Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 91c41de8997b8006552dee9af24bf014

91c41de8997b8006552dee9af24bf014

Description: 91c41de8997b8006552dee9af24bf014

Search

Read the Text Version

ค สารบัญภาพ (List of Illustrations) ภาพท่ี หนา้ 1 ต้นลำไยท่ีไมต่ ดั แตง่ ก่ิงกบั ตน้ ท่ีตดั แต่งกง่ิ 4 ทรงเปิดกลำงพมุ่ 2 ตน้ ลำไยท่ีไม่ตัดแตง่ กิ่งกบั ตน้ ที่ตดั แตง่ กง่ิ 6 ทรงสเ่ี หลย่ี ม 3 ตน้ ลำไยที่ไมต่ ัดแต่งกง่ิ กับต้นท่ีตดั แตง่ กงิ่ 7 ทรงฝำชีหงำย 4 กิ่งกระโดงท่ีเกิดข้ึนจำกก่ิงในแนวนอน (ซ้ำย) 7 กำรแตกใบหลังกำรตัดแต่งก่งิ 4 เดอื น (ขวำ) 5 กำรตดั ช่อผลลำไย 9 6 ลำไยท่ีติดผลดกมำกจนเกินไป (ก) และขนำด 11 ผลท่เี หมำะสมในกำรตัดแตง่ ชอ่ ผล (ข) 7 วิธกี ำรตดั (ก) และชอ่ ผลท่ตี ดั ออก (ข) 11 8 ลำไยที่ตัดแต่งชอ่ ผลมคี ุณภำพทดี่ ี มคี วำม 12 สมำ่ เสมอทั้งชอ่ ผล 9 กำรตัดแต่งช่อผลทำให้ลำไยมีขนำดเพ่ิมข้ึน 13 เมื่อเปรียบเทียบกับไมต่ ดั แตง่

ง สารบัญภาพ (ตอ่ ) (List of Illustrations) 10 ไนโตรเจนมำกเกินไป (ซำ้ ย) มกี ำรออกดอกไม่ 14 สม่ำเสมอทำให้ได้ผลผลิตน้อยและมีผลแตก มำกกว่ำ 11 ลำไยท่ีได้รับธำตุอำหำรไม่พอจะแสดงอำกำร 16 ขำดธำตอุ ำหำรออกมำ 12 ขนั้ ตอนกำรผลิตลำไยนอกฤดู 21

1 การเพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลิตลาไยคณุ ภาพ ลำไยจัดเป็นไม้ผลท่ีมีควำมสำคัญทำงเศรษฐกิจชนิดหน่ึง ของประเทศ สำมำรถทำรำยได้จำกกำรส่งออกปีละไม่ต่ำกว่ำ 50,000 ล้ำนบำท แหล่งผลิตลำไยท่ีสำคัญอยู่ในภำคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน เชียงรำย และพะเยำ กำรผลิตลำไย ในอดีตเกษตรกรต้องรับภำระควำมเส่ียงเกี่ยวกับกำรให้ผลผลิตของ ลำไยเนอ่ื งจำกกำรออกดอกตดิ ผลขน้ึ อยู่กบั ควำมหนำวเย็น หำกปีใด ที่มีอุณหภูมิต่ำและหนำวเย็นยำวนำนลำไยจะออกดอกติดผลมำก ในขณะที่บำงปีอำกำศไม่หนำวเย็นพอต้นลำไยจะออกดอกติดผล น้อยทำให้ลำไยถูกจัดอยู่ในกลุ่มไม้ผลท่ีมีนิสัยกำรออกดอกติดผล เว้นปี (alternate bearing) นับต้ังแต่ปี พ.ศ.2541 กำรค้นพบสำร โพแทสเซียมคลอเรตด้วยควำมบังเอิญของคนทำดอกไม้ไฟว่ำมี คุณสมบัติสำมำรถชักนำกำรออกดอกของลำไยโดยไม่ต้องพึ่งพำ ควำมหนำวเย็น ทำให้ปัญหำกำรออกดอกเว้นปีลดควำมสำคัญลง ในช่วงเวลำนั้นเกษตรกรสำมำรถจำหน่ำยผลผลิตได้ในรำคำสูง จึงมีกำรขยำยพ้ืนท่ีปลูกเพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็วจำก พื้นท่ีปลูก 4 แสน กว่ำไร่ ในปี พ.ศ. 2541 เพ่ิมขึ้นเป็นประมำณ 1 ล้ำนไร่ ในปี พ.ศ. 2549 ส่งผลให้ผลผลิตมำกเกินควำมต้องกำรของตลำดโดยเฉพำะ อย่ำงยิ่งผลผลิตลำไยในฤดูกำล มีผลให้รำคำผลผลิตตกต่ำเกษตรกร ประสบกับกำรขำดทุน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงมีนโยบำย

2 กระจำยฤดูกำลผลิตลำไยให้มีผลผลิตออกสู่ตลำดตลอดปี โดย สง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรผลิตลำไยนอกฤดูมำกขึ้น ขน้ั ตอนการผลติ ลาไย มี ดงั นี้ 1. ข้ันตอนกำรเตรียมต้น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรตัดแต่ง กิ่งและกำรดูแลยอดใหม่ให้มีใบสมบูรณ์ กำรตัดแต่งที่ดีจะมีผลต่อ ปรมิ ำณและคุณภำพผลผลติ ตลอดจนตน้ ทนุ กำรผลิต 2. ข้ันตอนกำรบังคับกำรออกดอกด้วยสำรโพแทสเซียม คลอเรต 3. ขน้ั ตอนกำรดูแลรักษำเพ่ือให้ผลผลติ ลำไยไดค้ ณุ ภำพ แต่ละข้ันตอนล้วนมีควำมสำคัญเท่ำเทียมกันและต้อง ดูแลอย่ำงใกล้ชิดและประณีต เทคนิคในแต่ละข้ันตอนจะได้อธิบำย ในรำยละเอยี ดดงั น้ี 1. เทคนคิ การตัดแต่งกิ่งลาไย กำรตัดแต่งก่ิงลำไยรูปทรงใดจะถูกต้องเหมำะสม เป็นกำรยำกที่จะกำหนดรูปทรงของต้นลำไยท่ีแน่นอน เพรำะลำไย แต่ละสวนมีอำยุต้น รูปทรงและระยะปลูกแตกต่ำงกัน กำรเรียนรู้ เทคนิคกำรตัดแต่งก่ิงจะสำมำรถนำไปสู่กำรลงมือปฏิบัติได้จริงใน กำรตัดแตง่ ก่งิ

3 ประโยชนข์ องการตัดแตง่ ก่ิงลาไย 1. เร่งใหล้ ำไยแตกใบอ่อน มีผลทำใหต้ ้นลำไยฟ้ืนตัวได้ เร็ว 2. ควบคุมควำมสูงของทรงพุ่ม ทำให้ง่ำยต่อกำรเก็บ เก่ียวผลผลติ และสะดวกตอ่ กำรดแู ลรักษำ 3. ลดกำรระบำดของโรคและแมลง ทรงพุ่มโปร่งทำให้ อำกำศถ่ำยเทได้สะดวก และแสงแดดสำมำรถส่องเข้ำไปในทรงพุ่ม จะช่วยลดกำรระบำดของโรคและแมลง 4. ต้นลำไยตอบสนองต่อสำรคลอเรต กำรตัดแต่งก่ิงให้ ทรงพุ่มโปร่งแสงส่องเข้ำไปในทรงพุ่มจะช่วยให้ต้นลำไยตอบสนอง ต่อสำรโพแทสเซียมคลอเรตไดด้ ี 5. ผลผลิตมีคุณภำพดี ต้นลำไยที่มีทรงพุ่มทึบถ้ำหำก ออกดอกและมีกำรติดผลดกส่งให้ลำไยมีผลขนำดเล็ก ผลผลิต คณุ ภำพตำ่ อปุ กรณก์ ารตัดแตง่ ก่ิง เลือ่ ย ใช้ตดั กง่ิ ท่มี ีขนำดใหญ่ เสน้ ผำ่ นศูนย์กลำงของกิ่ง ตงั้ แต่ 0.5 - 4.0 นวิ้ กรรไกร ใชส้ ำหรับตัดก่งิ ท่มี ีขนำดเลก็ เสน้ ผ่ำนศนู ย์กลำง ไม่เกิน 0.5 น้วิ

4 ทรงเปดิ กลางพุ่ม ทรงเปิดกลำงพุ่มสำมำรถลดควำมสูงของทรงพุ่มได้ใน ระดับหน่ึง ซึ่งเหมำะกับตันลำไยท่ีมีอำยุมำก และมีทรงพุ่มสูงใหญ่ ทไ่ี ม่สำมำรถตัดแต่งกิ่งทรงฝำชีหงำยและทรงสเ่ี หลี่ยมได้ (ภำพท่ี 1) ก่อนตัด หลังตัด ภาพท่ี 1 ตน้ ลำไยที่ไมต่ ัดแตง่ กิ่งกบั ตน้ ทต่ี ัดแต่งก่งิ ทรงเปิดกลำงพุ่ม

5 ทรงส่ีเหลี่ยม กำรตัดแต่งรูปทรงสี่เหลี่ยมเหมำะสำหรับต้นลำไยที่มี อำยุนอ้ ยและปลูกในระยะชดิ ซง่ึ มขี ั้นตอนกำรปฏบิ ัติดงั นี้ (ภำพที่ 2) 1. กำหนดควำมสูงของทรงพุ่มไม่เกิน 4 เมตร โดยท่ัวไปอยู่ ในช่วง 2-3 เมตร โดยนำไมไ้ ผท่ ำเครื่องหมำยตำมควำมสูงท่ีต้องกำร แล้วนำไปทำบทต่ี ้นลำไยหำกก่ิงลำไยมีควำมสูงเกินเครื่องหมำยก็ตัด ออกให้หมด 2. ตัดปลำยก่ิงด้ำนข้ำงทรงพุ่มท้ังส่ีด้ำน ส่วนจะเท่ำใดนั้น ข้ึนอยู่กับระยะปลูกและทรงพุ่มเดิมของลำไยถ้ำหำกทรงพุ่มชนกัน หรือใกล้จะชนกันก็ตัดออก แต่โดยทั่วไปแล้วแนะนำให้ตัดลึกจำก ปลำยกิ่งเข้ำไปประมำณ 30 - 50 เซนติเมตร กอ่ นตัด หลงั ตัด

6 ภาพท่ี 2 ต้นลำไยที่ไมต่ ัดแต่งกง่ิ กับตน้ ทต่ี ัดแต่งกิง่ ทรงส่ีเหล่ียม ทรงฝาชหี งาย ตัดกิ่งท่ีอยู่กลำงพุ่มออกให้หมดเหลือเฉพำะกิ่งท่ีเจริญ ในแนวนอน จำกน้ันจะเกดิ กิ่งใหม่ขน้ึ ตำมกง่ิ หลักท่ีเจริญในแนวนอน เรยี กก่งิ ที่เกดิ ขึน้ วำ่ กระกระโดงหรอื กิ่งน้ำคำ้ ง (ภำพที่ 3) ก่อนตดั หลงั ตดั

7 ภาพที่ 3 ตน้ ลำไยทไ่ี ม่ตดั แต่งกง่ิ กบั ตน้ ท่ีตดั แต่งก่งิ ทรงฝำชีหงำย ภำยหลังเก็บเก่ียวผลผลิตตัดกิ่งกระโดงให้เหลือตอยำว 3 – 5 นิ้ว เพื่อกระตุ้นกำรแตกใบและควบคุมควำมสูงของทรงพุ่ม (ภำพท่ี 4) ภาพท่ี 4 กง่ิ กระโดงท่ีเกิดขน้ึ จำกก่ิงในแนวนอน (ซ้ำย) กำรแตกใบ หลังกำรตัดแต่งกง่ิ 4 เดือน (ขวำ)

8 ข้อดีของการตดั แตง่ ก่ิงทรงฝาชหี งาย 1. ได้ต้นลำไยทรงเต้ียและสำมำรถควบคุมควำมสูงของทรง พมุ่ ให้อยใู่ นระดับเดิมได้ทกุ ปี 2. กระตุน้ กำรแตกใบอ่อนให้เร็วข้นึ 3. ผลผลิตที่ได้มีคุณภำพดีโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งผลลำไยที่เกดิ จำกกิ่งกระโดงในทรงพุ่มจะมีผิวสีเหลืองทองเป็นท่ีต้องกำรของ ตลำด 4. ตน้ ทุนกำรผลติ ลดลงรอ้ ยละ 20 – 50 ขอ้ จากัดของทรงฝาชีหงาย 1. ถ้ำตัดแต่งก่ิงออกในปริมำณท่ีมำกผลผลิตในปีแรกจะ ลดลง 2. ครั้งแรกของกำรตัดแตง่ ควรตัดในชว่ งฤดูฝนเท่ำนั้นถ้ำตัด แตง่ ฤดอู ่ืนอำจมีผลทำใหเ้ ปลอื กลำตน้ แตก

9 2. การตัดแตง่ ชอ่ ผลลาไย ภาพท่ี 5 กำรตดั ช่อผลลำไย ประโยชนข์ องการตัดแต่งช่อผล 1. สำมำรถเพ่มิ ขนำดของผลลำไยได้เปน็ ที่น่ำพอใจ 2. เกษตรกรจะมีรำยได้ตอ่ ตน้ มำกกว่ำต้นท่ไี ม่ไดป้ ลดิ ผล (ตำรำงที่ 1)

10 ตารางที่ 1 นำ้ หนักผล เกรดผล และรำยไดต้ ่อต้นของต้นลำไยท่ีไว้ จำนวนผลตอ่ ชอ่ ผลตำ่ งกัน การไว้ผลต่อช่อ ผลผลติ เกรดผล (%) รายได้ ตอ่ ตน้ ตอ่ ต้น ไมป่ ลิดผล (กก.) ใหญ่ เล็ก (บาท) (ไว้ผล 99 ผล) ไวผ้ ล 30 ผล ต่อชอ่ 61.4 0 100 350 ไว้ผล 60 ผล ต่อชอ่ 36.6 72 28 945 62.8 82.7 17.3 1,803 วธิ ีการตดั แต่งช่อผล 1. กรณีลำไยติดผลดก (มำกกว่ำ 100 ผล/ช่อ) ควรทำกำร ตัดแต่งออกบ้ำง (ภำพที่ 6ก) กำรตัดแต่งควรทำในช่วงติดผลอ่อน (2-3 เดือนหลังติดผล) หรือผลมีขนำด 0.5 เซนติเมตร หรือขนำด เท่ำเมล็ดถ่วั เหลอื ง เพ่ือชว่ ยให้ผลท่ีเหลือมขี นำดโตขน้ึ (ภำพที่ 6ข)

11 กข ภาพที่ 6 ลำไยที่ติดผลดกมำกจนเกนิ ไป (ก) และขนำดผลท่ี เหมำะสมในกำรตดั แต่งช่อผล (ข) 2. ตัดแต่งช่อผลด้วยกรรไกร โดยตัดเข้ำมำจำกปลำย 1/3 ส่วน หรือตัดออกครึ่งหนึ่งของช่อผล เพ่ือให้เหลือผลประมำณ 40-60 ผล/ช่อ (ภำพที่ 7) กข ภาพท่ี 7 วิธกี ำรตดั (ก) และช่อผลทต่ี ัดออก (ข)

12 คณุ ภาพผลหลังตดั แตง่ ได้มีกำรทดลองเพมิ่ ขนำด และคณุ ภำพผลของตน้ ลำไยท่ีติด ผลดก เช่น กำรใส่ปุ๋ย และกำรใช้สำรควบคุมกำรเจริญเติบโตพืช แต่ก็ยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่ำที่ควร จนกระทั้งได้มีกำรทดลองตัด ช่อผลออกบำงส่วน ซ่ึงพบว่ำ สำมำรถเพ่ิมขนำดของผลลำไยได้เป็น ที่น่ำพอใจ เม่ือเปรียบเทียบกับต้นลำไยที่ไม่ได้ปลิดผลออกเลย (ภำพท่ี 8) ผลผลิตจำกกำรตัดแต่งช่อผล ขนำดผลลำไยจะโตขึ้นโดย จะโตกวำ่ ทไี่ ม่ตดั แต่ง (ภำพท่ี 8 และ 9) ภาพที่ 8 ลำไยทีต่ ัดแต่งชอ่ ผลมคี ณุ ภำพท่ีดี มคี วำมสมำ่ เสมอท้ังชอ่ ผล

13 ภาพที่ 9 กำรตัดแต่งชอ่ ผลทำใหล้ ำไยมขี นำดเพ่ิมข้นึ เมือ่ เปรียบเทียบกับไมต่ ัดแตง่ 3. การจัดการปุ๋ยลาไย ใส่ปุ๋ยลำไยอย่ำงไรให้เหมำะสมและสมเหตุผลเรำจะใส่ปุ๋ย ลำไยให้เหมำะสมได้โดยใช้ขอ้ มูลกำรวเิ ครำะห์ธำตุอำหำรที่ตดิ ไปกับ ผลผลิต ท่ีเรำเก็บเก่ียวไปขำย มำเป็นแนวทำงกำรใส่ปุ๋ย โดยใช้หลัก ที่ว่ำ เอำออกไปเท่ำไหร่ ใส่คืนเท่ำนั้น ซึ่งธำตุอำหำรที่เอำออก นอกจำกที่ติดไปกับผลผลิตแล้วยังรวมถึงท่ีสูญเสียต่ำงๆ อีกด้วย ดังนั้นกำรใส่ปุ๋ยจะต้องร วมสิ่งที่สูญเสียหรือต้องคำนึงถึง ประสิทธิภำพกำรใช้ปุ๋ยด้วย (จำกกำรทดลองจนถึงปัจจุบัน พบว่ำ ควรใส่ปุ๋ย 1.5-2 เท่ำของท่ีประเมินได้ ขึ้นอยู่กับชนิดดินและกำร จัดกำรปุ๋ยที่ผ่ำนมำ) กำรใช้ปุ๋ยลำไยแสดงในตำรำงท่ี 2 และ 3 ควร แบง่ ปยุ๋ ในปรมิ ำณทเี่ ท่ำกนั ใส่ 2-3 คร้งั

14 ภาพท่ี 10 ไนโตรเจนมำกเกินไป มีกำรออกดอกไม่สมำ่ เสมอทำให้ ไดผ้ ลผลิตนอ้ ยและมผี ลแตกมำกกวำ่

15 ตารางท่ี 2 แสดงปรมิ ำณปุย๋ ที่ควรให้แก่ลำไยในแตล่ ะครั้งของกำร แตกใบ (กรัมต่อต้น) เสน้ ผ่าศูนย์กลางทรงพุ่ม สตู รปยุ๋ (เมตร) 46-0-0 15-15-15 0-0-60 1 16 12 9 15 2 32 23 40 80 3 75 53 140 230 4 150 100 370 5 260 180 6 430 290 7 650 450 ตารางท่ี 3 แสดงปรมิ ำณปุ๋ยท่ีควรให้แกล่ ำไยในระยะตดิ ผลถงึ เกบ็ เกย่ี ว ปรมิ าณผลผลติ ที่ สตู รปยุ๋ คาดว่าจะได้ (กก.ตอ่ ต้น) 46-0-0 15-15-15 0-0-60 50 450 480 440 100 900 960 880 200 1,800 1,920 1,800

16 ภาพที่ 11 ลำไยท่ไี ด้รับธำตุอำหำรไม่พอจะแสดงอำกำรขำด ธำตอุ ำหำรออกมำ ทีผ่ ่ำนมำกำรจัดกำรดนิ และปุย๋ ลำไยของเกษตรกร จะอำศัย ข้อมูลจำกประสบกำรณ์ท่ีเคยปฏิบัติกันมำเป็นหลัก หรือจำกกำร สอบถำมจำกสวนเพื่อนบ้ำนท่ีต้นลำไยดูสมบูรณ์ดี ย่ิงไปกว่ำน้ัน มีเกษตรกรจำนวนไม่น้อยท่ีมีกำรจัดกำรปุ๋ยลำไยตำมควำมเชื่อ เช่น เช่ือว่ำกำรใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสสูงจะช่วยให้ต้นไม้ออกดอกได้ดี เป็นต้น ในกรณีกำรจัดกำรธำตุอำหำรท่ีผ่ำนมำไม่เหมำะสมจะส่งผลต่อ สมดุลของธำตุอำหำรในดิน ซึ่งจะมีปัญหำต่อกำรจัดกำรธำตุอำหำร และกำรผลิตลำไยในอนำคตได้ รวมท้ังในปัจจุบนั กำรผลติ ต้องมีกำร แข่งขันมำกยิ่งข้ึน ท้ังในด้ำนรำคำและคุณภำพของผลผลิต ดังนั้น เพื่อให้มีกำรผลิตลำไยคุณภำพ อย่ำงมีประสิทธิภำพ ถูกต้องและ แม่นยำกว่ำในอดีต กำรจัดกำรด้ำนดินและปุ๋ยลำไยในปัจจุบัน

17 เกษตรกรจะต้องใช้ข้อมลู จำกงำนวิจยั โดยเฉพำะข้อมลู ทำงด้ำนกำร วิเครำะห์ดินและกำรวิเครำะห์พืช มำปฏิบัติมำกยิ่งข้ึนเพื่อให้กำร จดั กำรดินและปุ๋ยเป็นไปอยำ่ งมีประสทิ ธิภำพ การใหป้ ุ๋ยไมเ่ หมาะสมจะเกิดผลเสยี อย่างไร กำรให้ปุ๋ยไม่เหมำะสมจะเกิดผลเสียอย่ำงไร กำรให้ปุ๋ยท่ีไม่ เหมำะสมมักเกิดจำกควำมเข้ำใจผิดของเกษตรกรท่ีว่ำกำรเพิ่มปุ๋ย คือกำรเพิ่มคุณภำพของลำไย แต่ในควำมเป็นจริงแล้วกำรใส่ปุ๋ยมำก หรือน้อยเกินไปโดยไม่ทรำบควำมต้องกำรของลำไยจะเกิดผลเสีย ตำมมำได้ ผลเสียของการใสป่ ุ๋ยมากเกนิ ความต้องการ - สน้ิ เปลอื งค่ำใช้จ่ำยโดยไมจ่ ำเปน็ - สมดุลธำตอุ ำหำรเสียไป อำจทำใหข้ ำดธำตอุ ำหำรบำงธำตุ - กำรให้ไนโตรเจนมำกเกินไปจะทำให้ลำไยออกดอกไม่ดี เมือ่ ใส่สำรโพแทสเซียมคลอเรตและผลผลิตจะดอ้ ยคณุ ภำพ ผลเสียของการใส่ปุ๋ยไมเ่ พยี งพอ - ตน้ ลำไยฟ้นื ตัวหลงั กำรเก็บเกย่ี วชำ้ เช่น แตกใบช้ำ หรือ แสดงอำกำรขำดธำตุอำหำรหลังแตกใบ - ผลผลติ ด้อยคุณภำพ - ขนำดใบเล็กลง ในระยะยำวอำจเป็นโรคหงอยได้

18 4. การใชส้ ารโพแทสเซียมคลอเรตเพ่ือผลิตลาไยนอกฤดู “ลำไย” ผลไม้เศรษฐกิจของไทยที่มีผลผลิตออกสู่ตลำด ในช่วงเดือน กรกฎำคม - สิงหำคม แต่กำรมีผลผลิตเป็นจำนวนมำก ในฤดูกลับทำให้เกษตรกรผู้ปลูกลำไยยังคงประสบปัญหำต่ำงๆ อำทิ รำคำผลผลิตในฤดูตกต่ำ ขำดแคลนแรงำนในกำรเก็บเกี่ยว โดยเฉพำะลำไยในฤดู ผลผลิตลำไยในฤดูออกสู่ตลำดตรงกับลำไย ของประเทศจีน และประเทศคู่แข่งผู้ผลิตลำไย เช่น จีนและ เวียดนำมยังทำลำไยนอกฤดูไม่ประสบควำมสำเร็จดังนั้นจึงควร พัฒนำลำไยนอกฤดบู นจดุ อ่อนของคู่แข่ง แนวทำงกำรผลิต ลำไยนอกฤดู ให้ประสบควำมสำเร็จประกอบด้วย (ภำพที่ 12) - กำรนำควำมรู้จำกงำนวิจัยและภูมิปัญญำท้องถิน่ มำใช้ ในกระบวนกำรผลิตลำไย - กำรเลือกช่วงกำรผลิตให้เหมำะสมกับพ้ืนที่และ สอดคลอ้ งกบั ควำมต้องกำรของตลำด - กำรบริหำรควำมเสี่ยงโดยแบ่งพ้ืนที่กำรผลิตหลำยรุ่น ต่อปี - กำรสร้ำงเครอื ข่ำยกำรผลิตลำไยใหเ้ ข็มแข็ง

19 ขนั้ ตอนและวธิ ีการผลติ ลาไยนอกฤดู 1. ตัดแต่งก่ิงเพื่อ ลดควำมสูงของทรง พุ่มเตรียมต้นลำไย ใ ห้ ส ม บู ร ณ์ แ ต ก ใ บ อ่อนอยำ่ งนอ้ ย 2 ชดุ 2. ทำควำม สะอำดใตท้ รงพมุ่ ให้ สำรโพแทสเซยี มคลอ เรตทำงดนิ อัตรำกำร ให้สำรตำมขนำดทรง พุ่ม (ตำรำงท่ี 4) 3. ภำยหลังใหส้ ำร ประมำณ 3-5 สปั ดำห์ ลำไยจะเร่ิมแทงช่อ ดอก

20 4. ต้นที่ติดผลดก ควรตัดกลำงช่อผลให้ เหลือจำนวน 40- 60 ผลตอ่ ชอ่ 5. กำรติดผลของ ต้นลำไยที่ตัดแต่งก่ิง ทรงฝำชีหงำย 6. คดั เกรดและ บรรจุลงตะกร้ำ ภำยในตะกรำ้ ควร คดั เกรดผลใหม้ ี ควำมสมำ่ เสมอ และควรเหลอื ก้ำน ช่อผลยำวไม่เกิน 15 เซนติเมตร

21 7. นำผลผลิต ลำไยนอกฤดูส่งจดุ รบั ซอ้ื ภาพท่ี 12 ขนั้ ตอนกำรผลิตลำไยนอกฤดู ตารางที่ 4 ข้อแนะนำกำรใช้สำรโพแทสเซียมคลอเรตกบั ต้นลำไยท่ี มีขนำดทรงพ่มุ ต่ำง ๆ เสน้ ผ่าศนู ย์กลางทรงพุ่ม (เมตร) อัตราการใช้ (กรัมตอ่ ตน้ ) 3 50 - 150 4 100 -250 5 150 - 400 6 250 - 600 7 300 - 800 8 400 -1,000 9 500 – 1,300 >10 600 – 1,500

22 ตารางที่ 5 ชว่ งเวลำทีใ่ ห้สำรโพแทสเซียมคลอเรต และชว่ งเวลำท่ี เกบ็ เกีย่ วผลผลิตใหต้ รงกบั เทศกำลต่ำงๆ เดือนทรี่ าดสาร เดอื นที่เก็บเก่ียว เทศกาลและ 1. พฤษภำคม – มิถุนำยน ชว่ งเวลา ธันวำคม คริสมำส/ปี 2. 10 – 30 มิถนุ ำยน ปลำยเดอื น ใหม่ 3. ปลำยเดือนกรกฎำคม มกรำคม – สิงหำคม ต้นเดอื น ตรษุ จีน 4. พฤศจิกำยน กมุ ภำพนั ธ์ เชงเมง้ มีนำคม ก่อนฤดู มถิ ุนำยน

23 เอกสารอา้ งองิ กรมวชิ ำกำรเกษตร.2453.มาตรฐานลาไยของประเทศไทยและการ ผลิตลาไยอย่างถูกต้องและเหมาะสม. ศนู ยผ์ ลักดันสินคำ้ เกษตรเพือ่ กำรส่งออก กรมวชิ ำกำรเกษตร กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ 21 น. จริยำ วิสิทธิพ์ ำนิช ชำตรี สทิ ธกิ ลุ และเยำวลกั ษณ์ จนั ทร์บำง. 2542. โรคและแมลงศัตรูลาไย ลิ้นจ่ีและมะม่วง. หำ้ ง หุ้นส่วนธนบรรณกำรพิมพ์ เชยี งใหม่ 102น. พำวนิ มะโนชัย. 2544. เอกสารประกอบการสอนวิชาไม้ผลเขตกึง่ รอ้ น (พส 416). สำขำไม้ผล ภำควิชำพชื สวน คณะผลิต กรรมกำรเกษตร มหำวิทยำลัยแม่โจ้ เชยี งใหม่ 173 น. พำวิน มะโนชัย ยทุ ธนำ เขำสุเมรุ ชิติ ศรตี นทพิ ย์ สนั ติ ชำ่ ง เจรจำ. 2547.เทคโนโลยีการผลิตลาไย. จดั พิมพ์โดย วำรสำรเคหกำรเกษตร 126 น. พำวิน มะโนชัย วรินทร์ สทุ นต์ สุรชัย ศำลิรัส จรี นันท์ เสนำ นำญ จำนง ศรีจันทร์ และเสกสันต์ อสุ สหตำนนท์. 2547. การตัดแตง่ เพื่อควบคุมทรงพ่มุ : ทรงฝาชีหงาย. หนำ้ 9 – 21. ในกำรนำผลกำรวจิ ยั ไม้ผลสูก่ ำรปฏิบตั ิเชงิ พำณิชย์. สำขำไม้ผล ภำควิชำพชื สวน คณะผลิตกรรมกำรเกษตร มหำวทิ ยำลยั แมโ่ จ้ เชียงใหม่

24 พำวนิ มะโนชยั วรนิ ทร์ สุทนต์ วินยั วริ ยิ ะอลงกรณ์ จรี นนั ทร์ เสนำนำญ นพดล จรสั สมั ฤทธ์ิ เสกสนั ต์ อุสสหตำนนท์ อมลณฐั ฉัตรตระกลู และพทิ ยำ สรวมศิร.ิ 2547. การชกั นาการออกดอกของลาไยด้วยสารคลอเรต. หน้ำ 22 –32. ในกำรนำผลกำรวิจัยไมผ้ ลสกู่ ำรปฏบิ ัตเิ ชงิ พำณชิ ย์. สำขำไม้ ผล ภำควชิ ำพชื สวน คณะผลติ กรรมกำรเกษตร มหำวทิ ยำลยั แมโ่ จ้ เชยี งใหม่ พิทยำ สรวมศริ ิ และพำวนิ มะโนชยั . 2545. การผลติ ลาไยนอก ฤดูอย่างมอื อาชีพ. ธนบรรณกำรพิมพ์ เชยี งใหม่ 64 น. สมชำย องคป์ ระเสริฐ. 2547. การให้นา้ ลาไยและการให้ปุ๋ยลาไย. หน้ำ 46 – 62. ในกำรนำผลกำรวจิ ัยไมผ้ ลสู่กำรปฏิบัติเชงิ พำณิชย.์ สำขำไมผ้ ล ภำควิชำพชื สวน คณะผลติ กรรมกำร เกษตร มหำวิทยำลัยแมโ่ จ้ เชยี งใหม่ สถำบันอำหำร. 2541. คมู่ อื การอบรมด้านอบแหง้ ลาไย พรอ้ ม กรรมวธิ กี ารผลติ และแบบแปลน. 74 น. Khaosumain, Y., Sritontrip, C. and Changjaraja, S. 2005. Nutritional status of declined and healthy longan trees in northern Thailand.Acta Horticulturae. 655:275 – 280. Liu, X.H. and Ma, C.L. 2001. Production and research of longan in China. Acta Horticulturae.558:73 – 78.

25 Manochai, P., Srumsiri, P., Wiriya-alongkorn, W., Naphrom,D., Hegele,M.,Bangerth,F. 2005. Year around off season flower induction in longan (Dimocarpus longan, Lour.) trees by KClO3 applications : potentials and problems. Scientia Horticulturae.104: 379 – 390.

26 แหลง่ ทนุ อุดหนนุ ได้รับทุนอุดหนุนกำรทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุน กำรวิจัย โครงกำร “Research for Community”ทุนอุดหนุนกำร วิจัย ประจำปีงบประมำณ 2559 มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ร่วมกับ สำนกั งำนคณะกรรมกำรวจิ ยั แหง่ ชำติ (วช.) คณะผู้จัดทาคู่มอื ผูช้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.ธรี นชุ เจริญกจิ ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์พำวนิ มะโนชยั นำงจิรนนั ท์ เสนำนำญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook