้ ้านไวรัสโควิด 19 เปน็ ต้น ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 7

กฎหมายเกย่ี วกบั ยา ยาเป็นหนึ่งในปจั จัยส่ี เปน็ ทรพั ยากรที่สาคัญในการดูแลสุขภาพของ ประชาชน ในแต่ละปีค่าใช้จ่ายด้านยาถือเป็นสัดส่วนท่ีสูงของค่าใช้จ่าย ในการดแู ลสขุ ภาพ ดงั นน้ั จงึ จาเปน็ ตอ้ งมีการจัดระบบการกากับดูแลท่ีมี ประสิทธิภาพ ซึ่งกฎหมายเป็นเครื่องมือหน่ึงในการควบคุมการ ปฏิบัติการของสมาชิกในสังคมให้เกิดความเรียบร้อย รัฐจึงมีการออก กฎหมายท่ีเก่ียวกับยาหลายฉบับท่ีเกี่ยวข้องกับบุคลากรทางการแพทย์ และผู้เก่ียวข้อง เพ่ือใช้ในการกากับดูแลต้ังแต่การคัดเลือก การผลิต การจัดซ้ือจัดหา การส่ังใช้และการใช้ยา การคุ้มครองผู้บริโภคตลอด วงจรชีวิตของยา ตัวอยา่ งเช่น กฎหมายที่เกีย่ วกับการควบคุมตวั ผลิตภัณฑ์ 1. พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 รวมถึงฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม จนถึง ปจั จบุ ัน พ.ร.บ.ยา ฉบับท่ี 6 พ.ศ. 2562 2. พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ.2564 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2564) และประมวลกฎหมายยาเสพติด ท่ีมีผลบังคับใช้ เมื่อ 9 ธันวาคม 2564 ( ใช้แทน พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 รวมถึงฉบับ ท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2564 , พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2559 และกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ ง) 3. พระราชบญั ญัติผลิตภัณฑ์สมนุ ไพร พ.ศ. 2562 ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 8

กฎหมายท่ีเก่ียวกับการควบคุมการประกอบวิชาชีพ และบริการ สุขภาพ 4. พระราชบัญญัติวิชาชีพ ท้ัง 8 สาขา (เวชกรรม การพยาบาลและ ผดุงครรภ์ เภสัชกรรม ทันตกรรม เทคนิคการแพทย์ กายภาพบา บัด การแพทย์แผนไทย การสาธารณสขุ ชุมชน) 5. พระราชบญั ญัติควบคุมการประกอบโรคศลิ ปะ พ.ศ. 2542 6. พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 รวมถึงฉบับท่ีแก้ไข เพิม่ เติมจนถึงปัจจุบัน ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2559 7. พระราชบัญญตั ิระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 8. พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินและที่เก่ียวข้องกับระบบ การแพทย์ฉุกเฉนิ พ.ศ. 2551 ซึ่งนอกจากนี้ยังมีกฎหมายท่ีเก่ียวกับผู้บริโภค กฎหมายท่ีเก่ียวกับ องค์กรต่างๆและกาหมายเฉพาะอื่นๆ เช่น พระราชบัญญัติจัดซื้อจัด จ้างและการบริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติความม่ันคง ดา้ นวัคซนี แห่งชาติ พ.ศ.2561 เป็นตน้ ที่มสี ว่ นเก่ียวขอ้ งกบั ยา การแบ่งประเภทของยาตามกฎหมายและพระราชบญั ญตั ยิ า ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3 พ.ศ.2522 ,ฉบับที่ 5 พ.ศ.2530 ได้แบ่งประเภทของยา และให้ ความหมายไว้ดงั นี้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 9

1. ยาแผนปัจจุบัน หมายถึง ยาท่ีมุ่งหมายสาหรับใช้ในการ ประกอบวิชาเวชกรรม การประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน หรือการ บาบัดโรคสตั ว์ 2. ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่มุ่งหมายสาหรับใช้ในการ ประกอบโรคศิลปะแผนแผนโบราณ หรือการบาบัดโรคสัตว์ ซึ่งอยู่ใน ตาราแผนโบราณทร่ี ฐั มนตรปี ระกาศเป็นยาแผนโบราณ* *นบั ตั้งแต่ 29 มิถุนายน 2562 กาหนดให้ ยาแผนโบราณสาหรับมนุษย์ อยู่ภายใต้การควบคุมของ พระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 3. ยาอันตราย หมายถึง ยาปัจจุบันหรือยาแผนโบราณท่ีรัฐมนตรี ประกาศใหเ้ ปน็ ยาอันตราย การใช้ยาน้ีจึงต้องผ่านการดูแลจากเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข เช่น แพทย์ หรือเภสัชกร ยาในกลุ่มนี้จะมีคาว่า “ยาอันตราย” ระบุไว้บนฉลากข้าง ภาชนะบรรจุ และจาหน่ายได้เฉพาะในร้านขายยาแผนปัจจุบันท่ีมีเภสัช กรแผนปัจจุบันทาหน้าที่ควบคุมดูแล หรือจาหน่ายได้ในโรงพยาบาล สถานอี นามยั หรอื คลินกิ ทม่ี ีแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ประจาการอยู่ เช่น ยาลด ความดนั ยารกั ษาโรคเบาหวาน ยาปฏชิ วี นะ เปน็ ตน้ 4. ยาควบคุมพิเศษ หมายถึง ยาปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่ รัฐมนตรีประกาศให้เปน็ ยาควบคมุ พิเศษ ยาควบคมุ พเิ ศษ เปน็ ยาที่อาจเกิดอันตรายได้สูงหากใช้ไม่ถูกต้อง ผู้ปุวย ท่ีต้องใช้ยาน้ีต้องได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ก่อน บางชนิดมีใช้เฉพาะ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 10

ในโรงพยาบาลเท่าน้ัน บางชนิดท่ีมีในร้านขายยาจะจาหน่ายได้เฉพาะมี ใบส่ังแพทย์ ยาในกลุ่มนี้สังเกตได้จาก “อักษรสีแดง” ที่ระบุว่า “ยา ควบคุมพิเศษ” บริเวณกล่อง หรือภาชนะบรรจุยา ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ เชน่ ยาเม็ดสเตยี รอยด์ เปน็ ตน้ 5. ยาสามัญประจาบ้าน หมายถึง ยาปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ ที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็นยาสามัญประจาบ้าน ยาสามัญประจาบ้าน ได้รับการพิจารณาแล้วว่าปลอดภัย เป็นอันตรายต่อสุขภาพน้อย สามารถใช้ได้เลย ไมต่ อ้ งอยู่ในความดแู ลของแพทย์ เป็นยาท่ีจาหน่ายได้ โดยท่ัวไปไม่ต้องมีใบอนุญาตขายยา และให้ผู้ปุวยสามารถตัดสินใจ เลือกใช้ยาด้วยตนเองตามอาการเจ็บปุวยเบ้ืองต้น ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ เช่น ยาเม็ดบรรเทาปวดลดไข้พาราเซตามอล 500 มิลลิกรัม (เฉพาะ ขนาดบรรจุ 4 และ 10เม็ด) ยาเม็ดแก้แพ้ ลดน้ามูกคลอร์เฟนิรามีน 2 มิลลิกรัม (ขนาด บรรจุ 4 และ 10 เม็ด) เปน็ ตน้ 6. ยาบรรจุเสร็จ หมายถึง ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณท่ี ผลิตข้ึนเสร็จในรูปแบบต่างๆทางเภสัชกรรม มีบรรจุในภาชนะหรือหีบ หอ่ ทปี่ ิดหรอื ผนกึ ไว้ และมฉี ลากครบถ้วน 7. ยาใช้ภายนอก หมายถึง ยาปัจจุบันหรือยาแผนโบราณท่ีใช้ สาหรบั ภายนอกร่างกาย ไม่รวมถงึ ยาใช้เฉพาะท่ี 8. ยาใช้เฉพาะท่ี หมายถึง ยาปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่ใช้ได้ เฉพาะทก่ี บั หู ตา จมูก ปาก ทวารหนัก ช่องคลอด หรอื ท่อปสั สาวะ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 11

ตามพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ.2562 ได้ให้ความหมาย “สมนุ ไพร” และ “ยาสมนุ ไพร” ไว้ดังนี้ “สมุนไพร” หมายถึง ผลิตผลธรรมชาตทิ ่ไี ดจ้ ากพชื สัตว์ จลุ ชีพ หรือแร่ ท่ใี ช้ ผสม ปรงุ หรือแปรสภาพ เป็น ผลติ ภัณฑส์ มุนไพร “ยาจากสมุนไพร” เป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์สมุนไพร และให้หมายความ รวมถึงยาแผนไทย ยาพัฒนาจากสมุนไพร ยาแผนโบราณท่ีใช้กับมนุษย์ ตามกฎหมายว่าด้วยยา หรือยาตามองค์ความรู้ การแพทย์ทางเลือก ตามที่รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการประกาศกาหนด เพื่อ การบาบดั รักษา และบรรเทาความเจ็บปวุ ยของมนุษย์ หรือการปูองกัน โรค ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 12

ยาเสพติดให้โทษ และวตั ถุออกฤทธ์ิ ตาม มาตรา 1 ในประมวลกฎหมายยาเสพติด ทา้ ยพระราชบัญญัติให้ใช้ ประมวลกฎหมายยาเสพตดิ พ.ศ.2564 ไดใ้ ห้ความหมายไวด้ ังนี้ “ยาเสพติด” หมายความว่า ยาเสพติดให้โทษ วัตถุออกฤทธ์ิ หรือสาร ระเหย “ยาเสพติดให้โทษ” หมายความว่า สารเคมี พืช หรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่ง เมื่อเสพแล้วทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสาคัญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเป็นลาดับ มีอาการถอนยา เมื่อขาดยา มี ความตอ้ งการเสพทง้ั ทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา และ สุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมถึงสารเคมีที่ใช้ในการผลิต ยาเสพติดใหโ้ ทษด้วย แต่ไม่หมายความรวมถึงยาสามัญประจาบ้านบาง ตารบั ท่มี ียาเสพติดให้โทษผสมอยู่ตามกฎหมายว่าดว้ ยยา “วัตถุออกฤทธิ์” หมายความว่า วัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาทท่ี เป็นสิ่งธรรมชาติหรือท่ีได้จากส่ิงธรรมชาติ หรือวัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิต และประสาทท่ีเปน็ วตั ถุสงั เคราะห์ ประเภทของยาเสพติดให้โทษ และวตั ถอุ อกฤทธ์ิ ตาม มาตรา 29 ยาเสพติดให้โทษแบ่งออกเป็น 5 ประเภท โดยระบุชื่อยาเสพติดให้โทษ แตล่ ะประเภท ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ดงั น้ี 1. ประเภท 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอีน (Heroin) ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 13

2. ประเภท 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น โคคาอีน (Cocaine), โคเดอีน (Codeine) ,ไดเฟนอกไซเลต (Diphenoxylate) , เฟนทานิล (Fentanyl) , ฝิ่นยา* (Medicinal Opium) , เมทาโดน (Methadone) มอร์ฟีน (Morphine) , เพทิดีน (Pethidine) , เรมิเฟนทานิล (Remifentanil) , ออกซิโคโดน (Oxycodone) , ทาเพนทาดอล (Tapentadol) (ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กาหนดชนิด และจานวนยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ที่จะต้องใช้ในทางการแพทย์ และทางวิทยาศาสตรท์ วั่ ราชอาณาจกั รประจาปี พ.ศ. 2565) * ฝ่ินยา (Medicinal Opium) หมายความว่า ฝิ่นที่ได้ผ่าน กรรมวธิ ปี รุงแตง่ โดยมคี วามม่งุ หมายเพอื่ ใชใ้ นทางยา 3. ประเภท 3 ยาเสพตดิ ให้โทษท่ีมลี ักษณะเป็นตารับยา และมียา เสพติดให้โทษในประเภท 2 ผสมอยู่ด้วย ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์ท่ี รั ฐ ม น ต รี ว่ า ก า ร ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข โ ด ย ก า ร เ ส น อ แ น ะ ข อ ง คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดประกาศกาหนด เช่น ยาน้าแก้ไอที่มี Codeine เป็นส่วนผสม ,ยาแก้ปวดที่มี Codeine เป็นส่วนผสม, ยาแก้ ไอที่มีฝ่ินเป็นส่วนผสม (Opium Tincture) , ยาแก้ท้องเสียท่ีมี Diphenoxylate เปน็ สว่ นผสม เปน็ ตน้ 4. ประเภท 4 สารเคมีท่ีใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษใน ประเภท 1 หรือประเภท 2 เช่น อาเซติค แอนไฮไดรด์ (Acetic Anhydride) ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 14

5. ประเภท 5 ไดแ้ ก่ (1) พืชฝิ่น ท่ีให้ฝิ่นหรือแอลคาลอยด์ของฝ่ิน (2) เห็ดขี้ควาย ท่ีให้สาร psilocybin (3) สารสกัดจากทุกส่วนของพืช กัญชาหรือกัญชง ซึ่งเป็นพืชในสกุล Cannabis ยกเว้น สารสกัด ดังต่อไปนี้ (ก) สารสกัดท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC ) ไม่เกินร้อยละ 0.2 โดยน้าหนัก เ ฉ พ า ะ ที่ ไ ด้ รั บ อ นุ ญ า ต ใ ห้ ส กั ด จ า ก พื ช กั ญ ช า ห รื อ กั ญ ช ง ท่ี ป ลู ก ภายในประเทศ (ข) สารสกัดจากเมล็ดของพืชกัญชาหรือกัญ ชง ท่ีได้จากการปลูกภายในประเทศ (ตามประกาศกระทรวง สาธารณสขุ เรือ่ ง ระบุช่อื ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2565) คณะกรรมการอาหารและยา กาหนดให้ผู้รับอนุญาตให้จาหน่ายหรือมี ไว้ครอบครองซงึ่ ยาเสพติดใหโ้ ทษประเภทท่2ี ตอ้ งจดั ใหม้ ี - การทาบญั ชรี บั จา่ ยยาเสพตดิ ให้โทษในประเภทท่ี2 เพ่ือการรักษาหรือ ปอู งกนั โรคใหแ้ ก่ผู้ปวุ ย ใหใ้ ชแ้ บบ ร.ย.ส.2 - แพทย์ผ้สู งั่ จ่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ต้องเขียนแบบ ย.ส.2-2 ใบสงั่ จ่ายยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 2 ทุกครัง้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 15

วตั ถุทอ่ี อกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท ตาม “พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ.2564 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2564) และ ประมวลกฎหมายยาเสพตดิ ทมี่ ผี ลบงั คบั ใช้ เมื่อ 9 ธันวาคม 2564” ได้ใหค้ วามหมายไวว้ ่า “วัตถุออกฤทธิ์” หมายความว่า วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่ เป็นสิ่งธรรมชาติหรือท่ีได้จากส่ิงธรรมชาติ หรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิต และประสาททเ่ี ป็นวตั ถุสังเคราะห์ ทง้ั น้ี ตามทร่ี ัฐมนตรปี ระกาศกาหนด มาตรา 30 วัตถุออกฤทธ์ิแบ่งออกเป็น 4 ประเภท และตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ระบุช่ือวัตถุออกฤทธิ์ พ.ศ. 2561 และฉบับ เพิ่มเตมิ ดังนี้ วตั ถอุ อกฤทธ์ใิ นประเภทที่ 1 เป็นวตั ถอุ อกฤทธิ์ท่ีไม่ใช้ในทางการแพทย์ และอาจกอ่ ใหเ้ กดิ การนาไปใช้หรือ มีแนวโน้มในการนาไปใช้ในทางท่ีผดิ สงู เชน่ เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC ) เวน้ แต่เตตราไฮโดรแคนนาบินอล ซงึ่ มีอยใู่ นกัญชา (cannabis) ตาม กฎหมาย ว่าดว้ ยยาเสพตดิ ให้โทษ ไซบูทรามีน (sibutramine) เดิมคือยาท่ีใช้ในการรักษาและควบคุม โรคอ้วน ถูกยกเลิกทะเบียนตารับ ในปี พ.ศ.2559 เนื่องจากมีผลต่อ ระบบหัวใจและหลอดเลือด จนเปน็ อันตรายถึงแก่ชีวิต แต่มีการลักลอบ ใสไ่ ซบูทรามนี ในผลติ ภัณฑ์เสรมิ อาหาร ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 16

วัตถุออกฤทธ์ิในประเภทที่ 2 เป็นวัตถุออกฤทธิ์ท่ีใช้ในทางการแพทย์ และอาจก่อใหเ้ กิดการนาไปใช้หรือมีแนวโน้มในการนาไปใช้ในทางท่ีผิด สูง [กฎหมายห้ามมิให้ผู้ใด ผลิต ขาย นาเข้า หรือส่งออก ซ่ึงวัตถุออก ฤทธิ์ในประเภท2 ยกเวน้ กระทรวงสาธารณสุข หรอื ผซู้ ึง่ ได้รับมอบหมาย จากกระทรวงสาธารณสขุ ตัวอย่างเช่น Alprazolam, Midazolam, Zolpidem ใช้คลายวติ กกงั วลชว่ ยให้หลับ Ephedrine ใชร้ ักษาความดันโลหติ ตา่ Ketamine ใชเ้ ปน็ ยานาสลบ Pseudoephedrine ใชล้ ดอาการคั่งของน้ามูก บรรเทาอาการคดั จมกู วัตถุออกฤทธ์ิในประเภท 3 วัตถุออกฤทธิ์ที่ใช้ในทางการแพทย์ และ อาจก่อให้เกิดการนาไปใช้ หรือมีแนวโน้มในการนาไปใช้ในทางท่ีผิด เช่น Meprobamate , Pentobarbital , เปน็ ต้น วัตถุออกฤทธ์ิในประเภท 4 วัตถุออกฤทธ์ิท่ีใช้ในทางการแพทย์ และ อาจก่อให้เกิดการนาไปใช้ หรือมีแนวโน้มในการนาไปใช้ในทางท่ีผิด น้อยกว่าประเภท 3 ส่วนใหญ่ใช้เป็นยาคลายวิตกกังวล คลายเครียด ช่วยให้หลับ คลาย กล้ามเนื้อ เช่น Diazepam , Lorazepam , Clonazepam , Phenobarbitol เปน็ ตน้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 17

คณะกรรมการอาหารและยา กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขใน การทาบัญชีรับ - จ่าย และควบคุมการทาบัญชี และรายงาน ของผู้รับ อนุญาตท่ีครอบครองหรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธ์ิในประเภท 2 หรือประเภท 3 หรือประเภท 4 โดยระบุวัน เดือน ปี ท่ีจ่ายชื่อยา ช่ือ ผู้รับยา จานวนจ่าย จานวนคงเหลือ ตามแบบฟอร์มที่คณะกรรมการ อาหารและยา กาหนด ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 18

รูปแบบของยา (dosage form) 1. เภสชั ภัณฑร์ ูปแบบของแขง็ (solid dosage forms) - ยาผง (powders) เชน่ ยาผงเกลอื แร่ (Oral Rehydration Salts) - ยาแกรนลู (granules) มีลักษณะเปน็ เม็ด เลก็ ๆ จะมีขนาดใหญ่กว่ายา ผงเล็กนอ้ ย ตวงไดโดยใชช้ อ้ น - ยาแคปซูลแข็ง (hard capsules) บรรจุผงยาแกรนูล หรืออาจบรรจุ เม็ดกลมเล็กๆ เรียก เพลเล็ต (pellets) ท่ีควบคุมการปลดปล่อยยาให้ ออกฤทธ์นิ าน (Extended release capsule) - ยาแคปซูลน่ิม (soft capsules) หรือเรียกว่า Softgel บรรจุยาที่เป็น ของเหลว เช่น วิตามนิ ต่างๆ น้ามนั ตบั ปลา เพลเล็ต (pellets) multiple compressed tablets soft capsules sustained-release tablets enteric-coated tablets - ยาเมด็ (tablets) เช่น ยาเมด็ ตอกอัดธรรมดา (plain compressed tablets), ยาเม็ดตอกอดั หลายชั้น (multiple compressed tablets), ยาเมด็ เคย้ี ว (chewable tablets), ยาเมด็ อมใตล้ น้ิ (sublingual tablets), ยาเมด็ ออกฤทธนิ์ าน (sustained-release tablets), ยาเมด็ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 19

ฟองฟูุ (effervescent tablets) ,ยาเมด็ แตกกระจายเรว็ ในปาก (orodispersible tablets) - ยาเม็ดเคลือบ (coated tablets) เช่น ยาเม็ดเคลือบน้าตาล (sugar- coated tablets), ยาเม็ดเคลือบฟิล์ม (film-coated tablets), ยาเม็ด เคลือบเอน็ เทอริก (enteric-coated tablets) เปน็ ต้น ยาเม็ดเคลือบน้าตาล (sugar-coated tablets) เป็นการเคลือบด้วย น้าตาล ส่วนใหญ่แล้วมีวัตถุประสงค์เพ่ือลดความขมและกล่ินของตัวยา และลดโอกาสของตวั ยาในการสัมผัสแสง ออกซเิ จน หรือ ความชื้น เป็น ตน้ ยาเม็ดเคลือบฟิล์ม (film-coated tablets) การเคลือบด้วยฟิล์ม นอกจากมีวัตถุประสงค์ของการเคลือบเช่นเดียวกับการเคลือบด้วย น้าตาลแล้ว การเคลือบด้วยฟิล์มอาจมีวัตถุประสงค์เพ่ือปรับ หรือ ควบคุมการปลดปล่อยยาภายในยาเม็ดดว้ ย ยาเม็ดเคลือบเอ็นเทอริก (enteric-coated tablets หรือ gastro- resistant coating) เป็นยาเม็ดเคลือบที่ปูองกันไม่ให้ยาถูกทาลายหรือ แตกตัวในกระเพาะอาหาร แต่ให้ยาแตกตัวในลาไส้ เคลือบด้วยฟีล์ม enteric polymer ซึง่ มีคณุ สมบตั ิไมล่ ะลายในสภาวะกรด แต่ละลายใน เบสอ่อน นิยมใช้กับยาท่ีระคายเคืองกระเพาะอาหาร เช่น ยาต้าน อกั เสบท่ไี ม่ใช่สเตียรอยด์ หรอื ยาที่ไมค่ งสภาพในสภาวะกรด - ยาอมเม็ดแข็ง (lozenges) และยาอมเมด็ น่มิ (pastilles, jujubes) - ยาลูกกลอน (pills) - ยาเหน็บทวารหนัก (rectal suppositories) (อาจจัดเป็นรูปแบบก่ึง แขง็ ) - ยาเม็ดสาหรับเหนบ็ ช่องคลอด (vaginal tablets) - ยาเหนบ็ ชอ่ งคลอด (vaginal suppositories, pessaries) ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 20

2. เภสชั ภัณฑร์ ูปแบบของเหลว (liquid dosage forms) - ยาสารละลาย (solutions) เปน็ ยานา้ ทม่ี ตี ัวยาและตัวทาละลายผสม เปน็ เนื้อเดียวกัน - ยานา้ เช่อื ม (syrups) ยานา้ รับประทานท่ีแต่งรสหวานด้วยสารนา้ ตาล เพื่อให้มรี สชาตินา่ รับประทานมากขึน้ - ยาอลิ กิ เซอร์ (elixirs) เปน็ ยานา้ ใสมีกล่ินหอม มีแอลกอฮอล์เปน็ ส่วนผสม อยู่ประมาณ 4-40% - ยาสปริ ิต (spirits) เป็นสารละลายของสารหอมระเหย มแี อลกอฮอล์ 60-90% - ยาทงิ เจอร์ (tinctures) เป็นยาทีม่ ีสว่ นผสมของแอลกอฮอล์อยู่มาก เชน่ ทิงเจอร์ฝน่ิ การบรู , ทงิ เจอร์ไอโอดีน - ยาน้าผสม (mixtures) เปน็ ยาผสม อาจใสห่ รอื ไมใ่ สส่ ารช่วยแขวน ตะกอนก็ได้ - ยานา้ แขวนตะกอน (suspensions) ตวั ยาเป็นของแข็งกระจาย ตวั อยา่ งหยาบๆ อยู่ในของเหลว ใส่สารทชี่ ่วยในการกระจายตวั ของยา และต้องเขย่าขวดก่อนรนิ ยา - ยาอิมัลชนั (emulsions) ยาน้าผสมน้ามนั จนแทบจะเปน็ เน้อื เดียวกนั กอ่ นใชต้ ้องเขย่าแรงๆ - ยาโลชัน (lotions) - ยาทาถนู วด (liniments) 3. เภสชั ภณั ฑ์รปู แบบก่ึงแข็ง (semisolid dosage forms) - ยาครมี (creams) - ยาข้ผี ้งึ (ointments) ยาที่มีลักษณะเป็นนา้ มัน ล่นื เหนยี ว ติดผิวหนงั นาน ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 21

- ยาเพสต์ (pastes) ยาขผี้ ึง้ ท่ีมผี งยาท่ไี มละลายผสมอย่ดู ้วย มีลักษณะ เป็นเนือ้ หยาบกว่า ointment - ยาเจล (gels) และยาอมิ ัลชันเจล หรอื อมิ ัลเจล (emulsion gels, emulgels) - เภสชั ภัณฑ์ยาตา หู จมกู และคอ (eye, ear, nose and throat preparations) - เภสชั ภณั ฑย์ าฉดี (parenteral products) เตรยี มปราศจากเชื้อท่ใี ช้ ฉีดเขา้ สู่รา่ งกาย อาจเรียกว่า injection ก็ได้ - เภสชั ภณั ฑ์ควบคุมการปลดปล่อยยา (controlled release products) วธิ ีการใช้ยาแต่ละรูปแบบทถี่ กู ต้อง รูปแบบของยาในปัจจุบันมีหลากหลายชนิด ขึ้นกับจุดประสงค์ของ การรักษา เพื่อความสะดวกและความปลอดภัยของผู้ปุวย โดยรูปแบบ ของยาท่ีแตกต่างกันก็จะมีวิธีการใช้ยาที่แตกต่างกัน หากใช้ไม่ถูกต้อง จะมผี ลตอ่ ประสทิ ธภิ าพในการใชย้ าน้ัน โดยเฉพาะยาเทคนิคพิเศษ เช่น ยาสูดพ่นทางปาก ยาสูดพ่นทางจมูก ยาหยอดตา ยาเหน็บทวาร ยา เหน็บช่องคลอด เป็นต้น ต้องอธิบายวิธีใช้ยาอย่างถูกต้อง เป็นขั้นตอน เพือ่ ใหผ้ ปู้ ุวยใชย้ าได้ยา่ งถกู ตอ้ ง ได้ผลในการรักษา 1. ยาเม็ด(tablets) ยาเม็ดเคลือบ(coated tablets) ยาแคปซูล (capsules) สาหรบั รับประทาน ต้องกลืนไปท้ังเม็ดหรือแคปซูล พร้อม น้าสะอาด 1 แก้ว หากเม็ดยาหรือแคปซูลมีรูปร่างหน้าตาเปลี่ยนไปจาก เม่อื แรกรับยามา เช่น เยิ้ม สีกระดากระด่าง มีเกล็ดยาเกาะอยู่ แคปซูล บวมพอง แสดงวา่ ยาเสอื่ มคณุ ภาพแลว้ หา้ มนามาใช้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 22

2. ยาเม็ดหรือแคปซูลชนิดปลดปล่อยตัวยาสาคัญออกจากรูปแบบ ยาอย่างช้าๆ (controlled release/ sustained release tablets) หรือ ชนิดท่ีเลื่อนเวลาปลดปล่อยตัวยาสาคัญออกจาก รูปแบบยา (delayed release tablets) ต้องกลืนไปทั้งเม็ดหรือ แคปซูล พร้อมน้าสะอาด 1 แก้ว ห้ามบด หรือเคี้ยวเม็ดยา ก่อนกลืน แม้การแกะแคปซูลเทผงยาออกมาใส่ปาก ก็ห้ามทา มิฉะนั้นจะได้รับยา ในปริมาณสูงมาก เปน็ อนั ตราย 3. ยารับประทานชนิดน้าแขวนตะกอน หรือ แขวนละออง (suspensions) จะต้องเขย่าขวดก่อนรินยาเสมอ เพื่อให้ตัวยาสาคัญ กระจายตัวอย่างสม่าเสมอ และรินยาโดยใช้ช้อนตวงยา ซึ่ง 1 ช้อนชา จะเท่ากบั 5 ซซี ี และ 1 ช้อนโต๊ะจะเท่ากับ 3 ช้อนชา หรือ 15 ซีซี หาก เขย่ายาน้าแขวนตะกอนแล้ว แต่ตะกอนยังจับแน่นอยู่ท่ีก้นขวด หรือ เขย่ายาน้าแขวนละอองแล้ว แต่ยังพบการแยกชั้นของน้ากับน้ามัน แสดงว่ายาเสื่อมคุณภาพ หา้ มใชย้ านนั้ 4. ยาอม(lozenges) ยาอมแกเ้ จบ็ คอ หรอื ยาอมรักษาการตดิ เช้อื ราใน ปาก ใหน้ าเมด็ ยาวางไว้บนลน้ิ และอมไว้ ปลอ่ ยให้น้าลายมาละลายยา เมอ่ื อมยาประเภทน้สี ามารถกลืนนา้ ลายได้ สาหรบั ยาอมใตล้ น้ิ (sublingual tablets) จะต้องนายาเม็ดใสไ่ ว้ใตล้ ิ้น และอมไวโ้ ดยไม่ กลนื น้าลาย เพอ่ื ใหย้ าถูกดูดซึมเขา้ กระแส เลอื ดผ่านทางหลอดเลือดในชอ่ งปาก Sublingual tablets หากเมด็ ยาอมมีรูปร่างหน้าตาเปลี่ยนไปจากเม่ือแรกรับยามา เช่น สี กระดากระด่าง แสดงวา่ ยาเส่ือมคุณภาพแล้ว หา้ มนามาใช้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 23

5. ยาผง(powders) สาหรับรับประทาน ต้องนาไปผสมน้าก่อนด่ืม ควรใช้ตามท่ีระบุบนฉลาก เช่น ยาผงเกลือแร่ทดแทนการสูญเสียน้า และเกลอื แร่เม่ือท้องเสยี จะตอ้ งผสมยา 1 ซองกับน้าต้มสุกที่เย็นแล้ว 1 แก้ว หากใช้ซองใหญ่ก็ต้องผสมกับน้า 750 ซีซี คนให้ละลายและด่ืม ห้ามเก็บค้างคืน สาหรับยาผงท่ีใช้เป็นยาระบายจะต้องผสมน้าต้มสุกที่ เย็นแล้ว 1 แก้วและด่ืมทันที พร้อมดื่มน้าตามอีก 1 แก้ว ห้ามต้ังท้ิงไว้ นาน เพราะยาจะพองตวั มากและข้นหนืดจนดื่มไม่ได้ 6. ยาทาผิวหนัง (creams/gel/ointment) ชนิดยาครีม เจล หรือ ขี้ผึง้ กอ่ นใชค้ วรทาความสะอาดผิวหนังบริเวณที่ต้องการ จากน้ันบีบยา ลงไปพอประมาณ แล้วทาให้ยาแผ่ไปบางๆ บนผิวหนัง หากหลอดยา บวม หรือเมื่อบีบยาออกมาได้แต่น้าหรือน้ามัน ที่แยกช้ันกับเนื้อยา แสดงว่ายาเสื่อมคณุ ภาพแล้ว ห้ามนามาใช้ ยาทาผิวหนัง ชนิดครีมสเตียรอยด์ มีการกาหนดปริมาณการใช้ ไม่ให้ มากจนเกินไป หรือน้อยจนเกินไป เพ่ือให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในขณะเดียวกันก็ เกิดผลขา้ งเคียงน้อยท่ีสุด โดยเปน็ หน่วยทเ่ี รยี กว่า Fingertips Unit (FTU) หรือ หนว่ ยปลายน้ิวมอื Fingertips Unit (FTU) (หนึง่ FTU คอื ปรมิ าณของยาเตยี รอยด์ท่ีถูกบบี ออกจากหลอด มาตรฐาน (ขนาดปลายหลอด 5 มม.) จากปลายน้ิวไปจนถึงรอยพับแรก ของน้วิ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 24

7. ยาทาถูนวด ชนิดยาครีม เจล หรือขี้ผ้ึง ใช้แก้อาการปวดเมื่อย ซ่ึง หลงั จากทายาแล้ว ต้องทาการถูและนวดผิวหนังบริเวณน้ันด้วย เพ่ือให้ เกิดความร้อน จึงจะแก้อาการปวดเม่ือยได้ ยกเว้นยาบางชนิด เช่น ยา แคปไซซนิ 8. ยาหยอดตา เปน็ ยานา้ และถูกทาใหป้ ราศจากเชือ้ ยาปูายตาก็เป็นยา ทีถ่ กู ทาให้ปราศจากเช้ือ ทง้ั ยาหยอดตาและปาู ยตา บางชนิดต้องเก็บใน ตู้เย็น ซึ่งขึ้นอยู่ว่าตัวยาสาคัญคือยาใด ก่อนใช้ต้องล้างมือให้สะอาด และหยอดยา 1 หยด หรือปูายยา 1 เซนติเมตร ลงไปในกระพุ้งเปลือก ตาล่าง โดยไม่ให้ปลายหลอดสัมผัสกับตา ยาหยอดตาและยาปูายตาที่ เปดิ ใชแ้ ล้ว หากใชไ้ ม่หมดสามารถเกบ็ ไว้ใชไ้ ดอ้ ีก แตไ่ มเ่ กนิ 1 เดือน หากต้องใช้ยาหยอดตาหรอื ยาปูายตา 2 ชนิด ให้ใช้ห่างกันประมาณ 10 นาที หากยา 2 ชนิดน้ัน ชนิดหนึ่งเป็นยาหยอดตา อีกชนิดหนึ่งเป็นยา ปูายตา ใหใ้ ช้ยาหยอดตาก่อน 9. ยาลา้ งตา วิธกี ารลา้ งตาท่ีถกู วธิ คี ือ ตอ้ งลา้ งมอื ก่อน แล้วใช้น้ายาล้าง ตา ใสใ่ นภาชนะเล็กๆ หรือ ถ้วยสาหรับล้างตาโดยเฉพาะ ใส่น้าลงไปให้ เตม็ จากน้ันให้นาดวงตาจุ่มให้สัมผัสกับผิวน้า ลืมตาและกลอกตาไปมา ประมาณ 15-30 วินาที ยาล้างตาเม่ือเปิดใช้แล้ว มีอายุอยู่ได้เพียง 7 วัน 10. ยาหยอดหู ยาหยอดจมูก ยาพ่นจมูก เป็นยาเตรียมปราศจากเชื้อ ที่ต้องการให้ออกฤทธิ์เฉพาะที่หู หรือ จมูก เท่านั้น ก่อนหยอดหรือพ่น ยา ควรกาจัดสิ่งท่ีอุดตันออกก่อน ได้แก่ ข้ีหู และน้ามูก ควรใช้ยาตาม จานวนครั้งที่ระบุบนฉลาก การใช้มากเกินไปไม่ช่วยให้ดีข้ึน แต่อาจทา ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 25

ให้อาการเป็นมากข้ึนได้ เช่นกรณียาหยอด/พ่นจมูกซ่ึงมักประกอบด้วย ตวั ยาลดอาการคัดจมูก หากใชเ้ กนิ กว่า 4 คร้ังต่อวันหรือนานกว่า 3 วัน จะทาให้เยอื่ บโุ พรงจมูกบวม และรูส้ ึกคัดจมูกมากข้นึ กวา่ เดิม 11. ยาสูดพ่นเข้าทางปาก เป็นรูปแบบยาท่ีมีวิธีใช้พิเศษ ใช้รักษาโรค หดื และโรคปอดอุดกั้นเร้ือรัง โดยให้ออกฤทธิ์เฉพาะท่ีที่บริเวณหลอดลม ต้องฝึกวิธีใช้ให้ถูกต้อง จึงจะได้ยาเข้าไปยังหลอดลม แต่หากทาไม่ได้ ควรปรึกษาเภสัชกร เพราะปัจจุบันมีเครื่องช่วยในการสูดพ่น ซึ่งเมื่อ นามาใช้ร่วมจะทาให้ประสบความสาเร็จในการสูดพ่นยา และทาให้ ควบคมุ อาการของโรคได้ 12. ยาสอด/สวนทวารหนัก(rectal suppositories) ใช้เพื่อรักษา รดิ สดี วงทวาร หรอื เปน็ ยาระบาย ขึน้ อยู่วา่ ตวั ยาสาคญั คือยาใด ยาสอด ทวารหนักมีส่วนประกอบเป็นขี้ผ้ึงเป็นส่วนใหญ่ จึงต้องแช่ในตู้เย็น (ห้ามใส่ในช่องแช่แข็ง) เพื่อให้คงรูปร่างซ่ึงคล้ายจรวด เมื่อจะใช้จึงนา ออกมาจากตู้เย็น ปล่อยให้คลายตัวสักพัก แล้วฉีกกระดาษหุ้มออก จุ่ม ยาลงในน้าสะอาด 1 แก้ว แล้วสอดยาเข้าในทวารหนัก โดยเอาด้าน แหลมเขา้ หลังจากสอดยาแลว้ ใหน้ อนตอ่ สัก 15 นาที จงึ ลกุ ขึ้น 13. ยาสอดช่องคลอด(vaginal tablets) เป็นยาเม็ดแข็ง ไม่ต้องแช่ ตู้เย็น ใช้รักษาอาการตกขาวในผู้หญิง ควรจุ่มเม็ดยาลงในน้าสะอาด 1 แก้ว ก่อนสอดยาเข้าในช่องคลอด โดยเอาด้านแหลมเข้า เพ่ือให้สอด เม็ดยาได้งา่ ยขึน้ หลังจากสอดยาแลว้ ใหน้ อนตอ่ สัก 15 นาที จึงลุกขนึ้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 26

14. ยาแผ่นแปะผิวหนัง (Transdermal patches) ใช้ในจุดประสงค์ ตา่ ง ๆ เช่น ใชแ้ ก้ปวดในผปู้ วุ ยมะเรง็ ระยะสุดท้าย ใช้ในผู้ที่มีอาการเจ็บ หน้าอกจากโรคหัวใจ ใช้แก้เมารถเมาเรือ ใช้เป็นฮอร์โมนทดแทนใน ผู้หญิงวัยหมดประจาเดือน ใช้คุมกาเนิด ใช้ช่วยอดบุหรี่ แต่ไม่ว่าจะใช้ ในจุดประสงค์ใด วิธีใช้ยาแผ่นแปะเหล่านี้ก็คือ ต้องติดแผ่นยาทั้งแผ่น ห้ามตัดแบ่ง และใช้ตามระยะเวลาที่ระบุไว้ นอกจากนี้การแปะแผ่นยา บนผิวหนังไม่ว่าจะเป็นยาใดจะต้องแปะบนผิวหนังที่สะอาด ไม่มีเหงื่อ ไม่มีขน เพื่อให้แผ่นยาแปะอยู่ได้ และไม่ปิดซ้าที่เดิมเม่ือเปลี่ยนแผ่น หากแผ่นยาหลุดออกมาก่อนเวลาเปลี่ยนแผ่น ให้ท้ิงแผ่นยาน้ันไป และ นาแผ่นยาแผ่นใหม่มาแปะที่ผิวหนังบรเิ วณอืน่ 15. ยาฉีด เป็นยาปราศจากเช้ือ ส่วนใหญ่ยาฉีดจะฉีดโดยแพทย์หรือ พยาบาล ยกเวน้ ยาบางชนดิ เชน่ ยาฉีดอนิ สุลนิ ทีผ่ ู้ปุวยจะฉดี ด้วยตนเอง การฉีดยาเข้าสู่ร่างกายท่ีอยู่ในบทบาทหน้าที่ของพยาบาลมีด้วยกัน 4 ทาง ได้แก่ การฉีดยาเข้าช้ันผิวหนัง (intradermal injection; ID) การ ฉีดยาเข้าช้ันใต้ผิวหนัง (subcutaneous injections ;SQ) การฉีดยา เข้าช้ันกล้ามเนื้อ (intramuscular injection; IM) และการฉีดยาเข้า หลอดเลือดดา (intravenous Administration; IV) วิธีการฉีดยาท้ัง 4 ทางนี้ ให้เป็นไปตามหลักการบริหารยาฉีด และการเตรียมยาอย่าง เครง่ ครดั ยาฉีดอินสุลิน ผู้ปุวยสามารถนายาไปฉีดท่ีบ้าน เป็นยาฉีดเข้าใต้ ผิวหนัง ต้องเก็บยาในตู้เย็นบริเวณที่ไม่ใช่ช่องแช่แข็ง เมื่อจะใช้ก็นา ออกมาจากตู้เย็น ปล่อยให้คลายตัวสักพัก และคลึงขวดยาระหว่างฝุา มือทั้งสองข้าง เพือ่ ให้ยาอนิ สลุ ินมีอณุ หภมู ิเท่ากับอุณหภูมิกาย หากเป็น อินสุลินชนิดน้าขุ่น ต้องคลึงขวดยาจนยากระจายตัวเป็นเนื้อเดียวกัน ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 27

แล้วจึงดูดยาออกมาตามปริมาณที่ระบุไว้บนฉลาก จากน้ันจึงฉีดเข้าใต้ ผิวหนัง โดยก่อนฉีดต้องเช็ดทาความสะอาดผิวหนังด้วยสาลีชุบ แอลกอฮอล์ ปัจจบุ นั มียาฉีดอนิ สลุ ินชนิดปากกาซึ่งใช้ได้สะดวกขึ้น อินสุ ลินท่ีอยู่ในปากกาไม่จาเป็นต้องเก็บในตู้เย็น เพราะใช้หมดภายในเวลา ไมเ่ กนิ 1 เดือน แต่อินสุลินท่ียังไม่เปิดใช้ไม่ว่าจะเป็นชนิดปกติหรือชนิด ที่ใช้กับปากกาจะต้องเก็บไว้ในตู้เย็นบริเวณท่ีไม่ใช่ช่องแช่แข็ง ส่วนยา ฉดี อน่ื ๆใหท้ าตามคาแนะนาของแพทยห์ รือเอกสารกากับยา ยาฉดี อนิ สลุ ิน รปู แบบต่างๆ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 28

การตรวจสอบลกั ษณะของยาทีเ่ สื่อมคุณภาพและยาหมดอายุ เราสามารถตรวจสอบและแยกระบุยาที่เสื่อมคุณภาพและยา หมดอายุได้จากการสังเกตความไม่คงสภาพของเภสัชภัณฑ์จากการ เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของ สี กล่ิน รส ความเปน็ กรดดา่ ง ความขน้ หนดื การแตกหัก สึกกร่อน การตกตะกอน การจับเป็นก้อนแขง็ การแยกชั้น การละลาย การเย้ิมเหลว เปน็ ตน้ การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพทพ่ี บได้บ่อยและบ่งบอกความไม่คงสภาพ ของผลิตภัณฑย์ ามีดังน้ี 1 เภสชั ภัณฑ์รูปแบบของแข็ง เภสัชภัณฑ์ในรูปแบบของแข็งควรเก็บในบริเวณท่ีมีความช้ืนต่า ดังนั้นจึงควรเก็บในภาชนะปิดแน่น (tight container) หรือในภาชนะ บรรจุจากบริษัทผู้ผลิต หากมีไอน้าหรือหยดน้าหรือยาจับกันเป็นก้อน ภายในภาชนะบรรจุ แสดงถึงสภาพการเก็บที่ไม่ดี ถ้าสังเกตเห็นสารกัน ความชื้น (desiccant) ภายในภาชนะบรรจุจากบริษัทผู้ผลิตแสดงว่า ควรระมัดระวังความช้ืน ในการเก็บยา และควรแจ้งให้ผู้ปุวยทราบเม่ือ จ่ายยา หรือพบสารท่เี กดิ จากการสลายตัวบางชนดิ ตัวอย่างเช่น ยาแอสไพริน Aspirin ความช้ืนทาให้ยาสลายตัวเป็นกรดซาลิไซลิก (salicylic acid) และกรดอะซิติก (acetic acid) ซ่ึง salicylic acid ท่ี สลายตัวจาก aspirin สามารถระเหิดและตกผลึกกลับมาเกาะอยู่ตาม ผนังของภาชนะบรรจุ การรับประทานกรดซาลิไซลิกน้ัน ไม่มีผลต่อการ ต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด (ผลการรักษาของยาแอสไพรินท่ี ตอ้ งการ) แต่มีอันตรายต่อรา่ งกายเมอื่ ได้รับเข้าไปในปริมาณท่ีสูงๆ ส่วน acetic acid เราสามารถสังเกตได้ด้วยการดม หากดมเม็ดยาแล้วพบว่า ยามีกลิ่นเปรีย้ วเหมือนน้าสม้ สายชู นั่นคอื กลิน่ ของกรดอะซติ กิ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 29

ยาแคปซูลแข็ง และ ยาแคปซูลน่ิม การเปลี่ยนแปลงลักษณะทาง กายภาพของเปลือกซ่ึงมักทาจากเจลาติน เช่น การเปล่ียนแปลงความ ยืดหยุ่น ความแข็ง ความนุ่ม ช้ีให้เห็นถึงความไม่คงตัวของผลิตภัณฑ์ เปลือกของยาแคปซูล ท่ีเก็บในสภาวะที่ไม่เหมาะสมอาจน่ิมและติดกัน หรอื แข็งและแตกแม้มแี รงกดอ่อนๆ ยาเม็ด ยาเม็ดที่คงตัวต้องมีขนาด รูปร่าง น้าหนักและสีเหมือนตอนที่ เริ่มผลิต ตลอดอายุของยา การแตกตัวและการละลายต้องไม่ เปลี่ยนแปลงเกินข้อกาหนดในเภสัชตารับ ลักษณะความไม่คงตัวทาง กายภาพของยาเม็ด สังเกตได้จากผงยาจานวนมาก หรือเศษเม็ดยาที่ แตกหักออกมาจากเม็ดยาท่ีก้นภาชนะ รอยร้าวหรือรอยบ่ินท่ีผิวเม็ดยา เม็ดยาบวม รอยด่างท่ียาเม็ด (เรียกว่า mottling) ยาเม็ดเปล่ียนสี ยา เม็ดเกาะติดกัน หรือผลึกที่เม็ดยาหรือท่ีผนังของภาชนะบรรจุ เช่น ยา เม็ดวิตามินซีที่เมื่อเกิดการเส่ือมสลายจะเกิดเป็นจุดด่างสีน้าตาลขึ้นบน เมด็ ยา ยาเม็ดเคลือบ ลักษณะท่ีไม่คงตัวทางกายภาพคือ รอยร้าว รอยด่าง ท่ี เม็ดยา สารทใี่ ชเ้ คลอื บเหนียว และเมด็ ยาเหนยี วเกาะกนั ยาผง และแกรนูล ส่วนใหญ่ต้องผสมน้าให้อยู่ในรูปของสารละลาย หรือยาน้าแขวนตะกอนก่อนรับประทาน มักเป็นยาปฏิชีวนะหรือ วติ ามนิ ทไ่ี วตอ่ ความชื้น ลักษณะความไม่คงสภาพ ได้แก่ การจับกันเป็น ก้อนแข็ง หรือเย้ิมเหลว การมีหยดน้าเกาะข้างผนังภาชนะบรรจุด้านใน นอกจากน้ีต้องสังเกตสีและกล่ินของผลิตภัณฑ์ท้ังในรูปผงแห้ง และ หลงั จากผสมนา้ แลว้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 30

ยาเม็ดฟู่และยาผงฟู่ มีความไวต่อความชื้นสูง ลักษณะความไม่คง สภาพ ไดแ้ ก่ การบวมของซองบรรจุเนอ่ื งจากแรงดันจากก๊าซ ที่เกิดจาก ปฏิกิริยาของสารประกอบ ยาเม็ดอาจมีความแข็งมากขึ้นไม่เกิดการฟุู เม่ือผสมน้า ยาผงฟูุอาจมีลักษณะชนื้ เยม้ิ เหลว ไม่เกิดฟองฟุูเมื่อผสมน้า เรียกลกั ษณะน้ีวา่ เกิด dead mixtures ยาเหนบ็ ทวารหนัก ลกั ษณะความไมค่ งสภาพคือ อ่อนนุ่มเกินไป โค้งงอ มคี ราบนา้ มนั ที่กลอ่ ง ยาเหนบ็ โดยทั่วไปควรเก็บในตู้เย็น (2-8 C) ยาเม็ดสาหรับเหน็บช่องคลอด ต้องมีขนาด รูปร่าง น้าหนักและสี เหมือนตอนที่เร่ิมผลิต ตลอดอายุของยา ลักษณะความไม่คงสภาพคือ การแตกหกั กร่อน บ่ินของยาเม็ด 2. เภสัชภัณฑร์ ปู แบบของเหลว ความไม่คงสภาพของเภสัชภัณฑ์รูปแบบของเหลว สังเกตจาก สารละลายขุ่นหรือตกตะกอน อิมัลชันแยก ยาน้าแขวนตะกอนไม่ สามารถแขวนตะกอน หรือกระจายตัวได้หลังจากเขย่าขวด การเจริญ ของเชือ้ จลุ ินทรีย์ การเปลยี่ นแปลงของสี กลิน่ และรส ยาสารละลาย ยาอลิ กิ เซอร์ ยาน้าเชือ่ ม และยาสปิริต ลักษณะที่แสดง ถึงความไมค่ งสภาพที่สาคญั ไดแ้ ก่ ขุ่น ตกตะกอน เกิดก๊าซจากปฏิกิริยา เคมี มีการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ การเปลี่ยนแปลงของสี กลิ่นและรส ตัวอย่างเช่น ยาน้าเชื่อมอาจมีปัญหาการตกผลึกของน้าตาล จึงควร หลีกเลี่ยงการเก็บในตเู้ ย็น ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 31

ยาอิมัลชนั ลกั ษณะไมค่ งสภาพของอมิ ัลชัน คือ การแยกชั้น (cracking) ของผลิตภัณฑ์ระหว่างชัน้ นา้ และชั้นนา้ มัน โดยไม่สามารถผสมเข้ากันได้ เมื่อเขย่า การเกิดครีมมิง (creaming) เป็นการแยกช้ันแต่สามารถเขย่า ให้ผสมเขา้ กันได้อีกระยะเวลาช่วงหนึ่ง การเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ การ เปลยี่ นแปลงของสี กลนิ่ และรส ยาน้าแขวนตะกอน ลักษณะความไม่คงสภาพ คือ เกิดก้อนแข็ง (caking) ซ่ึงเป็นลักษณะท่ีผงยาไม่สามารถกระจายแขวนตะกอนได้อีก ด้วยแรงเขย่าปานกลาง หรือผงยาท่ีมีขนาดอนุภาคโตขึ้น การเจริญของ เชื้อจุลนิ ทรยี ์ การเปลยี่ นแปลงของสี กล่นิ และรส ยาทิงเจอร์และยาสกัดเหลว ลักษณะความไม่คงสภาพ คือ มีสีเข้มข้ึน การเจรญิ ของเช้ือจลุ ินทรีย์ การเปลยี่ น แปลงของสี กล่นิ และรส ยาปราศจากเช้ือ ลักษณะความไม่คงสภาพ คือ การปนเปื้อนของ เชอื้ จุลินทรยี ์ในของเหลวปราศจากเชอื้ มกั สงั เกตไม่ได้ด้วยตาเปล่า การ ขุ่น การเปล่ียนสี การเกาะกันเป็นก้อนแข็งของผงยา หรือการเกิดก๊าซ การมีอนภุ าคปนเปือ้ น 3. เภสัชภัณฑร์ ูปแบบกงึ่ แขง็ ยาครีม ลักษณะความไม่คงสภาพ ได้แก่ การแยกของอิมัลชัน การเกิด ผลกึ (crystal growth) ความข้นหนดื เปลี่ยนไป การหดตัวของเน้ือครีม เนื่องจากการระเหยของน้า การเจริญของเช้ือจุลินทรีย์ การ เปลี่ยนแปลงของสี และกล่นิ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 32

ยาข้ีผึ้ง ลักษณะความไม่คงสภาพ ได้แก่ การแยกของของเหลวออกมา จากยาข้ผี ้ึง (bleeding) ความขน้ หนืดเปลี่ยนไป การเกิดเม็ดหยาบ การ เจรญิ ของเช้อื จุลินทรยี ์ การเปลีย่ นแปลงของสี และกล่ิน ยาเจล ลักษณะความไม่คงสภาพ ได้แก่ การแยกของของเหลวออกมา จากเน้ือเจล (syneresis) ความข้นหนืดเปล่ียนไป การเจริญของ เช้อื จุลินทรีย์ การเปลย่ี นแปลงของสี และกลน่ิ ความคงสภาพของยา (stability) Stability หมายถึงขอบเขตหรือความสามารถของยาหรือผลิตภัณฑ์ ที่จะรักษาสภาพทั้งคุณสมบัติทางเคมี (ไม่สลายตัวทางเคมีของ องค์ประกอบทุกชนิด) ทางกายภาพ (เช่น สี ความแข็ง การละลาย) ทางชีวภาพ (ไม่มีเช้ือจุลชีพ) ผลการรักษา และความเป็นพิษ ให้อยู่ใน เกณฑ์ที่กาหนดตลอดระยะเวลาการเก็บรักษาและการใช้งาน เมื่อเก็บ ในสภาพและภาชนะตามท่ีระบุไว้ อายุการเกบ็ รักษา (shelf life) หมายถึงช่วงเวลาท่ีเภสัชภัณฑ์ยังคงอยู่บนชั้น ในภาชนะบรรจุเดิม ภายใต้สภาวะแวดล้อมปกติ และยังคงความแรงตั้งแต่แรกเริ่มไว้อยู่ใน ระดบั ท่ยี อมรบั ได้ รวมถงึ คงคณุ ลักษณะต่างๆ ไว้อย่างครบถ้วน การสูญเสยี ความแรงของตัวยาสาคัญไปปริมาณ 10% ของปริมาณยาที่ ระบุบนฉลาก (ความเข้มข้นของยาลดลงเหลือ 90%) ถือว่าเป็นการ เปลีย่ นแปลงมากทสี่ ุดท่ียอมรบั ได้ ในชว่ งอายุการเกบ็ รักษาของยานนั้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 33

วนั หมดอายุหรือวนั สิ้นอายุ (expiration date) วนั หมดอายุหรอื วนั สิ้นอายุ (expiration date)หมายถึงวันสุดท้ายที่ เภสัชภัณฑ์ยังมีคุณสมบัติหรือคุณลักษณะที่ยอมรับได้ เม่ือมีการเก็บ รักษาในสภาวะที่กาหนด วันหมดอายุควรปรากฏอยู่บนภาชนะที่สัมผัส ยาโดยตรง เช่น แผงยา และบรเิ วณดา้ นนอกของกลอ่ งบรรจุ การพิจารณาวันหมดอายุ หรือคาดการณ์วันหมดอายุจากวันที่ผลิต และการกาหนดวนั สน้ิ สุดการใช้ยา การพิจารณาวันหมดอายุของผลิตภัณฑ์ยาสาเร็จรูป ฉลากของ ผลิตภัณฑ์ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพทุกชนิดต้องบอกวันหมดอายุ (expiration date) ท่ีเข้าใจได้ง่าย และชัดเจน โดยท่ัวไป การกาหนด วันหมดอายขุ อง ยาเม็ดไม่เกิน 5 ปี และยาน้า 2-3 ปี นับจากวันท่ีผลิตเม่ือเก็บภายใต้ สภาวะท่ีกาหนด หรอื เม่ือกาหนดไว้เป็นอย่างอืน่ ถา้ วันหมดอายุของยา ระบุไว้ในรูป “เดือน/ปี” หมายถึงวันสุดท้ายของเดือนท่ีกาหนด วัน หมดอายุทก่ี าหนดโดยบรษิ ัทผู้ผลิตน้ี ไม่สามารถนาไปใช้กับผลิตภัณฑ์ท่ี แบ่งบรรจใุ นภาชนะบรรจทุ ีแ่ ตกต่างไปจากเดมิ การกาหนดวันส้ินสุดการใช้ของยาแบ่งบรรจุล่วงหน้า( pre-pack) ที่ เราแบ่งจ่ายให้ผู้ปุวย มีอายุการใช้งาน 1 ปี นับจากวันที่แบ่งบรรจุ แต่ ต้องไม่เกินอายุยาที่ระบุจากบริษัทยา โดยให้เลือกใช้วันท่ีสั้นกว่า ท้ังน้ี การกาหนดดังกล่าวเป็นการกาหนดระยะเวลาการใช้ท่ียาวที่สุด ซ่ึง สภาพจริงอาจจะสั้นกว่า เนื่องจากมีปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพเมื่อผู้ปุวย ได้รับยาน้ันไป ดังน้ันถ้าเป็นไปได้ยาท่ีจะนามาแบ่งบรรจุ ควรมีอายุการ ใช้งานเหลืออย่างน้อย1 ปี จากวันที่จ่ายยา (dispensed) การกาหนด วันส้ินสุดการใช้ของยาแบ่งบรรจุล่วงหน้านี้อาจใช้คาว่า วันหมดอายุ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 34

(expiration date) หรือ วันส้ินสุดการใช้ (Beyond-Use Date) ระบุ บนฉลากของภาชนะที่จ่ายให้ผู้ปุวย ซ่ึงหมายถึงเป็นวันที่ผู้ปุวยควร สิน้ สดุ การใชผ้ ลิตภัณฑ์น้ัน ภาพตวั อยา่ งแสดงวันหมดอายุของยา (expiration date) ท่รี ะบบุ นฉลากยา และฉลากยาแบง่ บรรจุ ยาน้าทย่ี งั ไม่ได้เปดิ ใช้ จะเก็บไว้ได้ 3 ปีนับจากวันผลิต ยาน้าท่ีมีสาร กนั เสียท้งั ชนิดรับประทานและใช้ภายนอก หลังจากเปิดใช้ควรเก็บไว้ไม่ เกนิ 6 เดอื น การเก็บรกั ษายาจะตา่ งกนั ไปตามที่บริษัทผู้ผลิตกาหนด ยาปฏิชวี นะชนดิ ผงแห้ง เน่ืองจากไม่มีสารกันเสีย โดยทั่วไปหลังผสม ถ้าเกบ็ ทอ่ี ุณหภูมิหอ้ งเก็บได้ 7 วัน ถา้ เก็บในตเู้ ย็นเกบ็ ได้ 14 วนั ยาน้าเชื่อม หลังเปิดใช้ควรเก็บไว้ไม่เกิน 1 เดือน และเก็บที่ อุณหภูมิห้อง (การแช่ตู้เย็นไม่ช่วยยืดอายุยา แต่อาจทาให้ยาตกตะกอน หรือน้าเช่ือมตกผลึก ยกเว้นยาบางชนิด เช่น AZT syrup ต้องเก็บใน ต้เู ยน็ ) ยาหยอดตา ยาปาู ยตา หากใสส่ ารต้านเชอื้ (Preservative) โดยทวั่ ไปจะมีอายุไมเ่ กนิ 1 เดือนหลงั การเปิดใช้ หากเปน็ ชนิดไมเ่ ติม สารต้านเช้ือควรใช้ใหห้ มดภายใน 1 วัน นา้ เกลือท่ีเป็นยาปราศจากเชือ้ ควร ใชภ้ ายใน 24 ชั่วโมงหลังเปิดใช้ ยาฉีด หลังผสมด้วยสารละลายท่กี าหนด จะมีอายุตามทีบ่ รษิ ัทผู้ผลิต กาหนดไว้ โดยทั่วไปผู้ผลิตจะต้องมีการศึกษาความคงตัวในยาดังกล่าว ซึ่ง เรียกว่า in-use stability หรือการศึกษาความคงตัวของยาใน ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 35

ระหว่างใช้งาน ดังน้ันจะต้องศึกษาข้อมูลความคงตัวของยาแต่ละตัว กอ่ นใชย้ านน้ั การจัดการยาหมดอายหุ รือเส่ือมสภาพ - เมื่อพบยาหมดอายุหรือเสื่อมสภาพ ต้องแยกเก็บจากยาน้ันออกจาก ยาอ่ืนไว้ในพ้ืนท่ีเก็บผลิตภัณฑ์ห้ามใช้ และเขียนปูายข้อมูลยาพร้อม เขียนกากบั ห้ามจา่ ยยา - ควรเก็บข้อมูลการเสื่อมสภาพของยา ข้อบกพร่อง สาเหตุ เพ่ือแจ้ง ให้ผูเ้ กย่ี วขอ้ งทราบ - ดาเนนิ การตามแนวทาง การส่งคนื การแลกเปลี่ยน ยาหมดอายุหรือ เสื่อมสภาพ ท่ีหน่วยงานผู้รับผิดชอบกาหนดไว้ รวมถึงแนวทางการ จาหนา่ ยบัญชพี สั ดุ ตามระเบยี บ และข้อกาหนดทเ่ี ก่ยี วข้อง - กรณีเม่ือได้รับอนุมัติให้ทาลายยาหมดอายุหรือเส่ือมสภาพ ห้ามท้ิง ยาหมดอายุโดยการบดยาให้เป็นผงและท้ิงลงถังขยะเพื่อนาไปฝังกลบ หรือนาไปละลายน้าและท้ิงลงสู่ระบบบาบัดน้าเสีย เพราะจะทาให้เกิด ปัญหายาตกค้างในแหลง่ ธรรมชาติตา่ งๆ เช่น แมน่ า้ ลาคลอง ทะเลสาบ หรือพ้ืนดิน ซึ่งส่งผลกระทบทาลายระบบนิเวศของสิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยใน ธรรมชาติน้นั และสามารถส่งผลกระทบที่เปน็ ลูกโซ่ต่อมายังมนุษยไ์ ด้ ปัจจุบันศูนย์พัฒนานโยบายแห่งชาติด้านสารเคมี กองแผนงานและ วิชาการ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา สานักอนามัย สิง่ แวดลอ้ ม กรมอนามัย และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ ร่วมจัดทาแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ท่ีเป็นสารเคมี ซึ่งมุ่งเน้นของเสีย 3 ชนิดหลัก ได้แก่ ยาและเวชภัณฑ์ ของเสียที่เกิด จากสารเคมีในห้องปฏบิ ัติการทางการแพทย์ และของเสียพวกเครื่องมือ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 36

แพทย์ท่ีมีปริมาณโลหะหนักสูง แนวปฏิบัติดังกล่าวได้แนะนาการ ทาลายยาและเวชภัณฑ์ท่ีหมดอายุโดยการเผาทาลายท้ิงที่อุณหภูมิต้ังแต่ 850 ถึง 1,600 องศาเซลเซียส โดยอุณหภูมิที่ใช้จะข้ึนกับประเภทและ ความเป็นอันตรายของยา หลังจากนั้นจึงค่อยนากากของเสียหลังจาก การเผาไหม้ไปฝงั กลบอย่างถกู วิธี ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 37

สภาวะในการเกบ็ รักษายา (Storage condition) สภาวะต่างๆที่ใช้ในการเก็บรักษายา รวมถึงการขนส่งไปถึงผู้ใช้ยา อย่างเหมาะสม ถูกต้องตามหลักวิชาการ มีผลต่อความคงสภาพของยา (stability) ทาให้ยามีประสิทธิภาพในการรักษา ผู้ปุวยมีความปลอดภัย ในการใชย้ า โดยสภาวะในการเก็บรกั ษายาจะถูกระบุไวท้ ่ีฉลากยา หรือ บรรจุภัณฑ์ของยา อย่างไรก็ตาม การเก็บยาตามสภาวะการจัดเก็บยาที่ ดีไม่ได้ยืนยันว่ายาจะมีความคงตัวตลอดไป เพราะจะต้องดูวันหมดอายุ ของยาด้วย ในกรณีทีไม่ระบุสภาวะในการเก็บรักษา ควรเก็บในที่ที่ ปูองกันความช้ืน อุณหภูมิไม่เกิน ๓๐ องศาเซลเซียส และไม่แช่แข็ง เน่ืองจากทั้งอุณหภูมิ แสง ความชื้น มีผลเร่งให้เกิดปฏิกิริยาที่ทาให้ยา เสอื่ มสภาพเรว็ ขึน้ สภาวะต่างๆที่มีผลตอ่ ความคงสภาพของยา ไดแ้ ก่ 1. อุณหภูมิ เภสัชภัณฑ์ทุกประเภทควรเก็บรักษาในสภาวะอุณหภูมิท่ี เหมาะสม ไม่เก็บยาและเวชภัณฑ์ในสถานท่ีท่ีมีความร้อนสูง แสงแดดส่องถึง เช่น ในรถยนต์ ใกล้เตา ตู้อบ เพื่อหลีกเล่ียงการเร่ง อัตราการเส่ือมสลายของตัวยาสาคัญจากอุณหภูมิท่ีเปลี่ยนแปลงไป ความหมายของอณุ หภูมิสาหรับเก็บรกั ษายา ได้แก่ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 38

สภาวะ อณุ หภมู ิ C หมายเหตุ Ultra-low temperature -80 ถึง -60 * Storage and transport for vaccines (ULT) (Ultra-cold (COVID-19 mRNA vaccine BNT162b2) Freezer) ชอ่ งแชแ่ ขง็ ต่า พเิ ศษ Frozen ช่องแช่แขง็ -20 ถงึ -10 * การควบคมุ อุณหภูมิตลอดระยะเวลาใน (deep-freeze ***) การขนส่งและจัดเก็บท่ี -20°C Cold ทีเ่ ยน็ จดั ไม่เกนิ 8 C Refrigerator ในตู้เย็น 2 ถงึ 8 * สาหรับยาท่ไี วตอ่ ความรอ้ นทหี่ ้ามแชแ่ ข็ง Cool ที่เยน็ 8 ถึง 15 ยาทร่ี ะบุเก็บในท่ีเย็น ( cool place) อาจ เก็บรักษาในตู้เยน็ ได้ เชน่ ยาเหนบ็ ทวารหนกั ยาปฏชิ ีวนะรูปแบบยาน้าแขวนตะกอน ยกเวน้ ทีร่ ะบุเป็นอย่างอนื่ Room temperature 15° ถงึ 25°C *อณุ หภมู ขิ องอากาศแวดล้อมในหอ้ ง อุณหภมู ิหอ้ ง RT Controlled room 15° ถงึ 30°C หอ้ งทีเ่ ปิดเคร่อื งทาความเยน็ 25°C temperature ,CRT * คือ RTแตย่ อมให้ถึง 30°C อณุ หภูมหิ อ้ งแบบควบคุม **คอื ชว่ งอณุ หภูมิ20°-25° แต่ค่าเบี่ยงเบนได้ ระหวา่ ง 15° and 30° ยาที่ให้เก็บใน CRT หรือไม่เกิน25°C อาจเกบ็ ใน cool placeได้ ยกเว้นทรี่ ะบุเป็นอยา่ งอน่ื Warm ท่ีอุ่น 30 ถงึ 40 excessive heat ทร่ี อ้ น สูงกวา่ 40 หรืออณุ หภูมสิ ูงเกิน protection from สูงกวา่ 0 ปูองกนั ไม่ใหย้ าแข็งตัวเป็นนา้ แขง็ freezing ห้ามเกบ็ ในชอ่ ง ให้เกบ็ ไว้ทอ่ี ุณหภูมสิ ูงกว่า 0 C ในกรณที ี่ แชแ่ ข็ง ภาชนะบรรจุมีความเสยี่ งต่อการแตก หรือยา เตรียมทีอ่ าจสูญเสยี ความแรง หรือมกี าร ทาลายคุณสมบตั ิของยาเตรยี ม เม่อื เก็บใน สภาวะแช่แข็ง * WHO guidance ** U.S. Pharmacopeia (USP) *** European Pharmacopoeia (Pharm.Eur.) (ทม่ี า https://www.gmp-compliance.org/gmp-news/ambient-room-temperature- cold-what-is-what) ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 39

ในกรณีไม่ระบุอุณหภูมกิ ารเก็บรักษา ใหเ้ ก็บโดยปูองกนั ความชนื้ จุด เยอื กแขง็ หรืออุณหภมู ิสูงเกนิ โดยเก็บทC่ี RT ควบคุมอุณหภูมริ ะหวา่ ง 20-25 C (โดยอนโุ ลมให้อยู่ระหว่าง 15 ถึง 30 C ) 2. ความชนื้ ความชื้นหรือน้าทาให้เกิดการเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและ ไฮโดรไลสิสได้ รวมถึงยังทาให้เชื้อจุลชีพเจริญเติบโตได้ดี ดังน้ันจึงควร เลอื กวัสดุของบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมเพื่อปูองกันไม่ให้ความชื้นซึมผ่าน เขา้ ไปสัมผัสกบั ยาได้งา่ ย ยาในรปู แบบของแขง็ ไมแ่ บ่งบรรจุเป็นจานวน มาก ควรปูองกันความชื้น จึงควรบรรจุในภาชนะท่ีปูองกันอากาศและ ความชืน้ ได้ จะเห็นไดว้ า่ บรรจุภัณฑ์จึงมักทาเป็นซอง กล่องกระดาษทึบ แผงอลูมิเนียม หรือขวดสีชา ซ่ึงมักจะมีตัวดูดความช้ืนบรรจุอยู่ เน่ืองจากทั้งอุณหภูมิ แสง ความช้ืน มีผลเร่งให้เกิดปฏิกิริยาที่ทาให้ยา เส่ือมสภาพเร็วขึ้น ดังนั้นควรชี้แจงให้ผู้ปุวย ยาท่ียังไม่ต้องการใช้จึงไม่ ควรแกะออกจากภาชนะบรรจุเดิม และเมื่อใช้แล้วต้องปิดฝาให้สนิท เก็บในที่แห้ง และควรช้แี จงใหผ้ ้ปู ุวยปดิ ฝาหลงั จากใช้ยา ห้องเก็บยา ควรปูองกันจากความชื้น (protection from moisture) เก็บในที่แห้ง (dry place) เก็บแบบ CRT (20-25 C) โดย มีความช้ืนสัมพัทธ์ (relative humidity, RH) ให้อยู่ในช่วง 40-60 % RH 3. แสง แสงอาจเร่งให้ตัวยาสาคัญหรือสารช่วยในตารับยาท่ีมีความไว ต่อแสง สลายตัวได้เร็วขึ้น โดยเฉพาะแสง ultraviolet ที่ทาให้ เกิดปฏิกิริยาโฟโตไลสิสได้มากกว่าแสงชนิดอ่ืน จึงควรเก็บรักษายา เหล่านี้ในภาชนะบรรจุสีชาท่ีมีความหนาเพียงพอต่อการปูองกันแสง ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 40

หรืออาจใช้การห่อหุ้มด้วยแผ่นเปลวอะลูมิเนียม (aluminium foil) เพอื่ ลดการสัมผสั แสง แมก้ ารใส่กล่องก็ช่วยเพม่ิ การปอู งกันแสงได้ 4. การติดไฟ ผลิตภัณฑ์ท่ีมีตัวทาละลายอินทรีย์ที่ติดไฟได้ควรมีฉลาก “ติดไฟได้ เก็บให้ห่างจากเปลวไฟ” ตัวอย่างเช่น ยาเตรียม Salicylic Acid Lotion BP ท่ีใชก้ ับหนังศรี ษะ ควรแนะนาให้หลีกเล่ียงการเปุาผม ให้แห้งในบริเวณใกล้ไฟ หรือเปลวไฟ, Alcohol95% เก็บในภาชนะปิด สนทิ หา่ งจากความร้อน ประกายไฟ และเปลวไฟ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 41

หลกั ปฏบิ ัติในการเกบ็ รักษายาในโรงพยาบาล/หน่วยแพทย์ หลักปฏิบัติในการเก็บรักษายาในห้องยาของโรงพยาบาล หรือหน่วย แพทย์ ทรี่ วบรวมมานี้ยดึ ตามหลักเกณฑว์ ิธีการที่ดีในการจัดเก็บยา ของ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และมาตรฐานสถานพยาบาล ปฐมภูมิ กองทัพเรือ โดยรายละเอียดในการดาเนินการจัดเก็บ รวมถึง กระจายผลิตภัณฑย์ า ข้นึ กบั บรบิ ทของแต่ละหนว่ ยแพทย์นั้นๆ อาจต้อง ได้รับการปรับแต่งให้เหมาะสมกับความจาเป็นของแต่ละหน่วย แต่ หลักการจัดเก็บยาที่ถูกวิธีต้องคานึงถึง ความปลอดภัย ถูกหลักวิชาการ ตรวจสอบงา่ ย และรกั ษาอณุ หภูมใิ ห้อยู่ในขอบเขตท่ียอมรับได้ สามารถ บรรลเุ ปูาหมายมาตรฐานทางคณุ ภาพที่ต้องการของหน่วยงาน 1. บุคลากร ( Personnel) ควรจัดให้มีบุคลากรอย่างเพียงพอและมีคุณสมบัติเหมาะสม ได้รับ การอบรม ปฐมนิเทศ เก่ียวกับการจัดเก็บยา ระเบียบการปฏิบัติงาน ข้ันตอนการดาเนินการ ระบบความปลอดภัย หลักสุขอนามัยบุคคล เพ่อื สามารถดาเนินการให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ของการประกันคุณภาพยา ท่ีเก็บ โดยมีการปฏิบัติตามกฎระเบียบท่ีกาหนดไว้อย่างถูกต้อง รวมถึง ได้รับการอบรมเพ่ิมพูนความรู้อย่างต่อเน่ือง อีกท้ังควรกาหนดบุคลท่ี สามารถผา่ นเข้ามาในบริเวณพ้นื ทจี่ ดั เกบ็ และเข้าถงึ ยาและเวชภัณฑ์ 2. พ้ืนที่จดั เกบ็ และส่ิงอุปกรณ์อานวยความสะดวก 2.1 พ้นื ทใี่ ช้เฉพาะสาหรับเก็บยาและเวชภัณฑ์เท่านั้น แบ่งแยก สัดส่วนชัดเจน โดยเฉพาะยาท่ีรอการตรวจรับ ยาที่เรียกเก็บคืน ยาท่ี แตกหรือเสียหาย ยาทหี่ มดหรอื ใกล้หมดอายุที่รอส่งคนื เป็นต้น สถานที่ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 42

เพียงพอสาหรับจัดเก็บยา มีความสะอาด แห้ง แสงสว่างเพียงพอ ภายใต้สภาวะที่กาหนด มีระดับอุณหภูมิ ความชื้นท่ีเหมาะสม ไม่มีฝุน ละออง ไม่มีแสงแดดส่องเข้าถึง สามารถปูองกันสัตว์และแมลงได้ (ควร กาหนดตารางการทาความสะอาด การพน่ สารควบคมุ สตั ว์และแมลง) 2.2 การจัดระบบระบายอากาศบรเิ วณพ้นื ที่จัดเกบ็ - กรณีมเี คร่ืองปรับอากาศ หมั่นดแู ลบารุงรกั ษาเคร่ืองปรับอากาศ อย่างสม่าเสมอ มีการบันทึกอุณหภูมิและความชื้น (หากมี เครื่องวัดความชน้ื ) วนั ละ 2 ครง้ั ในชว่ งเช้า และบ่าย - กรณไี ม่มเี ครื่องปรบั อากาศ ควรจดั การสถานท่ีให้มีอากาศถ่ายเท ดี และหลีกเลี่ยงแสงแดดส่องถึง ไม่มีความช้ืน สะอาด มีระบบ ระบายอากาศ เช่น การตดิ ต้ังพัดลม เปน็ ตน้ 2.3 สถานที่เก็บ มีแผนผังแสดงตาแหน่งการจัดเก็บยาและ เวชภัณฑ์ชัดเจน เพื่อความสะดวกแก่การค้นหา อาจกาหนดเป็นรหัส ตวั เลขบอกสถานที่เก็บ 2.4 สิ่งอุปกรณ์อานวยความสะดวก ท่ีใช้สาหรับการตรวจสอบ ต้องได้รับการสอบเทียบ (Calibration) ตามระยะเวลาที่กาหนด เช่น เทอร์โมมิเตอร์ 3. วิธีการเกบ็ รักษายาและเวชภัณฑ์ 3.1 สภาวะการเก็บยาและเวชภัณฑ์แต่ละรายการ ควร สอดคล้องตามที่ระบุไว้บนฉลาก หรือข้อกาหนดที่บริษัทระบุไว้ตามผล การทดสอบความคงสภาพของยา 3.2 ควรวางยาและเวชภัณฑ์บนชั้น ไม่ควรวางไว้กับพ้ืนโดยตรง ควรจัดให้มีแผ่นไม้หรือแท่นรองรับ (พาเลต Pallet) เพ่ือปูองกัน ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 43

ความชืน้ จากพ้ืนไม่ให้ขน้ึ มาสยู่ า จัดวางให้มีระยะห่างเพียงพอให้ง่ายต่อ การทาความสะอาด และตรวจสภาพการใชง้ าน 3.3 จัดยาเป็นหมวดหมู่ แยกการจัดเก็บตามประเภทยา/ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา อย่างชัดเจน (แยกยา, เวชภัณฑ์ท่ีมิใช่ยา, วัสดุ วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ อย่างขัดเจน) -จัดให้เป็นหมวดหมู่ตามรปู แบบผลิตภณั ฑ์ เชน่ ยาเมด็ ยาฉีด ยา นา้ ยาใช้ภายนอก เปน็ ตน้ -จัดเรียงตามฤทธิ์การรักษาทางเภสัชวิทยา เช่น กลุ่มยาระบบ ทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร แก้ปวด ยาปฏชิ วี นะ เป็น ตน้ -จัดเรียงตามลาดับอักษรของช่ือยา/เวชภัณฑ์ เร่ิมจาก A-Z เป็น ตน้ 3.4 จัดเวชภัณฑ์ท่ีรับเข้าใหม่หรือท่ีมีอายุการใช้ยาวกว่าไว้ด้าน ในหรือด้านซ้าย จัดเวชภัณฑ์เก่าหรือที่มีอายุการใช้งานสั้นกว่าไว้ด้าน นอกหรือด้านขวา เพื่อให้มั่นใจว่าจัดจ่ายหมุนเวียนตามอายุยาท่ีเหลือ คือสน้ิ อายุก่อนจา่ ยออกก่อน (FEFO, first expired / first out) 3.5 ยาท่ีมีลักษณะภายนอกคล้ายกัน หรือชื่อคล้ายกัน (ยารูป คล้ายเสียงพ้อง Look Alike, Sound Alike Medication (LASA)) ควร จัดแยกให้ห่างกัน หรือควรทาสติกเกอร์ติดเพิ่ม เช่น เขียนยา LASA เพ่อื ปูองกันการหยบิ ยาผดิ กอ่ นทจ่ี ะเก็บเขา้ ช้ันวาง 3.6 เพ่ือปูองกันยาที่เก็บหมดอายุ ควรทาสัญลักษณ์แสดงวัน เดือนปีท่ีใกล้หมดอายุให้ชัดเจน เช่น ติดสติกเกอร์สีต่างๆ แสดงปีท่ียา หมดอายุ และเขยี น/พิมพห์ มายเลขของเดือนทีห่ มดอายุลงบนสติกเกอร์ ลงที่ขวดหรือกล่องให้เห็นชัดเจน ทาบัญชีควบคุมวันหมดอายุของยา และเวชภัณฑ์และตรวจสอบทุกเดือน หากพบว่ายาใดใกล้หมดอายุ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 44

(ภายใน 6 เดือนข้างหน้า) และมีค้างอยู่ในคลังเวชภัณฑ์จานวนมากซ่ึง อาจใช้ไม่หมดทันเวลา ให้รีบรายงานต่อหัวหน้าหน่วยงาน/แพทย์ เพื่อ ขอความร่วมมอื ในการใช้ หรือทาการแลกเปล่ียนกับผู้ขายตามข้อตกลง ท่ีกาหนดไว้ ยาท่ีหมดอายุ หรือเสื่อมสภาพแล้ว ควรแยกเก็บออกจาก ยาอ่ืนๆ และรายงานปัญหายาเสื่อมสภาพกับผู้ขาย/แหล่งท่ีมา เพื่อ แลกเปลย่ี นพัสดุหรอื รอทาเร่ืองจาหนา่ ย 3.7 ยาทต่ี อ้ งเก็บรักษาเป็นพเิ ศษ เชน่ - ยาเสพติดให้โทษประเภท 2 ต้องแยกเก็บไว้เป็นสัดส่วนในท่ีม่ันคง แข็งแรง ปลอดภัย มีกุญแจใส่ไว้พิเศษ กาหนดผู้รับผิดชอบ ทาบัญชีรับ - จ่าย และควบคุม ตามแบบฟอร์มท่ีกาหนด - วัตถอุ อกฤทธิต์ ่อจติ และประสาท แยกเก็บไว้เป็นสัดส่วน ทาบัญชีรับ- จา่ ย และควบคมุ ตามแบบฟอร์มทก่ี าหนด - ยาท่ีมีความเส่ียงสูง (high - alert drugs) หมายถึงยาที่มีความเสี่ยง สูงที่จะก่อให้เกิดอันตราย หรือผลเสียต่อผู้ปุวยอย่างรุนแรง ถ้าหากมี ความผดิ พลาดในการส่ังใช้ยา คัดลอกคาส่ังใช้ยา จ่ายยา หรือการให้ยา ดังน้ันจึงต้องมีการจัดเก็บยาอย่างรัดกุม เพ่ือไม่ให้เกิดการหยิบผิด ควร แยกยากลุ่มน้ีไว้ห่างกับยาอ่ืนท่ี เพื่อลดความคลาดเคลื่อนในการจ่าย/ เตรยี มยา และติด Sticker สีแดง เขียน HAD ท่ีภาชนะที่เก็บยา เพื่อให้ ชัดเจน และเพ่ิมความระวังในการใช้ยามากขึน้ - ยาท่มี ีราคาแพงมาก ควรแยกเก็บ การหยิบยาไปใช้ต้องมีการควบคุม บัญชี และตรวจสอบสม่าเสมอ - ยาเคมีบาบัด ต้องแยกพื้นท่ีเก็บจากยาทั่วไป เพื่อปูองกันความ ผิดพลาดในการหยิบยาผิดและการฟูุงกระจายของสารเคมีที่เป็นพิษ ไมใ่ หไ้ ปปะปนกบั ยาอน่ื ๆ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 45

- ยาที่ใช้ในการศึกษาวิจัย ต้องแยกเก็บ ควบคุมการเบิกจ่ายโดยผู้ที่มี อานาจ - แอลกอฮอลแ์ ละวัสดไุ วไฟอื่นๆ เช่น เอธิลคลอไรด์ (ethyl chloride), อะซีโตน (acetone) ต้องเก็บในที่ที่มีอุณหภูมิต่าและต้องเก็บแยก ต่างหากจากเวชภณั ฑ์อนื่ ๆ เพราะตดิ ไฟไดง้ า่ ย - ยาประเภทชีววัตถุ เช่น อินซูลิน วัคซีน เซรุ่ม แอนตี้ทอกซิน ท็อก ซอยด์ ต้องเก็บไว้ที่ควบคุมอุณหภูมิตามท่ีบริษัทผู้ผลิตกาหนด สาหรับ เก็บเวชภัณฑ์นั้นๆโดยเฉพาะ ถ้าอยู่ในอุณหภูมิที่ไมถูกต้อง จะทาให้ยา ชีววัตถุนั้นสูญเสียคุณภาพ หากยานั้นต้องปูองกันแสงให้ใส่ไว้ในกล่อง หรือภาชนะท่ีปูองกันแสง ควรมีแผนผังตาแหน่งการจัดวาง แยกเป็น หมวดหมูช่ ดั เจน และควรติดสตกิ เกอร์ บอกสภาวะการเก็บที่ถูกต้อง ถ้า เป็นไปได้ควรมีระบบติดตามควบคุมอุณหภูมิการจัดเก็บ พร้อมข้อมูล การแสดงผลแบบ real time เพื่อสามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา จัดเก็บ ตัวอย่างเช่น อินซูลิน ,Toxoid , Antitoxin จะต้องเก็บไว้ท่ี อุณหภมู ิ 2-8 องศาเซลเซยี ส ควรเกบ็ ไว้ในตูเ้ ยน็ เกบ็ ยา 3.8 การเกบ็ ยาในตูเ้ ย็น ควรดาเนนิ การดังนี้ • “เก็บยาในตู้เย็น” หมายถึงเก็บยาที่อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส น่ัน คือตู้เย็นช่องธรรมดา นอกจากระบุชัดเจนว่า “เก็บยาในช่องแช่แข็ง” (freezer อุณหภมู ิระหวา่ ง -20 ถึง -10 C) • “ตู้เย็นเก็บยา” ควรแยกต่างหากจากตู้เย็นท่ีใช้สาหรับวัตถุประสงค์ อืน่ • ไม่ควรเก็บยาที่ส่วนประตูตู้เย็น เพราะอุณหภูมิจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงได้ง่ายเมอ่ื เปิด-ปิดตู้เย็นเพือ่ ใช้งาน และไม่ควรเปิดตู้เย็นทิ้ง ไวน้ านๆ เพราะมผี ลทาให้อณุ หภมู ิสูงข้ึน ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 46

• หากเป็นตู้เย็นชนิดประตูเดียวท่ีไม่ได้แยกเป็นสัดส่วนช่องแช่แข็งและ ช่องธรรมดาชัดเจน ไม่ควรวางยาไว้บนชั้นบนสุดที่ใกล้กับช่องแช่แข็ง เพราะอุณหภูมิอาจเย็นเกินไปจนยาแข็งตัวได้ ควรวางที่ช้ันกลางของ ตเู้ ย็น (ควรทดสอบตาแหนง่ อุณหภูมทิ ี่เหมาะสมของตเู้ ยน็ เนือ่ งจากการ กระจายความเย็นของตูเ้ ย็นจะไมเ่ ทา่ กนั ) • วางเทอร์โมมิเตอร์ที่สามารถวัดอุณหภูมิได้ทั้งค่าบวกและลบไว้ใน ตู้เย็น เพ่ือจะได้มั่นใจได้ว่าอุณหภูมิของตู้เย็นที่ใช้งานอยู่ในช่วง 2-8 องศาเซลเซียส ต้องมีการบันทึกอุณหภูมิอย่างน้อยวันละ ๒ คร้ัง เช้า เย็น อย่างสม่าเสมอ โดยใช้แบบฟอร์มบันทึกอุณหภูมิท่ีกาหนด หาก อุณหภูมิไม่อยู่ในช่วง 2-8 องศาเซลเซียส ให้ปรับปุมควบคุมอุณหภูมิ ตู้เย็น แล้วทาการติดตามอุณหภูมิตู้เย็นอย่างใกล้ชิดอีกคร้ัง หากไม่ สามารถปรับให้อุณหภูมิอยู่ในช่วงท่ีกาหนดได้ภายใน 24 ช.ม. ควรรีบ ตรวจสอบหาสาเหตุ และเปลี่ยนทเี่ กบ็ ยาใหเ้ หมาะสมทนั ที (ถ้าเป็นไปได้ ควรมีระบบตดิ ตามควบคมุ อุณหภูมิต้เู ย็น พร้อมข้อมูลการแสดงผลแบบ real time เพอ่ื สามารถตรวจสอบอุณหภูมิได้ตลอดเวลา) • ติดปูาย “ห้ามดึงปลั๊กตู้เย็นออก” หรือ “ห้ามปิดสวิทช์ Breaker ของ ต้เู ยน็ ” ควรเสยี บปลก๊ั ต้เู ยน็ กับระบบไฟ สารอง ปล๊ักตู้เย็นควรมีเต้าเสียบแยกต่างหาก และพันเทปกาวให้ปล๊ัก ตเู้ ยน็ ติดแนน่ เพื่อปูองกันปลัก๊ หลดุ • กาหนดแนวทางปฏบิ ตั หิ ากไฟดับหรอื ตู้เยน็ เสยี ไมท่ าความเย็น • ระวัง! ไม่ใช่ยาทุกชนิด จะสามารถเก็บรักษายาในตู้เย็นได้ เพราะ ความเย็นอาจทาให้ยาเส่ือมสภาพ ดังนั้นควรอ่านฉลากยาเพื่อเลือก วิธกี ารเก็บรักษาทถ่ี กู ต้อง ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 47

บรรจุภณั ฑ์ท่เี หมาะสมกบั รูปแบบและชนดิ ของยา ภาชนะบรรจุแบบขนาดใชค้ ร้ังเดยี ว (Single-dose containers) ภาชนะบรรจุแบบขนาดใชห้ ลายครง้ั (Multiple-dose containers) Single-dose containers Multiple-dose containers รปู แบบของภาชนะท่เี หมาะสมสาหรับการเกบ็ ยา ได้แก่ 1. ภาชนะปิดสนิท (Well-closed) คือ ภาชนะที่ปูองกันยาจากฝุน ละอองภายนอกเข้ามาปนเปอื้ นตัวยาสาคัญและสามารถปูองกันการสูญ หายของตัวยาสาคัญภายใต้สภาวะปกติ หรือระหว่างการควบคุม ขนส่ง จัดเก็บ และแจกจ่าย ตัวอย่างเช่น ซองยาซิปล็อค ,กระปุกยาฝาเกลียว ท่ีไมม่ ีขอบซีล , ตลับแบ่งยา เปน็ ตน้ 2. ภาชนะปิดแน่น (Tight) คือ ภาชนะที่ปูองกันยา จากการ ปนเป้ือนของสารจากภายนอกท้ังในสภาวะของเหลว ของแข็งและก๊าซ เข้ามาปนเปื้อนตัวยาสาคัญ สามารถปูองกันการสูญหายของตัวยา สาคัญ และปูองกันการเกิดเป็นผลึก การเย้ิมเหลว หรือการระเหย ภายใตส้ ภาวะปกติหรือระหวา่ งการควบคมุ ขนส่ง จัดเก็บ และแจกจ่าย ตัวอย่างเช่น กระปุกยาชนิดฝาปิดสนิท กระปุกยาชนิดฝาล็อค หรือ กระปกุ ยาทมี่ ีขอบซีลยาง เป็นต้น 3. ภาชนะกนั แสง (Light-resistant) คือภาชนะทีป่ ูองกันยาจากแสง ที่สามารถปูองกันแสงได้ด้วยคุณสมบัติของตัวเอง หรือจากการเคลือบ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 48

ปูองกันแสงไว้บนผิววัตถุของภาชนะ เช่น กล่องบรรจุ หีบ ห่อ เป็นต้น ใช้สาหรับบรรจุยาที่ระบุว่า “protect from light” (หรือปูองกันแสง) ตัวอย่างเช่น ซองยาซิปล๊อคสีชา กระปุกยาชนิดแก้วสีชา (amber bottle) กระปุกยาพลาสติกทบึ แสง ตลับยาชนิดทบึ แสง เปน็ ตน้ ภาชนะปิดสนทิ (Well-closed) ภาชนะปดิ แน่น (Tight) ภาชนะกนั แสง (Light-resistant) ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 49

รายการยาทเี่ กบ็ พ้นแสง (Protect from light) ตวั อยา่ ง ยาท่ตี ้องเก็บพ้นแสง ต้องใสซ่ องสชี า หรือเก็บในกล่องบรรจุ หรอื ในแผง เดมิ จากบริษัท Aspirin Tab Adrenaline Inj Amiodarone Inj Atenolol Tab Amoxyclav Tab (Amoxicillin และ Clavulanic Acid) Ceftriaxone sodium Inj Clindamycin Cap Chlorphenamine (CPM) Inj Chlorphenamine (CPM) Syr Diazepam Tab Diazepam Inj Dexamethasone Inj Domperidone Tab Doxycycline Cap Enalapril Tab Furosemide Inj Griseofulvin Tab Hydrochlorothiazide Tab (HCTZ) Hydroxyzine Tab Isosorbide dinitrate Tab Metoclopramide Inj Metronidazole Tab Morphine Inj Multivitamin (MTV ) Tab Naproxen Tab Norfloxacin Tab Omeprazole Cap Omeprazole Inj Poly Oph Eye Drop Propranolol Tab Salbutamol Nebule Terbutaline Inj Vitamin B complex Tab Vitamin C Tab เอกสารอ้างอิง American Pharmacists Association (APhA), Drug Information Handbook with International Trade Names Index. 26 th ed. Wolters Kluwer; 2017-2018. ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook