Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายธุรกิจ บทที่ 4

กฎหมายธุรกิจ บทที่ 4

Published by kanjana281119, 2019-08-01 21:53:56

Description: กฎหมายธุรกิจ บทที่ 4

Search

Read the Text Version

บทท่ี 4 สัญญาซื้อขาย และสัญญาแลกเปลย่ี น

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม  1. อธิบายลกั ษณะของสัญญาซื้อขายได้  2. อธิบายประเภทของสัญญาซื้อขายได้  3. อธิบายแบบของสัญญาซื้อขายได้  4. อธิบายเรื่องการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินได้  5. อธิบายหน้าทแ่ี ละความรับผดิ ของผู้ขายได้  6. อธิบายหน้าทข่ี องผู้ซื้อได้  7. อธิบายลกั ษณะของสัญญาขายฝากได้  8. บอกกาํ หนดระยะเวลาไถ่คืนทรัพย์สินทข่ี ายฝากได้  9. อธิบายเรื่องการขายตามตวั อย่างได้  10. อธิบายเรื่องการขายตามคาํ พรรณนาได้  11. อธิบายเร่ืองการขายเผ่ือชอบได้  12. อธิบายเรื่องการขายทอดตลาดได้  13. อธิบายลกั ษณะของสัญญาแลกเปลย่ี นได้

สัญญาซื้อขาย

ลกั ษณะของสัญญาซื้อขาย 1. เป็นสญั ญาต่างตอบแทน 2. โดยทวั่ ไปแลว้ ไม่ตอ้ งทาตามแบบ ในกรณีที่กฎหมาย ต้องการให้ทาตามแบบก็จะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามแบบที่ กฎหมายบญั ญตั ิไว้ 3. มีการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินน้นั ใหแ้ ก่ผซู้ ้ือ 4. ผซู้ ้ือตกลงจะใชร้ าคาทรัพยส์ ินน้นั ใหแ้ ก่ผขู้ าย

 ทรัพย์สินทซี่ ื้อขายกนั ไม่ได้ 1. สาธารณสมบตั ิของแผน่ ดินหรือทรัพยน์ อกพาณิชย์ เช่น ท่ีชายตล่ิง ทาง น้า ทางหลวง ทะเลสาบ ที่ดินที่รัฐบาลหวงหา้ ม เป็นตน้ 2. สิทธิซ่ึงตามกฎหมายห้ามโอนจาหน่าย เช่น สิทธิเรียกร้องค่าสินไหม ทดแทนเพ่ือความเสียหายอยา่ งอื่นอนั มิใช่ตวั เงิน ในกรณีละเมิดทาใหเ้ ขาเสียหาย แก่ร่างกาย 3. ทรัพยส์ ินท่ีกฎหมายห้ามขายหรือจาหน่าย หรือมีไวเ้ ป็นความผิดอาญา เช่น ภาพลามกอนาจาร เฮโรอีน ปื นเถ่ือน ธนบตั รปลอม เป็นตน้ 4. ท่ีวดั และที่ธรณีสงฆ์ 5. ทรัพยส์ ินส่วนพระมหากษตั ริย์ 6. สิทธิที่จะไดร้ ับบาเหน็จบานาญ 7. ทรัพยส์ ินที่ไดม้ าโดยมีขอ้ กาหนดหา้ มโอน

 ใครเป็ นผ้ขู ายทรัพย์สินได้ 1. เจา้ ของกรรมสิทธ์ิ ยอ่ มมีสิทธิขายทรัพยส์ ินของตนเองได้ แต่มีบาง กรณีท่ีเจา้ ของกรรมสิทธ์ิไม่มีสิทธิขายทรัพยส์ ินของตนเอง ซ่ึงไดแ้ ก่ 1.1 ทรัพยส์ ินที่ถูกยดึ หรืออายดั 1.2 ลูกหน้ีที่ถูกพทิ กั ษท์ รัพย์ 2. ผจู้ ดั การมรดก มีอานาจขายทรัพยส์ ินเพอ่ื นาเงินมาแบ่งปันใหท้ ายาท 3. ผใู้ ชอ้ านาจปกครอง มีอานาจขายทรัพยส์ ินของผเู้ ยาว์ 4. เจา้ พนกั งานบงั คบั คดี มีสิทธิขายทอดตลาดทรัพยส์ ินของลูกหน้ีตาม คาสง่ั ศาล 5. เจา้ พนกั งานพทิ กั ษท์ รัพย์ มีอานาจขายทรัพยส์ ินของลูกหน้ี

ผู้รับโอนไม่มสี ิทธิดกี ว่าผู้โอน เ มื่ อ ผู้ ข า ย ไ ม่ มี ก ร ร ม สิ ท ธ์ิ ใ น ท รั พ ย์ สิ น แล้ว ผู้ซื้อย่อมไม่ได้กรรมสิทธ์ิในทรัพย์สิน ซ่ึงเป็ นไปตามหลักที่ว่าผู้รับโอนไม่มีสิทธิ ดกี ว่าผู้โอน

ขอ้ ยกเวน้ ของหลกั ผรู้ ับโอนไม่มีสิทธิดีกวา่ ผโู้ อน 1. ถา้ มีผูไ้ ดม้ าซ่ึงอสังหาริมทรัพย์ หรือทรัพยสิทธิอนั เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยโ์ ดยทางอื่นนอกจากทางนิติกรรม สิ ทธิของผู้ได้มาน้ัน ถ้ายังมิได้จดทะเบียน จะมีการ เปลี่ยนแปลงทางทะเบียนไม่ได้ และสิทธิอันยังมิได้จด ทะเบียนน้นั มิให้ยกข้ึนเป็ นขอ้ ต่อสู้บุคคลภายนอก ผไู้ ดส้ ิทธิ มาโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริต และไดจ้ ดทะเบียนโดย สุจริตแลว้

2. สิทธิของบุคคลผไู้ ดม้ าซ่ึงทรัพยส์ ินโดยมี ค่าตอบแทนและโดยสุจริ ตน้ัน ไม่เสี ยไป ถึงแมว้ า่ ผโู้ อนทรัพยส์ ินให้ จะไดท้ รัพยส์ ินน้นั มาโดยนิติกรรมอนั เป็ นโมฆียะ และนิติกรรม น้นั ไดถ้ ูกบอกลา้ งภายหลงั

3. สิทธิของบุคคลผซู้ ้ือทรัพยส์ ินโดยสุจริต ในการขายทอดตลาดตามคาส่ังศาล หรือคาสั่ง เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพยใ์ นคดีลม้ ละลายน้ัน ไม่เสี ยไป ถึงแม้ภายหลังจะพิสู จน์ได้ว่า ทรัพยส์ ินน้นั มิใช่ของจาเลย หรือลูกหน้ีโดยคา พิพากษา หรือผลู้ ม้ ละลาย

4. สิทธิของบุคคลผไู้ ดเ้ งินตรามา โดยสุ จริ ตน้ัน ไม่เสี ยไป ถึงแม้ ภายหลงั จะพิสูจน์ไดว้ ่าเงินน้นั มิใช่ ของบุคคลซ่ึงไดโ้ อนใหม้ า

5. บุคคลผซู้ ้ือทรัพยส์ ินมาโดยสุจริตใน การขายทอดตลาด หรือในทอ้ งตลาด หรือ จากพอ่ คา้ ซ่ึงขายของชนิดน้นั ไม่จาตอ้ งคืน ให้แก่เจ้าของท่ีแท้จริง เวน้ แต่เจ้าของจะ ชดใชร้ าคาท่ีซ้ือมา

ประเภทของสัญญาซื้อขาย 1. สัญญาซื้อขายเสร็จเดด็ ขาด 2. สัญญาจะซื้อจะขาย 3. คาํ มน่ั ว่าจะซื้อหรือจะขาย

1. สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด คือ สัญญาซื้อขายท่ีคู่สัญญาได้ตกลงกันเสร็จ เด็ดขาดในคุณภาพ ประเภท ปริมาณ ตลอดจนรายละเอียดอ่ืน ๆ แห่งสัญญาโดย สําเร็จบริบูรณ์ และไม่ต้องทาํ อะไรเพม่ิ เติม ต่อไปตามแบบของกฎหมายอกี

2. สัญญาจะซื้อจะขาย คือสัญญาซ้ือ ขายท่ีกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินไม่โอนไปยงั ผูซ้ ้ือ แต่มีมีขอ้ ตกลงวา่ จะไปทาการโอนกรรมสิทธ์ิกนั ต่อไป เช่น ต้องไปทาเป็ นหนังสื อและจด ทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่กนั ต่อไป

3. คาํ มั่นว่าจะซื้อหรือจะขาย คือการ ที่ผู้ซื้อฝ่ ายเดียวให้คํามั่นต่อผู้ขายว่าจะซื้อ หรือ ผู้ขายฝ่ ายเดยี วให้คาํ มน่ั ต่อผู้ซื้อว่าจะขาย

แบบของสัญญาซื้อขาย 1. สัญญาซื้อขายท่ตี ้องทาํ เป็ นหนังสือและจดทะเบยี น ต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี 2. สัญญาซื้อขายทตี่ ้อง (1) มีหลกั ฐานเป็ นหนังสือลงลายมือช่ือฝ่ ายท่ี ต้องรับผดิ เป็ นสําคญั หรือ (2) ได้วางประจํา หรือ (3) ได้ชําระหนีบ้ างส่วนแล้ว

1. สัญญาซื้อขายทต่ี ้องทําเป็ นหนังสือและจด ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี 1.1 อสังหาริมทรัพย์ 1.2 เรือที่มรี ะวางต้ังแต่ 5 ตนั ขึน้ ไป 1.3 แพ หมายถึงเฉพาะแพทคี่ นอยู่อาศัย 1.4 สัตว์พาหนะ หมายถึง ช้าง ม้า โค กระบือ ลาและล่อที่ มตี ัว๋ รูปพรรณแล้ว

สัญญาซื้อขายทตี่ ้องทาํ เป็ นหนังสือและจด ทะเบยี นต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ถ้าไม่ทาํ เป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน เจ้าหน้าทย่ี ่อมตกเป็ นโมฆะ

อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ (1) ทีด่ ิน (2) ทรัพย์อนั ตดิ อยู่กบั ทดี่ นิ มีลกั ษณะเป็ นการถาวร (3) ทรัพย์ท่ปี ระกอบเป็ นอนั เดียวกบั ที่ดนิ (4) ทรัพยสิทธิอนั เกยี่ วกบั ทด่ี นิ หรือทรัพย์อนั ตดิ อยู่ กบั ทีด่ นิ หรือประกอบเป็ นอนั เดียวกบั ทดี่ ิน

2. สัญญาซื้อขายทีต่ ้อง (1) มหี ลกั ฐานเป็ นหนังสือลงลายมือช่ือ ฝ่ ายทตี่ ้องรับผดิ เป็ นสําคญั หรือ (2) ได้วางประจํา หรือ (3) ได้ชําระหนี้ บางส่ วนแล้ว 2.1 สญั ญาจะซ้ือจะขายอสงั หาริมทรัพย์ เรือท่ีมีระวางต้งั แต่ 5 ตนั ข้ึนไป แพ และสตั วพ์ าหนะ 2.2 คามน่ั วา่ จะซ้ือหรือจะขายทรัพยส์ ินตาม 2.1 2.3 สญั ญาซ้ือขายสงั หาริมทรัพยซ์ ่ึงมีราคา 20,000 บาทหรือกวา่ น้นั ข้ึนไป

สัญญาซื้อขายทตี่ ้อง (1) มหี ลกั ฐานเป็ นหนังสือลงลายมือช่ือฝ่ ายทีต่ ้องรับ ผดิ เป็ นสําคญั หรือ (2) ได้วางประจํา หรือ (3) ได้ชําระหนีบ้ างส่วนแล้ว ถ้าไม่ได้กระทําอย่างหน่ึงอย่างใดใน 3 อย่างนีแ้ ล้ว ทํา ให้ไม่สามารถฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ แต่ไม่ทําให้สัญญา ซื้อขายเป็ นเป็ นโมฆะ

สถานทีจ่ ดทะเบียนซื้อขาย 1. การซื้อขายท่ดี ินมีโฉนด ( น.ส.4 ) หรือท่ดี นิ ท่มี ี หนังสือรับรองการทําประโยชน์ (น.ส.3) ต้องไปทําเป็ น หนังสือและจดทะเบียนซื้อขายกัน ณ สํานักงานท่ีดิน จังหวัด หรือสํานักงานที่ดินสาขาในจังหวัดน้ัน ๆ ในเขต กรุ งเทพมหานครให้ จดทะเบียนท่ีสํ านักงานที่ดิน กรุงเทพมหานคร หรือสํานักงานท่ีดินกรุงเทพมหานคร สาขาต่าง ๆ

2. การซ้ือขายโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง อยา่ งอื่น ตอ้ งไปทาเป็ นหนงั สือและจดทะเบียน ซ้ือขายกัน ณ สานักงานที่ดินจังหวัด หรื อ สานักงานท่ีดินสาขาในจังหวดั น้ัน ๆ ในเขต กรุ งเทพมหานครให้จดทะเบี ยนที่ สานักงาน ท่ีดินกรุงเทพมหานคร หรื อสานักงานที่ดิน กรุงเทพมหานครสาขาต่าง ๆ

3. การซ้ือขายเรือท่ีมีระวางต้งั แต่ 5 ตนั ข้ึน ไปตอ้ งไปทาเป็นหนงั สือและจดทะเบียนซ้ือขาย กนั ณ ที่ว่าการอาเภอ และจดทะเบียนเปลี่ยน ใบอนุญาตและเปล่ียนช่ือเจา้ ของเรือต่อกรมการ ขนส่งทางน้าและพาณิชยน์ าวี (กรมเจา้ ท่าเดิม)

4. การซื้อขายแพ ต้องไปทาํ เป็ นหนังสือและ จดทะเบียนซื้อขายกนั ณ ทว่ี ่าการอาํ เภอ 5. การซื้อขายสัตว์พาหนะ ต้องไปทําเป็ น หนังสือและจดทะเบียนซื้อขายกัน ณ ที่ว่าการ อาํ เภอ

ค่าฤชาธรรมเนียมในการทาํ สัญญาซื้อขาย กฎหมายได้บัญญัติให้ผู้ซื้อและผู้ขายพึงออกใช้ เท่ากันท้ังสองฝ่ าย แต่คู่สัญญาจะตกลงกันให้ผู้ซื้อ หรือผู้ขายฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงเป็ นผู้ออกค่าฤชาธรรม เนียมท้ังสิ้นก็ได้ ไม่ทําให้นิติกรรมเป็ นโมฆะแต่ ประการใด

การโอนกรรมสิทธ์ิ 1. กรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินท่ขี ายน้ัน ย่อมโอนไปยังผู้ซื้อต้ังแต่ขณะเมื่อได้ทํา สัญญาซื้อขายกนั

2. ถ้าสัญญาซื้อขายมีเง่ือนไข หรือ เง่ือนเวลาบังคับไว้ กรรมสิทธ์ิใน ทรัพย์สินยังไม่โอนไปจนกว่าการจะ ได้เป็ นไปตามเงื่อนไข หรือถึงกาํ หนด เง่ือนเวลาน้ัน

3. ในการซ้ือขายทรัพยส์ ินซ่ึงมิไดก้ าหนดลง ไวแ้ น่นอน หรือทรัพยไ์ ม่เฉพาะสิ่งน้นั กรรมสิทธ์ิ ยงั ไม่โอนไป จนกวา่ จะไดห้ มาย หรือนบั ชง่ั ตวง วดั หรือคดั เลือก หรือทาโดยวิธีอ่ืนเพื่อให้บ่งตวั ทรัพยส์ ินน้นั ออกเป็นแน่นอนแลว้

4. ในการซ้ือขายทรัพยส์ ินเฉพาะส่ิง ถา้ ผขู้ าย ยงั จะตอ้ งนับ ช่ัง ตวง วดั หรือทาการอย่างอ่ืน หรือทาสิ่งหน่ึงส่ิงใดอนั เกี่ยวแก่ทรัพยส์ ินเพ่ือให้ รู้กาหนดราคาทรัพยส์ ินน้ันแน่นอนกรรมสิทธ์ิ ยงั ไม่โอนไปยงั ผซู้ ้ือจนกวา่ การหรือสิ่งน้นั ไดท้ า แลว้

ผลของการโอนกรรมสิทธ์ิ เมื่อกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีซ้ือขายโอนไป ยงั ผูซ้ ้ือแลว้ ภยั พิบตั ิที่เกิดข้ึนก็ตกเป็ นพบั แก่ผู้ ซ้ือ คือผซู้ ้ือจะตอ้ งรับผลแห่งภยั พิบตั ิน้นั เอง

หน้าทแี่ ละความรับผดิ ของผู้ขาย 1. การส่งมอบ 2. ความรับผดิ เพื่อชํารุดบกพร่อง 3. ความรับผดิ ในการรอนสิทธิ 4. ข้อสัญญาว่าจะไม่ต้องรับผดิ

วธิ ีส่งมอบ 1. ผซู้ ้ือจะมารับไปเอง หรือผขู้ ายจะตอ้ งนาไปส่งใหแ้ ก่ผซู้ ้ือ กไ็ ดแ้ ลว้ แต่จะตกลงกนั ไวใ้ นสญั ญา 2. ในกรณีที่ไม่มีขอ้ ตกลงระหว่างผูซ้ ้ือกบั ผูข้ าย ถา้ เป็ น ทรัพยเ์ ฉพาะส่ิง ผูข้ ายมีหน้าที่ส่งมอบให้แก่ผูซ้ ้ือ ณ สถานท่ี ๆ ทรัพยส์ ินน้ันได้อยู่ในขณะท่ีทาสัญญาซ้ือขาย ถ้าไม่ใช่ทรัพย์ เฉพาะส่ิงตอ้ งส่งมอบใหแ้ ก่ผซู้ ้ือ ณ ภูมิลาเนาปัจจุบนั ของผซู้ ้ือ

3. ถ้าในสัญญากาํ หนดว่าให้ส่งทรัพย์สิน ซึ่งขายน้ันจากทแ่ี ห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหน่ึง แล้วการส่ งมอบย่อมสําเร็จเมื่อได้ส่ งมอบ ทรัพย์สินให้ แก่ผู้ขนส่ ง

การส่ งมอบโดยปริยาย 1. ผู้ขายได้กระทําการอันเป็ นผลให้ผู้ซื้ออยู่ในฐานะเป็ นผู้ ครอบครอง เช่น ซื้อบ้านผู้ขายกม็ อบกญุ แจบ้านให้ 2. ในกรณีที่ทรัพย์สินที่ซื้อขายอยู่ในความครอบครองของ บุคคลภายนอก และผู้ขายส่ังให้บุคคลภายนอกน้ันแสดงเจตนาว่า จะครอบครองทรัพย์สินน้ันต่อไปแทนผู้ซื้อกไ็ ด้

3. ในกรณที ี่ทรัพย์สินที่ซื้อขายอยู่ ในความครอบครองของผู้ซื้ออยู่แล้ว ขณะทําการซื้อขาย ผู้ขายก็ไม่ต้องส่ง มอบอกี

ค่าขนส่ งทรัพย์สินที่ซื้อขาย ค่าขนส่งทรัพย์สินท่ีซื้อขายน้ัน ผู้ซื้อและผู้ขายจะตก ลงกันให้ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเป็ นผู้ออกก็ได้ ถ้าไม่ได้ตกลงกัน แล้ว ผู้ขายต้องเป็ นผู้ออกค่าขนส่ง แต่ค่าขนส่งทรัพย์สิน ไปยังท่ีแห่งอื่นนอกจากสถานที่อันพึงชําระหนี้น้ัน ผู้ซื้อ ต้องเป็ นผู้ออกค่าขนส่ง

การส่งมอบทรัพย์สินไม่ตรงจํานวนทร่ี ะบุไว้ในสัญญา 1. การซื้อขายสังหาริมทรัพย์ 1.1 ถ้าผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินน้อยกว่าทไ่ี ด้สัญญากนั ไว้ ผู้ซื้อ มสี ิทธิ (1) บอกปัดไม่รับเอาเลยกไ็ ด้ หรือ (2) ถ้าผู้ซื้อรับเอาทรัพย์สินน้ันไว้ ซื้อกต็ ้องใช้ราคาตามส่วน

1.2 ถ้าผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินมากกว่าทไ่ี ด้ สัญญากนั ไว้ ผู้ซื้อย่อมมสี ิทธิ (1) รับเอาทรัพย์สินน้ันไว้เพยี งตามสัญญา หรือ (2) บอกปัดไม่รับเอาไว้เลย หรือ (3) รับเอาไว้ท้งั หมดโดยใช้ราคาตามส่วนกไ็ ด้

1.3 ถ้าผู้ขายส่ งมอบทรัพย์สินตามท่ีได้ สั ญ ญ า ไ ว้ ร ะ ค น ป น กับ ท รั พ ย์ สิ น อ ย่ า ง อื่ น ท่ี ไม่ได้ระบุไว้ในสัญญา ผู้ซื้อย่อมมสี ิทธิ (1) รับเอาทรัพย์สินไว้ตามสัญญา หรือ (2) บอกปัดไม่รับเอาไว้เลยกไ็ ด้

2. การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ 2.1 ถ้าได้ระบุจํานวนเนื้อที่ท้ังหมดไว้ และผู้ขายส่ ง มอบทรัพย์สินน้อยหรือมากกว่าท่ีได้สัญญา ผู้ซื้อย่อมมี สิทธิ (1) บอกปัดไม่รับเอาไว้ หรือ (2) รับเอาไว้และใช้ราคาตามส่วน

2.2 ถ้าผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินน้อยหรือมากกว่า ที่ได้สัญญาไม่เกินกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนเนื้อท่ี ท้ังหมด ผู้ซื้อจะต้องรับเอาไว้และใช้ราคาตามส่วน แต่ ถ้ าผู้ขายส่ งมอบน้ อยหรื อมากกว่ าที่ได้ สั ญญาถึง ขนาดซึ่งหากผู้ซื้อได้ทราบก่อนแล้ว คงจะมิได้เข้าทาํ สัญญาน้ัน เช่นนีผ้ ู้ซื้อมสี ิทธิเลกิ สัญญาเสียได้

อายคุ วามฟ้องคดี ในข้อรับผิดเพื่อการท่ีทรัพย์ขาดตก บกพร่องหรือล้าจานวนน้นั ห้ามมิให้ฟ้อง คดีเมื่อพน้ กาหนด 1 ปี นบั แต่เวลาส่งมอบ

ความรับผดิ เพื่อชํารุดบกพร่อง ผู้ ข า ย จ ะ ต้ อ ง รั บ ผิด ใ น ก ร ณี ท่ี ท รั พย์ สิ น ซึ่ ง ข า ย น้ั น ชํารุดบกพร่องในกรณดี งั ต่อไปนี้ 1. ชํารุดบกพร่องอนั เป็ นเหตุให้เส่ือมราคา 2. ชํารุดบกพร่องอนั เป็ นเหตุให้เส่ือมความเหมาะสม แก่ประโยชน์อันมุ่งจะใช้เป็ นปกติ หรือประโยชน์ที่มุ่ง หมายโดยสัญญา

ข้อยกเว้นไม่ต้องรับผดิ 1. ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้วในเวลาซื้อขายว่ามีความชํารุด บกพร่อง หรือควรจะได้รู้เช่นน้ันหากได้ใช้ความระมัดระวงั อนั จะพงึ คาดหมายได้แก่วญิ ญูชน 2. ถ้าความชํารุดบกพร่องน้ันเป็ นอันเห็นประจกั ษ์แล้วใน เวลาส่งมอบ และผู้ซื้อรับเอาทรัพย์สินน้ันไว้โดยมไิ ด้อดิ เอือ้ น 3. ถ้าทรัพย์สินน้ันได้ขายทอดตลาด

อายุความฟ้องคดี ในข้อรับผิดเพ่ือชํารุดบกพร่ องน้ัน ห้ามมิให้ฟ้องคดีเม่ือพ้นเวลา 1 ปี นับแต่ เวลาทไี่ ด้พบเห็นความชํารุดบกพร่อง

ความรับผดิ ในการรอนสิทธิ การรอนสิ ทธิคือการท่ีผู้ซื้ อถูก ร บ ก ว น ขั ด สิ ท ธิ ไ ม่ ส า ม า ร ถ จ ะ ครอบครองหรื อใช้ ทรั พย์ สิ นได้ อย่ าง ปกตสิ ุข

ผู้ขายจะต้องรับผิดในการรอนสิทธิเมื่อมีบุคคล ใดมารบกวนขัดสิทธิของผู้ซื้อ ในอันจะครอบครอง ทรัพย์สินโดยปกตสิ ุขดงั นี้ 1. เพราะผู้รบกวนขัดสิทธิ มีสิทธิเหนือทรัพย์สินท่ี ซื้อขายกนั อยู่ในเวลาซื้อขาย หรือ 2. มผี ู้รบกวนขดั สิทธิ เพราะความผดิ ของผู้ขาย

ถ้าสิทธิของผู้ก่อการรบกวน น้ันผู้ซื้อรู้แล้วในเวลาซื้อขาย ผู้ขายไม่ต้องรับผดิ ในการรอน สิทธิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook