ข้ึนอยู่กับว่าผู้ผลิตจะผลิตงานออกมาได้ตรงตามที่ตนเองคิด และตรงตามความพอใจของผู้เสพหรือไม่เช่นเดยี วกนั ในความเหน็ ของผม ภาพยนตรจ์ งึ เปน็ ผลงานของมนษุ ย์ ทใ่ี ชเ้ พอ่ื การใดกไ็ ดท้ งั้ นนั้ ไมว่ า่ เพอื่ ประโยชนข์ องผผู้ ลติ ประโยชน์ ของผู้เสพ ใช้ในทางท่ีดีหรือใช้ในทางที่ร้าย ความสมประโยชน์ จะเกิดข้ึนได้ทั้งสิ้นถ้าผู้ผลิตงานศิลปะน้ันมีฝีมือในการผลิต รู้จักและเข้าใจในสิ่งท่ีตนผลิต และท�ำให้ผู้เสพพอใจในศิลปะ ทตี่ นผลติ ขน้ึ มา เหมือนดังที่ทราบกันแล้วว่าภาพยนตร์ไม่ใช่สิ่งที่ ประดิษฐ์คิดค้นข้ึนโดยคนไทย แต่เป็นนวัตกรรมที่ฝรั่งเป็น ผู้คดิ เพราะฉะนัน้ ความรู้ในเรื่องภาพยนตร์จงึ ไม่ใช่สง่ิ ที่คนไทย ส่วนใหญ่จะสามารถเรียนรู้ได้มากนัก แม้ว่าคนไทยมีโอกาส ได้ดภู าพยนตรก์ ่อนคนในประเทศอษุ าคเนย์ ดงั ขอ้ เขยี นตอนตน้ ที่ผมเขียนมา แม้ในช่วงชีวิตผมเอง ผมค่อนข้างมั่นใจว่าก่อนปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ความรู้เก่ียวกับภาพยนตร์ที่เขียนโดยคนไทยเป็น ภาษาไทย ด้วยภาษาที่คนทั่วไปสามารถอ่านแล้วเข้าใจได้ ง่ายๆ (ไม่ใช่ประเภทต�ำราทางวิชาการ-ซ่ึงวิชาภาพยนตร์อันมี การเรียนการสอนกันอยู่บ้างในยุคนั้นก็มีเฉพาะในระดับท่ีสูง กว่ามัธยมศึกษา-เข้าไปอีก) “ค่อนข้างจะไม่มี” แน่ จนกระทั่ง ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ ปราโมช ได้เขียนหนังสือเร่ืองเมืองมายา แล้ว ตีพมิ พ์ครัง้ แรกขนึ้ มา ความรู้เบ้ืองต้นที่เก่ียวกับภาพยนตร์ โดยเฉพาะ อย่างย่งิ ภาพยนตร์อเมริกันท่กี ำ� ลังมผี ลงานโดดเด่นนำ� หน้ากว่า ประเทศใดๆ ในยคุ นัน้ จงึ ได้ปรากฏขนึ้ ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ ปราโมช น่าจะเป็นนักเขียนไทยคนแรก ท่ีกล่าวว่า “ภาพยนตร์นัน้ มีรูปธรรมนามธรรมทเี่ ป็นตวั ของ ตัวเอง โดยเฉพาะอย่างย่ิงมีภาษาของตัวเอง ที่เรียกว่า ‘ภาษาภาพ’ ซึ่งมนุษย์ผู้มีและรู้จักกับภาษาเขียนและ ภาษาพูดของตนดีแล้วก็น่าจะต้องรู้จักกับ ‘ภาษาภาพของ ภาพยนตร์’ เอาไว้ด้วย แล้วมนุษย์จะสามารถเข้าใจหรือ สื่อสารกบั ภาพยนตรไ์ ด้ดขี ้นึ ” ในข้อเขียนของ ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ กล่าวว่าภาษาภาพของภาพยนตร์ประกอบขึ้นด้วย Elements (ที่ผู้เขียนใช้ค�ำแปลว่า ‘ธาตุ’) ๘ ประการ ดังต่อไปนี้ 99กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
ธาตุท่ีหน่ึง ‘ภาพ’ ท่ีมนุษย์สามารถเห็นได้ด้วยตา ธาตทุ สี่ าม คอื เวลา ม.ร.ว. คกึ ฤทธเ์ิ ขยี นวา่ “ภาพยนตร์ ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิกล่าวว่า “ภาพยนตร์นั้นเล่าด้วยภาพ มิใช่ด้วย ไดเ้ ปรยี บกว่าภาพเขยี นหรอื ภาพถ่ายอ่นื ตรงทสี่ ามารถแสดง ถอ้ ยคำ� เพราะฉะนนั้ ผสู้ รา้ งภาพยนตรจ์ งึ ตอ้ งสามารถเลอื กเฟน้ ให้เห็นการผ่านไปของเวลาได้ และเวลาน้ีเองท่ีจะเพิ่มความ ตวั ผแู้ สดง วตั ถทุ จี่ ะใชใ้ นการแสดง ตลอดจนเหตกุ ารณต์ า่ งๆ ท่ี ส�ำคัญของเหตุการณ์ท่ีปรากฏในเนื้อหาของภาพยนตร์ได้ มอี ยใู่ นความคดิ ของเขา ใหป้ รากฏภาพทต่ี อ้ งการแกค่ นดใู หไ้ ด้ เพราะฉะน้ันภาษาของภาพยนตร์ในธาตุของเวลาจึงเพิ่ม การท�ำภาพให้ปรากฏดังที่ตนคิด หรือแม้แต่การไม่ท�ำให้ภาพ อารมณ์หรือความรู้สึกให้แก่ผู้ดูที่จะเห็นภาพหรือเหตุการณ์ ปรากฏ เพอื่ ใหภ้ าพในใจของคนดปู รากฏขนึ้ เอง เหลา่ นผ้ี สู้ รา้ ง ที่ปรากฏด้วยความพอใจหรือไม่พอใจแค่ไหน” ต่อจากน้ัน ภาพยนตรท์ กุ คนตอ้ งตระหนกั วา่ ภาพทค่ี นดมู องเหน็ ในภาพยนตร์ ก็ยังมี จะตอ้ งเรยี กรอ้ งความสนใจในฐานะธาตทุ หี่ นง่ึ ” กอ่ นทจี่ ะตอ่ ดว้ ย ธาตุที่สี่ ค�ำนี้มาจากภาษาอังกฤษว่า space ซึ่ง ม.ร.ว. ธาตุที่สอง ความเคล่ือนไหว สิ่งนี้คือหัวใจของศิลปะ คึกฤทธ์ิใช้ค�ำไทยว่า ‘อากาศ’ ท่ีผมขออนุญาตใช้ทับศัพท์ว่า ภาพยนตร์ หมายความถงึ ภาพทเ่ี คลอื่ นไหวไดอ้ ยแู่ ลว้ เพราะฉะนน้ั space ที่น่าจะเข้าใจได้ง่ายกว่าโดยเฉพาะส�ำหรับคนไทยใน จังหวะจะโคนของความเคล่ือนไหว คือความเร็วความช้า ยคุ น้ี สเปซมคี วามหมายถงึ “พนื้ ทวี่ า่ งทคี่ นดจู ะสามารถตดิ ตาม ในการด�ำเนินภาพตั้งแต่แรกเริ่มไปจนจบเร่ืองจะต้องก่อให้ ดไู ปไดใ้ นแตล่ ะคทั แตล่ ะซนี ทปี่ รากฏอยใู่ นหนงั ” ซง่ึ คนดหู นงั เกิดความรู้สึกอย่างหนึ่งใดให้แก่มนุษย์ผู้ดูได้ ความเคลื่อนไหว จะสามารถติดตามหนังท้ังเร่ืองไปได้อย่างยากหรือง่ายเพียงใด จึงเป็นธาตสุ �ำคญั ประการทสี่ อง ก่อนจะมาถงึ ก็ข้ึนอยู่กับการท่ีผู้ท�ำหนังจะค�ำนึงถึงสเปซเหล่าน้ีไว้เพียงใด 100
หรอื ไม่เป็นสำ� คญั ธาตปุ ระการน้คี ่อนข้างเป็นนามธรรมท่ลี ึกซ้ึง กลับไปเน้นการไม่ใส่ภาษาพูดเข้าไปในภาพยนตร์ที่เขาต้ังใจ พอควรอยสู่ ำ� หรบั คนไทยทส่ี นใจหนงั ยคุ ปี ๒๕๐๘ ซง่ึ หลงั จากนน้ั ทำ� ขนึ้ การพจิ ารณาธาตนุ ขี้ องภาพยนตร์ในยคุ นจี้ งึ ต้องเพมิ่ การ อีก ๖๐ ปีภาพยนตร์บางกลุ่มก็ยิ่งเน้นคนดูเฉพาะกลุ่มมากขึ้น พิจารณาในเรื่องของความต้ังใจที่จะให้มีหรือไม่ให้มีภาษาพูด จนถึงวันนี้ผมจึงไม่ค่อยแน่ใจนักว่าสเปซของภาษาภาพยนตร์ ในภาพยนตร์ทส่ี ร้างด้วย วันนี้จะลึกซ้ึงข้ึนกว่าเดิมอีกหรือไม่เพียงใด จึงต้องขอสารภาพ ไว้ด้วย ก่อนที่จะต่อไปใน ทั้งหมดน้ีคือสิ่งท่ีมีอยู่ในภาพยนตร์ส�ำหรับผู้ที่อยากรู้ อยากเข้าใจว่า ภาพยนตร์น้ันคอื อะไร? ธาตุที่ห้า สี (colour) ภาพยนตร์น้ันมีสีขาวด�ำใน เบื้องต้น ก่อนจะพัฒนาเป็นสีธรรมชาติและสีเทคนิคในยุค ถ้าเราสามารถเข้าใจภาพยนตร์ได้ถึงขั้นน้ีแล้ว ก็น่าเช่ือ ต่อมาและต่อมา การจงใจถ่ายท�ำภาพยนตร์เป็นสีใดชนิดไหน ได้ว่าภาพยนตร์สามารถจะใช้เพือ่ การใดกไ็ ด้ทัง้ สิ้น ขอแต่เพียง ทุกวันน้ีมีท้ังการยึดศิลปะหรือยึดการลงทุนเป็นตัวตัดสิน ให้คนท่ีผลิตภาพยนตร์ได้รู้ว่าจะผลิตภาพยนตร์ท่ีสมบูรณ์ด้วย เพราะฉะน้ันสีซ่ึงเป็นปัจจัยหลักอย่างหนึ่งในงานศิลปะนานา ภาษาแห่งภาพยนตร์น้ันได้อย่างไรแค่ไหน และมีวิจารณญาณ ชนิด จึงต้องรวมเป็นธาตุท่ีส�ำคัญของภาษาภาพยนตร์ด้วย พอที่จะรู้ว่าผู้ดูจะได้รับสิง่ ใดในภาพยนตร์ทตี่ นผลติ ขน้ึ มา เช่นเดียวกัน ได๑้ยินจธาากตภุทา่ีหพกยเนสตียรง์มมีอ.ยร.ู่สว.ามคกึชฤนทิดธิ์อคธือบิ เาสยียวง่าพ“ูดเสดยี้วงยทภค่ี านษดาู มนษุ ย์ เสยี งดนตรี และเสยี งธรรมชาตทิ ีม่ ีอยู่นานาประการ” เสียงเหล่าน้ีก่อให้เกิดความรู้สึกได้เช่นเดียวกับสี ซ่ึงผู้สร้าง ภาพยนตร์จะน�ำมาใช้บ่อยๆ โดยที่คนดูอาจจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว ก็ได้ ด้วยเจตนาเดียวคือสร้างอารมณ์บางอย่างให้คนดูเกิด ความรู้สึกขณะที่ดูภาพและเนื้อหาต่างๆ ท่ีถูกน�ำเสนอออกมา เสียงจึงเป็นธาตุที่มุ่งประสงค์ต่อการก่อให้เกิดอารมณ์แก่ผู้ดู ภาพยนตร์ และการทำ� ใหเ้ กดิ หรอื ไมท่ ำ� ใหเ้ กดิ เสยี งกส็ รา้ งอารมณ์ ได้ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันด้วย ธาตทุ เ่ี จด็ คอื ดนตรี ม.ร.ว. คกึ ฤทธเิ์ ขยี นไวว้ า่ “ธาตขุ อง ดนตรีในภาพยนตร์ควรจะต้องกลมกลืนกับธาตุอื่นๆ ท่ีมีอยู่ ในภาษาภาพยนตร์ ไมแ่ ยกออกมาตา่ งหาก หรอื เด่นออกมา อย่างเดียว จนทำ� ลายธาตุอนื่ ๆ ลงไป ถ้าไมใ่ ชด่ ้วยเจตนา” ก่อนท่ีจะปิดท้ายด้วยธาตุที่แปด คือภาษาพูด ในยุคท่ี เขยี นเรอ่ื งน้ี ม.ร.ว. คกึ ฤทธแิ์ สดงความเหน็ วา่ “ถงึ แมว้ า่ ภาพยนตร์ จะเปน็ อกี ภาษาหนงึ่ ซง่ึ แตกตา่ งไปจากภาษาทใี่ ชก้ นั อยตู่ ามปกติ แต่ภาพยนตร์ก็ยังละท้ิงภาษาพูดเสียมิได้ แม้แต่ภาพยนตร์ ประเภทหนังเงียบในยุคแรกก็ยังต้องใส่ภาษาพูดเข้าไปใน ภาษาภาพด้วยในบางครั้งบางที” แต่พอมาถึงโลกปัจจุบันยุค หลังปี ค.ศ. ๒๐๑๐ มภี าพยนตร์บางเร่อื งที่ผู้ท�ำคิดทวนกระแส 101กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
ในความเห็นที่ฝากสังคมไว้ต้ังแต่เม่ือปี ๒๕๐๘ ม.ร.ว. คนเดยี วกัน และดว้ ยสัดส่วนอยา่ งสมดุลแล้ว บุคคลคนนน้ั คึกฤทธิ์ ปราโมช ยังแสดงข้อคิดบางอย่างที่ผมเห็นว่ายังไม่ จะเป็นนกั แสดงภาพยนตรห์ รอื ละครทีด่ ี” ล้าสมยั ดังน้ี ในท้ายท่ีสุด ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิได้เขียนข้อความน้ีไว้ตั้งแต่ “ส�ำหรับคนดูที่จริงจังกับการดูภาพยนตร์ ส่ิงส�ำคัญ เม่ือปี ๒๕๐๘ ว่า ท่ีควรจะสนใจในภาพยนตร์แต่ละเรื่องน้ันก็คือ สนใจว่า ภาพยนตร์เร่ืองนั้นมีอะไรท่ีจะบอกคนดูบ้าง? หรือจะท�ำให้ “ประวัติศาสตร์ของภาพยนตร์ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า เราเขา้ ใจชวี ติ ในแงม่ มุ ใหมอ่ ยา่ งไรบา้ ง? หรอื ทำ� ใหเ้ ราไดร้ จู้ กั คนดูหนังนั้นพร้อมท่ีเสียเงิน ๑๒ บาท (ค่าดูหนังช้ันกลางใน มนษุ ยม์ ากขนึ้ บา้ งไหม? หรอื วา่ ภาพยนตรแ์ ตล่ ะเรอ่ื งดไู ปแลว้ ยุคนั้น) เพื่อแลกกับความสนุก ซึ่งมีค่าเพียงหนึ่งบาทหรือ จะท�ำใหส้ ติปญั ญาของเราแหลมคมขึ้นบ้างหรือไม?่ เหล่าน้ี สองบาทเท่าน้ันเอง แต่คนดูหนังจะไม่ยอมเสียเงินเพียง คือส่งิ ทค่ี นดทู ี่เขา้ ใจในภาษาภาพยนตรจ์ ะต้องพิจารณา” หนง่ึ บาทหรอื สองบาทเพอื่ แลกกบั สตปิ ญั ญาทอี่ าจจะมคี า่ ถงึ ๑๒ บาท หรือมากกวา่ นั้นเลย น่ีเป็นปรัชญาทางเศรษฐกิจ “ศิลปะทุกชนิดเป็นเคร่ืองส่งเสริมปัญญาของมนุษย์ ท่ฝี งั อยู่ในใจของฝงู ชนมาช้านาน... เมื่อภาพยนตร์เป็นศิลปะอีกชนิดหนึ่ง ภาพยนตร์ก็ควรจะ อยใู่ นฐานะนนั้ ได้เช่นเดียวกนั ” เพราะในความเห็นของฝูงชนทั่วไปน้ัน แสงสว่าง แหง่ ปญั ญาถงึ แมว้ า่ จะมคี า่ สงู มากมายเพยี งใดกย็ งั ไมเ่ ทา่ กบั “แต่ถึงกระน้ันก็ตาม ชาร์ลี แชปลิน เป็นศิลปินใน ความมืด เพราะความมืดมีคุณประโยชน์ท่ีย่ิงใหญ่กว่าคือ วงการภาพยนตรท์ เี่ หน็ แยง้ วา่ สำ� หรบั ภาพยนตรแ์ ลว้ อารมณ์ สามารถท�ำให้คนนอนหลบั ได้สบายมาก” สำ� คญั กวา่ ปญั ญา เพราะปญั ญาทปี่ ราศจากอารมณอ์ าจทำ� ให้ คนธรรมดากลายเป็นอาชญากรได้ ภาพยนตร์จะทรงความเป็นสื่อสะท้อนวัฒนธรรมได้ หรอื ไมอ่ ยา่ งไรแคไ่ หน? ผทู้ ตี่ ดิ ตามอา่ นเรอ่ื งของผมตงั้ แตต่ น้ ขณะเดยี วกนั อารมณท์ ป่ี ราศจากปญั ญา กผ็ ลติ ไดแ้ ต่ มาจนจบ นา่ จะตอบไดท้ กุ ทา่ น และส�ำหรบั ทา่ นทเ่ี พง่ิ รจู้ กั ภาษา คนโง่ท่อี าจจะไมม่ ีภยั อนั ตรายตอ่ ใคร ภาพยนตร์ ผมหวงั วา่ ทา่ นจะตอบไดด้ กี วา่ คนอน่ื และดู (หรอื ไมด่ )ู ภาพยนตร์ในอนาคตไดอ้ ย่างคมุ้ คา่ (หรือมเี หตผุ ล) มากขน้ึ แต่ถ้าเมื่อใดก็ตาม ปัญญาและอารมณ์มารวมอยู่ใน 102
กฤช เหลอื ลมยั อาหารไทยในยคุ สมยั ทเ่ี ปลย่ี นแปลง อาหารไทยอยู่คู่กับคนไทยมานาน แต่ นิยามอาหารไทยของแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน บางคนอาจนกึ ถงึ ตม้ ยำ� กงุ้ ผดั ไทย มสั มน่ั ไก่ ขณะ คนอสี านนกึ ถงึ ลาบกอ้ ย ตำ� บกั หงุ่ หรอื คนใตย้ อ่ ม นกึ ถงึ แกงเหลอื งหรอื แกงไตปลา เราลองมาฟังทรรศนะเก่ียวกับอาหารไทย ของ กฤช เหลอื ลมยั ผเู้ ปน็ ทง้ั กวี นกั คดิ นกั เขยี นท่ี ครำ�่ หวอดในวงการหนงั สอื มากวา่ ๓๐ ปี ทง้ั ยงั เปน็ นักค้นคว้าท่ีสนใจศาสตร์เรื่องอาหารมายาวนาน และเป็นพ่อครัวมือฉมังท่ีรักการท�ำอาหารไม่แพ้ ใคร ลองมาดูกันว่า “บทสนทนาเร่ืองอาหาร” ของ กฤช เหลือลมัย จะแซบจัดจ้านจนท�ำให้ ตาสว่าง หรือเผ็ดร้อนกระท่ังควันออกหู เหมือน อาหารทเี่ ขามกั ทำ� ใหม้ ติ รสหายลม้ิ ลองหรอื ไม่ 104
วฒั นธรรมวพิ ากษ์ จักรพนั ธ์ุ กังวาฬ สมั ภาษณ์ สายณั ห์ ชื่นอดุ มสวสั ดิ์ ภาพ 105กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
นยิ ามอาหารไทยใครกำ� หนด “เราคดิ วา่ อาหารไทยถกู นยิ ามโดยรฐั ไทยซง่ึ มกี รอบความ คดิ เกย่ี วกบั ความเปน็ ไทยทคี่ อ่ นขา้ งแนช่ ดั มาหลายทศวรรษแลว้ “ถา้ จะเรมิ่ นยิ ามวา่ อาหารไทยคอื อะไรนนั้ เปน็ เรอ่ื งทยี่ าก นนั่ คอื ความเปน็ ไทยถกู นยิ ามผา่ นกรอบวฒั นธรรมของภาคกลาง เหมือนกัน เพราะประเทศไทยมอี าณาเขตกว้างขวางพอสมควร เพราะฉะน้ันพอพูดถึงอาหารไทย เราก็ไม่ค่อยจะนึกเป็นอ่ืน อยใู่ นสภาพอากาศและสภาพภมู ปิ ระเทศทแี่ ตกตา่ ง เพราะฉะนน้ั ไปได้นอกจากนึกถึงแกงแบบภาคกลาง เป็นแกงกะทิ เช่น อาหาร วัตถุดิบ และวิธีการปรุงต่างๆ ก็เป็นเหมือนกับ แกงไก่ หรอื นำ�้ พรกิ กะปิ ถา้ หรหู ราหนอ่ ยกเ็ ปน็ นำ�้ พรกิ ลงเรอื หรอื วฒั นธรรมอกี หลายอยา่ งทต่ี อ้ งปรบั ตวั ไปตามสภาพอากาศหรอื อาหารทค่ี อ่ นขา้ งเปน็ ชาววงั หนอ่ ยๆ เราไมค่ อ่ ยนกึ ถงึ อาหารไทย ภูมิประเทศท่ีผู้คนหรือชุมชนน้ันอยู่ สมมุติเราอยู่ในพื้นท่ีภูเขา ว่าคอื แจ่ว ป่น หรือข้าวซอย ป่าดงดิบ อาหารของเราก็เป็นแบบหน่ึง ถ้าเราอยู่ชายทะเล อาหารก็เป็นอีกแบบหน่ึง หรือถ้าอยู่ในท่ีแล้ง อาหารของเรา “ส่วนตัวเราคิดว่านิยามของอาหารไทยที่พอจะนึกออก ก็จะเป็นแบบหน่ึง แต่ว่าในที่สุดอ�ำนาจของรัฐก็เข้าไปจัดการ ตอนนกี้ ค็ อื อาหารทป่ี รงุ โดยใช้สมนุ ไพรสดอย่างปานกลาง และ เหมือนกับเร่ืองอ่ืนๆ ในประเด็นความเป็นอัตลักษณ์ของชาติ มกั จะพยายามใหก้ ลนิ่ สมนุ ไพรทตี่ นเองผสมกลบกลน่ิ เนอ้ื สตั วท์ ่ี เหมือนท่ีจัดการว่าเส้ือผ้าไทยต้องเป็นแบบไหน หรือบ้านไทย น�ำมาท�ำแกงในระดับหนงึ่ คอื โดยทั่วไปมันมี ๓ ระดับ หนง่ึ คือ ต้องเป็นอย่างไร อาหารแขกหรืออาหารมุสลิมซึ่งใช้เคร่ืองเทศกลบกลิ่นเนื้อสัตว์ จนเกล้ียง ต่อมาคืออาหารไทยก็กลบเหมือนกันแต่ยังมีกล่ิน 106
วถิ ชี วี ติ เรง่ รบี ของคนปจั จบุ นั ทำ� ใหต้ อ้ งกนิ อาหารงา่ ยๆ เชน่ อาหารทอด และยา่ งกบั นำ�้ พรกิ ซง่ึ กลบั ไปเหมอื นกบั วถิ คี นสมยั กอ่ นทกี่ นิ อาหารงา่ ยๆ จำ� พวกเนอ้ื ปง้ิ ปลายา่ ง และนำ้� พรกิ เพอื่ จะไดร้ บี เขา้ สวนทำ� ไรท่ ำ� นา เน้ือสัตว์ติดอยู่บ้าง แต่พอเป็นอาหารญี่ปุ่นคุณใส่เครื่องเทศ มีกระทะเหล็กท่ีเรือส�ำเภาเอาเข้ามาขายในสมัยอยุธยาเช่นกัน สมนุ ไพรเยอะไม่ได้ เพราะเขาต้องปล่อยให้มีกลิ่นของเน้อื สตั ว์ ก่อนหน้าน้ีมีแต่กระทะดินเผาซึ่งมีหลักฐานจากการขุดพบใน แหล่งโบราณคดี ซึ่งกระทะพวกนี้ผัดไฟแดงไม่ได้เพราะมันไม่ “ถ้าจะนิยามอาหารไทยอย่างกว้างที่สุดก็คงประมาณนี้ ร้อน เพราะฉะนน้ั อปุ กรณ์จะควบคุมอาหารของคุณโดยปรยิ าย คือไม่ชอบกลิ่นเน้ือสัตว์ที่ออกมาเต็มๆ ต้องพยายามกลบแต่ก็ ต่อมาคือวัตถุดิบมีอะไรบ้าง ผักอะไรท่ีมีอยู่ พริกก็เพิ่งเข้ามา ไม่มาก สมนุ ไพรสดกเ็ ช่นพวกพรกิ หอม กระเทยี ม ข่า ตะไคร้ สมัยอยุธยาตอนกลางๆ วัตถุดิบเผ็ดท่ีสุดเท่าที่คนแถวน้ีมีก็ไล่ ใบและผวิ มะกรดู ซงึ่ หากเปน็ พวกฮนิ ดหู รอื มสุ ลมิ จะชอบใชแ้ บบ ไปเลย พริกไทย ดีปลี มะแขว่น เพราะฉะนนั้ ต้องเป็นอาหารที่ แห้งแล้วเอามาบดมากกว่า” ท�ำง่ายมาก มันไม่สามารถปรุงให้ละเอียด หรือไม่สามารถจะ แปรรปู ใหซ้ บั ซอ้ นเหมอื นอาหารแขกฮนิ ดู เพราะถงึ แมเ้ ราเคยเจอ ความเรยี บงา่ ยของอาหารไทยดง้ั เดมิ หนิ บดในแหล่งโบราณคดสี มยั ทวารวดี กเ็ ชอ่ื วา่ มนั ใชบ้ ดยาหรอื เคร่ืองหอมมากกว่าใช้บดอาหาร “ถ้าพูดถึงอาหารไทยจริงๆ เราจะพยายามมองกลับไป ในแง่โบราณคดี ลองคิดดวู ่าเมื่อ ๒,๐๐๐ ปีท่ีแล้วในพืน้ ท่แี ถบน้ี “ดงั นนั้ อาหารทเี่ ปน็ พน้ื เพดง้ั เดมิ ของพนื้ ทแี่ ถบน้ี มนั ตอ้ ง ซ่ึงเป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เรามีอะไรบ้างที่เป็นอุปกรณ์ เป็นอะไรทง่ี ่ายมากๆ อย่างเอาพริกไทยมาบดๆ ผสมกับอะไรท่ี ท�ำอาหาร เราเพ่ิงมีครกชัดเจนในสมัยอยุธยา เป็นครกดินเผา หามาไดอ้ าจเปน็ หอมแดง กก็ นิ เปน็ นำ�้ พรกิ ซง่ึ ปจั จบุ นั ยงั เหน็ รอ่ งรอย เพราะฉะน้ันเรายังไม่สามารถจะต�ำเคร่ืองแกงได้ แล้วเราเพ่ิง ในชุมชนด้ังเดิมหลายแห่งของเวียดนาม เขากินพวกเนื้อปิ้ง ปลาปิ้ง กับเคร่ืองจ้ิมมีมะแขว่น เกลือ มองอาหารพวกนี้แล้วจะ เห็นภาพอาหารในอดีตของเราว่ามลี กั ษณะอย่างไร 107กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
“ในสมัยดง้ั เดมิ เราไม่มีทางกนิ อะไรทซี่ บั ซ้อน จนถึงสมัย อยธุ ยากต็ อ้ งกนิ ตม้ โคลง้ แกงเลยี ง ซงึ่ เลยี งกเ็ ปน็ อกี คำ� หนง่ึ ทตี่ อ้ ง ถกเถยี งกนั วา่ มนั อาจไมใ่ ชแ่ กงเลยี งทหี่ น้าตาเหมอื นทกุ วนั นี้ แต่ มันคือการต้มน้�ำ ซดน้�ำ เหมือนการเลียงผัก ก็คือเอาผักมาต้ม แล้วซดน้�ำกนิ หรือถ้าหาปลาได้เขาก็ย่างเกลือกินง่ายๆ อย่าลืม วา่ ถา้ คณุ อยใู่ นสงั คมเกษตรกรรม คณุ ไมม่ เี วลาทำ� กบั ขา้ ว กต็ อ้ ง กินอะไรก็ได้ให้เร็วที่สุด จะได้รีบไปนา เข้าสวน เพราะฉะน้ัน สมัยก่อนน้�ำพริกจึงส�ำคัญเพราะกินง่ายมาก ถ้าคุณอยากกิน เป็นน้�ำแกง ก็เอาน้�ำพรกิ ใส่กระบอกไม่ไผ่แล้วหลามเอา “หากจะมอี าหารทซ่ี บั ซ้อนขนึ้ หนอ่ ยกค็ อื พวกทม่ี วี ตั ถดุ บิ เช่น แถวป่าเขตร้อนชื้นทางจันทบุรี ระยอง ตราด มีสมุนไพร ตวั หลกั เช่น เร่วหรอื กระวาน ซง่ึ จะขนึ้ ไดใ้ นพน้ื ทสี่ งู ซง่ึ มคี วามชนื้ ประกอบกับมีพ้ืนที่ป่า พอล่าสัตว์มาได้ก็ใช้สมุนไพรเหล่าน้ี ดบั กลน่ิ คาวเนอื้ สตั วป์ า่ ได้ดี หรอื ทางตะวนั ตกชาวกะเหรยี่ งกใ็ ช้ มะแขว่นป่า ต้นสูงๆ มีหนาม ลกู สดี �ำ ท่ีบางคนเรียกพริกพราน เข้าเป็นเครือ่ งแกงในพรกิ แกงป่าหรอื ผัดเผ็ดของพวกเขาอยู่” อาหารไทยในกระแสโลกาภวิ ตั น์ “เราคิดว่าอาหารของแต่ละพ้ืนท่ีจะมีเส้นของมันว่า ถ้า เราอยใู่ นทท่ี ม่ี อี ากาศแบบนเ้ี ราควรกนิ อาหารแบบไหน สมมตุ วิ า่ อยใู่ นเขตรอ้ นกไ็ มน่ า่ จะกนิ ของมนั มาก เพราะจะอดึ อดั แนน่ ทอ้ ง นึกถึงคนไทยสมัยก่อนไม่ค่อยกินอาหารมีมันเท่าไหร่ นอกจาก อาหารในวงั ซง่ึ อาจพยายามเลยี นตามอาหารเปอร์เซยี ซ่งึ ได้ชื่อ เป็นอาหารชัน้ ยอด “อาหารก็เป็นวัฒนธรรมที่มีการรับเข้า ในลักษณะ Glo- balization ซึง่ ไหลเวยี นตลอดเวลาอยู่แล้ว ช่วงสมยั อยุธยานน้ั มี วฒั นธรรมชน้ั นำ� ของโลกได้แก่ จนี มุสลมิ เปอร์เซีย ดงั น้ันการท่ี เราไดก้ นิ ของแบบนนั้ มนั กแ็ ทนระดบั คณุ คา่ ของตวั เอง หรอื ถา้ จะ พดู ใหเ้ หน็ ภาพคอื สมยั นน้ั การทเี่ ราจะไดก้ นิ เครอ่ื งเทศหรอื อาหาร ทค่ี ลกุ เคล้าเครื่องเทศไม่ได้ง่ายเหมอื นปัจจุบนั การจะเข้าถึงตัว 108
เครอ่ื งเทศนนั้ คณุ ไม่ใช่แค่มเี งนิ กซ็ อ้ื ได้ คณุ ตอ้ งมเี ครอื ขา่ ยต่างๆ “จุดเปล่ียนอีกคร้ังของอาหารไทยเกิดขึ้นเม่ือพริกเข้ามา ท่ีมีอ�ำนาจ เม่ือคุณได้กินมันก็แสดงว่าตัวคุณมีอ�ำนาจ เพราะ ในสมัยอยุธยาตอนกลาง เพราะพริกเผ็ดกว่าพืชอ่ืนที่เรามีอยู่ ฉะนนั้ เรากเ็ ดาข�ำๆ นะวา่ ขนุ นางอยธุ ยาเองอาจอยากกนิ แกงสม้ ทง้ั หมด ความส�ำคญั หรอื การถกู ยอมรบั ของมนั จะเหน็ ไดว้ า่ พรกิ แตพ่ อชาวตา่ งชาติ แขก ฝรง่ั เขา้ มากต็ อ้ งท�ำอาหารเครอื่ งเทศเลยี้ ง ยดึ ชอ่ื วตั ถดุ บิ ทม่ี รี สเผด็ เอาไปใช้ ขณะพวกนน้ั ถกู ผลกั ใหไ้ ปใชช้ อื่ เขา เพ่ือให้เห็นว่าเรามีเงินซ้ือกระวานและทันสมัย เพราะเรื่อง อ่ืน เช่นเม่อื ก่อนเราเรียกพรกิ ไทยว่าพรกิ แต่พอพริกเข้ามาแล้ว อาหารเปน็ การบรโิ ภคสญั ญะอยา่ งหนง่ึ การกนิ อาหาร ประกอบ เผด็ กว่าเลยถกู เรยี กว่าพรกิ แทน อาหาร หรอื เลย้ี งอาหารใครสกั คนคอื การอธบิ ายวา่ ตวั ขา้ อยตู่ รง ตำ� แหน่งไหนของโลก อย่างถ้าไปอ่านบันทึกของฝร่งั ทเี่ ข้ามาใน “ที่บอกว่าพริกส�ำคัญเพราะพอมันมีรสเผ็ดโดดออกไป สมัยอยุธยา เขาเล่าว่าในวังพระนารายณ์ที่ลพบุรีเวลาจัดงาน รสอื่นๆ ของอาหารก็ต้องโดดตามไปด้วย คิดว่ารสอาหารไทย เลี้ยงจะมีแกง ๒๐ อย่างซึ่งหน้าตาเหมือนแกงแขกเลย ทต่ี ้องมี ก่อนมีพริกเข้ามาจะต้องอ่อนมากๆ ตามวัตถุดิบที่มีอยู่ เพราะ เยอะขนาดนน้ั อาจต้องการแสดงสถานะของตวั เอง ฉะนน้ั เราคดิ ว่าพรกิ เป็นกระแสโลกาภวิ ตั นท์ ที่ �ำให้รสอาหารไทย น่าจะเปลีย่ นเยอะมาก” 109กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
๑ อาหารไทยเปลย่ี นตามยคุ สมยั ความทรงจำ� กบั อะไรทไี่ มใ่ ช่ของแบบสมยั น้ี ซงึ่ แนน่ อนพวกป่ยู า่ ตายาย พอ่ แมข่ องเราคงมคี วามทรมานกบั ความทรงจำ� ทก่ี ลบั ไป “เรอ่ื งรสชาตเิ ปลยี่ นไปนนั้ คอ่ นขา้ งชดั มาก ในเมอ่ื วตั ถดุ บิ ไม่ได้เหมือนเรา เพราะนอกจากอาหารจะเป็นบทสนทนา ในการปรงุ อาหารของโลกนมี้ นั ไหลเวยี นถงึ กนั ไดง้ า่ ยดาย กย็ อ่ ม แล้วก็ยังเป็นความทรงจ�ำด้วย พอมีปัญหามากเข้าก็ต้อง มีผลต่ออาหารได้บ้างไม่มากก็น้อย เราสามารถหาน�้ำปลา ท�ำ (อาหาร) เอง จากที่ไหนมาปรุงก็ได้ เช่น น้�ำปลาเวียดนาม ญ่ีปุ่น เกาหลี หรือพริกท้ังจากการปรับปรุงสายพันธุ์ของนักวิชาการเกษตร “แต่ในประเด็นเรื่องความทรงจ�ำก็ท�ำให้เรานึกถึงเวลา บ้านเรา ยังมีพริกน�ำเข้าจากจีน อินเดีย ก็ท�ำให้รสชาติหรือ มีคนพูดว่า อาหารเดี๋ยวนี้ไม่อร่อยเหมือนเดิม ซ่ึงในแง่รสชาติ หน้าตาของอาหารเปลีย่ นไป ก็คงพอพูดได้ว่าอาจใส่ซอสปรุงรสมากไปหรือเปล่าจนไป รบกวนกล่ินวัตถุดิบ เช่นเม่ือคุณใส่น�้ำมันหอยลงไปครึ่งขวด “ในสมัยนี้คนยังพูดกันว่าอาหารไทยหวานขึ้น ถามว่า ต่อจาน คุณจะไม่ได้กล่ินปลาหรือหมูอีกต่อไป แต่ถ้าบอกว่า จริงไหมก็คิดว่าจริงนะ อธิบายได้ว่าเพราะปัจจุบันมีของหวาน เรากนิ ไมเ่ หมอื นเดมิ ต้องดวู า่ คนพดู อายเุ ท่าไร คณุ แนใ่ จไหมวา่ เยอะแยะไปหมดและเข้าถึงได้ง่าย ท้ังลูกอม นำ้� อัดลม ซ่งึ หวาน จะกินอย่างปู่ได้ เราเคยอ่านสูตรต้มย�ำปลาช่อนสมัยเม่ือร้อยปี มาก พอกินเข้าไปลิ้นก็ทนความหวาน เรียกร้องความหวาน ท่ีแล้วซ่ึงเราไม่มีทางกินได้แน่ เพราะเขาใส่ข้าวคลุกลงไปแล้ว ตอนกินอาหารเลยใส่น้�ำตาลมากขึ้น แล้วอีกอย่างหนึ่งก็คือ ข้าวก็ลอยอยู่ในนำ้� ต้มย�ำเหมือนไข่มดแดง บางทีก็เป็นถ่ัวทอง กินรสหวานเพ่อื สู้กับรสเผ็ดของพริกท่ีมากขนึ้ ด้วย ถ่ัวเขียวเลาะเปลือกค่ัว คืออาหารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ก็เลยท�ำให้ค�ำพูดแบบนี้เป็นการฟูมฟายอะไรบางอย่างท่ีไม่มี “นอกจากนนั้ พวกเครอื่ งปรงุ ซอสปรงุ รสตา่ งๆ กห็ วานหมด ความหมาย คุณจะกลับไปเหมอื นเดิมได้แค่ไหน ในน้�ำพริกเผา น้�ำมันหอย มีน้�ำตาลอยู่ในน้ันเยอะมาก ซ่ึง แน่นอนท�ำให้ลิ้นชิน หากเรามีลูก เด็กที่เกิดมาก็ต้องกินของ “ทกุ คนมคี วามทรงจำ� ของตวั เอง ซงึ่ จดจำ� กนั มาเปน็ ทอดๆ แบบน้ี แลว้ กต็ อ้ งเกดิ การจดจำ� วา่ นคี่ อื ของอรอ่ ย เปน็ ประสบการณ์ แล้วก็มักจะคิดว่าของใหม่น้ันแย่ลงเสมอไป นั่นเป็นการปลอบ รักแรกลิ้ม เพราะฉะนั้นเราก็จะเป็นคนซึ่งมีปัญหา คือมี ประโลมตัวเองด้วยทางหน่ึง บางทีอาหารก็มีหน้าท่ีแบบน้ัน 110
๓ ๑-๓ การปรบั สตู ร พลกิ แพลง และผสมผสาน ตลอดจนปรบั รปู ลกั ษณข์ อง ๒ อาหารไทยใหด้ ทู นั สมยั เกดิ เปน็ อาหารไทยฟวิ ชนั ชวนลม้ิ ลอง เหมือนกัน เราก็พยายามต่อสู้กับมายาคติแบบนี้ เพราะบางที “ถ้าคุณมีแต่อาหารทเี่ ปน็ Authentic คนอาจจะกนิ มันกม็ ากเกนิ ไป เป็นความรู้สักพัก แต่มันไม่ย่ังยืน แล้วพออาหารไม่ถูก ปรับสูตร พลิกแพลง คุณก็จะใช้แต่เทคนิคเก่าๆ เดิมๆ “ลองนึกดูว่าตอนที่พริกเม็ดแรกมาถึงอยุธยา คนคง มนั ควรจะมพี ฒั นาการทกั ษะการใชเ้ ครอื่ งมอื เปลยี่ นวธิ กี าร แตกตน่ื กนั มาก แลว้ ถา้ มพี อ่ ครวั แมค่ รวั ในวงั สกั คนบอกวา่ นไี่ มใ่ ช่ ใช้ไฟ อาหารไทยถงึ จะไปขา้ งหน้า ถา้ แมค่ รัวสนใจทจ่ี ะเอา ของไทย อย่าเอามาท�ำอาหารเด็ดขาด จะเกิดอะไรข้ึน จริงๆ ของใหม่ๆ ที่ได้มาลองคิดค้นปรุงอาหารท่ีอร่อยข้ึนตลอด เราขวางอะไรแบบนไี้ มไ่ ดอ้ ยแู่ ลว้ โลกนไ้ี มม่ ใี ครขวางการปรบั ตวั เวลา เราไม่ต้องคิดถึงอาหารฟิวชันเลยก็ได้ เพราะเราเป็น เรียนรู้ได้ แต่เราคิดว่าตอนน้ีมีคนพยายามท�ำแบบนั้นอยู่ เช่น อยู่แล้วโดยจิตวิญญาณ เราทำ� ฟิวชันอยู่แล้วทุกวัน แต่ถ้า มคี นทพี่ ดู วา่ กระเทยี มจนี ไมด่ ี มแี ปง้ เยอะ อยา่ เอามาทำ� อาหารนะ เกิดอยู่ๆ คุณลุกข้ึนมาเห่ออาหารฟิวชัน แสดงว่ากรอบ ถ้ายังเป็นแบบน้ีเดี๋ยวก็หายนะ ไม่มีการพัฒนาต่อยอดออกไป ความคิดคณุ แขง็ ตวั คณุ เปน็ อนรุ ักษน์ ิยมตา่ งหาก” ทำ� ไมคณุ ไม่ลองเอามาทำ� อะไรทีแ่ ปลกใหม่ขน้ึ มาล่ะ 111กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
นิทศั นว์ ัฒนธรรม สุทศั น์ รุ่งศิริศิลป์ เรอื่ งและภาพ 112
ศนู ยก์ ารเรยี นรอู้ าหารไทย แหลง่ รวมความรดู้ า้ แนหอง่ าเหดายี รวกในารไทกนิย อาหารการกินต�ำรับไทยเป็นเรื่องท่ีเราต่างคุ้นเคยและรู้จักกันดี แต่หากลอง ไลเ่ รยี งลำ� ดบั ทม่ี าจากของกนิ ในระดบั บา้ นๆ กอ่ นจะพฒั นาสสู่ ากล กระทง่ั กลายมาเปน็ สนิ คา้ สง่ ออกทร่ี จู้ กั กนั ทว่ั โลกนนั้ จำ� เปน็ ตอ้ งมสี ถานทส่ี กั แหง่ ทเ่ี ปน็ แหลง่ รวมองคค์ วามรู้ เพอื่ ใชเ้ ปน็ สถานศกึ ษาเกย่ี วกบั อาหารไทยโดยเฉพาะ ศนู ยก์ ารเรยี นรดู้ า้ นอาหารไทย น�ำเสนอองคค์ วามร้ตู ่างๆ เก่ยี วกับของกนิ ไทยๆ ให้ผู้เขา้ ชมได้ศกึ ษาโดยวางลำ� ดับการจดั แสดงในลักษณะต้นน้�ำ กลางนำ้� ไปจนถงึ ปลายนำ�้ ภายในส้นิ ปนี จ้ี ะมีการเปดิ ห้องครวั ขนาดใหญ่เพิม่ เติมเพ่อื ให้คณะผู้เขา้ ชมสามารถทดลองปรงุ อาหารไทยได้ 113กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
ศนู ยก์ ารเรยี นรอู้ าหารไทย (Thai Food Heritage) อาหารไทยได้จดั วางโครงสร้างนิทรรศการเพ่ือร้อยเรยี งเร่อื งราว จงึ ถกู จดั ตง้ั ขน้ึ ด้วยวตั ถปุ ระสงค์ดงั ทกี่ ลา่ วมา โดยการสนบั สนนุ เป็น ๓ โซน ดังนี้ ของ สถาบนั อาหาร (National Food Institute) กระทรวง อุตสาหกรรม ออกแบบและสร้างสรรค์พน้ื ที่การเรยี นรู้สมยั ใหม่ โ(Tซhนeที่ G๑oสldุวeรรnณLภaูมnดิdิน)แดนอุดมสมบูรณ์ เพ่ือเผยแพร่และสนับสนุนองค์ความรู้ด้านอาหารไทยให้เกิด ความรกั ความเขา้ ใจ และภาคภมู ใิ จในวถิ วี ฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ น�ำเสนอความอดุ มสมบรู ณ์ของแผ่นดนิ ไทย บอกเล่าถึง ภูมิปัญญา น�ำไปสู่แรงบันดาลใจในการรักษาและสร้างสรรค์ “ทรพั ยใ์ นดนิ ” และโครงการตามพระราชด�ำริพระบาทสมเดจ็ - คุณค่าของอาหารไทยให้ด�ำรงอยู่ กระทง่ั สามารถน�ำไปต่อยอด พระเจ้าอยู่หัว เพื่อสะท้อนถึงความอุดมสมบรู ณ์ อันเป็นต้นธาร และพฒั นาให้เกดิ มูลค่าได้อย่างเหมาะสม ของแหล่งอาหาร และความหลากหลายของวัฒนธรรมในแต่ละ ภูมิภาคของไทย ศนู ย์การเรียนรู้อาหารไทยเร่ิมเปิดให้เข้าชมเป็นหมู่คณะ อย่างไม่เป็นทางการตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ และ ส่วนจัดแสดง แผน่ ดนิ ทอง ผู้เข้าชมจะได้รับรู้ถึงความ คาดว่าโครงการท้ังหมดจะเสรจ็ สิน้ สมบรู ณ์ในปี ๒๕๖๐ ส�ำคัญของชาวนาไทยท่ีเปรยี บดงั กระดูกสนั หลังของชาติ ผู้เป็น เพื่อความเข้าใจภาพรวมของความเป็นอาหารไทยอย่าง ก�ำลังส�ำคัญผลิตข้าวให้กลายเป็นสินค้าส่งออกหมายเลข ๑ ครอบคลมุ สน้ั กระชบั แตเ่ ปย่ี มไปดว้ ยความรู้ ทางศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ของไทยเมื่ออดีต นอกจากจะรู้จักกับชุดแต่งกายและอุปกรณ์ ๑ 114
คู่กายของชาวนา อย่างเช่น เคียว คันไถ และไม้ฟาดข้าวแล้ว ๔ ยงั ได้ศกึ ษาถงึ กระบวนการปลกู ขา้ วอย่างครบขน้ั ตอน นบั ตง้ั แต่ การเตรียมแปลงนา การปลูก ไปจนถึงขั้นตอนการสีข้าวเลย ๑ พระอจั ฉรยิ ภาพแหง่ ความอร่อยนำ�เสนอพระปรีชาสามารถทางดา้ นอาหาร ทีเดียว ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในรปู แบบของ หนังสอื ขนาดใหญ่ ในสว่ นจดั แสดง ดนิ แดนอนั อดุ ม วา่ ดว้ ยความอดุ มสมบรู ณ์ ๒-๓ ในการจดั แสดงแทบทกุ จดุ จะมีจอสัมผัสใหผ้ ู้เข้าชมสามารถเรยี นรู้ ทุกแห่งบนผนื แผ่นดนิ ไทย ซ่ึงเป็นส่วนหนึง่ ของภูมิภาคอาเซียน เรื่องราวต่างๆ เกยี่ วกับอาหารไทยผา่ นเกมสนุกๆ มากมาย แหล่งผลิตอาหารอันส�ำคัญของโลก ข้อมูลในส่วนน้ีชี้ให้เห็น ความเหมอื นและตา่ งระหวา่ งไทยและเพอ่ื นบ้านทส่ี ง่ ออกสนิ ค้า ๔ ด้านหนา้ อาคารท่ีเปิดเปน็ พืน้ ท่ีการเรยี นรู้สมยั ใหม่เก่ียวกบั องคค์ วามรู้ การเกษตรคล้ายๆ กัน สะท้อนให้เห็นโอกาสและความเป็นไป ด้านอาหารไทยโดยเฉพาะ ได้ท่ีไทยจะพัฒนาหรือร่วมมือกันในหมู่ชาติอาเซียน เพื่อเพ่ิม มลู คา่ ใหก้ บั วตั ถดุ บิ ซง่ึ เปน็ สนิ คา้ การเกษตรมาแปรรปู เปน็ อาหาร กึ่งส�ำเร็จรูปและส�ำเร็จรูปให้ตลาดโลก กระท่ังภูมิภาคอันอุดม สมบูรณ์แห่งนี้กลายศูนย์กลางการผลิตอาหารท่ีสำ� คัญของโลก ในท่สี ุด ๒ โ(Dซนelทigี่ ๒htคtรoบTเคHรAอื่ IงคTรaัวsไtทe)ย นำ� เสนอเรอื่ งราว “รสชาตแิ บบไทยๆ” เอกลกั ษณค์ รวั ไทย ๒ ทแ่ี ตกตา่ งจากชาตอิ นื่ ๆ โดยเฉพาะภมู ปิ ญั ญาในการเลอื กใชแ้ ละ ประยกุ ต์วตั ถดุ บิ นำ� มาปรงุ อาหารตามแบบวถิ ไี ทยทมี่ อี ตั ลกั ษณ์ เฉพาะตวั ซง่ึ นอกจากท�ำใหม้ รี สชาตอิ รอ่ ยล�้ำแลว้ ยงั อดุ มไปดว้ ย เครอื่ งเทศและสมนุ ไพรทมี่ คี ณุ กบั รา่ งกาย โดยแบง่ เปน็ หมวดหมู่ ทสี่ �ำคญั ได้แก่ พระอัจฉริยภาพแห่งความอร่อย น�ำเสนอพระปรีชา สามารถทางด้านอาหารของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเฉพาะต�ำรับอาหารท้ัง ๑๒ ต�ำรับ ใน “ครัวสระปทุม” ที่ท�ำง่ายและมีคุณค่าทางโภชนาการ สเช๕า่นหรม่าัตยส),ยผาเัดกพษรียิกรอส่อมนุท,ร (ปลาช่อนอบ), กุ้งบ่อมรกต (กุ้งเผา ๓ ยาพอกหัวเด็ก, ผักโขมปั้นก้อนอบ, 115กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
๒ ๑ ๓ ๑ หอ่ -มัด-กลดั -รอ้ ย ซง่ึ ว่าด้วยภมู ิปัญญาในการบรรจอุ าหารแบบไทยๆ อาหารในอนาคต จากระดับท้องถิ่นสู่เมนูอาหารหรูพร้อม ดว้ ยวัสดจุ ากธรรมชาติ เสิร์ฟในครัวระดับชาติ ผ่านตัวอย่างการจัดชุดอาหารไทย ๔ ภาค ได้แก่ โต๊ะโคราช โต๊ะล้านนา โต๊ะปักษ์ใต้ และส�ำรับ ๒-๓ การนำ�เสนออยา่ งสร้างสรรค์ในมมุ จดั แสดงนิทรรศการนวตั กรรม ไทยภาคกลาง แห่งผลผลิตไทย โ(Tซhนeท่ี F๓oนodวัตoกfรรthมeอาWหาoรrไldท)ยสูค่ รวั โลก ๔ มมุ มองภายใน ร้านอาหารบ้านไทย อันน่าตืน่ ตาไปด้วยจอมอนเิ ตอร์ ฉายวดี ิทศั น์ขนาดใหญ่ รอ้ ยเรยี งเรอ่ื งราวสำ� คญั เกย่ี วกบั อตุ สาหกรรมอาหารไทย และการสง่ ออกจนท�ำใหอ้ าหารไทยเปน็ ทรี่ จู้ กั ในระดบั นานาชาติ ซุปฟักทองวัตเตนเมียร์, พายฟักทอง, ขนมรวงผ้ึง, หมู เน้ือ สร้างมูลค่าส�ำคัญให้กบั ระบบเศรษฐกจิ ไทยอย่างมหาศาล เสียบไม้ปิ้ง, ไก่นาบกระทะ ต�ำรับอาหารจากครัวสระปทุม ทั้งหมดนี้ ผู้เข้าชมสามารถศกึ ษาเครอ่ื งปรงุ และวธิ กี ารทำ� อย่าง มุมจัดแสดงนิทรรศการ นวัตกรรมแห่งผลผลิตไทย ละเอียดผ่านทางหน้าจอสมั ผสั ในรูปแบบหนงั สอื ขนาดใหญ่ ขยายภาพให้เห็นกลุ่มอาหาร ๕ ชนิดท่ีมีส่วนส�ำคัญต่อ แหลง่ สรรคส์ รา้ งภมู ปิ ญั ญาไทย แจกแจงรายละเอียด อุตสาหกรรมการผลิตอาหารของไทย อันได้แก่ กลุ่มธัญพืช กลมุ่ ผกั ผลไม้ กลมุ่ ปศสุ ตั ว์ กลมุ่ อาหารทะเล และกลมุ่ เครอ่ื งเทศ ถึงรูปแบบวิธีการปรุงอาหารไทย ใช้เครื่องเทศหลักๆ อะไรบ้าง เครอื่ งปรงุ รส โดยใชร้ ปู แบบการนำ� เสนอเปน็ โดมทรงกลมแปลกตา วธิ เี กบ็ ถนอมอาหาร หรอื มแี นวคดิ ในการกนิ ตามธาตทุ งั้ ๔ อยา่ งไร ไล่ไปจนถึงมุมจัดแสดง ห่อ-มัด-กลัด-ร้อย ว่าด้วยภูมิปัญญา ในการบรรจุอาหารโดยใช้วัสดธุ รรมชาติ รา้ นอาหารบา้ นไทย นำ� เสนอแงม่ มุ เกยี่ วกบั ความรว่ มมอื ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม 116
๔ ลอยอยู่เหนือศรี ษะ เม่อื เข้าไปยืนใต้โดมกจ็ ะได้รบั ข้อมูลความรู้ หากได้เดินชม ศนู ยก์ ารเรยี นรอู้ าหารไทย จนครบท้ัง ๓ โซน ผ่านจอวดี ทิ ศั น์พร้อมกบั ตวั อย่างโมเดลจำ� ลองของอาหารแตล่ ะ กลุ่มอยู่บนเพดานของโดม ไม่เพียงแต่จะได้เข้าใจเก่ียวกับของกินแบบไทยๆ โดยใช้เวลา ไม่นานแล้ว ยงั มโี อกาสไดเ้ หน็ ภาพรวมของอตุ สาหกรรมดา้ น ถดั ไปเป็นนทิ รรศการทวี่ ่าด้วยอาหารพนั ธไ์ุ ทย น�ำเสนอ อาหารของไทยในรอบหลายทศวรรษ ทส่ี ามารถพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ จนกลายเป็นสนิ คา้ แบรนด์ไทยทร่ี ู้จกั ดีในวงการอาหารโลก ตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑเ์ กยี่ วกบั อาหารนานาชนดิ ของไทยทม่ี คี ณุ ภาพ ไดอ้ ยา่ งนา่ ภาคภมู ใิ จในเอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย ในระดับสากล ปลอดภัย และมีมาตรฐานในการบรรจุภัณฑ์ ที่ดูดีสวยงาม ช่วยสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าจนน�ำมาซ่ึง ศูนยก์ ารเรยี นรูอ้ าหารไทย หรือ Thai Food Heritage : รายได้ของประเทศไทยอย่างย่ังยืน ผู้เข้าชมสามารถดูตัวอย่าง ตงั้ อยภู่ ายในบรเิ วณสำ� นกั งานสถาบนั อาหาร อรณุ อมรนิ ทร์ รายนามผู้ประกอบการในแวดวงการอุตสาหกรรมอาหารไทย ทปี่ ระสบความส�ำเร็จในการน�ำพาผลิตภัณฑ์ก้าวไปสู่ตลาดโลก ๓๖ เชิงสะพานพระราม ๘ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๘๘๖-๘๐๘๘ ต่อ ๙๔๐๐ ได้จากส่วนจัดแสดง การเดนิ ทางของอาหารไทย ซึ่งอาจช่วย โทรสาร ๐-๒๘๘๖-๘๑๐๖ E-mail : [email protected] สร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้เข้าชมแล้วน�ำไปเป็นแนวทางในการ ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนเพ่ือนัดเวลาเข้าเย่ียมชมได้ คิดค้นนวตั กรรมอาหารของตนเองได้ ทางเว็บไซต์ www.thaifoodheritage.com ไมว่ า่ จะเปน็ ผปู้ ระกอบการดา้ นอาหาร บคุ คลทวั่ ไป นกั ลงทนุ 117กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙ ต่างชาติ นักเรียนนักศึกษา หรือแม้แต่แขกต่างบ้านต่างเมือง
เปิดอา่ น วนั ใหม่ เรอ่ื ง โอชะแห่งล้านนา ต�ำ (รบั )นำ้� พรกิ ECalesyanCoFoookidng: ผู้แต่ง : สริ ริ ักษ์ บางสดุ , ผแู้ ตง่ : ศรีนรา นวลแกว้ ผู้แตง่ : สาวิตตรี สระทองเทียน พลวัฒน์ อารมณ์ สำ� นกั พิมพ์ : แม่บา้ น ส�ำนักพมิ พ์ : everyday ส�ำนกั พมิ พ์ : แสงแดด บันทึกวิถีวัฒนธรรมและอาหาร ภายในเล่มมีรายละเอียดของ ๕๗ เมนูอาหารคลีนที่เร่ิมตั้งแต่ การกนิ อยา่ งคนเมอื ง ความผกู พนั ระหวา่ ง เครอ่ื งปรงุ สว่ นประกอบและวธิ ที ำ� พรอ้ ม มื้อเช้าถึงม้ือเย็น (แถมของว่างและ คนกับธรรมชาติ เกิดเป็นอาหารแต่ละ ภาพประกอบชดั เจน ทง้ั นำ้� พรกิ กระเทยี ม Infused water กวา่ ๑๐๐ สตู ร) ทเ่ี พจ ‘Easy ฤดกู าลตลอดปี ขนบประเพณี งานบญุ และ ค่ัวแห้ง น�้ำพริกไข่เค็ม น้�ำพริกปลาจ่อม Cooking เมนูอร่อยใครว่าท�ำยาก’ และ ตำ� รบั อาหารอนั สะทอ้ นความหลากหลาย น�้ำพริกปลาร้า น�้ำพริกปลาเล็กปลาน้อย ‘Eat Clean and Workout’ ตงั้ ใจรวบรวม ของชาติพันธุ์ ตลอดจนเกร็ดความรู้ น้�ำพริกมะขามอ่อน น�้ำพริกมะเขือยาว มาน�ำเสนอไอเดียเมนูอาหารคลีนให้เป็น และเร่ืองเล่ามากมาย ท้ังหมดทั้งมวล น้�ำพรกิ มะม่วง น�้ำพรกิ หนุ่ม น้�ำพรกิ อ่อง ไปดั่งใจนึกแบบไม่ทรมานและยั่งยืน ถูกบันทึกไว้โดยผู้เขียนผู้เป็นลูกหลาน แจ่วบอง และอ่ืนๆ อีกมากมาย ส�ำหรับ รวมทงั้ แนะนำ� วตั ถดุ บิ เครอ่ื งปรงุ และวธิ กี าร ชาวเหนือท่ีสะท้อนวิถีคนเมืองได้อย่าง ผชู้ นื่ ชอบการทำ� อาหารทกุ ทา่ นโดยเฉพาะ ทำ� ทเ่ี หมาะสมจนคณุ สามารถไปจา่ ยตลาด น่าสนใจ “น้ำ� พริก” เป็นพิเศษ และท�ำตามได้ง่ายๆ ทีบ่ ้าน 118
เชฟอาหารไทย 50 เมนูอาหารลดนำ้� หนัก แวัฒละนภธูมรปิรมญั ญ วถิ าีช วี ติ ผ้แู ตง่ : แมบ่ ้าน ผแู้ ตง่ : รงุ่ รัตน์ แจม่ จนั ทร์ และ ผแู้ ตง่ : กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม สำ� นกั พิมพ์ : แมบ่ ้าน รญิ เจรญิ ศิริ กระทรวงวฒั นธรรม ส�ำนักพมิ พ์ : สารคดี รวบรวมสูตรอาหารไทยฟิวชัน เคล็ด (ไม่) ลับของสูตรอาหารลด หนังสือเล่มนี้เป็นความตั้งใจของ สไตล์โมเดิร์นจากเชฟพงษ์ศักด์ิ นำ�้ หนกั เนอ้ื หาภายในเล่มแสดงภาพรวม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม มขิ นุ ทอง และเชฟสรุ ศกั ดิ์ เจรญิ จนั ทร์ ของปัญหาน้�ำหนักตัวและความอ้วน ทตี่ ้องการเผยแพรเ่ รอ่ื งราวอนั ทรงคณุ ค่าและ ผ่านการทดลองแล้วว่าอร่อยจริง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ความรู้ เปี่ยมเสน่ห์ของมรดกวัฒนธรรม เอกลักษณ์ ซ่ึงได้รางวัลเหรียญทองระดับโลก เร่ืองโภชนาการกับการลดน�้ำหนัก และ ของวิถีชีวิต และภูมิปัญญา ผ่านแง่มุมการ จากประเทศลักเซมเบิร์ก เช่น ส้มตำ� หวั ใจสำ� คญั คอื ๕๐ เมนอู าหารพลงั งานต่�ำ ด�ำเนินชีวิตของคนไทยที่อาศัยอยู่ในภูมิภาค ทาร์โก้ แกงส้มเย็น ทุกสูตรภายใน ลดนำ้� หนกั ซง่ึ แบง่ เปน็ สองกลมุ่ ใหญๆ่ คอื ต่างๆ ทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะในด้าน เล่มล้วนมีขั้นตอนการท�ำที่เข้าใจง่าย อาหารเช้า ๑๐ เมนู และอาหารกลางวัน- ประเพณีไทย ศิลปะการแสดง งานช่างฝีมอื เหมาะสำ� หรบั ผทู้ สี่ นใจหรอื ผทู้ ตี่ อ้ งการ เยน็ ๔๐ เมนู ทกุ เมนวู เิ คราะหพ์ ลงั งานและ อาหาร และกีฬา สู่ผู้อ่านชาวไทย รวมถึง เปิดร้านอาหาร คณุ ค่าทางโภชนาการ ทสี่ ำ� คญั คอื ทำ� งา่ ย ในระดับสากลเพื่อสร้างความเข้าใจในเสน่ห์ และอร่อย และวถิ ีอย่างไทย 119กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
วฒั นธรรมปริทรรศน์ บเฉคุ ลคลิมใพนภราะพเแกหีย่งรคตวาิพมรทะรงบจาำ� ทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั เพ่ือร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาท- ได้เปิดเผยถึงความประทับใจ ความรู้สึก ๑ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว เนอื่ งในโอกาสมหา และความภาคภมู ใิ จทไี่ ดม้ โี อกาสถวายงาน ๒ มงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเน่ืองใน ๗๐ ปี ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙ กรมสง่ เสรมิ วาระพิเศษน้ี เพื่อให้เด็กและเยาวชน วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม ไดด้ ำ� เนนิ คนรุ่นใหม่และประชาชนท่ัวไปได้รับรู้ถึง โครงการตามหาบคุ คลในภาพแหง่ ความ พระจริยวัตรและพระราชดำ� รัสทพ่ี ระองค์ ทรงจำ� รวม ๗ คน ทไี่ ดม้ โี อกาสถวายงาน ทรงมตี อ่ พสกนกิ รชาวไทย เปน็ ดงั่ ค�ำสอน พระองค์ในการเสด็จพระราชด�ำเนิน ที่มีคุณค่ายิ่งท่ีประชาชนควรน้อมน�ำไป ทรงงานตามภูมิภาคต่างๆ โดยเมื่อวันที่ ปฏิบัติเป็นแนวทางในพัฒนาตนเองและ ๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๙ ณ ศูนย์วฒั นธรรม นำ� พาความเจรญิ รงุ่ เรอื งมาสปู่ ระเทศชาติ แห่งประเทศไทย บคุ คลในภาพท้งั ๗ คน ต่อไป 120
บคุ คลในภาพทงั้ ๗ ภาพ ได้แก่ ในโอกาสมหามงคลน้ี กระทรวง ภาพที่ ๑ วันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๒๔ วฒั นธรรม ขอเชญิ ชวนประชาชนชาวไทย พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทอดพระเนตร ร่วมแสดงออกถึงความจงรักภักดี แผนท่ีในการเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรง ท่ีมีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เยย่ี มโครงการอา่ งเกบ็ นำ้� หว้ ยเคยี น จงั หวดั ในหวั ขอ้ “ภาพทมี่ ที กุ บา้ น” ดว้ ยการ ลำ� ปาง บคุ คลในภาพคอื นายบญุ ทา แสนดี ถา่ ยภาพทป่ี รากฏพระบรมฉายาลกั ษณ์ ๓ อดีตผู้ใหญ่บ้านดอนมูล จังหวัดล�ำปาง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในบ้าน ปจั จบุ นั บวชเปน็ พระภกิ ษสุ งฆ์ จำ� พรรษาที่ ของตนเอง หรอื ภาพทสี่ อื่ ถงึ ความจงรกั วดั สงิ หช์ ยั จงั หวดั ล�ำปาง ชอื่ พระบญุ ทา ภกั ดตี อ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ปญุ ญฺ มโน เผยแพร่ภาพแห่งความประทบั ใจและ ภาพท่ี ๒ วันท่ี ๒๙ สิงหาคม ๒๕๒๐ ถวายพระพรแด่พระเจ้าแผ่นดิน ผ่าน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ ทางโซเชียลมีเดีย เช่น เฟซบุ๊ก ไลน์ พระราชด�ำเนินไปในพิธียกช่อฟ้า วัด อนิ สตาแกรมฯ โดยเรมิ่ พรอ้ มกนั ในวนั ที่ ๔ ช้างให้ จงั หวัดปัตตานี บคุ คลในภาพคือ ๙ มิถนุ ายน ศกนเ้ี ป็นต้นไป นายเฉลมิ แกว้ พมิ พ์ ศลิ ปินพน้ื บา้ นโนรา ภาพท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๒๒ พระบาทสมเดจ็ - ภาพท่ี ๖ วันท่ี ๗ ตุลาคม ๒๕๓๓ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินไปยัง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทอดพระเนตร บา้ นนานกเคา้ จงั หวดั สกลนคร เพอ่ื เตรยี ม เครอ่ื งมอื ในโรงงานสกดั และแปรรปู น�้ำมนั สรา้ งอา่ งเกบ็ นำ้� ตาดไฮใหญ่ บคุ คลในภาพคอื ปาลม์ ในระหวา่ งการเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ นายสอ่ ม วงคส์ ดี า อดตี ผ้ชู ว่ ยผ้ใู หญ่บ้าน เยี่ยมโครงการศูนย์การศึกษาการพัฒนา ๔ ภาพท่ี ๔ วนั ที่ ๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๘ พิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราช- จงั หวดั นราธวิ าส บคุ คลในภาพคอื รศ.ดร. ด�ำเนินทอดพระเนตรความก้าวหน้าของ สณั หช์ ยั กลน่ิ พกิ ลุ อดตี อาจารย์ประจำ� โครงการกอ่ สรา้ งเขอ่ื นแมง่ ดั และทรงเยยี่ ม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะ ชมความกา้ วหนา้ โครงการกอ่ สรา้ งโรงไฟฟา้ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา พลงั นำ้� เขอ่ื นแมง่ ดั จงั หวดั เชยี งใหม่ บคุ คล นครินทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ ในภาพคอื นายปราโมทย์ อนิ สวา่ ง อดตี ภาพที่ ๗ วันท่ี ๖ ตุลาคม ๒๕๔๔ ๖ ผู้อ�ำนวยการโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทอดพระเนตร พลงั นำ้� เขอื่ นแม่งัด นทิ รรศการต่างๆ ในโอกาสเสดจ็ พระราช- ภาพที่ ๕ วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๓๐ ดำ� เนนิ ไปเยย่ี มโครงการชลประทานอนั เนอ่ื ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ มาจากพระราชด�ำริแห่งแรก อ่างเก็บน้�ำ พระราชด�ำเนินเย่ียมราษฎรบ้านสุโบะ- บา้ นเขาเตา่ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ บคุ คลใน ปาเระ จังหวัดนราธิวาส บุคคลในภาพ ภาพคอื นางสาวทพิ ยว์ รรณ ศภุ กจิ ถาวร คอื นางแมะรอ บอื ราเฮง ประกอบอาชพี ปจั จบุ นั เปน็ ครผู ชู้ ว่ ย สงั กดั องคก์ ารบรหิ าร ๗ กรดี ยาง ส่วนจังหวัดประจวบครี ีขันธ์ 121กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
มหกรรมวฒั นธรรมวถิ ถี น่ิ วถิ ไี ทย ปชรมุ ะชจ�ำนปตี ๒น้ ๕แ๕บ๙บทางวฒั นธรรม กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม จดั งานมหกรรมวฒั นธรรม นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการ วิถีถนิ่ วถิ ีไทย เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเน่ืองในโอกาส กระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานมอบรางวัลชมุ ชน ทรงครองสริ ิราชสมบตั คิ รบ ๗๐ ปี และเฉลมิ พระเกยี รติสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ ตน้ แบบสบื สานมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา สเู่ ศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ ประจำ� ปี ๒๕๕๙ เมือ่ วนั ที่ ๗ รอบ ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๕๙ ในจงั หวดั กรงุ เทพมหานคร เพชรบรุ ี เชยี งราย กระบี่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๙ ณ ลานกิจกรรมด้านหน้า หนองคาย ภายในงานไดร้ วบรวมการแสดงดนตรแี ละนาฏศลิ ปพ์ นื้ บา้ นทม่ี ชี อ่ื เสยี ง หอศลิ ปวฒั นธรรมแหง่ กรงุ เทพมหานคร กรมสง่ เสรมิ ของแตล่ ะภาคมาใหช้ มมากมาย อกี ทงั้ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารสาธติ ภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม วฒั นธรรม (สวธ.) กระทรวงวฒั นธรรม ไดด้ ำ� เนนิ การ นิทรรศการ การออกร้านจ�ำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม ของดี ค้นหาและคัดเลือกชุมชนท่ีมีความพร้อมในการ บ้านฉัน CPOT และ OTOP อีกด้วย รวมกลุ่มเพ่ือด�ำเนินกิจกรรมของชุมชนโดยน�ำมรดก โดยเม่ือวันท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ได้มีพิธีเปิดงานมหกรรมวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีความโดดเด่นและเป็น วถิ ถี นิ่ วถิ ไี ทยฯ พร้อมกันใน ๒ ภูมิภาค แห่งแรกคือจงั หวดั หนองคาย โดย เอกลกั ษณข์ องชมุ ชนมาพฒั นาตอ่ ยอดในเชงิ เศรษฐกจิ พลเอก ธนะศกั ดิ์ ปฏมิ าประกร รองนายกรฐั มนตรี ใหเ้ กยี รตเิ ปน็ ประธานในพธิ ี สรา้ งสรรค์ ในรปู แบบของผลติ ภณั ฑ์ สนิ คา้ การบรกิ าร ณ ลานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือการแสดงออกทางวัฒนธรรม จำ� นวน ๑๐ แห่ง ภายในงานประกอบด้วยการแสดงของศลิ ปินแห่งชาติ ศลิ ปินพ้นื บ้านของจงั หวดั จากทุกภูมิภาคทัว่ ประเทศ โดย สวธ. ได้จดั ให้ชมุ ชน ต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่รวบรวมมาให้ชมมากมาย อาทิ โปงลาง เขา้ รบั การอบรมจากผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นตา่ งๆ ทชี่ ว่ ยให้ กันตรึม ผตี าโขน หมอลำ� ผญา และการแสดงจากประเทศมาเลเซีย สาธารณรัฐ คำ� ปรกึ ษาแนะน�ำการพัฒนารปู แบบผลิตภณั ฑ์ และ ประชาชนจนี สปป.ลาว และสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เป็นต้น นำ� ผลติ ภณั ฑท์ ไ่ี ดม้ านำ� เสนอตอ่ คณะกรรมการตดั สนิ อีกหน่ึงภมู ภิ าคได้แก่จงั หวดั กระบ่ี โดย ดร. พงศศ์ กั ตฐิ ์ เสมสนั ต์ ท่ปี รึกษา เพอื่ คดั เลอื กเปน็ ชมุ ชนตน้ แบบสบื สานมรดกภมู ปิ ญั ญา รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวฒั นธรรม ใหเ้ กยี รตเิ ปน็ ประธานในพธิ ี ณ หนา้ ศาลากลาง ทางวฒั นธรรมสเู่ ศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ ประจำ� ปี ๒๕๕๙ ๒ จังหวัด และสวนสาธารณะธารา พร้อมพรั่งด้วยการแสดงดนตรีและนาฏศิลป์ ใน ๓ ระดบั คอื ดเี ดน่ ดมี าก และดี โดย สวธ. จะกำ� หนด จดั งานมอบโลย่ อ่ งเชดิ ชเู กยี รตฯิ ภายในเดอื นสงิ หาคม พื้นบ้านท่ีมีชื่อเสียงของภาคใต้ อาทิ โนรา ลิเกป่า หนังตะลุง พร้อมด้วย ๒๕๕๙ ทง้ั นสี้ ามารถตดิ ตามผลการตดั สนิ ไดท้ ่ี www. การแสดงจากประเทศบัลแกเรีย เกาหลีใต้ และอินโดนีเซีย ที่หมุนเวียนมาให้ culture.go.th ข่าวประชาสัมพันธ์ ความบนั เทิงตลอดงาน 122
รกำ� าลรกึ แพสรดะกงรดณุ นาตธิครณุคี ลาสสกิ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า คอเพลงดนตรีคลาสสิกต่างเพลิดเพลิน ไม่เหมือนใคร นักวิจารณ์ดนตรีต่างยกน้ิว โสมสวลี พระวรราชาทนิ ดั ดามาตุ เสดจ็ ฯ ไปกับเสียงเปียโนและการขับร้องเพลง ใหก้ บั “ความมพี ลงั ทเี่ ตม็ ไปดว้ ยแสงสวา่ ง” ทอดพระเนตรนิทรรศการและการแสดง คลาสสิกจาก มร. คิมบอล กาลลาเกอร์ และ เชียง ยี่ หลิง (Ms. Chaing Yi Ling) ดนตรคี ลาสสกิ รำ� ลกึ พระกรณุ าธคิ ณุ สมเดจ็ - (Mr. Kimball Gallagher) นักเปียโนรุ่นใหม่ นักร้องเสียงโซปราโนจากประเทศมาเลเซีย พระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ที่มีช่ือเสียงมากท่ีสุดในปัจจุบันคนหน่ึง เจ้าของพลังเสียงรางวัลเกียรติยศมากมาย กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยมี เป็นศิลปินท่ีผสมผสานความคิดทางดนตรี จึงนับเป็นค�่ำคืนแห่งความพิเศษอันน่า นางพมิ พร์ วี วฒั นวรางกรู อธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ กับการน�ำเสนอความสามารถในรูปแบบท่ี ประทบั ใจ วฒั นธรรม นายจมุ พจน์ เชอ้ื สาย เลขาธกิ าร ทุนส่งเสริมดนตรีคลาสสิกในพระอุปถัมภ์ฯ และคณะกรรมการฯ เฝ้ารับเสด็จเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ณ หอประชุมเล็ก ศูนย์วฒั นธรรมแห่งประเทศไทย ใต้รม่ พระบารมี ๒๓๔ ปี กรุงรตั นโกสินทร์ ในมติ ติ า่ งๆ เพอื่ สรา้ งคณุ คา่ ทางสงั คม และ เพมิ่ มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ อกี ทง้ั ยงั สง่ เสรมิ ให้ วันที่ ๒๑ เมษายน ๒๓๒๕ คือวัน ใหป้ ระชาชนชาวไทย รำ� ลกึ ถงึ วนั สถาปนา คนในสงั คมไดเ้ รยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตรแ์ ละความ สถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ กาลลว่ งมาจนถงึ กรงุ รตั นโกสนิ ทรแ์ ละเปน็ โอกาสทพี่ สกนกิ ร หลากหลายทางดา้ นวฒั นธรรมของสงั คมไทย ปัจจุบันกรุงรัตนโกสินทร์มีอายุครบรอบ จะไดร้ ว่ มถวายความจงรกั ภกั ดแี ละสำ� นกึ รวมท้ังเป็นการแสดงความพร้อมการเป็น ๒๓๔ ปี กระทรวงวฒั นธรรมจงึ ไดจ้ ดั งาน ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ตอ่ พระมหากษตั รยิ ์ ศนู ยก์ ลางการแลกเปลยี่ นเรยี นรทู้ างศลิ ปะ ใตร้ ม่ พระบารมี ๒๓๔ ปี กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ แห่งราชวงศ์จักรที ้งั ๙ พระองค์ และวฒั นธรรมของอาเซยี น เพอ่ื ใหป้ ระชาชน ระหว่างวันที่ ๒๐-๒๔ เมษายน ๒๕๕๙ ได้เรียนรู้ในความเหมือนและแตกต่างใน ณ บริเวณท้องสนามหลวง เพื่อส่งเสริม ภายในงานประกอบดว้ ยกจิ กรรมทาง เรอ่ื งของวถิ ชี วี ติ วฒั นธรรมของประชาชน ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม มานำ� เสนอ ในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน โดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรมได้น�ำศิลปะ การแสดง การเลน่ พนื้ บา้ น การจำ� ลองวถิ ชี วี ติ ชุมชนท่มี ปี ระวตั ิความเป็นมาอนั ยาวนาน ครัวอาเซียน “ล้ิมรสอาหารอาเซียน” และการจัดนิทรรศการและสาธิต “ว่าว อาเซยี น” กจิ กรรมทางวฒั นธรรมภายในงาน ทจ่ี ดั ขนึ้ มปี ระชาชนใหค้ วามสนใจเขา้ รว่ มงาน อยา่ งลน้ หลาม 123กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙
๓ ทศวรรษอคั รศลิ ปินและศลิ ปินแห่งชาติ ครบรอบ ๓๐ ปีของการดำ� เนินโครงการ ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตศิ ลิ ปนิ แหง่ ชาตนิ บั ตงั้ แต่ เนอื่ งดว้ ยปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ เปน็ ปี พธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๗ รอบ ปี ๒๕๒๘ เป็นต้นมาด้วย มหามงคลทร่ี ฐั บาลและประชาชนพรอ้ มใจ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ กรมส่งเสริม กันจัดงานเพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระบาท- วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม จึง นางพิมพ์รวี วัฒนวรางกูร อธิบดี สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เนอ่ื งในโอกาสเสดจ็ ได้จัดโครงการ ๓ ทศวรรษอัครศิลปิน กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม กลา่ วถงึ การจดั งาน เถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๗๐ ปี และ และศิลปินแห่งชาติขึ้น ซึ่งในปี พ.ศ. ในคร้ังน้ีว่า ประชาชนมีโอกาสได้ร่วม เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ ๒๕๕๙ น้ี ครบรอบ ๓ ทศวรรษแห่งการ เฉลิมพระเกียรติและช่ืนชมพระปรีชา พระบรมราชนิ นี าถ เนอื่ งในโอกาสพระราช- ถวายพระราชสมญั ญา “อคั รศลิ ปนิ ” และ สามารถในงานศลิ ปะลำ้� คา่ ของ อคั รศลิ ปนิ อัคราภิรักษศิลปิน วิศิษฏศิลปิน และ ชมนทิ รรศการผลงานของฐาปนนั ดรศลิ ปนิ (นายชวน หลกี ภยั ) รวมทง้ั ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ จากอดตี ถงึ ปจั จบุ นั พรอ้ มเรยี นรสู้ รา้ งสรรค์ งานศิลป์กับศิลปินแห่งชาติ ๓ สาขา วรรณศิลป์ ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง ระหวา่ งวนั ที่ ๑๒ พฤษภาคม - ๑๔ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙ ท่ีผ่านมา ณ หอศิลป์สมเด็จ- พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ เชงิ สะพานผา่ นฟา้ ลลี าศ ถนนราชดำ� เนินกลาง สเปร้าิดงโวคินยัรจงรกาาจรรความเปน็ ไทย กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรมจดั กจิ กรรมภายใต้ ยงั มโี อกาสแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และประสบการณท์ ไ่ี ดร้ บั โครงการ “ความเปน็ ไทย สรา้ งวนิ ยั จราจร” และกิจกรรมการ จากการขบั รถบนท้องถนนระหวา่ งผเู้ ข้ารับการอบรมดว้ ยกัน อบรม “ยมิ้ ทวั่ ไทยในทอ้ งถนน” ฝกึ อบรมผขู้ บั ขรี่ ถสาธารณะกวา่ อีกด้วย” โครงการรณรงค์เรื่อง “ความเป็นไทย สร้างวินัย ๖๐๐ คน ใหเ้ ปน็ ตน้ แบบสรา้ งรอยยม้ิ บนทอ้ งถนน ใชว้ ฒั นธรรมไทย จราจร” กรมส่งเสริมวัฒนธรรมได้ด�ำเนินการมาต้ังแต่ต้นปี ควบคกู่ บั วนิ ยั จราจร เนน้ ขบั ขปี่ ลอดภยั มมี ารยาท เออ้ื อาทรมอบ งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ โดยได้จัดท�ำบันทึกข้อตกลงความ นำ�้ ใจใหแ้ กก่ นั หวงั ลดอบุ ตั เิ หตชุ ว่ งเทศกาล โดยมี พลเอก ธนะศกั ด์ิ ร่วมมือกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย ๑๔ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ปฏมิ าประกร รองนายกรฐั มนตรี เป็นประธานเปดิ โครงการและ กบั การจราจรไปเมอื่ วนั ที่ ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๕๘ ณ ศนู ยว์ ฒั นธรรม ได้กล่าวช่ืนชมการจัดท�ำกิจกรรมในคร้ังนี้ว่า “การจัดอบรมมี แห่งประเทศไทย ประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ขับขี่รถสาธารณะ ด้วยเป็นทรัพยากร บุคคลที่มีคุณค่าและมีความสำ� คัญ ในการน�ำผู้โดยสารไปยัง จุดหมายปลายทางอย่างปลอดภัย การเข้าอบรมนอกจาก จะไดร้ บั ความรู้ เทคนคิ วธิ กี าร มารยาทในการใชร้ ถใชถ้ นนแลว้ 124
ตลาดโคยก๊ี ถนนสายวัฒนธรรมแห่งราชบรุ ี เม่ือวนั ท่ี ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๙ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม (สวธ.) กระทรวงวฒั นธรรม รว่ มกบั จงั หวดั ราชบรุ ี เปดิ โครงการ ถนนสายวัฒนธรรมย่านตลาดเก่าชุมชนชาวจีน “ตลาดโคยกี๊ ๒๐๐ ปี” เพอื่ เปิดพน้ื ทส่ี าธารณะให้เยาวชนและประชาชนไดม้ ี โอกาสแสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรค์ อกี ทง้ั เปน็ สถานทจี่ ำ� หนา่ ยสนิ คา้ พื้นเมือง ของที่ระลึก อาหารพื้นเมือง ของคนในชุมชนให้กับ นกั ทอ่ งเทย่ี วทมี่ าเยอื นทง้ั ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ โดย สวธ. ไดม้ งุ่ เนน้ การขบั เคลอ่ื นตามนโยบาย “มนั่ คง มงั่ คงั่ ยง่ั ยนื ” ของ นายกรฐั มนตรี พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา สร้างความม่ันคง ทางมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม และการพัฒนาชมุ ชนให้มี ความเข้มแข็งอย่างยง่ั ยืน “ตลาดโคยกร๊ี าชบรุ ี ๒๐๐ ป”ี รมิ เขอ่ื นรฐั ประชาพฒั นา อำ� เภอ เมอื ง จงั หวดั ราชบรุ นี ้ี เปน็ ตลาดเกา่ ยา่ นชมุ ชนชาวจนี รมิ ฝง่ั แมน่ ำ้� แม่กลองที่เรียงรายไปด้วยตึกแถวสีเหลืองนวลตาทรงคลาสสิก แบบสมยั กอ่ น โคยกี๊ เปน็ ภาษาจนี แตจ้ วิ๋ หมายถงึ รมิ แมน่ �้ำหรอื รมิ คลอง สอดคลอ้ งกบั ท�ำเลทตี่ งั้ ของตลาดทเ่ี ลยี บขนานกบั แมน่ �้ำ แมก่ ลอง ซงึ่ มคี วามยาวประมาณ ๑ กโิ ลเมตร เปดิ ทกุ วนั ศกุ ร์ เสาร์ และอาทติ ย์ ตง้ั แต่เวลา ๑๗.๓๐-๒๒.๐๐ น. เสปืบสดิ าบน้าภมูนปิ ศัญลิ ญปาินเคแรื่อหง่งเงชินาเมตือิงนา่ น นางฉวรี ตั น์ เกษตรสนุ ทร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวง ต�ำบลในเวยี ง อำ� เภอเมืองน่าน จงั หวัดน่าน เป็นศูนย์การเรียนรู้ วฒั นธรรม เปน็ ประธานพธิ เี ปดิ บา้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ นายบญุ ชว่ ย เครอ่ื งเงนิ บา้ นประตปู ลอ่ ง เปน็ แหลง่ ถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญาการทำ� หิรัญวิทย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประณีตศิลป์) เครื่องเงินให้กับเด็ก เยาวชน นักเรียน และประชาชนท่ีสนใจ พุทธศักราช ๒๕๕๗ เม่ือวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๙ ภายใน ไดม้ าศกึ ษาหาความรกู้ ารทำ� เครอื่ งเงนิ โบราณ บา้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ บ้านจัดแสดงนิทรรศการประวัติและผลงานของศิลปินแห่งชาติ เปิดให้เข้าชมทุกวนั และชมการสาธิตการท�ำเครื่องเงินโดยลกู ศิษย์ของนายบุญช่วย หิรัญวิทย์ ศิลปินแห่งชาติ ผู้สืบสานศิลปะการท�ำเคร่ืองเงิน 125กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙ ตามแบบโบราณของจงั หวดั นา่ น บา้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาตหิ ลงั นตี้ งั้ อยู่ ณ บ้านเลขที่ ๓๗/๑ บ้านประตปู ล่อง ถนนเปรมประชาราษฎร์
กกแบาั ลรกะสาัมวรมดดี นำ� ทิ เานเัศชินนิงงปา์ นพฏตบิ .าศตั มกิ.าพ๒รบ.๕รุค.๕ลบา๑.กรภทาีเ่ กพ่ียยวนข้อตงร์ นายประดษิ ฐ์ โปซวิ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั พจิ ารณาภาพยนตร์ ส“พรLวะiธบv.าeทจ&สัดมกLาเดeรจ็แaพสrดรnะงเเ”จฉา้ลอิมยพูห่ รวั ะเกียรติ และวีดิทัศน์ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม (สวธ.) เป็นประธานเปิด การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารบคุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การดำ� เนนิ งาน เนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เถลงิ ถวลั ยราชสมบตั คิ รบ ๗๐ ปี ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙ กรมสง่ เสรมิ ในภาคกลาง เมือ่ วันท่ี ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ณ ห้องประชุม วัฒนธรรม (สวธ.) กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับ มูลนิธิ ช้ัน ๔ ส�ำนักพิจารณาภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ผู้เข้าสัมมนา วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ จัดการแสดงเฉลิมพระเกียรติ ประกอบดว้ ยเจา้ หนา้ ทสี่ �ำนกั งานวฒั นธรรมในภาคกลางจ�ำนวน คอนเสิร์ต “Live & Learn” บรรเลงโดยวง BSO อ�ำนวยเพลง ๒๖ จังหวัด พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ส�ำนักพิจารณาภาพยนตร์ โดย วานชิ โปตะวนชิ ร่วมดว้ ยสามนกั รอ้ งรบั เชญิ จากครอบครวั และวดี ทิ ศั น์ รวมผเู้ ขา้ สมั มนาทงั้ สนิ้ จำ� นวน ๙๐ คน การสมั มนา สุโกศล กมลา สโุ กศล, มาริสา สโุ กศล หนุนภกั ดี และ กฤษดา ครงั้ นเ้ี ปน็ การเสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจใหเ้ จา้ หนา้ ทส่ี ามารถ สุโกศล แคลปป์ เม่ือวันอังคารที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๙ วิเคราะห์ปัญหาให้สอดคล้องกับหลักกฎหมาย ตลอดจนการ ณ ศูนย์วฒั นธรรมแห่งประเทศไทย ให้ความร่วมมือและการทำ� งานอย่างสอดรบั กนั ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ซ่ึง พ.ร.บ. ฉบับนี้มุ่งเน้นคุ้มครองให้เด็กและ คร้ังนี้นับเป็นคร้ังแรกท่ีครอบครัว “สุโกศล” ร่วมแสดง เยาวชนปลอดภยั จากสื่อภาพยนตร์และวีดิทศั น์ รวมทงั้ ส่งเสรมิ คอนเสิร์ตกบั วง Bangkok Symphony Orchestra (BSO) นำ� เสนอ และสนับสนุนให้มีการใช้ส่ือภาพยนตร์และวีดิทัศน์ให้เป็นไป ผลงานในคำ�่ คนื ทอ่ี บอวลไปดว้ ยบรรยากาศเพลงรอ้ งแนวโรแมนตกิ ในทางสร้างสรรค์ และความอลังการของดนตรีที่บรรเลงโดยวงออร์เคสตร้ากว่า ๗๐ ช้นิ โอกาสนี้ นางพมิ พร์ วี วฒั นวรางกรู อธิบดกี รมส่งเสริม การสมั มนาจดั ขนึ้ ระหวา่ งวนั ท่ี ๓๐ พฤษภาคม - ๑ มถิ นุ ายน วฒั นธรรม ร่วมชมคอนเสริ ์ตและมอบช่อดอกไม้แก่คณะนกั ร้อง ๒๕๕๙ ณ จังหวัดเพชรบุรี วิทยากรโดย อาจารย์ธนวัฒน์ ผู้อ�ำนวยเพลง และผู้แทนวง BSO เพื่อแสดงความช่ืนชมต่อ เนติโพธิ์ ที่ปรึกษากฎหมายของ สวธ. และนายพจนาถ ความส�ำเร็จในการแสดงดนตรคี รงั้ นี้ ปัญญาศิลป์ นิติกรช�ำนาญการ ได้ร่วมบรรยายไขข้อกฎหมาย ในทางปฏบิ ตั แิ ละแนวทางในการดำ� เนนิ การตาม พ.ร.บ. ภาพยนตร์ และวีดิทศั น์ พ.ศ. ๒๕๕๑ 126
ฉบบั หนา้ โขนไทย ๑ ๑. พระธาตลุ า้ นนา ด้วยแรงศรทั ธาและเรื่องเล่า ๒. ภาษาผไู้ ทย ๓. ใสผ่ า้ ถงุ นงุ่ โสรง่ อาภรณ์อุษาคเนย์ ๒๓
‘หอไทยนทิ ัศน์’พบความเปน็ มาของชนชาติไทย ไดท้ นี่ ี่ สถานที่จัดแสดงเรื่องราวทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ วิถีชีวิตไทย ภาษาวรรณคดี และประชาคมอาเซยี น ดว้ ยสอื่ ลาํ้ สมยั ทอ่ งไปในอดตี ที่ เราไมเ่ คยไดส้ มั ผสั มากอ่ น มาชมแลว้ ไดท้ ง้ั ความรแู้ ละความสนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ และภาคภมู ิใจไปกับวถิ คี วามเปน็ ไทย หอไทยนิทศั น์ ศนู ย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ถนนเทียมร่วมมิตร เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๒๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๔๗-๐๐๒๘ ต่อ ๔๒๐๖, ๔๒๐๗ เปิดให้เข้าชม วันจันทร์ – วันศุกร์ เว้นวันนักขัตฤกษ์ ระหว่างเวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๓๐ น.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130