Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ. 2563

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ. 2563

Published by weeradech.mapaet, 2020-07-07 09:59:55

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ. 2563

Keywords: หลักสูตรสาระสังคม

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย์ 211 ชัน้ ตวั ชี้วดั สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง ม.2 1. วิเคราะห์ปัจจยั ที่มีผลต่อการลงทนุ และ  ความหมายและความสาคัญของการลงทุนและ การออมต่อระบบเศรษฐกจิ การออม  การบรหิ ารจดั การเงินออมและการลงทนุ ภาค ครวั เรอื น  ปจั จยั ของการลงทนุ และการออมคือ อัตรา ดอกเบีย้ รวมท้ังปจั จัยอ่นื ๆ เชน่ ค่าของเงนิ เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต  ปัญหาของการลงทุนและการออมในสังคมไทย 2. อธบิ ายปจั จยั การผลติ สินค้าและบรกิ าร  ความหมาย ความสาคัญ และหลักการผลิตสนิ ค้า และปัจจยั ทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ การผลิตสินค้า และบริการอยา่ งมีประสิทธิภาพ  สารวจการผลิตสินคา้ ในท้องถ่นิ วา่ มกี ารผลิต และบริการ อะไรบา้ ง ใชว้ ิธีการผลิตอย่างไร มีปญั หาดา้ น ใดบ้าง  มีการนาเทคโนโลยีอะไรมาใช้ทีม่ ผี ลตอ่ การ ผลิตสนิ ค้าและบริการ  นาหลักการผลิตมาวิเคราะห์การผลติ สินค้าและ บริการในท้องถ่ินทง้ั ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และ สง่ิ แวดล้อม 3. เสนอแนวทางการพฒั นาการผลิตใน หลักการและเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจ ทอ้ งถน่ิ ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พอเพียง  สารวจและวิเคราะหป์ ัญหาการผลติ สนิ ค้าและ บรกิ ารในท้องถ่ิน  ประยกุ ต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการ ผลิตสินค้าและบรกิ ารในท้องถ่ิน

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรสู้ ังมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทับโพธพ์ิ ัฒนวิทย์ 212 ช้นั ตวั ชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง 4. อภิปรายแนวทางการคมุ้ ครองสทิ ธิของ  การรกั ษาและคุ้มครองสทิ ธปิ ระโยชน์ของ ผู้บริโภค ตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค  กฎหมายคมุ้ ครองสิทธผิ ุ้บรโิ ภคและหนว่ ยงานท่ี เก่ียวขอ้ ง  การดาเนนิ กิจกรรมพิทักษ์สทิ ธแิ ละผลประโยชน์ ตามกฎหมายในฐานะผู้บรโิ ภค  แนวทางการปกป้องสทิ ธิของผู้บรโิ ภค ม.3 1. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ  ความหมายและประเภทของตลาด  ความหมายและตัวอย่างของอปุ สงคแ์ ละอุปทาน  ความหมายและความสาคญั ของกลไกราคาและ การกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ  หลกั การปรบั และเปลีย่ นแปลงราคาสนิ ค้าและ บริการ 2. มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและ สารวจสภาพปจั จุบนั ปญั หาท้องถ่ินทง้ั ทางด้าน พัฒนาท้องถนิ่ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สังคม เศรษฐกจิ และส่งิ แวดล้อม  วิเคราะหป์ ญั หาของท้องถ่ินโดยใช้ปรชั ญาของ 3. วิเคราะห์ความสมั พันธ์ระหวา่ งแนวคิด เศรษฐกิจพอเพยี งกับระบบสหกรณ์ เศรษฐกจิ พอเพียง  แนวทางการแก้ไขและพัฒนาทอ้ งถ่นิ ตามปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง  แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งกับการพัฒนาใน ระดบั ต่าง ๆ  หลกั การสาคญั ของระบบสหกรณ์  ความสัมพนั ธร์ ะหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง กับหลกั การและระบบของสหกรณ์เพื่อประยกุ ต์ใชใ้ น การพฒั นาเศรษฐกิจชุมชน

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย์ 213 ชน้ั ตัวชีว้ ดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง ม.4–ม.6 1. อภปิ รายการกาหนดราคาและคา่ จ้าง  ระบบเศรษฐกจิ ของโลกในปจั จุบนั ผลดีและ ในระบบเศรษฐกิจ ผลเสียของระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ  ตลาดและประเภทของตลาด ขอ้ ดีและ 2. ตระหนักถึงความสาคัญของปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งท่มี ีต่อเศรษฐกจิ ขอ้ เสยี ของตลาดประเภทตา่ ง ๆ สงั คมของประเทศ  การกาหนดราคาตามอุปสงค์ และอุปทาน การกาหนดราคาในเชิงกลยทุ ธท์ ่ีมีในสงั คมไทย 3. ตระหนักถึงความสาคัญของระบบ  การกาหนดค่าจ้าง กฎหมายทเี่ กีย่ วข้องและ สหกรณใ์ นการพฒั นาเศรษฐกิจในระดับ อัตราค่าจ้างแรงงานในสังคมไทย ชุมชนและประเทศ  บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคา และการ ควบคุมราคาเพื่อการแจกจา่ ย และจดั สรรในทาง 4. วเิ คราะห์ปญั หาทางเศรษฐกจิ เศรษฐกจิ ในชุมชนและเสนอแนวทางแก้ไข  การประยกุ ต์ใช้เศรษฐกจิ พอเพียง ในการดาเนนิ ชวี ิตของตนเอง และครอบครัว  การประยุกต์ใชเ้ ศรษฐกิจพอเพียงใน ภาค เกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบรกิ าร  ปญั หาการพัฒนาประเทศท่ีผา่ นมา โดยการศึกษา วิเคราะห์แผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสงั คมฉบับท่ีผา่ น มา  การพัฒนาประเทศทน่ี าปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งมาใช้ ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สงั คมฉบับปจั จบุ นั ววิ ัฒนาการของสหกรณ์ใน ประเทศไทย  ความหมายความสาคญั และหลักการของระบบ สหกรณ์ ตัวอย่างและประเภทของสหกรณ์ในประเทศไทย  ความสาคัญของระบบสหกรณ์ในการพัฒนา เศรษฐกจิ ในชุมชนและประเทศ  ปัญหาทางเศรษฐกิจในชุมชน  แนวทางการพฒั นาเศรษฐกิจของชมุ ชน  ตัวอย่างของการรวมกลุ่มที่ประสบความสาเร็จใน การแกป้ ัญหาทางเศรษฐกจิ ของชุมชน

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย์ 214 สำระที่ 3 เศรษฐศำสตร์ มำตรฐำน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจาเปน็ ของการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก ชัน้ ตวั ชี้วัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง ม.1 1. วิเคราะห์บทบาทหนา้ ที่และความ ความหมาย ประเภท และความสาคัญของสถาบัน การเงนิ ท่ีมีตอ่ ระบบเศรษฐกจิ แตกตา่ งของสถาบนั การเงนิ แตล่ ะประเภท และธนาคารกลาง  บทบาทหน้าทแ่ี ละความสาคญั ของธนาคารกลาง  การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทนุ ซงึ่ แสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งผู้ผลติ ผู้บรโิ ภค และ สถาบนั การเงนิ 2. ยกตัวอยา่ งท่ีสะท้อนให้เห็นการพ่ึงพา  ยกตวั อย่างทีส่ ะท้อนให้เห็นการพ่งึ พาอาศัยกนั อาศัยกัน และการแข่งขันกนั ทางเศรษฐกิจ และกนั การแขง่ ขนั กันทางเศรษฐกิจในประเทศ ในประเทศ  ปญั หาเศรษฐกิจในชมุ ชน ประเทศ และเสนอแนว ทางแก้ไข 3. ระบุปัจจยั ที่มีอทิ ธพิ ลต่อการกาหนด อปุ  ความหมายและกฎอปุ สงค์ อุปทาน  ปจั จัยทีม่ ีอิทธิพลตอ่ การกาหนดอปุ สงค์และ สงคแ์ ละอุปทาน อปุ ทาน 4. อภปิ รายผลของการมกี ฎหมายเกีย่ วกบั  ความหมายและความสาคัญของทรพั ย์สนิ ทาง ปญั ญา ทรัพยส์ ินทางปัญญา  กฎหมายที่เกีย่ วกบั การคุ้มครองทรัพยส์ นิ ทาง ปัญญาพอสังเขป  ตวั อยา่ งการละเมดิ แห่งทรัพยส์ ินทางปัญญาแต่ละ ประเภท ม.2 1. อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ  ระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ 2. ยกตวั อยา่ งที่สะท้อนใหเ้ ห็น  หลักการและผลกระทบการพ่งึ พาอาศัยกัน และ การพ่งึ พาอาศัยกนั และการแขง่ ขันกัน การแข่งขันกนั ทางเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคเอเชีย ทางเศรษฐกิจในภมู ภิ าคเอเชยี 3. วิเคราะหก์ ารกระจายของทรพั ยากร  การกระจายของทรพั ยากรในโลกทีส่ ง่ ผลตอ่ ในโลกท่ีส่งผลต่อความสัมพนั ธท์ าง ความสัมพันธท์ างเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ เชน่ เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ นา้ มัน ปา่ ไม้ ทองคา ถ่านหิน แร่ เปน็ ต้น 4. วเิ คราะหก์ ารแขง่ ขนั ทางการคา้  การแขง่ ขนั ทางการค้าในประเทศและต่างประเทศ ในประเทศและต่างประเทศส่งผลต่อ คุณภาพสินค้า ปรมิ าณการผลติ และ ราคาสินค้า

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธพิ์ ัฒนวทิ ย์ 215 ชน้ั ตวั ช้วี ัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง ม.3 1. อธบิ ายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลใน  บทบาทหนา้ ท่ีของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศใน ระบบเศรษฐกิจ ด้านตา่ ง ๆ  บทบาทและกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของรฐั บาล เชน่ การผลติ สนิ คา้ และบริการสาธารณะทเี่ อกชนไม่ ดาเนินการ เชน่ ไฟฟา้ ถนน โรงเรยี น  บทบาทการเกบ็ ภาษีเพื่อพฒั นาประเทศ ของรัฐในระดับต่าง ๆ  บทบาทการแทรกแซงราคาและ การควบคมุ ราคาเพ่ือการแจกจา่ ยและการจัดสรร ในทางเศรษฐกจิ  บทบาทอน่ื ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกจิ ใน สงั คมไทย 2. แสดงความคิดเหน็ ต่อนโยบาย และ  นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของรฐั บาล กิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ของรฐั บาลที่มตี ่อ บคุ คล กลุม่ คน และประเทศชาติ 3. อภิปรายบทบาทความสาคัญของ  บทบาทความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ทาง การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ  ลกั ษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ  กลุ่มทางเศรษฐกิจในภมู ภิ าคตา่ งๆ 4. อภปิ รายผลกระทบท่ีเกิดจากภาวะ  ผลกระทบทีเ่ กดิ จากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด เงินเฟ้อ เงินฝดื ความหมายสาเหตุและแนวทางแก้ไขภาวะเงนิ เฟ้อ เงนิ ฝดื 5. วเิ คราะห์ผลเสยี จากการว่างงาน และ  สภาพและสาเหตุปญั หาการวา่ งงาน แนวทางแก้ปัญหา  ผลกระทบจากปัญหาการว่างงาน  แนวทางการแก้ไขปญั หาการวา่ งงาน 6. วิเคราะหส์ าเหตแุ ละวิธีการกีดกันทาง  การคา้ และการลงทุนระหวา่ งประเทศ การค้าในการคา้ ระหวา่ งประเทศ  สาเหตุและวธิ กี ารกดี กนั ทางการค้าในการคา้ ระหว่างประเทศ

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวิทย์ 216 ชัน้ ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง ม.4-6 1. อธิบายบทบาทของรฐั บาลดา้ นนโยบาย  บทบาทของนโยบายการเงนิ และการคลังของ การเงนิ การคลงั ในการพฒั นาเศรษฐกิจ รฐั บาลในด้าน ของประเทศ  การรกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ  การสร้างการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ  การรกั ษาดุลการคา้ ระหว่างประเทศ  การแทรกแซงราคาและการควบคุม ราคา รายรับและรายจ่ายของรัฐที่มีผลตอ่ งบประมาณ หนีส้ าธารณะ การพัฒนาทางเศรษฐกิจและ คณุ ภาพชีวติ ของประชาชน  นโยบายการเกบ็ ภาษีประเภทตา่ ง ๆ และการใช้จา่ ยของรัฐ  แนวทางการแกป้ ัญหาการวา่ งงาน  ความหมาย สาเหตุ และผลกระทบท่ีเกดิ จาก ภาวะทางเศรษฐกจิ เชน่ เงนิ เฟ้อ เงินฝดื  ตัวชีว้ ัดความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ เช่น GDP , GNP รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล  แนวทางการแก้ปัญหาของนโยบายการเงนิ การคลงั 2. วิเคราะหผ์ ลกระทบของการเปดิ เสรี  ววิ ัฒนาการของการเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ ในยุค ทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวตั นท์ ีม่ ีผลตอ่ โลกาภิวัตนข์ องไทย สังคมไทย  ปัจจยั ทางเศรษฐกจิ ทม่ี ีผลตอ่ การเปิดเสรีทาง เศรษฐกิจของประเทศ  ผลกระทบของการเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ ของ ประเทศทมี่ ีต่อภาคการเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม ภาค การค้าและบริการ  การคา้ และการลงทุนระหว่างประเทศ  บทบาทขององค์กรระหวา่ งประเทศในเวทีการเงนิ โลกทมี่ ผี ลกับประเทศไทย

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย์ 217 ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง 3. วิเคราะห์ผลดี ผลเสียของความร่วมมอื  แนวคดิ พ้นื ฐานท่เี ก่ียวขอ้ งกับการคา้ ระหวา่ งประเทศ ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในรปู แบบ  บทบาทขององค์การความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจท่ี ต่าง ๆ สาคัญในภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก เช่น WTO , NAFTA , EU , IMF , ADB , OPEC , FTA , APECในระดบั ต่าง ๆ เขตสีเ่ หลี่ยมเศรษฐกิจ  ปจั จัยตา่ ง ๆ ที่นาไปสูก่ ารพึ่งพา การแขง่ ขนั การ ขัดแยง้ และการประสานประโยชน์ทางเศรษฐกิจ  ตวั อยา่ งเหตกุ ารณท์ ่นี าไปส่กู ารพึงพาทาง เศรษฐกิจ  ผลกระทบจากการดาเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ  ปจั จยั ต่าง ๆ ที่นาไปสู่การพึง่ พาการแข่งขัน การ ขดั แยง้ และการประสารประโยชนท์ างเศรษฐกิจ วธิ กี ารกดี กันทางการค้าในการคา้ ระหว่างประเทศ สำระท่ี 4 ประวตั ิศำสตร์ มำตรฐำน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใชว้ ิธีการ ทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตุการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ชน้ั ตัวชวี้ ดั สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง ม.1 1. วิเคราะห์ความสาคัญของเวลาใน  ตัวอย่างการใชเ้ วลา ชว่ งเวลาและยคุ สมยั การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ ท่ปี รากฏในเอกสารประวตั ิศาสตรไ์ ทย  ความสาคญั ของเวลา และช่วงเวลาสาหรับ การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์  ความสัมพนั ธแ์ ละความสาคัญของอดตี ที่มี ต่อปจั จุบนั และอนาคต 2. เทยี บศกั ราชตามระบบตา่ งๆทใ่ี ช้ศกึ ษา  ทม่ี าของศักราชทป่ี รากฏในเอกสาร ประวัตศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตรไ์ ทย ได้แก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร. ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ.  วธิ กี ารเทียบศกั ราชตา่ งๆ และตัวอยา่ ง การเทยี บ  ตัวอยา่ งการใชศ้ กั ราชต่าง ๆ ทป่ี รากฏใน เอกสารประวตั ิศาสตร์ไทย

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั มศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธพิ์ ัฒนวิทย์ 218 ชัน้ ตัวชว้ี ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง 3. นาวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรม์ าใชศ้ กึ ษา  ความหมายและความสาคญั ของประวัตศิ าสตร์ เหตุการณท์ างประวัติศาสตร์ และวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ท่ีมคี วาม สัมพนั ธเ์ ชือ่ มโยงกนั  ตวั อยา่ งหลกั ฐานในการศกึ ษาประวัติศาสตร์ ไทยสมยั สุโขทยั ทั้งหลักฐานชน้ั ตน้ และ หลักฐานชั้นรอง ( เชือ่ มโยงกับ มฐ. ส 4.3) เชน่ ข้อความ ในศิลาจารกึ สมยั สโุ ขทยั เปน็ ตน้  นาวิธกี ารทางประวัตศิ าสตรไ์ ปใช้ศกึ ษา เรอ่ื งราวของประวตั ิศาสตรไ์ ทยท่มี ีอยู่ใน ท้องถิ่นตนเองในสมยั ใดก็ได้ (สมยั ก่อน ประวตั ศิ าสตร์ สมยั ก่อนสุโขทยั สมัยสโุ ขทยั สมัยอยธุ ยา สมยั ธนบุรี สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ) และเหตุการณส์ าคัญใน สมัยสโุ ขทัย ม.2 1. ประเมินความน่าเช่ือถือของหลักฐาน  วธิ ีการประเมินความน่าเชื่อถือของ ทางประวตั ิศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ หลักฐานทางประวัติศาสตรใ์ นลกั ษณะ ต่าง ๆ อยา่ งงา่ ย ๆ เชน่ การศึกษาภูมหิ ลังของ ผู้ทา หรือผูเ้ ก่ยี วข้อง สาเหตุ ชว่ งระยะเวลา รปู ลกั ษณ์ของหลักฐานทาง ประวตั ิศาสตร์ เป็นต้น  ตัวอย่างการประเมนิ ความน่าเชอื่ ถือของ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยท่อี ยู่ ในท้องถิ่นของตนเอง หรือหลักฐาน สมยั อยุธยา ( เชอื่ มโยงกับ มฐ. ส 4.3 ) 2. วิเคราะห์ความแตกต่างระหวา่ งความจรงิ  ตัวอย่างการวเิ คราะห์ขอ้ มลู จากเอกสาร กับข้อเทจ็ จริงของเหตุการณ์ทาง ตา่ ง ๆ ในสมยั อยุธยา และธนบุรี ประวตั ศิ าสตร์ ( เช่อื มโยงกบั มฐ. ส 4.3 ) เชน่ ข้อความ 3. เห็นความสาคัญของการตีความหลกั ฐาน บางตอน ในพระราชพงศาวดารอยธุ ยา / ทางประวตั ศิ าสตรท์ ่ีน่าเชอ่ื ถอื จดหมายเหตุชาวตา่ งชาติ  ตวั อย่างการตคี วามข้อมูลจากหลกั ฐานที่ แสดงเหตุการณส์ าคญั ในสมัยอยุธยาและ ธนบรุ ี

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทับโพธ์พิ ัฒนวิทย์ 219 ชน้ั ตวั ชี้วดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง ม.3 1. วิเคราะห์เรือ่ งราวเหตุการณส์ าคญั ทาง  การแยกแยะระหวา่ งข้อมูลกบั ความคดิ เหน็ ประวัตศิ าสตร์ได้อย่างมีเหตผุ ลตามวิธีการ ทางประวัตศิ าสตร์ รวมท้ังความจริงกบั ข้อเทจ็ จริงจากหลักฐาน 2. ใช้วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ในการศึกษา เร่อื งราวตา่ ง ๆ ทต่ี นสนใจ ทางประวัตศิ าสตร์ ม.4 –ม. 6 1. ตระหนักถงึ ความสาคัญของเวลาและ  ความสาคัญของการวเิ คราะห์ข้อมูล และ ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตรท์ ี่แสดงถึงการ เปลย่ี นแปลงของมนุษยชาติ การตีความทางประวตั ศิ าสตร์  ขน้ั ตอนของวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ 2. สรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ทางประวตั ิศาสตร์ สาหรับการศึกษาเหตกุ ารณท์ างประวตั ิศาสตร์ท่ี โดยใชว้ ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรอ์ ย่างเป็น เกดิ ข้นึ ในท้องถิ่นตนเอง ระบบ  วิเคราะหเ์ หตกุ ารณส์ าคัญในสมัย รตั นโกสินทร์ โดยใชว้ ิธีการทางประวตั ศิ าสตร์  นาวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรม์ าใชใ้ น การศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกบั ตนเอง ครอบครัว และทอ้ งถ่ินของตน  เวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตรท์ ี่ ปรากฏในหลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ์ ทยและ ประวัติศาสตร์สากล  ตัวอย่างเวลาและยคุ สมัยทาง ประวัติศาสตรข์ องสงั คมมนุษย์ทม่ี ปี รากฏใน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (เช่ือมโยงกับ มฐ. ส 4.3)  ความสาคัญของเวลาและยคุ สมัยทาง ประวตั ิศาสตร์  ขั้นตอนของวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ โดย นาเสนอตัวอยา่ งทลี ะขั้นตอนอยา่ งชดั เจน  คณุ ค่าและประโยชนข์ องวธิ กี ารทาง ประวัติศาสตรท์ ี่มตี ่อการศึกษาทาง ประวัติศาสตร์  ผลการศกึ ษาหรอื โครงงานทาง ประวตั ิศาสตร์

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ัฒนวทิ ย์ 220 สำระท่ี 4 ประวัติศำสตร์ มำตรฐำน ส 4.2 เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถึงปจั จุบัน ในดา้ นความสมั พันธแ์ ละ การเปล่ยี นแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งต่อเน่ือง ตระหนักถงึ ความสาคญั และสามารถ วิเคราะหผ์ ลกระทบทเ่ี กิดขนึ้ ชนั้ ตัวชีว้ ัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง ม.1 1. อธบิ ายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและ  ทต่ี ้งั และสภาพทางภมู ิศาสตรข์ องประเทศ การเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคเอเชยี ตา่ ง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ตะวันออกเฉียงใต้ ท่มี ผี ลต่อพฒั นาการทางดา้ นต่างๆ  พฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกจิ และ การเมืองของประเทศตา่ ง ๆ ในภมู ภิ าค เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ 2. ระบคุ วามสาคัญของแหล่งอารยธรรมใน  ทต่ี ง้ั และความสาคญั ของแหลง่ อารยธรรม ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เช่น แหล่งมรดกโลกในประเทศตา่ ง ๆของเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้  อิทธพิ ลของอารยธรรมโบราณในดินแดน ไทยท่ีมีตอ่ พัฒนาการของสงั คมไทยใน ปัจจุบัน ม.2 1. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ  ทตี่ งั้ และสภาพทางภมู ศิ าสตร์ของภูมภิ าค และการเมืองของภมู ภิ าคเอเชยี ตา่ งๆในทวีปเอเชยี (ยกเวน้ เอเชียตะวันออก เฉยี งใต้) ที่มผี ลต่อพฒั นาการโดยสังเขป  พัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกิจ และ การเมืองของภูมภิ าคเอเชีย (ยกเว้นเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต)้  ที่ตง้ั และความสาคัญของแหลง่ อารยธรรม 2. ระบคุ วามสาคญั ของแหลง่ อารยธรรม โบราณในภมู ภิ าคเอเชยี เชน่ แหลง่ มรดก โลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชยี  อิทธิพลของอารยธรรมโบราณทีม่ ตี ่อ ภูมภิ าคเอเชียในปัจจบุ นั

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวิทย์ 221 ชน้ั ตัวช้ีวดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง ม.3 1. อธิบายพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกจิ  ท่ีต้งั และสภาพทางภมู ิศาสตรข์ องภูมิภาค และการเมืองของภูมิภาคตา่ งๆ ในโลก ตา่ งๆของโลก (ยกเวน้ เอเชยี ) ท่ีมีผลต่อ โดยสังเขป พัฒนาการโดยสังเขป  พฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ และการเมือง 2. วเิ คราะหผ์ ลของการเปลย่ี นแปลงที่ ของภูมิภาคตา่ งๆของโลก (ยกเว้นเอเชยี ) นาไปส่คู วามรว่ มมือ และความขดั แย้ง ใน คริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 ตลอดจนความ โดยสังเขป พยายามในการขจัดปญั หาความขดั แยง้  อิทธพิ ลของอารยธรรมตะวันตกที่มีผลต่อ พัฒนาการและการเปลยี่ นแปลงของสังคมโลก  ความรว่ มมอื และความขดั แย้งใน ครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 เช่น สงครามโลกครง้ั ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 สงครามเย็น องค์การความร่วมมือ ระหว่างประเทศ ม.4-ม.6 1.วเิ คราะห์อิทธพิ ลของอารยธรรรม  อารยธรรมของโลกยุคโบราณ ได้แก่ อารย โบราณ และการตดิ ต่อระหว่างโลก ธรรมลุ่มแม่นา้ ไทกรีส-ยเู ฟรตีส ไนล์ ฮวงโห ตะวนั ออกกับโลกตะวนั ตกทีม่ ีผลตอ่ สินธุ และอารยธรรมกรกี -โรมัน พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก  การติดตอ่ ระหวา่ งโลกตะวันออกกับโลก 2. วิเคราะห์เหตกุ ารณส์ าคญั ต่างๆท่ีส่งผล ตะวันตก และอิทธิพลทางวัฒนธรรมท่มี ตี ่อกัน ต่อการเปลีย่ นแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และกัน และการเมอื ง เขา้ สู่โลกสมัยปัจจบุ ัน  เหตกุ ารณ์สาคญั ต่างๆทสี่ ่งผลตอ่ การ เปล่ียนแปลงของโลกในปจั จบุ ัน เช่นระบอบ ฟวิ ดัส การฟ้ืนฟู ศลิ ปวิทยาการสงครามครู เสด การสารวจทางทะเล การปฏิรูป ศาสนา การปฏิวตั ิทาง 3. วเิ คราะห์ผลกระทบของการขยาย วิทยาศาสตร์ การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม อิทธพิ ลของประเทศในยโุ รปไปยงั ทวีป จักรวรรดินิยม ลัทธชิ าตนิ ิยม เป็นตน้ อเมริกา แอฟริกาและเอเชยี  ความรว่ มมอื และความขัดแยง้ ของมนุษยชาติ ในโลก 4. วเิ คราะหส์ ถานการณ์ของโลกใน  สถานการณส์ าคญั ของโลกในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 21 21 เช่น - เหตกุ ารณ์ 11 กนั ยายน 2001 (Nine Eleven ) - การขาดแคลนทรพั ยากร - การก่อการรา้ ย - ความขัดแยง้ ทางศาสนา ฯลฯ

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวทิ ย์ 222 สำระท่ี 4 ประวัตศิ ำสตร์ มำตรฐำน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาไทย มีความรัก ความภมู ิใจและธารง ความเปน็ ไทย ชัน้ ตัวชีว้ ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง ม.1 1. อธบิ ายเรอื่ งราวทางประวัติศาสตร์  สมัยก่อนประวัตศิ าสตรใ์ นดนิ แดนไทย สมยั กอ่ นสโุ ขทยั ในดินแดนไทย โดยสงั เขป โดยสังเขป  รัฐโบราณในดินแดนไทย เชน่ ศรวี ิชัยตามพร 2. วเิ คราะหพ์ ฒั นาการของอาณาจักร ลงิ ค์ ทวารวดี เป็นตน้ สโุ ขทยั ในด้านตา่ ง ๆ  รฐั ไทย ในดินแดนไทย เชน่ ล้านนา นครศรธี รรมราช สพุ รรณภมู ิ เปน็ ตน้ 3. วิเคราะห์อทิ ธิพลของวฒั นธรรม และ  การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย และ ปัจจยั ท่ี ภูมปิ ญั ญาไทยสมยั สุโขทยั และสังคมไทย เก่ียวข้อง (ปัจจัยภายในและ ปัจจัยภายนอก )  พฒั นาการของอาณาจักรสโุ ขทยั ในด้าน ในปจั จุบนั การเมืองการปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม และ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศ  วัฒนธรรมสมยั สโุ ขทัย เช่น ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณสี าคัญ ศิลปกรรมไทย  ภมู ปิ ัญญาไทยในสมยั สุโขทัย เชน่ การชลประทาน เครื่องสงั คมโลก  ความเสอ่ื มของอาณาจักรสโุ ขทยั ม.2 1. วเิ คราะหพ์ ฒั นาการของอาณาจักร  การสถาปนาอาณาจกั รอยุธยา อยธุ ยา และธนบุรใี นดา้ นตา่ งๆ  ปจั จยั ท่ีส่งผลตอ่ ความเจรญิ รุง่ เรอื งของ 2. วิเคราะหป์ จั จัยทสี่ ง่ ผลต่อความมัน่ คง อาณาจักรอยุธยา และความเจรญิ รุ่งเรอื งของอาณาจกั ร  พัฒนาการของอาณาจักรอยธุ ยาในด้าน อยุธยา การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และ 3. ระบุภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทย ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ สมยั อยุธยาและธนบรุ ี และอิทธพิ ลของ  การเสยี กรุงศรีอยธุ ยาคร้ังที่ 1 และ การกู้ ภูมิปญั ญาดังกลา่ ว ต่อการพัฒนาชาติ เอกราช ไทยในยุคตอ่ มา  ภูมิปญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา เช่น การควบคมุ กาลังคน และศลิ ปวัฒนธรรม  การเสยี กรุงศรีอยธุ ยาคร้ังท่ี 2 การกู้ เอกราช และการสถาปนาอาณาจกั รธนบรุ ี  ภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั ธนบุรี  วีรกรรมของบรรพบุรษุ ไทย ผลงาน ของบุคคลสาคญั ของไทยและตา่ งชาติ ท่ีมีสว่ นสร้างสรรค์ชาติไทย

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั มศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย์ 223 ช้ัน ตัวช้ีวดั สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง ม.3 1. วเิ คราะหพ์ ฒั นาการของไทย  การสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานีของ สมยั รัตนโกสนิ ทรใ์ นดา้ นต่างๆ ไทย 2. วิเคราะห์ปจั จัยทสี่ ง่ ผลต่อความมั่นคง  ปัจจัยทีส่ ง่ ผลตอ่ ความมั่นคงและ และความเจรญิ รุ่งเรอื งของไทยในสมัย ความเจรญิ รุ่งเรอื งของไทยในสมยั รตั นโกสินทร์ รตั นโกสินทร์  บทบาทของพระมหากษัตริยไ์ ทยในราชวงศ์ 3.วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม จกั รีในการสร้างสรรค์ความเจริญและความ ไทยสมยั รตั นโกสินทร์ และอิทธพิ ลต่อ มน่ั คงของชาติ การพัฒนาชาติไทย  พัฒนาการของไทยในสมัยรตั นโกสินทร์ 4.วเิ คราะห์บทบาทของไทยในสมัย ทางด้านการเมือง การปกครอง สงั คม ประชาธปิ ไตย เศรษฐกจิ และความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ ตามชว่ งสมยั ตา่ งๆ  เหตกุ ารณ์สาคญั สมัยรัตนโกสนิ ทร์ทม่ี ี ผลต่อการพัฒนาชาตไิ ทย เช่น การทา สนธิสญั ญาเบาว์ริงในสมัยรัชกาลที่ 4 การ ปฏริ ปู ประเทศในสมยั รชั กาลที่ 5 การเข้าร่วม สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 และครัง้ ที่ 2 โดยวิเคราะห์ สาเหตปุ จั จยั และผลของเหตุการณต์ ่าง ๆ  ภูมิปญั ญาและวัฒนธรรมไทยในสมัย รัตนโกสนิ ทร์  บทบาทของไทยตง้ั แตเ่ ปล่ยี นแปลง การปกครองจนถงึ ปัจจบุ นั ในสังคมโลก ม.4 – ม.6 1.วิเคราะห์ประเดน็ สาคญั ของ  ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตรไ์ ทย เชน่ ประวัติศาสตรไ์ ทย แนวคดิ เกี่ยวกับความเป็นมาของชาตไิ ทย 2. วิเคราะหค์ วามสาคัญของสถาบนั อาณาจักรโบราณในดินแดนไทย และอิทธิพล พระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย ทีม่ ีตอ่ สังคมไทย ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ การสถาปนา 3. วเิ คราะหป์ จั จัยท่ีสง่ เสริมความ อาณาจักรไทยในชว่ งเวลาตา่ งๆ สาเหตุและ สร้างสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาไทย และ ผลของการปฏิรปู ฯลฯ วัฒนธรรมไทย ซ่ึงมผี ลต่อสงั คมไทยใน  บทบาทของสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ในการ พัฒนาชาตไิ ทยในด้านตา่ งๆ เชน่ การปอ้ งกนั ยคุ ปัจจุบัน 4. วิเคราะหผ์ ลงานของบุคคลสาคญั ท้ัง และรักษาเอกราชของชาติ การสรา้ งสรรค์ วัฒนธรรมไทย ชาวไทยและตา่ งประเทศ ทีม่ ีสว่ น  อทิ ธิพลของวฒั นธรรมตะวนั ตก และตะวันออก สรา้ งสรรค์วฒั นธรรมไทย และ ประวตั ิศาสตรไ์ ทย ท่มี ตี อ่ สังคมไทย  ผลงานของบุคคลสาคัญทง้ั ชาวไทยและ ตา่ งประเทศ ทมี่ ีส่วนสร้างสรรค์ วฒั นธรรมไทย และประวัติศาสตร์ไทย

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวิทย์ 224 ช้นั ตัวชีว้ ัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง  ปัจจัยท่ีส่งเสริมความสรา้ งสรรค์ภูมิปญั ญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซ่ึงมีผลต่อสังคมไทยในยุค ปจั จุบัน 5. วางแผนกาหนดแนวทางและการมี  สภาพแวดลอ้ มทมี่ ีผลตอ่ การสร้างสรรค์ภมู ิ สว่ นรว่ มการอนรุ กั ษ์ภมู ปิ ัญญาไทยและ ปญั ญาและวัฒนธรรมไทย วฒั นธรรมไทย  วถิ ชี ีวติ ของคนไทยในสมัยตา่ งๆ  การสบื ทอดและเปล่ยี นแปลงของวัฒนธรรม ไทย  แนวทางการอนรุ ักษ์ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรม ไทยและการมสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์  วิธีการมสี ว่ นร่วมอนรุ ักษภ์ มู ปิ ญั ญาและ วฒั นธรรมไทย สำระท่ี 5 ภมู ิศำสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพสิ่งซงึ่ มผี ลต่อกัน ใช้แผนที่ และเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรุปขอ้ มูลตามกระบวนการทางภมู ิศาสตรล์ อดจนใช้ ภูมิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ ชั้น ตวั ชี้วัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง ม.1 1. วิเคราะหล์ ักษณะทางกายภาพ  ทต่ี ้งั ขนาด และอาณาเขตของ ของทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และ และโอเชยี เนยี โดยใชเ้ ครอ่ื งมือ ทาง โอเชียเนยี ภมู ศิ าสตร์สืบค้นข้อมูล  การใช้เครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ เชน่ แผนท่ี รปู ถา่ ยทางอากาศ ภาพจากดาวเทียมในการสบื ค้น ลักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี 2. อธิบายพิกดั ภมู ิศาสตร์ (ละติจดู  พิกดั ภูมิศาสตร์ (ละติจดู และลองจจิ ูด) และลองจิจดู ) เส้นแบง่ เวลา และ  เส้นแบ่งเวลา เปรียบเทยี บวนั เวลาของโลก  เปรยี บเทียบวัน เวลาของโลก 3. วิเคราะห์สาเหตกุ ารเกิดภยั พบิ ัติ  สาเหตกุ ารเกิดภยั พบิ ัติและผลกระทบในทวปี เอเชยี และผลกระทบในทวีปเอเชยี ทวปี ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนยี ม.2 1. วเิ คราะห์ลกั ษณะทางกายภาพ  ท่ีตงั้ ขนาด และอาณาเขตของทวปี ยุโรป และทวีป ของทวีปยโุ รป และทวปี แอฟริกา แอฟริกา

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั มศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวทิ ย์ 225 โดยใช้เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์สืบค้น  การใช้เครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ ขอ้ มลู เช่น แผนที่ รปู ถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียมใน การสบื คน้ ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป 2. อธิบายมาตราสว่ น ทศิ และ และทวปี แอฟริกา สัญลักษณ์  การแปลความหมาย มาตราส่วน ทิศ และสัญลักษณ์ ในแผนที่ 3. วเิ คราะหส์ าเหตุการเกดิ ภยั พบิ ตั ิ สาเหตุการเกดิ ภัยพบิ ตั แิ ละ และผลกระทบในทวปี ยโุ รป และ ผลกระทบในทวปี ยโุ รป และทวปี ทวีปแอฟริกา แอฟริกา ชนั้ ตวั ช้วี ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง ม.3 1. วเิ คราะห์ลักษณะทางกายภาพ  ทีต่ ้ัง ขนาด และอาณาเขตของทวปี อเมริกาเหนอื ของทวปี อเมริกาเหนอื และทวปี และทวปี อเมริกาใต้ ม.4 – ม.6 อเมรกิ าใต้ โดยเลือกใช้แผนทเ่ี ฉพาะ  การเลือกใชแ้ ผนที่เฉพาะเรื่องและเคร่อื งมือทาง เร่อื งและเคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร์ ภูมิศาสตร์สืบคน้ ข้อมูล ลักษณะทางกายภาพของ สืบคน้ ขอ้ มลู ทวีปอเมรกิ าเหนอื และทวปี อเมริกาใต้ 2. วิเคราะหส์ าเหตกุ ารเกดิ ภยั พบิ ตั แิ ละ สาเหตุการเกดิ ภัยพบิ ตั แิ ละผลกระทบในทวีป ผลกระทบในทวปี อเมริกาเหนือ อเมริกาเหนอื และทวปี อเมริกาใต้ และทวีปอเมริกาใต้ 1. วิเคราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงทาง  การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ กายภาพในประเทศไทยและภูมิภาค (ประกอบดว้ ย 1. ธรณีภาค ตา่ งๆ ของโลก ซึง่ ไดร้ บั อิทธิพลจาก 2. บรรยากาศภาค 3. อทุ กภาค4. ชวี ภาค) ของ ปัจจัยทางภูมศิ าสตร์ พื้นท่ีในประเทศไทยและภูมภิ าคตา่ งๆ ของโลก ซ่งึ ได้รบั อิทธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ 2. วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ  การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ซงึ่ ทาใหเ้ กิดปญั หาและภัยพบิ ัติ ทีส่ ่งผลตอ่ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทางธรรมชาติในประเทศไทยและ และทรัพยากรธรรมชาติ ภมู ิภาคต่างๆ ของโลก  ปัญหาทางกายภาพและภัยพบิ ตั ิ 3. ใชแ้ ผนทแ่ี ละเครื่องมือทาง ทางธรรมชาติในประเทศ ภูมศิ าสตร์ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และภูมิภาคต่างๆ ของโลก และสรปุ ขอ้ มูลตามกระบวนการ ทางภมู ศิ าสตร์ และนาภูมสิ ารสนเทศ  แผนที่และองคป์ ระกอบ มาใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน  การอา่ นแผนทีเ่ ฉพาะเร่ือง  การแปลความหมายรูปถา่ ยทางอากาศ และภาพ จากดาวเทยี ม  การนาภมู สิ ารสนเทศไปใช้ในชีวติ ประจาวนั

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย์ 226 สำระท่ี 5 ภูมิศำสตร์ มำตรฐำน ส 5.2 เขา้ ใจปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งมนุษยก์ ับสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพทก่ี ่อใหเ้ กิดการสรา้ งสรรคว์ ิถกี าร ดาเนนิ ชีวิต มจี ติ สานกึ และมีส่วนรว่ มในการจดั การทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพื่อการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ชั้น ตวั ชว้ี ดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง ม.1 1. สารวจและระบทุ าเลท่ตี ั้งของ  ทาเลทต่ี ัง้ ของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสังคม กจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เช่นพน้ื ทเ่ี พาะปลกู และเล้ียงสัตว์ ในทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลีย และ แหลง่ ประมง การกระจายของภาษาและศาสนาใน โอเชียเนยี ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย 2. วิเคราะห์ปจั จัยทางกายภาพและ  ปัจจัยทางกายภาพและปจั จัยทางสังคมทสี่ ง่ ผล ปัจจัยทางสงั คมทีม่ ีผลต่อทาเลทตี่ ง้ั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งทาง ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ประชากร ส่งิ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจสังคมและ ในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย วฒั นธรรมในทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย และโอ และโอเชยี เนยี เชียเนีย 3. สบื ค้น อภิปรายประเดน็ ปัญหา ประเด็นปัญหาจากปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ ง จากปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งสิ่งแวดล้อม ส่งิ แวดล้อมทางกายภาพกบั มนษุ ย์ทีเ่ กิดขน้ึ ในทวปี ทางกายภาพกับมนุษย์ทีเ่ กิดขึ้น เอเชียทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนยี ในทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย 4. วเิ คราะห์แนวทางการจัดการภัย  แนวทางการจดั การภยั พบิ ัตแิ ละการจดั การ พิบตั แิ ละการจัดการทรัพยากรและ จดั การทรัพยากรและส่งิ แวดล้อมในทวปี เอเชยี สงิ่ แวดล้อมในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนยี ทย่ี ่งั ยืน ที่ยั่งยืน ม.2 1. สารวจและระบทุ าเลทีต่ ัง้ ของ ทาเลท่ีตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม กจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสงั คม เช่น พ้ืนท่เี พาะปลกู และเล้ียงสัตว์ แหลง่ ประมง ในทวปี ยุโรป และทวีปแอฟริกา การกระจายของภาษา และศาสนาในทวีปยุโรป 2. วิเคราะหป์ ัจจัยทางกายภาพ และทวีปแอฟริกา และปัจจยั ทางสังคมท่ีมผี ลตอ่ ทาเล ท่ีตงั้ ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ  ปัจจัยทางกายภาพและปจั จัย สงั คมในทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ทางสังคมทส่ี ง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลง โครงสรา้ งทางประชากร สง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม ในทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย์ 227 ช้นั ตัวช้ีวดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง 3. สบื ค้น อภปิ รายประเดน็ ปัญหา  ประเดน็ ปญั หาจากปฏิสมั พนั ธ์ระหว่าง จากปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งสง่ิ แวดล้อม ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษยท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ในทวปี ทางกายภาพกับมนษุ ยท์ ่เี กดิ ขึ้น ยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า ในทวปี ยุโรป และทวีปแอฟรกิ า 4. วิเคราะหแ์ นวทางการจัดการภัย แนวทางการจดั การภัยพิบตั ิและการจัดการ พิบตั แิ ละการจัดการทรัพยากรและ ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อมในทวีปยุโรป และทวปี ส่ิงแวดลอ้ มในทวปี ยโุ รป แอฟริกาที่ยั่งยนื และทวีปแอฟริกาที่ยงั่ ยืน ม.3 1. สารวจและระบุทาเลทีต่ ง้ั ของ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวปี  ทาเลทีต่ ง้ั ของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสังคม อเมริกาเหนอื และทวีปอเมริกาใต้ เช่น พื้นท่ีเพาะปลูกและ เล้ียงสตั ว์ แหล่งประมง การกระจายของภาษาและ ศาสนาในทวปี อเมรกิ าเหนือ และ ทวีปอเมรกิ าใต้ 2. วิเคราะหป์ ัจจยั ทางกายภาพและ  ปัจจยั ทางกายภาพและปัจจยั ทางสงั คมท่ีสง่ ผล ปจั จัยทางสงั คมทม่ี ีผลตอ่ ทาเลท่ีต้งั ต่อการเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ ง ของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสังคม ทางประชากร ส่งิ แวดล้อม เศรษฐกจิ ในทวปี อเมริกาเหนือ และทวีป สังคมและวัฒนธรรมในทวปี อเมรกิ า อเมรกิ าใต้ เหนือ และทวปี อเมริกาใต้ 3. สืบคน้ อภิปรายประเดน็ ปัญหา  ประเดน็ ปญั หาจากปฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่าง จากปฏิสมั พันธ์ระหว่างสิง่ แวดล้อม สงิ่ แวดล้อมทางกายภาพกับมนษุ ย์ที่เกดิ ขึน้ ในทวีป ทางกายภาพกับมนษุ ยท์ เี่ กดิ ขึ้น อเมริกาเหนือ และทวปี อเมรกิ าใต้ ในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีป อเมริกาใต้ 4. วเิ คราะห์แนวทางการจัดการ  แนวทางการจดั การภัยพิบัตแิ ละการจดั การ ภยั พิบตั แิ ละการจัดการทรพั ยากร ทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อมในทวปี อเมรกิ าเหนอื และสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใตท้ ี่ยงั่ ยนื และทวปี อเมริกาใต้ ที่ยั่งยนื 5. ระบุความรว่ มมือระหว่างประเทศ ท่ี  เปา้ หมายการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืนของโลก มผี ลตอ่ การจัดการทรัพยากรและ  ความร่วมมอื ระหว่างประเทศทม่ี ีผลต่อการ ส่ิงแวดลอ้ ม จดั การทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อม

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั มศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธ์ิพฒั นวิทย์ 228 ชั้น ตัวชว้ี ดั สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง ม.4 –ม.6 1. วเิ คราะห์ปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ ง สิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพกบั กิจกรรมของ  ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่งิ แวดล้อมทางกายภาพกับ มนษุ ย์ในการสร้างสรรคว์ ิถี วถิ กี ารดาเนนิ ชวี ิตภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ไดแ้ ก่ การดาเนินชวี ติ ของท้องถิน่ ทั้งใน  ประชากรและการต้ังถิน่ ฐาน(การกระจายและ ประเทศไทยและภมู ิภาคต่างๆ การเปลย่ี นแปลงประชากร ชุมชนเมืองและชนบท ของโลกและเห็นความสาคัญของ สิ่งแวดลอ้ มที่มีผลต่อการดารงชีวิต และการกลายเป็นเมือง ของมนุษย์  การกระจายตวั ของกิจกรรมทางเศรษฐกจิ 2. วิเคราะหส์ ถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง (เกษตรกรรม อตุ สาหกรรมการผลติ การบริการ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม และการทอ่ งเที่ยว) ของประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ งๆ ของ โลก  สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงด้าน ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมได้แก่ การ 3. ระบมุ าตรการป้องกนั และแก้ไข ปญั หา กฎหมายและนโยบายดา้ น เปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศความเสอื่ มโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม บทบาทขององค์การทเ่ี ก่ยี วข้อง และ สงิ่ แวดลอ้ ม ความหลากหลายทางชีวภาพ และภยั การประสานความร่วมมือท้ังในประเทศ พบิ ัติ และระหว่างประเทศ  สาเหตุ และผลกระทบของการเปลีย่ นแปลง ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมของ 4. วิเคราะหแ์ นวทางและมีสว่ นรว่ ม ในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศไทย และภูมิภาคตา่ งๆ ของโลก และสง่ิ แวดล้อมเพื่อการพัฒนา  การจดั การภัยพบิ ตั ิ ทย่ี ัง่ ยืน  มาตรการป้องกนั และแก้ไขปญั หา ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มในประเทศ และระหว่างประเทศ ตามแนวทาง การพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื ความมน่ั คงของมนุษย์ และ การบรโิ ภคอยา่ งรบั ผิดชอบ  กฎหมายและนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ มท้ังในประเทศและระหวา่ ง ประเทศ  บทบาทขององค์การ และการ ประสานความรว่ มมือทั้งในประเทศ และระหวา่ งประเทศ  แนวทางการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม  การมีสว่ นรว่ มในการแกป้ ัญหาและการดาเนนิ ชวี ติ ตามแนวทางการจดั การทรัพยากรและ สิง่ แวดล้อมเพื่อการพัฒนาทีย่ ่ังยืน

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั มศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทับโพธพ์ิ ัฒนวิทย์ 229 อภิธำนศพั ท์ กตญั ญกู ตเวที ผ้รู ู้อปุ การะท่ีทา่ นทาแล้วและตอบแทน แยกออกเปน็ ๒ ข้อ ๑. กตัญญู ร้คู ุณทา่ น ๒. กตเวที ตอบแทนหรือสนองคุณท่าน ความกตัญญูกตเวทีว่าโดยขอบเขต แยกได้ เปน็ ๒ ระดับ คอื ๒.๑ กตัญญูกตเวทีต่อบคุ คลผมู้ คี ุณความดหี รอื อปุ การะต่อตนเปน็ ส่วนตวั ๒.๒ กตัญญกู ตเวทีตอ่ บคุ คลผไู้ ด้บาเพ็ญคุณประโยชน์หรอื มีคุณความดี เก้ือกลู แก่ส่วนร่วม (พ.ศ. หนา้ ๒-๓) กตัญญกู ตเวทีตอ่ อำจำรย์ / โรงเรยี น ในฐานะทเ่ี ป็นศิษย์ พงึ แสดงความเคารพนบั ถืออาจารย์ ผู้ เปรยี บเสมอื นทิศเบ้ืองขวา ดังนี้ ๑. ลกู ต้อนรับ แสดงความเคารพ ๒. เข้าไปหา เพ่อื บารงุ รบั ใช้ ปรึกษา ซักถาม รบั คาแนะนา เปน็ ตน้ ๓. ฟังดว้ ยดี ฟังเป็น รจู้ กั ฟัง ให้เกดิ ปัญญา ๔. ปรนนิบตั ิ ช่วยบรกิ าร ๕. เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ เอาจรงิ เอาจงั ถือเป็นกิจสาคัญด้วยดี กรรม การกระทา หมายถงึ การกระทาทป่ี ระกอบดว้ ยเจตนา คอื ทาดว้ ยความจงใจ ประกอบด้วยความ จงใจหรอื จงใจทาดกี ต็ าม ช่ัวก็ตาม เชน่ ขดุ หลมุ พรางดกั คนหรอื สตั วใ์ นตกลงไปตายเป็นกรรม แตข่ ุดบ่อน้าไวก้ ินไว้ใช้ สตั ว์ตกลงไปตายเองไม่เปน็ กรรม (แตถ่ ้ารอู้ ยู่วา่ บ่อน้าทต่ี นขุดไว้อยใู่ นท่ซี ึ่งคน จะพลดั ตกได้ง่ายแลว้ ปลอ่ ยปละละเลย มคี นตกลงไปก็ไม่พ้นกรรม) การกระทาทีด่ ีเรยี กวา่ “กรรมดี” ทช่ี ่วั เรียกว่า “กรรมชว่ั ” (พ.ศ. หนา้ ๔) กรรม ๒ กรรมจาแนกตามคุณภาพ หรอื ตามธรรมท่ีเป็นมลู เหตมุ ี ๒ คือ ๑. อกศุ ลกรรม กรรมท่ีเป็นอกุศล กรรมชั่ว คอื เกดิ จากอกุศลมูล ๒. กุศลกรรม กรรมทเ่ี ป็นกศุ ล กรรมดี คอื กรรมท่ีเกดิ จากกุศลมูล กรรม ๓ กรรมจาแนกตามทวารคือทางท่ีกรรมมี ๓ คือ ๓. กายกรรม การกระทาทางกาย ๒. วจีกรรม การกระทาทางวาจา ๓. มโนกรรม การกระทาทางใจ กรรม ๑๒ กรรมจาแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล มี ๑๒ อยา่ ง คือ หมวดที่ ๑ ว่ำดว้ ยปำกกำล คอื จาแนกตามเวลาที่ให้ผล ไดแ้ ก่ ๑. ทิฏฐธิ รรมเวทนียกรรม กรรมที่ ให้ผลในปัจจบุ ัน คือในภพนี้ ๒. อปุ ัชชเวทนยี กรรม กรรมท่ใี หผ้ ลในภาพทีจ่ ะไปเกิด คือ ในภพหนา้ ๓. อปราบปรเิ วทนียกรรม กรรมท่ใี ห้ผลในภพตอ่ ๆ ไป ๔. อโหสิกรรม กรรมเลกิ ใหผ้ ล หมวดท่ี ๒ ว่ำโดยกิจ คือการให้ผลตามหนา้ ที่ ได้แก่ ๕. ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกดิ หรือกรรมที่เป็น ตวั นาไปเกิด ๖. อุปตั ถัมภกกรรม กรรมสนบั สนนุ คอื เขา้ สนับสนุนหรือซ้าเติมตอ่ จากชนกกรรม ๗. อุป ปฬี กกรรม กรรมบีบคัน้ คือเข้ามาบีบคั้นผลแหง่ ชนกกรรม และอุปัตถมั ภกกรรมนน้ั ให้แปรเปล่ยี นทุเลา เบาลงหรอื ส้นั เขา้ ๘. อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คอื กรรมแรงฝา่ ยตรงข้ามทเ่ี ข้าตดั รอนใหผ้ ลของ กรรมสองอย่างนั้นขาดหรือหยุดไปทเี ดยี ว .................................................................. กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ การจัดสาระการเรยี นร้พู ระพทุ ธศาสนา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ สภาลาดพร้าว ,ครงั้ ที่ ๒ ๒๕๔๖ . *หมายเหตุ พ.ศ. หมายถงึ พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ; พ.ธ. หมายถึง พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบบั ประมาวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ ๙ พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตฺโต) กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๓. หมวดที่ ๓ วำ่ โดยปำนทำนปรยิ ำย คือจาแนกตามลาดบั ความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙. ครุกรรม กรรมหนกั ให้ผลก่อน ๑๐. พหลุ กรรม หรอื อาจิณกรรม กรรท่ีทามากหรอื กรรมชนิ ใหผ้ ลรองลงมา ๑๑. อาสนั นกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกลต้ าย ถ้าไม่มีสองข้อก่อนกจ็ ะใหผ้ ลก่อนอ่ืน

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวิทย์ 230 ๑๒. กตตั ตากรรม หรอื กตตั ตาวาปนกรรม กรรมสักวา่ ทา คอื เจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนน้ั ใหผ้ ลต่อเมื่อไม่มกี รรมอื่นจะใหผ้ ล (พ.ศ. หนา้ ๕) กรรมฐำน ที่ตง้ั แห่งการงาน อารมณเ์ ป็นที่ตั้งแห่งการงานของใจ อุบายทางใจ วธิ ีฝกึ อบรมจิต มี ๒ ประเภท คือ สมถกรรมฐาน คือ อุบายสงบใจ วปิ สั สนากรรมฐาน อุบายเรืองปัญญา (พ.ศ. หนา้ ๑๐) กลุ จิรัฏตธรรม ๔ ธรรมสาหรับดารงความมนั่ คงของตระกูลใหย้ ัง่ ยนื เหตทุ ่ที าใหต้ ระกูลมงั่ คั่งต้งั อยู่ได้นาน (พ.ธ. หน้า ๑๓๔) ๑. นฏั ฐคเวสนา คือ ของหายของหมด รูจ้ ักหามาไว้ ๒. ชิณณปฏสิ ังขรณา คอื ของเกา่ ของชารุด รูจ้ ักบูรณะซ่อมแซม ๓. ปริมิตปานโภชนา คอื ร้จู ักประมาณในการกินการใช้ ๔. อธปิ จั จสีลวันตสถาปนา คือ ตง้ั ผมู้ ีศลี ธรรมเป็นพอ่ บ้านแม่เรือน (พ.ธ. หน้า ๑๓๔) กุศล บญุ ความดี ฉลาด ส่ิงที่ดี กรรมดี (พ.ศ. หน้า ๒๑) กศุ ลกรรม กรรมดี กรรมที่เป็นกศุ ล การกระทาทด่ี คี ือเกดิ จากกุศลมลู (พ.ศ. หน้า ๒๑) กุศลกรรมบถ ๑๐ ทางแหง่ กรรมดี ทางทาดี กรรมดีอันเป็นทางนาไปสสู่ คุ ตมิ ี ๑๐ อย่างได้แก่ ก. กำยกรรม ๓ (ทางกาย) ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากการทาลายชีวิต ๒. อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอาของท่ีเขามิได้ให้ ๓. กาเมสมุ ิจฉาจารา เวรมณี เว้นจากประพฤติผิดในกาม ข. วจีกรรม ๔ (ทางวาจา) ได้แก่ ๔. มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากพดู เทจ็ ๕. ปิสุณายวาจาย เวรมณี เว้นจากพูดส่อเสียด ๖. ผรุสาย วาจาย เวรมณี เวน้ จากพูดคาหยาบ ๗. สัมผปั ปลาปา เวรมณี เวน้ จากพูดเพ้อเจ้อ ค. มโนกรรม ๓ (ทางใจ) ๘. อนภชิ ฌา ไม่โลกคอยจ้องอยากไดข้ องเขา ๙. อพยาบาท ไมค่ ิดรา้ ย เบยี ดเบียนเขา ๑๐. สมั มาทิฏฐิ เหน็ ชอบตามคลองธรรม (พ.ศ. หน้า ๒๑) กุศลมูล รากเหง้าของกุศล ตน้ เหตุของกศุ ล ตน้ เหตขุ องความดี ๓ อย่าง ๑. อโลภะ ไมโ่ ลภ (จาคะ) ๒. อโทสะ ไมค่ ดิ ประทุษร้าย (เมตตา) ๓. อโมหะ ไม่หลง (ปญั ญา) (พ.ศ. หน้า ๒๒) กุศลวิตก ความตรกึ ทเ่ี ปน็ กุศล ความนกึ คดิ ท่ีดงี าม ๓ คือ ๑. เนกขมั มวิตก ความตรึกปลอดจากกาม ๒. อพยาบาทวติ ก ความตรกึ ปลอดจากพยาบาท ๓. อวิหิสาวติ ก ความตรึกปลอดจากการเบยี ดเบยี น (พ.ศ. หนา้ ๒๒) โกศล ๓ ความฉลาด ความเช่ียวชาญ มี ๓ อย่าง ๑. อายโกศล คอื ความฉลาดในความเจริญ รอบรู้ทางเจริญ และเหตขุ องความเจรญิ ๒. อปายโกศล คือ ความฉลาดในความเส่อื ม รอบร้ทู างเส่ือมและเหตขุ อง ความเสอ่ื ม ๓. อุปายโกศล คือ ความฉลาดในอุบาย รอบรู้วธิ ีแกไ้ ขเหตุการณ์และวิธีท่ีจะทาให้สาเรจ็ ทั้งในการป้องกันความเส่ือมและในการสรา้ งความเจรญิ (พ.ศ. หน้า ๒๔) ขันธ์ กอง พวก หมวด หมู่ ลาตัว หมวดหนึง่ ๆ ของรปู ธรรมและนามธรรมท้งั หมดทแี่ บ่งออกเป็นหา้ กอง ได้แก่ รปู ขนั ธ์ คือ กองรปู เวทนาขันธ์ คือ กองเวทนา สัญญาขันธ์ คอื กองสญั ญา สงั ขารขนั ธ์ คือ กอง สังขาร วิญญาณขนั ธ์ คือ กองวญิ ญาณ เรยี กรวมว่า เบญจขันธ์ (พ.ศ. หนา้ ๒๖ - ๒๗) คำรวธรรม ๖ ธรรม คือ ความเคารพ การถอื เปน็ สิ่งสาคัญที่จะพึงใสใ่ จและปฏิบัตดิ ้วย ความเอื้อเฟ้ือ หรือ โดยความหนักแน่นจรงิ จังมี ๖ ประการ คือ ๑. สัตถุคารวตา ความเคารพในพระศาสดา หรือพทุ ธ คารวตา ความเคารพในพระพุทธเจ้า ๒. ธัมมคารวตา ความเคารพในพระธรรม ๓. สงั ฆคารวตา

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธ์ิพัฒนวิทย์ 231 ความเคารพในพระสงฆ์ ๔. สกิ ขาคารวตา ความเคารพในการศกึ ษา ๕. อัปปมาทคารวตา ความเคารพในความไมป่ ระมาท ๖. ปฏิสันถารคารวตา ความเคารพในการปฏิสนั ถาร (พ.ธ. หนา้ ๒๒๑) คหิ ิสุข (กามโภคีสุข ๔) สขุ ของคฤหสั ถ์ สุขของชาวบา้ น สุขทช่ี าวบ้านควรพยายามเข้าถงึ ใหไ้ ด้สมา่ เสมอ สุขอันชอบธรรมทผ่ี ู้ครองเรอื นควรมี ๔ ประการ ๑. อัตถสิ ุข สขุ เกิดจากความมที รัพย์ ๒. โภคสุข สขุ เกดิ จากการใช้จา่ ยทรัพย์ ๓. อนณสุข สุขเกดิ จากความไมเ่ ปน็ หนี้ ๔. อนวชั ชสุข สุขเกิดจากความ ประพฤติไม่มโี ทษ (ไม่บกพร่องเสียหายทั้งทางกาย วาจา และใจ) (พ.ธ. หน้า ๑๗๓) ฆรำวำสธรรม ๔ ธรรมสาหรบั ฆราวาส ธรรมสาหรบั การครองเรือน หลักการครองชีวิตของคฤหัสถ์ ๔ ประการ ได้แก่ ๑. สัจจะ คอื ความจรงิ ซื่อตรง ซ่ือสตั ย์ จริงใจ พดู จรงิ ทาจริง ๒. ทมะ คือ การฝกึ ฝน การข่มใจ ฝึกนิสยั ปรบั ตวั รู้จกั ควบคมุ จิตใจ ฝึกหัด ดัดนิสัย แกไ้ ขข้อบกพร่อง ปรับปรงุ ตนใหเ้ จริญกา้ วหน้าดว้ ยสตปิ ัญญา ๓. ขันติ คือ ความอดทน ตัง้ หนา้ ทาหน้าท่ีการงานด้วยความ ขยนั หม่นั เพียร เข้มแข็ง ทนทาน ไมห่ วั่นไหว มั่นในจดุ หมาย ไม่ท้อถอย ๔. จาคะ คือ เสยี สละ สละกิเลส สละความสุขสบาย และผลประโยชน์สว่ นตนได้ ใจกวา้ ง พรอ้ มทีจ่ ะรับฟัง ความทุกข์ ความคิดเหน็ และความต้องการของผู้อื่น พรอ้ มท่ีจะร่วมมือช่วยเหลอื เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ ไมค่ ับแคบเหน็ แกต่ วั หรอื เอาแต่ใจตัว (พ.ธ. หน้า ๔๓) จิต ธรรมชาติทร่ี ูอ้ ารมณ์ สภาพทีน่ กึ คิด ความคดิ ใจ ตามหลักฝ่ายอภธิ รรม จาแนกจิตเปน็ ๘๙ แบง่ โดย ชาติเป็นอกุศลจิต ๑๒ กศุ ลจิต ๒๑ วปิ ากจติ ๓๖ และกิริยาจิต ๘ (พ.ศ. หน้า ๔๓) เจตสิก ธรรมท่ปี ระกอบกบั จติ อาการหรือคุณสมบัติตา่ ง ๆ ของจติ เชน่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ศรทั ธา เมตตา สติ ปัญญาเปน็ ต้น มี ๕๒ อย่าง จัดเปน็ อญั ญสมานาเจตสกิ ๑๓ อกุศลเจตสิก ๑๔ โสภณ เจตสกิ ๒๕ (พ.ศ. หนา้ ๔๙) ฉนั ทะ ๑. ความพอใจ ความชอบใจ ความยนิ ดี ความต้องการ ความรักใครใ่ นสิ่งน้ัน ๆ ๒. ความยนิ ยอม ความยอมใหท้ ี่ประชุมทากจิ นั้น ๆ ในเมือ่ ตนมิได้ร่วมอยูด่ ้วย เป็นธรรมเนียมของภิกษุทอี่ ยู่ในวัดซึง่ มี สมี ารวมกัน มสี ทิ ธทิ จี่ ะเข้าประชุมทากจิ ของสงฆ์ เวน้ แต่ภิกษนุ ้ันอาพาธ จะเข้ารว่ มประชุมดว้ ยไม่ได้ ก็ มอบฉนั ทะคอื แสดงความยนิ ยอมให้สงฆท์ ากิจนนั้ ๆ ได้ (พ.ศ. หนา้ ๕๒) ฌำน การเพ่ง การเพ่งพินิจดว้ ยจิตที่เป็นสมาธิแนว่ แน่ มี ๒ ประเภท คือ ๑. รูปฌาน ๒. อรูปฌาน (พ.ศ. หน้า ๖๐) ฌำนสมบตั ิ การบรรลฌุ าน การเขา้ ฌาน (พุทธธรรม หน้า ๙๖๔) ดรุณธรรม ธรรมทีเ่ ป็นหนทางแหง่ ความสาเร็จ คือ ข้อปฏบิ ัติท่ีเป็นดจุ ประตชู ยั อันเปิดออกไปส่คู วามสุข ความ เจริญกา้ วหน้าแหง่ ชีวติ ๖ ประการ คือ ๑. อาโรคยะ คือ รักษาสุขภาพดี มิให้มโี รคทง้ั จิต และ กาย ๒. ศีล คือ มรี ะเบียบวินัย ไม่ก่อเวรภยั แกส่ ังคม ๓. พทุ ธานุมัติ คือ ได้คนดีเป็นแบบอย่าง ศึกษา เยี่ยงนิยมแบบอยา่ งของมหาบุรุษพทุ ธชน ๔. สุตะ คือ ต้ังเรียนร้ใู หจ้ รงิ เลา่ เรียนคน้ คว้าให้รเู้ ชยี่ วชาญ ใฝ่สดับเหตกุ ารณใ์ ห้รเู้ ท่าทนั ๕. ธรรมานุวตั ิ คือ ทาแต่สิง่ ที่ถูกต้องดีงาม ดารงมั่นในสจุ ริต ท้งั ชีวติ และงานดาเนนิ ตามธรรม ๖. อลนี ตา คือ มีความขยันหม่นั เพยี ร มีกาลังใจแข็งกล้า ไม่ทอ้ แท้ เฉ่อื ยชา เพยี รก้าวหนา้ เรือ่ ยไป (ธรรมนญู ชวี ิต บทท่ี ๑๕ คนสบื ตระกลู ข้อ ก. หน้า๕๕) หมำยเหตุ หลักธรรมข้อน้เี รียกชือ่ อีกย่างหนึ่งวา่ “วฒั นมุข” ตรงคาบาลวี ่า “อัตถทวาร” ประตแู หง่ ประโยชน์ ตณั หำ (๑) ความทะยานอยาก ความดินรน ความปรารถนา ความแสห่ า มี ๓ คือ ๑. กามตัณหา ความทะยาน อยากในกาม อยากไดอ้ ารมณ์อันนา่ รักน่าใคร่ ๒. ภวตณั หา ความทะยานอยากในภพ อยากเปน็ นัน่ เป็น

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทับโพธพ์ิ ัฒนวิทย์ 232 นี่ ๓. วภิ วตณั หา ความทะยานอยากในวภิ พ อยากไม่เป็นนั่นไมเ่ ปน็ นี่ อยากพรากพ้นดับสญู ไป เสีย ตันหำ (๒) ธดิ ามารนางหนึ่งใน ๓ นาง ที่อาสาพระยามารผ้เู ป็นบิดา เข้าไปประโลมพระพุทธเจ้าดว้ ยอาการ ต่าง ๆ ในสมยั ท่พี ระองค์ประทับอยู่ท่ีต้นอชปาลนิโครธ ภายหลงั ตรสั รูใ้ หม่ ๆ (อกี ๒ นางคอื อรดี กับราคา) (พ.ศ. หนา้ ๗๒) ไตรลกั ษณ์ ลักษณะสาม คือ ความไม่เท่ียง ความเป็นทุกข์ ความไม่ใช่ตวั ตน ๑. อนิจจตา (ความเป็นของ ไมเ่ ท่ียง) ๒. ทกุ ขตา (ความเป็นทุกข์) ๓. อนตั ตา (ความเป็นของไมใ่ ช่ตน) (พ.ศ. หน้า ๑๐๔) ไตรสิกขำ สกิ ขาสาม ขอ้ ปฏิบัตทิ ตี่ อ้ งศึกษา ๓ อยา่ ง คือ ๑. อธิศีลสิกขา หมายถึง สิกขา คือ ศลี อนั ยิ่ง ๒. อธจิ ติ ตสิกขา หมายถงึ สิกขา คือ จติ อนั ยิง่ ๓. อธปิ ญั ญาสกิ ขา หมายถึง สิกขา คือ ปัญญา อันยิ่ง เรยี กกนั งา่ ย ๆ ว่า ศลี สมาธิ ปญั ญา (พ.ศ. หนา้ ๘๗) ทศพธิ รำชธรรม ๑๐ ธรรม สาหรบั พระเจ้าแผ่นดิน คณุ สมบัตขิ องนักปกครองทด่ี ี สามารถปกครองแผ่นดินโดย ธรรม และยงั ประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชน จนเกิดความชืน่ ชมยินดี มี ๑๐ ประการ คือ ๑. ทาน การใหท้ รัพยส์ นิ สิง่ ของ ๒. ศีล ประพฤติดงี าม ๓. ปริจจาคะ ความเสยี สละ ๔. อาชชวะ ความซ่ือตรง ๕. มัททวะ ความอ่อนโยน ๖. ตบะ ความทรงเดช เผากิเลสตัณหา ไม่หมกมุ่นใน ความสุขสาราญ ๗. อักโกธะความไม่กรว้ิ โกรธ ๘. อวหิ ิงสา ความไมข่ ่มเหงเบยี ดเบยี น ๙. ขันติ ความอดทนเขม้ แขง็ ไม่ท้อถอย ๑๐. อวโิ รธนะ ความไมค่ ลาดธรรม (พ.ศ. หน้า ๒๕๐) ทิฏธัมมิกัตถสังวัตตนกิ ธรรม ๔ ธรรมท่เี ป็นไปเพื่อประโยชนใ์ นปจั จุบัน คอื ประโยชน์สุขสามญั ท่ีมองเห็นกนั ใน ชาตนิ ้ี ที่คนทวั่ ไปปรารถนา เช่น ทรัพย์ ยศ เกียรติ ไมตรี เปน็ ต้น มี ๔ ประการ คือ ๑.อฏุ ฐานสมั ปทา ถึงพร้อมด้วยความหม่นั ๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา ๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเปน็ คนดี ๔. สมชวี ติ า การเลีย้ งชพี ตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ท่ีหาได้ (พ.ศ. หนา้ ๙๕) ทุกข์ ๑. สภาพท่ีทนอยู่ไดย้ าก สภาพที่คงทนอยไู่ มไ่ ด้ เพราะถูกบีบคนั้ ดว้ ยความเกดิ ข้ึนและดับสลาย เนื่องจาก ตอ้ งไปตามเหตปุ จั จยั ท่ีไม่ขน้ึ ต่อตวั มนั เอง ๒. สภาพทท่ี นได้ยาก ความรู้สกึ ไมส่ บาย ไดแ้ ก่ ทุกขเวทนา (พ.ศ. หน้า ๙๙) ทุกรกิรยิ ำ กริ ิยาทที่ าได้ยาก การทาความเพียรอนั ยากทใี่ คร ๆ จะทาได้ เช่น การบาเพญ็ เพียรเพื่อบรรลุธรรม วิเศษ ด้วยวิธีทรมานตนตา่ ง ๆ เช่น กลน้ั ลมอสั สาสะ (ลมหายใจเข้า) ปสั สาสะ (ลมหายใจออก) และอด อาหาร เป็นตน้ (พ.ศ. หนา้ ๑๐๐) ทจุ รติ ๓ ความประพฤติไมด่ ี ประพฤติชัว่ ๓ ทาง ได้แก่ ๑. กายทุจรติ ประพฤติชัว่ ทางกาย ๒. วจที ุจริต ประพฤติช่วั ทางวาจา ๓. มโนทุจริต ประพฤตชิ ั่วทางใจ (พ.ศ. หน้า ๑๐๐) เทวทตู ๔ ทูตของยมเทพ ส่อื แจง้ ข่าวของมฤตยู สัญญาณท่ีเตือนใหร้ ะลึกถึงคติธรรมดาของชวี ติ มีใหม้ คี วาม ประมาท ได้แก่ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ๓ อยา่ งแรกเรยี กเทวทูต สว่ นสมณะเรียกรวมเป็น เทวทตู ไปด้วยโดยปริยายเพราะมาในหมวดเดยี วกัน แต่ในบาลที ่านเรียกว่านิมติ ๔ ไม่ไดเ้ รยี กเทวทูต (พ.ศ. หน้า ๑๐๒) ธำตู ๔ ส่ิงทที่ รงภาวะของมั้นอยเู่ องตามธรรมดาของเหตปุ จจัย ไดแ้ ก่ ๑. ปฐวธี าตุ หมายถึง สภาวะที่แผ่ไปหรอื กนิ เน้ือท่ี เรียกช่ือสามญั วา่ ธาตเุ ข้มแขง็ หรือธาตดุ ิน ๒. อาโปธาตุ หมายถึง สภาวะที่เอบิ อาบดดู ซึม เรยี กสามญั วา่ ธาตเุ หลว หรือธาตุน้า ๓. เตโชธาตุ หมายถึง สภาวะท่ที าให้ร้อน เรยี กสามัญวา่ ธาตุไฟ ๔. วาโยธาตุ หมายถึง สภาวะท่ที าให้เคลื่อนไหว เรียกสามัญวา่ ธาตุลม (พ.ศ. หนา้ ๑๑๓)

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั มศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธ์ิพัฒนวิทย์ 233 นำม ธรรมทรี่ ้จู ักกันดว้ ยชือ่ กาหนดรู้ดว้ ยใจเปน็ เร่ืองของจิตใจ สิ่งที่ไมม่ ีรูปร่าง ไมม่ รี ูปแต่นอ้ มมาเป็นอารมณ์ ของจติ ได้ (พ.ศ. หน้า ๑๒๐) นิยำม ๕ กาหนดอนั แน่นอน ความเปน็ ไปอนั มีระเบยี บแน่นอนของธรรมชาติ กฎธรรมชาติ ๑. อตุ ุนิยาม (กฎธรรมชาติเก่ยี วกับอุณหภูมิ หรอื ปรากฏการณธ์ รรมชาติต่าง ๆ โดยเฉพาะ ดิน นา้ อากาศ และฤดูกาล อันเปน็ ส่ิงแวดล้อมสาหรับมนษุ ย)์ ๒. พชี นิยาม (กฎธรรมชาตเิ ก่ียวกับการสบื พันธ์ุ มี พันธกุ รรมเปน็ ตน้ ) ๓. จิตตนยิ าม (กฎธรรมชาตเิ กี่ยวกบั การทางานของจิต) ๔. กรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเก่ยี วกับพฤติกรรมของมนษุ ย์ คือ กระบวนการใหผ้ ลของการกระทา) ๕. ธรรมนยิ าม (กฎ ธรรมชาตเิ กี่ยวกบั ความสมั พันธ์และอาการทเ่ี ปน็ เหตุ เป็นผลแกก่ ันแหง่ สง่ิ ท้งั หลาย (พ.ธ. หนา้ ๑๙๔) นวิ รณ์ ๕ ส่ิงทกี่ ั้นจติ ไมใ่ ห้ก้าวหนา้ ในคุณธรรม ธรรมที่กั้นจิตไม่ให้บรรลคุ ุณความดี อกุศลธรรมท่ที าจติ ใหเ้ ศรา้ หมองและทาปัญญาให้ออ่ นกาลงั ๑. กามฉนั ทะ (ความพอใจในกาม ความต้องการกามคุณ) ๒. พยาบาท (ความคิดร้าย ความขดั เคืองแค้นใจ) ๓. ถนี มิทธะ (ความหดห่แู ละเซื่องซมึ ) ๔. อุทธจั จกกุ กจุ จะ (คามฟงุ้ ซา่ นและร้อนใจ ความกระวนกระวายกลุ้มกงั วล) ๕. วจิ ิกจิ ฉา (ความลังเลสงสัย) (พ.ธ. หน้า ๑๙๕) นโิ รธ ความดบั ทุกข์ คือดบั ตัณหาไดส้ น้ิ เชงิ ภาวะปลอดทุกข์ เพราะไม่มที ุกข์ทจี่ ะเกิดขน้ึ ได้ หมายถึง พระนิพพาน (พ.ศ. หนา้ ๑๒๗) บำรมี คุณความดีทีบ่ าเพญ็ อย่างยิ่งยวด เพื่อบรรลจุ ดุ หมายอันสงู ย่ิงมี ๑๐ คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขนั ติ สัจจะ อธษิ ฐาน เมตตา อุเบกขา (พ.ศ. หนา้ ๑๓๖) บุญกิริยำวัตถุ ๓ ท่ีตั้งแห่งการทาบญุ เรื่องทจ่ี ัดเป็นการทาความดี หลักการทาความดี ทางความดมี ี ๓ ประการ คือ ๑. ทานมยั คือทาบญุ ดว้ ยการใหป้ นั สง่ิ ของ ๒. ศีลมัย คือ ทาบญุ ดว้ ยการรักษาศีล หรือประพฤตดิ ี มีระเบยี บวินัย ๓. ภาวนมยั คือ ทาบุญด้วยการเจรญิ ภาวนา คอื ฝกึ อบรมจติ ใจ (พ.ธ. หนา้ ๑๐๙) บุญกิริยำวตั ถุ ๑๐ ท่ตี ้งั แหง่ การทาบญุ ทางความดี ๑. ทานมยั คอื ทาบุญด้วยการใหป้ ันสิง่ ของ ๒. สลี มัย คอื ทาบญุ ดว้ ยการรักษาศีล หรือประพฤติดี ๓. ภาวนมยั คอื ทาบุญดว้ ยการเจริญภาวนา คอื ฝึกอบรม จติ ใจ ๔. อปจายนมยั คอื ทบุญด้วยการประพฤติอ่อนนอ้ มถ่อมตน ๕. เวยยาวัจจมยั คอื ทาบญุ ดว้ ย การชว่ ยขวนขวาย รบั ใช้ ๖. ปัตติทานมยั คือ ทาบุญดว้ ยการเฉล่ียส่วนแห่งความดีใหแ้ ก่ผ้อู ่นื ๗. ปัตตานโุ มทนามยั คอื ทาบุญด้วยการยนิ ดใี นความดขี องผู้อืน่ ๘. ธมั มสั สวนมัย คอื ทาบุญดว้ ยการ ฟังธรรม ศกึ ษาหาความรู้ ๙. ธมั มเทสนามยั คือทาบุญด้วยการสง่ั สอนธรรมใหค้ วามรู้ ๑๐. ทิฏฐชุ ุกรรม คอื ทาบุญด้วยการทาความเห็นใหต้ รง (พ.ธ. หน้า ๑๑๐) บพุ นิมิตของมชั ฌิมำปฏิปทำ บพุ นิมิต แปลว่า ส่ิงที่เปน็ เครื่องหมายหรอื ส่ิงบง่ บอกล่วงหน้า พระพุทธองค์ตรัส เปรียบเทยี บว่า กอ่ นท่ีดวงอาทติ ยจ์ ะขนึ้ ย่อมมีแสงเงนิ แสงทองปรากฏให้เหน็ ก่อนฉันใด กอ่ นท่ี อริยมรรคซึ่งเป็นข้อปฏิบตั สิ าคญั ในพระพุทธศาสนาจะเกดิ ขึ้น กม็ ธี รรมบางประการปรากฏขนึ้ ก่อน เหมือนแสงเงนิ แสงทองฉันนนั้ องคป์ ระกอบของธรรมดังกลา่ ว หรอื บพุ นมิ ติ แห่งมัชฌิมาปฏปิ ทา ได้แก่ ๑. กลั ปย์ าณมติ ตตา ความมกี ัลยาณมติ ร ๒. สลี สมั ปทา ถงึ พรอ้ มด้วยศลี มีวนิ ัย มคี วามเป็นระเบียบ ในชวี ติ ของตนและในการอย่รู ่วมในสงั คม ๓. ฉันทสมั ปทา ถึงพร้อมดว้ ยฉนั ทะ พอใจใฝร่ กั ในปัญญา สัจธรรม ในจรยิ ธรรม ใฝร่ ู้ในความจริงและใฝท่ าความดี ๔. อตั ตสัมปทา ความถึงพร้อมด้วยการท่จี ะ ฝกึ ฝน พฒั นาตนเอง เห็นความสาคญั ของการที่จะตอ้ งฝึกตน ๕. ทฏิ ฐิสปั ทา ความถงึ พร้อมดว้ ยทิฏฐิ ยดึ ถือ เชือ่ ถือในหลกั การ และมีความเหน็ ความเข้าใจพน้ื ฐานทมี่ องส่งิ ท้งั หลายตามเหตุปจั จัย ๖. อปั ป มาทสมั ปทา ถงึ พร้อมด้วยความไม่ประมาท มคี วามกระตอื รือร้นอยูเ่ สมอ เห็นคุณคา่ ของ

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวทิ ย์ 234 กาลเวลา เห็นความเปลีย่ นแปลงเป็นสงิ่ กระตุ้นเตอื นใหเ้ ร่งรัดการคน้ หาใหเ้ ขาถึงความจรงิ หรอื ในการ ทาชวี ติ ทดี่ งี ามให้สาเร็จ ๗. โยนโิ สมนสกิ าร รู้จดั คิดพจิ ารณา มองสิ่งทง้ั หลายใหไ้ ด้ความรูแ้ ละได้ ประโยชน์ท่จี ะเอามาใช้พฒั นาตนเองย่งิ ๆ ขนึ้ ไป (แสงเงินแสงทองของชีวติ ที่ ดงี าม: พระธรรมปฎิ ก) (ป.อ. ปยุตฺโต) เบญจธรรม ธรรม ๕ ประการ ความดี ๕ อย่าง ท่ีควรประพฤตคิ กู่ นั ไปกบั การรักษาเบญจศลี ตามลาดบั ข้อ ดังน้ี ๑. เมตตากรุณา ๒. สมั มาอาชวี ะ ๓. กามสงั วร (สารวมในกาม) ๔. สจั จะ ๕. สติสัมปชญั ญะ (พ.ศ. หน้า ๑๔๐ – ๑๔๑) เบญจศีล ศีล ๕ เวน้ ฆ่าสัตว์ เว้นลักทรัพย์ เว้นประพฤติผิดในกาม เว้นพูดปด เวน้ ของเมา (พ.ศ. หนา้ ๑๔๑) ปฐมเทศนำ เทศนาคร้ังแรก หมายถงึ ธัมมจกั รกัปปวตั ตนสตู รท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคยี ใ์ นวันขึ้น ๑๕ คา่ เดือน ๘ หลงั จากวันตรสั รู้สองเดือน ที่ปา่ อสิ ิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี (พ.ศ. หนา้ ๑๔๗) ปฏิจจสมุปบำท สภาพอาศยั ปัจจยั เกิดขึ้น การท่ีสง่ิ ท้ังหลายอาศยั กนั จงึ มขี ้ึน การท่ีทุกข์เกดิ ขนึ้ เพราะอาศยั ปัจจัย ตอ่ เน่ืองกันมา (พ.ศ. หน้า ๑๔๓) ปริยตั ิ พุทธพจน์อันจะพึงเล่าเรยี น สิ่งที่ควรเล่าเรียน การเล่าเรียนพระธรรมวินยั (พ.ศ. หน้า ๑๔๕) ปธำน ๔ ความเพยี ร ๔ อย่าง ได้แก่ ๑. สังวรปธาน คือ การเพยี รระวังหรือเพียรปิดกั้น (ยับย้งั บาปอกุศลธรรมที่ ยงั ไมเ่ กดิ ไม่ใหเ้ กดิ ขึ้น) ๒. ปหานปธาน คอื เพยี รละบาปอกุศลท่ีเกิดข้ึนแล้ว ๓. ภาวนาปธาน คือ เพียรเจริญ หรือทากุศลธรรมที่ยงั ไม่เกดิ ให้เกิดข้ึน ๔. อนรุ ักขนาปธาน คือ เพยี รรักษากุศลธรรมทเี่ กิดข้ึน แล้วไมใ่ ห้เสือ่ มไปและทาให้เพ่ิมไพบูลย์ (พ.ศ. หน้า ๑๔๙) ปปัญจธรรม ๓ กเิ ลสเคร่ืองเนิ่นช้า กเิ ลสทเี่ ป็นตัวการทาใหค้ ิดปรุงแต่งยึดเย้ือพิสดาร ทาให้เขาหา่ งออกไปจาก ความเป็นจริงงา่ ย ๆ เปิดเผย ก่อใหเ้ กิดปัญหาต่าง ๆ และขัดขวางไม่ให้เข้าถึงความจริง หรือทาให้ ไม่อาจแก้ปัญหาอย่างถกู ทางตรงไปตรงมา มี ๓ อย่าง คือ ๑. ตณั หา (ความทะยานอยาก ความปรารถนา ที่จะบารุงบาเรอ ปรนเปรอตน ความยากได้อยากเอา) ๒. ทฏิ ฐิ (ความคิดเหน็ ความเชื่อถือ ลกั ธิ ทฤษฎี อดุ มการณ์ตา่ ง ๆ ทยี่ ดึ ถือไวโ้ ดยงมงายหรือโดยอาการเชิดชูว่าอย่างนี้เท่านั้นจริงอย่างอื่นเท็จทั้งน้นั เป็น ต้น ทาให้ปิดตวั แคบ ไมย่ อมรับฟังใคร ตัดโอกาสทจ่ี ะเจริญปัญญา หรือคิดเตลดิ ไปข้างเดยี ว ตลอดจน เปน็ เหตแุ ห่งการเบยี ดเบียนบีบคน้ั ผอู้ ืน่ ท่ีไมถ่ ืออย่างตน ความยดึ ติดในทฤษฎี ฯลฯ คือความคดิ เห็นเปน็ ความจริง) ๓. มานะ (ความถือตัว ความสาคญั ตนว่าเป็นน่นั เปน็ นี่ ถือสงู ถือต่า ยิ่งใหญ่ เท่าเทียม หรอื ด้อยกวา่ ผู้อื่น ความอยากเดน่ อยากยกชตู นใหย้ ่ิงใหญ)่ (พ.ธ. หน้า ๑๑๑) ปฏิเวธ เขา้ ใจตลอด แทงตลอด ตรัสรู้ รู้ทะลุปรโุ ปร่ง ลลุ ่วงด้วยการปฏบิ ตั ิ (พ.ศ. หน้า ๑๔๕) ปฏิเวธสัทธรรม สัทธรรม คือ ผลอนั จะพึงเข้าถึงหรือบรรลุด้วยการปฏบิ ตั ิได้แก่ มรรค ผล และนิพพาน (พ.ธ. หนา้ ๑๒๕) ปัญญำ ๓ ความรอบรู้ เข้าใจ รู้ซ้งึ มี ๓ อย่าง คือ ๑. สุตมยปญั ญา (ปัญญาเกิดแตก่ ารสดบั การเล่าเรือ่ ง) ๒. จนิ ตามนปัญญา (ปัญญาเกดิ แตก่ ารคดิ การพิจารณาหาเหตผุ ล) ๓. ภาวนามยปัญญา (ปญั ญาเกดิ แต่การฝึกอบรมลงมอื ปฏิบตั )ิ (พ.ธ. หน้า ๑๑๓) ปญั ญำวุฒธิ รรม ธรรมเป็นเคร่ืองเจริญปญั ญา คุณธรรมท่ีก่อให้เกิดความเจริญงอกงามแห่งปัญญา ๑. สปั ปุริสสังเสวะ คบหาสัตบุรษุ เสวนาท่านผู้ทรง ๒. สทั ธัมมัสสวนะ ฟังสัทธรรม เอาใจใส่ เลา่ เรยี นหา ความร้จู ริง ๓. โยนิโสมนสิการ ทาในใจโดยแยบคาย คิดหาเหตผุ ลโดยถกู วธิ ี ๔. ธัมมานุธัมมปฏบิ ัติ ปฏิบตั ิธรรมถูกต้องตามหลัก คือ ใหส้ อดคล้องพอดี ขอบเขตความหมาย และวัตถุประสงค์ท่ีสมั พันธ์กบั ธรรมข้ออื่น ๆ นาสงิ่ ที่ได้เล่าเรยี นและตริตรองเห็นแลว้ ไปใชป้ ฏบิ ัตใิ ห้ถูกต้องตามความมุ่งหมายของสง่ิ น้นั ๆ (พ.ธ. หน้า ๑๖๒ – ๑๖๓)

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั มศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย์ 235 ปำปณิกธรรม ๓ หลกั พ่อค้า องคค์ ุณของพ่อค้ามี ๓ อย่าง คือ ๑ จักขุมา ตาดี (รู้จักสนิ ค้า) ดูของเป็น สามารถ คานวณราคา กะทนุ เก็งกาไร แม่นยา ๒. วิธโู ร จดั เจนธุรกิจ (รแู้ หล่งซื้อขาย ร้คู วามเคลอื่ นไหวความ ตอ้ งการของตลาด สามารถในการจดั ซื้อจดั จาหน่าย รู้ใจและรจู้ กั เอาใจลูกค้า) ๓. นสิ สยสมั ปนั โน พร้อม ดว้ ยแหล่งทนุ อาศัย (เปน็ ที่เช่อื ถือไวว้ างในในหมู่แหล่งทุนใหญ่ ๆ หาเงินมาลงทนุ หรือดาเนินกิจการ โดยง่าย ๆ) (พ.ธ. หน้า ๑๑๔) ผัสสะ หรือ สมั ผัส การถูกต้อง การกระทบ ความประจวบกนั แหง่ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก และ วิญญาณ มี ๖ คือ ๑. จักขสุ มั ผัส (ความกระทบทางตา คือ ตา + รปู + จักขุ - วญิ ญาณ) ๒. โสตสัมผสั (ความกระทบทางหู คือ หู + เสยี ง + โสตวญิ ญาณ) ๓. ฆานสัมผัส (ความกระทบทางจมกู คือ จมกู + กล่ิน + ฆานวิญญาณ) ๔. ชิวหาสมั ผัส (ความกระทบทางลนิ้ คอื ล้ิน + รส + ชวิ หาวญิ ญาณ) ๕. กายสมั ผสั (ความกระทบทางกาย คือ กาย + โผฏฐัพพะ + กายวญิ ญาณ) ๖. มโนสมั ผสั (ความกระทบทางใจ คือ ใจ + ธรรมารมณ์ + มโนวิญญาณ) (พ.ธ. หน้า ๒๓๓) ผู้วิเศษ หมายถึง ผู้สาเรจ็ ผู้มวี ทิ ยากร (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕) พระธรรม คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลักความจรงิ และหลกั ความประพฤติ (พ.ศ. หน้า ๑๘๓) พระอนพุ ุทธะ ผูต้ รสั รู้ตาม คือ ตรสั รู้ดว้ ยได้สดับเลา่ เรยี นและปฏบิ ตั ิตามท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอน (พ.ศ. หน้า ๓๗๔) พระปจั เจกพุทธะ พระพุทธเจ้าประเภทหนึ่ง ซ่ึงตรสั รู้เฉพาะตัว มิได้ส่งั สอนผู้อืน่ (พ.ศ. หน้า ๑๖๒) พระพทุ ธคณุ ๙ คุณของพระพทุ ธเจา้ ๙ ประการ ไดแ้ ก่ อรห เปน็ ผไู้ กลจากกิเลส ๒. สมมฺ าสมั ฺพุทฺโธ เปน็ ผตู้ รสั รู้ชอบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง ๓. วชิ ฺชาจรณสมฺปนโฺ น เป็นผถู้ งึ พร้อมดว้ ยวิชชาและ จรณะ ๔. สคุ โต เป็นผ้เู สดจ็ ไปแล้วดว้ ยดี ๕. โลกวิทู เปน็ ผ้รู โู้ ลกอย่างแจม่ แจ้ง ๖. อนุตฺตโร ปุรสิ ทมฺมสารถิ เป็นผูส้ ามารถฝึกบรุ ุษทสี่ มควรฝกึ ได้อย่างไม่มีใครยิง่ กวา่ ๗. สตฺถา เทวมนุสสฺ าน เปน็ ครผู ู้สอนเทวดา และมนษุ ย์ทงั้ หลาย ๘. พุทฺโธ เปน็ ผู้รู้ ผูต้ ื่น ผู้เบกิ บาน ๙. ภควา เป็นผูม้ ีโชค มคี วามเจรญิ จาแนก ธรรมส่งั สอนสัตว์ (พ.ศ. หน้า ๑๙๑) พระพทุ ธเจำ้ ผู้ตรสั รูโ้ ดยชอบแลว้ สอนผู้อื่นใหร้ ู้ตาม ท่านผรู้ ู้ดี รูช้ อบดว้ ยตนเองก่อนแล้ว สอนประชมุ ชนให้ ประพฤตชิ อบดว้ ยกาย วาจา ใจ (พ.ศ. หน้า ๑๘๓) พระภกิ ษุ ชายผไู้ ด้อุปสมบทแล้ว ชายท่บี วชเป็นพระ พระผู้ชาย แปลตามรูปศัพท์ว่า ผูข้ อหรอื ผ้มู องเหน็ ภัยใน สังขารหรือผ้ทู าลายกเิ ลส ดบู ริษัท ๔ สหธรรมิก บรรพชติ อปุ สมั บนั ภกิ ษุสาวกรูปแรก ได้แก่ พระอัญญาโกณฑญั ญะ (พ.ศ. หนา้ ๒๐๔) พระรัตนตรยั รัตนะ ๓ แกว้ อันประเสริฐ หรือสงิ่ ล้าคา่ ๓ ประการ หลักท่ีเคารพบชู าสูงสดุ ของ พุทธศาสนกิ ชน ๓ อย่าง คอื ๑ พระพุทธเจ้า (พระผตู้ รัสรเู้ อง และสอนให้ผ้อู ่ืนร้ตู าม) ๒.พระธรรม (คาส่ังสอนของพระพุทธเจ้า ท้ังหลกั ความจริงและหลักความประพฤติ) ๓. พระสงฆ์ (หมสู่ าวกผู้ ปฏบิ ัตติ ามคาสัง่ สอนของพระพทุ ธเจ้า) (พ.ธ.หนา้ ๑๑๖) พระสงฆ์ หมู่ชนที่ฟังคาสัง่ สอนของพระพทุ ธเจ้าแล้วปฏบิ ตั ิชอบตามพระธรรมวินยั หม่สู าวกของพระพุทธเจา้ (พ.ศ. หนา้ ๑๘๕) พระสมั มำสมั พุทธเจ้ำ หมายถงึ ทา่ นผูต้ รัสรู้เอง และสอนผู้อืน่ ให้ร้ตู าม (พ.ศ. หน้า ๑๘๙) พระอนพุ ุทธะ หมายถงึ ผู้ตรัสรูต้ าม คือ ตรัสรดู ้วยได้สดับเล่าเรยี นและปฏิบัตติ ามท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรง สอน ไดแ้ ก่ พระอรหันต์สาวกท้ังหลาย (พ.ศ. หนา้ ๓๗๔) พระอรยิ บคุ คล หมายถงึ บคุ คลผู้เปน็ อริยะ ท่านผู้บรรลธุ รรมวเิ ศษ มีโสดาปตั ตผิ ล เปน็ ต้น มี ๔ คือ ๑. พระโสดาบัน

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธ์ิพัฒนวิทย์ 236 ๒. พระสกทาคามี (หรอื สกิทาคามี) ๓. พระอนาคามี ๔. พระอรหนั ต์ แบง่ พิสดารเป็น ๘ คือ พระผู้ต้งั อยู่ในโสดาปตั ติมรรค และพระผูต้ ง้ั อยู่ในโสดาปัตติผลคู่ ๑ พระผู้ตั้งอยใู่ นสกทาคามิมรรค และพระผตู้ งั้ อยู่ในสกทาคามีผลคู่ ๑ พระผู้ตง้ั อยู่ในอนาคามิมรรค และพระผูต้ ัง้ อยใู่ นอนาคามิผลคู่ ๑ พระผตู้ ง้ั อยใู่ นอรหตั ตมรรค และพระผู้ต้ังอยู่ในอรหตั ตผลคู่ ๑ (พ.ศ. หน้า ๓๘๖) พรำหมณ์ หมายถึง คนวรรณะหนึง่ ใน ๔ วรรณะ คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร ; พราหมณเ์ ป็นวรรณะ นกั บวชและเปน็ เจ้าพิธี ถือตนวา่ เปน็ วรรณะสูงสดุ เกดิ จากปากพระพรหม (พ.ศ. หน้า ๑๘๕) พละ ๔ กาลัง พละ ๔ คอื ธรรมอนั เป็นพลงั ทาใหด้ าเนินชีวิตด้วยความม่ันใจ ไมต่ อ้ งหวาดหวน่ั ภยั ตา่ ง ๆ ได้แก่ ๑. ปญั ญาพละ กาลงั คือปัญญา ๒. วริ ิยพละ กาลังคือความเพยี ร ๓. อนวัชชพละ กาลังคือการกระทา ท่ไี ม่มีโทษ ๔. สังคหพละ กาลังการสังเคราะห์ คือ เกื้อกูลอยรู่ ่วมกับผู้อื่นได้ดี (พ.ศ. หนา้ ๑๘๕ – ๑๘๖) พละ ๕ พละ กาลัง พละ ๕ คือ ธรรมอนั เปน็ กาลัง ซึง่ เป็นเครื่องเก้ือหนุนแก่อรยิ มรรค จัดอยู่ในจาพวก โพธิปกั ขิยธรรม มี ๕ คือ สทั ธา วริ ิยะ สติ สมาธิ ปัญญา (พ.ศ. หน้า ๑๘๕ – ๑๘๖) พุทธกจิ ๕ พระพทุ ธองค์ทรงบาเพญ็ พทุ ธกจิ ๕ ประการ คือ ๑. ปพุ พฺ ณเฺ ห ปิณฺฑปาตญจฺ ตอนเช้าเสดจ็ ออก บณิ ฑบาต เพื่อโปรดสัตว์ โดยการสนทนาธรรมหรือการแสดงหลักธรรมใหเ้ ขา้ ใจ ๒. สายณเฺ ห ธมมฺ เทสน ตอนเย็น แสดงธรรมแก่ประชาชนท่ีมาเฝ้าบรเิ วณทีป่ ระทับ ๓. ปโทเส ภิกขฺ ุโอวาท ตอนค่า แสดงโอวาทแกพ่ ระสงฆ์ ๔. อฑฺฒรตเฺ ต เทวปญฺหน ตอนเที่ยงคืนทรงตอบปัญหาแกพ่ วก เทวดา ๕. ปจจฺ ูเสว คเต กาเล ภพพฺ าภพเฺ พ วโิ ลกน ตอนเชา้ มืด จวนสว่าง ทรงตรวจพิจารณาสัตว์โลก วา่ ผูใ้ ดมีอปุ นสิ ยั ทจ่ี ะบรรลุธรรมได้ (พ.ศ. หน้า ๑๘๙ - ๑๙๐) พทุ ธคณุ คุณของพระพทุ ธเจ้า คอื ๑. ปญํ ญาคุณ (พระคุณ คือ ปัญญา) ๒. วิสทุ ธคิ ุณ (พระคณุ คือ ความ บรสิ ุทธ์)ิ ๓. กรณุ าคณุ (พระคุณ คือ พระมหากรุณา) (พ.ศ. หน้า ๑๙๑) ภพ โลกเปน็ ท่ีอยู่ของสัตว์ ภาวะชวี ติ ของสตั ว์ มี ๓ คือ ๑. กามภพ ภพของผยู้ งั เสวยกามคุณ ๒. รปู ภพ ภพของผเู้ ข้าถึงรูปฌาน ๓. อรูปภพ ภพของผู้เขา้ ถึงอรปู ฌาน (พ.ศ. หน้า ๑๙๘) ภำวนำ ๔ การเจริญ การทาให้มีข้ึน การฝึกอบรม การพฒั นา แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ ๑. กายภาวนา ๒. สลี ภาวนา ๓. จติ ตภาวนา ๔. ปญั ญาภาวนา (พ.ธ. หน้า ๘๑ – ๘๒) ภูมิ ๓๑ ๑.พ้นื เพ พนื้ ช้ัน ทด่ี นิ แผ่นดิน ๒. ชน้ั แห่งจติ ระดบั จิตใจ ระดับชวี ิต มี ๓๑ ภูมิ ได้แก่ อบายภมู ิ ๔ (ภูมิทป่ี ราศจากความเจริญ) - นริ ยะ (นรก) – ตริ จั ฉานโยนิ (กาเนดิ ดริ จั ฉาน) – ปิตติ วสิ ยั (แดนเปรต) - อสุรกาย (พวกอสรู ) กามสุคติภูมิ ๗ (กามาวจรภมู ิทเ่ี ป็นสุคติ ภมู ทิ ่ีเปน็ สุคติซ่งึ ยังเกยี่ วข้องกับกาม) - มนุษย์ (ชาวมนษุ ย์) – จาตุมหาราชกิ า (สวรรคช์ ั้นทท่ี ้าวมหาราช ๔ ปกครอง) - ดาวดงึ ส์ (แดนแห่งเทพ ๓๓ มีท้าวสกั กะเปน็ ใหญ่) -ยามา (แดนแหง่ เทพผปู้ ราศจากความทุกข์) - ดสุ ิต (แดนแห่งผ้เู อบิ อ่ิมดว้ ยสิริสมบตั ขิ องตน) - นิมมานรดี (แดนแห่งเทพผู้ยินดใี นการเนรมิต) - ปรนมิ มิตวสวตั ตี (แดนแหง่ เทพผู้ยงั อานาจใหเ้ ป็นไปในสมบตั ิทผี่ ู้อนื่ นริ มิตให)้ (พ.ธ. หน้า ๓๑๖-๓๑๗) โภคอำทิยะ ๕ ประโยชน์ท่ีควรถือเอาจากโภคทรัพย์ ในการท่ีจะมหี รือเหตุผลในการทจ่ี ะมหี รอื ครอบครองโภค ทรัพย์ ๑. เลีย้ งตวั มารดา บดิ า บตุ ร ภรรยา และคนในปกครองทง้ั หลายให้เป็นสขุ ๒. บารุงมติ รสหาย และรว่ มกจิ กรรมการงานใหเ้ ป็นสุข ๓. ใช้ป้องกนั ภยันตราย ๔. ทาพลี คือ ญาติพลี สงเคราะหญ์ าติ อติถิ

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย์ 237 พลี ต้อนรับแขก ปุพพเปตพลี ทาบญุ อทุ ิศให้ผ้ลู ่วงลบั ราชพลี บารุงราชการ เสียภาษี เทวตาพลี สักการะ บารุงสง่ิ ท่เี ช่ือถือ ๕. อุปถัมภ์บารุงสมณพราหมณ์ ผ้ปู ระพฤติชอบ (พ.ธ. หนา้ ๒๐๒ -๒๐๓) มงคล สิ่งท่ที าใหม้ โี ชคดตี ามหลักพระพุทธศาสนา หมายถึง ธรรมที่นามาซง่ึ ความสุข ความเจริญ มงคล ๓๘ ประการ หรือ เรยี กเต็มว่า อุดมมงคล (มงคลอนั สูงสดุ ) ๓๘ ประการ (ดูรายละเอียดมงคลสูตร) (พ.ศ. หนา้ ๒๑๑) มจิ ฉำวณชิ ชำ ๕ การคา้ ขายท่ผี ิดศีลธรรมไมช่ อบธรรม มี ๕ ประการ คือ ๑. สัตถวณิชชา คา้ อาวธุ ๒. สตั ตวณิชชา คา้ มนษุ ย์ ๓. มงั สวณิชชา เลี้ยงสตั ว์ไวข้ ายเน้ือ ๔. มชั ชวณชิ ชา ค้าขายน้าเมา ๕. วิสวณชิ ชา ค้าขายยาพิษ (พ.ศ. หนา้ ๒๓๓) มรรคมีองค์ ๘ ขอ้ ปฏิบัตใิ ห้ถงึ ความดับทุกข์ เรียกเตม็ ว่า “อรยิ อัฏฐังคิกมรรค” ไดแ้ ก่ ๑. สมั มาทิฎฐิ เห็นชอบ ๒. สัมมาสงั กปั ปะ ดารชิ อบ ๓. สมั มาวาจา เจรจาชอบ ๔. สมั มากัมมันตะ ทาการชอบ ๕. สมั มาอาชวี ะ เลย้ี งชีพชอบ ๖. สมั มาวายามะ เพยี รชอบ ๗.สมั มาสติ ระลกึ ชอบ ๘. สมั มาสมาธิ ต้งั จติ ม่นั ชอบ (พ.ศ. หนา้ ๒๑๕) มิจฉตั ตะ ๑๐ ภาวะท่ผี ิด ความเปน็ สิ่งทีผ่ ดิ ได้แก่ ๑. มิจฉทิฏฐิ (เหน็ ผิด ไดแ้ ก่ ความเห็นผิดจากคลองธรรมตาม หลักกศุ ลกรรมบถ และความเหน็ ที่ไม่นาไปสูค่ วามพ้นทุกข)์ ๒. มิจฉาสังกปั ปะ (ดารผิ ิด ได้แก่ ความ ดาริที่เป็นอกุศลท้ังหลาย ตรงข้ามจากสัมมาสงั กัปปะ) ๓. มิจฉาวาจา (วาจาผดิ ไดแ้ ก่ วจีทุจรติ ๔) ๔. มิจฉากัมมันตะ (กระทาผดิ ได้แก่ กายทจุ รติ ๓) ๕. มิจฉาอาชีวะ (เล้ยี งชพี ผิด ไดแ้ ก่ เลยี้ งชีพในทาง ทจุ รติ ) ๖. มิจฉาวายามะ (พยายามผดิ ไดแ้ ก่ ความเพียรตรงข้ามกับสมั มาวายามะ) ๗. มจิ ฉาสติ (ระลกึ ผดิ ได้แก่ ความระลกึ ถงึ เรื่องราวท่ีลว่ งแลว้ เช่น ระลกึ ถึงการได้ทรพั ย์ การได้ยศ เป็นต้น ในทางอกุศล อนั จดั เปน็ สตเิ ทยี ม) เป็นเหตชุ กั นาใจให้เกดิ กเิ ลส มโี ลภะ มานะ อสสา มัจฉรยิ ะ เปน็ ต้น ๘. มจิ ฉาสมาธิ (ตงั้ ใจผิด ได้แก่ ต้งั จิตเพง่ เล็ง จดจ่อปกั ใจแน่วแน่ในกามราคะพยาบาท เป็น ต้น หรือเจริญสมาธแิ ล้ว หลงเพลิน ติดหมกมนุ่ ตลอดจนนาไปใชผ้ ิดทาง ไม่เปน็ ไปเพื่อญาณทัสสนะ และความหลดุ พน้ ) ๙. มจิ ฉาญาณ (รผู้ ดิ ได้แก่ ความหลงผิดท่แี สดงออกในการคดิ อบุ ายทาความช่วั และในการพิจารณาทบทวน ว่าความชัว่ นั้น ๆ ตนกระทาไดอ้ ย่างดีแลว้ เปน็ ตน้ ) ๑๐. มิจฉาวมิ ุตติ (พ้น ผิด ได้แก่ ยงั ไม่ถึงวิมุตติ สาคัญวา่ ถึงวมิ ุตติ หรือสาคัญผิดในส่งิ ท่มี ิใชว่ มิ ตุ ติ) (พ.ธ. หนา้ ๓๒๒) มติ รปฏริ ปู คนเทียมมิตร มติ รเทยี ม มิใชม่ ติ รแท้ มี ๔ พวก ไดแ้ ก่ ๑. คนปอกลอก มีลักษณะ ๔ คอื ๑.๑ คิดเอาได้ฝ่ายเดียว ๑.๒ ยอมเสียแตน่ ้อย โดยหวงั จะเอาใหม้ าก ๑.๓ ตัวเองมีภัย จงึ มาทากจิ ของเพ่ือน ๑.๔ คบเพื่อนเพราะ เหน็ แกป่ ระโยชนข์ องตวั ๒. คนดีแต่พดู มลี กั ษณะ ๔ คือ ๒.๑ ดแี ตย่ กเรอ่ื งทผ่ี ่านมาแล้วมาปราศรัย ๒.๒ ดแี ต่ อ้างสงิ่ ที่ยังมีดี แต่อ้างสิ่งทยี่ งั ไม่มีมาปราศรัย ๒.๓ สงเคราะหด์ ว้ ยสง่ิ ท่ีไร้ประโยชน์ ๒.๔ เมอื่ เพ่ือนมีกิจอา้ งแตเ่ หตขุ ัดข้อง ๓. คนหวั ประจบมลี ักษณะ ๔ คอื ๓.๑ จะทาช่วั ก็คล้อยตาม ๓.๒ จะทาดกี ็คล้อยตาม ๓.๓ ต่อหน้าสรรเสริญ ๓.๔ ลับหลงั นนิ ทา ๔. คนชวนฉบิ หายมลี ักษณะ ๔ ๔.๑ คอยเป็นเพ่ือนด่มื น้าเมา ๔.๒ คอยเป็นเพือ่ นเท่ยี วกลางคนื ๔.๓ คอยเป็นเพื่อนเท่ียวดูการเล่น ๔.๔ คอยเป็นเพื่อนไปเล่นการพนัน (พ.ธ. หน้า ๑๕๔ – ๑๕๕) มิตรน้ำใจ ๑. เพอ่ื นมที ุกขพ์ ลอยทุกข์ด้วย ๒. เพ่อื นมีสขุ พลอยดีใจ ๓. เขาตเิ ตยี นเพ่ือน ชว่ ยยับยง้ั แกไ้ ขให้ ๔. เขาสรรเสรญิ เพ่ือน ชว่ ยพูดเสริมสนบั สนนุ (พ.ศ. หนา้ ๒๓๔)

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย์ 238 รูป ๑. สงิ่ ท่ีต้องสลายไปเพราะปัจจยั ต่าง ๆ อนั ขดั แย้ง ส่งิ ที่เปน็ รปู รา่ งพร้อมทั้งลักษณะอาการของมนั สว่ น รา่ งกาย จาแนกเปน็ ๒๘ คือ มหาภตู รูป หรอื ธาตุ ๔ และอุปาทายรูป ๒. อารมณ์ท่ีรไู้ ดด้ ้วยจักษุ สิ่งที่ ปรากฏแกต่ า ข้อ ๑ ในอารมณ์ ๖ หรืออายตนะภายนอก ๓. ลกั ษณนามใช้เรยี กพระภิกษสุ ามเณร เช่น ภิกษุรูปหน่ึง (พ.ศ. หนา้ ๒๕๓) วฏั ฏะ ๓ หรอื ไตรวฎั ฎ์ การวนเวยี น การเวียนเกดิ เวียนตาย การเวียนว่ายตายเกิด ความเวยี นเกดิ หรอื วนเวียนด้วยอานาจกิเลส กรรม และวบิ าก เช่น กิเลสเกิดข้ึนแล้วให้ทากรรม เมื่อทากรรมแลว้ ย่อม ได้ผลของกรรม เม่ือได้รบั ผลของกรรมแล้ว กิเลสกเ็ กิดอกี แล้ว ทากรรมแล้วเสวยผลกรรมหมุนเวียน ตอ่ ไป (พ.ธ. หน้า ๒๖๖) วำสนำ อาการกายวาจา ท่ีเป็นลักษณะพิเศษของบุคคล ซงึ่ เกดิ จากกเิ ลสบางอย่าง และได้สั่งสมอบรมมาเป็น เวลานานจนเคยชนิ ตดิ เปน็ พ้ืนประจาตวั แม้จะละกิเลสน้ันไดแ้ ล้ว แตก่ อ็ าจจะละอาการกายวาจาที่ เคยชนิ ไม่ได้ เชน่ คาพดู ติดปาก อาการเดนิ ทเี่ รว็ หรือเดนิ ตว้ มเตย้ี ม เปน็ ต้น ทา่ นขยายความวา่ วาสนา ทเ่ี ปน็ กุศลก็มี เป็นอกศุ ลกม็ ี เป็นอัพยากฤต คือ เปน็ กลาง ๆ ไม่ดีไม่ช่วั กม็ ี ทเี่ ป็นกุศลกับอพั ยากฤตนน้ั ไมต่ ้องละ แต่ที่เปน็ อกศุ ลซึ่งควรจะละนัน้ แบ่งเปน็ ๒ ส่วน คอื ส่วนทีจ่ ะเป็นเหตุใหเ้ ข้าถงึ อบายกับ สว่ นทีเ่ ป็นเหตใุ หเ้ กดิ อาการแสดงออกทางกายวาจาแปลก ๆ ตา่ ง ๆ ส่วนแรก พระอรหันตท์ กุ องคล์ ะได้ แต่สว่ นหลังพระพทุ ธเจ้าเทา่ นน้ั ละได้ พระอรหนั ตอ์ นื่ ละไมไ่ ด้ จึงมีคากลา่ วว่าพระพุทธเจา้ เท่านนั้ ละกเิ ลส ทัง้ หมดได้ พร้อมทง้ั วาสนา; ในภาษาไทย คาว่าวาสนามีความหมายเพ้ยี นไป กลายเปน็ อานาจบุญเก่า หรอื กศุ ลที่ทาให้ไดร้ บั ลาภยศ (ไม่มใี น พ.ศ. ฉบบั ท่ีพิมพ์เป็นเลม่ แต่คน้ ได้จากแผ่นซดี ีรอม พ.ศ. ของ สมาคมศิษยเ์ กา่ มหาจฬุ าฯ) วิตก ความตรึก ตริ กายยกจติ ขึ้นสู่อารมณ์ การคิด ความดาริ “ไทยใช้ว่าเป็นห่วงกังวล” แบ่งออกเป็นกุศลวิตก ๓ และอกุศลวติ ก ๓ (พ.ศ. หนา้ ๒๗๓) วบิ ัติ ๔ ความบกพร่องแห่งองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ซงึ่ ไมอ่ านวยแก่การทก่ี รรมดีจะปรากฏผล แตก่ ลับเปดิ ช่องให้ กรรมชวั่ แสดงผล พูดสั้น ๆ วา่ สว่ นประกอบบกพรอ่ ง เปิดช่องใหก้ รรมชั่ววบิ ัตมิ ี ๔ คอื ๑. คติวิบัติ วิบัติแห่งคติ หรือคติเสยี คือเกดิ อยู่ในภพ ภมู ิ ถนิ่ ประเทศ สภาพแวดล้อมท่ีไมเ่ หมาะ ไมเ่ กอ้ื กลู ทาง ดาเนินชีวติ ถ่ินทไี่ ปไม่อานวย ๒. อปุ ธิวบิ ตั ิ วบิ ัตแิ หง่ ร่างกาย หรอื รูปกายเสีย เช่น รา่ งกายพิกลพิการ อ่อนแอ ไมส่ วยงาม กิริยาท่าทางน่าเกลยี ด ไม่ชวนชมตลอดจนสขุ ภาพท่ีไมด่ ี เจ็บป่วย มีโรคมาก ๓. กาล วบิ ตั ิ วิบัติแห่งกาลหรือหรอื กาลเสีย คือเกดิ อยใู่ นยุคสมัยที่บ้านเมืองมีภยั พบิ ัติไม่สงบเรียบร้อย ผูป้ กครองไมด่ ี สงั คมเสื่อมจากศลี ธรรม มากดว้ ยการเบยี ดเบียน ยกย่องคนชั่ว บีบค้ันคนดี ตลอดจน ทาอะไรไม่ถูกาลเวลา ไม่ถูกจังหวะ ๔. ปโยควิบตั ิ วบิ ัตแิ ห่งการประกอบ หรือกจิ การเสยี เช่น ฝกั ใฝ่ใน กจิ การหรอื เร่ืองราวท่ผี ิด ทาการไม่ตรงตามความถนัด ความสามารถ ใชค้ วามเพยี ร ไม่ถูกต้อง ทาการครึ่ง ๆ กลาง ๆ เปน็ ตน้ (พ.ธ. หน้า ๑๖๐- ๑๖๑) วิปสั สนำญำณ ๙ ญาณในวิปัสสนา ญาณทีน่ ับเข้าในวปิ สั สนา เปน็ ความรู้ท่ีทาใหเ้ กิดความเหน็ แจง้ เขา้ ใจ สภาวะของส่งิ ทั้งหลายตามเป็นจริง ไดแ้ ก่ ๑. อุทยัพพยานปุ สั สนาณาณ คอื ญาณอนั ตามเหน็ ความ เกดิ และดับของเบญจขันธ์ ๒. ภังคานปุ สั สนาญาณ คือ ญาณอันตามเหน็ ความสลาย เม่ือเกดิ ดบั ก็ คานงึ เด่นชดั ในสว่ นดับของสังขารทัง้ หลาย ต้องแตกสลายทง้ั หมด ๓. ภยตปู ฏั ฐานญาณ คือ ณาณ อนั มองเห็นสงั ขาร ปรากฏเป็นของนา่ กลวั ๔. อาทนี วานุปัสสนาญาณ คอื ญาณอันคานึงเห็นโทษของ สังขารทง้ั หลาย วา่ เป็นโทษบกพร่องเป็นทุกข์ ๕. นิพพิทานุปสั สนาญาณ คอื ญาณอันคานงึ เห็น ความหนา่ ยของสังขาร ไมเ่ พลนิ เพลนิ ตดิ ใจ ๖. มุญจิตกุ มั ยตาญาณ คือ ญาณอนั คานงึ ด้วย ใครพ่ น้ ไปเสีย คือ หน่ายสังขารท้ังหลาย ปรารถนาที่จะพน้ ไปเสยี ๗. ปฏสิ งั ขานุปสั สนาญาณ คือ

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย์ 239 ญาณอนั คานึงพจิ ารณาหาทาง เมือ่ ต้องการจะพน้ ไปเสยี เพือ่ มองหาอุบายจะปลดเปลื้องออกไป ๘. สงั ขารุเปกขาณาณ คือ ญาณอนั เป็นไปโดยความเปน็ กลางต่อสงั ขาร คอื พจิ ารณาสงั ขารไมย่ นิ ดียิน ร้ายในสงั ขารทั้งหลาย ๙. สัจจานุโลมิกญาณ หรอื อนุโลมญาณ คือ ณาณอนั เป็นไปโดยอนโุ ลกแก่การ หยัง่ รู้อริยสจั แลว้ แลว้ มรรคญาณใหส้ าเรจ็ ความเปน็ อรยิ บคุ คลต่อไป (พ.ศ. หน้า ๒๗๖ – ๒๗๗) วมิ ตุ ติ ๕ ความหลุดพน้ ภาวะไรก้ ิเลส และไมม่ ีทุกข์ มี ๕ ประการ คือ ๑. วกิ ขมั ภนวมิ ุตติ ดับโดยข่มไว้ คอื ดับ กิเลส ๒. ตทงั ควมิ ุตติ ดับกิเลสด้วยธรรมทเ่ี ป็นค่ปู รับธรรมทต่ี รงกันข้าม ๓. สมุจเฉทวิมุตติ ดับดว้ ยตัดขาด ดับกิเลสเสร็จสิน้ เดด็ ขาด ๔. ปฏิปัสสทั ธวิ ิมตุ ติ ดบั ด้วยสงบระงับ โดยอาศยั โลกุตตรมรรคดบั กิเลส ๕. นสิ รณวมิ ตุ ติ ดับดว้ ยสงบระงบั คอื อาศยั โลกตุ ตรธรรมดบั กิเลสเดด็ ขาด เสรจ็ ส้ิน (พ.ธ. หน้า ๑๙๔) โลกบำลธรรม ธรรมคุม้ ครองโลก ได้แก่ ปกครองควบคมุ ใจมนษุ ย์ไว้ให้อยใู่ นความดี มใิ ห้ละเมดิ ศลี ธรรม และ ใหอ้ ยูก่ นั ด้วยความเรียบรอ้ ยสงบสุข ไมเ่ ดือดร้อนสับสนวุน่ วาย มี ๒ อย่างได้แก่ ๑. หิริ ความอายบาป ละอายใจต่อการทาความชั่ว ๒. โอตตัปปะ ความกลวั บาปเกรงกลวั ต่อความช่ัว และ ผลของกรรมชวั่ (พ.ศ. หน้า ๒๖๐) ฤำษี หมายถึง ผ้แู สวงธรรม ได้แก่ นักบวชนอกพระศาสนาซ่ึงอย่ใู นปา่ ชไี พร ผู้แตง่ คมั ภรี ์พระเวท (พ.ศ. หน้า ๒๕๖) สตปิ ัฏฐำน ๔ ท่ีต้ังของสติ การตงั้ สตกิ าหนดพิจารณาสง่ิ ท้ังหลายให้รเู้ ห็นตามความเป็นจริง คือ ตามสิ่งนัน้ ๆ มนั เป็นของมนั เอง มี ๔ ประการ คอื ๑. กายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณากายใหร้ ู้เห็นตามเป็นจรงิ ว่า เป็นแตเ่ พยี ง กาย ไม่ใช่สัตว์บคุ คล ตัวตนเราเขา) ทา่ นจาแนกวธิ ปี ฏิบัติไดห้ ลายอย่าง คือ อานาปานสติ กาหนด ลมหายใจ ๑ อิรยิ าบถ กาหนดรู้ทันอิรยิ าบถ ๑) สัมปชัญญะ สร้างสมั ปชัญญะในการกระทาความ เคล่อื นไหวทุกอย่าง ๑) ปฏกิ ูลมนสกิ าร พจิ ารณาสว่ นประกอบอันไมส่ ะอาดท้งั หลายทีป่ ระชุมเขา้ เป็น รา่ งกายน้ี ๑) ธาตุมนสกิ าร พิจารณาเหน็ รา่ งกายของตน โดยสักว่าเปน็ ธาตแุ ตล่ ะอย่างๆ ๒. เวทนานุปัสสาสติปัฏฐาน (การต้งั สตกิ าหนดพิจารณาเวทนาใหร้ เู้ หน็ ตามเป็นจรงิ ว่า เปน็ แต่เพยี ง เวทนา ไมใ่ ช่สตั ว์บคุ คลตวั ตนเราเขา) คือ มสี ติรชู้ ัดเวทนาอนั เปน็ สขุ ก็ดี ทุกขก์ ็ดี เฉย ๆ ก็ดี ท้ังท่เี ป็น สามสิ และเป็นนริ ามสิ ตามทเ่ี ป็นไปอยู่ขณะนน้ั ๆ ๓. จิตตานุปสั สนาสตปิ ัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาจิต ให้รเู้ ห็นตามเปน็ จริงว่าเป็นแต่เพยี งจติ ไมใ่ ช่สัตว์บคุ คลตัวตนเราเขา) คือ มีสติรชู้ ดั จิตของตนทีม่ ีราคะ ไม่มรี าคะ มโี ทสะ ไม่มโี ทสะ มโี มหะ ไม่มีโมหะ เศร้าหมองหรอื ผอ่ งแผว้ ฟุ้งซ่านหรอื เป็นสมาธิ ฯลฯ อยา่ งไร ๆ ตามทเ่ี ปน็ ไปอยู่ ในขณะนน้ั ๆ ๔. ธัมมานปุ ัสสนาสตปิ ฏั ฐาน (การตัง้ สติกาหนดพจิ ารณาธรรม ให้ร้เู ห็นตามเปน็ จริงว่า เปน็ แต่เพยี ง ธรรม ไมใ่ ชส่ ัตวบ์ คุ คลตัวตนของเรา) คือ มีสตริ ชู้ ดั ธรรมทั้งหลาย ได้แก่ นวิ รณ์ ๕ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ โพชฌงค์ ๗ อรยิ สจั ๔ ว่าคอื อะไร เป็นอย่างไร มีในตนหรือไม่ เกิดข้นึ เจริญบริบูรณแ์ ละดับได้อย่างไร เป็นตน้ ตามท่ีเปน็ จริงของมนั อย่างน้นั ๆ (พ.ธ. หน้า ๑๖๕) สมณะ หมายถงึ ผสู้ งบ หมายถงึ นกั บวชทัว่ ไป แต่ในพระพุทธศาสนา ท่านให้ความหมายจาเพาะ หมายถึง ผรู้ ะดบั บาป ได้แก่ พระอริยบุคคล และผปู้ ฏบิ ัตเิ พอื่ ระงบั บาป ไดแ้ ก่ ผูป้ ฏบิ ัติธรรมเพอื่ เป็น พระอริยบคุ คล (พ.ศ. หน้า ๒๙๙) สมบตั ิ ๔ คือ ความเพียบพรอ้ มสมบูรณ์แห่งองคป์ ระกอบต่าง ๆ ซงึ่ ช่วยเสริมสง่ อานวยโอกาสใหก้ รรมดี ปรากฏผล และไม่เปิดช่องให้กรรมชวั่ แสดงผล มี ๔ อยา่ ง คือ ๑. คติสมบตั ิ สมบัตแิ ห่งคติ ถึงพรอ้ ม

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย์ 240 ด้วยคติ หรอื คตใิ ห้ คอื เกดิ อยู่ในภพ ภมู ิ ถนิ่ ประเทศทเี่ จริญ เหมาะหรือเก้ือกลู ตลอดจนในระยะสั้น คือ ดาเนนิ ชีวติ หรอื ไปในถนิ่ ที่อานวย ๒. อปุ ธสิ มบัติ สมบัติแหง่ รา่ งกาย ถึงพร้อมด้วยร่างกาย คือมี รูปรา่ งสวย รา่ งกายสง่างาม หน้าตาท่าทางดี น่ารัก น่านยิ มเลอ่ื มใส สขุ ภาพดี แข็งแรง ๓. กาลสมบัติ สมบตั ิแห่งกาล ถึงพร้อมดว้ ยกาลหรือกาลให้ คือ เกดิ อยู่ในสมยั ทีบ่ ้านเมืองมีความสงบสุข ผูป้ กครองดี ผู้คนมีคุณธรรมยกย่องคนดี ไม่ส่งเสรมิ คนชว่ั ตลอดจนในระยะเวลาสน้ั คอื ทาอะไรถกู กาลเวลา ถกู จงั หวะ ๔. ปโยคสมบัติ สมบัติแห่งการประกอบ ถงึ พร้อมด้วยการประกอบกิจ หรือกจิ การให้ เช่น ทา เร่อื งตรงกบั ท่ีเขาตอ้ งการ ทากจิ ตรงกับความถนัดความสามารถของตน ทาการถึงขนาดถกู หลกั ครบถว้ น ตามเกณฑ์หรือเต็มอตั รา ไม่ใชท่ าคร่ึง ๆ กลาง ๆ หรือเหยาะแหยะ หรอื ไมถ่ ูกเรอื่ งกนั ร้จู กั จดั ทา รู้จักดาเนนิ การ (พ.ธ. หน้า ๑๖๑ – ๑๖๒) สมำบัติ ภาวะสงบประณีตซ่งึ พงึ่ เข้าถึง; สมาบตั มิ ีหลายอยา่ ง เช่น ณานสมบตั ิ ผลสมาบัติ อนปุ ุพพวหิ าร สมาบัติ (พ.ศ. หน้า ๓๐๓) สติ ความระลึกได้ นกึ ได้ ความไมเ่ ผลอ การคมุ ใจได้กับกจิ หรอื คุมจิตใจไวก้ ับสง่ิ ท่ีเกี่ยวข้อง จาการทที า และคาพดู แมน้ านได้ (พ.ศ. หนา้ ๓๒๗) สงั ฆคณุ ๙ คณุ ของพระสงฆ์ ๑. พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเปน็ ผปู้ ฏิบตั ิดี ๒. เปน็ ผู้ปฏิบตั ิตรง ๓. เปน็ ผปู้ ฏิบตั ิถูกทาง ๔. เปน็ ผูป้ ฏบิ ัตสิ มควร ๕. เปน็ ผู้ควรแกก่ ารคานบั คือ ควรกับของท่ีเขา นามาถวาย ๖. เปน็ ผูค้ วรแกก่ ารตอนรับ ๗. เป็นผู้ควรแก่ทกั ษิณา ควรแก่ของทาบญุ ๘. เป็นผคู้ วร แกก่ ารกระทาอัญชลี ควรแก่การกราบไหว้ ๙. เป็นนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก เปน็ แหล่งปลูกฝังและ เผยแพรค่ วามดีที่ยอดเย่ยี มของโลก(พ.ธ. หนา้ ๒๖๕-๒๖๖) สงั เวชนยี สถำน สถานท่ตี ้งั แห่งความสงั เวช ทท่ี ่ีให้เกิดความสงั เวช มี ๔ คือ ๑. ที่พระพุทธเจ้าประสตู ิ คอื อุทยานลุมพนิ ี ปจั จุบันเรยี กลุมพนิ ีหรอื รุมมนิ เด (Lumbini หรือ Rummindei) ๒. ที่พระพุทธเจ้า ตรัสรู้ คอื ควงโพธ์ิ ท่ตี าบลพุทธคยา (Buddha Gaya หรอื Bodh – Gaya) ๓. ทพ่ี ระพุทธเจา้ แสดง ปฐมเทศนา คือป่าอสิ ิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ปัจจบุ ันเรยี กสารนาถ ๔. ที่พระพทุ ธเจา้ ปรินิพพาน คือท่สี าลวโนทยาน เมอื งกสุ ินารา หรือกุสนิ คร บัดนีเ้ รียกกาเซีย (Kasia หรอื Kusinagara) (พ.ศ. หนา้ ๓๑๗) สันโดษ ความยินดี ความพอใจ ยินดีดว้ ยปจั จยั ๔ คอื ผา้ นงุ่ ห่ม อาหารทนี่ อนท่ีนั่ง และยาตามมตี ามได้ ยนิ ดี ของของตน การมีความสขุ ความพอใจดว้ ยเครือ่ งเล้ียงชีพทหี่ ามาได้ดว้ ยเพยี รพยายามอันชอบธรรม ของตน ไมโ่ ลภ ไมร่ ิษยาใคร (พ.ศ. หน้า ๓๒๔) สนั โดษ ๓ ๑. ยถาลาภสนั โดษ ยนิ ดตี ามที่ได้ คือ ไดส้ ิ่งใดมาด้วยความเพียรของตน ก็พอใจดว้ ยสิง่ นั้น ไม่ได้ เดอื ดรอ้ นเพราะของท่ีไม่ได้ ไมเ่ พ่งเลง็ อยากได้ของคนอื่นไม่รษิ ยาเขา ๒. ยถาพลสนั โดษ คอื ยินดตี าม กาลงั คือ พอใจเพียงแค่พอแกก่ าลงั รา่ งกาย สุขภาพ และขอบเขตการใชส้ อยของตน ของทเี่ กนิ กาลังก็ ไม่หวงแหนเสยี ดายไมเ่ ก็บไวใ้ หเ้ สียเปล่า หรอื ฝืนใชใ้ หเ้ ปน็ โทษแก่ตน ๓. ยถาสารุปปสันโดษ ยินดตี าม สมควร คือ พอใจตามที่สมควร คือ พอใจตามที่สมควรแก่ภาวะฐานะแนวทางชีวติ และจุดหมายแหง่ การบาเพ็ญกจิ ของตน เช่น ภิกษพุ อใจแตอ่ งอันเหมาะกับสมณภาวะ หรอื ได้ของใชท้ ่ีไม่เหมาะสมกับ ตนแตจ่ ะมีประโยชนแ์ ก่ผูอ้ ื่นก็นาไปมอบใหแ้ กเ่ ขา เปน็ ตน้ (พ.ศ. หนา้ ๓๒๔) สทั ธรรม ๓ ธรรมอนั ดี ธรรมท่ีแท้ ธรรมของสัตบุรษุ หลักหรือแกน่ ศาสนา มี ๓ ประการ ได้แก่ ๑. ปรยิ ัติสทั ธรรม (สัทธรรมคือคาสัง่ สอนอันจะต้องเล่าเรียน ไดแ้ ก่ พุทธพจน์) ๒. ปฏิบตั ิสทั ธรรม (สทั ธรรมคอื สิ่งพงึ ปฏบิ ัติ ได้แก่ ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญั ญา)

หลักสตู รกลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวิทย์ 241 ๓. ปฏเิ วธสทั ธรรม (สัทธรรมคอื ผลอนั จะพงึ เข้าถงึ หรือบรรลดุ ้วยการปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ มรรค ผล และ นพิ พาน (พ.ธ. หน้า ๑๒๕) สปั ปุริสธรรม ๗ ธรรมของสัตบรุ ุษ ธรรมที่ทาใหเ้ ปน็ สัตบุรุษ คุณสมบตั ิของคนดี ธรรมของผู้ดี ๑. ธมั มัญญุตา คอื ความร้จู ักเหตุ คอื รูห้ ลกั ความจรงิ ๒. อัตถญั ญุตา คือ ความรจู้ ักผล คือรูค้ วาม มงุ่ หมาย ๓. อตั ตัญญตุ า คือ ความรจู้ ักตน คือ รูว้ า่ เรานน้ั ว่าโดยฐานะ ภาวะ เพศ กาลงั ความรู้ ความสามารถ ความถนัด และคณุ ธรรม เป็นตน้ ๔. มตั ตัญญุตา คือ ความร้จู ักประมาณ คอื ความ พอดี ๕. กาลัญญุตา คือ ความรู้จักกาล คือ รจู้ ักกาลเวลาอันเหมาะสม ๖. ปรสิ ัญญตุ า คือ ความรู้ จักบริษทั คอื รู้จกั ชุมชนและรจู้ ักท่ปี ระชุม ๗. ปุคคลญั ญุตา หรือ ปุคคลปโรปรญั ญตุ า คือ ความรจู้ กั บคุ คล คอื ความแตกตา่ งแห่งบคุ คล (พ.ธ. หน้า ๒๔๔) สมั ปชัญญะ ความรู้ตัวทั่วพร้อม ความรูต้ ระหนัก ความรชู้ ัดเข้าใจชดั ซง่ึ สง่ิ นกึ ได้ มักมาคู่กับสติ (พ.ศ. หนา้ ๒๔๔) สำรำณยี ธรรม ๖ ธรรมเปน็ ที่ต้งั แห่งความใหร้ ะลึกถงึ ธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถงึ กนั หลักการอยรู่ ว่ มกัน เรียกอีกอยา่ งวา่ “สาราณยี ธรรม” ๑. เมตตากายกรรม มเี มตตากายกรรมท้ังต่อหน้าและลบั หลงั ๒. เมตตาวจกี รรม มีเมตตาวจีกรรมทั้งต่อหนา้ และลับหลัง ๓. เมตตา มโนกรรม มีเมตตามโนกรรม ท้ังตอ่ หน้าและลบั หลัง ๔. สาธารณโภคี แบง่ ปันสิ่งของท่ีได้มาไมห่ วง แหน ใช้ผู้เดยี ว ๕. สีลสามัญญ ตา มีความประพฤตริ ่วมกันในขอ้ ทเ่ี ปน็ หลักการสาคญั ท่ีจะนาไปสู่ความหลดุ พ้นสิ้นทุกข์หรอื ขจัด ปญั หา ๖.ทิฏฐิสามัญญตา มีความเห็นชอบดีงาม เช่นเดียวกับหมู่คณะ (พ.ธ. หน้า ๒๓๓-๒๓๕) สุข ๒ ความสบาย ความสาราญ มี ๒ อย่าง ได้แก่ ๑. กายิกสุข สุขทางกาย ๒. เจตสิกสุข สขุ ทางใจ อีก หมวดหน่งึ มี ๒ คือ ๑. สามิสสุข สขุ อิงอามสิ คือ อาศยั กามคุณ ๒. นิรามิสสุข สขุ ไม่องิ อามิส คอื องิ เนกขัมมะ (พ.ศ. หนา้ ๓๔๓) ศรทั ธำ ความเช่อื ความเช่อื ถือ ความเชื่อมั่นในส่ิงทดี่ ีงาม (พ.ศ. หน้า ๒๙๐) ศรัทธำ ๔ ความเชือ่ ท่ปี ระกอบดว้ ยเหตผุ ล ๔ ประการคือ ๑. กัมมสัทธา (เชอ่ื กรรม เช่ือว่ากรรมมีอยจู่ ริง คือ เช่อื วา่ เมอื่ ทาอะไรโดยมีเจตนา คือ จงใจทาทัง้ ทร่ี ู้ ย่อมเป็นกรรม คือ เปน็ ความช่วั ความดี มขี น้ึ ในตน เป็นเหตุปจั จัยก่อใหเ้ กิดผลดผี ลร้ายสบื เน่ืองตอ่ ไป การกระทาไม่วา่ งเปล่า และเชอ่ื ว่าผลที่ ต้องการจะสาเรจ็ ได้ดว้ ยการกระทา มใิ ชด่ ้วยอ้อนวอนหรือนอนคอยโชค เป็นต้น ๒. วปิ ากสทั ธา (เช่ือวิบาก เช่ือผลของกรรม เชือ่ วา่ ผลของกรรมมีจรงิ คือ เช่ือว่ากรรมทส่ี าเรจ็ ต้องมีผล และผลตอ้ ง มี เหตุ ผลดเี กิดจากกรรมดี และผลช่ัวเกิดจากกรรมช่วั ๓. กมั มัสสกตาสทั ธา (ความเชื่อที่สัตว์มกี รรม เป็นของตน เช่ือวา่ แตล่ ะคนเปน็ เจ้าของจะต้องรับผิดชอบเสวยวบิ ากเป็นไปตามกรรมของตน ๔. ตถาคตโพธิสทั ธา (เช่ือความตรัสรูข้ องพระพทุ ธเจ้า มนั่ ใจในองค์พระตถาคตวา่ ทรงเปน็ พระสมั มา สมั พทุ ธะ ทรงพระคุณทั้ง ๙ ประการ ตรัสธรรม บัญญตั ิวนิ ัยไว้ดว้ ยดี ทรงเปน็ ผู้นาทางท่ีแสดงใหเ้ หน็ ว่ามนษุ ย์ คือเราทกุ คนน้ี หากฝึกตนดว้ ยดีก็สามารถเข้าถงึ ภูมธิ รรมสงู สดุ บริสุทธห์ิ ลุดพ้นไดด้ งั ท่ี พระองค์ได้ทรงบาเพ็ญไว้ (พ.ธ. หน้า ๑๖๔) สงเครำะห์ การช่วยเหลอื การเอื้อเฟอ้ื เกื้อกูล (พ.ศ. หน้า ๒๒๘) สังคหวัตถุ ๔ เรือ่ งสงเคราะห์กัน คุณธรรมเปน็ เครื่องยึดเหนี่ยวใจของผูอ้ ื่นไวไ้ ด้ หลกั การสงเคราะห์ คือ ชว่ ยเหลอื กนั ยึดเหนี่ยวใจกนั ไว้ และเป็นเครอื่ งเกาะกุมประสานโลก ได้แก่ สงั คมแห่งหมูส่ ัตว์ไว้ ดจุ สลกั เกาะยดึ รถท่ีกาลังแลน่ ไปใหค้ งเป็นรถ และว่งิ แล่นไปได้มี ๔ อยา่ งคือ ๑. ทาน การแบง่ ปนั เอือ้ เฟ้ือเผื่อแผ่กัน ๒. ปิยวาจา พดู จานา่ รกั นา่ นยิ มนับถือ ๓. อัตถจรยิ า บาเพ็ญประโยชน์ ๔.สมานตั ตนา ความมตี นเสมอ คือ ทาตวั ให้เข้ากนั ได้ เช่น ไมถ่ ือตวั ร่วมสขุ รว่ มทุกข์กัน เปน็ ต้น (พ.ศ. หนา้ ๓๑๐)

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทบั โพธพิ์ ัฒนวิทย์ 242 สัมมตั ตะ ความเปน็ ถูก ภาวะที่ถูก มี ๑๐ อยา่ ง ๘ ข้อตน้ ตรงกับองคม์ รรคทั้ง ๘ ข้อ เพิ่ม ๒ ข้อทา้ ย คือ ๙. สมั มาญาณ รู้ชอบได้แก่ผลญาณ และปัจจเวกขณญาณ ๑๐. สมั มาวมิ ตุ ติ พ้นชอบได้แก่ อรหัตตผลวิมุตติ; เรยี กอีกอย่าง อเสขธรรม ๑๐ (พ.ศ. หนา้ ๓๒๙) สุจริต ๓ ความประพฤตดิ ี ประพฤตชิ อบตามคลองธรรม มี ๓ คือ ๑. กายสจุ ริต ประพฤติชอบทางกาย ๒. วจสี จุ ริต ประพฤตชิ อบทางวาจา ๓. มโนสุจรติ ประพฤติชอบทางใจ (พ.ศ. หน้า ๓๔๕) หริ ิ ความละอายต่อการทาช่ัว (พ.ศ. หน้า ๓๕๕) อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ทางแหง่ อกุศลกรรม ทางความชวั่ กรรมช่วั อันเป็นทางนาไปสคู่ วามเสอ่ื ม ความทุกข์ หรือ ทคุ ติ ๑. ปาณาติบาต การทาชวี ิตใหต้ กล่วง ๒. อทินนาทาน การถือเอาของที่เขามไิ ด้ให้ โดยอาการ ขโมย ลกั ทรัพย์ ๓. กาเมสุมจิ ฉาจาร ความประพฤตผิ ดิ ทางกาม ๔. มสุ าวาท การพูดเท็จ ๕. ปิสณุ วาจา วาจาสอ่ เสียด ๖. ผรุสวาจา วาจาหยาบ ๗. สัมผปั ปลาปะ พดู เพอ้ เจ้อ ๘. อภิชฌา เพง่ เลง็ อยากได้ของเขา ๙. พยาบาท คดิ ร้ายผ้อู น่ื ๑๐. มจิ ฉาทฏิ ฐิ เห็นผดิ จากคลองธรรม (พ.ธ. หน้า ๒๗๙, ๓๐๙) อกุศลมลู ๓ รากเหง้าของอกุศล ต้นตอของความชว่ั มี ๓ คือ ๑. โลภะ (ความอยากได)้ ๒. โทสะ (ความคดิ ประทุษร้าย) ๓. โมหะ (ความหลง) ๘ (พ.ธ. หน้า ๘๙) อคติ ๔ ฐานะอันไมพ่ ึงถงึ ทางความประพฤติทีผ่ ดิ ความไม่เทีย่ งธรรม ความลาเอยี ง มี ๔ อย่างคือ ๑. ฉันทาคติ (ลาเอยี งเพราะชอบ) ๒. โทสาคติ (ลาเอียงเพราะชงั ) ๓. โมหาคติ (ลาเอียงเพราะหลง พลาดผิดเพราะเขลา) ๔. ภยาคติ (ลาเอยี งเพราะกลัว) (พ.ธ. หนา้ ๑๗๔) อนัตตำ ไม่ใชอ่ ตั ตา ไม่ใช่ตวั ตน (พ.ศ. หน้า ๓๖๖) อบำยมขุ ช่องทางของความเสื่อม เหตุเคร่ืองฉิบหาย เหตยุ ่อยยบั แหง่ โภคทรัพย์ ทางแห่งความพินาศ (พ.ศ. หน้า ๓๗๗) อบำยมุข ๔ ๑. อิตถธี ุตตะ (เปน็ นกั เลงหญิง นักเทีย่ วผู้หญิง) ๒. สุราธตุ ตะ (เปน็ นกั เลงสรุ า นักดม่ื ) ๓. อกั ขธตุ ตะ (เปน็ นักการพนัน) ๔. ปาปมิตตะ (คบคนชว่ั ) (พ.ศ. หน้า ๓๗๗) อบำยมุข ๖ ๑. ตดิ สุราและของมนึ เมา ๑.๑ ทรพั ย์หมดไป ๆ เหน็ ชัด ๆ ๑.๒ กอ่ การทะเลาะวิวาท ๑.๓ เปน็ บ่อเกิดแห่งโรค ๑.๔ เสยี เกยี รติ เสยี ชือ่ เสยี ง ๑.๕ ทาใหไ้ ม่รู้อาย ๑.๖ ทอนกาลงั ปัญญา ๒. ชอบเท่ยี วกลางคืน มีโทษ ๖ อยา่ งคือ ๒.๑ ชอ่ื ว่าไมร่ กั ษาตน ๒.๒ ช่อื ว่าไม่รักษาลูกเมยี ๒.๓ ชอ่ื ว่าไม่รักษาทรัพยส์ มบัติ ๒.๔ เป็นท่ีระแวงสงสยั ๒.๕ เป็นเป้าให้เขาใสค่ วามหรือข่าวลือ ๒.๖ เป็นที่มาของเร่ืองเดือดร้อนเปน็ อนั มาก ๓. ชอบเที่ยวดกู ารละเลน่ มโี ทษ โดยการงานเส่ือมเสยี เพราะมใี จกังวลคอยคิดจ้อง กับเสียเวลาเมอ่ื ไปดูสง่ิ นนั้ ๆ ท้ัง ๖ กรณี คือ ๓.๑ ราทไ่ี หนไปที่น่นั ๓.๒ – ๓.๓ ขบั รอ้ ง ดนตรี เสภา เพลงเถดิ เทิงท่ีไหนไปท่ีนั่น ๔. ติดการพนนั มีโทษ ๖ คือ ๔.๑ เมือ่ ชนะยอ่ มกอ่ เวร ๔.๒ เม่ือแพ้กเ็ สยี ดายทรัพย์ท่ีเสียไป ๔.๓ ทรัพย์หมดไป ๆ เหน็ ชัด ๆ ๔.๔ เข้าทปี่ ระชุมเขาไมเ่ ชอ่ื ถือถอ้ ยคา ๔.๕ เปน็ ท่ีหมน่ิ ประมาทของเพ่อื นฝงู ๔.๖ ไม่เป็นที่ พงึ ประสงคข์ องผู้ท่ีจะหาคู่ครองใหล้ ูกของเขา เพราะเห็นว่าจะเลี้ยงลูกเมยี ไม่ได้ ๕. คบคนชว่ั มโี ทษโดยนาใหก้ ลายเป็นคนชัว่ อยา่ งทตี่ นคบท้ัง ๖ ประเภท คอื ได้เพื่อนทจ่ี ะนาให้กลายเปน็ ๕.๑ นักการพนนั ๕.๒ นักเลงหญงิ ๕.๓ นักเลงเหล้า ๕.๔ นกั ลวงของปลอม ๕.๕ นักหลอกลวง ๕.๖ นักเลงหวั ไม้ ๖. เกียจครา้ นการงาน มโี ทษโดยทาใหย้ กเหตุตา่ ง ๆ เปน็ ข้ออ้างผิดเพี้ยน ไม่ทา การงานโภคะใหมก่ ็ไม่เกดิ โภคะที่มีอยู่ก็หมดสิน้ ไป คอื ให้อา้ งไปท้งั ๖ กรณีวา่ ๖.๑ – ๖.๖ หนาวนัก รอ้ นนัก เยน็ ไปแล้ว ยังเชา้ นกั หิวนัก อิ่มนัก แลว้ ไม่ทาการงาน (พ.ธ. หน้า ๑๗๖ – ๑๗๘)

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั มศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวิทย์ 243 อปรหิ ำนิยธรรม ๗ ธรรมอันไม่เป็นท่ตี ั้งแหง่ ความเสอื่ ม เป็นไปเพื่อความเจริญฝา่ ยเดยี วมี ๗ ประการ ได้แก่ ๑. หมน่ั ประชมุ กนั เนอื งนิตย์ ๒. พรอ้ มเพรียงกันประชุม พร้อมเพรยี งกนั เลิกประชุม พร้อมเพรยี งกัน ทากจิ กรรมท่ีพึงทา ๓. ไมบ่ ัญญัตสิ ่ิงทีม่ ิไดบ้ ัญญัตไิ ว้ (อันขัดตอ่ หลักการเดมิ ) ๔. ท่านเหลา่ ใดเป็น ผใู้ หญ่ ควรเคารพนบั ถือท่านเหล่านัน้ ๕. บรรดากุลสตรี กลุ กุมารีทง้ั หลาย ให้อยดู่ โี ดยมิถกู ขม่ เหง หรอื ฉุดครา่ ขนื ใจ ๖. เคารพสักการบูชา เจดีย์หรอื อนุสาวรยี ์ประจาชาติ ๗. จัดใหค้ วามอารักขา ค้มุ ครอง ปอ้ งกันอันชอบธรรมแก่พระอรหนั ตท์ ้ังหลาย (รวมถงึ พระภิกษุ ผปู้ ฏบิ ัตดิ ี ปฏบิ ัตชิ อบด้วย) (พ.ธ. หนา้ ๒๔๖ – ๒๔๗) อธิปไตย ๓ ความเปน็ ใหญ่ มี ๓ อย่าง คือ ๑. อัตตาธิปไตย ความมตี นเป็นใหญ่ ถอื ตนเป็นใหญ่ กระทาการ ด้วยปรารภตนเป็นประมาณ ๒. โลกาธิปไตย ความมโี ลกเป็นใหญ่ ถือโลกเป็นใหญ่ กระทาการด้วย ปรารภนยิ มของโลกเปน็ ประมาณ ๓. ธมั มาธิปไตย ความมีธรรมเปน็ ใหญ่ ถือธรรมเปน็ ใหญ,่ กระทา การดว้ ยปรารภความถูกตอ้ ง เปน็ จรงิ สมควรตามธรรมเป็นประมาณ (พ.ธ. หนา้ ๑๒๗-๑๒๘) อริยสัจ ๔ ความจริงอนั ประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ ความจริงที่ทาใหผ้ เู้ ข้าถึงกลายเปน็ อรยิ ะมี ๔ คือ ๑. ทกุ ข์ (ความทุกข์ สภาพที่ทนได้ยาก สภาวะที่บีบค้ัน ขัดแย้ง บกพร่อง ขาดแก่นสารและความ เทยี่ งแท้ ไม่ให้ความพงึ พอใจแทจ้ รงิ ไดแ้ ก่ ชาติ ชรา มรณะ การประจวบกับสงิ่ อนั ไม่เป็นทร่ี กั การ พลดั พรากจากสิง่ ท่รี กั ความปรารถนาไม่สมหวัง โดยยอ่ ว่า อปุ าทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ ๒. ทุกขสมุทยั (เหตุเกดิ แหง่ ทกุ ข์ สาเหตุให้ทุกข์เกดิ ได้แก่ ตณั หา ๓ คอื กามตัณหา ภวตณั หา และ วภิ วตณั หา) กาจัดอวิชชา สารอกตัณหา สิน้ แลว้ ไมถ่ ูกยอ้ ม ไมต่ ดิ ขัด หลดุ พ้น สงบ ปลอดโปรง่ เป็น อิสระ คือ นิพพาน) ๓. ทกุ ขนิโรธ (ความดบั ทกุ ข์ ได้แก่ ภาวะท่ีตณั หาดบั ส้นิ ไป ภาวะท่เี ขา้ ถงึ เมอ่ื กาจดั อวิชชา สารอก ตณั หาสน้ิ แล้ว ไมถ่ ูกย้อม ไมต่ ิดข้อง หลุดพน้ สงบ เปน็ อสิ ระ คอื นิพพาน) ๔. ทกุ ขนโิ รธคามินปี ฏปิ ทา (ปฏิปทาท่ีนาไปสู่ความดับแหง่ ทุกข์ ข้อปฏิบตั ใิ ห้ถึงความดับทุกข์ ได้แก่ อรยิ อัฏฐงั คิกมรรค หรอื เรียกอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ มชั ฌิมปฏิปทา แปลวา่ ทางสายกลาง มรรคมอี งค์ ๘ น้ี สรปุ ลงในไตรสกิ ขา คือ ศลี สมาธิ ปญั ญา) (พ.ธ. หนา้ ๑๘๑) อริยอัฏฐคกิ มรรค ทางสายกลาง มรรคมอี งค์ ๘ (ศลี สมาธิ ปญั ญา) (พ.ธ. หน้า ๑๖๕) อญั ญำณุเบกขำ เป็นอเุ บกขาฝ่ายวิบตั ิ หมายถงึ ความไมร่ เู้ รือ่ ง เฉยไมร่ ้เู ร่ือง เฉยโง่ เฉยเมย (พ.ธ. หน้า ๑๒๖) อัตตำ ตวั ตน อาตมนั ปถุ ุชนยอ่ มยึดมน่ั มองเหน็ ขันธ์ ๕ อย่างใดอยา่ งหนึ่ง หรือทั้งหมดเปน็ อตั ตา หรอื ยึดถือ ว่ามอี ตั ตา เนื่องด้วยขนั ธ์ (พ.ศ. หน้า ๓๙๘) อัตถะ เรอื่ งราว ความหมาย ความม่งุ หมาย ประโยชน์ มี ๒ ระดบั คือ ๑. ทฏิ ฐิธัมมกิ ัตถะ ประโยชน์ในชีวติ น้ี หรอื ประโยชนใ์ นปจั จุบนั เป็นทมี่ ุง่ หมายกนั ในโลกน้ี ได้แก่ ลาภ ยศ สขุ สรรเสริญ รวมถงึ การแสวงหา สิ่งเหลา่ น้มี าโดยทางที่ชอบธรรม ๒. สัมปรายกิ ัตถะ ประโยชนเ์ บ้อื งหน้า หรือประโยชนท์ ่ีลา้ ลกึ กว่าที่ จะมองเหน็ กันเฉพาะหน้า เป็นจุดหมายขั้นสงู ข้นึ ไป เปน็ หลักประกนั ชีวิตเมื่อละจากโลกนี้ไป ๓. ปรมัตถะ ประโยชน์สูงสดุ หรอื ประโยชน์ที่เป็นสาระแทจ้ รงิ ของชวี ิตเป็นจุดหมายสูงสุดหรือที่หมายขัน้ สุดทา้ ย คือ พระนิพพาน อกี ประการหนึง่ หมายถึง ๑. อตั ตัตถะ ประโยชน์ตน ๒. ปรตั ถะ ประโยชน์ ผอู้ ื่น ๓. อภุ ยตั ถะ ประโยชน์ทั้งสองฝา่ ย (พ.ธ. หน้า ๑๓๑ – ๑๓๒) อำยตนะ ทตี่ ่อ เครือ่ งติดต่อ แดนต่อความรู้ เคร่อื งรู้ และส่งิ ท่ีถูกรู้ เช่น ตาเป็นเครื่องรู้ รูปเปน็ สงิ่ ทร่ี ู้ หเู ป็นเครอ่ื งรู้ เสียงเปน็ ส่งท่รี ู้ เปน็ ตน้ จดั เป็น ๒ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑. อาตนะภายใน ๖ อายตนะภายนอก ๖

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั มศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ัฒนวทิ ย์ 244 ๒. อายตนะภายนอก หมายถึง เคร่ืองต่อภายนอก ส่งิ ท่ถี ูกรู้ มี ๖ คือ ๒.๑ รปู คือ รปู ๒.๒ สัททะ คอื เสยี ง ๒.๓ คนั ธะ คอื กล่ิน ๒.๔ รส คือ รส ๒.๕ โผฏฐัพพะ คือ ส่งิ ต้องกาย ๒.๖ ธัมมะ หมายถงึ ธรรมารมย์ คือ อารมณท์ เ่ี กดิ กับใจ หรือสง่ิ ที่ใจรู้ อารมณ์ ๖ ก็เรียก (พ.ศ. หน้า ๔๑๑) อำยตนะภำยใน เคร่อื งต่อภายใน เคร่ืองรับรู้ มี ๖ คอื ๑. จกั ขุ คอื ตา ๒. โสตะ คอื หู ๓. ฆานะ คอื จมูก ๔. ชิวหา คอื ลิน้ ๕. กาย คอื กาย ๖. มโน คอื อินทรยี ์ ๖ ก็เรยี ก (พ.ศ.หน้า ๔๑๑) อริยวัฑฒิ ๕ ความเจริญอย่างประเสริฐ หลกั ความเจริญของอารยชน มี ๕ คือ ๑. ศรทั ธา ความเช่ือ ความ ม่ันใจในพระรัตนตรัย ในหลักแห่งความจริง ความดีอนั มีเหตผุ ล ๒.ศีลความประพฤตดิ ี มวี นิ ยั เลี้ยง ชพี สุจริต ๓. สตุ ะ การเล่าเรียน สดบั ฟัง ศึกษาหาความรู้ ๔. จาคะ การเผอ่ื แผเ่ สยี สละ เออื้ เฟ้ือ มนี า้ ใจชว่ ยเหลือ ใจกวา้ ง พร้อมท่จี ะรับฟังและรว่ มมอื ไมค่ ับแคบ เอาแต่ตัว ๕. ปัญญา ความรอบ รู้ ร้คู ิด ร้พู จิ ารณา เขา้ ใจเหตุผล ร้จู กั โลกและชีวติ ตามความเป็นจรงิ (พ.ธ. หนา้ ๒๑๓) อิทธบิ ำท ๔ คุณเครื่องให้ถงึ ความสาเร็จ คณุ ธรรมท่ีนาไปส่คู วามสาเรจ็ แหง่ ผลทม่ี ุง่ หมาย มี ๔ ประการ คือ ๑. ฉันทะ ความพอใจ คือ ความต้องการทจ่ี ะทาใฝใ่ จรักจะทาสง่ิ นน้ั อยู่เสมอแล้วปรารถนาจะทา ให้ได้ผลดียงิ่ ๆ ข้นึ ไป ๒. วิรยิ ะ ความเพียร คือ ขยันหมนั่ ประกอบสิ่งนนั้ ด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน เอาธรุ ะไม่ ทอ้ ถอย ๓. จิตตะ ความคิด คือ ตงั้ จติ รบั รู้ในสงิ่ ทท่ี าและทาส่ิงนนั้ ด้วยความคดิ เอาจิตฝักใฝไ่ ม่ปล่อยใจให้ ฟุ้งซ่านเลื่อนลอย ๔. วิมงั สา ความไตรต่ รอง หรอื ทดลอง คือ หมน่ั ใช้ปัญญาพิจารณา ใคร่ครวญ ตรวจตราหาเหตุผล และตรวจสอบข้อยงิ่ หย่อนในสงิ่ ท่ที านน้ั มกี ารวางแผน วดั ผลคิดคน้ วธิ แี ก้ไขปรบั ปรงุ ตัวอย่างเชน่ ผู้ ทางานทว่ั ๆ ไปอาจจาส้ัน ๆ ว่า รักงาน สงู้ าน ใสใ่ จงาน และทางานด้วยปญั ญา เป็นต้น (พ.ธ. หน้า ๑๘๖-๑๘๗) อบุ ำสกธรรม ๗ ธรรมท่เี ป็นไปเพ่ือความเจริญของอุบาสก ๑. ไม่ขาดการเย่ียมเยอื นพบปะพระภกิ ษุ ๒. ไม่ละเลยการฟังธรรม ๓. ศึกษาในอธศิ ลี ๔. มีความเลื่อมใสอยา่ งมากในพระภิกษทุ ุกระดับ ๕. ไม่ฟังธรรมดว้ ยตัง้ ใจจะคอยเพง่ โทษติเตยี น ๖. ไม่แสวงหาบญุ นอกหลักคาสอนในพระพุทธศาสนา ๗. กระทาการสนบั สนนุ คือ ขวนขวายในการอุปถัมภบ์ ารุงพระพุทธศาสนา (พ.ธ. หนา้ ๒๑๙ – ๒๒๐) อบุ ำสกธรรม ๕ สมบตั ิของอุบาสก ๕ คือ ๑. มศี รทั ธรา ๒. มีศีลบริสุทธ์ิ ๓. ไม่ถอื มงคลต่ืนข่าว เชอ่ื กรรม ไมเ่ ช่ือมงคลคือมุ่งหวงั ผลจากการกระทา และการงานมิใช่จากโชคลาภ และสิ่งทีต่ น่ื กนั วา่ ขลัง ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ ๔. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกหลักพระพุทธศาสนา ๕. ขวนขวายในการอุปถัมภ์บารงุ พระพุทธศาสนา (พ.ศ. หน้า ๓๐๐) อุบำสกธรรม ๗ ผู้ใกลช้ ดิ พระศาสนาอยา่ งแทจ้ ริง ควรตั้งตนอยใู่ นธรรมทเ่ี ป็นไปเพ่อื ความเจรญิ ของอุบาสก มี ๗ ประการ ได้แก่ ๑. ไม่ขาดการเย่ยี มเยือนพบปะพระภิกษุ ๒. ไมล่ ะเลยการฟงั ธรรม ๓. ศกึ ษาใน อธศิ ลี คอื ฝกึ อบรมตนให้กา้ วหน้าในการปฏิบัติรักษาศลี ขน้ั สงู ข้นึ ไป ๔. พรัง่ พร้อมดว้ ยความเล่ือมใส ในพระภิกษทุ ั้งหลายทัง้ ทเ่ี ปน็ เถระ นวกะ และปนู กลาง ๕. ฟังธรรมโดยความต้งั ใจ มิใช่ มาจับผดิ ๖. ไมแ่ สวงหาทักขิไณยภายนอก หลกั คาสอนน้ี คือ ไมแ่ สวงหาเขตบุญนอกหลกั พระพุทธศาสนา ๗. กระทาความสนบั สนุนในพระพทุ ธศาสนานี้ คือ เอาใจใสท่ านุบารุงและชว่ ยกิจกรรม (ธรรมนูญชวี ติ , หน้า ๗๐ – ๗๐)

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย์ 245 อุเบกขำ มี ๒ ความหมายคือ ๑. ความวางใจเปน็ กลาง ไม่เองเอียงด้วยชอบหรือชัง ความวางใจเฉยได้ ไมย่ นิ ดยี นิ รา้ ย เม่ือใช้ปญั ญาพิจารณาเหน็ ผลอนั เกิดข้ึนโดยสมควรแก่เหตแุ ละรวู้ า่ พึงปฏิบัติต่อไปตาม ธรรม หรือตามควรแก่เหตนุ ั้น ๒. ความรู้สกึ เฉย ๆ ไม่สุข ไม่ทกุ ข์ เรียกเต็มวา่ อุเบกขาเวทนา (อทกุ ขม สุข) (พ.ศ. หนา้ ๔๒๖ – ๔๒๗) อุปำทำน ๔ ความยดึ มั่น ความถอื มน่ั ดว้ ยอานาจกเิ ลส ความยดึ ติดอันเนอื่ งมาแตต่ ัณหา ผูกพนั เอาตวั ตนเป็น ทต่ี ง้ั ๑. กามุปาทาน ความยึดม่นั ในกาม คอื รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพั พะที่นา่ ใคร่ นา่ พอใจ ๒. ทฏิ ฐปุ าทาน ความยึดม่ันในทิฏฐิหรอื ทฤษฎี คือ ความเหน็ ลัทธิ หรอื หลกั คาสอนต่าง ๆ ๓. สีลัพพตุปาทาน ความยึดมั่นในศลี และพรต คือ หลกั ความประพฤติ ข้อปฏบิ ัติ แบบแผน ระเบยี บ วธิ ี ขนบธรรมเนยี มประเพณี ลัทธพิ ธิ ตี ่าง ๆ กัน ไปอย่างงมงายหรือโดยนยิ มว่าขลัง ว่าศักด์ิสิทธิ์ มิได้ เปน็ ไปดว้ ยความรู้ ความเข้าใจตามหลกั ความสมั พนั ธแ์ ห่งเหตแุ ละผล ๔. อตั ตาวาทุปาทาน ความยดึ มัน่ ในวาทะวา่ ตัวตน คือ ความถอื หรือสาคัญ หมายอยู่ในภายในว่ามีตวั ตน ทจี่ ะได้ จะมี จะเปน็ จะสูญสลาย ถกู บบี คัน้ ทาลายหรอื เปน็ เจ้าของ เป็นนายบังคบั บัญชาส่งิ ตา่ ง ๆ ได้ไม่มองเหน็ สภาวะ ของสิง่ ทงั้ ปวง อันรวมท้ังตวั ตนวา่ เปน็ แตเ่ พียงส่ิงท่ปี ระชมุ ประกอบกนั เข้า เป็นไปตามเหตุปจั จัย ท้งั หลายทีม่ าสัมพนั ธก์ นั ล้วน ๆ (พ.ธ. หนา้ ๑๘๗) อปุ นิสยั ๔ ธรรมทพี่ ่ึงพงิ หรือธรรมชว่ ยอุดหนนุ ๑. สงขฺ าเยก ปฏิเสวติ พิจารณาแลว้ จงึ ใช้สอยปัจจัย ๔ คือ จีวร บณิ ฑบาต เสนาสนะ คลิ านเภสัช เปน็ ต้น ท่จี าเปน็ จะตอ้ งเกีย่ วขอ้ งและมีประโยชน์ ๒. สงฺขาเยก อธิวาเสติ พจิ ารณาแลว้ อดกลั้นไดแ้ ก่ อนฏิ ฐารมณ์ ตา่ ง ๆ มีหนาวร้อน และทกุ ขเวทนา เป็นต้น ๓. สงฺขาเยก ปริวชเฺ ชติ พจิ ารณาสง่ิ ท่ีเปน็ โทษ กอ่ อนั ตรายแก่ร่างกาย และจติ ใจแลว้ หลกี เว้น ๔. สงขฺ าเยก ปฏิวโิ นเทติ พิจารณาส่ิงทเ่ี ปน็ โทษ ก่ออันตรายเกิดข้นึ แลว้ เช่น อกุศลวิตก มกี ามวติ ก พยาบาทวิตก และวิหงิ สาวติ ก และความชวั่ ร้ายท้ังหลายแลว้ พิจารณาแก้ไข บาบัดหรอื ขจัดให้สิ้นไป (พ.ธ. หน้า ๑๗๙) โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อความชัว่ (พ.ศ. หน้า ๔๓๙) โอวำท คากล่าวสอน คาแนะนา คาตักเตือน โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ คือ ๑. เวน้ จากทจุ ริต คอื ประพฤติ ชั่วด้วยกาย วาจา ใจ (ไม่ทาช่ัวทง้ั ปวง) ๒.ประกอบสุจริต คือ ประพฤตชิ อบดว้ ยกาย วาจา ใจ (ทาแต่ ความด)ี ๓. ทาใจของตนให้หมดจดจากเครอื่ งเศรา้ หมอง โลภ โกรธ หลง เปน็ ต้น (ทาจิตของตนให้ สะอาดบริสุทธิ์) (พ.ศ. หน้า ๔๔๐) สงั คมศำสตร์ การศึกษาความสมั พนั ธ์ของมนุษย์ โดยใชก้ ระบวนการวทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษำ การเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนใหอ้ ยู่ร่วมในสงั คมไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ คุณธรรม(virtue) และจริยธรรรม(moral or morality or ethics) คณุ ธรรม หมายถงึ สภาพคณุ งามความ ดี จริยธรรมมคี วามหมายเชน่ เดียวกับศีลธรรม หมายถงึ ธรรมทเ่ี ป็นข้อประพฤติกรรมปฏิบัตคิ วาม ประพฤติหรอื หน้าที่ทีช่ อบ ที่ควรปฏบิ ัติในการครองชีวติ ดังน้นั คุณธรรมจรยิ ธรรม จึงหมายถงึ สภาพคณุ งามความดีที่ประพฤตปิ ฏบิ ัตหิ รอื หน้าท่ีทีค่ วรปฏบิ ตั ิในการครองชวี ิต หรือคุณธรรมตาม กรอบจรยิ ธรรม สว่ นศีลธรรมและจริยธรรม มีความหมายใกลเ้ คยี งกนั คณุ ธรรมจะมีความหมายที่เนน้ สภาพ ลกั ษณะ หรือคุณสมบัติที่แสดงออกถึงความดีงาม ส่วนจริยธรรม มคี วามหมายเน้นที่ ความ ประพฤตหิ รือการปฏบิ ัติที่ดงี าม เป็นทีย่ อมรับของสงั คม นักวชิ าการมักใชค้ าทั้งสองคานี้ในความหมาย นัยเดยี วกันและมักใช้คาสองคาดงั กลา่ วควบคู่กันไป เป็นคาว่า คุณธรรมจรยิ ธรรม ซึง่ รวม ความหมายของคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม นน่ั คอื มคี วามหมายเน้นทง้ั สภาพ ลกั ษณะหรือคุณสมบัติ และ

หลักสตู รกลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั มศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย์ 246 ความประพฤติอันดงี าม เป็นท่ียอมรบั ของสงั คม (โครงการเรง่ สรา้ งคณุ ลกั ษณะทด่ี ีของเด็กและเยาวชนไทย ศูนย์คณุ ธรรม หน้า ๑๑ -๑๒) กำรเมือง ความรเู้ กี่ยวกับความสมั พันธร์ ะหวา่ งอานาจในการจัดระเบียบสังคมเพือ่ ประโยชน์และความสงบ สุขของสังคม มีความสมั พันธต์ ่อกันโดยรวมทั้งหมดในส่วนหน่ึงของชีวติ ในพืน้ ทห่ี นง่ึ ที่เก่ียวขอ้ งกับ อานาจ อานาจชอบธรรม หรืออิทธพิ ล และมีความสามารถในการดาเนินการได้ ขอ้ มูล ส่งิ ท่ีได้รับรู้และยงั ไม่มีการจัดประมวลใหเ้ ปน็ ระบบ เม่ือจัดระบบแลว้ เรยี กว่า สารสนเทศ คำ่ นยิ ม การกาหนดคุณค่าและพัฒนาจนเปน็ บคุ ลิกภาพประจาตัว คณุ ค่ำ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ เชน่ ความดี ความงาม ความดเี ป็นคณุ คา่ ของจรยิ ธรรม ความงามเปน็ คุณคา่ ทางสุนทรยี ศาสตร์ สง่ิ ทต่ี อบสนองความต้องการไดเ้ ป็นส่งิ ทม่ี คี ุณคา่ คุณค่าเป็นสิง่ เปลี่ยนแปลงได้ คณุ ค่าเปล่ยี นไปได้ตามเวลา และคุณคา่ มักเปล่ียนแปลงไปตามววิ ัฒนาการของความเจริญ บทบำท การกระทาท่ีสังคมคาดหวงั ตามสถานภาพที่บุคคลครองอยู่ หนำ้ ที่ เป็นความรับผิดชอบทางศีลธรรมของปัจเจกชนซงึ่ สังคมยอมรบั สถำนภำพ ตาแหนง่ ท่ีแต่ละคนครองอยูใ่ นสถานที่หนึง่ ในชว่ งเวลาหน่งึ บรรทัดฐำน ข้อตกลงของสงั คมทกี่ าหนดให้สมาชิกประพฤติ ปฏบิ ัติ บางทเี รยี กปทสั ถาน สามารถใช้บรรทัด ฐานของสังคม (social norms) เปน็ มาตรฐานความประพฤติในทางจริยธรรมได้ ซ่ึงแยกออกเปน็ ก. วถิ ปี ระชา (folkways) ได้แก่ แบบแผนพฤติกรรมในชีวติ ประจาวันท่สี งั คมยอมรบั และ ไดป้ ระพฤตปิ ฏิบตั ิสืบต่อกนั มา มกั เก่ียวข้องกบั เร่ืองการดาเนินชวี ติ และในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกบั จริยธรรม จะไม่มีกฎเกณฑเ์ คร่งครัดแน่นอนตายตัว ข. กฎศลี ธรรมหรือจารตี (mores) เปน็ มาตรฐานความประพฤตขิ องสังคมที่มีการกาหนด เก่ียวกับจรยิ ธรรมทีเ่ ข้มขึน้ ในกรณีมผี ้ฝู ่าฝนื อาจมีการลงโทษ แม้ว่าในบางครงั้ จะไม่มีการเขยี นไวเ้ ปน็ ลายลักษณ์อักษรกต็ าม เช่น การลวนลามสตรีในชนบท ตอ้ งลงโทษดว้ ยการเสียผี ค. กฎหมาย (law) เปน็ มาตรฐานความประพฤติที่รัฐกาหนดให้สมาชิกของรัฐพงึ ปฏิบตั ิหรอื ละ เว้นการปฏบิ ัติ และกาหนดวธิ ีการปฏบิ ัติการลงโทษสาหรับผฝู้ า่ ฝืน สิทธิ ข้อเรียกร้องของปัจเจกชนซง่ึ สังคมยอมรับ สทิ ธทิ ำงศลี ธรรม เปน็ ข้อเรียกร้องทางศีลธรรมของปัจเจกชนซง่ึ สงั คมยอมรบั ประเพณี เป็นความประพฤติของคนหมู่หนง่ึ อยู่ในท่แี หง่ หนึ่ง ถอื เปน็ แบบแผนกันมาอย่างเดียวกันและ สืบกันมานาน ประเพณี คือ กิจกรรมที่มรี ูปแบบของชมุ ชนหรือสงั คมหนง่ึ ท่ีจดั ขึ้นมาดว้ ยจุดประสงคใ์ ด จุดประสงคห์ นึง่ และกาหนดการจดั กจิ กรรมในช่วงเวลาแนน่ อนสม่าเสมอ กิจกรรทเ่ี ปน็ ประเพณีอาจ มองไดอ้ ีกประการหนึ่งว่าเปน็ แบบแผนการปฏบิ ัตขิ องกลมุ่ เฉพาะหรือทางศาสนา ปฏิญญำสำกลวำ่ ด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights sinv UDHR) คือการ ประกาศเจตนารมณ์ ในการร่วมมือระหว่างประเทศที่มีความสาคัญในการวางกรอบเบ้ืองตน้ เกยี่ วกับ สิทธมิ นษุ ยชนและเปน็ เอกสารหลักดา้ นสิทธมิ นษุ ยชนฉบบั แรก ซงึ่ ทีป่ ระชุมสมชั ชาใหญ่แห่ง สหประชาชาติ ใหก้ ารรับรองตามข้อมติท่ี ๒๑๗ A (III) เมอ่ื วนั ท่ี ๑๐ ธนั วาคม ๒๔๙๑ โดยประเทศ ไทยออกเสยี งสนนั สนุน วฒั นธรรม และภูมิปญั ญำไทย เปน็ การศึกษา วเิ คราะหเ์ ก่ียวกบั วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาในเรื่องเกยี่ วกับ ความเปน็ มา ปัจจัยพนื้ ฐานและผลกระทบจากภายนอกที่มอี ิทธิพลต่อการสร้างสรรคว์ ัฒนธรรมไทย

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย์ 247 วัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทย รวมท้ังวัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาของมนุษยชาตโิ ลก ความสาคญั และผลกระทบที่มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของคนไทยและมนษุ ยชาติ ตัง้ แต่อดีตถงึ ปัจจุบัน สมั มำชีพ การประกอบอาชพี สจุ ริตและเหมาะสมในสังคม ประสิทธิภำพ ความสามารถในการทางานจนสาเร็จ หรอื ผลการกระทาที่ได้ผลออกมาดีกว่าเดิม รวมท้งั การใชท้ รพั ยากรตา่ งๆ อย่างคุ้มคา่ โดยไม่ให้เกดิ ความสญู เปล่าหรอื ความสญู เสยี ทรัพยาการต่างๆ พจิ ารณาได้จากเวลา แรงงาน วัตถดุ ิบ เครือ่ งจักร ปริมาณและคณุ ภาพ ฯลฯ ประสทิ ธิผล ระดับความสาเรจ็ ของวัตถุประสงค์ หรอื ผลสาเร็จของงาน สนิ ค้ำ หมายความว่าส่ิงของท่สี ามารถซอ้ื ขาย แลกเปลยี่ น หรอื โอนกนั ได้ ไมว่ ่าจะเกิดโดยธรรมชาตหิ รอื เป็น ผลิตผลทางการเกษตร รวมตลอดถึงผลติ ภัณฑ์ทางหตั ถกรรมและอตุ สาหกรรม ภูมปิ ญั ญำ ส่วนหน่งึ ของประเพณี หรอื เป็นกิจกรรมเฉพาะตัวก็ได้ เช่น พธิ ีถวายสงั ฆทาน พิธีบวชนาค พิธีบวชลกู แก้ว พิธีขอฝน พิธีไหวค้ รู พิธแี ตง่ งาน มนษุ ยชำติ การเกิดเปน็ มนุษย์มาจาก มนุษย์ = ผู้มีจติ ใจสูง กับชาติ = เกิด โดยปกติหมายถงึ มนุษย์ท่ัว ๆ ไป มรรยำท พฤติกรรมทีส่ งั คมกาหนดว่าควรประพฤติเป็นวัฒนธรรม วัดจากความเหมาะสมและไม่เหมาะสม ระบบ การนาส่วนต่าง ๆ มาปรับเรยี งต่อให้ทางานประสานต่อเน่อื งกนั จนดเู ปน็ ส่งิ เดียวกนั กระบวนกำร กรรมวิธีหรือลาดับการกระทาซง่ึ ดาเนนิ การตอ่ เน่อื งกนั ไปจนสาเรจ็ ลง ณ ระดบั หน่ึง วิเครำะห์ การแยกแยะใหเ้ หน็ คณุ ลกั ษณะของแต่ละองค์ประกอบ เศรษฐกจิ ความรเู้ ก่ียวกับการกิน การอยู่ของมนุษย์ในสังคม วา่ ดว้ ยทรพั ยากรทีม่ จี ากัดการผลติ การกระจายผลผลติ และการบรโิ ภค สหกรณ์ แปลว่าการทางานร่วมกนั การทางานร่วมกนั นล้ี ึกซ้ึงมาก เพราะวา่ ต้องร่วมมือกันในทุกด้าน ทั้งใน ด้านงานท่ที าด้วยร่างกาย ท้งั ในด้านงานทที่ าดว้ ยสมอง และงานการท่ีทาดว้ ยใจ ทุกอย่างนข้ี าดไม่ได้ ต้องพรอ้ ม (พระราชดารสั พระราชทานแกผ่ ู้นาสหกรณ์การเกษตร สหกรณน์ ิคมและสหกรณ์ประมงทั่ว ประเทศ ณ ศาลาดุสิตดาลัย ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๒๖) ทรัพยส์ ินทำงปัญญำ หมายถึง ผลงานอนั เกดิ จากการประดิษฐ์คดิ คน้ หรือสร้างสรรค์ของมนษุ ย์ ซง่ึ เนน้ ที่ ผลผลิตของสตปิ ญั ญาและความชานาญ โดยไม่คานึงถึงชนิด ของการสร้างสรรคห์ รอื วธิ ีในการ แสดงออก ทรัพย์สนิ ทางปัญญา อาจเป็นสงิ่ ท่จี ับต้องได้ เชน่ สนิ คา้ ต่าง ๆ หรอื เปน็ ส่ิงที่จบั ต้องไมไ่ ด้ เชน่ บรกิ าร แนวความคดิ กรรมวิธีและทฤษฎตี ่าง ๆ เป็นตน้ ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญามี ๒ ประเภท ทรัพยส์ นิ ทางอตุ สาหกรรม (Industrial property) และลขิ สิทธ์ิ (Copyright) ๑. ทรพั ย์สินทำงอตุ สำหกรรม มีสทิ ธิบตั ร แบบผงั ภูมขิ องวงจรรวม เคร่ืองหมายการคา้ ความลบั ทางการคา้ ชือ่ ทางการคา้ สงิ่ บง่ ชีท้ างภมู ิศาสตร์ ส่ิงบง่ ชที้ ำงภูมิศำสตร์ หมายความวา่ ช่อื สัญลกั ษณ์ หรอื สงิ่ อน่ื ใดที่ใชเ้ รียกหรอื ใช้แทนแหล่ง ภูมิศาสตร์ และทีสามารถบ่งบอกวา่ สินคา้ ท่ีเกดิ จากแหลง่ ภูมศิ าสตรน์ น้ั เป็น สินคา้ ที่มีคุณภาพ ชอ่ื เสยี ง หรือคณุ ลักษณะเฉพาะของแหลง่ ภมู ิศาสตร์ดังกลา่ ว ๒. ลขิ สิทธิ์ คือ งานหรือความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนตร์ หรืองานอน่ื ใดในแผนกวรณคดี หรือแผนกศิลปะ แผนกวทิ ยาศาสตร์ ลิขสทิ ธิย์ งั รวมท้งั สิทธขิ า้ งเคยี ง (Neighbouring Right) เหตุ ภาวะเงอ่ื นไขที่จาเป็นท่ีทาใหส้ ิง่ หนึ่งเกิดขนึ้ ตามมา เรียกว่า ผล เหตกุ ำรณ์ ปรากฏการณท์ ่เี กดิ ขน้ึ อำนำจ ความสามารถในการบีบบงั คับใหส้ งิ่ หนึ่ง (คนหนึง่ ...) กระทาตามทปี่ รารถนา

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทับโพธ์พิ ฒั นวทิ ย์ 248 อิทธิพล อานาจบงั คบั ที่ก่อใหเ้ กิดความสาเรจ็ ในสิง่ ใดสงิ่ หนง่ึ เอกลักษณ์ ลกั ษณะที่มีความเปน็ หนึ่งเดียว ไม่มีท่ใี ดเหมือน ตำนำน เปน็ เรอื่ งเลา่ ต่อกันมาและถกู บันทึกขึน้ ภายหลัง พงศำวดำร คอื การบันทึกเหตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ข้ึนตามลาดับเวลา ซ่ึงสว่ นใหญจ่ ะเปน็ เร่อื งราวที่กับพระมหากษตั รยิ ์ และราชสานัก อดีต คอื เวลาท่ีล่วงมาแล้ว ความสาคัญของอดีต คือ อดีตจะครอบงาความคดิ และความรขู้ องเราอย่าง กว้างขวางลกึ ซ้ึง อดีตทเ่ี กยี่ วข้องกบั กล่มุ คน/ความสาคญั ท่มี ีต่อเหตุการณแ์ ละกลุ่มคนจะถูกนามา เชือ่ มโยงเขา้ ดว้ ยกนั นกั ประวัติศำสตร์ เปน็ ผ้บู ันทกึ เหตุการณท์ ี่เกดิ ขึน้ ผู้สร้างประวตั ิศาสตร์ข้นึ จากหลักฐานประเภทตา่ ง ๆ ตามจุดมุง่ หมายและวิธกี ารคดิ ซ่ึงงานเขียนอาจนาไปสู่การเปน็ วชิ าประวตั ิศาสตรไ์ ด้ในทส่ี ดุ ควำมมุ่งหมำยในกำรเขียนประวัตศิ ำสตร์ - นักประวตั ิศาสตร์รุ่นเกา่ มุ่งสู่การรวมชาต/ิ รบั ใชก้ ารเมือง - นกั ประวตั ศิ าสตรร์ ุ่นใหม่ มงุ่ ทีจ่ ะหาความจริง (truth) จากอดีตและตีความโดยปราศจากอคติ (bias) หลักฐำนประเภท ตำ่ ง ๆ จะใหข้ ้อเท็จจริงบางประการ ซ่งึ จะนาไปสคู่ วามจริงในท่ีสุดโดยมีวธิ กี ารแบ่ง ประเภทของหลักฐานหลายแบบ เช่น หลกั ฐานสมยั ก่อนประวัติศาสตรแ์ ละหลักฐานสมยั ประวัตศิ าสตร์แบบหนึ่ง หลักฐานประเภทลายลกั ษณ์อักษรและหลักฐานท่ีไม่ใชล่ ายลกั ษณแ์ บบหนงึ่ หรือหลักฐานชนั้ ตน้ และหลกั ฐานชนั้ รอง (หรอื หลักฐานชั้นท่ีหน่งึ ชั้นทส่ี อง ช้ันที่สาม) อกี แบบ หน่งึ หลักฐานที่จะถูกประเมินวา่ น่าเช่ือถือทีส่ ดุ คอื หลกั ฐานทเ่ี กิดรว่ มสมยั หรือเกิดโดยผทู้ ร่ี ู้เหน็ เหตุการณ์น้ัน ๆ แต่กระน้ันนักประวตั ิศาสตร์กจ็ ะต้องวิเคราะห์ท้ังภายในและภายนอกก่อนด้วยเช่นกนั เนอ่ื งจากผู้ท่ีอยูร่ ว่ มสมยั ก็ยอ่ มมีจดุ มงุ่ หมายสว่ นตัวในการบันทกึ ซ่ึงอาจทาใหเ้ ลอื กบนั ทึกเฉพาะเรื่อง บางเรื่องเทา่ น้ัน อคติ คือ ความลาเอียง ไมต่ รงตามความเปน็ จริง เปน็ ธรรมชาติของมนษุ ย์ทกุ คน ซ่ึงผู้ที่เป็นนกั ประวตั ิศาสตร์ จะต้องตระหนักและควบคุมใหไ้ ด้ ควำมเปน็ กลำง คือ การมองดว้ ยปราศจากความรู้สึกอคติจะเกดิ ข้ึนไดห้ ากเข้าใจธรรมชาตขิ องหลักฐานแต่ ละประเภท เขา้ ใจปรชั ญาและวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ เข้าใจจุดมงุ่ หมายของผเู้ รียน ผูบ้ นั ทกึ ประวตั ศิ าสตร์ (นั่นคือ เขา้ ใจว่าบันทกึ เพ่ืออะไร เพราะเหตุใด) ควำมจริงแท้ (real truth) คือ ความจริงทคี่ งอย่แู นน่ อนนริ นั ดร์ เป็นจดุ หมายสูงสุดทีน่ ักประวตั ศิ าสตร์ ม่งุ แสวงหาซ่ึงจะต้องอาศยั ความเขา้ ใจและความจรงิ ที่อยเู่ บื้องหลงั การเกิดพฤตกิ รรมและเหตกุ ารณ์ ตา่ ง ๆ (ท่ีมนุษยเ์ ปน็ ผูส้ ร้าง) ซึ่งการแสวงหาความจรงิ แท้ ต้องอาศัยความสมบรู ณ์ของหลกั ฐานและ กระบวนการทางประวัตศิ าสตร์ที่ละเอียด ถถี่ ว้ น กินเวลายาวนาน แต่นคี้ ือ ภาระหนา้ ท่ีของนกั ประวตั ศิ าสตร์ ผูส้ อนวิชำประวตั ศิ ำสตร์ คอื ผู้นาความรู้ทางประวัตศิ าสตร์มาพฒั นาใหผ้ ู้เรียนเกิดความรู้ เจตคตแิ ละ ทักษะในการใชก้ ระบวนการวิทยาศาสตรใ์ นการแสวงหาความจริงและความจรงิ แทจ้ ะต้องศึกษา ผลงานของนักประวตั ศิ าสตรแ์ ละเลอื กเนื้อหาประวตั ศิ าสตร์ท่ีเหมาะสมกบั วยั ของผู้เรียน โดยต้อง เป็นไปตามจุดประสงค์ของหลักสตู รและสอดคล้องธรรมชาตขิ องประวตั ิศาสตร์ เวลำและยุคสมัยทำงประวตั ิศำสตร์ เปน็ การศกึ ษาเร่ืองการนบั เวลา และการแบ่งชว่ งเวลาตามระบบตา่ ง ๆ ทัง้ แบบไทย สากล ศักราชที่สาคญั ๆ ในภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก และการแบง่ ยุคสมยั ทาง ประวัติศาสตร์ ทั้งน้ีเพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีทักษะพนื้ ฐานสาหรับการศกึ ษาหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย์ 249 สามารถเข้าเหตุการณ์ทางประวตั ศิ าสตรท์ สี่ มั พันธก์ บั อดีต ปจั จุบัน และอนาคต ตระหนักถึง ความสาคญั ในความต่อเนอ่ื งของเวลา อิทธิพลและความสาคญั ของเวลาท่ีมีต่อวิถกี ารดาเนินชีวิตของ มนษุ ย์ วธิ ีกำรทำงประวตั ิศำสตร์ หมายถงึ กระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงทางประวตั ศิ าสตร์ ซ่ึงเกดิ จากวธิ วี ิจัย เอกสารและหลักฐานประกอบอ่นื ๆ เพ่ือให้ไดม้ าซงึ่ องคค์ วามร้ใู หมท่ างประวัติศาสตรบ์ นพืน้ ฐานของ ความเป็นเหตุเปน็ ผล และการวเิ คราะห์เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ประกอบดว้ ยขั้นตอนตอ่ ไปน้ี หนึ่ง การกาหนดเป้าหมายหรือประเด็นคาถามท่ีต้องการศึกษา แสวงหาคาตอบด้วยเหตุ และผล (ศึกษาอะไร ชว่ งเวลาไหน สมัยใด และเพราะเหตใุ ด) สอง การค้นหาและรวบรวมหลกั ฐานประเภทต่าง ๆ ทั้งทเ่ี ป็นลายลกั ษณ์อักษร และไมเ่ ปน็ ลาย ลกั ษณ์อกั ษร ซงึ่ ได้แก่ วตั ถุโบราณ ร่องรอยถนิ่ ท่ีอยู่อาศัยหรอื การดาเนนิ ชีวิต สำม การวเิ คราะหห์ ลักฐาน (การตรวจสอบ การประเมินความนา่ เช่ือถือ การประเมินคุณคา่ ของ หลกั ฐาน) การตคี วามหลักฐานอย่างเปน็ เหตเุ ปน็ ผล มีความเปน็ กลาง และปราศจากอคติ ส่ี การสรุปข้อเท็จจรงิ เพ่ือตอบคาถาม ดว้ ยการเลือกสรรข้อเทจ็ จริงจากหลกั ฐานอย่างเครง่ ครัดโดย ไมใ่ ช้ค่านิยมของตนเองไปตดั สนิ พฤตกิ รรมของคนในอดตี โดยพยายามเขา้ ใจความคดิ ของคนในยคุ น้ัน หรือนาตัวเข้าไปอยู่ในยุคสมยั ทต่ี นศกึ ษา หำ้ การนาเสนอเรื่องท่ศี ึกษาและอธบิ ายได้อยา่ งสมเหตุสมผล โดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย มคี วาม ตอ่ เนอ่ื ง นา่ สนใจ ตลอดจนมีการอ้างอิงขอ้ เท็จจริง เพ่ือให้ไดง้ านทางประวัตศิ าสตร์ที่มีคุณคา่ และมี ความหมาย พัฒนำกำรของมนุษยชำตจิ ำกอดีตถึงปัจจุบนั เป็นการศกึ ษาเร่ืองราวของสังคม มนุษยใ์ นบริบทของเวลา และสถานท่ี โดยท่ัวไปจะแยกเรื่องศึกษาออกเป็นด้านต่าง ๆ ไดแ้ ก่ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ โดยกาหนดขอบเขตการศกึ ษาในกลุม่ สังคม มนุษย์กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เชน่ ในท้องถ่ิน/ประเทศ/ภมู ิภาค/โลก โดยมงุ่ ศึกษาว่าสังคมนั้น ๆ ได้ เปลย่ี นแปลงหรอื พฒั นาตามลาดบั เวลาไดอ้ ย่างไร เพราะเหตใุ ด จงึ เกดิ ความเปล่ยี นแปลงมปี จั จัย ใดบ้าง ทง้ั ทางดา้ นภมู ิศาสตร์และปจั จัยแวดลอ้ มทางสงั คม ทม่ี ผี ลต่อพฒั นาการหรือการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และผลกระทบของการสร้างสรรคข์ องมนุษย์ในดา้ นตา่ ง ๆ เปน็ อยา่ งไร ทัง้ นี้เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจ อดีตของสังคมมนุษยใ์ นมิติของเวลาและความต่อเน่ือง ภมู ศิ ำสตร์ เปน็ คาท่ีมาจากภาษากรีก (Geography) หมายถึงการพรรณนาลกั ษณะของโลกเปน็ ศาสตร์ทาง พ้นื ท่ี เปน็ ความรู้ที่วา่ ดว้ ยปฏสิ ัมพันธ์ของสง่ิ ต่าง ๆ ในขอบเขตหน่งึ ลกั ษณะทำงกำยภำพ ของภูมิศำสตร์ หมายถึง ลักษณะทีม่ องเห็นเปน็ รูปร่าง รูปทรง โดยสามารถมองเหน็ และวเิ คราะห์ไปถึงกระบวนการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ซึง่ เกีย่ วข้องกับ ลกั ษณะของธรณสี ัณฐานวิทยาภมู อิ ากาศวิทยา ภมู ศิ าสตรด์ ิน ชวี ภมู ิศาสตรพ์ ืช ภมู ศิ าสตร์สัตว์ ภมู ิศาสตร์สงิ่ แวดล้อมต่าง ๆ เปน็ ตน้ ปฏิสมั พันธ์ระหวำ่ งกนั หมายถึงวิธีการศึกษา หรือวิธีการวเิ คราะห์ พจิ ารณาสาหรับศาสตร์ทางภูมิศาสตร์ ไดใ้ ช้สาหรบั การศึกษาพิจารณา คดิ วเิ คราะห์ สังเคราะหถ์ ึงสงิ่ ต่าง ๆ ทมี่ ีผลตอ่ กนั ระหว่างส่งิ แวดลอ้ ม กับมนุษย์ (Environment) ทางกายภาพ ดว้ ยวธิ กี ารศึกษา พิจารณาถงึ ความแตกต่าง ความเหมอื นระหว่างพื้นทหี่ นึ่งๆ กับอีกพ้นื ที่หน่ึง หรอื ระหว่างภมู ภิ าคหนึ่งกบั ภูมิภาค หนึง่ โดยพยายามอธิบายถงึ ความแตกต่าง ความเหมือน รูปแบบของภูมิภาค และพยายามขีดเสน้ สมมตุ ิ แบง่ ภมู ิภาคเพอ่ื พิจารณาวิเคราะห์ ดสู ัมพันธภาพของภูมิภาคเหลา่ นัน้ ว่าเปน็ อย่างไร

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย์ 250 ภมู ศิ ำสตร์ คอื ภาพปฏิสมั พนั ธ์ของธรรมชาติ มนษุ ย์ และวฒั นธรรม รปู แบบต่าง ๆ ถา้ พิจารณาเฉพาะปจั จัยทางธรรมชาติ จะเป็นภมู ศิ ำสตร์กำยภำพ (Physical Geography) ถา้ พจิ ารณาเฉพาะปจั จัยทเี่ ก่ยี วข้องกับมนุษย์ เชน่ ประชากร วิถชี ีวติ ศาสนา ความเชือ่ การเดนิ ทาง การอพยพจะเป็นภูมิศำสตร์มนุษย์ (Human Geography) ถา้ พิจารณาเฉพาะปจั จัยทเ่ี ป็นสง่ิ ที่มนุษย์สร้างข้ึน เช่น การตง้ั ถนิ่ ฐาน การคมนามคม การคา้ การเมือง จะเปน็ ภูมิศำสตร์วัฒนธรรม (Cultural Geography) ภมู ิอำกำศ คือ ภาพปฏิสมั พันธข์ ององค์ประกอบอุตุนิยมวิทยา รปู แบบต่าง ๆ เช่น ภมู ิอากาศ แบบร้อนชืน้ ภูมอิ ากาศแบบอบอุ่นชื้น ภมู ิอากาศแบบร้อนแหง้ แลง้ ฯลฯ ภมู ิประเทศ คือ ภาพปฏิสัมพนั ธ์ขององค์ประกอบแผน่ ดิน เชน่ หิน ดนิ ความตา่ งระดับ ทาใหเ้ กิดภาพ ลกั ษณะรูปแบบต่าง ๆ เชน่ พื้นท่แี บบภเู ขา พ้นื ที่ระบบลาด เชงิ เขา พน้ื ท่ีราบ พนื้ ทล่ี ุ่ม ฯลฯ ภูมพิ ฤกษ์ คือ ภาพปฏิสัมพนั ธข์ องพืชพรรณ อากาศ ภูมิประเทศ ดิน สัตวป์ ่า ในรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น ปา่ ดิบ ป่าเต็งรงั ปา่ เบญจพรรณ ป่าทงุ่ หญ้า ฯลฯ ภูมธิ รณี คอื ภาพปฏสิ มั พันธข์ องแร่ หนิ โครงสร้างทางธรณี ทาให้เกดิ รูปแบบทางธรณีชนดิ ตา่ ง ๆ เชน่ ภเู ขาแบบทบตัว ภเู ขาแบบยกตวั ทีร่ าบน้าท่วมถึง ชายฝ่งั แบบยุบตวั ฯลฯ ภูมปิ ฐพี คอื ภาพปฏสิ ัมพันธข์ องแร่ หนิ ภมู ปิ ระเทศลกั ษณะอากาศ พืชพรรณ ทาให้เกิดดินรปู แบบ ต่าง ๆ เช่น แดนดินดา มอดนิ แดง ดินทรายจัด ดนิ กรด ดินเค็ม ดินพรุ ฯลฯ ภมู อิ ทุ ก คือ ภาพปฏิสัมพันธ์ของแผน่ ดนิ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ภูมธิ รณี พืชพรรณ ทาใหเ้ กิดรปู แบบ แหล่งน้าชนดิ ตา่ ง ๆ เชน่ แมน่ ้า ลาคลอง หว้ ย หนอง บงึ ทะเล ทะเลสาบ มหาสมุทร นา้ ใตด้ นิ นา้ บาดาล ฯลฯ ภมู ดิ ำรำ คือ ภาพปฏิสัมพันธข์ องดวงดาว กลมุ่ ดาว เวลา การเคลื่อนการโคจรของ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ทาให้เกดิ รูปแบบปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ เช่น การเกิดกลางวนั กลางคนื ขา้ งขึน้ -ข้างแรม สุรยิ ปุ ราคา ตะวันอ้อมเหนือ ตะวันอ้อมใต้ ฯลฯ ภัยพบิ ัติ เหตุการณ์ทีก่ ่อให้เกิดความเสยี หายและสูญเสยี อย่างรนุ แรง เกดิ ขน้ึ จากภัยธรรมชาตแิ ละกระทาของ มนุษย์ จนชุมชนหรอื สังคมท่ีเผชญิ ปัญหาไม่อาจรับมือ เช่นดนิ ถล่ม สึนามิ ไฟป่า ฯลฯ แหลง่ ภมู ิศำสตร์ หมายความวา่ พน้ื ทขี่ องประเทศ เขต ภมู ภิ าคและทอ้ งถนิ่ และใหห้ มายความรวมถงึ ทะเล ทะเลสาบ แมน่ า้ ลานา้ เกาะ ภูเขา หรอื พื้นที่อ่ืนทานองเดยี วกันด้วย เทคนิคทำงภมู ศิ ำสตร์ หมายถงึ แผนท่ี แผนภมู ิ แผนภาพ และกราฟ ภายถา่ ยทางอากาศ และภาพถ่ายจาก ดาวเทียม เทคโนโลยภี ูมิสารสนเทศ ส่อื ทสี่ ามารถคน้ ข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ได้ มิติทำงพื้นท่ี หมายถงึ การวเิ คราะห์ พิจารณาในเรื่องขององค์ประกอบทางภูมศิ าสตรท์ ่ีเกย่ี วข้องกบั เวลา สถานท่ี ปัจจัยแวดล้อม และการกระจายของพ้นื ที่ในรปู แบบต่าง ๆ ทง้ั ความกวา้ ง ยาว สูง ตาม ขอบเขตที่กาหนด หรอื สมมุติพน้ื ที่ขน้ึ มาพิจารณา กำรศึกษำรูปแบบทำงพนื้ ท่ี หมายถึง การศึกษาเร่ืองราวเกีย่ วกบั พน้ื ทหี่ รือมิติทางพื้นท่ขี อง สังคมมนุษย์ ทต่ี ั้งถน่ิ ฐานอยู่ มีการใชแ้ ละกาหนดหนว่ ยเชิงพื้นที่ ที่ชัดเจน มีการอาศัยเส้นทเี่ ราสมมุติขึ้น อาศัย หน่วยต่าง ๆ ขึน้ มากาหนดขอบเขต ซ่ึงมีองคป์ ระกอบลักษณะทางกายภาพ ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และลกั ษณะทางพัฒนาการของมนุษย์ที่เดน่ ชัด สอดคล้องกันเปน็ พ้นื ฐานใน การศึกษา แสวงหาข้อมูล ภูมศิ ำสตร์กำยภำพ หมายถึง ศาสตรท์ ี่ศึกษาเร่ืองเกย่ี วกบั ระบบธรรมชาติ ถงึ ความเป็นมา ความเปลีย่ นแปลง และพัฒนาการไปตามยุคสมัย โดยมีขอบเขตท่กี ล่าวถึง ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะภูมิอากาศ

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธพิ์ ัฒนวิทย์ 251 ภูมิปฐพี (ดนิ ) ภมู อิ ากาศ (ลมฟา้ อากาศ บรรยากาศ) และภูมิพฤกษ์ (พชื พรรณ ป่าไม้ ธรรมชาต)ิ รวมท้งั ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มตามธรรมชาติ การเปลีย่ นแปลงของธรรมชาติท่ีมีผลต่อ ชวี ติ และความเปน็ อยู่ของมนุษย์ สิ่งแวดล้อม ส่งิ ท่ีอยู่รอบ ๆ สิง่ ใดส่งิ หนงึ่ และมอี ิทธพิ ลต่อสงิ่ นั้น อาทิ อากาศ น้า ดนิ ต้นไม้ สตั ว์ ซง่ึ สามารถ ถูกทาลายไดโ้ ดยการขาดความระมดั ระวงั สง่ิ แวดล้อมทำงภำยภำพ หมายถงึ ทุกสงิ่ ทุกอยา่ ง ยกเว้นตัวมนุษยแ์ ละผลงาน และมนษุ ย์ สิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ ได้แก่ ภูมิอากาศ ดิน พชื พรรณ สตั วป์ ่า ธรณีสัณฐาน (ภูเขาและท่รี าบ) บรรยากาศ มหาสมุทร แร่ธาตุ และน้า อนุรกั ษ์ การรักษา จัดการ ดูแลทรัพยากรธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรม หรอื การรกั ษาป้องกันบางสงิ่ ไม่ให้ เปลยี่ นแปลง สูญหายหรือถูกทาลาย ภมู ิศำสตร์มนษุ ย์ และสงิ่ แวดล้อม หมายถงึ ศาสตรท์ ศี่ ึกษาเรื่องราวเก่ียวกบั มนุษย์ วิถชี ีวติ และ ความเปน็ อยู่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม สิ่งแวดลอ้ มด้านสงั คมทง้ั ในเมืองและท้องถ่ิน การเปลยี่ นแปลงทางสงิ่ แวดลอ้ ม สาเหตแุ ละผลกระทบที่มีต่อมนุษย์ ปัญหาและแนวทางแกป้ ญั หาทาง สงั คม กรอบทำงพ้ืนที่ (Spatial Framework) หมายถึง การวางข้อกาหนดหรือขอบเขตของพื้นท่ใี นการศึกษาเรื่องใด เรื่องหนึง่ หรือแบบรปู แบบกระจายของสง่ิ ต่าง ๆ บนผวิ โลกส่วนใดสว่ นหน่งึ เพือ่ ใหเ้ ราเข้าใจลักษณะ โลกของมนุษยด์ ขี ึ้น เช่น การกาหนดให้มนุษย์ และวฒั นธรรมของมนุษย์ดีขึ้น เชน่ การกาหนดให้มนษุ ย์และ วัฒนธรรมของมนษุ ย์กรอบพื้นที่ของโลกท่มี ีลักษณะเป็นภูมภิ าค ประเทศ จังหวัด เมือง ชุมชน ท้องถ่นิ ฯลฯ สาหรบั การวิเคราะห์ หรือศกึ ษาองค์ประกอบใดองคป์ ระกอบหน่งึ เฉพาะเรื่อง รูปแบบทำงพน้ื ที่ (Spatial Form) หมายถึง ข้อเท็จจรงิ เครอ่ื งมอื หรอื วธิ ีการ โดยเฉพาะกลมุ่ ของข้อมลู ท่ี ไดม้ า เปน็ ต้นว่า ความสัมพันธ์ทางพนื้ ท่ีแบบรูปแบบของการกระจาย การกระทาระหว่างกนั เคร่ืองมือที่ใช้ ไดแ้ ก่ แผนที่ ภาพถา่ ย ฯลฯ พน้ื ที่หรือระวำงที่(Space) หมายถึง ขอบเขตทางพนื้ ที่ในการวเิ คราะหท์ างภูมิศาสตร์ เป็นการศกึ ษาพ้นื ที่ ในมติ ติ ่าง ๆ ตามระวางที่ (Spatiak study) ท่ีกาหนดข้นึ มีขอบเขตชัดเจน อาจจะมีการกาหนดเปน็ เขตบรเิ วณ สถานที่ นามติ ิของความกว้าง ความลึก ความสูง ความยาว รวมท้ังมิตทิ างเวลา ในเขต พ้นื ทีต่ ่าง ๆ ตามทเ่ี รากาหนด ขอบเขตระหว่างที่ ดว้ ยเครื่องมอื เส้นสมมติและเทคนคิ ทางภมู ิศาสตร์ ตา่ ง ๆ เช่น แผนท่ี ภาพถา่ ย ฯลฯ อาจจะจาแนกเป็นเขต ภูมภิ าค ประเทศ จงั หวัด เมือง ชมุ ชน ท้องถนิ่ ฯลฯ ท่ีเฉพาะเจาะจงไป มกี ารพจิ ารณา วิเคราะหถ์ ึงการกระจายและสมั พนั ธภาพของมนุษย์ บนผิวโลก และลกั ษณะทางพื้นทข่ี องการตัง้ ถิน่ ฐานของมนุษย์ และการทีใ่ ช้ประโยชนจ์ ากพื้นโลก สมั พันธ์จากถิน่ ฐานของมนษุ ย์ และการท่ีใช้ประโยชน์จากพ้ืนโลก สมั พนั ธภาพระหวา่ งสังคมมนุษย์กับ ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพ ซงึ่ ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาความแตกต่างเชงิ พื้นท่ี (Area difference) มติ ิสัมพนั ธเ์ ชิงทำเลท่ตี ั้ง หมายถึง การศึกษาความแตกตา่ งหรือความเหมือนกนั ของสังคมมนุษย์ในแตล่ ะ สถานที่ ในฐานะทค่ี วามแตกต่างและเหมือนกันนน้ั อาจมีความเกยี่ วเน่ืองกบั ความแตกต่างและความ เหมอื นกนั ในสง่ิ แวดล้อมทางกายภาพ ทางเศรษฐกจิ ทางสังคม ทางวัฒนธรรม ทางการเมอื ง และ การศึกษาภมู ิทัศนท์ ีแ่ ตกต่างกันในเรอื่ งองค์ประกอบ ปจั จยั ตลอดจนแบบรปู การกระจายของมนุษย์ บนพื้นโลก และการทม่ี นุษย์ใช้ประโยชน์จากพนื้ โลก เหตุไรมนษุ ยจ์ ึงใช้ประโยชน์จากพื้นโลก แตกตา่ ง กนั ในสถานที่ต่างกัน และในเวลาทต่ี า่ งกนั มผี ลกระทบอย่างไร

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรสู้ ังมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย์ 252 ภำวะประชำกร รายละเอยี ดขอ้ เท็จจริงเกี่ยวกับประชากรในเรือ่ งสาคัญ 3 ดา้ น คือขนาดประชากร การกระจายตวั เชงิ พ้นื ท่ี และองคป์ ระกอบของประชากร ขนำดของประชำกร จานวนประชากรท้งั หมดของเขตพน้ื ท่ีหนง่ึ พ้ืนที่ ณ เวลาท่ีกล่าวถึง กำรกระจำยตัวเชงิ พ้นื ท่ี การที่ประชากรกระจายตัวกันอยู่ในสว่ นต่างๆ ของพ้ืนท่ีหนึ่งพ้ืนท่ี ณ เวลาท่ีกล่าวถงึ องคป์ ระกอบของประชำกร ลกั ษณะต่าง ๆ ท่ีมีส่วนผลักดนั ให้เกิดการเปล่ียนแปลงขนาดหรือจานวน ประชากร องคป์ ระกอบของประชากรเป็นดชั นอี ย่างหน่ึงทชี่ ้ีใหเ้ ห็นถงึ คุณภาพของประชากร องคป์ ระกอบประชากรที่สาคัญ ไดแ้ ก่ เพศ อายุ การศกึ ษา อาชพี การสมรส กำรเปล่ียนแปลงประชำกร องค์ประกอบสาคัญท่ีทาใหเ้ กิดกรเปลย่ี นแปลงประชากร คอื การเกดิ การตาย และการยา้ ยถิน่

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรียนทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย์ 253 ผ้จู ดั ทำ

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2563 โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย์ 254 นำยวีรเดช มะแพทย์ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐำนะครูชำนำญกำรพเิ ศษ ปฏิบัตหิ น้ำท่ี หัวหน้ำกลุ่มสำระกำรเรยี นรสู้ งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม