Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Culture3-2016

Culture3-2016

Description: Culture3-2016

Search

Read the Text Version

วารสารราย ๓ เดอื น ปที ี่ ฉบบั ท่ี ๓ / กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙ / ISBN 0857-3727

ภาพบอกเล่า อดลุ ตณั ฑโกศยั เรอ่ื งและภาพ ฟ้อนละคอนผู้ไท บ้านโพน มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวต่างจาก การฟอ้ นละคอนผไู้ ทในกลมุ่ อนื่ ๆ ทง้ั รปู แบบ ท่าทางการฟ้อน และการแต่งกายของ ผฟู้ อ้ นดว้ ยผา้ แพรวาอนั มลี วดลายอนั วจิ ติ ร บรรจง และการสวมเลบ็ แบบฟอ้ นกลองตมุ้ และเซงิ้ บั้งไฟ แต่เดิมฟ้อนละคอนผู้ไทเป็น การแสดงเฉพาะผชู้ าย จนถงึ พ.ศ. ๒๕๓๙ เร่ิมมีการน�ำผู้หญิงมาฟ้อนแทนผู้ชาย ซ่ึงติดภารกิจในการประกอบอาชีพ โดย แต่งกายเลียนแบบให้ดูคล้ายผู้ชาย B

ความกลมกล่อมของรสชาติเปร้ียว หวาน มัน เค็ม เผ็ด ในอาหารไทย สะท้อน • เจา้ ของ ถึงวัฒนธรรมการอยู่ การกิน แต่ละจานผสมผสานภูมิปัญญาในการเลือกสรรวัตถุดิบ กรมส่งเสริมวฒั นธรรม การปรุง การจัดแต่ง ไปจนถึงการรับประทาน อาหารจึงเป็นสิ่งบ่งบอกตัวตนของคน แต่ละถ่ินฐานได้ดีท่ีสุด ในทุกค�ำเม่ือได้รับประทานไม่ใช่เพียงแค่อิ่มท้อง หากคุณค่า •บรรณาธกิ าร ที่มากับความอร่อยยังเต็มไปด้วยการป้องกันและรักษาร่างกายเปรียบอาหาร นางพิมพ์รวี วฒั นวรางกรู เป็นดั่งยา นี่คือความโดดเด่นที่ไม่เหมือนใครของอาหารไทย เป็นเอกลักษณ์ที่สร้าง อธบิ ดีกรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม ความประทับใจให้กบั ผู้ทไี่ ด้ล้มิ ลองมาแล้วทั่วโลก พบความอศั จรรย์ของอรอ่ ย...รสไทย •ผ้ชู ่วยบรรณาธิการ นางสุนันทา มติ รงาม ได้ในวารสารวัฒนธรรมฉบับน้ี อาหารยังเป็นหน่ึงในวัฒนธรรมร่วมของชาวอาเซียน หลายๆ ประเทศนิยมทาน • รองอธบิ ดกี รมส่งเสรมิ วฒั นธรรม นางสาวทัศชล เทพก�ำปนาท อาหารเส้น วิธีการปรุง อาจคล้ายหรือต่างกัน รูปลักษณ์ของแต่ละจานจะเป็นอย่างไร รองอธบิ ดกี รมส่งเสรมิ วัฒนธรรม หาอ่านได้ในคอลัมน์แผ่นดินเดียว และปิดท้ายเล่มด้วยการไปเย่ียมชมศูนย์การเรียนรู้ อาหารไทย แหล่งรวมความรู้ด้านอาหารเพียงแห่งเดยี วในไทย มาตนื่ ตากบั ภาพสวยงาม •กองบรรณาธิการ ตื่นใจกับวัฒนธรรมหลากเร่ืองราว พร้อมต่ืนตัวรับส่ิงใหม่ท่ีวารสารวัฒนธรรมสรรหา นางกลุ ยา เรอื นทองดี มาเพ่ือคนไทยทุกคน เลขานกุ ารกรม พมิ พ์รวี วัฒนวรางกูร • นางสาวเยาวนศิ เต็งไตรรตั น์ • นางสาวก่งิ ทอง มหาพรไพศาล [ ท่านท่ีประสงค์น�ำข้อเขียนหรือบทความใดๆ ในวารสารวัฒนธรรมไปเผยแพร่ กรุณาติดต่อประสานกับ • นายชมุ ศักด์ิ หร่งั ฉายา กองบรรณาธิการหรือนักเขียนท่านน้ันๆ โดยตรง ข้อเขียนหรือบทความใดๆ ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร • นายมณฑล ยงิ่ ยวด วัฒนธรรมฉบับน้ี เป็นความคิดเห็นเฉพาะตัวของผู้เขียน คณะผู้จัดท�ำไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วยและไม่มี • นางสาวธนพร สงิ ห์นวล ข้อผูกพันกับการส่งเสริมวัฒนธรรมแต่อย่างใด หากท่านมีความประสงค์จะส่งข่าวกิจกรรมเก่ียวกับงาน • นายศาตนนั ท์ จนั ทร์วบิ ลู ย์ ศลิ ปวัฒนธรรมต่างๆ รวมทั้งท่านทตี่ ้องการให้ข้อเสนอแนะ หรือส่งข่าวสารเพอื่ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ • นายเอกสทิ ธ์ิ กนกผกา กรุณาส่งถึง กองบรรณาธิการวารสารวัฒนธรรม กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม •ฝา่ ยกฎหมาย เลขท่ี ๑๘ ถนนเทยี มรว่ มมติ ร เขตหว้ ยขวาง กรงุ เทพ ๑๐๓๑๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๔๗ ๐๐๒๘ ตอ่ ๑๒๐๘-๙ Facebook : วารสารวฒั นธรรม กรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม Website : culture.go.th] นางสาวสดใส จำ� เนยี รกลุ •ฝา่ ยจัดพมิ พ์ นางปนดั ดา น้อยฉายา •ผูจ้ ัดท�ำ บรษิ ัท บญุ ศริ กิ ารพิมพ์ จ�ำกัด •พมิ พ์ท่ี โรงพมิ พส์ ำ� นกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ วารสารวัฒนธรรม จดั พิมพ์เพ่อื เผยแพร่ห้ามจำ� หน่าย 1กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

ฉวกISารบBรกบัNสฎทาา0ร่ี ค๓8รม5า7ย--ก3๓น7ั 2เยด7าอืยนน ๒๕๕๙ ๔ จากปก อร่อย...รสไทย สายัณห์ ชน่ื อดุ มสวสั ด์ิ ภาพ ปกณิ กะ ๑๑๑๑๒ ๘๐ วเบปฒัทิดบนอรธ่ารรนณร มาปธ รกิ ทิารรรศน ์ เรื่องจากปก ๑๘ ๔ อร่อย...รสไทย 2

วมฒัรดนกธภรูมรมิปญั ญาทาง โลกวฒั นธรรม ๑๘ บันเทงิ ศลิ ป ์ ๙๒ แผน่ ดนิ เดียว กินเส้น กินก๋วยเตยี๋ ว กันตรึม ท่วงทำ� นองและบทเพลงชีวติ ๙ ๘ ต�ำรบั ชาวไทยและอาเซียน ๒ ๖ คนไทยเขมร/คนอสี านใต้ มองผา่ นหนามเตย ชัน้ เชิงช่าง ภาพยนตร์ งานปั้นหล่อพระ ๑ ๐๔ ส่อื สะท้อนวฒั นธรรม ๓๔ วจิ ิตรศิลป์แห่งองค์พระปฏิมา วัฒนธรรมวพิ ากษ์ สืบสาวเล่าเร่อื ง กฤช เหลือลมยั ๔ ๒ ต�ำนานพระธาตุนครศรีธรรมราช อาหารไทยในยุคสมัย กีฬา การละเล่น ๑ ๑๒ นทเี่ทิ ปศั ลนี่ยว์นัฒแปนลธงรรม ๔๘ ลกู ข่าง การขว้างอนั ชวนหลงใหล ประเพณี ศนู ย์การเรยี นรู้อาหารไทย บญุ บัง้ ไฟอีสาน ๔๘ แหล่งรวมความรู้ด้านอาหาร ๕ ๖ การทวงสญั ญาจากผืนดินสู่สวรรค์ ๗๒ การกนิ แห่งเดยี วในไทย จักรวาลทศั น์ ๖๔ ข้าวหลาม ภูมปิ ัญญาอาหารไทย ภาษาและหนังสอื ภาษากยู /กวย สยามศิลปนิ ๗๒ ศิลปนิ แห่งชาติ เปย๊ี ก โปสเตอร์ ๗ ๘ เขยี นภาพผา่ นเลนส์ เชิดชูปชู นยี เพญ็ พรรณ สทิ ธไิ ตรย์ ๘๔ ครผู สู้ ลกั เอกลกั ษณไ์ ทย พ้นื บ้านพื้นเมอื ง จนั ทร์ ขตั ตนิ นท์ ชวี ติ หมนุ วน คนทำ� ลอ้ รถมา้ 3กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

เรอ่ื งจากปก นนั ทนา ปรมานศุ ษิ ฏ์ เรอ่ื ง สทุ ศั น์ รงุ่ ศริ ศิ ลิ ป,์ สายณั ห์ ชน่ื อดุ มสวสดั ์ิ ภาพ 4

“ขา้ พเจา้ ไมท่ ราบวา่ ในโลกนจ้ี ะยงั มปี ระเทศใดบา้ งทมี่ คี วามอดุ มสมบรู ณย์ ง่ิ ไปกวา่ ประเทศสยาม หรือหาไม่ โคลนตมของแม่น�้ำ ได้ท�ำให้ผืนแผ่นดินอุดมไปด้วยปุ๋ยอยู่ทุกปี โดยแทบจะไม่ต้องบ�ำรุง ผนื ดนิ เลย กไ็ ดต้ น้ ขา้ วกอใหญอ่ นั มรี สดวี เิ ศษ ซงึ่ ไมเ่ พยี งแตพ่ อเลย้ี งประชาชนพลเมอื งเทา่ นนั้ ยงั สง่ ออก ไปขายยังเมืองจีนและที่อ่ืนๆ... ในเวลานำ�้ ท่วม จ�ำนวนปลาได้เพ่ิมพูนขึ้นอย่างนับไม่ถ้วนในท้องทุ่ง ตามกอกกและแพผกั ครน้ั นำ�้ ลดลง ฝงู ปลากจ็ ะเคลอ่ื นยา้ ยไหลตามนำ้� ไปลงแมน่ ำ้� ลำ� คลองดว้ ย มากมาย กา่ ยกองราวกบั ฝงู มด” (มงเซเญอร์ ปาลเลกวั ซ,์ เลา่ เรอ่ื งกรงุ สยาม, หนา้ ๓๓, ๓๔) 5กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

ภาพความอดุ มสมบรู ณข์ องสยามในอดตี สะทอ้ นออกมาแจม่ ชดั จากบนั ทกึ เลา่ เรอ่ื งราวในกรงุ สยาม (Description du Royaume Thai ou Siam) ตพี มิ พค์ รง้ั แรกในกรงุ ปารสี ค.ศ. ๑๘๕๔ ซงึ่ ตรงกบั สมยั รชั กาลที่ ๔ เปน็ สงิ่ ยนื ยนั ได้วา่ ชาวไทยกนิ ข้าว กนิ ผกั กนิ ปลา ที่หาได้อย่างง่ายดายในท้องทุ่ง สอดคล้องกับบันทึกอีกเล่มที่มีมาก่อนหน้าน้ีคือ จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม (De la Loubère, : Du Royaume de Siam ค.ศ. ๑๖๙๑) สันนษิ ฐานว่าเริม่ เขียนราว พ.ศ. ๒๒๓๑ ซง่ึ ตรงกับปลายแผ่นดินสมเด็จ พระนารายณ์แห่งกรุงศรีอยุธยา ท่กี ล่าวว่า “สำ� รับกบั ข้าวของชาวสยามนน้ั ไม่สู้จะฟุ่มเฟือยนกั ทพ่ี วกเราบรโิ ภคอาหารกนั น้อยในฤดูร้อนกว่าในฤดูหนาวนัน้ ชาวสยาม ยงั บรโิ ภคอาหารนอ้ ยกว่าพวกเราลงไปเสยี อกี เนอื่ งด้วยมฤี ดรู อ้ นตดิ ต่อกนั อยตู่ ลอดกาลนนั่ เอง อาหารหลกั ของเขาคอื ข้าวกบั ปลา ท้องทะเลได้ให้หอยนางรมตัวเล็กๆ มีรสชาติดีมาก กุ้งทุกขนาด และปลาเน้ือดีอีกเป็นอันมากซ่ึงพวกเราไม่ทราบว่าเป็นพันธุ์ไร แม่นำ้� ลำ� คลองกอ็ ุดมสมบูรณ์ไปด้วยปลา ส่วนใหญ่เป็นปลาไหลตวั งามๆ แต่ชาวสยามไม่สู้จะนยิ มบรโิ ภคปลาสดกันนัก” (มองซเิ ออร์ เดอ ลาลูแบร์, จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม, หน้า ๑๑๙) ๑ กินขา้ ว กินปลา “กนิ ขา้ ว กนิ ปลา” เราใช้วลีนี้แทนความหมายของการ บันทึกส�ำคัญในอดีตล้วนกล่าวตรงกันว่าในแต่ละปีจะมี รับประทานอาหาร ตอกย�้ำว่าข้าวปลาเป็นอาหารพ้ืนฐานของ ฤดูน�้ำหลาก เกิดน�้ำท่วม ข้าวที่เป็นพืชทนน�้ำก็งอกงามได้ดี คนไทยมาแตโ่ บราณกาล จากหลกั ฐานทางโบราณคดยี นื ยนั ไดว้ า่ ไมไ่ ดเ้ ปน็ เรอ่ื งแปลกเลย คนไทยรจู้ กั อยกู่ บั นำ�้ สรา้ งบา้ นใตถ้ นุ สงู คนไทยกนิ ขา้ วมานบั พนั ปแี ลว้ อาจจะเปน็ ขา้ วตระกลู ขา้ วเหนยี ว เมอ่ื น�้ำท่วมก็ดีเสยี อกี เพราะข้าวกง็ อกงาม ปลากม็ ากบั น�้ำ และ หรอื ข้าวไร่ก่อนทจ่ี ะมากนิ ข้าวเจ้าเช่นในปัจจุบัน น้�ำยังพดั พาเอาดินตะกอนท่อี ดุ มสมบูรณ์มาด้วย 6

๒ ๑ พชื ผักอนั อดุ มสมบูรณร์ อบๆ บา้ นสามารถเก็บมาเป็นอาหารได้ ๒ ผกั ผลไม้ ปลา และไข่ ยงั คงอยใู่ นส�ำ รบั อาหารพน้ื บา้ นทเ่ี อรด็ อรอ่ ยของชาวไทยชนบทในทกุ ๆ มอ้ื ปลาท่ีมีมากมายเหลือกินก็เอามาหมักท�ำน�้ำปลา ปลาร้า กนิ ผัก กินผลไม้ ที่อยู่ริมแม่น�้ำก็ใช้ปลาสร้อยมาหมักเป็นน�้ำปลา ท่ีอยู่ใกล้ทะเล กใ็ ช้ปลากระตกั มาท�ำน้�ำปลา ช้อนกุ้งเคยมาหมักเป็นกะปิ ปลา “อาหารธรรมดาสำ� หรบั คนไทยคอื ขา้ ว ปลา ผกั และผลไม”้ ทตี่ วั ใหญ่ขนึ้ มากน็ ำ� มาตากแหง้ เป็นปลาเคม็ ฝรง่ั เขาถงึ กลา่ ววา่ (มงเซเญอร์ ปาลเลกัวซ์, เล่าเร่อื งกรุงสยาม, หน้า ๑๔๕) คนสยามชอบกินปลาแห้งมากกว่าปลาสด ก็คงเป็นเพราะว่า ปลาสดน้ันต้องกินทันทีเม่ือจับมาได้ สมัยก่อนยังไม่มีน�้ำแข็ง คุณยายที่บ้านเป็นชาวกรุงเก่าอยุธยาแม้เมื่อย้ายถิ่นฐาน หรือตู้เย็นให้เก็บรักษาความสดกันทุกบ้านเหมือนในสมัยน้ี มาอยู่กรุงเทพฯ แล้ว เมื่อไรก็ตามท่ีมีมะม่วงสุก ยายจะปอก เม่ือเหลือกินจึงทำ� เป็นปลาแห้งโดยการหมักเกลือแล้วตากแดด ใส่จานข้าวกินกับข้าวสวยอย่างเอร็ดอร่อยโดยไม่ต้องมีกับข้าว ย่างไฟอ่อนๆ เป็นปลากรอบ หรือแขวนรมควันไว้เหนือเตาฟืน อย่างอ่ืนเลย ภาพคุ้นตาเช่นนี้เราเห็นกันมาตั้งแต่ไหนแต่ไร จนแหง้ สนทิ เพอื่ เกบ็ ไวก้ นิ ไดน้ านๆ คนสมยั กอ่ นจงึ อาจกนิ ปลาแหง้ คนโบราณกินข้าวกับผลไม้เป็นเรื่องธรรมดา คนสมัยนี้คงนึก มากกว่าคนสมัยปัจจุบัน ปลาแห้งหรือปลาเค็มน้ีเขาจะน�ำไป ไมอ่ อกวา่ มนั เขา้ กนั ไดอ้ ยา่ งไร ผลไมท้ ค่ี นรนุ่ ปยู่ า่ ตายายกนิ กบั ขา้ ว ปง้ิ ใหส้ กุ หวิ เมอื่ ใดกไ็ ปคดขา้ วมากนิ ไดท้ นั ที สว่ นปลากรอบกน็ ำ� ไป นอกจากมะมว่ งสกุ แลว้ กม็ แี ตงโม แตงไทย สบั ปะรด ทเุ รยี น และ ตำ� นำ้� พรกิ ใส่ในแกง เช่น แกงเลียง หรอื ต้มโคล้ง มะขาม ฤดูไหนมีอะไรก็กินอย่างนั้น ผักและผลไม้เป็นของกิน 7กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

ในชีวิตประจ�ำวัน นอกจากกินผลไม้เป็นกับข้าวเรายังกินผลไม้ “พวกบา้ นนอกไมส่ สู้ รุ ยุ่ สรุ า่ ยในเรอ่ื งอาหารการกนิ เลย้ี งชวี ติ เป็นของว่างและของหวาน ก็เพราะภูมิศาสตร์ของประเทศ อย่ดู ้วยขา้ ว ปลาแห้ง กล้วย หนอ่ ไม้ แพงพวยกบั ผกั น�้ำอยา่ งอน่ื เออ้ื อ�ำนวยให้เรามีพชื ผกั ผลไม้อย่างสมบรู ณ์ตลอดทั้งปี ใช้จิ้มนำ�้ ผสมเผด็ ๆ อย่างหนึ่งเรียกว่า น�้ำพรกิ ” (มงเซเญอร์ ปาลเลกวั ซ์, น�้ำพรกิ เครื่องจ้ิม เล่าเรอ่ื งกรุงสยาม, หน้า ๑๔๕) “พวกเขาชอบบริโภคน�้ำจ้ิมเหลวชนิดหน่ึงคล้ายมัสตาร์ด เมื่อกินผักปลาเป็นกับข้าวหลัก ส่วนส�ำคัญอีกอย่างคือ ประกอบด้วยกุ้งเคยเน่าเพราะหมักไม่ได้ที่ เรยี กว่า กะปิ” น้�ำพริก อันเป็นเครื่องจ้ิมของผักนานาชนิด น�้ำพริกน้ันถือเป็น ศูนย์กลางของส�ำรับกับข้าวเลยทีเดียว กับข้าวอย่างอื่นๆ (มองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์, ที่ประกอบข้ึนในส�ำรับล้วนแต่เพื่อส่งเสริมให้กินน�้ำพริกได้ จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณาจกั รสยาม, หน้า ๑๒๑) ๑ 8

๒ ๑ วัตถดุ ิบและผกั สมนุ ไพรทีห่ ลากหลาย เป็นเสนห่ ใ์ ห้อาหารไทยมีรสชาตทิ ่ชี วนล้มิ ลอง ๒ ประณีตศลิ ป์ของการแกะสลักเคร่อื งสดเป็นความงามของอาหารชาววัง อร่อยขึ้น ในบรรดาน้�ำพรกิ ทงั้ ปวงนำ้� พริกกะปิน้ันถือเป็นน้�ำพรกิ พืน้ ฐานของภาคกลาง ท่สี ามารถ ต่อยอดไปเป็นน�้ำพริกชนิดอ่ืนๆ ได้อีกมากมาย ได้แก่ น้�ำพริกมะขาม น้�ำพริกมะม่วง น�้ำพริก มะดัน น�้ำพริกมะปราง และน้�ำพริกลงเรือ เป็นต้น นอกจากน�้ำพริกแล้วยังมีเครื่องจ้ิมที่เข้ากะทิ คอื หลน น�้ำพริกกะปิน้ันคล้ายคลึงกับน�้ำพริกของภาคใต้ท่ีเรียกว่า “นำ�้ ชบุ ” หรือ “นำ้� ชบุ หยำ� ” หมายถึง ขย�ำให้เข้ากันโดยไม่ต้องใช้ครกโขลก นอกจากนี้ยังมีน�้ำพริกกุ้งเสียบ และน�้ำพริกบูดู (บดู ูทรงเครอื่ ง) ชาวใต้ใช้กะปิและน�้ำบดู เู ป็นหลกั น้�ำพริกล้านนามีน้�ำพริกหนุ่มเป็นตัวต้ังต้นที่สามารถต่อยอดของไปเป็นน้�ำพริกมะเขือยาว น�้ำพริกไข่ต้ม น�้ำพริกปูนา และน้�ำพริกแคบหมู เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีน้�ำพริกอ่อง น�้ำพริกข่า นำ�้ พรกิ น้�ำปู๋ นำ้� พริกน้ำ� ผกั และอืน่ ๆ อีกสารพดั โดยใส่เกลือ ปลาร้า น้�ำปู๋ หรอื ถัว่ เน่า เคร่ืองจ้ิมของอีสานคือแจ่ว เช่น แจ่วมะเขือเทศ แจ่วบอง แจ่วปลาร้า มีป่นต่างๆ เช่น ป่นปลา และป่นเห็ด ภาคอสี านใช้ปลาร้าเป็นหลกั ในน�้ำพริก เคร่ืองเคียงน้�ำพริกท่ีขาดไม่ได้เลยคือผัก ท้ังผักสด ผักเผา ผักลวก และผักต้มกะทิ มีปลาย่าง ปลาทอด ปลาฟู กุ้งฟู กุ้งเผา ไข่เค็ม ไข่ต้ม หมูหวานแนม แล้วแต่ชนิดของนำ�้ พริก ว่าเข้ากับอะไร 9กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

สมนุ ไพร อตั ลกั ษณแ์ ห่งอาหารไทย สมุนไพรนอกจากให้กลิ่นรสแล้วยังมีฤทธ์ิทางยาท่ีช่วย เสริมและต้านโรค เช่น ขิงมีฤทธิ์ร้อนช่วยให้ร่างกายอบอุ่น อาหารไทยแตกต่างจากชาติอ่ืนๆ ตรงที่รู้จักใช้สมุนไพร สะระแหน่มีฤทธิ์เย็นช่วยคลายความร้อนในร่างกาย กระชาย นานาชนดิ ทง้ั หอม กระเทยี ม ขมน้ิ ขา่ ตะไคร้ ใบมะกรดู กะเพรา และกะเพราชว่ ยขบั ลม ส่วนขมนิ้ นนั้ ชว่ ยรกั ษากระเพาะ เป็นต้น โหระพา แมงลัก ชะพลู สะระแหน่ และอีกสารพัดชนิดที่มี การทีค่ นไทยกนิ อาหารชนดิ ไหน ใส่สมนุ ไพรอะไร ในฤดูกาลใด ในแต่ละท้องถ่ิน อาหารแต่ละอย่างก็ใช้สมุนไพรแตกต่างกัน จึงเป็นการออกแบบอาหารท่ีผ่านภูมิปัญญาและการคิด อาหารที่เป็นปลาหรือของทะเลมักจะใส่กระชายเพ่ือดับคาว มาแล้วท้งั สิน้ อาหารป่าใส่ใบย่หี ร่ากล่นิ หอมฉุนดบั กล่นิ สาบป่า ผกั คะแยงใส่ แกงกบ พรกิ แกงปา่ แถบจนั ทบรุ ใี สเ่ รว่ หอมและขงิ แหง้ อาหารเหนอื ขเปอรงยี้ อวาหหาวราไนทยมนั เคม็ เผด็ คอื รสชาติ และใต้ใส่ขมนิ้ มาก อาหารไทยมีรสชาติที่หลากหลายในจานหนึ่ง อาหารที่ ในถิ่นท่ีเคยเป็นป่ามาก่อนผู้คนคุ้นชินกับอาหารป่าและ เป็นย�ำก็มีครบทุกรส ต่างกับสลัดของฝร่ังที่มีแต่เปรี้ยว เค็ม รจู้ กั การใชเ้ ครอื่ งเทศกลบกลน่ิ สาบเหลา่ นนั้ อยา่ งไรกต็ ามแกงไทย แตข่ องไทยมรี สหวานและเผด็ ดว้ ย ตม้ ย�ำกงุ้ เปน็ อาหารไทยทเ่ี ปน็ ไมไ่ ดใ้ สเ่ ครอ่ื งเทศมากเทา่ กบั แกงแขก กลน่ิ รสจงึ เบาบางกวา่ และ ทรี่ ู้จักกนั ทว่ั โลกเพราะครบรสชาตแิ ละยงั หอมกลน่ิ สมุนไพร ชาวไทยร้จู กั น�ำสมนุ ไพรมาช่วยเสรมิ กลนิ่ ประสานกบั เครอ่ื งเทศ ทำ� ให้มคี วามหอมสดที่แตกต่างจากแกงชาตอิ ื่นๆ ๑๑ 10

๒ ๑ เปรีย้ ว หวาน เคม็ เผด็ เป็นรสชาติท่ีรวมกนั อยู่ในถว้ ยน้ำ� พรกิ ๒ หมก่ี รอบ อาหารวา่ งทใี่ ชเ้ ทคนคิ และวัตถุดิบอยา่ งจนี มาผสมผสานกบั สมนุ ไพรไทย หากลองคิดดูแล้วเร่ืองรสชาติน้ีคงเกี่ยวข้องกับภูมิอากาศ ต้มต่างๆ ก็มีรสเปร้ียวที่แตกต่างกันเช่น ต้มส้ม แกงส้ม เมอื งไทยมอี ากาศรอ้ นทง้ั ปที �ำใหค้ วามอยากอาหารลดลงจงึ ตอ้ ง และต้มโคล้งจะเปรี้ยวด้วยมะขาม ต้มย�ำเปรี้ยวด้วยมะนาว กระตนุ้ ดว้ ยรสชาติ ฝรงั่ เองกเ็ คยกลา่ วไวว้ า่ ชาวไทยกนิ นอ้ ยเพราะ ต้มไก่บ้านเปร้ียวด้วยยอดมะขาม ปลาทูนิยมต้มกับมะดัน อากาศรอ้ น ซง่ึ กเ็ กย่ี วกบั ความตอ้ งการในการใชพ้ ลงั งานเพราะเรา แกงส้มใต้ใส่ส้มแขกหรือสับปะรด การใช้รสเปร้ียวจากผลไม้ ไม่ต้องการพลงั งานมากเพ่อื สร้างความอบอุ่นให้กับร่างกาย หลากชนิด ท�ำให้ได้รสชาติที่ไม่จ�ำเจ คนโบราณชาญฉลาด ในการเลือกใช้สิ่งท่ีมีตามฤดูกาล ไม่รังแต่จะใช้มะนาวซ่ึงใน เปร้ยี ว ฤดแู ล้งมะนาวแพงแสนแพง พืชพื้นบ้านของไทยท่ีให้รสเปรี้ยวนั้นมีมากมายจาระไน นอกจากนเี้ รายงั ร้จู กั การถนอมอาหาร นำ� ผกั ผลไมม้ าดอง ไม่หมด เราได้รสเปรีย้ วจาก มะนาว มะกรูด มะขาม มะม่วงดบิ เพ่ือให้ได้รสเปรี้ยวกลายเป็นผักดองรสอร่อย แม้ว่าเรามีผัก มะสงั สับปะรด ระกำ� กระท้อน ส้มจ๊ีด ส้มซ่า ส้มแขก มะดนั ให้กินท้ังปีอย่างไม่ขาดแคลนแต่บางฤดูบางอย่างมีมากจน มะเฟอื ง ตะลงิ ปลงิ ใบชะมวง ใบส้มลม ยอดมะกอก ยอดผกั ตวิ้ เกินกว่าท่ีจะกินทัน เช่นเมื่อถึงฤดูฝนท่ีหน่อไม้แทงยอด ยอดกระเจย๊ี บ ยอดส้มป่อย และยอดมะขาม ดงั นนั้ จงึ เหน็ ตำ� รบั มากมายก็น�ำมาดองเก็บไว้กินได้ท้ังปี หรือผักบางชนิด น�้ำพริกต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามวัตถุดิบที่ให้รสเปร้ียว เช่น กินดิบเป็นพิษ แต่เม่ือน�ำมาดองก็จะหมดพิษ เช่น ผักหนาม นำ้� พริกมะขาม นำ้� พรกิ กระท้อน น้�ำพริกมะดนั น�้ำพริกมะกอก เป็นต้น นำ�้ พรกิ ตะลิงปลิง และนำ�้ พรกิ มะปรงิ 11กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

หวาน มนั เมืองไทยอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพรรณที่ให้รสหวาน รสมันได้จากกะทิและน�้ำมันที่ใช้ในการปรุงอาหาร ทั้งอ้อย ตาล และมะพร้าว ท่ีน�ำมาแปรรูปเป็นน้�ำตาลอ้อย นอกจากน้ีพืชผักหลายชนิดก็ให้รสมัน ได้แก่ ขนุนอ่อน ถั่วพู นำ้� ตาลทราย น้�ำตาลโตนด และน�้ำตาลมะพรา้ ว รสหวานของเรา ฟักทอง กระถนิ ชะอม สะตอ ใบเหลยี ง ลูกเนียง อาจรวมรสขม จงึ หาไดอ้ ยา่ งงา่ ยๆ เปน็ รสหวานราคาถกู มคี วามหอมหวานตาม ของมะระข้นี ก สะเดา และใบยอ ธรรมชาติตามแต่ชนิดของวัตถุดิบ นอกจากน้ียังรู้จักตีผ้ึงเพ่ือ นำ� นำ้� ผ้งึ มารบั ประทานกนั ตัง้ แต่โบราณกาล นำ้� ตาลนานาชนดิ ฝรั่งท่ีเข้ามาในสมัยอยุธยาบันทึกไว้ว่าในสยามใช้น้�ำมัน เป็นวัตถุดิบหลักในการท�ำขนมของไทย เรามีน�้ำตาลให้ใช้กัน มะพร้าวในการท�ำอาหาร การใช้น้�ำมันหมูน่ามีมาพร้อมกับ อยา่ งฟมุ่ เฟอื ย คนตา่ งจงั หวดั หากบา้ นใดทท่ี �ำขนมแลว้ ไมห่ วาน ชาวจีนที่นิยมกินและเลี้ยงหมูนั่นเอง รวมถึงเทคนิคการท�ำ ถือว่าใช้ไม่ได้ทีเ่ ป็นคนหวงนำ�้ ตาล อาหารตามอย่างจีนท่ีใช้การผัดและการทอดโดยใช้น�้ำมันหมู ซึ่งการท�ำอาหารของไทยในอดีตไม่จ�ำเป็นต้องพ่ึงพาไขมัน รสหวานในอาหารคาวใช้น�้ำตาลน้อยมากจนถึงไม่ได้ใช้ การใช้น้�ำมันหมูอย่างแพร่หลายนั้นเริ่มตั้งแต่ช่วงปลายกรุงศรี- เพราะได้รสหวานจากพืชผัก เช่น บวบ นำ้� เต้า เห็ด และเนื้อ อยุธยาและได้รับความนิยมอย่างมากในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ สตั ว์ทใ่ี ส่ในแกง รวมถงึ รสหวานจากกะทิ นำ�้ ตาลในอาหารคาว ก่อนเกิดกระแสล้มบัลลังก์นำ�้ มันหมูโดยน�้ำมันพืชผ่านกรรมวิธี ดูจะเป็นเร่ืองเกินความจ�ำเป็นของชีวิตแตกต่างกับเกลือ บรรจขุ วดในช่วงเวลาไม่กส่ี ิบปีมานีเ้ อง การเติมน้�ำตาลลงในอาหารคาวน่าจะมาทีหลังเม่ือไม่นานมานี้ อาหารภาคกลางดูจะหวานกว่าภาคอน่ื ๆ คุณชายถนัดศรีเคยเล่าว่าคนไทยในสมัยก่อนน้ันรู้จักแต่ เอากะทมิ าท�ำเปน็ อาหารหวาน ผทู้ เ่ี รม่ิ น�ำกะทมิ าปรงุ อาหารคาว ๑ 12

๒ ๑ แกงเลียง แกงโบราณที่เก่าแกช่ นดิ หนง่ึ ปรงุ แต่งรสเผ็ดรอ้ นจากพริกไทย ๒ ผลไมต้ ามฤดกู าลล้วนนำ�มาท�ำ อาหารได้เช่นย�ำ สม้ โอจานน้ี คือ ตระกูลบุนนาคที่สืบเช้ือสายมาจากเปอร์เซีย ซ่ึงเข้ามายัง เกลือนอกจากจะใช้ปรุงรสเพื่อให้ความเค็มแล้วท่ีสำ� คัญ สยามต้ังแต่ปลายแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแห่ง กวา่ นน้ั คอื เกลอื ชว่ ยถนอมและแปรรปู อาหาร เกลอื ใชใ้ นการหมกั กรุงศรีอยุธยา อาหารจากกะทิที่ข้ึนช่ือที่สุดคือ แกงมัสม่ัน เนือ้ หมกั ปลาเพือ่ ท�ำเคม็ ตากแห้ง ท�ำนำ�้ ปลา และปลาร้า ต�ำรับแกงเผ็ดในต�ำราแม่ครัวหัวป่าก์จึงมีท้ังแกงเผ็ดที่ไม่ใส่ กะทิอย่างแกงป่าและแกงท่เี ข้ากะทิ เผด็ เค็ม รสเผ็ดแต่ด้งั เดมิ ของไทย คอื รสเผด็ ร้อนทไี่ ด้จากพรกิ ไทย ดปี ลี มะแขวน่ และเถาสะคา้ น พชื หลายชนดิ กม็ นี ำ�้ มนั หอมระเหย รสเค็มในอาหารไทยได้จาก เกลือ น้�ำปลา กะปิ ปลาร้า และรสเผ็ดนิดๆ เช่น ใบกะเพรา ใบยี่หร่า ใบชะพลู กระเทียม ถ่ัวเน่า พุงปลาหมัก และน้�ำบูดู เมื่อมนุษย์รู้จักเกลือก็เป็น ขิง ข่า ขม้ิน และกระชาย พืชเหล่าน้ีเป็นพืชพ้ืนถ่ินของไทย การเปล่ียนแปลงโลกของอาหาร ในอดีตผู้คนจึงเดินทางไกล ต่างจากรสเผด็ ของพริกท่เี ป็นพืชต่างถนิ่ พริกเทศนีน้ ่าจะเข้ามา และสู้รบกันเพ่ือได้ครอบครองแหล่งเกลือ เกลือมีบทบาท สู่เมืองไทยพร้อมกับชาวโปรตุเกสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๕ สำ� คญั ในครวั ทว่ั โลกรวมถงึ ครวั ไทย คนแถบชายทะเลในจงั หวดั นบั จากนนั้ พรกิ กเ็ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของครวั ไทยอยา่ งแนบแนน่ เสยี จน ๓ สมุทร เพชรบุรี และปัตตานีรู้จักนำ� น้�ำทะเลมาตากแดดจน นกึ ไม่ออกว่าหากขาดพริกไปจะท�ำอาหารไทยได้อย่างไร เป็นผลึกเกลือสมุทร คนบนภูเขารู้จักต้มเกลือจากน�้ำดินเค็ม เป็นเกลือสินเธาว์มาตั้งแต่อดีตอย่างน้อยก็ร่วมสมัยกับสุโขทัย อาหารไทยโบราณต่างๆ ที่ยังกินกันอยู่จนถึงทุกวันนี้ท่ีมี เช่น ทบ่ี ่อเกลือเมืองน่าน รสเผ็ดอย่างอดีตตัวอย่างทีเ่ หน็ ได้ชดั ทสี่ ุดคือ แกงเลียง ต้มกะทิ ต่างๆ ทใี่ ช้รสเผด็ ร้อนของพรกิ ไทย 13กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

๑ ดีปลีเป็นพืชที่มีฝักเล็กๆ เม่ือแก่จัดจะมีสีแดง ใช้ได้ทั้ง จนถึงปัจจุบัน ได้แก่ ขนมตระกูลทองท้ังหลาย ท้ังทองหยิบ สดและแห้ง เช่น ใส่ในผัดเผ็ด แกงป่าต่างๆ เพื่อให้รสเผ็ดฉุน ทองหยอด และฝอยทอง เป็นต้น ใช้กันแพร่หลายในอดีต แต่เด๋ียวนี้อาจจะไม่ค่อยรู้จักกันแล้ว ชาวใต้มีค�ำที่เรียกพริกเทศที่เข้ามาทีหลังว่าดีปลี อาจเพราะ อาหารจีนเข้ามามีบทบาทมากในราชส�ำนักมาตั้งแต่สมัย มรี สเผด็ เช่นเดียวกับดีปลีท่มี มี าอยู่ก่อน กรุงศรีอยุธยา ปรากฏในบันทึกของลาลูแบร์ที่เล่าถึงกับข้าว ในงานเลยี้ งรบั รองทกี่ บั ขา้ วมากกว่า ๓๐ ชนดิ ปรงุ ตามต�ำรบั จนี อาหารไทย...จากอดตี สู่ปจั จบุ ัน แสดงให้เห็นว่าอิทธิพลของอาหารจีนได้มีมาอย่างน้อยก็ต้ังแต่ สมยั อยธุ ยาแล้ว อาหารไทยแต่อดีตเป็นอาหารที่เรียบง่ายตามแต่วัตถุดิบ และพืชผักท่ีหาได้ในท้องถ่ินตามฤดูกาล เจ้านายและชาวบ้าน เม่ือเข้าสู่กรุงรัตนโกสินทร์ อาหารไทยได้พัฒนาต่อยอด กินไม่แตกต่างกันเลย จวบจนเข้าสู่สมัยกรุงศรีอยุธยามีการรับ ขึ้นมากและได้อิทธิพลของต่างชาติมากข้ึนตามล�ำดับ อันจะ เอาพืชพันธุ์จากต่างถ่ินและวัฒนธรรมต่างชาติ ผ่านการเข้ามา เห็นได้จากพระราชนิพนธ์กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานของ ของชาติตะวันตกเช่นโปรตุเกส ของหวานได้สร้างสรรค์ขึ้น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ เพ่ือ โดยท้าวทองกีบม้า (มารีอา กูโยมาร์ เด ปิญญา) ภรรยาของ ใช้เห่ชมฝีพระหัตถ์ในการแต่งเคร่ืองเสวยของสมเด็จพระศรี- เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ผู้มีหน้าที่ท�ำ สุริเยนทราบรมราชินี ผู้ทรงรับหน้าที่ในกิจการด้านเครื่องต้น ขนมไปบรรณาการเจ้านาย จึงต้องสรรหาและดัดแปลงวัตถุดบิ พระราชนิพนธ์กล่าวถึงอาหารนานาชนิดท่ีได้รับอิทธิพลจาก ทมี่ ใี นท้องถ่นิ มาใช้แทนวตั ถดุ บิ แบบขนมฝรั่งมีการใส่ไข่ในขนม อินเดีย (แกงมัสม่ัน ข้าวหุงอย่างเทศ) จีน (รังนกน่ึง ขนมจีบ) ต่างจากขนมไทยแต่โบราณ เกิดเป็นขนมไทยที่เรารู้จักกันมา และญปี่ ุ่น (น้�ำปลาญ่ปี ุ่น) เป็นต้น 14 ความรุ่งเรืองของอาหารไทยพัฒนาอย่างมากในยุคกรุง รัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะในราชส�ำนักดังจะเห็นได้จากต�ำรับ

๒ ๑ ฝอยทอง ทองหยบิ ทองหยอด และเมด็ ขนุน ขนมหวานตระกลู ทองจากต�ำ รับทา้ วทองกบี ม้า ภรรยาของเจา้ พระยาวิชเยนทร์ ๒ สมนุ ไพรนานาชนดิ ทร่ี วมอยใู่ น อาหารหนง่ึ จาน พรกิ และพรกิ ไทยออ่ นใหร้ สเผด็ กระชายนอกจากจะใหร้ สเผด็ ปรา่ และความหอม ยงั ชว่ ยดบั กลน่ิ คาวของเนอ้ื ปลา ๓ ขนมเบอ้ื งญวนเปน็ สว่ นหนง่ึ ของ ส�ำ รบั อาหารไทยอยา่ งกลมกลนื แสดงถงึ อทิ ธพิ ลของอาหารตา่ งชาตทิ ม่ี มี าแตโ่ บราณ ๓ 15กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

อาหารต่างๆ มากมาย ซ่ึงหลายอย่างได้รบั อทิ ธพิ ลจากต่างชาติ ผสมกลมกลนื และสบื ทอดความอรอ่ ยสอู่ าหารไทยในยคุ ปจั จบุ นั อาหารในราชสำ� นกั หรอื อาหารชาววงั แตกตา่ งจากอาหารชาวบา้ น ตรงที่มีการจดั เป็นส�ำรบั มีครบรสท้งั เปรย้ี ว หวาน มัน เค็ม เผ็ด โดยปรุงรสให้กลมกล่อมไม่ให้รสใดรสหนึ่งโดดออกมา มีท้ัง น้�ำพริก เครื่องจ้ิม แกง ย�ำ ปลาแห้ง และเนื้อเค็มหวาน จัด ให้เหมาะเพ่ือท่ีจะเสริมรสอาหารแต่ละชนิด อีกท้ังมีเคร่ืองว่าง และของหวานท่ีประดิดประดอยเป็นค�ำๆ จัดวางอย่างสวยงาม โดยเฉพาะในสมัยรชั กาลที่ ๕ เจ้านายฝ่ายในจากต�ำหนกั ต่างๆ ต่างประชันฝีมือในการท�ำกับข้าวกัน แต่ละต�ำหนักก็ท�ำของกิน ทเ่ี ปน็ ทเี่ ชดิ หนา้ ชตู าของตน ทขี่ น้ึ ชอ่ื ทสี่ ดุ คอื ตำ� หนกั พระวมิ าดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสทุ ธาสนิ นี าฏ ปิยมหาราช ปดิวรัดา ผู้ทรงก�ำกับห้องเคร่ืองท่ีพระบรมมหาราชวังฝ่ายใน ๑ และห้องเครื่องที่พระราชวังสวนดุสิต เพื่อทรงเครื่องต้นถวาย ๑ ความสนใจของชาวต่างชาติตอ่ การเรยี นร้อู าหารไทย ๒ ผัดไทย เป็นการนำ�ผดั กว๋ ยเต๋ียวอย่างจีนมาดัดแปลง เกิดขึ้นในยุครฐั นยิ มของ จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม จนแพรห่ ลายและกลายเปน็ อาหารไทยท่ีชาวต่างชาตริ จู้ กั เป็นอยา่ งดี ๓ แกงมัสมน่ั มตี ้นทางมาจากแขกเปอรเ์ ซีย เขา้ สู่สยามในสมยั กรงุ ศรีอยุธยา ๔ เราสามารถ เห็นขนมหวานแบบทบั ทมิ กรอบนใี้ นหลายๆ ประเทศแถบอาเซยี นแสดงถึงการไหลเวียนของวัฒนธรรมอาหาร ๑๒ 16

๓ หนงั สอื อา้ งองิ ๔ Mark Kurlansky. ประวตั ศิ าสตรโ์ ลกผา่ นเกลอื Salt : A World History. เรอื งชยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระวิมาดาเธอฯ รกั ศรอี กั ษร, แปล. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ : มตชิ น, ๒๕๕๒. ได้รับการยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะด้านการท�ำกับข้าวและเป็น เจ้าต�ำรับอาหารชาววังแห่งวังสวนสุนันทาที่ยังสืบสานต่อมา คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช, พล.ต. ม.ร.ว. นำ�้ พรกิ . พมิ พค์ รง้ั ที่ ๖. กรงุ เทพฯ : ครวั บา้ นและสวน, จนถึงทกุ วันนี้ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๔. ๒๔๗๕ อาหารจากวงั จงึ แพร่สู่ร้านอาหารและครวั เรอื น อาหารไทยจากอดีตน้ันหลายอย่างเป็นอาหารท่ียังกิน ฉลาดชาย รมติ านนท.์ นำ้� พรกิ ลา้ นนา. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๑. กรงุ เทพฯ : ครวั บา้ นและสวน, กันอยู่ในทุกวันนี้ ในแต่ละภูมิภาคก็มีอาหารพื้นถ่ินของตน ๒๕๔๕. อาจปรบั เปลย่ี นไปบา้ งตามวตั ถดุ บิ ทป่ี จั จบุ นั หาไดย้ าก อยา่ งเชน่ ของป่าและสัตว์น�้ำบางชนิด ความนิยมจึงค่อยๆ คลายลงไป เดอ ลาลแู บร,์ มองซเิ ออร.์ จดหมายเหตุ ลา ลแู บร์ ราชอาณาจกั รสยาม. สนั ต์ ท. แทนทด่ี ้วยวตั ถดุ บิ ชนดิ ใหม่ทห่ี าไดง้ ่ายขนึ้ โลกไร้พรมแดนทำ� ให้ โกมลบตุ ร., แปล. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๓. นนทบรุ ี : ศรปี ญั ญา, ๒๕๕๒. เรารบั วัฒนธรรมอาหารจากทวั่ โลกมากขึน้ อร่อยรสไทย จึงเป็นการผสมกลมกลืนกันของรสชาติ นโิ กลาส์ แชรแวส. ประวตั ศิ าสตรธ์ รรมชาตแิ ละการเมอื ง. สนั ต์ ท. โกมลบตุ ร., แปล. วัตถุดิบ เทคนิคการปรุง และการรับเอาวัฒนธรรมอาหาร พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒. นนทบรุ ี : ศรปี ญั ญา, ๒๕๕๐. จากตา่ งชาตผิ สานกนั อยา่ งลงตวั โดยยงั คงอตั ลกั ษณข์ องไทย เอาไวอ้ ยา่ งเดน่ ชดั เนอื่ ง นลิ รตั น,์ ม.ล. ชวี ติ ในวงั . พมิ พค์ รงั้ ที่ ๑๔. กรงุ เทพฯ : ศรสี ารา, ๒๕๕๘. ขอบคณุ ทบั ขวญั รสี อรท์ แอนดส์ ปา นนทบรุ ี อำ� นวย เนอ่ื ง นลิ รตั น,์ ม.ล. ตำ� รากบั ขา้ วในวงั ของ หมอ่ มหลวงเนอื่ ง นลิ รตั น.์ พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑. ความสะดวกในการถ่ายทำ� ประกอบบทความชนิ้ นี้ กรงุ เทพฯ : บวั สรวง, ๒๕๔๙. นกั เรยี นดรณุ โี รงเรยี นกลู สตั รวี งั หลงั . ปะทานกุ รมการทำ� ของคาวหวานอยา่ งฝรง่ั แลสยาม. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒. นนทบรุ ี : ศรปี ญั ญา, ๒๕๔๖. ประยูร อุลุชาฎะ. อาหารรสวิเศษของคนโบราณ. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : แสงแดด, ๒๕๔๕. ปาลเลกวั ซ.์ มงเซเญอร.์ เลา่ เรอื่ งกรงุ สยาม. สนั ต์ ท. โกมลบตุ ร., แปล. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๔. นนทบรุ ี : ศรปี ญั ญา, ๒๕๕๒. เปลย่ี น ภาสกรวงศ,์ ทา่ นผหู้ ญงิ . แมค่ รวั หวั ปา่ ก์ เลม่ ที่ ๑-๕. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๖. กรงุ เทพฯ : สมาคมกจิ วฒั นธรรม, ๒๕๔๕. พระประยูรญาติ ข้าหลวง และคณะครูโรงเรียนสายปัญญา. ต�ำรับสายเยาวภา ของสายปญั ญาสมาคม. สายปัญญาสมาคม. พมิ พ์คร้งั ท่ี ๖. กรุงเทพฯ : บพธิ การ, ๒๕๕๕. สยามบรรณาคม. คน้ พบตำ� ราอาหารของไทยทเ่ี กา่ แกท่ สี่ ดุ !!! ** ฉบบั เพมิ่ เตมิ จากตำ� รากบั เขา้ ของหมอ่ มสม้ จนี ร.ศ. ๑๐๙ ** เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http:// www.digitalrarebook.com/index.php?lay=boardshow&ac=webboard_ show&WBntype=๘&No=๑๒๕๗๖๐๗. (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู : เมษายน ๒๕๕๙). สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ. ขา้ วปลาอาหารไทย ทำ� ไม? มาจากไหน. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : กองทนุ เผยแพรค่ วามรสู้ สู่ าธารณะ, ๒๕๕๑. สนุ ทรี อาสะไวย.์ กำ� เนดิ และพฒั นาการของอาหารชาววงั กอ่ น พ.ศ. ๒๔๗๕ (๑). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=๑๓๐๕๐๒๐๕๘๒ &grpid=no&catid=๕๓. (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู : เมษายน ๒๕๕๙). สนุ ทรี อาสะไวย.์ กำ� เนดิ และพฒั นาการของอาหารชาววงั กอ่ น พ.ศ. ๒๔๗๕ (๒). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=๑๓๐๕๐๒๐๗๐๘ &grpid=no&catid=๕๓. (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู : เมษายน ๒๕๕๙). สนุ ทรี อาสะไวย.์ กำ� เนดิ และพฒั นาการของอาหารชาววงั กอ่ น พ.ศ. ๒๔๗๕ (๓). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=๑๓๐๙๔๑๑๐๐๕ &grpid=&catid=๕๓&subcatid=๕๓๐๐. (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู : เมษายน ๒๕๕๙). สนุ ทรี อาสะไวย.์ กำ� เนดิ และพฒั นาการของอาหารชาววงั กอ่ น พ.ศ. ๒๔๗๕ (๔). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=๑๓๐๙๔๑๑๐๗๗ &grpid=&catid=๕๓&subcatid=๕๓๐๐. (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู : เมษายน ๒๕๕๙). 17กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

กนั ตรมึคทนว่ ไงททยำ� เขนมอรง/แคลนะอบสี ทานเพใตล้ งชวี ติ 18

บันเทงิ ศลิ ป์ ฉมาร์ กปี รชี า เรื่อง กองบรรณาธกิ าร ภาพ ถ้าผ่านไปแถบอีสานใต้บ่อยๆ หรือ รู้จักคนที่มาจากจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ และ ศรสี ะเกษ ซงึ่ มพี น้ื ทตี่ ดิ กบั ประเทศกมั พชู าจะ ไมแ่ ปลกใจวา่ พวกเขาเชย่ี วชาญภาษาเขมร อนั เปน็ ภาษาถนิ่ ทเี่ วลาเจอคนบา้ นเดยี วกนั จะตอ้ ง คยุ แขมรใ์ หห้ ายคดิ ถงึ บา้ น เพราะวฒั นธรรมขอม อนั เกา่ แกไ่ ดผ้ สมกลมกลนื และยงั คงอยใู่ นวถิ ี ชวี ติ จากบรรพบรุ ษุ สบื ตอ่ ถงึ ลกู หลานในวนั น้ี ดงั เชน่ กนั ตรมึ ศลิ ปวฒั นธรรมดา้ นดนตรที ดี่ งั กงั วานอยใู่ นทกุ กจิ กรรมประเพณขี องคนไทย เชอ้ื สายเขมรทนี่ ่ี กนั ตรมึ คอื อะไร ความหมายรวมๆ คอื วัฒนธรรมดนตรีหรือการละเล่น การขับร้อง พ้ืนบ้านของชาวไทยเช้ือสายเขมร แต่โดย เจาะจงแล้วกันตรึมมี ๒ ความหมาย ความ หมายแรก คอื กลอง (สกว็ ลหรอื สโกร)์ ซง่ึ ใช้ ตีบรรเลงคู่กับการเจรียง (ร้อง) ความหมาย ที่สอง คือ วงดนตรี ที่มีเครื่องดนตรีหลัก ประกอบดว้ ย กลองกนั ตรมึ ซอ (ตรวั ) และปอ่ี อ้ เสียงตีกลองจะดัง “โจ๊ะกันตรึม ตรึม” จึง สนั นษิ ฐานวา่ นำ� เสยี งนนั้ มาตงั้ เปน็ ชอ่ื วงดนตรี เรยี กวา่ “กนั ตรมึ ” ท่วงทำ� นองและท่วงทา่ รำ� เคลอื่ นไหวอันสนุกสนาน นำ� พา วงกันตรึมออกบรรเลงและเปน็ ท่ีนยิ มชมชอบไปในทุกพืน้ ที่ ของภาคอีสานตอนใต้ นบั ตัง้ แต่การแสดงกลางลานวดั กลางลานบ้าน ไปจนถึงเวทกี ารแสดงใหญน่ ้อยท้งั ในระดับ ภูมิภาคและระดบั ประเทศ 19กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

๑-๒ กอ่ นการแสดงจะเรม่ิ ตน้ วงกนั ตรมึ จะทำ� พิธีไหวค้ รูอยา่ ง เรยี บง่าย ด้วยเครอ่ื งเซน่ อาหาร คาวหวาน อันแสดงให้เห็นถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคนกบั เคร่อื งดนตรี ท่ีพวกเขาปฏิบัตติ อ่ กนั เสมอื นหนง่ึ มีชวี ิตและจติ วิญญาณ ๑ กทหลวั�ำนอใจงอขแงอลกงะันจซตังอรหึมวะและ กลองกนั ตรมึ จดั เปน็ เครอื่ งดนตรหี ลกั เป็นเอกลกั ษณ์ของวงกนั ตรึม มีลกั ษณะเป็น กลองกน้ ยาวคลา้ ย ‘โทน’ ทเ่ี ลน่ ในวงมโนราห์ หรือชาตรีภาคใต้และโทนมโหรีภาคกลาง ทำ� ดว้ ยไมไ้ ดห้ ลายชนดิ ทง้ั ไมม้ ะมว่ ง มะพรา้ ว ขนุน หรือท�ำจากดินเหนียว ข้ึนหน้าด้วย ๒ หนังวัว หนังงู หนังตะกวด สุ้มเสียงของ กลองกันตรึมเสมือนพระเอกท่ีนอกจาก จะคอยก�ำกับจังหวะของวง ยังท�ำให้เกิดความรู้สึกเร้าใจ เสียง “ติง” คือ เสียงตีที่กึ่งกลางของหน้ากลองโดย สนกุ สนาน ใช้มืออดุ ทก่ี ้นกลอง “ครูบุญถึง ปานะโปย (สัมภาษณ์, ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๙) ศิลปินกันตรึม จังหวัดบุรีรัมย์ อธิบายถึงเสียงที่เกิด ครูค�ำเรียบ สุทันรัมย์ ผู้เช่ียวชาญการตีกลองกันตรึม จากการตีกลองกันตรึมว่ามจี ำ� นวน ๓ เสยี งหลัก อันได้แก่ กล่าวว่า “กลองกันตรึมน้ันมีหลายเสียง แต่เสียงที่ใช้ เสียง “โจ๊ะ” คือ เสียงตีที่ขอบกลองโดยไม่ใช้มืออุด อยู่เป็นประจ�ำมีเสียงโจ๊ะ กัน ติง เทิ่ง” (สัมภาษณ์, ๑๖ ท่กี ้นกลอง มถิ นุ ายน ๒๕๔๙)” ๑ เสยี ง “คร่ึม” คือ เสียงทต่ี ีแล้วปล่อยกลางหน้ากลอง ๑ บุษกร บณิ ฑสนั ต์ และคณะ. กนั ตรมึ . (๒๕๕๖) หน้า ๘. 20

เคร่ืองดนตรีวงกนั ตรึม ประกอบไปด้วย ตรัว (ซอกนั ตรมึ ) แปย็ ออ (ปี่ออ้ ) สกว็ ล (กลองกันตรมึ ) ฉิง่ ฉาบเล็ก กรบั เป็นหลกั และอาจมกี ารผสมผสานเคร่ืองดนตรปี ระเภทอนื่ เข้ามาอีกดว้ ย การอธิบายเรื่องเสียงกลองนั้นเป็นเร่ืองเฉพาะตัวของ การตง้ั เสยี งซอจะเทยี บเสยี งใหเ้ ขา้ กบั ปอ่ี อ้ หรอื ‘แปย็ ออ’ ศิลปิน อย่างครูค�ำเรียบอธิบายเสียงเพิ่มจากครูบุญถึง อีก เครื่องด�ำเนินท�ำนองส�ำคัญอีกชิ้น เลาปี่อ้อท�ำจากไผ่ล�ำเล็ก ๒ เสียง ได้แก่ เสียง “กัน” คือ เสียงแตะที่ขอบกลองเบา ลิ้นปี่ใช้ไม้อ้อเหลาปลาย ส�ำหรับประกบปากเป่า เสียงปี่อ้อ เป็นเสียงขัดขณะตีหน้าทับ และเสียง “เท่ิง” คือ เสียงตี จะเคล้าคลอไปกับเสียงร้องท่ีเปล่งค�ำสัมผัสคล้องจ้อง ช่วย ทีก่ ่งึ กลางของหน้ากลองโดยไม่ใช้มืออุดทก่ี ้นกลอง ขับเน้นบรรยากาศเฉพาะของพื้นบ้านอีสานใต้ แต่ด้วยความที่ ฝึกยากและน้�ำเสียงของปี่อ้อท่ีลีบเล็ก และไม่สามารถปรับ หากกลองกันตรึมคอื พระเอก นางเอกท่จี ะขาดเสยี ไม่ได้ ระดบั เสียงได้ ในวงกันตรึมประยกุ ต์จงึ มกั ไม่มีปี่อ้อ ของวงคือ ซอ หรือ ‘ตรัว’ รูปร่างทรวดทรงไม่ต่างซอด้วง ซออู้ของภาคกลาง คนั ชกั ท�ำด้วยไม้ ขงึ ด้วยหางม้า กะโหลกซอ วงกันตรึมโบราณประกอบด้วย กลองกันตรึม ๒ หรือ ใช้วัสดุในท้องถ่ิน ใช้ได้ท้ังกะลามะพร้าว กระบอกไม้ไผ่ ๔ ลูก ซอ ๑ คัน และ ปี่อ้อ ๑ เลา ต่อมาได้เพ่ิม ขลุ่ย ฉิ่ง ไม้เนื้อแขง็ เขาควาย กระดองเต่า มี ๓ ขนาด เล็ก (ตรัวแหบ) กรับ และฉาบ เข้ามาร่วมด้วย และถ้าเป็นวงกันตรึมสมัยใหม่ กลาง (ตรัวกลาง) และใหญ่ (ตรัวอู) การน�ำซอทั้ง ๓ ขนาด จะประยุกต์เอาเคร่ืองดนตรีสากลมาร่วมด้วย เช่น กลองชุด ไปประสมวงกันตรึมน้ันไม่มีข้อก�ำหนด ขึ้นอยู่กับศิลปิน แต่ถ้า กีตาร์ และไวโอลิน วงหน่ึงจึงใช้ผู้เล่นทั้งนักดนตรีและผู้ร้อง ขนาดใดเป็นเสยี งหลกั ก็จะเรียกตรัวเอก ประมาณ ๖-๘ คน ผู้ร้องเป็นชายและหญงิ อาจจะมี ๑-๒ คู่ กไ็ ด้ 21กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

๑ เพลงไหวค้ รรู อ้ งบรรเลงหลังจาก พธิ ีไหวค้ รูเสร็จสิน้ ๒ เคร่ืองดนตรงี ่ายๆ ไม่สลบั ซับซ้อน ทำ� ใหว้ งกนั ตรมึ สามารถเคลอ่ื นไป บรรเลงรอ้ งร�ำไดท้ ุกพื้นที่ และ ไม่จ�ำกดั อย่เู พียงบนเวทกี ารแสดง ๑ การแต่งกายมกั นยิ มแต่งตามสบาย หรือแต่งตามประเพณีนยิ ม ที่ก่อนจะเล่นต้องไหว้ครูเพ่ือให้เป็นสิริมงคล แตกต่างกันแค่ ของท้องถิ่น ปัจจุบนั บางวงกเ็ ปลีย่ นมาเป็นกระโปรงสัน้ เนอ้ื ร้องกนั ตรมึ เป็นภาษาเขมร สภาพความเปลย่ี นแปลงในสงั คมปจั จบุ นั ท�ำใหท้ กุ อยา่ ง บทรอ้ งกนั ตรมึ หรอื ทเี่ รยี กวา่ ‘ตรอนกุ๊ ’ ชอื่ บทรอ้ งอาจใช้ ต้องปรับตัว เครื่องดนตรีก็ปรับเปลี่ยนวัสดุ จากหนังสัตว์ขึง เรียกช่ือท�ำนองเพลงด้วย ไม่ว่าเป็น ตรอนุ๊กอมตูก [บทร้อง หน้ากลองก็เปล่ียนเป็นหนังสังเคราะห์หรือผ้าใบ สายซอที่เคย พายเรือ] ประรัญแจก [ดอกล�ำเจยี ก] กันจัญเจก [เขยี ดตะปาด] ใชส้ ายไหมกก็ ลายเปน็ สายลวดจากเบรกจกั รยานเพราะทนทาน หรือ กนั โน๊บติงตอง [ต๊กั แตนต�ำข้าว] เพลงกนั ตรมึ ไม่มีเนือ้ ร้อง กว่า คันชักซอจากหางม้าก็ใช้เส้นเอ็นแทน บ้างก็ใช้เอฟเฟ็กต์ เฉพาะ สว่ นใหญก่ ลา่ วถงึ วถิ ชี วี ติ การทำ� นา การหาเลยี้ งครอบครวั กีตาร์พัฒนาเป็นซอไฟฟ้า ปรับเสียงสายซอด้วยเกรียวโลหะ ค่านิยมในสังคม อุปมาอุปไมย เชิญขวัญ ล่�ำลา เล่าต�ำนาน แบบกีตาร์แทนลูกบิดไม้ นับเป็นเครื่องดนตรีพ้ืนบ้านที่ปรับตัว หรอื นทิ าน แขง่ ขนั ปฏภิ าณไหวพรบิ ร�ำพงึ รำ� พนั หรอื บทสง่ั สอน ไปได้อย่างไม่ขัดเขนิ คติเตอื นใจโบราณ หรอื แม้แต่พรรณนาความงามของธรรมชาติ ปัจจบุ ันปรบั เป็นการเล่าเรอื่ งของวยั รุ่นมากขึ้น กส้าู่ภวาขษ้าามขภอางษดนาขตอรงี คำ� หากจัดแบ่งประเภท ครูเพลงกันตรึมจะแบ่งเป็น ๔ บทร้องและท�ำนองเพลงกันตรึมได้รับอิทธิพลมาจาก ประเภท คือ ๑. บทเพลงช้ันสูงหรือเพลงครู ท่ีมีความไพเราะ เพลงปฏพิ ากยข์ องเขมรในประเทศกมั พชู า ซง่ึ มลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ ท�ำนองเพลงอ่อนหวานกินใจ แสดงให้เห็นถึงความศักดิ์สิทธิ์ กับเพลงปฏิพากย์ภาคกลางของประเทศไทยอย่างเพลงฉ่อย เช่น เพลงสวายจุมเว้ือด ร่�ำเป็อย-จองได ๒. บทเพลงส�ำหรับ เพลงเรือ หรือล�ำตัด ทั้งโครงสร้างของเพลง วิธีการแสดง ขบวนแห่ มีท�ำนองครึกคร้ืนสนุกสนาน ภายหลังมีการฟ้อนร�ำ ประกอบ เช่น ร�ำพาย ซมโปง ตร็อบตุม และเกาะเบอรมแบง 22

เปน็ ตน้ ๓. บทเพลงเบด็ เตลด็ ตา่ งๆ ทม่ี ที ำ� นองรวดเรว็ เรง่ เรา้ ให้ หรอื ใช้บทร้องเก่าๆ ทจ่ี ดจ�ำกันมา ซ่ึงมีประมาณ ๒๒๘ ท�ำนอง ความสนกุ สนาน ใชเ้ ปน็ บทขบั รอ้ งในโอกาสทวั่ ๆ ไป ทำ� นองเพลง เพลง มีมากจนบางท�ำนองไม่มีใครสามารถจ�ำได้เพราะไม่มี มีหลายท�ำนอง เช่น อมตูก กัจปกาซาปาดาน กันเตรยโมเวย- การจดบันทึกเป็นลายลักษณ์ อาศัยเพียงการจดจ�ำต่อๆ กันมา งูดตึก กะโน้ปตงิ ต้อง และมลบโดง เป็นต้น เท่านัน้ ประเภทสุดท้ายเป็นบทเพลงประยุกต์ท่ีพัฒนาข้ึนใน แม้เนื้อเพลงจะถูกถ่ายทอดด้วยภาษาเขมรสูงยากท่ี ปัจจุบัน มีการใช้ท�ำนองเพลงลูกทุ่งเข้ามาปรับเป็นท�ำนอง คนต่างถ่ินจะเข้าใจ แต่ก็รู้สึกได้ว่าเสน่ห์ของกันตรึม อยู่ท่ี กันตรึม เช่น ดิสโก้กันตรึม ร็อกกันตรึม สัญญาประยุกต์ และ ความสนุกเร้าใจของเสียงกลอง เสียงซอที่ด�ำเนินท�ำนองไป เตยี แขมประยกุ ต์ พรอ้ มกบั เสยี งปอ่ี อ้ ทค่ี ลอใหร้ สค�ำ ฟงั ดจู บั ใจ แมไ้ มร่ รู้ สความกต็ าม ลักษณะของเนื้อเพลงกันตรึม จ�ำนวนค�ำแต่ละวรรค เสน้ ทางของกนั ตรมึ วันวานถงึ วนั นี้ ไม่จ�ำกัด บทเพลงหนึ่งมี ๔ วรรค แต่ละบทไม่จ�ำกัดความยาว สัมผัสระหว่างบท บางบทก็มีบางบทก็ไม่มี ส่วนใหญ่ไม่นิยม กันตรึมแบบดั้งเดิม ท่ีเชื่อว่าเริ่มแรกใช้ในพิธีกรรม ร้องเป็นเร่ืองราวแต่มักคิดค�ำกลอนให้เหมาะสมกับงานที่เล่น โจลมะม็วดบองบ็อด ซ่ึงเป็นการทรงเจ้าเข้าผีเพื่อรักษาผู้ป่วย ๒ 23กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

ปัจจบุ นั ถกู ยกสถานะเป็น ‘กนั ตรมึ โบราณ’ ยงั มปี รากฏเลน่ อยู่ ปจั จบุ นั ดนตรกี นั ตรมึ ยงั คงเปน็ ทน่ี ยิ มอยไู่ มเ่ ปลย่ี นแปลง ตามความเช่ือของคนในท้องถิ่น และเล่นในงานประเพณีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเล่นแบบโบราณหรือประยุกต์ คณะกันตรึม ทั้งงานบุญ งานมงคลและอวมงคล ซึ่งจังหวะลีลาจะแตกต่าง ท่ีมีชื่อเสียงและได้รับความนิยม เช่น คณะบ้านดงมัน หรือ กันไปตามพิธีแต่ละงาน กล่าวคือ งานแต่งงานก็บรรเลง คณะของน้�ำผึ้ง เมืองสุรินทร์ โดยมี โฆษิต ดีสม ทายาทของ อย่างหนึ่ง งานศพอย่างหนึ่ง และเคร่ืองดนตรีก็ต้องให้เหมาะ ครูปิ่น ดีสม เป็นผู้ควบคุมคณะ คณะปอยตะแบง จังหวัด ถ้าเป็นงานศพมักจะใช้ปี่อ้อ งานแต่งงานจะใช้ปี่เตรียงหรือ สุรินทร์ คณะดาวรุ่งพัฒนา จังหวัดบุรีรัมย์ หรือคณะเจิมศักดิ์ ปี่เญ็นแทน ส.บวั สวรรค์ จงั หวดั บรุ รี มั ย์ หรอื แมน บา้ นบวั นกั กนั ตรมึ รนุ่ ใหม่ ที่พัฒนากันตรึมให้เป็น ‘ป็อป’ ร่วมสมัย นอกจากน้ียังมี รูปแบบวงกันตรึมต่อมาท่ีปรับให้เป็นมาตรฐาน พร้อม ปรากฏวงกนั ตรมึ ในสถาบนั การศกึ ษาเพม่ิ ขนึ้ ตามโรงเรยี น และ ประดิษฐ์ท่าร�ำนาฏศิลป์เพ่ือแสดงบนเวที จะเรียกว่า ‘กนั ตรมึ มหาวทิ ยาลัยในท้องถ่ินในหลายจังหวัดในภาคอสี าน อนุรักษ์’ ส่วนกันตรึมท่ีพัฒนามาผสมเคร่ืองดนตรีสากล แทรกภาษาไทยกลางในบทร้องเพื่อความเข้าใจของคนต่าง นักร้องเสียงดีมีชื่อในแวดวงกันตรึมมีไม่น้อย เป็นท่ี วัฒนธรรม หรือผสมผสานแนวดนตรีอ่ืนๆ เช่น ลูกทุ่ง ป็อป รู้จักกันทั่วภาคอีสานทั้งกันตรึมโบราณและประยุกต์ บางท่าน ร็อก สตริง ฯลฯ ก็เรียกว่า ‘กันตรึมประยุกต์’ มักมีนักฟ้อน ถนัดร้องเฉพาะกันตรึมโบราณ แต่ทุกท่านมีแนวทางร้อง นักรำ� ท่ีเปลย่ี นเป็นผู้เต้นนุ่งสัน้ ห่มน้อยและสวมรองเท้า โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน เช่นเดียวกับทำ� นองกันตรึม 24

๑ น้�ำผึ้ง เมืองสรุ ินทร์ หรือ สำ� รวม ดีสม กับวงกันตรึมทเี่ ธอฝึกสอน สืบสานเพลงพน้ื บ้านให้ ยังคงบรรเลงอยู่ในถนิ่ อสี านใต้ ๒ ความนยิ มชมชอบของวงกนั ตรึม แพรห่ ลายไปในหลากหลายสอ่ื จนกงั วานไกลพน้ เขตแดนอสี านใต้ ไปยังภมู ภิ าคอน่ื ๆ ๑ ที่ต่างพื้นที่ก็มีท�ำนองร้องและท�ำนองดนตรีต่างกัน ไม่ว่าเป็น ๒ ท่ีจังหวัดสุรินทร์ก็มี น้�ำผึ้ง เมืองสุรินทร์, เนตรนาง อรุณรุ่ง ของชาวไทยเชื้อสายเขมร เป็นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมดนตรี บ้านเบาะอุ่น, แก้วตา จามิกรณ์ ที่จังหวัดบุรีรัมย์มี เพชรวิไล ของถนิ่ อีสานใต้ที่ยังคงมเี สน่ห์เสมอมา ยคุ พฒั นา, เพลินจิตร บรุ รี ัมย์, ร่มเย็น สัจธรรม เจ้าของรางวลั กันตรึมดีเด่นแห่งบ้านหัวช้าง เป็นต้น ทุกวันน้ีสามารถหาฟัง “บองปะโอนโกนเจา เซราะกราวเซราะกน็อง ..... กันตรึมได้จากงานแสดงสด และการบนั ทกึ เสยี งทม่ี ีจำ� หน่ายทั้ง เยงิ ปรวมคเนยี เกดิ เซราะแซรขะแมรไ์ ทย .....” แผ่นซดี ี/ดวี ีดี คาราโอเกะ กระทั่งเอ็มวกี ม็ ี (พนี่ อ้ งลกู หลาน ในประเทศหรอื นอกประเทศ...เรารว่ มกนั แม้ว่ารปู แบบของกนั ตรมึ จะเปลี่ยนแปลงไป แต่ยงั ใช้วิธี เกดิ บนแผ่นดนิ เขมรไทย) การถ่ายทอดความรู้แบบเดิม คือ การซึมซับ เลียนแบบ และ บ่มเพาะ และยังคงพิธีกรรมต่างๆ เช่น การมอบตัวเป็นศิษย์ พิธีไหว้ครู การท�ำเคร่ืองดนตรี ฯลฯ ท�ำให้กันตรึมไม่ว่าจะ ปรับไปอย่างไรจึงยังคงจิตวิญญาณท่ีสะท้อนความเชื่อและวิถี หนงั สืออา้ งอิง บุษกร บิณฑสันต์, ขำ�คม พรประสิทธิ์ และ ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน. กันตรมึ . กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ๒๕๕๖. ภูมิจิต เรืองเดช. เพลงพ้นื บ้านกันตรมึ . (เอกสารวิชาการ งานสมบัติอีสานใต้ ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ : ศนู ย์วัฒนธรรม วิทยาลัยครูบุรีรัมย์. ๒๕๒๗. วีณา วีสเพ็ญ. กนั ตรมึ . กรุงเทพฯ : บริษัท วัชรินทร์การพิมพ์ จำ�กัด. ๒๕๒๖. การละเล่นกนั ตรึม เพลงพืน้ บา้ นชาวไทยเขมรในจังหวัดบรุ ีรัมย์และจงั หวัดสุรนิ ทร์ โดย รองศาสตราจารย์ ภมู ิจิต เรืองเดช และคณะ ๒๕๕๐. การเปล่ยี นผ่านบทบาทหน้าทีด่ นตรกี นั ตรมึ : จากดนตรีศกั ดสิ์ ิทธส์ิ ดู่ นตรพี าณิชย์ โดย วรวิทย์ วราสินธ์, เสาวภา พรสิริพงษ์ 25กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

ช้ันเชิงช่าง ฐากรู โกมารกลุ ณ นคร เรอ่ื ง กองบรรณาธกิ าร ภาพ งานป้นั หลอ่ คือพุทธศิลป์ทส่ี บื ต่อมายาวนาน ข้ันตอนขึ้นห่นุ พระของช่างปนั้ เต็มไปด้วยทกั ษะอันชำ�นาญตกทอดอยู่ในดวงตาและสองมือของชา่ งป้นั ในการสรา้ งรายละเอยี ดงดงามให้กับพระพุทธรปู สกั องค์ (สทุ ศั น์ รุ่งศริ ิศลิ ป์ ภาพ) 26

วจิ ติ รศงลิ ปาแ์นหปง่ อน้ั งหคพ์ ลรอ่ะปพฏรมิ ะา ท่ามกลางเปลวเทียนและควันธูปที่ลอยล่อง และห่มคลุมพระพุทธรูปอันเป็นตัวแทนของพระสัมมา สัมพุทธเจ้าที่พุทธศาสนิกชนกราบไหว้เคารพเคียงข้าง ไปกบั พระธรรมคำ� สอน เดนิ ทางผา่ นกาลเวลามาเคยี งคู่ ประวตั ศิ าสตรข์ องผคู้ น กล่าวในเฉพาะประเทศไทย จากสมัยทวารวดีท่ี พระพทุ ธศาสนาเผยแผม่ าจากอนิ เดยี จนถงึ สมยั สโุ ขทยั ทเี่ รมิ่ มกี ารสรา้ งรปู เคารพกนั อยา่ งจรงิ จงั สบื ทอดถงึ สมยั อยธุ ยาและรตั นโกสนิ ทร์ หลายอยา่ งตกทอดเปน็ วถิ ชี วี ติ ของผคู้ นอนั ผกู พนั กบั พระพทุ ธศาสนาอยา่ งแยกไมอ่ อก หนึ่งในน้ันคืองานป้นั พระและหล่อพระ ท่ีกำ� เนิด และบ่มเพาะเหล่าช่างโบราณข้ึนมาเคียงคู่ความเป็น “เมอื งพทุ ธ” เป็นผู้คนท่ีด�ำเนินชีวิตไปด้วยศิลปะ แรงศรัทธา และความงดงามของพุทธศิลป์ท่ีหลอมรวมอยู่ในองค์ พระพทุ ธรปู ........................................................................ 27กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

๒ ๑-๒ จากดนิ มาสงู่ านเขา้ ขผ้ี งึ้ ชา่ งปน้ั เรมิ่ เกบ็ รายละเอยี ดทกุ สดั สว่ น ขององคพ์ ระพทุ ธรปู ใหเ้ ปน็ ไปดงั ตอ้ งการมากทส่ี ดุ ทงั้ สว่ นของ พระกร จวี ร หรอื เสน้ โคง้ เวา้ ตา่ งๆ ลว้ นคอื เอกลกั ษณข์ อง พระพทุ ธรปู ในแตล่ ะยคุ สมยั ทชี่ า่ งปน้ั จดจ�ำไดข้ น้ึ ใจ ๓ เครอื่ งมอื โบราณอยา่ งคราด ขอเหลก็ ไมเ้ สนยี ด ลว้ นตกทอด ทงั้ รปู แบบและการใชม้ าแตช่ า่ งปน้ั พระรนุ่ บรรพบรุ ษุ ๔ การลม้ หนุ่ พระเพอ่ื ถอดเปน็ พมิ พก์ อ่ นทงี่ านของชา่ งหลอ่ ๑ จะเรมิ่ ตอ่ ยอดการท�ำพระพทุ ธรปู ตอ่ จากชา่ งปน้ั งานช่างด้านปั้นหล่อพระพุทธรูปแบบไทยประเพณีน้ันเป็นแขนงหน่ึง ๓ ในงานช่างสิบหมู่ของไทย กว่าจะปรากฏเป็นความงดงามของพระพุทธรูป สักองค์ ล้วนต้องผ่านฝีมือ ทักษะ และประสบการณ์ท่ีสั่งสมกันมาหลายต่อ หลายรุ่นของช่างทำ� พระอนั หลากหลายกระบวนการ ส�ำหรับการก�ำเนิดพระพุทธรูปนั้น พบหลักฐานเก่ียวกับบรรดาศิลป- วัตถุสถานอันเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ณ ประเทศอินเดียในสมัยพระเจ้า อโศกมหาราช ราวปี พ.ศ. ๒๗๐-๓๑๑ จากการทพ่ี ระองคเ์ ลอื่ มใสในพระพทุ ธ- ศาสนา จนถึงกับยกพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาของประเทศ แรกเร่ิมน้ัน 28

ในอินเดียยังคงห้ามท�ำรูปคนส�ำหรับบูชา รูป ๔ เคารพในระยะแรกจึงเป็นรูปต่างๆ เช่น ธรรมจักร กวางหมอบ อันหมายถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมอ่ื แสดงปฐมเทศนาในป่ามฤคทายวัน รปู พระพทุ ธองคท์ เ่ี ปน็ แบบรปู มนษุ ยเ์ กดิ ขน้ึ ภายหลงั หลงั พทุ ธศตวรรษท่ี ๖ เปน็ ฝมี อื ชา่ งแควน้ คันธาระและช่างเมืองมถุรา จากนั้นก็เกิดสกุล ช่างอีกสกุลหน่ึงทางภาคใต้ของอินเดียที่เมือง อมราวดี ทวา่ ปราชญบ์ างทา่ นกก็ ลา่ ววา่ พระพทุ ธรปู องค์แรกเกิดขนึ้ ในรัชกาลพระเจ้ากนษิ กะ ระหว่าง ปี พ.ศ. ๖๖๒-๗๐๖ เป็นฝีมือช่างกรีกโรมัน เชือ่ ว่า ได้รับอิทธิพลและพวกช่างมาจากทางเอเชีย ตะวนั ตก การสรา้ งพระพทุ ธรปู ตอ่ มาภายหลงั ลว้ นสรา้ ง ตามมหาปุริสลักษณะท่ีเก่ียวโยงกับพระอิริยาบถ ของพระพุทธเจ้า เกิดเป็นปางต่างๆ เรื่อยมา ตั้งแต่สมัยทวารวดีราว ๑๐ ปาง ต่อเน่ืองจนถึง ศรวี ิชัย ลพบุรี เชยี งแสน สุโขทัย อยธุ ยา จนมาถึง สมัยรัตนโกสินทร์ ที่มีปางพระพุทธรูปแตกต่าง หลากหลายราว ๕๐ ปาง กล่าวส�ำหรับประเทศไทย พระพุทธรูปที่ ตกทอดผา่ นการคา้ และเผยแผอ่ ารยธรรมทางทะเล จากอินเดียส่วนใหญ่มักเป็นพระพุทธรูปศิลาหรือ ไม่ก็สัมฤทธ์ิ และสร้างตามคติอินเดียแบบเก่า จนถึงสมัยสุโขทัยที่นับเป็นจุดแรกเร่ิมท่ีมีการหล่อ พระพุทธรูปขนาดใหญ่อันมีพุทธลักษณะงดงาม และเชื่อกันว่า การหล่อพระในประเทศไทยได้มี จดุ เร่มิ และเร่ิมสร้างกนั แพร่หลายแต่คร้งั นน้ั กว่าจะเป็นพระพุทธรูปสักองค์เต็มไปด้วย ความสมั พนั ธอ์ นั เกย่ี วเนอื่ งกบั ชา่ งปน้ั และชา่ งหลอ่ ศาสตร์สองแขนงหลอมรวมกันอย่างแยกไม่ออก ชา่ งหลอ่ บางคนชำ� นาญทง้ั งานปน้ั และงานหลอ่ พระ ซงึ่ ล้วนแล้วแตเ่ ตม็ ไปดว้ ยความประณตี มขี นั้ ตอน ล๓ะเอียดไม่แตกต่างกัน 29กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

๑ ช่างปั้นพระโบราณจะเร่มิ “ขนึ้ หนุ่ ” โดยปั้นดินแกน หรอื ดนิ หุ่น เพอื่ อย่างละเอียด ขณะท่ีเครื่องมือที่ตกทอดมาแต่ เปน็ “หนุ่ แกนทราย” ชน้ั ใน วา่ กนั วา่ ในปจั จบุ นั น้ี “ดนิ ขงี้ เู หลอื ม” จากแถบ โบราณอย่างกราด ขอเหล็ก ไม้เสนยี ด กท็ �ำหน้าที่ บางบวั ทองคอื ดนิ ชนั้ ดี สว่ นทรายทเี่ ปน็ สว่ นผสมนนั้ คอื “ทรายมอญ” จากแถบ ของมันในการเหลารูป เกลา ขูดแต่ง ให้ส่วนต่างๆ บางพดู ในนนทบรุ เี ช่นกนั ช่างปั้นแถบภาคกลางต่างรู้ว่ามนั ผสมกนั ได้อย่าง ของหนุ่ จนสมบรู ณ์ หรอื ทชี่ า่ งเรยี กกนั วา่ “รดั รปู ” ลงตัว นอกจากนั้นสูตรของแต่ละช่างปั้นจะเต็มไปด้วยส่วนผสมต่างๆ อย่าง ดินนวล ดินเหนียว ข้ีผ้ิง ข้ีวัว น้�ำมันยาง สีฝุ่นแดง ขี้เถ้าแกลบที่ป่นเป็นผง ในองค์พระขณะปั้น ช่างปั้นจะท�ำรางรูป ตัววี (V) มีทั้งรางแกนและรางก่ิง สำ� หรับให้โลหะ 30

๒ ๑ งานของชา่ งเททองเตม็ ไปดว้ ยความเจนจดั ในเชิงชา่ ง ที่หลอมละลายในข้ันตอนการหล่อได้ไหลเข้าแม่พิมพ์ได้อย่างสะดวก รางท่ี รวมไปถงึ ความเช่ือความเคารพแม้ในเคร่ืองแตง่ กายสขี าว แทรกอยู่ภายในหุ่นถือเป็นเคล็ดลับของช่างแต่ละคนว่าจะท�ำได้ละเอียด แค่ไหน ตัง้ แต่รางหวั ไปจนถงึ ฐาน หรอื ทแ่ี ตกออกไปด้านข้างอย่างรางกิง่ ที่แสดงถึงความบรสิ ทุ ธิ์ ๒ เตาทองท่ีหลอมทองเบญจพรรณจนสุกไดท้ ีจ่ ะถกู ล�ำเลียง ความละเอยี ดของชา่ งปน้ั ลงลกึ สกู่ าร “ทาดนิ มอม” และ “ทาเทอื ก” โดยดินมอมคือน้�ำยาส�ำหรับงานโลหะที่มีส่วนผสมของผงข้ีเถ้าแกลบและผง นำ�้ ทองเขา้ เบ้าเพื่อข้ึนเททอง ดนิ เหนยี ว ชว่ ยปอ้ งกนั ผวิ หนุ่ แกนทรายมใิ หห้ ลดุ ลอ่ นขณะเทโลหะหลอมเหลว ส่วนการทาเทือกน้ันคือการทาน�้ำเมือกชนิดหนึ่งที่มีส่วนผสมของข้ีผ้ึงและ นำ้� มนั ยาง ซึง่ ส่งผลในการยดึ จับของตัวต้นแบบงานปั้นของพวกเขา งานขึ้นหุ่นเดินทางมาสู่ “การเข้าขี้ผ้ึง” จะปั้นรูปต้นแบบด้วยข้ีผ้ึง ลงบนหุ่นแกนทราย จากเค้าโครงต่อยอดสู่ส่วนต่างอย่างละเอียดลออ โดยชา่ งปน้ั ใหค้ วามสำ� คญั กบั การเขา้ ขผ้ี ง้ึ มาก พวกเขาตอ้ งชำ� นชิ ำ� นาญตง้ั แต่ การมองขนาดหนาบางของแบบขณะบตุ วั หนุ่ องคพ์ ระ ขดู แตง่ ปน้ั นวิ้ พระบาท ปั้นพระหัตถ์ ตดิ เมด็ พระศกตามเศียร ตดิ ส่วนประกอบต่างๆ พดู อย่างง่ายๆ คือ หุ่นในส่วนของการเข้าข้ีผ้ึงเรียกได้ว่าสะท้อนภาพองค์พระพุทธรูปขณะ เสร็จสน้ิ ออกมาให้ช่างเหน็ ได้ตรงหน้า งานของช่างปั้นส้ินสุดลงและส่งต่อสู่ช่างหล่ออย่างวิจิตรประณีต ช่างหล่อเองก็มีข้ันตอนและเคล็ดลับต่างๆ ที่ตกทอดมาแต่โบร่�ำโบราณ ค�ำสอนของบรรพบุรุษปรากฏเป็นค�ำอธิบายต่างๆ ตั้งแต่การ “ลม้ หนุ่ พระ” เพ่ือรอการเททอง โดยน�ำหุ่นพระลงพิงนอนกับจะเข้ ให้รับช่วงไหล่และฐาน จากนั้นจึงเริ่มการ “สางดิน” คือ กระทุ้งเอาดินภายในฐานออก ช่างหล่อ ต้องปั้น “ปากจอก” หรือชนวนขน้ึ เพิ่มเติมส�ำหรับเททอง ทว่าก่อนถึงข้ันตอนการหล่อพระ พวกเขาต้องก่อเตาอิฐล้อมรอบ องค์พระ จากนั้นจึงท�ำ “กระบาน” ท่ีเป็นทางไหลออกของข้ีผ้ึงที่ตัวหุ่น ยามหลอมละลาย เรยี กขน้ั ตอนทขี่ ผ้ี งึ้ ละลายนวี้ า่ การ “สำ� รอกขผ้ี งึ้ ” มนั เตม็ 31กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

ไปด้วยความเข้าใจในไฟ เข้าใจระดับความร้อน สังเกตกระทั่งเปลวไฟยาม ทกุ อยา่ งเตม็ ไปดว้ ยขนั้ ตอนอนั เครง่ ครดั ตง้ั แต่ ตัวพิมพ์ “ลุกดวง” อันหมายความว่าขี้ผึ้งภายในนั้นติดลุกเป็นเปลวไฟ การเข่ียถ่านไฟเพ่ือเปิดเตาเข้าไปเททอง เทน�้ำดับ จนถึงยามลุกหมดท่ีเรียกว่า “ดับดวง” ไล่เลยไปจนการ “บ่ม” รอให้หุ่น ความร้อนจากถ่าน โดยต้องระวังน�้ำกระเซ็นโดน ท่ีกลายเป็นแม่พมิ พ์นั้นสุก พมิ พท์ รี่ อ้ นจดั จนแตกรา้ ว ขน้ั ตอนการถอนไฟออก จากพิมพ์เพ่ือเททองเต็มไปด้วยความชำ� นาญของ การทำ� งานของคนในสว่ นหลอ่ พระอย่างชา่ งเททองและชา่ งท�ำนำ�้ ทอง ชา่ งเททอง พวกเขาตอ้ งแมน่ ยำ� ทนรอ้ น ระแวดระวงั จงึ เรม่ิ ขนึ้ ชา่ งเททองจะรอื้ เตาเผาออกและเตรยี มพมิ พห์ นุ่ สว่ นชา่ งทำ� นำ้� ทอง น�้ำทองทีร่ ้อนจัดจนอาจลวกเนอ้ื ตวั เข้าถงึ กระดกู ก็จะเร่ิมท�ำงานไปพร้อมกันโดยการก่อเตาทอง เตรียม “เบ้า” หรือภาชนะ ท่ีใช้บรรจุน�้ำทองอันร้อนระอุ พวกเขาหลอมทองอย่างค่อยเป็นค่อยไปด้วย ขณะนำ้� ทองทเ่ี ปย่ี มซงึ่ แรงศรทั ธาและทกั ษะ ความร้อนหลายระดบั จากส่วนผสมและการเคยี่ วน�้ำทองท่ีดี ส่วนใหญ่มักใช้ หลากหลายของคนเททองคอ่ ยไหลจากเบา้ ผา่ นราง “ทองเบญจพรรณ” คือน้�ำทองท่ีหลอมมาจากโลหะใดๆ ที่มีทองเหลือง ลงสู่แม่พิมพ์ ช่างเททองต้องคอยวัดสัดส่วนของ ผสมอยู่ ตั้งแต่ทองค�ำแท้ ไล่เลยไปถึงโลหะประเภทต่างๆ ตามแต่การสั่งสม น�้ำทองในแต่ละเบ้าท่ีจะส่งผลในเรื่องสีและความ หามาได้ของแต่ละโรงหล่อ หรือการเลอื กใช้ของคนว่าจ้างหล่อพระ สกุ ปลง่ั ขององค์พระพทุ ธรูป ๑ 32

๑ ชา่ งเททองเขา้ ใจเรอื่ งเวลา ความรอ้ น และสดั สว่ นตา่ งๆ ในขณะท่ี เททองแตล่ ะเบา้ ลงในพมิ พพ์ ระ ๒ งานของชา่ งปน้ั หลอ่ ไมจ่ �ำกดั เพยี งแตพ่ ระพทุ ธรปู ขนาดเลก็ แตอ่ าจ หมายรวมถงึ พระพทุ ธรปู กลางแจง้ ขนาดใหญท่ ต่ี อ้ งใชก้ ารเททอง เปน็ สว่ นๆ กอ่ นขนึ้ ประกอบเปน็ พระพทุ ธรปู อยา่ งสมบรู ณ์ น้�ำทองที่หล่อหลอมเป็นเนื้อเหลวผ่าน ๒ กระบวนการแข็งตัวในแม่พิมพ์ จวบจนที่พิมพ์ ถูกทุบท�ำลายและฉายชัดถึงองค์พระพุทธรูปที่ ในเชงิ ชา่ ง ทวา่ กเ็ กยี่ วพนั กนั โดยสายเลอื ดเครอื ญาตแิ ละความเปน็ ชา่ งปน้ั หลอ่ งดงามอยู่ภายใน การงานของช่างหล่อ คนเททอง พระพุทธรปู กันท้งั หมู่บ้านท่ตี ่อยอดมาเนิ่นนาน คนปั้น เดินทางมาถึงบั้นปลายแห่งวิจิตรศิลป์ท่ี “ชา่ งรบั รว่ั ” พวกเขาตรวจสอบการหลอ่ พระทต่ี อ้ ง ในพระพุทธรูปอันงดงามหน่ึงองค์ที่ปรากฏตรงหน้าจึงอาจเป็น ทิง้ ให้เนอื้ ทองเย็นราวสองสามวัน ส่วนหน่ึงท่ีเล่าเร่ืองราวเกี่ยวกับภาพร่างของพระพุทธศาสนาที่แผ่รากฝังลึก ในชีวิตคนไทยมาแต่โบราณ เป็นงานศิลปะชั้นสูงอันล�้ำค่า เป็นอาชีพและ ช่างรับรั่วจะตกแต่ง เคาะดิน ท�ำความ สิง่ รักหวงแหนของกลุ่มช่างอันเลอเลศิ สะอาด ตลอดจนตอกทอยและอุดแผลต่างๆ ที่ หลงเหลือจากการหล่อเททอง ใช้ตะไบทั้งหยาบ ยิ่งกว่านั้นคืออาจเป็นครรลองหน่ึงที่เหนี่ยวน�ำให้ผู้คนก้าวเดินไป และละเอียดถากถูลงบนผิวพระอย่างถี่ถ้วน แม้ อยา่ งสงบเยน็ ในนามของพทุ ธศาสนกิ ชนอนั ถงึ พรอ้ มและสมบรู ณด์ งี าม ทุกวันน้ีช่างพระสมัยใหม่จะใช้เครื่องขัดไฟฟ้า เพ่ือร่นเวลา ทว่าในเรื่องของความละเอียดลออ ขอบคุณ โรงปั้น-หล่อพระบุญชู พุทธมณฑลสาย ๒ ซอย ๑๐ ไม่เคยตกหล่นจางหาย ท่อี �ำนวยความสะดวกในการถ่ายท�ำการปั้นพระพุทธรปู องคพ์ ระพทุ ธรปู เดนิ ทางจากหลายตอ่ หลาย 33กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙ มือช่างมาสู่ขั้นตอนการรมด�ำและลงรักเพ่ือความ งดงามลงตัว ก่อนจะก้าวเข้าสู่พิธีพุทธาภิเษก เพ่ือเป็นสิริมงคล ทว่าก่อนหน้านั้น องค์พระที่ถูก ปั้นและหล่อก็ราวจะหลอมรวมท้ังประวัติศาสตร์ ศลิ ปะ และสง่ิ ทเี่ รยี กวา่ แรงศรทั ธาของชา่ งปน้ั หลอ่ พระเอาไว้แล้วอย่างเหนยี วแน่น งานวิจิตรศิลป์อันเป็นค่าควรเมืองไม่เพียง แสดงตัวตนอันสูงส่งไว้ในงานประติมากรรม ย่ิงใหญ่ ทว่าบ่มเพาะและต่อยอดให้เกิดชุมชน ช่างปั้นหล่อหลายแห่ง อย่างชุมชนบ้านช่างหล่อ ที่เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ที่ว่ากันว่า บรรพบุรุษของพวกเขาคือช่างปั้นหล่อจากกรุงศรี- อยุธยา เคล็ดลับ ความรู้ แรงศรัทธา ท้ังศาสตร์ และศิลป์ตกทอดเป็นชุมชนช่างท�ำพระตามแบบ ขนบโบราณ ซ่ึงหลายครัวเรือนอาจแตกต่างกัน

ตนคำ� รนศารนธี รพรมรระาธชาตุ ๑

สบื สาวเล่าเรอื่ ง ฉมาร์ กปี รชี า เรอ่ื ง กองบรรณาธกิ าร ภาพ พระบรมธาตุนครศรีธรรมราชเป็นหนึ่ง ในพุทธสถานศักด์ิสิทธ์ิของคนไทยและพุทธศาสนิกชน จ�ำนวนมาก จึงมีต�ำนานที่จัดเป็นวรรณกรรมพ้ืนบ้านท่ี สำ� คญั ยงิ่ ของชาวนครศรธี รรมราชและของประชาชนทาง ภาคใต้ ต�ำนานเรื่องน้ีเป็นท่ีรับรู้ในหลากหลายช่ือ เช่น ตำ� นานพระธาตเุ มอื งนครศรธี รรมราช ตำ� นานพระบรมธาตุ เมอื งนคร ตำ� นานพระบรมธาตเุ มอื งนครฉบบั กลอนสวด (จัดเป็นต�ำนานฉบับชาวบ้าน) พระนิพพานโสตร หรือ พระนิพพานสูตร เป็นต้น โดยเฉพาะวรรณกรรมเร่ือง พระนพิ พานโสตร หรอื พระนพิ พานสตู ร มคี วามแพรห่ ลาย และมีหลายส�ำนวน ทั้งมีปรากฏอยู่แทบทุกจังหวัดใน ภาคใต้ นอกจากนั้นยังมีความสัมพันธ์กับต�ำนานเมือง นครศรธี รรมราชดว้ ย พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ศนู ย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน 35กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

ภาพปกหนงั สือตำ� นานพระธาตเุ มืองนครศรีธรรมราช และภาพวาดแสดงใหเ้ หน็ ว่าพระบรมธาตอุ งคป์ จั จบุ ันเปน็ ทรงระฆังหรือทรงโอควำ่� สร้างครอบทบั พระบรมธาตุองค์เดิมท่เี ปน็ ทรงสถาปตั ยกรรมศรีวชิ ัย ต�ำนานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชแต่ละส�ำนวน ต�ำนานท่ีนิยมอ้างอิงในหมู่นักวิชาการมี ๒ ฉบับคือ “ตำ� นานพระบรมธาตนุ ครศรธี รรมราช” กับ “ตำ� นานเมอื ง มีเนื้อหารายละเอียดและความสมบูรณ์แตกต่างกัน แต่มี นครศรธี รรมราช” เค้าโครงเรื่องหลักเหมือนกันคือ เป็นบันทึกประวัติศาสตร์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาจากอินเดียและลังกามายังภาคใต้ “ต�ำนานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช” ซ่ึงมีการ ของประเทศไทย โดยมศี นู ย์กลางอยทู่ น่ี ครศรธี รรมราช และเป็น จัดพิมพ์เป็นทางการโดยกรมศิลปากร จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี บันทึกพัฒนาการของเมืองนครศรีธรรมราชโดยมีพระบรม- ๒๔๗๑ ในหน้าค�ำน�ำของหนังสอื บอกเล่าทม่ี าด้วยว่า สารีริกธาตุซ่ึงฝังอยู่ที่หาดทรายแก้วเป็นศูนย์กลางแห่ง ความศรทั ธา และเลา่ ถงึ กศุ โลบายการทำ� นบุ ำ� รงุ พระบรมธาตเุ จดยี ์ “ขณะน้ันกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ผู้เป็นอุปนายกของ นครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นส่วนหนงึ่ ของการสร้างสรรค์ความเจริญ ราชบัณฑิตสภาได้นิพนธ์ค�ำอธิบายไว้ว่า หนังสือน้ีพิมพ์ตาม ให้แก่เมืองนครศรีธรรมราช ท้ังด้านอาณาจักรและศาสนจักร ต้นฉบับที่มีอยู่ในหอพระสมุดวชิรญาณ เป็นหนังสือกระดาษ ตลอดเวลายาวนานหลายศตวรรษจวบจนถึงปัจจบุ นั ฝร่ังเขียนเส้นหมึก ต้นฉบับเป็นส�ำเนาคัดจากหนังสือเก่า เหน็ ได้ตามตวั สกดแลถ้อยค�ำสำ� นวน ซงึ่ เกา่ กอ่ นเวลาทใ่ี ชห้ มกึ 36 และกระดาดอย่างน้ัน

การพมิ พค์ รง้ั นไี้ ดส้ ง่ั ใหพ้ มิ พ์ตามต้นฉบบั มใิ หแ้ กต้ วั สกด ความรู้ ความเห็นบ้าง ความเห็นน้ันไม่จ�ำเปน จะเปนความรู้ หรอื ถ้อยคำ� อะไรเลย ทท่ี ำ� เช่นน้ดี ้วยเหตุ ๒ ประการ แต่ในเวลาที่ความรู้แน่นอนยังไม่มี ความเห็นก็ย่อมจะเปน ประโยชน์” ประการที่ ๑ การเขียนตัวสกดหนังสือไทยเปล่ียนอยู่ เสมอ แลยังไม่เห็นท่าทางที่จะหยุดเปลี่ยน ความเปล่ียนเปน ฉบบั จดั พมิ พข์ องกรมศลิ ปากรทนี่ ำ� มาอา้ งองิ นี้ จดั พมิ พข์ น้ึ ล�ำดับมานั้น เปนส่ิงซ่ึงผู้ศึกษาสังเกต ถ้าพิมพ์หนังสือไว้ เพื่อเป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นางยุพิน ไตรภักดิ์ ตามฉบับเดมิ ก้อเปนเคร่อื งช่วยศึกษาได้ข้างหนึง่ ในปี ๒๕๐๓ ถอื เป็นหลกั ฐานช้ันรอง แต่กม็ ีน�้ำหนักทพี่ อน่าจะ เชอื่ ไดอ้ ยู่ เพราะคดั ลอกมาตามตน้ ฉบบั เดมิ โดยมไิ ดเ้ ปลยี่ นแปลง ประการท่ี ๒ ค�ำในหนังสือน้ีมีเปนอันมากที่ผู้ตรวจ ท้ังถ้อยค�ำและส�ำนวนดังค�ำกล่าวของกรมหม่ืนพิทยาลงกรณ์ ไม่เข้าใจ อาจเปนด้วยผิดก็ได้ เปนด้วยเราไม่รู้ก็ได้ สิ่งใดท่ี และในหนงั สือก็ปรากฏข้อความว่า เราไม่รู้ เราจะว่าผิดจะว่าผดิ เพราะเหตุน้ันหาได้ไม่ คำ� ทีผ่ ู้ตรวจ ไม่เข้าใจ ถ้าแก้จนเข้าใจ ก็เปนความเดาของผู้ตรวจคนเดียว “หนังสือนี้สันนิษฐานว่าแต่งในแผ่นดินพระนารายณ์ ผู้อ่านซ่ึงไม่เคยเห็นต้นฉบับก็ไม่มีโอกาสช่วยเดาหรือแสดง ศกั ราชในท่สี ดุ บอกปีในปลายแผ่นดนิ พระเจ้าปราสาททอง ประเพณีแหผ่ า้ ขึ้นธาตแุ สดงให้เห็นว่าพระบรมธาตุเจดีย์เปน็ ศูนยร์ วมความเชอื่ และศรทั ธาเสมอมา 37กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

แก่นแทข้ องการห่มผา้ พระบรมธาตุเจดียน์ คี้ อื การบชู าพระพทุ ธเจ้าอย่างใกลช้ ิดโดยใช้องค์พระบรมธาตุเจดยี ์ เป็นตวั แทน ส่วนเน้ือเรื่องซึ่งว่าเปนต�ำนานพระธาตุนครศรีธรรมราชนั้น ก็เปนต�ำนานอย่างนิทาน ประจ�ำท้องที่ มีโน่นเปนนี่มากมาย แต่ความจริงอาจมีมาเดิมบ้าง แลไม่มีอะไรท่ีท�ำให้เหนว่า ผู้แต่งไม่เช่ือว่าเปนความจริงท้ังนั้น แม้ที่กล่าวถึงปาฏิหารต่างๆ แลพญาครุฑพญานาค ก็กล่าว ตามทเ่ี ช่ือกนั ว่าจริง ถ้าจะว่าท่ีแท้เร่อื งพระธาตปุ าฎหิ ารนนั้ คนยังเชอื่ กันอยู่จนเวลานี้ แต่ถ้าจะต้ังปัญหาว่าหนังสือน้ีมีประโยชน์เพีงใดในโบราณคดีก็ยากที่จะตอบได้ การหาหลักฐานโบราณคดี ถ้าไม่มีอะไรดีกว่านิทาน ก็ต้องรับเอานิทานเข้าประกอบหนังสือน้ี จ่ึงอาจเปนประโยชน์ได้บ้างในทางโบราณคดี” พอรู้ที่มาแล้วว่าออกตัวกันอย่างน้ี แต่ก็เป็นเรื่องสนุกพอดูที่จะติดตามว่าตำ� นานนั้นว่า อย่างไร โดยคร่าวๆ พูดถึงสถานที่ต้ังพระธาตุในต�ำนานจะบอกว่า “เป็นหาดทรายชเลรอบ” (ชเลหมายถึงทะเล) ต่อมามีกษัตริย์มาฝังพระทันตธาตุไว้ (ส่วนฟันของพระพุทธเจ้า) ภายหลัง ต่อมาอีก พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชกษัตริย์แห่งนครศรีธรรมราชได้มาสร้างพระบรมธาตุครอบไว้ พระธาตดุ งั กล่าวคอื พระบรมธาตอุ งค์ปัจจบุ ัน ถอดรหสั ต�ำนานในเบอ้ื งต้นได้ดงั น้ี - มีเมืองหน่ึงช่ือทนทบุรี เจ้าเมืองชื่อท้าวโกสีหราช มีบุตรีผู้พี่ช่ือ นางเหมชาลา และ บุตรชายชอ่ื ทนทกมุ าร - เมอื งข้างๆ ช่ือ ชนทบรุ ี เจ้าเมอื งชอื่ ท้าวองั กุศราช 38

- ท้าวอังกุศราชมารบชิงพระทันตธาตุกับท้าวโกสีหราช ตง้ั เป็นเมอื งใหญ่ แล้วจะก่อพระธาตสุ ูงได้ ๓๗ วา” ท้าวโกสีหราชแพ้สน้ิ พระชนม์ขาดคอช้าง - ระหว่างท่ีท้ังสองเดินทางไปลังกาต่อ ก็เกิดอัศจรรย์ - เจ้าทนทกุมารและนางเหมชาลาเอาพระทันตธาตุ ส�ำเภาไปไม่ได้ พระมหาเถรมาบอกให้พญานาคพาบริวาร ลงสำ� เภาไปเมอื งลงั กา ส�ำเภาแตกเพราะพายุ ทง้ั สองถกู ซดั ขนึ้ มานมัสการพระทนั ตธาตุ ส�ำเภาจึงไปต่อได้ถงึ เมอื งลงั กาทวปี ท่ีหาดทรายแก้ว จึงเอาพระทนั ตธาตฝุ ังไว้ทห่ี าดทราย - เจ้าลงั การบั พระทันตธาตขุ น้ึ ไว้บนปราสาท - พระอรหันต์องค์หนึ่งชื่อพระมหาเถระพรหมเทศ ลง - แล้วก็ให้เจ้าทนทกุมารกลับเมืองทนทบุรี และแต่ง มานมัสการพระธาตุ และท�ำนายว่า “ในหาดทรายชเลรอบน้ี นครให้ท้าวอังกุศราชอย่าท�ำอันตราย ไม่ง้ันจะเป็นศึกกับ เบ้ืองหน้ายังมีพญาองค์หนึ่ง ช่ือพญาศรีธรรมโศกราช จะมา เมืองลงั กา ในรชั กาลท่ี ๔ ประเพณีแห่ผา้ ข้นึ ธาตุมกี ารปฏิบตั ิ ๒ วัน ในวันข้นึ ๑๕ คำ�่ เดอื นสาม (วนั มาฆบชู า) และวันขึ้น ๑๕ คำ่� เดือนหก (วนั วสิ าขบชู า) ปัจจบุ ันนยิ มทำ� กนั ในวันมาฆบชู า 39กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

- เจ้าลงั กาให้มหาพราหมณ์ ๔ คน พาพระบรมธาตมุ า ทนานหน่ึงให้ฝังที่เจ้าสองพี่น้องซ่อนพระทันตธาตุนั้น (หาด ทรายแก้ว) - มหาพราหมณ์แบ่งพระธาตุเป็น ๒ ส่วน “ส่วนหน่ึง ใส่ผอบแก้ว แล้วใส่แม่ขันทองขึ้นฝังท่ีรอยเจ้าสองพี่น้องเคยฝัง พระธาตไุ ว้ แล้วสร้างพระเจดีย์สวม” - อีกส่วนหนึง่ พากลับไปทเ่ี มืองทนทบรุ ี - ยังมีอีกเมืองหน่ึงช่ือเมืองหงสาวดี เจ้าเมืองชื่อพญา- ศรีธรรมโศกราช “อยู่มาเกิดไข้ยุคลมมหายักษ์มาท�ำอันตราย ไพร่พลล้มตายเป็นอันมาก” - พญาศรีธรรมโศกราชพาญาติและไพร่พลลงส�ำเภา มาอยู่ท่ีหาดทรายแก้ว ต้ังเมืองที่หาดทรายแก้วเป็นเมือง นครศรธี รรมราชมหานครและก่อพระเจดยี ์ขึ้น พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชนั้นในหมู่นักวิชาการเช่ือว่า มตี วั ตนจรงิ เปน็ ผสู้ รา้ งพระธาตจุ รงิ แตพ่ ระเจา้ ศรธี รรมาโศกราช มีหลายพระองค์ ถึงขนาดท่ีว่าเคยมีนักวิชาการวิเคราะห์กัน เลยทเี ดยี วว่า เป็นพระเจ้าศรธี รรมโศกราชองค์ไหนทท่ี ำ� สงคราม กับกษัตริย์อยธุ ยาเป็นต้น เรอื่ งในตำ� นานยงั ยดื ยาวไปอกี มตี วั ละครมากมาย ทงั้ เหตุ อศั จรรย์ และการรบราแยง่ ชงิ เมอื งและพระทนั ตธาตุ การกอ่ สรา้ ง พระบรมธาตุ มีเจ้าเมืองต่อมาอีกหลายพระองค์ท่ีคอยก่อสร้าง เพมิ่ เตมิ ซงึ่ ความเปน็ ดงั ทกี่ รมหมนื่ พทิ ยานพิ นธไ์ ว้ คอื หลายจดุ ท่อี ่านได้ไม่เข้าใจและไม่รู้เร่อื ง แต่กม็ ีประโยชน์ต่อการศึกษาถงึ ดา้ นคตชิ นวทิ ยา ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจความคดิ และวถิ ชี วี ติ ของผคู้ นในถน่ิ นี้ แม้จะยังไม่อาจถอดรหสั ที่ซ่อนอยู่ในต�ำนานได้ทง้ั หมด ดงั นน้ั หากตอ้ งการซมึ ซบั อรรถรสของวรรณกรรมทเ่ี ปน็ พระพทุ ธเจา้ และพระโมคคลั ลานะ ในวิหารพระทรงม้า ซง่ึ เปน็ ทางขึ้นไปประกอบ ตำ� นานสำ� คญั ฉบบั น้ี กส็ ามารถหาอา่ นฉบบั นไ้ี ดท้ หี่ อสมดุ แหง่ ชาติ พธิ ีกรรมทางศาสนา เช่น การแหผ่ ้าขึน้ พระธาตุ และยังจดั เป็นประตขู ้นึ ไปสู่ นครศรธี รรมราช ซง่ึ ผอู้ า่ นทต่ี า่ งวฒั นธรรม ตา่ งประสบการณ์ การเคารพสักการะสิง่ สูงสดุ คอื พระทันตธาตขุ องพระพุทธเจา้ จะมโี อกาสไดต้ คี วาม ไดเ้ หน็ ความเชอื่ มโยงระหวา่ งเรอ่ื งจรงิ กบั ตำ� นานในอกี หลายมมุ เชน่ เดยี วกบั พทุ ธศาสนกิ ชนคนไทย อา้ งองิ ควรหาโอกาสไปสักการะพระบรมธาตุที่ย่ิงใหญ่แห่งเมือง นครศรีธรรมราช ให้ได้สัมผัสถึงความงดงามและศักดิ์สิทธ์ิ ต�ำนานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงาน ดว้ ยสายตาและสมั ผสั ของตนเองสกั ครง้ั ในชวี ติ ฌาปนกิจศพ นางยุพิน ไตรภักดิ์. (๒๕๐๓). พระนคร: กรมศิลปากร. 40



กฬี า การละเลน่ กลุ ธดิ า สบื หลา้ เรอ่ื ง กองบรรณาธกิ าร ภาพ ลกอานั กูรชขวขวนา้ า่หงลงงใหล จกั รนิ ทศิ สกลุ ไมอ่ าจละสายตาจากสงิ่ ทเ่ี ขาเพง่ิ ขวา้ งลงไปบนพนื้ วตั ถชุ นิ้ นน้ั รปู ทรงประหลาด จะกลมกไ็ มใ่ ช่ จะรกี ไ็ มเ่ ชงิ แตท่ แ่ี นๆ่ มนั เปย่ี มไปดว้ ยพลงั หมนุ เรว็ จี๋ สะกด ผคู้ นทล่ี อ้ มวงกนั อยจู่ นมอิ าจเผลอไผลแมเ้ พยี งกะพรบิ ตา นี่คือการเล่นลูกข่าง อันที่จริงใครๆ ก็รู้จักลูกข่าง ไมเ่ ฉพาะผชู้ ายชาวเชยี งรายเชน่ จกั รนิ แตด่ เู หมอื นคนไทย ท่ัวทุกภูมิภาคก็เรียกเจ้าวัตถุชิ้นน้ันคล้ายๆ กัน แล้วยังมี วธิ เี ลน่ ไมแ่ ตกตา่ งกนั มากนกั ทุกๆ วนั เสาร์และอาทติ ย์ สมาชกิ สมาคมลกู ข่างแห่งประเทศไทย จะรวมตัวกนั ที่สวนตงุ และโคม บริเวณถนนคนเดินเชียงราย เพอื่ เล่นลกู ขา่ งหลากหลายชนดิ ซ่งึ มกี ารเติบโตของจ�ำนวนสมาชกิ เพ่มิ ขนึ้ เรือ่ ยๆ 42



จกั รนิ ทศิ สกุล และสมาชิกสมาคมลกู ข่างแหง่ ประเทศไทย สาธติ การเล่นบา่ ขา่ งพญามงั ราย ประเภทหนงึ่ ของการละเล่นลกู ขา่ ง ทีเ่ กือบตกหล่นสญู หายไปตามกาลเวลา (ยอด เนตรสุวรรณ ภาพ) จักรินเล่นลูกข่างมาตั้งแต่เป็นเด็กชาย เห็นตา หลากหลายชนิดของลูกข่าง ตง้ั แตร่ ูปทรงแบบงา่ ยๆ กับพ่อเล่นลูกข่างมาตลอด ซึมซับรับรู้วิธีการเล่นโดย ไปจนถงึ แบบขัดเกลาประณีต และแบบมเี ดือยตะปซู ง่ึ เปน็ ที่ค้นุ เคยกนั ไม่ต้องสอน เดก็ ๆ จะขอให้พ่อท�ำลกู ข่างให้ เน้นไปที่ ไม้ฝรัง่ โดยเฉพาะ เพราะได้ทั้งความเหนียว แล้วยังได้ เสยี งดงั “หวง่ึ ๆๆ” ไว้ข่มคู่ต่อสู้อีกต่างหาก พ่อจะให้ ลูกชายก�ำมือเพื่อท�ำลูกข่างให้มีขนาดเท่าก�ำปั้นของ เดก็ ชาย จากนนั้ ใชต้ ะปทู ำ� เดอื ย หากเปน็ ลกู ขา่ งสายตอ่ สู้ เดือยจะยาว เพราะเดอื ยยาวจะทำ� ให้ลกู ข่างไม่นิง่ จนกลายเป็น เปา้ ทวา่ การใสเ่ ดอื ยกต็ อ้ งตงั้ จดุ ศนู ยก์ ลางใหด้ ี ขน้ั ตอนนจ้ี งึ ตอ้ ง อาศัยความช�ำนาญพอสมควร ใช้เวลาแค่วันสองวัน ลูกข่าง ที่เสร็จสมบูรณ์ก็พร้อมมอบให้ลูกชาย ส�ำหรับเด็กต่างจังหวัด ท่ีมีลานดินกว้างๆ อยู่ในบริเวณบ้าน ไม่มีอะไรสนุกไปกว่า การนดั แก๊งเพื่อนมา “สบั บา่ ขา่ ง” อีกแล้ว 44

ลกู ข่างและสายเชอื กถกั แบบโบราณ สมาชกิ สมาคมลูกขา่ งแหง่ ประเทศไทยสาธิตการพกพาลกู ขา่ งแบบโบราณ ขว้างลูกข่างของตนเองเข้าไปสับ ขณะที่คนอ่ืนๆ พากันลิงโลด ซึ่งเชอื่ กันว่าลกู ขา่ งน้ันพัฒนามาจากอาวธุ ล่าสตั วใ์ นอดีต ผู้เป็นเจ้าของย่อมหน้าเสีย เพราะน่ันหมายถึงศักด์ิศรีที่พลอย ยับเยินไปด้วย ไม่เพียงเท่านนั้ หากลกู ข่างไม่แตกพงั ไปกลางวง “คนเชียงรายเล่นกันโหดครับ” จักรินเล่าพลางย้ิม “เรา กจ็ ะปรากฏรว้ิ รอยการโดนสบั หวั ที่จะถูกล้อเลียนไปตลอด เรียกกนั ว่าสบั บ่าข่าง คอื เล่นให้แตกกนั ไปข้างหนง่ึ ” ทวา่ ในความโชครา้ ย บางครงั้ จะเผยมติ รภาพเลก็ ๆ ออกมา ลูกข่างพัฒนามาจากอาวุธที่คนสมัยก่อนใช้ในการ เม่ือมีเพื่อนอาสาปกป้องลูกข่างของเรา ด้วยการใช้ลูกข่างของ ล่าสัตว์ จักรินยังเช่ืออีกว่าการสับบ่าข่างของชาวเชียงราย ตนเองกันลูกข่างของเราให้ออกมานอกวงเร็วที่สุด ก่อนลูกข่าง คือรูปแบบการเล่นของเหล่าลูกหลานท่ีมีเช้ือสายพญามังราย โชคร้ายจะกลายเป็นเป้านิ่งโดนสบั จนขายหน้าไปท้งั บาง เช้ือสายนักรบ จักรินเปรียบการขว้างลูกข่างท่ีต้องเหยียดแขน ข้ึนจนสุดแล้วจึงขว้างอย่างสุดแรงว่าเหมือนกับการฟันดาบ “บ้านไหนมีเด็กเล่นลูกข่างไปดูเถอะครับ กระจกแตก ของนักรบผู้กล้าแกร่ง ทงั้ นนั้ เราจะตอ้ งไปหาซอ้ื โปสเตอรด์ ารามาปดิ ทบั แตล่ ะบา้ นจงึ มี โปสเตอร์ดารากนั แทบทุกบ้าน” จกั รินหัวเราะ กอ่ นอน่ื ใครบางคนตอ้ งทำ� ตวั เหมอื นอปุ กรณเ์ ครอ่ื งเขยี น ที่เรียกว่า วงเวียน ด้วยการน่ังลงใช้ตนเองเป็นศูนย์กลาง “นอกจากความสนุกตามประสาเด็กต่างจังหวัดแล้ว เหยียดแขน แล้วหมุนตัวขีดวงกลมวงหนึ่ง จากนั้นทุกคนก็ ผมว่ามันเป็นการออกก�ำลังกายท่ีดีนะครับ เพราะหลังจาก ขว้างลูกข่างของตนเองเข้าไปในวง เสยี งดงั หวงึ่ ๆๆ หากลกู ข่าง เลิกเล่นไปนาน พอมารื้อฟื้นเล่นใหม่เมอื่ ปี ๕๑ กลบั บ้านหวั ถึง ของใครเกดิ พลาดทา่ ไมย่ อมหมนุ กจ็ ะถกู จบั หงายเพอ่ื ใหค้ นอนื่ หมอนกห็ ลบั เป็นตายเลย” นอกจากได้ออกก�ำลังกาย จักรินยงั แจงขอ้ ดขี องการเลน่ ลกู ขา่ งดว้ ยวา่ ไดท้ ง้ั สติ สมาธิ และสขุ ภาพ “ลูกข่างเป็นกีฬาที่มี movement คือต้องเคลื่อนไหว ร่างกายเพ่ือคอยปรับระยะลูกข่าง นอกจากน้ียังได้เรียนรู้ ความหมายของค�ำว่าสปิรติ ด้วยครับ” หลงั จากเรม่ิ เลน่ กเ็ รมิ่ รกั จกั รนิ ตระหนกั วา่ การเลน่ ลกู ขา่ ง เริ่มถดถอยออกไปจากการรับรู้ของคนเชียงรายทุกขณะ เขาจึง ต้ังชมรมลกู ข่างเชยี งรายในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ทกุ วันเสาร์-อาทิตย์ ณ ลานเล็กๆ หน้าสวนตุงและโคมในตัวเมืองเชียงราย จักริน และ อสิ รยี ์ คำ� วงั ภรรยา พรอ้ มดว้ ยพลพรรคคนรกั ลกู ขา่ งในนาม 45กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙

การละเล่นลูกขา่ งของ สมาชิกสมาคมลูกข่าง แหง่ ประเทศไทยจะเริม่ ตน้ ดว้ ยการขีดเสน้ วงกลม เพ่อื กำ� หนดขอบเขตและ เปา้ หมายการประชัน ลกู ขา่ งกนั โจ๊ะ คือ การใช้สายเชอื กรอ้ ยรดั ลกู ขา่ งท่กี �ำลงั หมุนวน แลว้ กระตุกให้ลอยขนึ้ กอ่ นใชม้ อื รวบลูกขา่ งไว้ เป็นท่วงทา่ พื้นฐานของการละเลน่ ลูกขา่ งทดี่ ูเหมอื นงา่ ย หากต้องอาศยั จงั หวะและความชำ� นาญพอควร 46

ชมรมลูกข่างเชียงราย จะมาเล่นลูกข่างกันเป็นประจ�ำ เพื่อ เชอื่ มใจพนี่ อ้ งในทกุ ภมู ภิ าค โดยเรมิ่ ตน้ ทภี่ าคเหนอื กอ่ น ดว้ ยการ นำ� เสนอกฬี าภมู ปิ ญั ญาไทยชนดิ นใี้ หค้ นอน่ื ๆ ไดร้ จู้ กั กอ่ นวนั เวลา ไปสาธติ การเล่นลกู ข่างเวลามงี านด้านวฒั นธรรม กระทงั่ นำ� มา จะทำ� ให้หลายคนลมื ความสนุกในวยั เด็กไปอย่างน่าเสยี ดาย ซึง่ การจดั การแข่งขันลูกข่างหลายครั้ง บรรดาคนรักลูกข่างในนามชมรมลูกข่างเชียงรายจะ ล่าสุดกระทรวงวัฒนธรรมได้ประกาศให้ “ลูกข่าง” เตรียมลูกข่างมาให้ผู้ชมลองเล่น มีทั้งขนาดเล็ก-กลาง-ใหญ่ เป็น ๑ ใน ๔ รายการที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญา มีชนิดของลูกข่างท่ีเรียกว่า ลูกข่างเชียงรายและบ่าข่างพญา- ทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๘ สาขากีฬา มงั ราย มาสาธติ ใหช้ ม ลกู ขา่ งเชยี งรายนน้ั เราตา่ งคนุ้ ตากนั ดอี ยู่ ภูมิปัญญาไทย ซ่ึงนับเป็นหนทางหน่ึงในการปกป้อง คุ้มครอง แต่บ่าข่างพญามังรายน้ันดูแปลกตา ด้วยรูปทรงหนาหนักของ และเป็นหลักฐานส�ำคัญของประเทศในการประกาศความเป็น เนื้อไม้ มันจึงดูอุ้ยอ้ายใหญ่โต ทว่าบ่าข่างพญามังรายก็สร้าง เจ้าของมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม ความน่าตื่นตาตื่นใจให้กับผู้ชมด้วยเสียงอันดังยามขว้างลงไป แล้วยังสามารถเล่นได้ทงั้ แบบเล่นสับ คอื การเอาเดอื ยเหล็กลง เสยี งหวงึ่ ๆๆ ยงั คงดงั อยหู่ นา้ สวนตงุ และโคมในวนั ที่ และเล่นล่อ คือ การหงายเอาส่วนหัวลง ซึ่งส่วนหัวน้ีเป็นไม้ มีถนนคนเดินเชียงราย จักรินและผองเพื่อนขว้างลูกข่าง แต่จะถกู เกลาจนแหลมคล้ายเดือยเช่นกนั ออกไปซำ้� แลว้ ซำ้� เลา่ ดว้ ยแววตาเปน็ ประกายราวกบั วา่ นคี่ อื การขว้างครั้งแรกในชีวิต บางทีพวกเขาอาจท�ำด้วยความ นอกจากการสับบ่าข่าง หรือเล่นให้แตกกันไปข้างหน่ึง หลงใหล แตบ่ อ่ ยครงั้ เหมอื นพวกเขาไมอ่ าจนงิ่ นอนใจไดว้ า่ ตามรูปแบบของชาวเชียงราย พลพรรคคนรักลูกข่างก็ยังโชว์ ลกู ขา่ งจะไมถ่ กู ลมื เลอื นไปจากสงั คมเมอื งจรงิ ๆ การเล่นลูกข่างในมือรวมถึงการโจ๊ะ ซ่ึงคล้ายค�ำอุทานแสดง ความดใี จ โดยเมือ่ ลกู ข่างหมนุ ออกมานอกวงทกุ ลกู แล้ว ผู้เล่น 47กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙ แต่ละคนต้องรีบพันเชือกแล้วดึงลูกข่างของตนขึ้นมาไว้ในมือ พร้อมกับพูดค�ำว่า “โจ๊ะ” ให้เร็วท่ีสุด น่ันเพราะใคร “โจ๊ะ” เป็นคนสุดท้ายจะกลายเป็นผู้แพ้ในทันที การโจ๊ะเรียกเสียง ฮือฮาจากคนดูเป็นระยะ คร้ันขอให้ลองเล่นดู กลับได้รับการ ปฏเิ สธ โดยเฉพาะพวกผู้ใหญ่ ส่วนเด็กๆ ไม่มีปัญหา พวกเขา พร้อมจะเรียนรู้ บางคนสอนคร้ังเดียวก็ขว้างได้ ขณะที่บางคน สอนเท่าไรก็เล่นไม่เป็นสักที “เราพบว่าคนส่วนใหญ่อายท่ีจะ เลน่ ลกู ขา่ งครบั ” จกั รนิ โคลงศรี ษะ “ผมวา่ เขาเล่นเป็น แต่ไม่กล้าเล่น เพราะกลัว เสยี ภาพพจน์” แม้หลายคนอายที่จะเล่นด้วย เหตุผลอะไรก็ตาม แต่ส�ำหรับชมรมลูกข่าง เชียงราย พวกเขาพร้อมไปเล่นลูกข่างทุกที่ ทุกเวลา ท�ำทุกอย่างเพื่อให้ลูกข่างเข้าไป อยู่ในใจของผู้คนมากที่สุด จักรินดำ� เนินการ ผลักดันให้ชมรมฯ เป็นสมาคมลูกข่างแห่ง ประเทศไทย เขาวางแผนใช้ลูกข่างเป็นสะพาน

ประเพณี จกั รพนั ธ์ุ กังวาฬ เรอ่ื ง สายัณห์ ชื่นอุดมสวสั ดิ์ ภาพ บญุ บง้ั ไฟอสี าน การทวงสัญญาจากผืนดินสู่สวรรค์ “บง้ั ไฟลกู บา้ นใต้ ขอใหข้ น้ึ สงู ๆ ลงซา้ ๆ ทำ� เวลา ไดห้ ลายๆ ...” ยังไม่ทันส้ินเสียงโฆษกประกาศนับถอยหลังผ่าน ลำ� โพง “บงั้ ไฟแสน” ทรงกระบอกยาวประมาณ ๔ เมตร ที่ติดต้ังบนค้างหรือฐานสูงเทียบตึก ๓ ช้ันก็แผดเสียง กึกก้องกัมปนาท พ่นกลุ่มควันขาวคลุ้งหนาทึบออกไป รอบบริเวณ น่าตื่นตาตื่นใจราวกับภาพข่าวการปล่อย จรวดของนาซา่ ทเ่ี คยเหน็ ในโทรทศั น์ กอ่ นทแ่ี รงอดั มหาศาล จะขบั ดนั บงั้ ไฟลกู นน้ั ใหพ้ งุ่ ลวิ่ สทู่ อ้ งฟา้ สงู ขนึ้ ไปจนสดุ สายตา ทงิ้ เสน้ ควนั สขี าวเปน็ สายยาวเหยยี ด ทา่ มกลาง เสียงปรบมือโห่ร้องยินดีปรีดาของกลุ่มคนที่มาร่วมชม รว่ มเชยี รค์ กึ คกั ข้างต้นคือภาพบรรยากาศการแข่งบ้ังไฟข้ึนสูง ภายในงานประเพณีบุญบั้งไฟจังหวัดยโสธร ประจำ� ปี ๒๕๕๙ ซึ่งจัดข้ึนระหว่างวันท่ี ๙-๑๕ พฤษภาคมที่ ผา่ นมา ๑ ๑ การประกวดจุดบงั้ ไฟที่จงั หวัดยโสธรเปน็ งานที่มชี ื่อเสยี งระดับประเทศ ๒ บญุ บง้ั ไฟเปน็ ประเพณสี ำ�คัญของชาวอีสานตามความเช่อื นิทานพน้ื บ้าน 48 เรอ่ื งพญาคนั คากกับพญาแถน บ้ังไฟท่ถี ุกจุดยงิ ขึน้ ฟา้ ไปเสมือนหนง่ึ เป็น สัญญาณว่าฤดูกาลไดผ้ ลดั เปลย่ี นมาถึงหน้าฝนแล้ว พญาแถนซงึ่ มหี น้าที่ ดแู ลฟา้ ฝนให้ตกต้องตามฤดกู าลกจ็ ะประทานฝนใหต้ ามคำ�เรียกขอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook