Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติงาน กศน.แขวงจรเข้บัว 2562

แผนปฏิบัติงาน กศน.แขวงจรเข้บัว 2562

Published by phuwintanamai, 2019-06-26 00:09:05

Description: แผนปฏิบัติงาน กศน.แขวงจรเข้บัว 2562

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ 2562 กศน.แขวงจรเขบ้ ัว ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตลาดพรา้ ว สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยกรงุ เทพมหานคร สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

บันทึกความเห็นชอบคณะกรรมการ กศน.แขวงจรเข้บัว จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี2562 คณะกรรมการ มีการประชุมเพ่ืออนุมัติเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจาปี 2562 ของ กศน.แขวงจรเข้บัวและมีความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะดงั น้ี  เหน็ ชอบอนุมตั ิแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2562 ของ กศน.แขวงจรเข้บัว  ไม่เหน็ ชอบ เนือ่ งจาก......................................................................................... ลงช่ือ..............................................ประธานกรรมการ กศน.ตาบล (..........................................................) ลงชือ่ .............................................กรรมการ ลงช่อื ..........................................กรรมการ (..........................................................) (..........................................................) ลงชอ่ื .............................................กรรมการ ลงช่อื ..........................................กรรมการ (..........................................................) (..........................................................) ลงชื่อ..............................................กรรมการและเลขานุการ (..........................................................)

คานา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพร้าว ในฐานะสถานศกึ ษาท่ที าหน้าท่ีในการส่งเสรมิ สนับสนุน และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้นา เอานโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน ของสานักงาน กศน. ปี 2562 มาวิเคราะห์สู่การปฏิบัติในพื้นท่ี ตามศักยภาพ และเป้าหมายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา คือ “มุ่งพัฒนาให้ประชาชนได้รับการศึกษา ตลอดชวี ติ และการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทา ทุกทที่ กุ โอกาสอย่างทัว่ ถึงและเท่าเทียมกัน มีความรู้คู่คุณธรรม บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิดสังคมฐานความรู้และมีอาชีพอย่างย่ังยืน” เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนและ ผรู้ ับบรกิ ารมี อัตลกั ษณ์ ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด คอื “เรียนรู้ ค่คู ุณธรรม ” จึงไดด้ าเนินการจดั ทาแผนปฏิบัติ การ ประจาปงี บประมาณ 2562 เพื่อให้สอดคล้องกับห้วงระยะเวลา งบประมาณที่ได้รับ และการประกาศให้ใช้ มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จานวน 3 มาตรฐาน 26 ตัวบ่งช้ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพร้าว จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปงี บประมาณ 2562 โดยปรบั ตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งานจัด ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กรุงเทพมหานคร มาเป็นกรอบทิศทางในการดาเนินงานของสถานศึกษาให้สามารถดาเนินงานบรรลุผล ตามเปา้ ประสงค์และวิสยั ทัศน์ทกี่ าหนดไว้ จงึ หวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ เอกสารเล่มนจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การดาเนินงาน การศึกษานอกโรงเรยี นและผูเ้ ก่ียวข้องต่อไป กศน.แขวงจรเข้บัว

สารบญั เรอื่ ง หนา้ คานา ก สารบญั ข ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพืน้ ฐานการวางแผน 1 2 - สภาพทางกายภาพของชุมชน แขวงจรเขบ้ วั 5 - สภาพทางสงั คม/ประชากร/สภาพทางเศรษฐกิจ 8 - แหล่งวิทยากรชมุ ชนและทุนด้านงบประมาณ 10 สว่ นท่ี 2 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอกแขวง (SWOT Analysis) 11 - การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 14 - การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก 16 ส่วนท่ี 3 แนวทาง/กลยทุ ธ์การดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ของแขวงจรเข้บวั 17 - วสิ ัยทศั น์/พันธกิจ/อตั ลกั ษณ์/เอกลักษณ/์ กลยุทธ์ 18 - แนวทางการจดั การศึกษา 20 สวนที่ 4 แผนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สาหรบั กลุ่มเป้าหมาย 21 - แผนปฏิบัติงาน ของ กศน.แขวงจระเขบ้ วั ประจาปงี บประมาณ 2562 23 - โครงสร้างศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เขตลาดพรา้ ว 24 - จานวนผเู้ รยี น ผูร้ บั บรกิ าร จานวนผ้เู ขา้ สอบ 25 ภาคผนวก ก รา่ ง ยทุ ธศาสตร์แลจุดเนน้ การดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 2562 26 - ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ 20 ปี 33 - แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบบั ท่ี 12 (2560-2564) 38 ภาคผนวก ข โครงการ/กิจกรรม/หลกั สตู ร 39 - โครงการศึกษาประวัตศิ าสตร์ ศิลปวฒั นธรรม กรงุ เทพมหานคร 44 - โครงการอบรมหลักสูตรปอ้ งกันอคั คภี ยั 49 - โครงการหลกั สูตรเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง 54 - โครงการอบรมเรียนรู้ Google classroom สาหรบั ครูผู้สอน 60 - โครงการจดั แสดงผลงานเชิงวิชาการและนาเสนอโครงงานของนกั ศกึ ษา 64 ประจาภาคเรยี นท่ี 2/2561 69 - หลกั สตู รการศึกษาต่อเนอื่ ง วิชาชพี อาหารมงั สวริ ัติเพ่ือสุขภาพ 74 - หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนื่อง วชิ าชพี ขนมไทย 78 - หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่อง วชิ าชีพตดั เยบ็ เสอื้ ผ้าพ้ืนฐาน - หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอื่ ง วิชาชพี ออกแบบเสื้อผา้ สตรี

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐานเพื่อการวางแผน กศน.แขวงจรเขบ้ ัว 1

บันทึกความเห็นชอบคณะกรรมการ กศน.แขวงจรเข้บัว จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี2562 คณะกรรมการ มีการประชุมเพ่ืออนุมัติเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจาปี 2562 ของ กศน.แขวงจรเข้บัวและมีความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะดงั น้ี  เหน็ ชอบอนุมตั ิแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2562 ของ กศน.แขวงจรเข้บัว  ไม่เหน็ ชอบ เนือ่ งจาก......................................................................................... ลงช่ือ..............................................ประธานกรรมการ กศน.ตาบล (..........................................................) ลงชือ่ .............................................กรรมการ ลงช่อื ..........................................กรรมการ (..........................................................) (..........................................................) ลงชอ่ื .............................................กรรมการ ลงช่อื ..........................................กรรมการ (..........................................................) (..........................................................) ลงชื่อ..............................................กรรมการและเลขานุการ (..........................................................)

คานา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพร้าว ในฐานะสถานศกึ ษาท่ที าหน้าท่ีในการส่งเสรมิ สนับสนุน และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้นา เอานโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน ของสานักงาน กศน. ปี 2562 มาวิเคราะห์สู่การปฏิบัติในพื้นท่ี ตามศักยภาพ และเป้าหมายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา คือ “มุ่งพัฒนาให้ประชาชนได้รับการศึกษา ตลอดชวี ติ และการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทา ทุกทที่ กุ โอกาสอย่างทัว่ ถึงและเท่าเทียมกัน มีความรู้คู่คุณธรรม บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิดสังคมฐานความรู้และมีอาชีพอย่างย่ังยืน” เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนและ ผรู้ ับบรกิ ารมี อัตลกั ษณ์ ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด คอื “เรียนรู้ ค่คู ุณธรรม ” จึงไดด้ าเนินการจดั ทาแผนปฏิบัติ การ ประจาปงี บประมาณ 2562 เพื่อให้สอดคล้องกับห้วงระยะเวลา งบประมาณที่ได้รับ และการประกาศให้ใช้ มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จานวน 3 มาตรฐาน 26 ตัวบ่งช้ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพร้าว จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปงี บประมาณ 2562 โดยปรบั ตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งานจัด ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กรุงเทพมหานคร มาเป็นกรอบทิศทางในการดาเนินงานของสถานศึกษาให้สามารถดาเนินงานบรรลุผล ตามเปา้ ประสงค์และวิสยั ทัศน์ทกี่ าหนดไว้ จงึ หวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ เอกสารเล่มนจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การดาเนินงาน การศึกษานอกโรงเรยี นและผูเ้ ก่ียวข้องต่อไป กศน.แขวงจรเข้บัว

สารบญั เรอื่ ง หนา้ คานา ก สารบญั ข ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพืน้ ฐานการวางแผน 1 2 - สภาพทางกายภาพของชุมชน แขวงจรเขบ้ วั 5 - สภาพทางสงั คม/ประชากร/สภาพทางเศรษฐกิจ 8 - แหล่งวิทยากรชมุ ชนและทุนด้านงบประมาณ 10 สว่ นท่ี 2 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอกแขวง (SWOT Analysis) 11 - การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 14 - การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก 16 ส่วนท่ี 3 แนวทาง/กลยทุ ธ์การดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ของแขวงจรเข้บวั 17 - วสิ ัยทศั น์/พันธกิจ/อตั ลกั ษณ์/เอกลักษณ/์ กลยุทธ์ 18 - แนวทางการจดั การศึกษา 20 สวนที่ 4 แผนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สาหรบั กลุ่มเป้าหมาย 21 - แผนปฏิบัติงาน ของ กศน.แขวงจระเขบ้ วั ประจาปงี บประมาณ 2562 23 - โครงสร้างศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เขตลาดพรา้ ว 24 - จานวนผเู้ รยี น ผูร้ บั บรกิ าร จานวนผ้เู ขา้ สอบ 25 ภาคผนวก ก รา่ ง ยทุ ธศาสตร์แลจุดเนน้ การดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 2562 26 - ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ 20 ปี 33 - แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบบั ท่ี 12 (2560-2564) 38 ภาคผนวก ข โครงการ/กิจกรรม/หลกั สตู ร 39 - โครงการศึกษาประวัตศิ าสตร์ ศิลปวฒั นธรรม กรงุ เทพมหานคร 44 - โครงการอบรมหลักสูตรปอ้ งกันอคั คภี ยั 49 - โครงการหลกั สูตรเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง 54 - โครงการอบรมเรียนรู้ Google classroom สาหรบั ครูผู้สอน 60 - โครงการจดั แสดงผลงานเชิงวิชาการและนาเสนอโครงงานของนกั ศกึ ษา 64 ประจาภาคเรยี นท่ี 2/2561 69 - หลกั สตู รการศึกษาต่อเนอื่ ง วิชาชพี อาหารมงั สวริ ัติเพ่ือสุขภาพ 74 - หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนื่อง วชิ าชพี ขนมไทย 78 - หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่อง วชิ าชีพตดั เยบ็ เสอื้ ผ้าพ้ืนฐาน - หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอื่ ง วิชาชพี ออกแบบเสื้อผา้ สตรี

การวางแผนปฏิบตั ิงานในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ของ กศน.แขวงจรเข้บัว สังกดั กศน.เขตลาดพรา้ ว สานักงาน กศน.กทม. ปีงบประมาณ 2562 กศน.แขวงจรเขบ้ ัว เขตลาดพร้าว จงั หวดั กรุงเทพมหานคร ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู พ้นื ฐานเพอื่ การวางแผน 1. สภาพทางกายภาพของชุมชน แขวงจรเข้บวั 1.1 ขนาดพืน้ ที่ ที่ตง้ั และอาณาเขตตดิ ตอ่ เขตลาดพร้าวตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพมหานคร มีอาณาเขตตามประกา ศ กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2553 โดยมีผลประกาศวันท่ี 11 มีนาคม 2545 ปัจจุบันมีเน้ือท่ีทั้งหมด รวม 21.362 ตารางกิโลเมตร ดงั น้ี ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับเขตบางเขน โดยใชฝ้ งั่ ทิศเหนอื ของคลองหลุมไผ่ คลองสามขา คลองโคกครามและคลองตา เร่ง เปน็ แบง่ เขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบึงกุ่ม เขตบางกะปิ เขตวังทองหลาง โดยใช้ถนนประดิษฐ์มนูธรรมเป็นเส้นกําหนดแบ่ง เขต เริ่มต้ังแต่ถนนประดิษฐ์มนูธรรมตัดกับ คลองตาเร่งฝ่ังตะวันออก โดยมีผิวการจราจรของถนน ประดิษฐ์มนูธรรมขาเข้าจรดขอบฟุตบาทฝั่งตะวันออก อยู่ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสํานักงานเขต ลาดพรา้ ว เร่ือยไปจนถึงแนวซอยสงั คมสงเคราะห์ ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับเขตวังทองหลาง เขตหว้ ยขวาง โดยใช้ซอยสงั คมสงเคราะหเ์ ปน็ เส้นกําหนดแบ่งเขตตั้งแต่ริม ฟตุ บาทฝัง่ ตะวันออกของถนนประดิษฐม์ นูธรรม ข้ามถนนประดษิ ฐม์ นธู รรม เข้าซอยสังคมสงเคราะห์ ฝ่ังด้านเหนือของซอย (ผิวทางจราจรอยู่ในความรับผิดชอบของสํานักงานเขต วังทองหลาง ) เรื่อยไปจนจรดซอยโชคชัย 4 ฝั่งตะวันออก ไปทางทิศเหนือ ตามแนวขอบทางซอยโชคชัย 4 ฝั่ง ตะวันออกบรรจบกับคลองทรงกระเทียมฝัง่ เหนือไปทางทิศตะวนั ตก ตามแนวคลองทรงกระเทียม ฝั่ง เหนอื บรรจบกับคลองลาดพร้าวฝ่งั ตะวันออก กศน.แขวงจรเขบ้ ัว 2

ทศิ ตะวนั ตก ติดกับเขตจตุจักร โดยใช้ชายคลองลาดพร้าวฝั่งตะวันออกเป็นเส้นกําหนดแบ่ง เริ่มต้ังแต่ปากคลอง ทรงกระเทียมฝั่งเหนือ (ใกล้สะพานคลองลาดพร้าว ภายในวัดลาดพร้าว) เลียบชายคลองลาดพร้าว ฝัง่ ตะวนั ออกข้ึนไปทางทิศเหนือจรดปากคลองหลุมไผฝ่ งั่ เหนือ จานวนชุมชน 9 ชุมชน ท่ี ชื่อชุมชน ประเภท บ้าน ชอ่ื ประธานชุมชน กรรม ชุมชน (หลัง ) การ แขวงจรเขบ้ ัว 1 หมู่บา้ นราณี 2 จดั สรร 333 นายบนั เทงิ อังกลุ ดี 12 2 หมบู่ า้ นเนยี มกล่าํ สามัคคี ชานเมือง 269 นายวัชรี กาญจนประทุม 17 3 หมู่บ้านเจริญสุข 4 จัดสรร 160 นางทับทมิ อธิคมไตรรัตน์ 9 4 หมู่บ้านธันยกานต์ จัดสรร 201 นางสาววิกานดา สังวรราชทรพั ย์ 7 5 หมบู่ ้านเพชรหทัย จัดสรร 54 นายสมเกยี รติ องคว์ เิ ศษไพบลู ย์ 7 6 หมู่บา้ นเสนานเิ วศน์ 1 จดั สรร 1,740 พล.อ.ท.นิยม นาคะนคร 25 7 ซอยลาดปลาเคา้ 24 ชานเมอื ง 110 นางนภาพร ศรีอนิ ทร์ 7 8 หม่บู ้านเสนานิเวศน์ 2 จดั สรร 1,112 นางสุพรรณี สขุ สวสั ด์ิ 25 9 หมบู่ ้านเรือนแกว้ จดั สรร 127 นายสมบตั ิ อิสระนกุ ุล 7 สภาพการใชพ้ ้ืนที่ จาํ นวน 137 หมบุ่ ้าน 1. หมู่บ้านจดั สรร จาํ นวน 35 แห่ง 2. คอนโดมิเนยี ม จํานวน 2,254 ไร่ 3. ชมุ ชน จํานวน 394 ไร่ 4. พน้ื ที่เกษตรกรรม จํานวน 2625 ไร่ 5. พื้นทวี่ า่ ง กศน.แขวงจรเข้บัว 3

1.2 โครงสร้างพนื้ ฐาน การคมนาคมตดิ ต่อสอื่ สาร ในปจั จุบันเสน้ ทางคมนาคมขนสง่ ทีส่ ําคญั ของเขตลาดพร้าว คือถนนภายในพ้ืนที่เขต มีท้ังถนนสายหลัก ถนน ซอย ตลอดทางด่วนพิเศษ และมีแนวโครงการระบบขนส่งมวลชนภายในเขตด้วย 1.ถนนสายหลัก 4 หลัก คอื 1.1 ถนนลาดพร้าว เป็นถนนสายหลักท่ีสําคัญผ่านพ้ืนท่ีเขต และมีเส้นทางที่เป็นถนนสายรองและ เชื่อมต่อกับพื้นท่ีภายในเขต สามารถเข้าพ้ืนที่ลาดพร้าวซอยโชคชัย 4 หรือว่ิงผ่านโชคชัย 4 ไปตัดเข้าถนนราม อินทราได้ โดยมีจุดเรม่ิ ตน้ ท่ถี นนพหลโยธนิ ไปสิ้นสดุ ท่ีส่แี ยกบางกะปิ 1.2 ถนนประดิษฐ์มนูธรรมมีความยาว 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากปลายซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย) ใน พ้ืนที่เขตห้วยขวาง มุ่งเหนือค่อนตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดผ่านถนนพระราม 9 ข้ามคลองลาดพร้าวเข้าสู่พ้ืนท่ีเขตวัง ทองหลาง ตัดกับถนนประชาอุทิศ (ณ ส่ีแยกประชาธรรม) และถนนลาดพร้าว ข้ามคลองทรงกระเทียมเข้าสู่เขต ลาดพร้าว (ฟากตะวันออกของถนนกลายเป็นเส้นแบ่งเขตปกครองระหว่างเขตลาดพร้าวกับเขตวังทองหลาง เขตบาง กะปิ และเขตบงึ กมุ่ ) 1.3 ถนนพระราม 9 เป็นถนนสายสําคญั ที่สามารถตดั ผา่ นมาถนนรามอินทราเพื่อเข้าเขตลาดพร้าว ท่ี ซอยลาดพรา้ ว 71 และ ถนนสุคนธสวัสด์ิ 1.4 ถนนประเสริฐมนูกิจ (เกษตร-นวมินทร์) ข้ามคลองโคกครามเข้าสู่พ้ืนที่เขตบางเขน และไป สิ้นสุดเส้นทางทถ่ี นนรามอินทราบรเิ วณกโิ ลเมตรที่ 5.5 (ใกล้แยกวัชรพล) ถนนมีความกว้าง 6 ช่องจราจร (ขาเข้าและ ขาออกอย่างละ 3 ชอ่ งจราจร) มีเกาะกลางถนน โดยมีทางด่วนยกระดับอยู่บนเกาะกลางถนนช่วงตั้งแต่รามอินทราถึง พระราม 9 กล่าวได้ว่าถนนสายน้ี ขนานขนาบทางด่วน ชาวบ้านจึงมักเรียกว่า \"ถนนเลียบทางด่วนรามอินทรา\" มีสะพานลอยรถข้ามทางแยกบริเวณจดุ ตัดถนนลาดพรา้ วและถนนเกษตร- นวมินทร์ด้วย ถนนสายนี้ยังมีทางจักรยาน ขนานไปกับทางเท้าริมถนน เป็นตัวอย่างที่ดีของการออกแบบถนนสายใหม่ในกรุงเทพฯ และเมืองต่าง ๆ สองข้างทาง ปลกู ตน้ ไมห้ ลายชนิดใหค้ วามสวยงามร่มร่นื เช่น ต้นปาล์มน้ํามันที่ปลูกเป็นทิวแถวเรียงรายไปตามทางเท้าริมถนน ถัด จากแถวต้นปาล์มก็จะมีแนวต้นประดู่อยู่ริมทางจักรยานอีกด้วย ปัจจุบันมีร้านอาหารแบบสวนอาหารต้ังอยู่เรียงราย ตลอดแนวถนน โดยเฉพาะบริเวณใกลจ้ ุดตัดถนนเกษตร-นวมินทร์ ซ่ึงมีบรรยากาศแบบชายทุ่งชานเมือง ปัจจุบันเป็น ทาํ เลทองทไี่ มไ่ กลจากใจกลางเมือง กศน.แขวงจรเข้บัว 4

2. สภาพทางสังคม/ประชากร 2.1 จานวนครัวเรอื น จานวนประชากร จาแนกตามเพศ กลมุ่ อายุ ศาสนา ชาตพิ ันธ์ุ ระดบั การศึกษา ขอ้ มูลประชากรเขต กศน.แขวงจรเขบ้ ัว ดงั นี้ แขวง จานวนราษฎร รวม จานวนบา้ น จรเขบ้ วั ชาย หญิง 27,222 (หลัง ) 12,272 14,950 10,222 1. ชุมชนหมู่บ้านธนั ยกานต์ ทีต่ ั้ง 1/185 แขวงจรเข้บัว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร จดั ตงั้ เม่ือ 8 มกราคม 2541 พน้ื ท่ี 14 ไร่ ประชากร จาํ นวนประชากร 467 คน เป็นชาย 230 คน เปน็ หญงิ 237 คน จาํ นวนหลังคาเรือน 201 หลังคาเรอื น จํานวนครอบครวั 145 ครอบครวั อาชีพ ประชาชนประกอบอาชพี รับจ้าง ทาํ นา รับราชการ รฐั วิสาหกจิ และคา้ ขายธรุ กิจส่วนตวั ตามลาํ ดับ ศาสนา ส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาพุทธ การศกึ ษา ประชาชนส่วนใหญจ่ บระดบั ประถมศกึ ษา นอกจากนนั้ จบระดบั มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอดุ มศึกษาตามลําดับ สภาพเศรษฐกจิ ประชาชนส่วนใหญม่ ีฐานะทางเศรษฐกจิ ระดบั กลาง - ดีมาก 2. ชมุ ชนหมู่บา้ นเนียมกล่าสามัคคี ทต่ี ้ัง ซอยประเสริฐมนูกจิ 29 แยก 8 แขวงจรเขบ้ ัว เขตลาดพร้าว กรงุ เทพมหานคร ประชากร จํานวนประชากร 1,470 คน แบ่งเปน็ ชาย 663 คน หญงิ 744 คน จาํ นวนหลังคาเรอื น 663 หลงั คาเรือน จํานวนครอบครวั 393 ครอบครัว อาชีพ ประชาชนประกอบอาชีพส่วนตัว รบั จา้ ง รับราชการ พนกั งานรัฐวสิ าหกจิ ค้าขายและ ธุรกิจสว่ นตวั ศาสนา ส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาพุทธ การศึกษา ประชาชนสว่ นใหญจ่ บระดบั ประถมศึกษา ปวช. ปวส. และปรญิ ญาตรี สภาพเศรษฐกจิ ประชาชนส่วนใหญม่ ฐี านะทางเศรษฐกจิ ระดบั กลาง - ดมี าก กศน.แขวงจรเข้บวั 5

3. ชมุ ชนหมู่บา้ นเจริญสขุ 4 ทต่ี ง้ั ซอยประเสริฐมนูกิจ 19 แขวงจรเขบ้ วั เขตลาดพรา้ ว กรุงเทพมหานคร พน้ื ที่ 24 ไร่ ประชากร จาํ นวนประชากร 540 คน เป็นชาย 245 คน เป็นหญิง 295 คน จํานวนหลงั คาเรอื น 160 หลงั คาเรือน จาํ นวนครอบครวั 179 ครอบครัว อาชีพ ประชาชนประกอบอาชีพรับจ้างท่ัวไป รับราชการ รฐั วิสาหกจิ คา้ ขายธุรกิจส่วนตัว ศาสนา ส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาพุทธ การศกึ ษา ประชาชนสว่ นใหญจ่ บระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช. ปวส. และปรญิ ญาตรี สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนสว่ นใหญ่มีฐานะทางเศรษฐกจิ ระดับกลาง - ดมี าก 4. ชมุ ชนหมู่บา้ นเพชรหทัย ทต่ี งั้ ซอยรามอนิ ทรา 8 แยก 214 แขวงจรเข้บวั เขตลาดพรา้ ว กรุงเทพมหานคร พืน้ ท่ี 5 ไร่ ประชากร จาํ นวนประชากร 166 คน เปน็ ชาย 77 คน เป็นหญงิ 89 คน จํานวนหลงั คาเรอื น 80 หลังคาเรอื น ศาสนา ส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาพทุ ธ อาชพี ประชาชนประกอบอาชีพรบั จ้างทว่ั ไป รบั ราชการ รฐั วสิ าหกจิ คา้ ขายธุรกจิ สว่ นตัว ศาสนา สว่ นใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ การศกึ ษา ประชาชนสว่ นใหญ่จบระดับประถมศึกษา มธั ยมศึกษา ปวช. ปวส. และปริญญาตรี สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนสว่ นใหญ่มฐี านะทางเศรษฐกจิ ระดบั กลาง - ดมี าก 5. ชมุ ชนหมู่บา้ นเสนานเิ วศน์ โครงการ 1 ที่ตงั้ ถนนเสนานิคม 1(หม่บู ้านเสนานเิ วศน์ โครงการ 1) แขวงจรเขบ้ วั เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ พื้นท่ี 450 ไร่ ประชากร จาํ นวนประชากร 3,941 คน เป็นชาย 1,790 คน เปน็ หญิง 2,151 คน จาํ นวนหลงั คาเรือน 1,790 หลังคาเรือน ศาสนา สว่ นใหญน่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธ อาชพี ประชาชนประกอบอาชีพรบั จ้างท่ัวไป รับราชการ รฐั วสิ าหกิจ คา้ ขายธุรกิจสว่ นตวั ศาสนา สว่ นใหญ่นับถือศาสนาพทุ ธ การศกึ ษา ประชาชนส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช. ปวส. และปริญญาตรี สภาพเศรษฐกจิ ประชาชนสว่ นใหญม่ ฐี านะทางเศรษฐกิจระดบั กลาง - ดมี าก กศน.แขวงจรเข้บวั 6

6. ชุมชนหมู่บา้ นราณี 2 ทต่ี ้ัง ซอยลาดปลาเค้า 42 แขวงจรเข้บัว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร พ้ืนท่ี 20 ไร่ สว่ นใหญม่ บี ้านและที่ดินเปน็ ของตนเอง ประชากร จาํ นวนประชากร 882 คน เป็นชาย 410 คน เปน็ หญิง 472 คน จํานวนหลังคาเรอื น 333 หลงั คาเรือน จาํ นวนครอบครวั 280 ครอบครัว อาชพี ประชาชนประกอบอาชีพรบั จ้าง ค้าขาย รบั ราชการ พนักงานรฐั วิสาหกิจ ตามลาํ ดับ ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ การศึกษา ประชาชนส่วนใหญ่จบระดบั ประถมศึกษา นอกจากนนั้ จบระดับมัธยมศึกษา อาชีวศกึ ษา และปริญญาตรี ตามลาํ ดบั สภาพเศรษฐกจิ ประชาชนสว่ นใหญม่ ีฐานะทางเศรษฐกิจระดบั กลาง - ดีมาก 7. ชมุ ชนหมู่บ้านลาดปลาเค้า 24 ทต่ี ัง้ ซอยลาดปลาเค้า 24 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพรา้ ว กรุงเทพมหานคร พ้นื ที่ 25 ไร่ ประชากร จาํ นวนประชากร 110 คน ชาย 207 หญิง 210 คน จํานวนหลังคาเรือน 417 หลังคาเรือน อาชพี ประชาชนประกอบอาชีพรับราชการ อาชีพสว่ นตัว พนักงานรฐั วสิ าหกิจ ห้างรา้ น บรษิ ัท ศาสนา ส่วนใหญน่ ับถือศาสนาพทุ ธ การศกึ ษา ประชาชนสว่ นใหญจ่ บระดับประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา ปวช. ปวส. และปรญิ ญาตรี สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะทางเศรษฐกจิ ระดบั กลาง - ดมี าก 8. ชุมชนหมู่บ้านเจรญิ สขุ 4 ท่ีตัง้ 88/12 ซอยเสนานคิ ม 1 แขวงจรเขบ้ ัว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร พ้นื ท่ี 28 ไร่ ประชากร จาํ นวนประชากร 585 คน ชาย 290 หญิง 295 คน จํานวนหลงั คาเรอื น 123 หลงั คาเรือน จาํ นวนครอบครัว 128 ครอบครวั อาชีพ ประชาชนประกอบอาชีพรบั ราชการ อาชพี สว่ นตัว พนักงานรฐั วสิ าหกจิ หา้ งรา้ น บรษิ ัท ศาสนา ส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาพุทธ การศกึ ษา ประชาชนส่วนใหญจ่ บระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา ปวช. ปวส. และปรญิ ญาตรี สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญม่ ฐี านะทางเศรษฐกิจระดบั กลาง - ดีมาก กศน.แขวงจรเข้บวั 7

9. ชมุ ชนหมู่บา้ นเรือนแกว้ ท่ีต้ัง ซอยลาดปลาเค้า 50 แขวงจรเข้บัว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร พ้นื ที่ 16 ไร่ ประชากร จํานวนประชากร 462 คน ชาย 204 หญงิ 258 คน จํานวนหลังคาเรือน 127 หลังคาเรือน จํานวนครอบครวั 113 ครอบครัว อาชพี ประชาชนประกอบอาชีพรับราชการ อาชีพส่วนตวั พนกั งานรฐั วิสาหกจิ หา้ งรา้ น บรษิ ัท ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพทุ ธ การศึกษา ประชาชนส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช. ปวส. และปริญญาตรี สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนสว่ นใหญม่ ีฐานะทางเศรษฐกจิ ระดบั กลาง - ดมี าก 3. สภาพทางเศรษฐกจิ 3.1 โครงสร้างฐานอาชีพของชุมชน/รายไดเ้ ฉลี่ยของประชากร ประชากรในเเขวงจรเข้บัว ประกอบอาชีพรับจ้าง ค้าขาย รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และ ธุรกิจส่วนตัว ปัจจุบันมีการเพิ่มขึ้นของประชากรในอัตราสูงความต้องการพื้นที่เพ่ือการอยู่อาศัยและประกอบกิจการ ด้านพาณิชยกรรมมากข้ึนตามลําดับ มีการลดพ้ืนท่ีการเกษตรและมีการขยายตัวของพ้ืนท่ีอยู่อาศัยและสถาน ประกอบการมากขึ้น อาชพี หลกั ของประชากรจึงเปน็ อาชีพรับจ้าง ค้าขาย รับราชการ และพนักงานองค์กรของรัฐ และเอกชน ฯลฯ 4. แหลง่ วทิ ยากรชมุ ชนและทุนด้านงบประมาณท่สี ามารถนามาใช้ประโยชนเ์ พ่ือการจัดการศกึ ษา ชื่อ -นามสกลุ แหลง่ วิทยากร ปัจจุบนั สถานที่ 1.นางจารณุ ี ชยั กติ ตริ ตั นา ตดั เย็บเสอื้ ผ้า แขวงจรเขบ้ วั เขตลาดพรา้ ว กทม. 5. ปญั หาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนท่จี าแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย 5.1 ความตอ้ งการทางการศึกษาของประชาชน การศึกษาจบตง้ั แต่ระดบั ประถมศึกษา ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ส่วนใหญ่ผู้ที่ อยู่ในวัยเรียนมักจะเรียนในสถานศึกษาในพ้ืนท่ี เพราะเป็นโรงเรียนที่มีชื่อเสียงและอยู่ใกล้ กับที่พักอาศัย ประชากร ในวันเรียนที่ขาดโ อกาสทางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานส่ว นใหญ่เ ป็นปร ะช ากรแฝงจากต่างจังหวัดเข้ามาทํางานใน กรงุ เทพมหานคร กลุ่มผู้ไม่รหู้ นังสอื สว่ นใหญ่เปน็ ผู้ไม่มสี ญั ชาติไทยเขา้ มาทํางานเปน็ ลกู จ้างสถานประกอบการ กศน.แขวงจรเข้บัว 8

5.2 รูปแบบการศกึ ษาและกลุม่ เปา้ หมาย - ด้านการรู้หนังสอื กลุม่ เปาู หมายการส่งเสริมการรู้หนงั สอื จะเป็นผู้ไมม่ ีสัญชาตไิ ทย - ด้านการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กลมุ่ เปาู ของการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานจะเป็นประชากรแฝงจากต่างจังหวัดท่ีเข้ามาทํางาน ใน กทม.และนักเรียนออกจากระบบกลางคันเน่ืองจากมปี ัญหาทางการเรียน -.ดา้ นการศึกษาดา้ นอาชีพ กลมุ่ เปาู หมายจะเป็นกลุ่มผู้สงู อายุ และข้าราชการเกษียณ - ดา้ นการพฒั นาทักษะชวี ิต กลุ่มเปูาหมายจะเป็นประชาชนในชุมชนแขวงลาดพร้าวจะเป็นความรู้ พนื้ ฐาน ทีใ่ ช้ในการดําเนินชวี ติ ประจําวัน - ดา้ นพัฒนาสงั คมและชมุ ชน จดั กิจกรรมเพือ่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชนใหก้ ับประชาชนในชุมชนแขวง - ดา้ นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลาดพรา้ ว จดั กระบวนการเรยี นรู้ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ใหก้ ับ - ด้านการศึกษาตามอธั ยาศยั ผู้รับบรกิ ารและประชาชนในชมุ ชน - พัฒนาห้องสมุดตู้คอนเทรนเนอรใ์ หม้ ชี วี ติ มกี ารจดั กจิ กรรมเคลื่อนไหว อยา่ งต่อเนอ่ื ง - พัฒนาศนู ย์การเรยี นชมุ ชนให้เป็นแหล่งการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนือ่ งในชุมชน - จัดหาส่ือ ส่ิงพมิ พ์ รวมท้งั ส่อื อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละสอ่ื อื่นๆ ให้บรกิ ารอยา่ ง พอเพียง - ปรับปรุงพฒั นาจัดหาสื่อที่ทันสมยั ไว้ใหบ้ รกิ าร กศน.แขวงจรเขบ้ ัว 9

สว่ นที่ 2 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกแขวง (SWOT Analysis) กศน.แขวงจรเข้บัว 10

ส่วนที่ 2 การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกแขวงจรเขบ้ วั (Swot Analysis) วิเคราะห์ทกุ ชมชนทอี่ ยใู่ นแขวงนน้ั ๆ (วเิ คราะหแ์ ตล่ ะหัวขอ้ บนภารกิจ กศน.แขวงจรเข้บัว) 1. การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน 1.1 จดุ แข็งของชุมชนเนยี มกลํ่าสามัคคี 1.1.1 ดา้ นโครงสร้างองคก์ ร/การบริหารจดั การ ค่านิยมองค์กร จัดตั้งเป็นชมุ ชนตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่าด้วยกรรมการชุม พ.ศ.2534 เมื่อวนั ที่ 7 กรกฎาคม 2534 สักษณะเปน็ ชมุ ชนเมือง ปจั จบุ ันมี กรรมการชมุ ชน จํานวน 16 คน 1.1.2 ดา้ นนโยบาย มกี ารจดั ทาํ แผนชุมชนทุกชุมชน จดั ทําแผนชุมชนพง่ึ ตนเองตามแนวทาง พระราชดาํ ริฯ 1.1.3 ดา้ นประชากร/ดา้ นภูมปิ ัญญาท้องถิ่น/เครอื ขา่ ย 1.1.3.1ดา้ นประชากร แขวง จานวนราษฎร รวม จานวนบ้าน ชาย หญิง (หลัง ) จรเข้บวั 12,272 14,950 27,222 10,222 1.1.3.2 ด้านภูมิปัญญาท้องถ่ิน ความร้คู วามสามารถ ทีอ่ ยู่ ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ 1. นางจารุณี ชยั กติ ตริ ัตนา วิทยากรสอนอาชพี ชมุ ชนหม่บู ้านเสนานเิ วศน์โครงการ 2 แขวงจรเขบ้ วั เขตลาดพรา้ ว กรงุ เทพฯ 2.นางเบญจวรรณ ปญั ญาโอภาส ปลกู พืชไรด้ ิน หมบู่ ้านธนะธานี แขวงบงึ กุ่ม เขตบงึ กุ่ม กรงุ เทพฯ 3.นางปัญชลี พงษ์เฉลมิ ศิลปะประดษิ ฐ์ 37/123 ซอย 71 แขวง/เขตลาดพรา้ ว กรงุ เทพฯ รวมจานวน 3 คน 1.1.3.3 เครือขา่ ย ทีอ่ ย/ู่ ทต่ี ัง้ ความรคู้ วามสามารถ แขวงจรเขบ้ ัว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ ภมู ปิ ัญญาวทิ ยากรอาชพี ขนมไทย แขวงจรเข้บวั เขตลาดพรา้ ว กรุงเทพฯ 1.นางสาวอําพร บวั ลอย แขวงจรเขบ้ วั เขตลาดพรา้ ว กรุงเทพฯ 2.นางจารุณี ชยั กติ ตริ ตั นา ตดั เย็บเส้ือผา้ แขวงจรเขบ้ ัว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 3.นางสาวจติ นิชา สาครวรรณศักด์ิ เบเกอรี่ 4.นางปญั ชลี พงษ์ ศลิ ปะประดษิ ฐ์ รวมจานวน 4 คน กศน.แขวงจรเข้บวั 11

1.1.4 ด้านงบประมาณ ได้รับการจัดสรรงบประมาณในการจัดการของชุมชนจากสํานักงานเขต ลาดพรา้ วและมีกองทุนหมบู่ ้าน(กองทุนเงินล้าน) เปน็ กองทนุ ทไ่ี ด้รับกสี่ นับสนุนจากรัฐบาลในอตั ราดอกเบ้ยี ตาํ่ 1.1.5.ด้านการบริหารจัดการ สํานักงานเขตลาดพร้าวจะเป็นผู้จัดตั้งชุมชน และกรรมการชุมชน ขึน้ มาเพอื่ บริหารจัดการในชุมชน การทําแผนชุมชน 1.1.6 ด้านอาคารสถานท่ี/ส่ือ/วัสดุอุปกรณ์ ชุมชนในแขวงจระเข้บัวส่วนใหญ่จะมีอาคารในการ ดําเนินกิจกรรม และสือ่ วัสดุอปุ กรณ์ เช่น เครื่องขยายเสียงตามสาย กล้องวงจรปิด ฯลฯ 1.2 จดุ ออ่ นของชมุ ชน 1. ป้ ายบอกทางในที่ลบั ตาและที่เปล่ียวยงั ขาดการป้ องกนั ดแู ลอย่างทวั่ ถึง ถนนบางเส้นทางไมไ่ ด้ อยใู่ นความรับผิดชอบของเขต เมื่อพบถนนชารุดไมส่ ามารถเข้าปรับปรุงถนนได้ทนั ที 2. มีการบกุ รุกท่ีริมคลองปลกู สร้างอาคารเพ่ืออย่อู าศยั ตลอดเส้นสายคลอง ทาให้ไมส่ ามารถปรับ ภมู ิทศั น์ และมีการผลิตมลู ฝอยของประชาชนมีอตั ราสงู ขึน้ ทกุ ปี เน่ืองจากอตั ราการเพ่ิมของจานวนประชากร ตลอดจนประชากรแฝง ประชากรจร และ แรงงานตา่ งด้าวมีจานวนมาก 3. มีจดุ นา้ ท่วมเกือบทกุ ชมุ ชนในแขวงจรเข้บวั หากมีปริมาณนา้ ฝนมากเกินกว่า ๖๐ มล./ชม. จะมีปัญหานา้ ทว่ มขงั ริมคลองให้สวยงามได้ ตลอดจนขีดขวางทางนา้ และสร้างมลภาวะโดยตรงให้กบั คคู ลอง 4. ขาดเจ้าหน้าท่ีท่ีมีความรู้ ความสามารถด้านการขยายตลาด ให้กบั กลมุ่ ผ้ผู ลติ สินค้าชมุ ชนหรือ ผ้เู ข้ารับการฝึกอาชีพของกรุงเทพมหานคร 5. การรณรงค์เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงยงั ไม่สามารถทาได้เตม็ ที่เนื่องจากประชาชนมีภาระหนีส้ ิน ทงั้ ในและนอกระบบ จานวนมาก ปัจจบุ นั ประชาชนสว่ นหนง่ึ มีสภาพชีวติ ท่ีไมพ่ อใช้ตามมาตรฐานชีวิตที่ควรมี 1.1.1 ดา้ นโครงสร้างองคก์ ร/การบริหารจดั การ ค่านิยมองค์กร 1. มีการกาหนดอตั รากาลงั ในบางตาแหนง่ ไมเ่ หมาะสมกบั ปริมาณงาน 2. ขาดหนว่ ยงานในการจดั เก็บและวเิ คราะห์ข้อมลู ของเขต 3. มีการสบั เปลี่ยนผ้บู ริหารเขตบอ่ ยครัง้ ทาให้การบริหารงานต้องหยดุ ชะงกั หรือเปล่ียน ทิศทาง 4. ขาดการให้ความรู้ให้กบั เจ้าพนกั งานออกคาสง่ั ตา่ งๆ ทาให้ผ้บู ริหารเขตถกู ฟ้ องเร่ือง การปฏิบตั หิ น้าท่ี(ศาลปกครอง) ซงึ่ มีแนวโน้มสงู ขนึ ้ เร่ือยๆ 1.1.2 ดา้ นนโยบาย มีการสง่ั การด้านนโยบายจากสานกั ตา่ งๆ ทาให้ภารกิจหลกั ของเขต ต้องปรับเปลี่ยนแผนอยู่ ตลอดเวลาการจดั บริการของสานกั งานเขตไมส่ ามารถตอบสนองตามความคาดหวงั ของ ประชาชนได้ ซงึ่ จะคาดหวงั ไว้สงู กวา่ การให้บริการของหนว่ ยงานเอกชน 1.1.3 ดา้ นประชากร/ด้านภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น/เครือขา่ ย แหลง่ ผลิตอาหารท่ีพบวา่ มีสารพิษ ปนเปื อ้ นเกินกวา่ มาตรฐานมกั จะอย่นู อกพืน้ ที่เขต หรือ นอกพืน้ ท่ีกรุงเทพฯ เจ้าหน้าท่ีทาได้แคแ่ จ้งหนว่ ยงานที่ เก่ียวข้องทราบ และขอความร่วมมือ ผ้คู ้าให้เปลี่ยนแหลง่ ซือ้ เพื่อจาหนา่ ยใหม่ กศน.แขวงจรเข้บัว 12

1.1.4 ดา้ นงบประมาณ 1. มีประชาคมผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนที่ชว่ ยเหลือและสง่ เสริมการจดั จาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน ของสมาชิกและผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชนในพืน้ ที่เขตได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่นา่ เช่ือถือปี ละ ๑ ผลิตภณั ฑ์ สองปี ตดิ ตอ่ กนั 2. มีการขยายตวั ทางเศรษฐกิจสงู ขนึ ้ เน่ืองจากมีอตั ราการขยายตวั ของบ้านพกั อาศยั ทา ให้มีการจบั จา่ ยใช้สอย และมีเงินหมนุ เวียนในพืน้ ท่ีเพิม่ ขนึ ้ 3. มีแหลง่ งาน สถานประกอบการรองรับการจ้างงานในพืน้ ท่ี 4. กองทนุ หมบู่ ้านทงั้ ของรัฐบาลและกรุงเทพมหานคร ได้รับการชาระคนื ครบถ้วนตาม ระยะเวลาและวงเงินที่กาหนด 1.1.5.ดา้ นการบริหารจดั การ 1. มีการกาหนดอตั รากาลงั ในบางตาแหนง่ ไมเ่ หมาะสมกบั ปริมาณงาน 2. ขาดหนว่ ยงานในการจดั เก็บและวเิ คราะห์ข้อมลู ของเขต 3. มีการสบั เปลี่ยนผ้บู ริหารเขตบอ่ ยครัง้ ทาให้การบริหารงานต้องหยดุ ชะงกั หรือเปล่ีย ทิศทาง 4. มีการสง่ั การด้านนโยบายจากสานกั ตา่ งๆ ทาให้ภารกิจหลกั ของเขตต้องปรับเปลี่ยน แผนอยู่ ตลอดเวลา 5. การจดั บริการของสานกั งานเขตไมส่ ามารถตอบสนองตามความคาดหวงั ของ ประชาชนได้ ซง่ึ จะคาดหวงั ไว้สงู กวา่ การให้บริการของหนว่ ยงานเอกชน 6. ขาดการให้ความรู้ให้กบั เจ้าพนกั งานออกคาสงั่ ตา่ งๆ ทาให้ผ้บู ริหารเขตถกู ฟ้ องเร่ือง การปฏิบตั หิ น้าที่(ศาลปกครอง) ซง่ึ มีแนวโน้มสงู ขนึ ้ เรื่อยๆ 1.1.6 ดา้ นอาคารสถานที/่ ส่ือ/วัสดอุ ุปกรณ์ 1. ขาดเจ้าหน้าที่ในชมุ ชนที่มีความรู้ ความสามารถด้านการขยายตลาด ให้กบั กลมุ่ ผ้ผู ลิตสนิ ค้าชมุ ชนหรือผ้เู ข้ารับการฝึ กอาชีพของกรุงเทพมหานคร 2. ในชมุ ชนขาดการรณรงค์เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงยงั ไมส่ ามารถทาได้เตม็ ท่ีเนื่องจาก ประชาชนมีภาระหนีส้ ินทงั้ ในและนอกระบบ จานวนมาก ปัจจบุ นั ประชาชนสว่ นหนง่ึ มี สภาพชีวิตท่ีไมพ่ อใช้ตามมาตรฐานชีวิตที่ควรมี กศน.แขวงจรเขบ้ วั 13

2.การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities - o) 2.1.1 ด้านนโยบาย/กฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง/ดา้ นความปลอดภัยในพ้นื ท่ี 1. กฎหมายขนั้ ตอนและการกระจายอานาจสทู่ ้องถ่ิน ทาให้สามารถพฒั นาพืน้ ที่ให้ เป็ นไปตามความต้ องการของประชาชนอย่างแท้ จริง 2. รัฐบาลมีนโยบายขยายเส้นทางสญั จรสายหลกั ในกรุงเทพมหานคร และภมู ิภาคตา่ งๆ จงึ ทาให้มีการจดั สรรงบประมาณในการดาเนินการโครงการโครงขา่ ยถนนขนาดใหญ่ใน พืน้ ที่หลายโครงการ ในอนาคต ทงั้ ของกรมทางหลวง การทางพเิ ศษ และ ของ กรุงเทพมหานคร 2.1.2 ดา้ นสงั คมวฒั นธรรม 1. ประชากรรุ่นใหมส่ ว่ นใหญ่สนใจเข้ารับการศกึ ษาด้านวิชาชีพ (ปวช./ปวส.) จากอตั รา การขยายตวั ของโรงเรียน/วิทยาลยั ในพืน้ ท่ีใกล้เคียง มีจานวน ๕ แหง่ เนื่องจากจบเร็ว และสามารถประกอบอาชีพได้ทนั ที 2. สว่ นใหญ่เป็ นครอบครัวเด่ียว รักความเป็นสว่ นตวั และมีความเป็นผ้นู าสงู 3. ประชาชนมีวถิ ีชีวิตพง่ึ พงิ ศาสนา และ ผกู พนั กบั ธรรมชาติ ประกอบกบั กระแสสงั คม ในปัจจบุ นั ที่ประชาชนให้ความสาคญั กบั สขุ ภาพ ธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดล้อม มากย่งิ ขนึ ้ 4. มีแนวโน้มการรวมกลมุ่ ประชาชนเพื่อจดุ ประสงค์ในการพฒั นาสงู ขนึ ้ 2.1.3 ดา้ นเศรษฐกจิ มีการพฒั นาระบบโครงขา่ ยถนนในพืน้ ที่ในอนาคตจานวนมาก จงึ ทาให้มีการขยายตวั ด้านเศรษฐกิจ การปลกู สร้างอาคารขนาดใหญ่ เชน่ หอพกั แฟลต หมบู่ ้านจดั สรร ศนู ย์การค้าขนาดใหญ่ และตลาดนดั ตา่ งๆ เพื่อรองรับการอย่อู าศยั จานวนมาก 2.1.4 ดา้ นเทคโนโลยี/การคมนาคมติดต่อส่ือสาร/ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม 1. เทคโนโลยีสมยั ใหมแ่ ละพฒั นาอยตู่ ลอดเวลา ทาให้ องคก์ รไมส่ ามารถหยดุ นงิ่ ได้ ต้อง มีการพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ 2. กระแสโลกาภิวตั น์ การส่ือสารไร้พรมแดน ทาให้มีการแขง่ ขนั ของหนว่ ยงานสงู ทงั้ แขง่ ขนั กนั เอง และหนว่ ยงานอื่นหรือแม้แตม่ ีการเปรียบเทียบการบริการภาครัฐกบั ภาคเอกชนท่ีประสบผลสาเร็จในการดาเนนิ ธรุ กิจที่มงุ่ เน้นการบริการเพ่ือความพงึ พอใจ ของลกู ค้าเป็นสาคญั 2.2 อปุ สรรค/ความเส่ยี ง (Threats - T) 2.1.1 ดา้ นนโยบาย/กฎหมายท่เี กย่ี วข้อง/ด้านความปลอดภัยในพนื้ ท่ี 1. กฎหมายผงั เมืองที่กาหนดพืน้ ท่ีบางสว่ นในเขตบางเขน เป็นเขตที่อยอู่ าศยั อาจเป็ น อปุ สรรคในการพฒั นาเมือง กศน.แขวงจรเขบ้ วั 14

2. กฎหมายที่ไมไ่ ด้ให้อานาจในการดาเนนิ การของเจ้าหน้าที่ กรุงเทพฯ เชน่ การตรวจจบั ควนั ดา เจ้าหน้าท่ีกรุงเทพฯไมส่ ามารถกาหนดจดุ ตรวจ วนั เวลาได้เอง และไมส่ ามารถ เรียกตรวจรถยนต์เองได้ 3. กฎระเบียบที่ต้องใช้ดลุ ยพินิจของเจ้าหน้าท่ี ทาให้การดาเนินการของเจ้าหน้าที่แตล่ ะ คนไมเ่ หมือนกนั อาจเป็นชอ่ งทางให้เกิดการทจุ ริตได้ 2.1.2 ดา้ นสังคมวัฒนธรรม 1. ประชากรสว่ นใหญ่อพยพมาจากตา่ งจงั หวดั ทาให้เกิดปัญหาชมุ ชนบกุ รุกที่สาธารณะ และประชากรแฝง ประกอบกบั มีประชากรสว่ นหนงึ่ มีท่ีอยอู่ าศยั อยใู่ นตา่ งจงั หวัด แตม่ า ประกอบอาชีพในเขตพืน้ ท่ี ทาให้การจดั สรรงบประมาณไมเ่ พียงพอตอ่ จานวนประชากร ในพืน้ ท่ี 2. เป็นชมุ ชนอยอู่ าศยั ดงั่ เดมิ ไมม่ ีกฎหมายการจดั การด้านส่ิงแวดล้อมรองรับในขณะนนั้ ทาให้มีปัญหาการจดั การด้านสาธารณปู โภค เชน่ การระบายนา้ และ การกาจดั นา้ เสีย ทาให้ต้องมีการพฒั นาอีกมาก 3. มีการกระจกุ ตวั ของประชาชนในบริเวณแหลง่ ธุรกิจการค้า และแออดั บริเวณริมถนน อาจก่อให้เกิดปัญหาด้านการจราจร และ ปัญหาสงั คมเมือง 2.1.3 ดา้ นเศรษฐกจิ ภาวะนา้ มนั แพงทาให้การดาเนินงานนโยบายด้านตา่ งๆท่ีต้องลงพืน้ ท่ี สวนทางกบั นโยบายประหยดั พลงั งาน 2.1.4 ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคมตดิ ต่อสอ่ื สาร/ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม 1. เทคโนโลยีสมยั ใหมแ่ ละพฒั นาอย่ตู ลอดเวลา ทาให้ องคก์ รไมส่ ามารถหยดุ นิ่งได้ ต้อง มีการพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ 2. กระแสโลกาภิวตั น์ การสื่อสารไร้พรมแดน ทาให้มีการแขง่ ขนั ของหนว่ ยงานสงู ทงั้ แขง่ ขนั กนั เอง และหนว่ ยงานอื่นหรือแม้แตม่ ีการเปรียบเทียบการบริการภาครัฐกบั ภาคเอกชนท่ีประสบผลสาเร็จในการดาเนนิ ธุรกิจท่ีมงุ่ เน้นการบริการเพื่อความพงึ พอใจ ของลกู ค้าเป็นสาคญั กศน.แขวงจรเข้บัว 15

สว่ นที่ 3 แนวทาง/กลยทุ ธ์การดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของแขวงจรเข้บัว กศน.แขวงจรเขบ้ ัว 16

ส่วนที่ 3 แนวทาง/กลยุทธก์ ารดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของแขวงจรเข้บัว วิสัยทัศน์ กศน.แขวงจรเข้บัว จดั และสง่ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ใหก้ ับประชาชนใน ชมุ ชน ทุกคน ได้เรยี นรู้อย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวติ และดําเนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พนั ธกิจ 1.จัดการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สายสามญั สายอาชพี พฒั นาทักษะชวี ิต พฒั นาสงั คมและชุมชน และ การศกึ ษาตามอัธยาศยั สู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต ควบคู่กับการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง อัตลกั ษณ์ ให้กบั ผ้เู รียนและผู้รบั บริการ ที่อาศยั อยใู่ นพน้ื ที่เขตลาดพร้าวอยา่ งทั่วถงึ เอกลักษณ์ 2.ดําเนนิ งานตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และแผนกลยทุ ธข์ องสาํ นักงานการศึกษานอก กลยทุ ธ์ ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เพื่อใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ 3.พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เพื่อให้ผ้เู รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม นําความรแู้ ละมีทักษะ การดําเนนิ ชวี ติ บนพื้นฐานของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. สร้างความเขม้ แขง็ ของภาคีเครอื ข่าย ในการร่วมจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย ใหเ้ ป็นกลไกการส่งเสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวิต 5. พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ใหเ้ ป็นศูนยก์ ลางการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตของคนในชุมชน ใฝเุ รียนรู้ บริการทุกระดบั ประทับใจ กลยุทธ์ท่ี1. กําหนดกลุม่ เปูาหมาย ท่หี ลากหลายและทัว่ ถงึ กลยุทธ์ท่ี2. พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ และภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ให้เป็นฐานการเรยี นรขู้ องชมุ ชน กลยทุ ธ์ท่ี3. ประสานเครอื ข่ายในพ้ืนท่ี ให้มสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา และพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน กลยทุ ธ์ท่ี4. พฒั นาสอ่ื การเรยี นรู้ ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ท่ี หลากหลายขยายโอกาสทางการศกึ ษาโดยใช้กระบวนการเทียบโอนผลการเรียนต่าง หลักสตู ร ให้กลุม่ เปาู หมายในพ้นื ทเี่ ขตลาดพรา้ วอยา่ งทั่วถึง กศน.แขวงจรเข้บวั 17

แนวทางการจัดการศกึ ษาเพ่อื ลดความเส่ียงทางการเมือง หลังจากท่ีคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) เข้าควบคุมอํานาจการปกครองประเทศความขัดแย้งระหว่าง รัฐบาลและฝุายต่อต้านรัฐบาลได้ดาเนินไปอย่างรุนแรงประชาชนยังมีความแตกแยกเป็นกลุ่มก้อนการเมืองต่างๆคน ไทยแตกแยกความสามคั คีกระบวนการยตุ ิธรรมขาดความน่าเชอื่ ถือประกอบกับความเส่ือมถอยทางคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมไทยส่งผลให้สถาบันทางสังคมมีแนวโน้มอ่อนแอ กศน.แขวงจรเข้บัว พัฒนามุ่งเน้นการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อส่งเสริมความสามัคคีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมไทยของประ ชาชนในพื้นที่ โดยร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพือ่ ใหด้ ําเนินงานบรรลตุ ามเปูาหมายประชาชนมคี วามสามัคคปี รองดองมากย่งิ ข้ึน แนวทางการจดั การศกึ ษากลุ่มเป้าหมายผสู้ ูงอายุ การส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเปูาหมายที่เป็นผู้สูงอายุ และ ผู้เกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนเครือข่ายในพ้ืนท่ไี ด้รบั รู้ถึงช่องทางในการรับบริการการศึกษา และข่าวสารข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น การแนะแนวการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือ พัฒนาทักษะชวี ิต การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชุมชน และการศกึ ษาเพอ่ื สง่ เสริมการเรยี นรู้ตามอัธยาศัย แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมคณุ ธรรมจริยธรรมวัฒนธรรม และประเพณีในทอ้ งถน่ิ ในปัจจุบันปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงทางเพศต่อเด็กและสตรีมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน โดยคน ไทยคํานึงถึงประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องมากกว่าส่วนรวมและมีการทุจริตมากข้ึน อีกท้ัง กศน.แขวงจรเข้บัวเป็น ลักษณะของสังคมเมืองการลกั ษณะจะเปน็ ครอบครวั เดียวต่างคนต่างอยู่ ขาดความรัก ความสามัคคีกัน กศน.แขวงจรเข้ บัว เห็นความสําคัญของสภาพปัญหาจึงมีแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อให้ความรู้กับประชาชนในชุมชน ส่งเสริม คุณธรรมจรยิ ธรรม วัฒนธรรม และคงไวซ้ ง่ึ ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงานในถิ่นให้สืบต่อไป ประชาชนในชุมชนตําบล หว้ ยฝูายพฒั นาเหนือมีคุณภาพชีวติ ทดี่ ขี น้ึ แนวทางการจดั การศกึ ษาเพ่ือรองรับเปลี่ยนแปลงในกระแสโลกและประชาคมอาเซยี น ในปี 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ส่งผลให้เกิดการแข่งขันในหลายๆด้าน ในการน้ี กศน. แขวงจรเข้บวั เปน็ พื้นท่ีที่กลุ่มประชากรวัยแรงงานเยอะซึง่ อยู่ในรปู ของประชากรแฝงสว่ นใหญ่เป็นประชากรย้ายถ่ินมา จากต่างจงั หวัด ยงั ขาดความรู้เร่อื งด้านภาษาที่จะนําไปใช้ในการติดต่อส่ือสารหลังการเปิดประชาคมอาเซียน จึงมีการ จัดต้ังศูนย์อาเซียนศึกษา เพ่ือศึกษาลักษณะทางวัฒนธรรม ภาษา และอื่นๆ ของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อให้ ก้าวทนั การเปลีย่ นแปลงที่จะเกดิ ขึน้ กศน.แขวงจรเขบ้ ัว 18

แนวทางการศึกษาตอ่ เนอื่ ง - การพัฒนาตนเองสังคมและชุมชน ส่งเสรมิ ให้เกิดการเรียนรเู้ ร่อื งประวัตศิ าสตร์และข้อมูลความเปน็ มาของชมุ ชนเพอื่ สร้างสํานึกการรัก ถ่นิ และสรา้ งความเข้มแข็ง จดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ิตในชุมชนในรปู แบบกลมุ่ สนใจในเร่ืองต่างๆอาทิการ จัดการขยะ การประหยัดพลงั งาน การส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีทเี่ หมาะสม การใช้กระบวนการเรียนรูท้ างวิทยาศาสตร์ สขุ ภาพอนามยั ความรู้เร่ืองภาษาและวฒั นธรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน ความสามัคคี ปรองดอง ความพอเพียง - การพัฒนาด้านอาชีพ มุ่งเน้นการฝกึ หลักสูตรวชิ าชพี ระยะสั้นในวิชาชา่ งพื้นฐาน และวิชาระยะสั้นอื่นๆ ที่สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน บริบทของพ้ืนท่ี และสง่ เสริมการใชร้ ะบบเทคโนโลยเี พื่อการพัฒนาอาชพี ในอนั ท่จี ะ ประกอบอาชีพทีส่ รา้ งรายได้ไดจ้ รงิ - การพฒั นาดา้ นทักษะชีวิต สง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชวี ติ การสร้างจิตสาธารณะ การดา้ นยาเสพตดิ ในรปู แบบ กจิ กรรมลกู เสือ ยุวกาชาด กจิ กรรมค่าย การแขง่ ขันกีฬา มงุ่ เน้นการจัดการศึกษาเพือ่ สรา้ งความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัว อาทิ หลักสตู รครอบครัว ศกึ ษา ค่ายครอบครัว การจดั กระบวนการเรยี นรสู้ าํ หรบั ผสู้ ูงอายุ BOOK-start การส่งเสริมการอ่านสาํ หรบั เด็กปฐมวยั บ้านหลังเรียน แนวทางการจัดการศกึ ษาด้านเศรษฐกจิ พอเพียง ให้ชมุ ชนมสี ว่ นในการขับเคล่ือนกิจกรรมการเรยี นรขู้ องชุมชนตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและ ปรชั ญาคดิ เป็น อาทิ หมู่บา้ นตามรอยพระยุคลบาท หมูบ่ า้ นแห่งการอ่าน บา้ นหนงั สอื ชุมชน แหลง่ การเรยี นร้ชู มุ ชน สง่ เสริมใหช้ ุมชนจดั ตง้ั หมบู่ ้านเรยี นรู้ตามรอยพระยุคลบาท เพื่อเสรมิ สร้างอดุ มการณ์ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการสง่ เสริมการรหู้ นังสือ/รักการอา่ น มุ่งเนน้ การสง่ เสริมให้เกิดชุมชนรักการอา่ น “สร้างการอา่ น เสริมการเรยี นรู้” ในรูปแบบหมบู่ ้าน/ ชุมชนการอ่าน อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน บา้ นหนังสอื ชุมชน มงุ่ เน้นการจัดการศึกษาเพ่อื สรา้ งความเข้มแขง็ ให้กบั สถาบันครอบครัว อาทิ หลักสตู รครอบครวั ศกึ ษา ค่ายครอบครวั การจัดกระบวนการเรียนรสู้ าํ หรับผูส้ ูงอายุ BOOK-start การสง่ เสริมการอ่านสําหรบั เดก็ ปฐมวยั บา้ นหลงั เรียน กศน.แขวงจรเข้บวั 19

สว่ นที่ 4 แผนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สาหรบั กล่มุ เป้าหมาย (คารับรองการปฏิบตั งิ านของ กศน.แขวงจรเขบ้ วั ) กศน.แขวงจรเขบ้ ัว 20

แผนปฏิบตั ิงานของ ประจาปีงบประ ที่ โครงการ/กิจกรรม ไตรมาส 1 เปา้ หมาย งบประ 1 การศึกษาพน้ื ฐานผู้ไม่ร้หู นังสือ/ผู้ไม่รู้หนังสือ 00 2 การศกึ ษาพนื้ ฐาน/การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน/มัธยมศึกษา 0 0 ตอนตน้ 3 การศึกษาต่อเนือ่ ง/การศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชีวิต/ 0 0 กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต 4 การศึกษาต่อเนื่อง/การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาพฒั นาสงั คมและ 0 0 ชุนชน 5 การศกึ ษาต่อเนือ่ ง/การเรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ 0 0 พอเพยี ง 6 การศกึ ษาตามอัธยาศัย/กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น/บ้าน 300 0 หนงั สือชมุ ชน 7 โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน 00 (1อําเภอ 1 อาชีพ) 8 โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน 00 (พัฒนาอาชีพ ไม่เกิน 30 ชม.) 9 โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน 00 (ชน้ั เรยี นวชิ าชีพ 31 ชม. ข้ึนไป) กศน.แขวงจรเข้บัว

ง กศน.แขวงจระเข้บวั ะมาณ พ.ศ.2562 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ะมาณ เปา้ หมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ 0 0 0 4 2,200 0 0 0 0 0 0 0 395 276,946 0 40 4,600 0 0 0 0 0 30 12,000 0 0 0 0 0 0 0 16 6,400 0 0 0 400 0 400 0 100 0 0 14 12,300 0 0 0 0 0 16 11,200 16 10,400 0 0 0 0 0 24 21,600 0 0 21

ที่ โครงการ/กจิ กรรม ไตรมาส 1 เป้าหมาย งบประ 10 โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สารดา้ นอาชีพ 11 โครงการสร้างเครือข่ายดจิ ชิ ุมชนระดบั ตําบล 00 12 โครงการ Smart ONIE เพอ่ื สร้าง Smart Farmer 00 13 การศกึ ษาตามอัธยาศยั /โครงการจัดสรา้ งแหลง่ เรยี นรู้ 00 0 61 ชุมชนในตาํ บล/จัดซอ้ื หนงั สือพิมพ์ กศน.แขวงจรเข้บวั

ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ะมาณ เปา้ หมาย งบประมาณ เปา้ หมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ 0 0 0 20 24,000 0 0 0 0 0 30 8,758 0 0 0 0 0 1 3,926 0 0 10 0 610 0 620 1 620 22

โครงสร้างศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพรา้ ว ผ้อู านวยการ กศน.เขตลาดพร้าว คณะกรรมการสถานศกึ ษา กลมุ่ งานอานวยการ กลมุ่ งานสง่ เสริมปฏบิ ัติการ กลุ่มงานการศึกษาตามอธั ยาศัย - งานธุรการและงานสารบญั - งานสง่ เสรมิ การูห้ นงั สือ - งานการศกึ ษาตอ่ เนื่อง - งานการเงิน - งานการศึกษาข้ันพืน้ ฐานนอกระบบ - งานการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ - งานบัญชี - งานพฒั นาหลักสูตร - งานกรศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิต - งานงบประมาณ - งานทะเบยี น และงานเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน - งานพสั ดุ - งานวัดผล - งานบุคลากร - งานศนู ยบ์ รกิ ารใหค้ ําปรกึ ษาแนะนาํ - งานจดั กระบวนการเรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียง - งานอาคารสถานที - งานการศึกษาตามอธั ยาศัย - งานแผนและโครงการ (พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ - งานประชาสัมพนั ธ์ ศูนย์การเรยี นชมุ ชน หอ้ งสมดุ ฯลฯ) - งานขอ้ มลู สารสนเทศและการรายงาน - งานพัฒนาสอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยี - งานควบคมุ ภายใน - งานกจิ กรรมนักศกึ ษา - งานนิเทศภายใน ติดตามและ - งานส่งเสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครอื ขา่ ย ประเมินผล - งานกิจกรรมพเิ ศษ - งานประกนั คุณภาพภายใน - งานกิจการลกู เสอื และยวุ กาชาด สถานศึกษา - งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ 23 สถากนศศนกึ ษ.แาแขลวะงอจาสราเสขม้บคั ัวร กศน.

 จานวนผู้เรียน ผู้รบั บรกิ าร และจานวนผูส้ อน ภาคเรยี นที่ 2/2561 หลกั สตู ร/ประเภท จานวนผ้เู รยี น รวม จานวนผสู้ อน ชาย หญงิ 149 2 การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 133 2 282 4 - ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 89 60 รวม จานวนผู้สอน - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 62 71 146 2 รวมจานวน 151 131 112 2 258 4  จานวนผู้เรยี น ผู้รับบริการ และจานวนผสู้ อน ภาคเรยี นที่ 1/2562 หลักสตู ร/ประเภท จานวนผเู้ รียน ชาย หญิง การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน - ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 95 50 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 51 62 รวมจานวน 146 112 กศน.แขวงจรเข้บัว 24

ภาคผนวก ก รา่ ง ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กศน.แขวงจรเขบ้ วั 25

1. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 20 ปี วิสัยทศั น์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”หรือคติพจน์ประจําชาติ “มนั่ คง ม่งั คงั่ ย่ังยืน” เป้าหมายหลัก 1. ความมนั่ คง 1.1 การมีความม่ันคงปลอดภยั จากภัยและการเปลย่ี นแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอก ประเทศ ในทกุ ระดับ ท้งั ระดับประเทศ สังคม ชมุ ชน ครัวเรอื น และปัจเจกบคุ คล และมีความม่ันคงในทุกมิติ ท้งั มิติ เศรษฐกิจ สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม และการเมือง 1.2 ประเทศมคี วามมั่นคงในเอกราชและอธปิ ไตย มสี ถาบนั ชาติ ศาสนาและพระมหากษตั รยิ ์ ที่ เข้มแข็ง เป็นศนู ยก์ ลางและทย่ี ดึ เหนย่ี วจติ ใจของประชาชน ระบบการเมืองมีความม่ันคง เป็นกลไกท่ีนาํ ไป สู่การ บรหิ ารประเทศทต่ี ่อเนือ่ งและโปร่งใสตามหลกั ธรรมาภิบาล 1.3 สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกําลังเพื่อพัฒนาประเทศชมุ ชน มคี วาม เข้มแข็ง ครอบครัวมคี วามอบอุน่ 1.4 ประชาชนมคี วามม่นั คงในชวี ิต มีงานและรายได้ทีม่ ่นั คงพอเพยี งกบั การดาํ รงชวี ิต มที ่อี ยู่ อาศัย และความปลอดภยั ในชวี ติ ทรัพย์สิน 1.5 ฐานทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ ม มคี วามมนั่ คงของอาหาร พลังงาน และนํา้ 2. ความม่งั คัง่ 2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง ยกระดับเป็นประเทศในกลุ่มรายได้สูง ความเหลื่อมลํ้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น 2.2 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ทั้งภายใน และภายนอกประเทศ สร้าง ฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสําคัญของการเช่ือมโยง ในภูมิภาค ทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้าการลงทุนและการทําธุรกิจ มีบทบาทสําคัญในระดับภูมิภาค และระดับโลก เกิดสายสัมพันธ์ทาง เศรษฐกจิ และการค้าอย่างมีพลงั 2.3 ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาคนอย่างต่อเน่ือง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติ และ สงิ่ แวดลอ้ ม 3. ความย่งั ยืน 3.1 การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้าง มลภาวะตอ่ สิ่งแวดลอ้ มจนเกินความสามารถในการรองรับและเยยี วยาของระบบนิเวศน์ กศน.แขวงจรเข้บวั 26

3.2 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบ ของประชาคมโลก ซ่ึงเป็นที่ยอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีคุณภาพดี ข้ึน คนมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม มีความเอื้ออาทร เสยี สละเพื่อผลประโยชนส์ ว่ นรวม 3.3 ประชาชนทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ด้านความม่ันคง 1.1 การรกั ษาความสงบภายในประเทศ 1. 2 การพัฒนาศักยภ าพในการปูองกั นประเทศพร้อมรับมือกับภัยคุกคา ม ทง้ั ทางทหารและภยั คุกคามอน่ื ๆ 1.3 บูรณาการความร่วมมือกับต่างประเทศท่ีเอื้อให้เกิดความมั่นคงความมั่งค่ังทาง เศรษฐกิจ ปูองกันภัยคกุ คามข้ามชาติ และคุณภาพชีวติ ของคนในชาติ 1.4 การรักษาความมนั่ คงและผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาตแิ ละทางทะเล 1. 5 ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ค ว า ม ม่ั น ค ง ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั น แ ผ น ง า น พั ฒ น า อื่ น ๆ เพื่อชว่ ยเหลอื ประชาชน และรว่ มพฒั นาประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ดา้ นการสร้าง ความสามารถในการแขง่ ขัน 2.1 การพัฒนาภาคการผลติ และบริการ 2.2 การพฒั นาสงั คมผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Society) เพ่ือสร้างผู้ประกอบการ ทางธรุ กิจ 2.3 การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนและการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขนั 2.4 การวางรากฐานทแี่ ขง็ แกรง่ เพอื่ สนบั สนุนการเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 3.1 การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม (Transformation of Culture) เพ่ือสร้างคนไทยทมี่ ีคณุ ภาพ คณุ ธรรม จริยธรรม มรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย 3.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ 3.3 การปฏิรูปการเรียนรูแ้ บบพลกิ โฉม (Transformation of Learning) 3.4 การพัฒนาและรกั ษากลมุ่ ผู้มคี วามสามารถพเิ ศษ (Talents) 3.5 การเสริมสร้างใหค้ นไทยมีสขุ ภาวะท่ดี ี 3.6 การสร้างความอยดู่ มี ีสุขของครอบครวั ไทย กศน.แขวงจรเข้บัว 27

ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งความมั่นคงในชีวิต และทรพั ยส์ ินของคนทกุ ลุ่มในสงั คม 4.2 การสร้างโอกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารทางสังคมอยา่ งท่วั ถงึ 4.3 การเสริมสร้างพลังทางสงั คม 4.4 การสร้างความสมานฉันท์ในสงั คม ยุทธศาสตร์ที่ 5 ดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มติ รตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม 5.1 จัดระบบอนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟแู ละปูองกันการท าลายทรัพยากรธรรมชาติ 5.2 วางระบบบริหารจัดการนํ้าอย่างบูรณาการให้มีประสิทธิภาพใน 25 ลุ่มนํ้า ทงั้ ด้านอุปสงคแ์ ละอปุ ทาน 5.3 พฒั นาและใช้พลังงานท่เี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ มในทุกภาคเศรษฐกิจ 5.4 พัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศและเมอื งท่เี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม 5.5 รว่ มลดปญั หาโลกร้อนและปรับตวั ให้พรอ้ มรับการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 5.6 ใช้เครอื่ งมอื ทางเศรษฐศาสตรแ์ ละนโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ 6.1 การวางระบบบริหารงานราชการแบบบูรณาการ 6.2 การยกระดับงานบริการประชาชนและการอํานวยความสะดวกของภาครัฐ สคู่ วามเป็นเลิศ 6.3 การปรับปรุงบทบาท ภารกจิ และโครงสร้างของหนว่ ยงานภาครฐั 6. 4 ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร กํ า ลั ง ค น แ ล ะ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ภ า ค รั ฐ ในการปฏบิ ัติราชการและมีความเปน็ มืออาชพี 6.5 การต่อต้านการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ 6. 6 การปรับปรุงแก้ไขกฎ หมาย ระเบียบ และข้อบังคับให้มีคว ามชัดเจน ทนั สมยั เปน็ ธรรม และสอดคล้องกบั ขอ้ บงั คับสากลหรอื ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ 2. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 วิสัยทศั น์ การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพ โดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พันธกจิ 1. พฒั นาระบบบริหารจดั การใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ 2. ส่งเสรมิ สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย โดยการมีส่วนร่วมจากทกุ ภาคส่วน 3. พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา กศน.แขวงจรเข้บวั 28

ค่านิยม TEAMWINS T = Teamwork การทํางานเป็นทมี E = Equality of Work ความเสมอภาคในการทาํ งาน A = Accountability ความรับผดิ ชอบ M = Morality and Integrity การมีศีลธรรมและมีความซอื่ สตั ย์ W = Willingness ความมุง่ มั่นตั้งใจทํางานอยา่ งเตม็ ศักยภาพ I = Improvement การพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่ืองสมาํ่ เสมอ N = Network and Communication การเปน็ เครอื ข่ายที่มปี ฏิสมั พันธ์ที่ดตี อ่ กนั S = Service Mind การมจี ติ มุง่ บริการ เปา้ ประสงค์รวม 1. ระบบบรหิ ารจดั การมีประสิทธภิ าพ 2. ผูเ้ รียนไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตทมี่ ีคุณภาพ อย่างทั่วถึง และเท่า เทียม ประเด็นยทุ ธศาสตร์ 1. พัฒนาระบบบริหารจดั การให้มีประสทิ ธภิ าพ 2. พัฒนาและสง่ เสริมการนาํ ระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใชใ้ นการบริหาร การบริการและการเรยี นรู้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ 3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษา ตามอัธยาศัย 4. สง่ เสริมการมสี ่วนรว่ มจากทกุ ภาคส่วนในการกระจายโอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรู้ ตลอดชวี ิต 5. พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการ ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธภิ าพ เปา้ ประสงคต์ ามประเด็นยุทธศาสตร์ 1. หน่วยงานมีระบบบริหารจดั การทีม่ ีประสิทธภิ าพ 2. ผรู้ ับบรกิ ารมแี ละใช้ระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลท่มี ปี ระสิทธภิ าพในการบริหาร การบริการ และการเรยี นรู้ 3. ผู้เรยี นได้รบั การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพ 4. ผูเ้ รียนไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาอยา่ งทว่ั ถงึ และเทา่ เทียม 5. ขา้ ราชการ ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษามคี วามก้าวหน้าในวชิ าชพี มศี กั ยภาพในการ ปฏบิ ตั งิ านและการจดั การศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพ ตวั ช้วี ัดเปา้ ประสงคต์ ามประเดน็ ยุทธศาสตร์และคา่ เปา้ หมาย กศน.แขวงจรเขบ้ วั 29

กลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ 1 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การให้มปี ระสทิ ธภิ าพ กลยุทธ์ 1.1 พัฒนากลไกการบรหิ ารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ 1.2 เรง่ รดั ปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ และขอ้ บังคับให้เออื้ ตอ่ การปฏิบตั งิ าน แนวทางการพฒั นา 1. ปรับปรุงโครงสร้างและอํานาจหน้าท่ีของหน่วยงานส่วนกลางและภูมิภาคให้เหมาะสม และเอ้อื ตอ่ การบริหารจัดการทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ 2. ปรับปรงุ กลไกการบริหารจัดการการศกึ ษาให้มปี ระสิทธภิ าพ และเปน็ ไปตามหลักธรรมาภิบาล โดย เนน้ คุณธรรม ความโปรง่ ใส 3. พัฒนาหนว่ ยงานทางการศกึ ษาในภมู ิภาคใหเ้ ปน็ กลไกการประสานงานการบริหารจัดการ การศึกษาแบบมีส่วนร่วมกระจายท่ัวประเทศ 4. ปรบั ปรงุ แก้ไข กฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาให้มี ความทนั สมยั เหมาะสมและเอือ้ ตอ่ การปฏบิ ัติงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 พัฒนาและส่งเสริมการนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการ บรหิ าร การบริการและการเรยี นรูอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ กลยุทธ์ 2.1 พัฒนาระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาให้ครอบคลุมและมีเสถียรภาพ ตอบสนองความต้องการใชง้ าน 2.2 พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาของประเทศให้เป็นเอกภาพ เป็นปัจจุบัน และทนั ตอ่ การใช้งาน 2.3 สรา้ งสื่อ คลังส่ือและแหลง่ เรียนรู้ดิจิทลั ท่สี ามารถเข้าถงึ ไดง้ า่ ยและสะดวก 2.4 พัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในกระบวนการทํางานและการบริการให้มี ประสทิ ธภิ าพ 2.5 จดั หาทรัพยากรพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อใช้ในการบริหาร การบริการ และการ เรยี นรู้ อย่างพอเพยี ง ทว่ั ถึงและเหมาะสมกบั การแสวงหาความรแู้ ละจดั การองคค์ วามรู้อย่างต่อเน่ือง ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระบบ นอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศยั กศน.แขวงจรเขบ้ วั 30

กลยทุ ธ์ 3.1 พัฒนาหลักสูตร เนื้อหาสาระ ส่ือการเรียนการสอน กระบวนการจัดการเรียน การสอน การนิเทศ การวัด ประเมินผลให้ทันกับความก้าวหน้าและการเปล่ียนแปลงทางวิทยาการ สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของกลุม่ เปูาหมาย และทิศทางการพฒั นาประเทศ 3.2 ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมืองและพลโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3.3 ยกระดับคุณภาพการศึกษา สร้างอาชีพ สร้างความสมานฉันท์ และเสริมสร้างความม่ันคง ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 3.4 พฒั นางานวิจยั เพ่ือสรา้ งองคค์ วามรสู้ ูก่ ารพฒั นาการศึกษา แนวทางการพฒั นา 1. ปรับปรงุ หลกั สตู ร เนื้อหาสาระ ส่ือการเรยี นการสอนใหท้ ันสมัยยืดหยุ่นหลากหลายเหมาะสม กับผู้เรยี นแตล่ ะชว่ งวัย และบริบทของประเทศ 2. พัฒนารูปแบบและบูรณาการการจัดการเรียนรู้การนิเทศการวัดประเมินผล เพ่ือพัฒนา ทักษะทจี่ าํ เปน็ สาํ หรับผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 3. ลดวิชาเรียนในช้ันเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีเวลาพัฒนาทักษะการเรียนรู้นอกห้องเรียน ให้เหมาะสมกับผเู้ รยี นแตล่ ะช่วงชน้ั 4. ส่งเสริมและบูรณาการการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมือง และพลโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. จดั สรรทนุ การศกึ ษาให้กบั นกั เรยี น นกั ศึกษาท่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ตามหลกั เกณฑท์ ก่ี าํ หนด 6. พัฒนาทักษะด้านอาชีพให้ผู้เรียนสามารถประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับพ้ืนที่ในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 7. ส่งเสริมการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ส่งเสริมสันติศึกษา ปลูกฝังจิต สาํ นึกดา้ นความมัน่ คงในพืน้ ที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 8. เสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ 9. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการวิจัยเชิงนโยบาย การจัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างองค์ ความรูแ้ ละพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการกระจายโอกาสทาง การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวติ กศน.แขวงจรเขบ้ ัว 31

กลยุทธ์ 4.1 สง่ เสริมให้ทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มในการจัด และสนับสนนุ การจัดการศกึ ษา 4.2 สนับสนุนให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาข้ันพื้นฐานท้ังในระบบและนอกระบบให้ผู้เรียนตามสิทธิ ทก่ี าํ หนดไว้ 4.3 เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหผ้ ู้เรยี นสามารถเข้าถงึ โอกาสทางการเรยี นรู้ได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ และเปูาหมาย แนวทางการพฒั นา 1. ส่งเสริม สนบั สนุนใหท้ กุ ภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการจัด พัฒนา และส่งเสรมิ การศึกษา 2. สนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 3. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ ด้วยรูปแบบ วิธีการที่หลากหลาย สอดคล้องกับ ความตอ้ งการและความจาํ เปน็ ของกลุ่มเปาู หมาย 4. พัฒนาแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ และมีชีวิตด้วยรูปแบบท่ีหลากหลายให้สามารถเข้าถึงได้ง่าย และครอบคลมุ ทุกพน้ื ท่ี 5. สนับสนุนทุนการศึกษาเพ่ือเพ่ิมและกระจายโอกาสทางการศึกษา 6. พฒั นาระบบและกลไกการเทียบโอนผลการเรียนรู้ระหวา่ งการศกึ ษาในระบบการศึกษา การศกึ ษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศยั และประสบการณ์จากการทาํ งาน ประเด็นยุทธศาสตร์ 5 พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการ ครู และบุคลากร ทางการศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ กลยทุ ธ์ 5.1 พัฒนากฎ ระเบียบหลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับบริบททเ่ี ปลย่ี นแปลงไป 5.2 ปรับปรุงระบบการประเมินวิทยฐานะและสมรรถนะครูให้สัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ของ ผเู้ รยี น 5.3 พัฒนาข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพด้วยรูปแบบที่หลากหลาย รวมท้งั นําเทคโนโลยมี าใช้ในกระบวนการพัฒนา แนวทางการพฒั นา 1. ปรับปรุงแก้ไขกฎ ระเบียบหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษาให้ทันสมัยสอดคล้องกับสภาวการณ์ 2. ปรับปรุงและพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอัตรากําลังครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ให้สัมพนั ธ์กบั การพฒั นาผู้เรียนท่ีเหมาะสมกับระดับและประเภทการศึกษา 3. ปรับปรุงและพัฒนาฐานข้อมูลกลางของครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกสังกัดให้ครอบคลุม และเปน็ ปัจจุบนั กศน.แขวงจรเข้บัว 32

4. พัฒนาระบบเงินเดือนและค่าตอบแทน สําหรับครูที่มีสมรรถนะสูง ครูท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนท่ี ห่างไกล ทรุ กนั ดาร เสี่ยงภัย พนื้ ทพ่ี ิเศษ 5. ปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินครูเพ่ือให้มีและเล่ือนวิทยฐานะให้สอดคล้องกับ ผลสัมฤทธ์ิของผเู้ รียน 6. ส่งเสริมและพัฒนาข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ มีมาตรฐาน และสอดคลอ้ งกบั สมรรถนะวชิ าชีพ เพ่ือใหเ้ อือ้ ต่อการปฏบิ ัติงานและคณุ ภาพผเู้ รียนเป็นสําคัญ 7. สง่ เสรมิ การนาํ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในกระบวนการพัฒนาข้าราชการ ครู และ บุคลากรทางการศึกษา รวมถึงการพัฒนาด้วยรูปแบบที่หลากหลายสอดคล้องกับความต้องการจําเป็น และ สมรรถนะวชิ าชีพ 3. แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับที่ 12 (2560 - 2564) วิสยั ทัศน์ “มุ่งพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ คี วามรคู้ ู่คณุ ธรรม มคี ุณภาพชวี ิตที่ดี มีความสุขในสังคม” “ผู้เรียน” หมายถึง เด็ก เยาวช น นักเรียน นักศึกษา และประช าชน ที่ได้รับบริการ จาก กระทรวงศึกษาธิการ “มีความรู้คู่คุณธรรม” หมายถึง รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต ขยัน อดทน สติปัญญา แบง่ ปนั ซึง่ เป็น ๒ เงื่อนไขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “มีคณุ ภาพชีวิตท่ีดี” หมายถึง มอี าชพี มคี วามมั่นคง มั่งค่งั และยัง่ ยืน ในการดาํ รงชีวติ “มคี วามสุข” หมายถึง ความอยู่ดีมสี ขุ สามารถอย่รู ่วมกนั อยา่ งเอื้ออาทร มีความสามคั คี ปรองดอง “สงั คม” หมายถงึ สังคมไทย ภูมภิ าคอาเซยี น และสงั คมโลก เปา้ หมายหลัก 1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีขึ้น คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการ เปล่ียนแปลง และการพัฒนาประเทศในอนาคต 2. ก าลังคนได้รบั การผลติ และพัฒนา เพ่ือเสรมิ สรา้ งศักยภาพการแข่งขนั ของประเทศ 3. มีองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนนุ การพัฒนาประเทศอยา่ งย่งั ยนื 4. คนไทยได้รับโอกาสในเรยี นร้อู ย่างตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ 5. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีส่วนร่วม จากทุกภาคสว่ น พนั ธกิจ 1. ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ/ประเภทสสู่ ากล 2. เสริมสรา้ งโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาของประชาชนอย่างท่ัวถงึ เท่าเทียม 3. พฒั นาระบบบริหารจดั การการศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1. ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาหลักสูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล 2. ยุทธศาสตรผ์ ลิต พฒั นาครู คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา กศน.แขวงจรเข้บวั 33

3. ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนากําลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการ พัฒนาประเทศ 4. ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ตลอด ชีวิต 5. ยุทธศาสตรส์ ่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทลั เพือ่ การศกึ ษา 6. ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ในการ จดั การศกึ ษา 4. สาระสาคัญของแผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (พ.ศ. 2560 - 2579) วสิ ยั ทัศน์ “คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิต ท่ีเหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จําเป็นในโลกศตวรรษ ที่ 21” เปา้ หมายหลัก 1) คนไทยสามารถเข้าถึงบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังการ เรียนรู้ตลอดชีวติ ทีม่ ีคุณภาพ และมาตรฐานอยา่ งทั่วถึง 2) คนไทยมีสมรรถนะและทักษะในการดํารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้อง กับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และพร้อมรบั การเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 3) หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบเทคโนโลยีท่ีทันสมัย และมีประสิทธิภาพ เพือ่ ใหบ้ ริการการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตใหก้ ับประชาชนอย่างท่ัวถึงและมีประสทิ ธิภาพ 4 ) ห น่ ว ย ง า น แ ล ะ ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ท่ี มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ การบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล 5) ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการ เรยี นรู้ตลอดชวี ิต เปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ 1) เพม่ิ และกระจายโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 2) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้มีสมรรถนะ และทักษะเหมาะสม มีคณุ ภาพชีวิตที่ดี 3) สง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพอื่ การศกึ ษาส าหรับคนทกุ ช่วงวยั 4) พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษา และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมใน การจดั การศกึ ษา กศน.แขวงจรเข้บวั 34

5. มาตรฐานและตัวบง่ ชป้ี ระกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กศน. ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภอ/เขต ประกอบด้วยมาตรฐานหลกั 3 มาตรฐาน 20 ตัวบง่ ชี้ ซึง่ มรี ายละเอยี ด ดังนี้ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผูร้ ับบริการ การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ตวั บ่งชท้ี ่ี 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พื้นฐานมีคุณธรรม ตวั บ่งชที้ ่ี 1.2 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานสามารถอยู่รว่ มกันในสังคมอยา่ ง มีความสุข ตัวบ่งช้ีท่ี 1.3 ผู้เรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีความรู้พ้ืนฐาน ทักษะกระบวน การคิด ทักษะการ แสวงหาความรู้ เรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาํ รงชีวติ การศกึ ษาต่อเนื่อง ตวั บง่ ชี้ท่ี 1.4 ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ ตัวบง่ ชีท้ ี่ 1.5 ผเู้ รียนมที ักษะชีวติ ทจ่ี าํ เป็นสาํ หรบั การดาํ รงชีวิต ตั ว บ่ ง ชี้ ที่ 1 . 6 ผู้ เ รี ย น มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวบ่งชี้ท่ี 1.7 ผู้เรียนใช้ความรู้จากภูมิปัญญาและใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 1.8 ผรู้ ับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณจ์ ากการเข้าร่วมกิจกรรม/ โครงการ มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษาและการให้บรกิ าร ตวั บง่ ชี้ที่ 2.1 คุณภาพครกู ารศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.2 คณุ ภาพวิทยากรการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ตวั บง่ ชที้ ี่ 2.3 คุณภาพผจู้ ัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตวั บ่งชี้ท่ี 2.4 คุณภาพของหลกั สตู ร ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2.5 คณุ ภาพส่อื ตัวบ่งช้ีท่ี 2.6 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรียนรกู้ ารศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ตัวบ่งชท้ี ี่ 2.7 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาต่อเนื่อง ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.8 คุณภาพการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 3 ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การการศึกษา ตัวบ่งช้ีที่ 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลัก ธรรมาภิบาล ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตวั บง่ ชีท้ ่ี 3.3 การสง่ เสริม สนบั สนุนการจดั การศึกษาของภาคีเครอื ข่าย กศน.แขวงจรเข้บวั 35

ตัวบ่งชท้ี ี่ 3.4 การมสี ว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา 6. ทักษะที่สาคัญของผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 ซง่ึ ประกอบด้วย 3 ทักษะ สําคัญได้แก่ 1. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม มุ่งเน้นให้เกิดความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ และแกป้ ญั หาการสอ่ื สาร การสรา้ งความร่วมมอื การคิดสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม 2. ทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพ มุ่งเน้นให้มีคว ามสามารถในการยืดหยุ่น และปรับตัวมีเปูาหมายของชีวิตและความมุ่งม่ันเข้าใจสังคมและยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม มศี กั ยภาพการผลิต และยอมรบั การตรวจสอบมคี วามเปน็ ผู้นาํ และมคี วามรับผิดชอบ 3. ทัก ษะด้ านข้ อมูล ข่า ว สา ร ก ารสื่ อสา ร เ ทคโ นโ ล ยีมุ่ง เน้น ให้มี คว า มสา มาร ถ ในการเข้าถึงสารสนเทศและส่ือต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม สามารถจัดการ เชื่อมโยง ประเมินและสร้าง สารสนเทศ รวมถงึ การประยกุ ต์ใชเ้ รอื่ งจริยธรรมและกฎหมายกับการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศได้ ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ทที่ กุ คนจะตอ้ งเรยี นร้ตู ลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ 1. Reading อ่านออก 2. Writing เขียนได้ 3. Rithemetics คิดเลขเป็น 7C คือ 1. CriticalThinking and Problem Solving ทักษะด้านการคิดอย่าง มีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) 2. Creativity and Innovation ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3. Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ 4. Collaboration, Teamwork and Leadership ทักษะด้านความร่วมมือ การทํางาน เป็นทมี และภาวะผ้นู ํา 5. Communications, Information, and Media Literacy ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรเู้ ท่าทันส่ือ 6. Computing and ICT Literacy ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สาร 7. Career and Learning Skills ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ กศน.แขวงจรเข้บวั 36

7. วสิ ัยทศั น์ สง่ เสริมความรู้คู่คุณธรรม มงุ่ สู่บริการ เพื่อการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตบนพ้นื ฐานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 8. อัตลักษณ์ “ใฝเุ รยี นรู้” 9. เอกลักษณ์ “บรกิ ารทกุ ระดบั ประทบั ใจ” 10. พันธกิจ 1.จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สายสามัญ สายอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต พัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาตามอธั ยาศยั สกู่ ารเรียนร้ตู ลอดชีวิต ควบคูก่ บั การเรียนรูป้ รัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงให้กับผู้เรียน และผูร้ บั บรกิ าร ท่ีอาศัยอยู่ในพนื้ ท่ีเขตลาดพรา้ วอยา่ งทวั่ ถงึ 2.ดําเนนิ งานตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ และแผนกลยุทธ์ของสํานักงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เพ่ือใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ 3. ส่งเสริมครูและบุคลากรของสถานศกึ ษาใหม้ คี วามรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดย สามารถปฏบิ ตั ติ น และจดั การเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมในการขบั เคลอ่ื นเข้าสสู่ ถานศกึ ษาพอเพียง กศน.แขวงจรเขบ้ ัว 37

ภาคผนวก ข โครงการ/กจิ กรรม/หลกั สตู ร (เตรียมเอกสารเพ่ิมเตมิ ) กศน.แขวงจรเขบ้ วั 38

1. ช่อื โครงการ : ศกึ ษาประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2.1 สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 4.3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ มีเปูาหมายการพัฒนาที่สําคัญ เพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมท้ังกาย ใจ สตปิ ัญญา มีพฒั นาการท่ดี ีรอบดา้ นและมสี ขุ ภาวะท่ีดีในทกุ ช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่ จาํ เปน็ ในศตวรรษที่ 21 มีทักษะส่ือสาร ภาษาอังกฤษและภาษาท่ีสาม และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการ เรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอื่น ๆ โดยมสี ัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ขอ้ ท่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งชยั และการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ 2.4 สอดคลอ้ งกบั พนั ธกิจของ กศน.เขตลาดพรา้ ว พันธกิจที่ 1 จัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน สายสามัญ สายอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต พัฒนาสังคมและ ชุมชน และการศึกษาตามอัธยาศัย สู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต ควบคู่กับการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้กบั ผ้เู รียนและผรู้ ับบริการ ท่ีอาศยั อยู่ในพื้นทเ่ี ขตลาดพรา้ ว อย่างทว่ั ถงึ 2.5 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน กศน. : มาตรฐานที่ 1 ผูเ้ รียน / ผู้รบั บริการ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 1.3 ผูเ้ รยี นมคี วามใฝรุ ู้และเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง 3. หลักการและเหตุผล ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ พัฒนา ศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มีเปูาหมายการพัฒนาที่สําคัญ เพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีคณุ ภาพ โดยคนไทย มีความพร้อมทงั้ กาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ ดใี นทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผดิ ชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะท่ีจําเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ กศน.แขวงจรเข้บวั 39

และภาษาทส่ี าม อนรุ กั ษภ์ าษาท้องถ่นิ มีนิสยั รกั การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การ เป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตาม ความถนัดของตนเอง และนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ เรียนรคู้ วามเปน็ มาของประเทศชาตบิ ้านเมอื ง ปลกู ฝงั คุณธรรม สรา้ งวินยั และอุดมการณ์ความยึดมั่นในสถาบัน หลกั ของชาติ นน้ั ด้วยเหตุน้ี เพื่อตอบสนองนโยบายของยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ และนโยบาย จุดเน้นการดําเนินงานของ กศน. จึงจัดโครงการศึกษาประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร เพ่ือ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมของกรุงรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานคร ศึกษา ความเปน็ มาของกรุงรตั นโกสินทร์ และศิลปวฒั นธรรมของไทยทเี่ กิดขึ้นในอดีตจนถึงปัจจบุ นั 4. วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ ศึกษาเรียนรูศ้ ิลปะสมัยกรงุ รตั นโกสินทร์ 2. เพือ่ เรยี นรู้ทางประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรมของยุคกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ 5. เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ นกั ศกึ ษา กศน.เขตลาดพรา้ ว จาํ นวน 80 คน เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจทางด้านประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมของยคุ รัตนโกสินทร์ 6. วธิ ีดาเนนิ การ กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เป้าหมาย พ้นื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดาเนินการ ศึกษาเรียนรู้ 13 ธ.ค. 13,000 ภายใน 1. เพื่อศึกษาเรยี นรู้ศิลปะสมัย นักศักษา 8 พพิ ิธ- 61 บาท พิพิธภณั ฑสถา นแห่งชาติ กรุงรตั นโกสินทร์ กศน. 0 คน ภัณฑสถาน พระนคร 2. เพอ่ื เรยี นรู้ทาง เขตลาดพร้าว แหง่ ชาติ ประวตั ิศาสตร์และวัฒนธรรม พระนคร ของยุคกรุงรตั นโกสินทร์ เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 7. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ กศน.แขวงจรเขบ้ ัว 40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook