Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือครอบครัวต้องมาก่อน

หนังสือครอบครัวต้องมาก่อน

Description: หนังสือครอบครัวต้องมาก่อน

Search

Read the Text Version

ค ครวัรอบFamily comes First ตอ้ งมาก่อน กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2559 www.owf.go.th 1 การใช้ชวี ติ คู่ 17 การเตรียม 29 กดาูเดรเก็ลี้ยง ความพร้อม ส�ำ หรับพ่อแมย่ ุคใหม่ 65 ทกั ษะชวี ิต 83 ครอบครวั ครอบครวั กบั สังคม

หนังสือ เรื่อง ครอบครัวต้องมาก่อน (Family comes first) จดั ทำโดย กรมกจิ กำรสตรีและสถำบันครอบครวั กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมัน่ คงของมนษุ ย์ ประธานที่ปรึกษา รัฐมนตรวี ่ำกำรกระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมนั่ คงมนษุ ย์ (พลตำรวจเอก อดลุ ย์ แสงสิงแก้ว) ปลดั กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมม่ันคงมนษุ ย์ (นำยไมตรี อนิ ทุสุต) ที่ปรึกษา อธบิ ดีกรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั (นายเลิศปญั ญา บรู ณบณั ฑิต) รองอธบิ ดีกรมกจิ การสตรีและสถาบันครอบครวั (นางสาววนั เพ็ญ สุวรรณวสิ ฏิ ฐ์) รองอธบิ ดีกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (นายวิศิษฐ์ เดชเสน) คณะผูจ้ ัดทา/เรยี บเรียง หวั หน้าคณะผ้จู ดั ทา คณะผูจ้ ัดทา นางถริ วดี พุม่ นคิ ม คณะผจู้ ัดทา ปฏิบตั ิหนา้ ทผี่ ู้อานวยการกองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน นางสาวศยามล ลัคณาสถิตย์ ผู้อานวยการกลมุ่ วิจยั และติดตามประเมนิ ผล นางสาวมนตร์ ิสสา โรจน์วดีภิญโญ (ช่ือเดิมนางสาวปภาดา ชโิ นภาษ) นกั พฒั นาสงั คมชานาญการ กลมุ่ วิจยั และติดตามประเมินผล ขอ้ มลู ทำงบรรณำนุกรมของสำนกั หอสมดุ แหง่ ชำติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั . ครอบครัว...ตอ้ งมาก่อน (Family comes first).-- กรุงเทพฯ : กรม, 2559. 108 หน้า. 1. ความสัมพันธ์ในครอบครัว. I. ชื่อเร่ือง. 306.87 ISBN 978-616-331-049-1 พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย จำนวนพิมพ์ : 10,000 เล่ม ปีท่ีพิมพ์ : 2559 พิมพ์คร้ังท่ี 1 กรมกิจกำรสตรีและสถำบันครอบครัว กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์ 255 ถนนรำชวิถี แขวงทุ่งพญำไท เขตรำชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์/โทรสำร 0 2306 8633 และ 0 2306 8858 http://www.dwf.go.th

คำปรำรภ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ หลายทศวรรษที่ผ่านมา กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกที่มุ่งเน้น การพัฒนา เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และคมนาคมขนส่ง โดยขาดการคานึงถึง ผลกระทบที่มีต่อบุคคล ครอบครัว สังคม และสิ่งแวดล้อม การพัฒนาตามระบบ ทุนนิยมท่ีก่อให้เกิดกระแสบริโภคนิยมซึ่งเห็นความสาคัญของ “วัตถุ” มากกว่า “คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์” และมากกว่า “คุณค่าด้านจิตใจ” ได้นาไปสู่การเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิตในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการทางาน และความรับผิดชอบที่มีต่อครอบครัว ผลก็คือ คนเติบโตขึ้นมา แบบขาดหลักคิดคุณธรรมและจริยธรรมในการดาเนินชีวิตที่ดี สถาบันทางสังคม ซ่ึงรวมถึงสถาบันครอบครัวอ่อนแอลง ปรากฏการณ์ความเส่ือมถอยด้านคุณธรรมและจริยธรรม เห็นได้ชัดเจนจากการที่สังคมไทยทุกวันนี้มีข่าวการกระทา ความรุนแรงในครอบครวั และอาชญากรรมทง้ั ทางโทรทศั น์ วิทยุ หนงั สอื พิมพ์ และโซเชยี ลมีเดีย ไมเ่ ว้นวัน และมแี นวโน้มเพมิ่ มากขึน้ ในฐานะท่ีผมรับผิดชอบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (พม.) ซ่ึงมีภารกิจหลักในการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาค รวมทั้งการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิตให้สถาบันครอบครัวและ ชุมชน ผมคิดว่าถึงเวลาแล้วที่ทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องต้องลุกขึ้นมาดูแล และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมอย่างจริงจัง ที่สาคัญ ต้องเปลี่ยนทัศนะการมองจาก “เขา (คนอื่น) ยังไม่ทา” หรือ “เขา (คนอื่น) ทาดีแล้วหรือไม่” เป็น “เราทาดีแล้วหรือยัง” เมื่อน้ัน สังคมถึงจะเดินหนา้ ตอ่ ไปได้ โดยแต่ละภาคสว่ นท่เี ก่ียวข้องควรกลบั ไปทบทวนบทบาทหน้าทขี่ องตนและทาให้ดีทส่ี ดุ กล่าวคือ สถาบนั ครอบครวั ซง่ึ เปน็ สถาบันท่ีเลก็ ทีส่ ุดแต่มีความสาคัญที่สุด พ่อแม่และผู้ปกครองควรทาบทบาทหน้าที่ในการดูแล เลย้ี งดแู ละอบรมส่งั สอนลูกหลานให้เตบิ โตเปน็ คนดีมีคณุ ภาพ และสามารถใชช้ ีวติ ในสงั คมปจั จุบนั ได้อยา่ งมคี วามสุข สถาบนั การศกึ ษา ควรใหค้ วามสาคัญกับการอบรมสัง่ สอนคณุ ธรรมจริยธรรม และทกั ษะชีวิตใหก้ ับเดก็ และเยาวชน ชมุ ชนและแกนนาชุมชน ควรจัดการให้สามารถพ่งึ พาตนเองในชมุ ชนได้ ทัง้ การปอ้ งกนั ชว่ ยเหลือ และแก้ไขปญั หาต่าง ๆ ภายในชุมชน ภาครัฐ ควรปรบั ตวั ใหส้ ามารถทางานในฐานะหนว่ ยงานทต่ี อ้ งดแู ลทกุ ข์สุขของประชาชนไดอ้ ยา่ งแท้จริง ผูป้ ระกอบการ ควรทาธุรกิจการค้าที่คานึงถึงคุณภาพชีวิตของบุคลากร ลูกค้า สังคม รวมถึงสิ่งแวดล้อมให้มากขึ้น ไม่ม่งุ หวงั เพียงผลกาไรเพยี งอยา่ งเดียว ส่อื มวลชน ควรปรับรปู แบบการนาเสนอสอ่ื ทม่ี ีความตระหนักรบั ผิดชอบต่อสงั คมมากขนึ้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ได้จัดทาหนังสือเรื่อง “ครอบครัว...ต้องมาก่อน (Family comes first)” ข้ึน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของครอบครัว ทั้งน้ี ผมเช่ือว่า คู่สามีภรรยา พ่อแม่ผู้ปกครอง และสมาชิกในครอบครัวท่ีได้อ่าน หนังสือเล่มนี้ จะได้รับความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตครอบครัว และเป็นประโยชน์ต่อการดูแลเลี้ยงดูและอบรมสั่งสอน บุตรหลาน และคาดหวงั ว่าหนงั สือเลม่ นีจ้ ะเป็นความรู้เบ้ืองตน้ ท่จี ะเปน็ ประโยชน์ต่อการทางานของภาคีเครือข่ายการทางานในชุมชน พนื้ ท่ไี ด้เปน็ อย่างดี ท้ายที่สุดนี้ ผมเห็นว่าถึงเวลาแล้วที่ทุกภาคส่วนควรมีการบูรณาการการทางานตามบทบาทหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด เพื่อร่วมกันลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรม พัฒนาสังคมอย่างย่ังยืน เพ่ือประโยชน์สุขของเรา ครอบครัวของเรา และ สังคมไทยทร่ี ักของเราทกุ คน ด้วยความปรารถนาดี พลตารวจเอก (อดุลย์ แสงสิงแก้ว) รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์

เจตนำรมณ์ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ข้าราชการ พม. ยุคใหม่ ตอ้ งปรบั เปลีย่ นการวางตน การปฏบิ ตั ติ นท่เี คยคดิ วา่ อยเู่ หนือคนอน่ื ปรบั เป็นวา่ แท้จรงิ เราทัดเทยี มกนั หาความรว่ มมอื อ่อนนอ้ ม และถ่อมตน สร้างและขยายภาคเี ครือขา่ ย ผกู สัมพันธท์ ี่ดี และต่างช่วยเกอ้ื หนนุ ที่สาคัญ ข้าราชการตอ้ งเป็นคนดีและคนเก่ง (สจุ รติ เสยี สละ สามคั คี สะอาด สามารถ สมดลุ สรา้ งสรรค์) หนว่ ยงานภายใน พม. ยคุ ใหม่ ตอ้ งปรบั เปล่ียนการทางาน คือ ตอ้ งปรับเปลีย่ นจากผ้ปู ฏิบตั ิ ไปเปน็ ผเู้ อื้ออานวยใหป้ ฏิบตั ิ เปล่ยี นจากผคู้ วบคมุ ไปเปน็ ผรู้ กั ษากติกา เปลย่ี นจากผูก้ ากบั ควบคุม ไปเปน็ ผูก้ ระตนุ้ ส่งเสริม ทีส่ าคัญ การทางานของ พม. ต้องมีภาคชี ว่ ยในการขับเคลือ่ นงาน ภาคราชการ ภาคเอกชน ภาคทอ้ งถนิ่ ภาคประชาสงั คม ภาควชิ าการ ภาคสอ่ื มวลชน และภาคการเมอื ง โดยพิจารณาว่า เครอื ข่ายของเราเป็นใครบ้าง และเราจะเขา้ ไปทางานกบั เขาอยา่ งไร การทางานของ พม. ต้องมงุ่ มน่ั ที่จะทางานใหส้ าเร็จ (Outcomes) ไมใ่ ช่เพยี งทาเสรจ็ (Output) แลว้ กผ็ ่านไป เพราะการทางานตอ้ งเกิดประโยชน์ตอ่ ราชการ และสามารถตอบคาถามได้วา่ “ชาวบ้านจะได้ประโยชน์อะไรจากงานที่ทา” เชน่ การจดั ทาหนงั สือเรอ่ื ง “ครอบครัว...ต้องมากอ่ น (Family comes first) นี้ กระทรวงจัดทาขึน้ เพ่ือเป็นความรู้เบ้ืองต้นที่ประชาชนจะสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ทันที ที่สาคัญ จะเป็นความรู้เบ้ืองต้นท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการทางานด้านครอบครัวของภาคีในชุมชนพ้นื ทอี่ ีกดว้ ย ท้ังนี้ ในการทางานกระทรวง พม. จะใหค้ วามสาคญั กับการสง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพของภาคแี กนนาในชุมชน เพอ่ื ใหแ้ กนนาของชุมชนมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะท่ีจาเปน็ ในการจดั การ & พง่ึ พาตนเองในชมุ ชนได้ และสามารถทางานป้องกัน ชว่ ยเหลอื และแก้ไขปญั หาตา่ ง ๆ โดยเฉพาะปัญหาครอบครวั ในพน้ื ทข่ี องตน ซึง่ จะเป็นแนวทางการพัฒนาทสี่ ร้างความเข้มแขง็ มนั่ คง และย่ังยนื อย่างแทจ้ ริง (นายไมตรี อนิ ทุสตุ ) ปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

คำนำ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้จัดทาหนังสือ เรื่อง “ครอบครวั ...ตอ้ งมาก่อน (Family comes first)” นี้ขนึ้ เพ่อื ให้คู่สามีภรรยา ไดศ้ กึ ษาเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตคู่ พ่อแม่และผู้ปกครองได้ศึกษาเรียนรู้เก่ียวกับ การเลี้ยงดูเด็ก สมาชิกในครอบครัวทุกคนได้เรียนรู้เกี่ยวกับทักษะชีวิตครอบครัว ทจ่ี าเป็น และเปน็ การเสนอมมุ มองในฐานะท่ีครอบครวั เป็นส่วนหนึง่ ของสงั คม หนังสือเร่ือง “ครอบครัว...ต้องมาก่อน (Family comes first)” จัดทาเปน็ บทความทีแ่ ต่ละเร่ืองมีเน้ือหาสน้ั กระชับ อ่านเข้าใจได้ง่าย เหมาะสาหรับ ผู้ไม่ค่อยมีเวลา หรือ ไม่ค่อยชอบอ่านหนังสือยาว ๆ หรือซับซ้อนมากนัก ดังน้ัน ความรู้ที่ได้เรียบเรียงขึ้นนี้ จึงเป็นความรู้เบ้ืองต้นท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ ทันที โดยมีเนื้อหาที่จะช่วยให้ชีวิตคู่ของสามีภรรยามีความราบร่ืน พ่อแม่ ผู้ปกครองสามารถนาไปใช้ในการดูแลเลี้ยงลูกให้เติบโตเป็นคนดีมีคุณภาพ ของสังคมได้ อย่างไรก็ตาม สาหรับครอบครัวที่มีปัญหามากหรือซับซ้อนควรต้อง ศึกษาหาความร้จู ากแหล่งข้อมลู สารสนเทศท่ีมีความละเอยี ดลึกซง้ึ เพิม่ เตมิ ทั้งนี้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์หวังเป็น อย่างยิ่งว่าหนังสือเรื่อง “ครอบครัว...ต้องมาก่อน (Family comes first)” น้ี จะเป็นประโยชน์สาหรับคู่สามีภรรยา พ่อแม่ผู้ปกครอง และสมาชิกทุกคน ในครอบครัวท่ีจะใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างอบอุ่นและมีความสุข โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีความคาดหวังว่าจะเป็นความรู้เบื้องต้นที่เป็นประโยชน์ต่อการทางานของภาคี เครือข่ายการทางานในชมุ ชนพน้ื ทไี่ ด้เป็นอย่างดี (นายเลศิ ปญั ญา บรู ณบณั ฑติ ) อธิบดกี รมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครัว

สารบัญ หนา้ คำปรำรภ ของ รัฐมนตรวี ่ำกำรกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์ 1 7 เจตนำรมณ์ ของ ปลดั กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์ 10 14 คำนำ 17 สำรบัญ 19 21 ส่วนท่ี 1 กำรใช้ชวี ิตคู่ 24 ทำควำมเข้ำใจ...ธรรมชำติของหญงิ และชำย 26 หลักกำรครองชีวิตคู่ 21 ขอ้ กำรสื่อสำรกับกำรใชช้ ีวติ คู่ 29 ชีวติ คู่ กบั กำรจดั กำรควำมขัดแย้ง 34 39 สว่ นที่ 2 กำรเตรียมควำมพร้อมสำหรบั พอ่ แม่ยคุ ใหม่ 43 ครอบครัวกบั บทบำทหนำ้ ทใี่ นกำรดูแลเลยี้ งดูและอบรมสัง่ สอนควำมเป็นมนษุ ยใ์ หก้ ับบุตรหลำน 45 ควำมสำคัญของคณุ พ่อทม่ี ีตอ่ ลกู 50 เรอื่ งสำคัญท่ีคุณพ่อคณุ แม่ตอ้ งปฏิบตั ิ 53 ขอ้ แนะนำ...สำหรบั คณุ พอ่ คณุ แมม่ ือใหม่ 55 พ่อแมค่ วรสอนอะไรเจำ้ ตวั เลก็ 59 ส่วนที่ 3 กำรเลี้ยงดูเด็ก 65 ควำมสำคญั ของ...นำ้ นมแม่ 66 “กำรเล่น” หนำ้ ท่ที ีส่ ำคญั ของเด็ก ๆ 68 ทำไมเดก็ ถงึ ร้องไห้ 74 วธิ ดี แู ลเด็ก... เมอ่ื อำกำศรอ้ นจัด 77 “ลูกทะเลำะกนั ” ปัญหำท่ีดเู ล็ก แต่...ไมเ่ ลก็ วธิ กี ำรฝึกวินยั ใหก้ บั เด็ก 83 วิธีส่งเสรมิ ลกู ใหเ้ รยี นเก่ง 97 ทำควำมเข้ำใจ : ทำไมเด็กชอบแต่งตัว ครอบครัว กับ กำรแกไ้ ขปัญหำเด็กตดิ เกม ส่วนท่ี 4 ทักษะชีวิตครอบครัว กำรทำบทบำทหน้ำท่ขี องสมำชิกในครอบครวั แนวทำงกำรเสริมสรำ้ งครอบครัวเขม้ แขง็ ...สำหรับประชำชน 8 วิธีสร้ำงครอบครวั เป่ียมสขุ วิธสี ร้ำงควำมสมดุลระหวำ่ งชีวิตกำรงำนและครอบครัว กำรจดั กำรงำน เงนิ และงำนบ้ำน ส่วนท่ี 5 ครอบครัวกบั สังคม ทำควำมเข้ำใจ...ทำไมสงั คมไทยและครอบครวั ไทย...ถึงวกิ ฤต ? ครอบครัว กบั ประชำคมอำเซียน

ทำความเขา้ ใจ… ธรรมชาติ ของหญิง และชาย ธรรมชาติสร้างให้มนุษย์มีเพศหญิงและชาย สร้างให้มีความแตกต่าง ในด้านชวี ภาพ ซ่ึงส่งผลใหห้ ญิงและชาย มีความแตกต่างกนั ในหลาย ๆ ดา้ น … โดยท่ัวไป การใชช้ ีวิตคจู่ ะเปน็ การอยรู่ ว่ มกันของหญงิ และชาย ดังน้นั การทำความเข้าใจลักษณะทางธรรมชาติระหว่างเพศ น่าจะมีประโยชน์ ในการชว่ ยใหก้ ารใช้ชวี ิตคมู่ คี วามม่นั คงข้นึ กลา่ วไดว้ า่ ปญั หาหลายประการในการใชช้ วี ติ คเู่ กดิ จากความแตกตา่ ง ระหว่างเพศ ซ่ึงหากจะอธิบายด้วยเหตุผลแล้ว ในเบื้องต้น คงอธิบายได้ว่า เป็นเพราะเพศหญิงและชายมีความแตกต่างกันทางชีวภาพ เริ่มต้ังแต่ระดับ โครโมโซมซึง่ เปน็ องค์ประกอบพ้นื ฐานของเซล (หญิงมโี ครโมโซม XX ขณะทช่ี าย มโี ครโมโซม XY) และความแตกตา่ งทางชีวภาพอ่นื ๆ จงึ สง่ ผลต่อจิตใจ ความคิด ตลอดจนพฤติกรรมของหญิงและชายที่แตกต่างกัน ดังนั้น การอยู่ร่วมกัน ของหญิงและชายหากไม่เกดิ ปัญหาใด ๆ ข้ึน ก็คงจะแปลกและเปน็ ไปได้ยากยิง่ การศึกษาและทำความเข้าใจความแตกตา่ งระหวา่ งเพศให้ถ่องแท้ บางทปี ัญหา หรอื ข้อสงสัยที่อย่ใู นใจอยา่ งมากมาย อาจคลคี่ ลาย หรอื …หมดไปเลยก็เป็นได้ ความแตกตา่ งของหญงิ และชาย ไดแ้ ก่ ดา้ นชวี ภาพ (สรรี ะร่างกาย, โครโมโซม, ฮอรโ์ มน ฯลฯ) ด้านความคดิ ความร้สู กึ ทัศนคติ ความต้องการ พฤตกิ รรมการแสดงออก วธิ กี ารปรับตวั วธิ ีการแกป้ ัญหา วธิ ีจดั การ กบั ความเครียด วิธีการสรา้ งความผกู พนั วิธกี ารสอื่ สาร และ วิธีการแสดงออกซ่ึงความรัก เป็นตน้ 1

ลตขกัารอษางงณชเปาระียยทบาหเทงยีญชบวี ิงภาพ สรีระรา่ งกาย โครงรา่ งใหญ่กว่า โครงรา่ งเล็กกว่า กลา้ มเนื้อ/กระดูกโตกว่า ไขมันมากกว่า ชว่ งบา่ และอกกวา้ ง มีหนา้ อก แขนใหญ่ มสี ว่ นเวา้ และโคง้ ของร่างกาย เอวใหญ่ แขนและเอวเลก็ กว่า สะโพกเล็กกวา่ สะโพกใหญก่ วา่ ระบบต่อมไร้ท่อ / ฮอร์โมน ต่อมธัยรอยด์เลก็ กวา่ ตอ่ มธัยรอยด์โตกวา่ และทำงานมากกว่า (ฮอรโ์ มน ธัยรอยดน์ ้อยทำให้ (ฮอร์โมนธยั รอยดท์ ำให้ผวิ พรรณดูเรยี บ ผิวพรรณดไู มเ่ รียบเนียน ขนมาก ขนนอ้ ย และมคี วามขึ้นลงของอารมณ์ และสง่ ผลใหม้ ีความขึ้นลง มากกว่า) ทางอารมณ์น้อยกว่า) ความทนของร่างกาย อดทนอณุ หภมู สิ งู ได้นอ้ ยกวา่ อดทนอณุ หภมู สิ งู ได้ดีกวา่ มคี วามสขุ มุ นิง่ มากกว่า มคี วามกระฉับกระเฉง เคลือ่ นไหว มอี ายุเฉล่ยี สน้ั กวา่ มีชีวติ ชวี ามากกว่า มอี ายุยนื ยาวกว่า ระบบการไหลเวียนโลหิต มสี ดั สว่ นของเม็ดเลอื ดแดงมากกว่า มีสัดส่วนของเม็ดเลือดแดงนอ้ ยกว่าชาย ทำให้ชายมีความแขง็ แรงมากกวา่ ถึงรอ้ ยละ 20 และมีปรมิ าณน้ำในเลือดมากกว่า ทำให้หญงิ เหนื่อยงา่ ยกว่า หัวใจ หวั ใจเต้นช้ากวา่ หัวใจเต้นเรว็ กวา่ แตค่ วามดันโลหติ สูงกวา่ แตค่ วามดันโลหิตตำ่ กว่า 2

ลขอกั งษชณาะยทหาญงชวีิงภาพ ระบบตอ่ มไรท้ ่อ / ฮอร์โมน ตอ่ มธยั รอยดเ์ ล็กกวา่ (ฮอร์โมนธัยรอยด์ ตอ่ มธัยรอยด์โตกว่าและทำงานมากกวา่ ความทนของรา่ งกาย นอ้ ยทำให้ผวิ พรรณดไู ม่เรียบเนยี น (ฮอร์โมนธัยรอยด์ทำใหผ้ ิวพรรณดเู รียบ ขนมาก และส่งผลใหม้ ีความขึน้ ลง ขนนอ้ ยและมคี วามขนึ้ ลงของอารมณม์ ากกวา่ ) ทางอารมณ์น้อยกวา่ ) อดทนอุณหภมู ิสูงไดน้ อ้ ยกว่า อดทนอุณหภูมสิ งู ไดด้ ีกว่า มคี วามสขุ ุม น่ิงมากกว่า มีความกระฉับกระเฉง เคลอ่ื นไหว มชี วี ิตชวี ามากกว่า มอี ายเุ ฉลี่ยส้ันกว่า มอี ายุยนื ยาวกวา่ รระะบบบบกกาารรไไหหลลเวเวียียนนโโลลหหิตติ มีสดั ส่วนของเมด็ เลือดแดงมากกวา่ มสี ดั ส่วนของเม็ดเลอื ดแดงนอ้ ยกว่าชาย ทำใหช้ ายมีความแขง็ แรงมากกวา่ ถึงรอ้ ยละ 20 และมปี รมิ าณน้ำในเลือด มากกว่าทำใหห้ ญิงเหนอื่ ยง่ายกวา่ หัวใจ หวั ใจเต้นชา้ กวา่ แต่ความดันโลหติ สงู กว่า หัวใจเตน้ เรว็ กว่า แต่ความดนั โลหติ ต่ำกว่า 3

จากธรรมชาติทางชีวภาพ ทีแ่ ตกตา่ งกันระหว่างหญิงและชาย ทำให้สง่ ผลตอ่ ลักษณะทางสังคม ทแี่ ตกต่างกันดว้ ยทเี่ หน็ ไดช้ ดั เจน สามารถสรปุ ได้ดังนี้ ความคิด ชอบใช้เหตผุ ลมากกว่าอารมณ์ คิดเขา้ ข้างตนเอง ใช้อารมณ์ตัดสิน มีการวางแผน ชอบใช้สญั ชาตญาณ ความร้สู กึ ไม่คอ่ ยสนใจเร่อื งความรสู้ กึ ถอื ความรสู้ กึ เป็นเรื่องสำคญั จนบางครงั้ ดูเหมือนคนไร้อารมณ์ มคี วามละเอียดออ่ นมากกว่า เกบ็ กดความรู้สกึ ยกเวน้ ถกู กดดัน และแสดงออกด้านอารมณค์ วามรูส้ กึ จงึ จะระเบดิ ออกมา จึงจะทำให้ มากกว่า ดูวา่ มีความรนุ แรง ประสาทสมั ผัส สนใจและตอบสนองตอ่ วัตถสุ ง่ิ ของมากกวา่ สนใจและตอบสนองต่ออารมณค์ วามรสู้ กึ การมองเหน็ ดีกว่า ดังนัน้ มคี วามไวต่อการสัมผัส ดังนน้ั จงึ รับการเร้าทางเพศ จึงรบั การเรา้ ทางเพศดว้ ยสายตา/การมองเห็น ดว้ ยการสัมผัสและเลา้ โลม ไวตอ่ ความรสู้ กึ การเจ็บปวดการรับรส และ การได้ยนิ ทัศนคติ ถือความสำเรจ็ ในอาชีพการงานเป็นทห่ี นึง่ การแตง่ งานและครอบครวั สำคญั รองลงมา ถอื วา่ ครอบครัวทป่ี ระสบความสำเร็จ และความสัมพนั ธ์ท่ดี ีภายในครอบครวั ส่ิงสำคัญในชีวติ เป็นสิง่ สำคัญ ต้องการความใกล้ชดิ และความสนใจ ความต้องการ ตอ้ งการความเปน็ สว่ นตัว จึงกลวั จากเขา และทำอะไรรว่ มกนั ความใกลช้ ดิ มากเกินไป ไม่ชอบถูก ต้องการความสัมพันธท์ ่มี อี ำนาจ ความใกล้ชดิ ผูกพัน ควบคุมและการขาดอิสรภาพ เท่าเทยี มกัน แตต่ อ้ งการได้รับการดูแลเอาใจใส่ อำนาจ ถืออำนาจ เกยี รติ และศกั ด์ศิ รี ตอ้ งการเป็นผูน้ ำ เปน็ ผตู้ ัดสินใจ ไมช่ อบการถูกตำหนิ 4

WOMEN MAN ด้านบุคลกิ ภาพ / มพี ฤตกิ รรมก้าวร้าว มทุ ะลุ มีพฤติกรรมท่ีอ่อนโยนกวา่ การแสดงออก มีการทำกิจกรรม/เคล่อื นไหวมากกว่า มอี ารมณข์ ึน้ ลงมากกว่าชาย มคี วามหุนหันพลันแลน่ มากกว่า มกี ารแสดงออกชัดเจน มีแรงจงู ใจใฝส่ ัมฤทธม์ิ ากกว่า วิธกี ารส่อื สาร ไมช่ อบพูด ชอบพดู จะถามเฉพาะเรอ่ื งสำคญั จริง ๆ และ ถือว่าการถาม/พูดเปน็ การสร้างความสมั พันธ์ คดิ วา่ การถามเพ่ือต้องการคำตอบ อาจไมไ่ ด้ตอ้ งการคำตอบทกุ เร่ือง แตถ่ ามเพยี ง เม่อื ตอ้ งคยุ เรอ่ื งที่จริงจัง เขาอาจแสดงทา่ ทาง เพอื่ จะไดพ้ ูดคุยกัน กา้ วร้าวและเอาเร่อื ง โดยมองว่าเปน็ รูปแบบ ไมช่ อบการพดู คุยแบบเอาจรงิ เอาจัง หน่ึงของการสนทนา ชอบพดู เฉพาะประเดน็ สำคญั ๆ ชอบจดจำรายละเอียด และพูดอยา่ งละเอยี ด ไม่คอ่ ยสนใจเรอ่ื งทีค่ นพูดสนกุ ปาก ซ่ึงผชู้ ายอาจมองวา่ เยิ่นเยอ้ ชอบพูดเรอ่ื งการเมือง กฎหมาย และกฬี า เป็นตน้ ชอบเอาสง่ิ ทค่ี นอน่ื พูดกนั มาพูดตอ่ ไมช่ อบพูด/ถามความรู้สกึ ชอบพูดเรอื่ งส่วนตัว เรือ่ งคนน้ันคนนี้ ไม่ชอบพดู ถึงปัญหาหรือความรูส้ ึกทเี่ กดิ ข้นึ ระหว่างกนั รวมทงั้ ความลบั ของคนอ่นื อาจเพราะฝ่ายชายจัดการปญั หาดา้ นความสัมพนั ธ์ ชอบพูด/ถามความรูส้ กึ และอารมณไ์ มเ่ กง่ เทา่ ฝา่ ยหญงิ ชอบพูดถึงปญั หาในชวี ติ คู่บอ่ ย ๆ เพราะตอ้ งการให้เขา้ ใจ และตอ้ งการแกไ้ ข ความสมั พันธใ์ หด้ ขี ึ้น ความถนัด ถนัดในเรื่องวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ถนัดในเร่อื งภาษาและศิลปะ และกลไกต่าง ๆ วิธีการปรับตัว มคี วามสัมพันธ์กับคนจำนวนน้อยแต่ลึกซง้ึ กวา่ ปรบั ตัวเข้ากบั ผูอ้ ื่นไดด้ ีกวา่ ชาย วิธีการแก้ปัญหา/ ต้องการอยู่คนเดยี ว และคิดแก้ปญั หา ต้องการคนมาพูดคุยเพ่อื ระบายความเครยี ด การจัดการกับความเครยี ด ดว้ ยตนเองอย่างเงยี บ ๆ และชว่ ยแก้ปัญหา 5

จะเห็นได้ว่า มีความแตกต่างมากมายระหว่างเพศหญิงและชาย หากสามารถทำความเขา้ ใจถงึ ความแตกต่างนี้ ปัญหาหลายเร่อื งกอ็ าจคล่คี ลาย ไปไดไ้ ม่ยากนัก กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวหวังเป็นอย่างย่ิงว่า การเรียนรู้ เกยี่ วกบั ความแตกตา่ งระหวา่ งหญงิ และชายนี้ จะเปน็ รากฐานทดี่ อี กี ประการหนง่ึ ในการใชช้ วี ิตคขู่ องทกุ ๆ คู่บนโลกใบน้ี บรรณานกุ รม ศาสตราจารย์ พญ.อมุ าพร ตรงั คสมบตั ิ. สร้าง E.Q ใหช้ ีวิตค.ู่ กรงุ เทพมหานคร : ซันตา้ การพิมพ์, 2547 นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานต์ิ. หนังสือชุดการพัฒนาสถาบันครอบครัว เรื่อง การส่ือสารในครอบครัว. กรุงเทพมหานคร : บริษัท รำไทยเพรส จำกดั , 2546 สำนักงานกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครัว. คมู่ ือการเสรมิ สรา้ งชีวิตคู่ กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค.ลาดพร้าว, 2552 ขอบคุณภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 6

หลกั การครองชีวิตคู่ 21ขอ้ ความเปน็ ครอบครวั เกดิ ขึน้ เมอ่ื บคุ คลที่มรี ากฐานของความรักความผูกพัน ตัดสินใจมาดาเนินชีวิตร่วมกัน การแต่งงานเป็นจุดเริ่มต้นที่สาคัญของกาเนิดชีวิตครอบครัว ในเมื่อความเป็นครอบครัวเกิดจากการตัดสินใจ ระหว่างคน 2 คน ตดั สนิ ใจมาอยรู่ ว่ มกนั ดงั นั้น หลักในการครองชีวิตคจู่ งึ เปน็ เร่ืองสาคญั หลกั การครองชวี ิตคู่ ขอ้ 1 ซือ่ สัตยแ์ ละไวว้ างใจ ขอ้ 3 เอาใจใส่ดูแลและเอือ้ อาทรต่อกัน ความซื่อสัตย์และไว้วางใจเป็นรากฐานที่สาคัญมาก คู่สมรสควรต้องดูแลเอาใจใส่ความเป็นอยู่ของซ่ึงกัน ในการใช้ชีวิตคู่ คู่สมรสจึงต้องระมัดระวังไม่ให้บุคคลอ่ืนเข้ามา และกัน อาจทาได้มากบ้างน้อยบ้าง แค่เพียงใช้ความพยายาม มีบทบาทมากไปกว่าสามี/ภรรยาของตนเอง และทาอย่างดีทสี่ ดุ เท่าทลี่ กั ษณะนิสัย ความสามารถ และเวลา ทมี่ จี ะทาได้ ข้อ 2 อุทิศตนใหแ้ กก่ ัน ข้อ 4 ยอมรับในความเป็นตัวตนของกันและกัน คู่ส ม ร ส ที่ตัด สิน ใ จ แ ต่ง ง า น อ ยู่กิน ด้ว ย กัน ค ว ร มี การอุทิศตนให้แก่กัน เพราะสามี/ภรรยาท่ีมีความจริงใจต่อกัน การใช้ชีวิตคู่อยู่ด้วยกันจะมีความใกล้ชิดกันมาก จะมีความรู้สึกนี้ คือ รับรู้ว่าต้องมีความรับผิดชอบมากขึ้น โอกาสท่ีจะเห็นข้อบกพร่องก็เป็นไปได้มาก ดังน้ัน การยอมรับ ตอ้ งร่วมกันสร้างครอบครวั ดว้ ยกนั รว่ มทกุ ข์รว่ มสขุ และจะไม่มี ความเป็นตัวตนของแต่ละฝ่าย และพยายามปรับตัวเข้าหากัน การทอดทิ้งกันไมว่ ่าจะเกดิ อะไรขึน้ เป็นเรื่องจาเป็น เริ่มท่ีการปรับปรุงตนเองก่อน ท้ังนี้ ไม่ควรคิด หรือพยายามทจ่ี ะเปลย่ี นแปลงความเปน็ ตวั ตนของคนอื่น 77

ข้อ 5 เคารพให้เกียรติ ขอ้ 11 ใกลห้ า่ งกันอยา่ งพอดี คสู่ มรสสว่ นใหญ่ปรารถนาความรัก การยอมรับ และ คู่สมรสไม่น้อยคาดหวังว่าหลังแต่งงานจะต้องใช้ชีวิต ความรูส้ ึกวา่ มีความหมายและมคี ณุ คา่ ตอ่ คนที่รัก ดังน้ัน การทาให้ อย่ดู ้วยกันอยา่ งใกลช้ ดิ แต่ความเป็นจริง การใกลช้ ิดมากเกินไป อีกฝ่ายรบั รู้ และเคารพใหเ้ กียรติกันจึงเปน็ เร่ืองทส่ี าคัญ อาจทาให้เกิดความรู้สึกอึดอัด ขาดความเป็นตัวเอง ขณะที่ คู่สมรสบางคู่อาจละเลยจนห่างเหินกัน วิธีที่เหมาะสม คือ ขอ้ 6 อดทนและให้อภัย ให้มีความใกล้ชิดในระดับที่ต่างฝ่ายต่างรู้สึกถึงความรัก การใชช้ ีวติ ประจาวันอาจมีการกระทบกระทั่งกันบ้าง ความห่วงใยกัน และมีความห่างพอท่ีต่างฝ่ายสามารถใช้ชีวิต ที่เป็นส่วนตวั ได้ ถ้าหากยังคงมีความรักกันอยู่ก็ควรอดทน ให้อภัย และยกโทษ ข้อ 12 มีปฏสิ ัมพันธ์เชิงบวก อย่าพยายามที่จะเอาชนะหรือเอาเปรียบกัน กรณีฝ่ายใดทาผิด การกล่าวคา “ขอโทษ” จะชว่ ยคล่คี ลายปัญหาไดม้ าก การกระทาดี ๆ ที่เสริมสร้างและให้กาลังใจกันเป็น ส่งิ สาคญั ในการใชช้ วี ิตคู่ โดยทั่วไปสามี/ภรรยามกั ตอบสนองกัน ข้อ 7 เรียนรูแ้ ละทาความเข้าใจ โดยอิงจากการกระทาของอีกฝ่ายที่กระทาต่อตน ดังนั้น ธรรมชาติทางชีวภาพท่ีแตกต่างกันของเพศชายและ หากคาดหวังให้คนรักกระทาดีต่อท่าน ๆ ก็ควรกระทาดีต่อคนรัก ของท่านก่อน ถ้าคิดเช่นนี้ โอกาสที่การใช้ชีวิตคู่จะมีแต่ หญงิ สง่ ผลให้ความคิดและพฤตกิ รรมตา่ งกนั ธรรมชาติของผู้ชาย ปฏิสัมพนั ธ์เชงิ บวกกจ็ ะเปน็ ไปไดม้ าก มักชอบใช้เหตุผล ไม่สนใจเรื่องความรู้สึก มีความสุขุมนิ่ง และ มคี วามแขง็ แรงมากกว่า ต้องการความเปน็ สว่ นตัว กลัวขาดอิสระ ขอ้ 13 รู้จักสือ่ สารในครอบครัว (แต่ต้องการไดร้ ับการดูแลเอาใจใส่) ถืออานาจ เกียรติและศักด์ิศรี การส่ือสารทางบวกเป็นเรื่องสาคัญ โดยอาจเป็น ต้องการเป็นผู้นา ไม่ชอบพูดเร่ืองไร้สาระ ไม่ชอบการถูกตาหนิ การบ่น ในขณะท่ีผู้หญิงจะมีลักษณะตรงกันข้าม หากมองว่า รูปแบบของการแสดงออกทางสหี นา้ สบตา ท่าทาง สัมผัส และ น่ันเป็นธรรมชาติที่แตกต่างกัน และคู่สมรสพรอ้ มที่จะปรับตัว การเว้นระยะห่าง ฯลฯ การสื่อสารที่ดีจะเป็นช่องทางในการเชื่อม ให้เขา้ กนั รวมทง้ั รู้จกั ใช้ส่วนดีของแต่ละฝ่ายที่ธรรมชาติได้สร้างมา ความสัมพันธ์ การสร้างความสนิทสนม สร้างการเรียนรู้ อย่างเหมาะสมแล้วให้เป็นประโยชน์ เมื่อนั้นชีวิตคู่ก็จะมี ตลอดจนแก้ไขปัญหา การสื่อสารทางบวกยังเป็นการแสดง ความสขุ ให้เห็นวา่ ทา่ นเคารพ และใหเ้ กียรตกิ นั ขอ้ 14 มีเวลาใหแ้ กก่ ัน ข้อ 8 ตอบสนองเรือ่ ง Sex ให้ดี Sex ในชีวิตคู่เป็นธรรมชาติที่สวยงาม และเป็นวิธี อย่าปล่อยให้ชีวิตคู่ต้องมีความห่างเหินกันไม่ว่า เหตผุ ลใดก็ตาม การมีเวลาให้กนั เป็นเรื่องสาคัญ ท้ังการใช้เวลา ที่แสดงออกซึ่งความรัก ความใส่ใจดูแลความรู้สึกของกันและกัน ในการทากิจกรรมร่วมกัน และเวลาในการฟื้นฟูความสัมพันธ์ ดังน้ัน การมี Sex ท่ีดี ทั้งสองฝ่ายควรให้เกียรติ และตระหนัก เพราะนอกจากเปน็ การช่วยสร้างความสนิทสนม และความผูกพัน ในคุณคา่ ของกนั และกนั ทีด่ ีแลว้ ยงั เป็นการช่วยลดปญั หาจากความไม่เข้าใจกันไดอ้ กี ดว้ ย ข้อ 9 ตอบสนองความต้องการต่อกัน ท่านควรตระหนักว่าความต้องการของอีกฝ่าย มีความสาคัญเทียบเท่ากับความต้องการของตัวท่านเอง การพยายามตอบสนองความต้องการซ่ึงกันและกัน บอกความ ต้องการ ความชอบ หรือ ความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา เปน็ เรอื่ งจาเป็น เพือ่ ใหต้ ่างฝ่ายสามารถดูแลเอาใจใส่กันได้ และ ตอบสนองตรงกบั ความตอ้ งการมากข้นึ ข้อ 10 ลดความคาดหวัง คู่สมรสส่วนใหญ่แต่งงานมาพร้อมกับความคาดหวัง มากมาย ความคาดหวังเหล่าน้ันหากมีมากเกินไปก็อาจทาให้ ผิดหวัง และอาจจะนาไปสู่ความขัดแย้งได้ในที่สุด วิธีลด ความขัดแย้ง คือ ต้องลดความคาดหวัง และพยายามปรับ ที่ตัวของตนเอง ซึ่งหากสามารถทาได้ แสดงว่าท่านเข้าใจ ธรรมชาตขิ องการใชช้ วี ิตอยูร่ ว่ มกันอย่างแท้จริง 8

ข้อ 15 รูจ้ ักภาระหน้าที่ในครอบครัวและช่วยเหลือกัน คู่สมรสจะมีบทบาทและหน้าท่ีของตนเอง โดยทั่วไป จะมีบทบาทหน้าที่สาคัญทั้งการเป็นสามี/ภรรยา การทางาน หาเล้ียงตนเองและครอบครัว งานบ้าน และการดูแลเล้ียงดูลูก ดังนั้น ทั้งสองฝ่ายจึงควรพูดคุยกันว่าแต่ละฝ่ายจะมีบทบาท หน้าท่ดี งั กลา่ วอยา่ งไรและมากน้อยเพยี งใด ข้อ 16 เคารพรักพอ่ แม่ของกันและกัน การแต่งงาน คือ การที่ทั้งสองฝ่ายตัดสินใจ สรา้ งครอบครัวใหม่ด้วยกัน ในขณะเดียวกันต่างก็มีครอบครัวเดิม ของซ่งึ กนั และกันดว้ ย การเคารพรักพ่อแม่ของแต่ละฝา่ ยจงึ เปน็ เรื่องสาคัญ ทงั้ น้ี ควรระลกึ อยเู่ สมอว่า หากต้องการให้อีกฝ่ายดี กบั ครอบครวั เดมิ ของท่านอย่างไร ท่านก็ควรดกี ับครอบครัวเดิม และครอบครัวของอกี ฝ่ายเชน่ นน้ั ข้อ 20 รูจ้ ักใช้ชีวิตอยา่ งฉลาด ขอ้ 17 จัดการกับความขัดแย้ง ในชีวิตประจาวันมีเรื่องราวและปัญหามากมาย ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติของชีวิตคู่ การพูดคุย ที่ต้องขบคิดและทา ท้ังในด้านของการเงิน การงาน งานบ้าน และลูก การมีวิธีบริหารจัดการชีวิตท่ีดี เช่น การมีบัญชีร่วมกัน อย่างจริงใจและตรงไปตรงมาจะช่วยคล่ีคลายสถานการณ์ได้ดี การไม่ปิดบังการใช้จ่ายเงิน การทาบัญชีครัวเรือนจะช่วย เพราะจะนาไปสู่การหาแนวทางแกไ้ ขร่วมกัน เมื่อใดท่ีรู้สึกโมโห แก้ปัญหาเรื่องการเงินภายในครอบครัวได้ รวมทั้งการรู้จัก โกรธ และมีการโต้เถียงกัน ควรหยุดและระงับการโต้ตอบให้ได้ แบ่งเวลาอย่างเหมาะสม เพื่อให้สามารถจัดสรรเวลาทาแต่ละ และเม่ือหายโกรธ ก็ควรหาเวลาในการพูดคุยปรับความเข้าใจ บทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม หรือ การหาเครื่องทุ่นแรง และรว่ มกันแก้ไขปัญหาทเ่ี กิดข้นึ ช่วยงาน เพื่อให้มีเวลาจัดการเร่ืองอ่ืน ๆ รวมถึงมีเวลาพักผ่อน มากขึน้ ฯลฯ เหล่านเ้ี ปน็ เรอ่ื งสาคญั ทไี่ มค่ วรมองข้าม ขอ้ 18 ไมข่ ัดแยง้ กันเรื่องลูก สาหรบั ครอบครัวท่ีต้องการมีลูก สิ่งแรกที่ควรตระหนัก ข้อ 21 มีชีวิตที่เป็นของตนเองดว้ ย ถึงแม้ว่าการแต่งงานตามกฎหมาย ทาให้คู่สมรส คือ ไม่ควรมีลูกในขณะท่ียังไม่พร้อม เพราะจะทาให้การใช้ชีวิตคู่ ยากขึ้น สาหรับครอบครัวท่ีมีลูกแล้วต้องพยายามไม่ขัดแย้งกัน เป็นเสมือนบุคคลคนเดียวกัน แต่ในความเป็นจริงทั้งสองฝ่าย ต่อหน้าลูก ไม่ว่าจะเป็นการทะเลาะกันเอง หรือขัดแย้ง ก็ยังมีความเป็นตัวของตัวเองอยู่ ดังนั้น จึงไม่ควรรักหรือใส่ใจ ในการอบรมสั่งสอนลูก เพราะอาจทาให้เด็กสับสน และไม่รู้จะ อีกฝ่ายหรือคนรอบข้างจนละเลยตัวเอง ระลึกไว้เสมอว่า เช่ือใคร นานวันเข้าเด็กจะขาดความเช่ือถือท้ังพ่อและแม่ และ ไม่มีใครอยากรักหรือผูกพันกับคนท่ีไม่รักแม้แต่ตนเอง ไม่ดูแล สง่ ผลตอ่ ความคดิ จติ ใจ และบุคลิกภาพของลูกในอนาคต ตนเอง ขาดความพอดี และขาดความหนักแน่นได้นาน ฉะนั้น การรักตนเอง ดูแลตนเอง และการมีเวลาสาหรับตนเองก็เป็น ขอ้ 19 เสรมิ ความรักใหเ้ ตบิ โต เรื่องที่ไม่ควรละเลย เพราะหากท่านรู้จักดูแลตนเองดีพอ ความรักต้องการได้รับการดูแลเอาใจใส่ ต้องการ ทา่ นกจ็ ะมีความพรอ้ มทจี่ ะดแู ลคนรอบขา้ งได้ดเี ช่นกัน ความเข้าใจ และการปรับตัวเข้าหากัน เพ่ือให้สามารถ ประคับประคองชีวิตคู่ไปได้ เพราะการใช้ชีวิตคู่จะมีภาวะของ ความเครียดมากกว่าความสุขและสนุกสนาน การแสดงออก ว่ารัก และเห็นคุณค่าของกันและกันอย่างสม่าเสมอสาคัญ เพราะจะหล่อเล้ียงจิตใจและความรักของทั้งสองฝ่ายให้เติบโต เราปรารถนาให้คสู่ มรสทกุ ท่าน… ไปไดอ้ ย่างตลอดรอดฝง่ั ประสบความสาเร็จในชีวติ คู่ เพราะนั่นเป็นรากฐานทส่ี าคัญ ในการสร้างความเขม้ แข็งของครอบครวั เพอื่ จะได้เป็นครอบครัว… ท่ีสามารถทาหนา้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ต่อไป ท่ีมา : สานกั งานกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั . “คมู่ อื การเสรมิ สรา้ งชวี ิตค”ู่ กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค.ลาดพร้าว, 2552. ขอบคณุ ภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 99

การส่ือสาร กบั การใช้ชวี ติ คู่ การส่ือสารเป็นสิ่งสาคัญในชีวิตประจาวัน การส่ือสารเป็นการใช้ภาษาพูดหรือ ทั้ ง นี้ มี ข้ อ มู ล ท า ง วิชาการเปรียบเทียบระหว่าง ภาษาท่าทางเพ่ือแสดงให้ผู้อื่นเข้าใจถึงความคิด ความรู้สึก และความต้องการของเรา อีกทั้ง “ คู่ ส ม ร ส ที่ อ ยู่ กั น อ ย ่า ง ยังช่วยให้เราเขา้ ใจผ้อู ่ืนได้อีกดว้ ย ทุกข์ใจ” กับ “คู่สมรสท่ีอยู่ ด้วยกันอย่างมีความสุข” การใชช้ ีวติ คู่ การสอื่ สารทดี่ จี ะเปน็ ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างกันเป็นไปได้ ที่นา่ สนใจดงั นี้ ด้วยดี เพราะจะช่วยลดปัญหาความเข้าใจไม่ตรงกัน ลดความเข้าใจผิด อีกทั้งใช้บอกความรัก ความห่วงใยทม่ี ตี ่อกัน และใช้แก้ไขปัญหาหรอื ข้อขดั แย้งต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดีดว้ ย คู่ทมี่ ีความสขุ ค่ทู มี่ ีความทกุ ข์ - มีอารมณ์ขนั สดชน่ื ยิ้ม และหวั เราะใหก้ นั มากกว่า - มอี ารมณเ์ สียบอ่ ยกว่า ไมค่ อ่ ยแสดงอารมณ์เชงิ บวก - มคี าพูดทีใ่ หก้ าลงั ใจกนั มากกวา่ - มกั มปี ฏกิ ิรยิ าโตต้ อบกนั ในเชงิ ลบ - แมอ้ ีกฝา่ ยหนงึ่ พูดไม่ดมี า อกี ฝา่ ยก็จะใจเย็น - ชอบหาเรอื่ ง มองเชิงลบ จบั ผิด - ยอมรบั ว่าตนผดิ ได้และไม่พยายามปกปอ้ งตนเอง - ตา่ งฝ่ายมกั จะปกปอ้ งตนเองและไม่ยอมรบั ผิด - รับฟังความคดิ เหน็ ของอกี ฝา่ ยมากกว่า - ไมค่ อ่ ยรบั ฟังความคดิ เหน็ ของอีกฝ่าย - เห็นพอ้ งตอ้ งกันมากกว่าจะขัดแยง้ กัน และชว่ ยกนั แก้ไข - ทะเลาะกัน และมีปฏกิ ริ ยิ าท่ีรนุ แรงตอ่ กนั ปัญหามากกว่าจะทะเลาะกัน (เชน่ ประนปี ระนอม (เชน่ การบ่น ตาหนิ ปฏิเสธไม่รบั ผดิ ชอบ แกต้ ัว ร่วมคิด รว่ มหาทางออก แสดงความรบั ผิดชอบ) วิพากษ์วิจารณ์มากกว่าท่ีจะรว่ มมอื แกป้ ญั หา) 10

 สาเหตุของการสื่อสารเชงิ ลบที่ไม่สร้างสรรค์ อาจมหี ลายสาเหตุ ไดแ้ ก่  ความเขา้ ใจผดิ ทีเ่ กิดจากการส่อื สารบกพรอ่ ง  ความแตกต่างระหวา่ งเพศ  มุมมองและความต้องการแตกตา่ งกนั  สไตลก์ ารสื่อสารแตกตา่ งกัน  การแปลความหมายผิด  การปกป้องตนเอง กลวั การไมย่ อมรบั การส่อื สารทางลบ การสอื่ สารทางลบ จะแสดงออกทง้ั ภาษาทา่ ทางและทางคาพดู ดา้ นทา่ ทาง เชน่ - การจอ้ งมองอยา่ งไม่เหมาะสม - สหี นา้ บึ้งตึง - เฉยเมย เพิกเฉย ท่าทีเย็นชา - ขาดความใกล้ชิด - ไม่มีการปฏิสมั พันธ์ดว้ ยการสัมผสั ดา้ นทางคาพูด เชน่ พูดไม่ชัดเจน กากวมไมร่ ้เู รอ่ื ง หรือไม่บอกใหช้ ดั เจนวา่ ตอ้ งการอะไร - คลมุ เครือ เปน็ ลักษณะของการกาหนดกฎเกณฑ์ให้คนอื่นทา - เจา้ กเี้ จา้ การ เช่น “ท้ำไมคณุ ไมไ่ ปจำ่ ยคำ่ นำ้ คำ่ ไฟตอนน้เี ลยล่ะ” - ส่ัง เป็นการกาหนดใหต้ อ้ งทาอย่างนนั้ อย่างนี้ - สอน เช่น “วันนี้ กลบั บ้ำนใหเ้ รว็ หน่อยนะ” - ประชดประชัน ใช้คาพูดโดยแสดงถึงการใช้คาพดู สอนกลา่ ว - กล่าวหา เช่น “นัดผใู้ หญ่ไว้ น่ำจะตรงเวลำกว่ำน้ีหน่อย” - เปรยี บเทียบ เชน่ “ตะวนั ยงั ไม่ตกดนิ เลย ท้ำไมกลบั มำแต่วันเชยี ว” - ตาหนิ ตเิ ตยี น เชน่ “คณุ ไม่เคยชว่ ยฉนั เล้ียงลกู เลย” - บน่ เช่น “ภรรยำของคุณภผู ำ ไมเ่ ห็นเป็นเหมือนคณุ เลย” - ดา่ วา่ เชน่ “ท้ำอะไรไมเ่ คยเรียบรอ้ ย ต้องให้มำตำมเก็บตลอด” เชน่ พูดซ้า ๆ ซาก ๆ ยืดยาวในเร่ืองใดเรือ่ งหน่งึ หรือหลายเร่อื ง เชน่ การใชค้ าหยาบ ไม่สภุ าพ 1111

ดา้ นอืน่ ๆ ไดแ้ ก่ - ไมพ่ ดู เพราะคิดวา่ อีกฝา่ ยรแู้ ลว้ - พดู ผ่านคนอ่ืน ทาให้เกดิ ความเขา้ ใจผิด - ดว่ นสรปุ ทงั้ ที่ยังฟงั ความไม่ครบถ้วน - แปลความหมายในแง่ลบ - ชอบพูดถงึ ความผดิ พลาดในอดีต - ไมใ่ สใ่ จในส่ิงทีอ่ กี ฝ่ายพดู - ไม่ยอมพูดคุยกนั หลกี เล่ียงความขดั แย้ง เพราะคดิ ว่าพดู ทไี รทะเลาะกนั ทกุ ที แต่ภายในอาจเตม็ ไปดว้ ยความโกรธ น้อยใจ และไมส่ บายใจ ฯลฯ การเริ่มต้นชีวิตคู่เป็นช่วงเวลาท่ีสาคัญ หากเร่ิมต้นด้วยการมีการส่ือสารที่ดีมาต้ังแต่แรกก็จะส่งผลต่อ การสือ่ สารในอนาคต แต่ถ้าหากการส่อื สารในชว่ งแรกไม่ดี ก็อาจปรับเปล่ยี นรูปแบบการส่ือสารให้ดีได้ยาก การสอื่ สารทางบวก การสอ่ื สารทางบวก มีองคป์ ระกอบท่คี วรแสดงออกดงั นี้  สหี น้า สหี น้าท่ีย้ิมแยม้ แจม่ ใสและแสดงความสนใจ จะชว่ ยให้บรรยากาศการสื่อสารดขี ึน้  การสบสายตา จะทาใหก้ ารพดู จาง่ายขน้ึ และช่วยระงบั อารมณท์ ี่อาจเกิดขนึ้ ระหว่างการพูดคยุ กันได้  ทา่ ทาง การแสดงออกวา่ สนใจรบั ฟงั สง่ิ ที่อีกฝ่ายพูด จะทาใหอ้ ีกฝา่ ยอยากพดู คยุ ดว้ ย เชน่ การผงกศรี ษะรับ การโน้มตวั เขา้ หา แทนทจ่ี ะยนื กอดอก หรือยืนตัวแขง็ พูดคุยกนั  การสมั ผสั จะช่วยให้เกิดความรู้สกึ ทางจิตใจ ถึงความรักใคร่ ความอบอุ่น และสนิทสนม เชน่ จบั มอื จับต้นแขน โอบกอด  ระยะหา่ ง การพูดคุยใกล้ ๆ จะช่วยให้สอื่ สารถกู ต้องไมค่ ลาดเคล่ือน และไม่ต้องตะโกนคยุ กนั 1122

วิธกี ารส่อื สารทางบวก - พดู อย่างชดั เจนและตรงประเดน็ - เปิดเผยความคดิ เห็นและความรสู้ ึกอยา่ งตรงไปตรงมา - อย่าเดาใจกันเพราะอาจเกิดการเข้าใจผิด - เรยี นรศู้ ิลปะในการพดู วา่ สง่ิ ไหนควรพูด ไม่ควรพูด และควรพดู เมอ่ื ไร - เปดิ โอกาสให้อีกฝา่ ยได้พูดดว้ ย ไม่ใชพ่ ดู อย่ฝู า่ ยเดียว - หากจะพูดคยุ เรื่องท่ีขดั แยง้ กนั อยู่ ก็ควรเร่ิมตน้ การสนทนาเชงิ บวกเพื่อสรา้ งบรรยากาศทด่ี ี - พยายามอยา่ รอ้ื ฟน้ื เร่ืองอดตี - พยายามใช้คาพูดถึงตนเองแทนท่จี ะพดู ถงึ คนอน่ื พูดว่าคณุ ตอ้ งการอะไร ไม่ใชพ่ ูดวา่ เขาไมไ่ ดท้ าอะไรให้ เพอ่ื ให้อกี ฝา่ ยไมร่ ้สู ึกว่ากาลังถูกตาหนิ เช่น แทนทจี่ ะพดู วา่ “คณุ รบี ๆ หน่อยได้ไหม สำยมำกแล้วนะ” ก็ควรใชค้ าพดู ใหม่ว่า “ฉนั กลวั จะไปท้ำงำนไม่ทนั เรำอำจต้องรีบกนั หน่อย” - อยา่ เงียบเมือ่ อกี ฝ่ายพยายามส่ือสารดว้ ย (อย่าปิดช่องทางการส่อื สาร) - ฟังอย่างต้ังใจ และตัง้ คาถามอย่างเหมาะสม - ควบคุมอารมณ์ ก่อนจะแสดงท่าทีใด ๆ ออกมา - อยา่ พูดแทรก ขดั คอ หรอื โต้ตอบโดยท่ียงั ฟงั ไมจ่ บ - พยายามทาความเข้าใจความรสู้ ึกและความตอ้ งการของคนรกั - เมื่ออีกฝ่ายพูดจาไม่เขา้ หู อย่าตีความในเชงิ ลบในทนั ที - รับฟงั ความคิดเห็นไมว่ า่ จะเห็นด้วยหรือไม่กต็ าม ในเมื่อคู่สมรสคือคนสำคัญ กำรปฏิบัติต่อคู่สมรสให้เหมำะสมจึงเป็ นเรื่องสำคัญ เริ่มต้นท่ีกำรพูดจำดีต่อกัน ให้เกียรติกัน กำรพูดคำสุภำพต่อกัน เหล่ำน้ ี จะเป็ นแรงเสริมที่ดีในกำรจะทำให้อีกฝ่ ำยมีพฤติกรรมที่ดีข้ ึน ก ำ ร พู ด อ ย่ ำ ง มี ศิ ล ป ะ ใ น สิ่ ง ที่ ช อ บ แ ล ะ ไ ม่ ช อ บ อ ย่ ำ ง ต ร ง ไ ป ต ร ง ม ำ จะช่วยทำให้คุณท้ังคู่ทำสิ่งที่ถูกใจกันมำกข้ ึน และกำรให้กำลังใจกันก็จะช่วยประคับประคองชีวิตคู่ให้มีควำมรักใคร่ผูกพันเพ่ิมมำกข้ ึน ดังน้ัน หำกท่ำนคำดหวังให้กำรใช้ชีวิตคู่มีควำมรำบร่ืน ค ง ต้อ ง ใ ห ้ค ว ำ ม สำ คั ญ กั บ ก ำ ร สื่ อ ส ำ ร ที่ ดี ด้ว ย บรรณานุกรม ศาสตราจารย์ พญ.อุมาพร ตรงั คสมบัต.ิ สรา้ ง E.Q ให้ชีวติ ค.ู่ กรุงเทพมหานคร : ซันต้าการพิมพ,์ 2547 ศาสตราจารย์ พญ.อมุ าพร ตรังคสมบตั .ิ จติ วทิ ยาชวี ติ คู่ และ การบาบัดคู่สมรส (The Psychology of Marriage and Marital Therapy). กรงุ เทพมหานคร : ศูนย์วิจยั และบาบดั ครอบครวั , 2545 นพ.ยงยุทธ วงศ์ภริ มย์ศานต.์ิ หนงั สอื ชดุ การพัฒนาสถาบันครอบครัว เรอ่ื ง “การสอ่ื สารในครอบครัว”. กรงุ เทพมหานคร : สานักงานกจิ การสตรแี ละสถาบัน ครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย,์ บริษทั ราไทยเพรส จากัด, 2546 สานักงานกจิ การสตรีและสถาบันครอบครวั . “คู่มือการเสรมิ สร้างชีวิตคู่” กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ สกสค.ลาดพร้าว, 2552. ขอบคณุ ภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 1133

ชีวิตคู่ กบั การจัดการความขัดแย้ง การใช้ชีวติ คู่ อาจเกดิ ความขัดแย้งและความเข้าใจผิดกันได้อยู่เสมอ ดังนั้น สามีภรรยาควรรู้จัก เรียนรู้จากความขัดแย้ง และทาให้ความขัดแย้งหรือความแตกต่างกลายเป็นโอกาสที่จะเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ และมกี ารเติบโตไปพรอ้ ม ๆ กนั โดยเร่มิ จาก... ทาความเขา้ ใจเพอ่ื สรา้ งทัศนคตทิ ่ถี กู ต้องเกีย่ วกบั ความขัดแยง้ ดงั นี้  ความขัดแย้งถอื เปน็ เร่อื งปกติของการใช้ชีวิตคู่  การใช้ค่ชู ีวติ ไม่ได้หมายความวา่ จะตอ้ งคิดหรอื รูส้ กึ ตรงกนั ในทุกเรือ่ ง  คุณทัง้ คู่ตา่ งมสี ว่ นทาใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ ดงั นัน้ คณุ ทัง้ คยู่ ่อมสามารถแกไ้ ขปญั หาได้  การประนปี ระนอมหรอื การรว่ มมอื กนั ไม่ไดแ้ สดงถงึ ความออ่ นแอ  คณุ จะไดใ้ นสงิ่ ทีค่ ณุ ตอ้ งการ หากคุณมีทกั ษะดีในการแก้ไขปญั หา  แม้จะมีความขัดแย้ง แต่ถ้าสามารถจัดการได้ ความสมั พันธก์ ็จะดขี นึ้  การตอบสนองทางอารมณ์ทไ่ี วเกนิ ไปจะทาใหค้ วามขดั แย้งรนุ แรงข้ึน  ความขัดแยง้ ไมไ่ ด้เกดิ ผลเชงิ ลบเสมอไป 1144

เทคนคิ ในการจัดการกับความขัดแยง้ สามีภรรยาที่มีปัญหาความขัดแย้ง อาจต้องทาความเข้าใจก่อนว่า เป็นเพราะทุกคนมีความแตกต่างกัน ดังน้นั การแก้ปัญหาจึงสาคัญท่ี “คุณจะสามารถจัดการความขัดแย้งหรือความแตกต่างได้อย่างมีศิลปะหรือไม่ และอย่างไร” ซ่งึ วธิ ีจดั การกบั ความขัดแยง้ อาจทาได้โดย  ศึกษาหาคาตอบว่าคุณคิดไม่ตรงกันเร่ืองใด  พดู คยุ อยา่ งตรงไปตรงมาว่าต่างฝา่ ยต้องการอะไร  หาวธิ กี ารแกไ้ ขรว่ มกนั และรว่ มมือกันแกไ้ ขปัญหา  หากมีหลายปญั หา พยายามพดู คยุ ทลี ะปญั หาใหเ้ ขา้ ใจ  ควรพดู ถึงปัญหาในเชงิ บวก เชน่ “ฉนั รู้วา่ คุณเหนือ่ ย แต่อยากให้คณุ ชว่ ยดูแลลูกบ้าง”  การวิพากษ์วิจารณ์ ให้หยิบยกเรื่องท่ีไม่สบายใจหรือไม่พอใจมาคุยกัน เพื่อหาสาเหตุ โดยหลีกเล่ียงตาหนิที่บคุ คล เพราะอาจทาให้อกี ฝ่ายเกดิ อาการต่อต้าน และพดู คยุ กันไมร่ เู้ รื่อง  บอกความร้สู ึกตรง ๆ วา่ ปญั หาทกี่ าลังพดู ถงึ ทาให้คุณรู้สึกไมส่ บายใจอย่างไร  หาเวลาในแต่ละวันเพ่อื พูดคยุ เรอื่ งสาคัญท่ตี อ้ งตัดสินใจรว่ มกนั โดยไม่มเี รอ่ื งอนื่ รบกวน  ใชค้ าพูดอยา่ งระมัดระวัง ไม่แสดงการตาหนิ ต่อวา่ หรือดูถกู เพราะจะทาใหอ้ ีกฝา่ ยปกป้องตนเอง และไมอ่ ยากฟัง คุณอีกตอ่ ไป ทส่ี าคัญ ต้องยอมรบั ว่าคณุ ท้ังคู่ มีความแตกตา่ งกนั หากเข้าใจและสามารถ จัดการกับความแตกต่างได้ การใช้ชีวิตคู่ กจ็ ะมคี วามราบรื่น หากมีเหตุการณ์ทาให้รู้สึกโกรธ โมโห หรือโต้เถียงกัน ต้องพยายามระงับ การโต้ตอบให้ได้ อย่าคุยหรือโต้เถียงกัน ขณะกาลังโกรธ วิธีท่ีดีท่ีสุด คือ นิ่งเสีย เพราะหากต่างฝ่ายต่างโต้ตอบกันขณะท่ี มีอารมณ์ปัญหาก็จะยิ่งรุนแรง และอาจ กลายเป็นการทะเลาะท่ีมีการใช้กาลังกัน ก็เป็นไปได้ ดงั นน้ั การหยดุ ไม่ตอบโต้ด้วย ความรนุ แรง พดู จาดว้ ยน้าเสียงและท่าที ท่ีอ่อนลง ไม่พยายามเอาชนะ ค่อย ๆ คิด และทาความเข้าใจความรู้สึกของอีกฝ่าย จะเปน็ วธิ หี ยุดความขดั แย้งทด่ี ีท่สี ดุ หากเร่ิมที่...คุณยอมอ่อนให้ก่อน อีกฝ่ายก็จะอ่อนตาม ในทางตรงกันข้าม หากคุณแข็งกร้าว อีกฝ่ายก็จะแข็งกร้าวตอบ ความรักที่มีอยู่อย่างมากมาย อาจถูกทาลายเพียงเพราะคาพูดไม่กี่คา ซึ่งหากเกิดขึ้นบ่อย ๆ ความสัมพันธ์ที่ดี ของคณุ ก็จะถกู ทาลายไปทลี ะนอ้ ย หากถามว่าทาไมถึงโกรธ คาตอบส่วนใหญ่ คือ เพราะมีความรู้สึกบางอย่างที่ทาให้ไม่พอใจ เช่น ความรู้สึกเจ็บปวด รู้สึกถูกทาร้าย ถูกปฏิเสธ ถูกตาหนิ รู้สึกกลัว รู้สึกอึดอัดใจ ฯลฯ ซ่ึงนักวิชาการระบุว่า หากวิเคราะห์ให้ดีจะพบว่า แท้ที่จริง ความโกรธได้ทาหน้าทใี่ นหลาย ๆ อย่าง ไดแ้ ก่ 1155

 ตอ้ งการควบคุมระยะของความสมั พนั ธ์ (ระยะใกล้ – หา่ ง) หากห่างเหินกนั มาก การโกรธเพราะตอ้ งการใหเ้ ขา้ มาใกล้ แต่หากอยูใ่ กล้ชิดกันจนอึดอดั การโกรธเพ่อื ทาใหเ้ วน้ ระยะหา่ งมากข้นึ  ชว่ ยทดสอบความรักของอกี ฝ่ายว่ายงั คงมั่นคงอยู่หรอื ไม่  แสดงอานาจเพ่อื ควบคมุ อีกฝ่าย  เป็นการปกปอ้ งตนเอง เพือ่ หยุดการกระทาของอกี ฝ่าย  รักษาความเป็นตวั ของตัวเอง ไม่ให้อกี ฝา่ ยก้าวลา้ มากเกนิ ไป  กลบเกล่ือนความรู้สึกในขณะท่ีกาลังออ่ นแอ  เรยี กร้องความสนใจ ฯลฯ อยา่ งไรกต็ าม ถงึ แมค้ วามโกรธจะทาหน้าทบ่ี างอยา่ ง แต่ความโกรธกไ็ มใ่ ช่วิธีแกไ้ ขปัญหาท่ีดี ตรงกันข้ามจะส่งผลลบ มากกวา่ หากควบคุมตนเองไม่ดีพอ ฉะนน้ั หากเม่ือใดทร่ี สู้ กึ โกรธควรหาเวลาพูดคุยให้เข้าใจ อย่าได้ปล่อยให้ความโกรธติดค้าง อยู่ในใจ และใหอ้ ภัยกัน จะเปน็ วธิ ีท่ดี ที ่ีสุด หากการแต่งงานทาให้ เกิดความรู้สึก อดทนและยกโทษ มากมายผสมผสานกนั ท้งั ความโกรธ ความผิดหวัง มองสิ่งท่ีดีในอีกฝ่ ายหน่ึง ความเสียใจ และรู้สึกถูกปฏิบัติอย่างไม่ยุติธรรม จนเกิดความรู้สึกขมขื่น ไม่ว่าจะเกิดจากสาเหตุใด ไม่จดจาความผิด กต็ าม คณุ ต้องขจัดความรู้สึกนอี้ อกไปให้เร็วทสี่ ดุ ไม่ร้ือฟ้ื นอดีต และ ขอโทษถ้าทาผิด ในคสู่ มรสที่มีความขมข่นื ติดต่อกนั มาเปน็ เวลานาน วิธที ี่จะกลา่ วถงึ น้ี อาจชว่ ยให้ความสมั พนั ธ์ของคณุ ดีขึน้ มาบา้ ง 1. ปรับความเข้าใจ โดยหาเวลาคยุ กันเงียบ ๆ ตามลาพัง พูดคยุ อย่างอิสระ ไม่ตัดสินผิดถูก การพูดออกมาโดยปราศจากทิฐิ ไม่ถอื ดี และไม่เอาชนะกัน จะทาใหม้ กี ารเปดิ ใจรบั ฟงั กนั มากขนึ้ 2. ขอโทษหากรสู้ ึกผดิ การขอโทษจะทาให้บรรยากาศดีขึ้น เพราะทุกคนอาจทาผิดกันได้ การยอมรับว่าผิดและกล่าวคา ขอโทษ ถือเป็นความกลา้ หาญท่ีแทจ้ รงิ และอาจทาใหอ้ กี ฝา่ ยขอโทษกลบั ด้วย 3. บอกความคาดหวังและความต้องการอย่างตรงไปตรงมา ว่าอะไรที่ทาให้คุณทั้งสองรู้สึกดีขึ้น อะไรท่ีจะทาให้คุณทั้งสอง ใช้ชีวิตคู่ได้อย่างราบร่ืน 4. พยายามร่วมมือกันทาสิ่งต่าง ๆ ให้ดีขึ้น และบอกอีกฝ่ายตรง ๆ ว่าคุณจะพยายามทาอะไรเพื่อให้ความสัมพันธ์ดีขึ้น เพราะการบอกตรง ๆ จะชว่ ยสรา้ งความรูส้ กึ ท่ีดีได้ และแสดงใหเ้ หน็ ความจรงิ ใจต่อการแกไ้ ขปญั หา การมีเวลาอยู่ด้วยกันตามลาพังช่วยได้มาก การเปลี่ยนบรรยากาศด้วยการหาเวลาไปเที่ยวพักผ่อนต่างจังหวัด ด้วยกันบ้าง จะเป็นช่วงเวลาทด่ี ีในการทบทวนเรือ่ งราวและการใช้ชีวิตคู่ท่ผี ่านมา อย่าใช้วิธีเดือด แล ะร ะวั ง ! อ ย่ า ทาส่ิ งเห ล่ า น้ี อย่าใช้วิธีการดูถูกดูหมิ่น ตาหนิ เยาะเย้ย หรือโจมตี อย่าใช้วิธีการรุนแรงต่อกัน เงียบ เพิกเฉย งอน หากไม่สามารถระงับความโกรธได้ หยุด ! แล้วค่อยคุยกัน ทาเร่ืองเล็กให้เป็นเร่ืองใหญ่ อย่ารอให้เขา/เธอมาง้อ ใช้ความรุนแรง รับรู้และนับถือความรู้สึกของอีกฝ่าย ออกนอกบ้าน ดื่มเหล้า นอกใจ คบชู้ งดการมี Sex และ ท้าหย่า ท่มี า : สานกั งานกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั . “ค่มู ือการเสริมสรา้ งชีวติ ค”ู่ กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ สกสค.ลาดพร้าว, 2548. ขอบคุณภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 1166

ครอบครัวกบั บทบาทหน้าท่ี ในการดูแลเล้ยี งดูและอบรมสงั่ สอนหล่อหลอม ความเป็ นมนุษย์ ให้กบั บุตรหลาน เพ่อื ให้เติบโตเปน็ คนดี มคี ณุ ภาพ สามารถใช้ชวี ติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข และ ร่วมเป็นกาลังสาคัญในการพฒั นาสงั คมตอ่ ไป คณุ พ่อคณุ แม่และผปู้ กครอง ควรปฏบิ ัตติ นดงั น้ี 1. ศกึ ษาเรยี นรู้และทาความเข้าใจเกยี่ วกบั วิธีการอบรมเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกต้องเหมาะสม (ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา/ความรู้ และทกั ษะการใชช้ วี ิต) 2. ให้การดูแลเลยี้ งดแู ละอบรมสง่ั สอนหล่อหลอมความเปน็ มนษุ ย์ใหก้ บั บตุ รหลาน ดังน้ี 2.1 ด้านร่างกาย - ดแู ลใหไ้ ดร้ ับความปลอดภยั - เลี้ยงดใู ห้เหมาะสมตามพฒั นาการในแตล่ ะช่วงวัย 2.2 ดา้ นจติ ใจ - ใหค้ วามรกั ความอบอุน่ (เช่น พูดคยุ ถามไถ่ สมั ผสั โอบกอด บอกรัก ฯลฯ) - ปลูกฝงั หลกั คิดคณุ ธรรมใหก้ ับเดก็ ตั้งแต่ยงั เล็ก โดยเฉพาะหลกั คาสอนทางศาสนา - ครอบครัวควรมีเวลาทากจิ กรรมรว่ มกันอย่างมคี ุณคา่ อย่างนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ ๑ ครงั้ 17

2.3 ดา้ นสติปัญญา/ความรู้ - ส่งเสริมการเรยี นรู้ของเดก็ (เช่น เล่านิทาน การเลน่ การพูดคุยซกั ถาม ฯลฯ) - สนับสนุนใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาตามความรู้ความสามารถ และศักยภาพของเด็ก 2.4 ดา้ นทกั ษะชวี ติ - ฝึกวินยั เชิงบวก และจริยธรรม (เชน่ กิจวตั รประจาวัน กิรยิ ามารยาท ความสภุ าพ การตรงต่อเวลา ความซ่อื สัตย์ อดทนอดกลั้น จริงใจ มนี ้าใจ ไม่เอาเปรียบ ไม่ทารา้ ยผู้อื่น ฯลฯ) - สอนให้รู้จักบทบาทหนา้ ทีข่ องตน (เชน่ เคารพเชอ่ื ฟังพ่อแม่ ตัง้ ใจศกึ ษาเลา่ เรยี น ชว่ ยแบ่งเบาภาระ ของพ่อแม่ ฯลฯ) - สอนทักษะการสร้างความสมั พนั ธท์ ีด่ ีกับผ้อู ่ืน (เชน่ การส่ือสารเชงิ บวก การวางตวั และบุคลิกภาพ การอยู่รว่ มกบั ผอู้ ื่น การชว่ ยเหลอื เก้อื กลู ฯลฯ) - สอนทกั ษะการใช้ชวี ติ ทจ่ี าเป็น (เช่น กินอยู่แบบพอเพียง ศิลปะป้องกันตวั การคบเพอื่ น ทักษะการปฏิเสธ ฯลฯ) - สอนให้คดิ วเิ คราะห์ ตัดสินใจ และแกไ้ ขปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ - สอนให้เขา้ ใจและรเู้ ทา่ ทนั ภาวะอารมณ์ และรูว้ ธิ ีผ่อนคลายอารมณ์หรือจดั การความเครียดด้วยตนเอง - สรา้ งความนับถอื และเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง พร้อมไปกับการสอนให้มเี ป้าหมายในชวี ติ - สอนให้ร้แู ละเคารพสทิ ธใิ นชีวติ ร่างกาย เสรภี าพ และยอมรบั ความแตกต่างของตนเองและผ้อู ่นื - สอนใหม้ ีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสังคม 3. ประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี 4. ประกอบอาชีพหารายไดเ้ ลยี้ งครอบครวั อย่างพอเพยี ง 5. เปน็ ที่พึ่งของบตุ รหลานและคนในครอบครวั ท่ีมา : สานกั งานกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครวั , 2555 ขอบคุณภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 18

คุณพอ่ความสาคญั ของ ทม่ี ตี ่อลูก ในอดีต ผู้ชายไดร้ ับการยกย่องใหเ้ ป็นผนู้ าครอบครัวและมีอานาจตดั สินใจเกอื บทกุ เรือ่ ง เน่ืองจากผชู้ ายเปน็ หลกั ในการทางาน ประกอบอาชีพหารายไดเ้ ลย้ี งครอบครวั ขณะท่ีผู้หญงิ ส่วนใหญท่ าหนา้ ทีด่ ูแลครอบครวั แต่จากสถานการณ์ปจั จุบนั ทม่ี ีการเปลยี่ นแปลง ไปจากเดิม ที่ผู้หญิงมีการศึกษาสูงข้ึน และออกไปทางานประกอบอาชีพนอกบ้านเพ่ือหาเลี้ยงตนเองและครอบครัวมากขึ้น ขณะที่สังคม ส่วนใหญ่ยังคงคาดหวังให้ผูห้ ญงิ ต้องทางานประกอบอาชพี ไปพร้อม ๆ กับแบกรบั ภาระงานบา้ น เล้ียงดลู กู และดแู ลสมาชกิ ในครอบครวั เช่นเดิม ซึง่ ดูเหมอื นวา่ จะเป็นบทบาทหน้าทีท่ ห่ี นกั หนาเกนิ ไปสาหรับผู้หญิง ดังน้ัน ผู้ชายจึงควรมีบทบาทหน้าที่ในการช่วยเหลือแบ่งเบา ภาระงานของครอบครวั ทง้ั การช่วยเหลืองานบ้าน การเล้ียงดลู กู และการดูแลสมาชิกในครอบครัวดว้ ย ในเมื่อผูห้ ญิงมีการเปลีย่ นแปลงบทบาทหนา้ ที่ จากทีเ่ คยเป็นแมบ่ า้ นอย่างเดียว เปน็ ความรับผิดชอบในการทางานประกอบอาชพี เพื่อหาเลีย้ งตวั เองและช่วยเหลอื ครอบครัวด้วย พ่อ ที่สาคญั มีการยอมรับจากนกั วชิ าการว่า คือ บุคคลสาคัญในการสง่ เสรมิ พฒั นาการของลูกใหม้ ีการเตบิ โตอยา่ งเหมาะสมและมีคุณภาพ ดังนัน้ คณุ พอ่ จึงควรมีบทบาทหนา้ ที่สาคัญในการเลีย้ งดลู ูกมากขนึ้ ถถาามมวว่า่า พ่อควรมีบทบาทหน้าที่ในการเล้ียงดูลูกอย่างไร ? 1199

นักวิชาการแนะนา... บทบาทหน้าที่ในการเล้ียงดลู กู ของพอ่ สรปุ ดงั น้ี  พ่อควรมีบทบาทหนา้ ท่ีในการสรา้ งครอบครัว และฐานะของครอบครัว  ให้ความคุ้มครองและความมัน่ คงปลอดภยั แกล่ ูก  สะสมทนุ ทรพั ย์ให้ลูกเพ่อื เปน็ ทนุ การศึกษา และประกอบอาชพี  เป็นแบบอยา่ งทดี่ ขี องลกู  อบรมส่ังสอนใหล้ ูกเปน็ คนดี  ใหค้ วามรกั ความอบอนุ่ แก่ลกู  เปน็ ทพี่ ึ่งทีป่ รกึ ษา และให้คาแนะนาแก่ลูกในยามทล่ี ูกต้องการ  ช่วยส่งเสรมิ พัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยของลูก นักวิชาการระบุว่า พ่อมีความสาคัญต่อลูกมาก เราไม่ได้รู้สึกว่าเด็กผู้ชาย หรือ ผู้ชายท่ีมีพฤติกรรม โดยเฉพาะในช่วงที่เด็กมีอายุ 3 – 6 ขวบ เพราะเป็นช่วงที่ เหล่านั้นเป็นคนแปลกแยกในสังคม เพียงแต่คิดว่าธรรมชาติ เด็กจะเรียนรู้เกี่ยวกับความเป็นชายและหญิงจากพ่อและแม่ ได้สร้างให้เขาเป็นเพศชาย ถ้าหากเขาจะมีการเบี่ยงเบนทางเพศ โดยเด็กจะเรียนรู้แบบอย่างความเป็นหญิงจากแม่ ทั้งผ่าน เพราะโครโมโซม หรือ ลักษณะทางชีวภาพอ่ืน ๆ ทางธรรมชาติ ทางการดูแลเลี้ยงดู และการแสดงออกของแม่ เด็กผู้ชายก็จะ ทผี่ ิดปกติ ก็คงเป็นเรื่องยากท่ีจะแก้ไข ซ่ึงหากเป็นเช่นน้ัน คนใน เรียนรู้อารมณ์ ความรู้สึก เจตคติ พฤติกรรม และค่านิยมต่าง ๆ ครอบครวั และสังคมกค็ วรเข้าใจและยอมรบั จากพ่อ จริงอยู่ที่เด็กสามารถเรียนรู้บทบาททางเพศจากสังคม ภายนอกได้ แต่มีการยืนยันจากนักวิชาการว่า พ่อแม่คือคนที่มี แต่หากเด็กมีการเบ่ียงเบนทางเพศ เพราะพ่อและแม่ อิทธิพลต่อการเรียนรู้ของลูกมากที่สุด เป็นคนผลักดันให้เขาเป็นเช่นนั้น พ่อแม่จะคิดอย่างไร… และ รู้หรือไม่ว่าต่อไปเด็กต้องเผชิญกับความเจ็บปวดจากสังคม อีกเท่าไร และคุณซึ่งเป็นพ่อแม่จะรู้สึกอย่างไรหากต้องตอบ ปญั หาเรือ่ งน้ีตอ่ สังคม สาหรับ…พ่อหรือแม่ท่ีมีลูกเบ่ียงเบนทางเพศ…เคยถาม ตนเองบ้างหรือไม่ว่า คุณเป็นต้นเหตุหรือมีส่วนผลักดัน หรือ กาลังจะผลักดันให้ลูกของคุณมพี ฤติกรรมเหล่าน้นั หรอื ไม่ คุณผู้อ่านทราบหรือไม่ว่า เด็กผู้ชายท่ีมีแนวโน้ม ครอบครวั โดยเฉพาะพ่อและแม่ควรให้เวลาและ เบยี่ งเบนทางเพศ สว่ นหนึ่งเกิดจากการทีเ่ ด็กเกิดความขัดแย้งใน ทาหน้าที่ดูแลเลี้ยงดูและอบรมสั่งสอนลูกให้ดีท่ีสุด ใจเกี่ยวกับบทบาทของพ่อ ขาดศรัทธาพ่อ อยากทาร้ายจิตใจพ่อ เพื่อทีล่ กู จะได้เติบโตเป็นคนดีมีคุณภาพและสามารถ ด้วยการแสดงบทบาทในทางตรงกันข้าม เพื่อทาให้พ่อเสียใจ ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ทั้งนี้ เพราะพ่อแม่ ในอีกส่วนหนึ่งอาจเกิดจากการที่เขาสนิทสนมกับแม่ เรียนรู้และ คือคนสาคัญในการส่งเสริมพัฒนาการให้กับลูกทุกด้าน เห็นพฤติกรรมของแม่จนเกิดความเคยชิน รักแม่ ทาให้เรียนรู้ โดยเฉพาะคุณพ่อท่ีจะเป็นแบบอย่างในความเป็น ในการมีความคิด ความรู้สึก และมีพฤติกรรมตามแม่… และ ลกู ผชู้ าย และความเปน็ ลกู ผชู้ ายท่ีดที ี่สุดให้กับลกู ปจั จุบนั มเี ด็กผชู้ ายไมน่ ้อยทม่ี แี นวโน้มจะมีพฤตกิ รรมดงั กลา่ ว ทม่ี า : ปภาดา ชโิ นภาษ. ความสาคัญของคุณพ่อที่มีต่อลูก. วารสารสตรี และครอบครัว. ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจาเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2549, หนา้ 8. (ปรับปรุงข้อมลู กมุ ภาพันธ์ 2559) ข อ บ คุ ณ ภ า พ ป ร ะ ก อ บ จ า ก http://www.google.co.th แ ล ะ http://pixabay.com/th 122800

เรอ่ื งสำคญั ท.ี่ ..พอ่ แม่ต้องปฏิบัติ มีข้อมูลจากนักวิชาการระบุว่า “ธรรมชาติของเด็ก แต่สภาพสังคมปัจจุบันเต็มไปด้วยปัญหามากมาย ทัว่ ไปจะมีความเห็นแกต่ ัว คิดถึงตนเองก่อน และมักคิด ท้ังมคี วามซับซอ้ น หลากหลาย และแก้ไขได้ยาก ครอบครัวมีเวลา ว่าความคิดความต้องการข องเข าเป็น สิ่งที่ถูกต้อง ” ให้กันน้อยลง บางครอบครัวแทบไม่มีเวลาแม้แต่จะพูดคุยกัน ในบางครอบครัวทะเลาะกันแทบทุกวัน บางครอบครัวแตกแยก เบือ้ งตน้ คุณพ่อคณุ แม่จึงควรได้ทราบธรรมชาติของเดก็ ในเรอ่ื งนี้ ขาดญาติผู้ใหญ่คอยประคับประคองทางจิตใจให้กับลูกหลาน เพ่ือนบ้านที่อยู่ใกล้กันแต่ไม่รู้จักกัน ชีวิตที่ต้องรีบเร่งแก่งแย่ง สาหรับคุณพ่อคุณแม่ที่ต้องการดูแลเลี้ยงดูและอบรม แขง่ ขนั ประกอบกบั กระแสบริโภคนิยมท่ีมุ่งแสวงหาเงินทองและ สง่ั สอนลูกใหเ้ ป็นคนดีมคี ุณภาพไดอ้ ย่างทต่ี ้ังใจ มีขอ้ แนะนาดงั นี้ ทรพั ย์สิน ในขณะทีผ่ ูค้ นไม่เขา้ ใจหลกั คิด/หลักคาสอนทางศาสนา สภาวะแวดล้อมที่มีแต่มลพิษ ปัญหาความไม่ปลอดภัยในชีวิต 1. ศึกษาหาความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการ และทรัพย์สิน รวมถึงปัญหาก่อการร้ายอย่างรุนแรงในบางพื้นท่ี เลี้ยงดูลูก ปัจจุบันการเล้ียงดูเด็กให้ได้ดีน้ัน ข้ึนอยู่กับปัจจัย ฯลฯ กระทัง่ บางครั้งก็อาจลมื ไปว่าการใชช้ ีวติ อย่างมคี วามสงบสุข หลายอย่าง แต่ปัจจัยสาคัญประการหนึ่ง คือ พ่อแม่ควรมีความรู้ นน้ั เปน็ อย่างไร ที่ถกู ต้องในการเลีย้ งดูลกู เพอ่ื ใหส้ ามารถนาเนอ้ื หาความรูท้ ถ่ี ูกต้อง ไปใช้ในการดูแลเลี้ยงดูและอบรมสั่งสอนได้อย่างเหมาะสม พ่อแม่ยุคนี้ จึงจาเปน็ ตอ้ งมีการศึกษาเรียนรู้ ซึ่งคงปฏิเสธไม่ได้ว่า ถึงแม้พ่อแม่จะมีความต้ังใจในการเล้ียงลูก เกยี่ วกับวิธีการเลีย้ งดลู ูกทถี่ ูกต้อง เพียงใด ถ้าไม่มีความรู้ที่ถูกต้องคงยากที่จะเลี้ยงลูกให้ดี ได้อย่างทต่ี ัง้ ใจ เพื่อให้พอ่ แมม่ ีความรูเ้ พียงพอที่จะเลี้ยงดูลูก รวมทั้งรูจ้ ักปรับวิถกี ารดาเนนิ ชีวติ ภายในครอบครัว ใ น อ ด ีต เ ด ็ก ไ ท ย เ ต ิบ โ ต ขึ้น ม า ใ น ค ร อ บ ค ร ัว ที ่มี ความเข้มแข็ง มีพ่อแม่และญาติผู้ใหญ่มากมายคอยให้คาแนะนา ให้เหมาะสมกบั ยุคสมัย สง่ั สอน และช่วยประคับประคองจิตใจให้กับเด็ก พ่อแม่ก็มีเวลา ทั้งนี้ เพือ่ ให้สามารถทาบทบาทหน้าที่ เพียงพอท่ีจะดูแลเอาใจใส่และมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน สังคมเพอื่ น ในการดแู ลเลี้ยงดูและอบรมสั่งสอน บ้านมีการช่วยเหลือเก้ือกูล การดาเนินชีวิตเป็นไปอย่างเรียบง่าย หลอ่ หลอมใหล้ ูกได้เตบิ โตเปน็ คนดี มีคุณภาพ สอดคล้องกับธรรมชาติ ซึ่งไม่ได้มีการดาเนินชีวิตท่ีเต็มไปด้วย และเพอื่ ทุกคนในครอบครัวจะสามารถใช้ชวี ิตในสังคมได้ ความเร่งรีบ แก่งแย่งแข่งขัน และสิ่งแวดล้อมที่เป็นภัย อย่างมีความสุข...ไดอ้ ยา่ งทีต่ ั้งใจตอ่ ไป ทั้งที่เกิดจากฝีมือมนุษย์และธรรมชาติมากมายถึงขนาดนี้ เด็กไทยในอดีตจึงสามารถเติบโตและสามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคม ไดด้ ี และไม่มปี ญั หาซบั ซ้อนมากมายเหมือนเชน่ ในปจั จบุ ัน 21

2. ให้เวลาและดูแลเอาใจใส่เล้ียงดูลูก 4. อบรมสั่งสอนผ่านกิจวัตรประจาวัน อย่างใกล้ชิด พ่อแม่ต้องให้เวลาและดูแลเอาใจใส่ลูก ดว้ ยการฝกึ ให้ลกู ปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองอย่างสม่าเสมอ ซ่ึงเป็นการสอน อย่างสม่าเสมอ เพื่อสร้างความผูกพันและความมั่นคงทางจิตใจ เรื่องที่เป็นนามธรรมให้ลูกเห็นอย่างเป็นรูปธรรม โดยเร่ืองที่ควร ซึ่งมีความสาคัญมากต่อชวี ิตและจิตใจของลูก ใหค้ วามสาคัญ ไดแ้ ก่ ธรรมชาตขิ องเด็กจะมองเห็น ได้ยิน รู้จักตอบสนอง - ความมีระเบยี บวนิ ยั เรม่ิ จากการกนิ นอนเป็นเวลา ต่อรส กล่ิน และสัมผัสตั้งแต่แรกเกิด เรียนรู้ได้เร็วจากคนใกล้ชิด การจัดเกบ็ ของเลน่ เอง ฯลฯ จากประสบการณ์และการกระทาของตนเอง พ่อแม่จึงต้องให้ เวลาอยู่ใกล้ชิด มองหน้าสบตา ย้ิมแย้ม สัมผัสอย่างอ่อนโยน - ให้เข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของตนเอง เช่น หากเห็น พูดคุยโต้ตอบ และเล่นกับเขา รวมถึงต้องจัดสภาพแวดล้อม ว่าลูกโกรธ ก็อาจพูดกับเขาว่า “แม่รู้ว่าลูกโกรธ แต่ลูกไม่ควร ให้ดูนา่ สนใจและปลอดภยั และทากจิ กรรมตา่ ง ๆ กับลกู โดยตอ้ ง กระทืบเท้านะจ๊ะ” แล้วหาวิธีเบ่ียงเบนความสนใจของลูก เช่น คานงึ ถึงความสนใจและความสามารถของลูกเปน็ สาคัญ “ของเลน่ น้ันเปน็ ของพเ่ี ขา ลูกมาเลน่ ชิ้นนีด้ กี ว่า” 3. อบรมส่ังสอนพร้อมเป็นแบบอย่างท่ีดี - ฝึกให้ลูกรู้จักการรอคอย ซึ่งสามารถฝึกได้ตั้งแต่ ให้กับลูก ท่ีกล่าวเช่นนี้เพราะนักวิชาการระบุว่า การอบรม อายุ 6 เดือนข้ึนไป เพราะช่วงนี้สมองของเด็กเริ่มเรียนรู้และ สั่งสอนหรือหล่อหลอมไม่ใช่เพียงแค่การ “พูดสอน” เพราะเด็ก ควบคุมตัวเองได้มากขึ้น ระบบประสาทสัมผัสทั้งการมองเห็น ยังเล็กเกินกว่าที่จะทาความเข้าใจ แต่เด็กจะรับรู้และเรียนรู้ การได้ยินก็ทาหน้าที่ได้ดีขึ้น เช่น เมื่อลูกรบเร้าจะกลับบ้าน จากการแนะนา หรือ การอธิบายด้วยการยกตัวอย่าง และซึมซับ ขณะพาไปเดนิ เล่น แม่อาจบอกกบั ลูกว่า “แมร่ ู้วา่ ลูกอยากกลับบ้าน จากเรอ่ื งราวท่เี กิดขน้ึ ในชวี ติ ประจาวนั แตก่ ารเรยี นรู้ท่สี าคญั ทีส่ ดุ แตต่ อนน้แี มย่ งั คยุ ธรุ ะกบั คณุ ปา้ อยูเ่ ลย รออีกเดย่ี วนะจะ๊ ” คอื การเรียนรจู้ ากการกระทาของพ่อแม่ของเขาเอง ดังนัน้ พ่อแม่ จึ ง ค ว ร อ บ ร ม ส่ั ง ส อ น พ ร้ อ ม กั บ เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ ลู ก - สอนให้ลูกรู้จักแบ่งปัน ด้วยการให้เขาได้มีส่วนร่วม โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในเรอื่ งต่อไปน้ี ในการแบง่ ปนั เช่น “ลูกช่วยถือขนมไปให้คุณตาคุณยายข้างบ้าน หน่อยนะคะ” ซ่ึงจะทาให้ลูกซึมซับบรรยากาศของการให้และ - ความกตัญญูกตเวที แบ่งปันโดยไม่รูต้ วั - ความซอื่ สัตย์ - ความประหยัด มัธยสั ถ์ รจู้ ักพอเพียงในสง่ิ ทมี่ ี นอกจากนั้น ควรมีการสอนผ่านแบบอย่างที่ดี - ความสามารถในการควบคุมอารมณโ์ กรธ ในสงั คม เชน่ หรือ ไม่พอใจ - สอนผ่านพฤติกรรมของผู้คนรอบตัวในสังคม - ความอดทน ไม่ว่าจะเป็นเด็กในวัยเดียวกัน หรือผู้คนต่างวัย พ่อแม่สามารถ - การมีความสัมพันธอ์ ันดกี บั ผู้อืน่ สอนไดท้ ้ังผลดี ผลเสียของพฤติกรรมทเี่ หมาะสมและไม่เหมาะสม - การให้การชว่ ยเหลือ และการแบ่งปัน ซึ่งไม่จาเป็นต้องรอให้เกิดกับตนเอง เพียงแต่เลือกเร่ืองที่สอนให้ - ความมีวนิ ัยต่อตนเองและผอู้ ่ืน เหมาะสมกบั วัยของเขา - ความนับถอื ตนเอง - ความมุ่งมนั่ ไปส่คู วามสาเร็จ - สอนผ่านรายการโทรทัศน์ที่ลูกดู นักวิชาการ - การเอาชนะปญั หา และอปุ สรรคโดยไม่ยอ่ ท้อ แนะนาว่า เด็กท่ีอายุมากกว่า 2 ปี ไม่ควรดูโทรทัศน์ รวมทั้งส่ือ - การจดั การกับปญั หาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การเรียนรู้ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวีดีโอ วีซีดี หรือ เกมคอมพิวเตอร์ เกิน 2 ชั่วโมงต่อวัน ส่วนเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี ไม่แนะนาให้ดู โทรทัศน์ หรือ ใชส้ ่อื การสอนทางโทรทศั น์ใด ๆ เพราะสื่อโทรทัศน์ นอกจากเป็นการสื่อสาร ทางเดียวที่แทบไม่ได้ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการ ใด ๆ แล้ว การยิ่งปล่อยให้เด็กใช้เวลาอยู่หน้าจอโทรทัศน์ นานเท่าใด ก็จะยิ่งทาให้เด็กพบเห็นภาพและเหตุการณ์ ที่ไม่เหมาะสมมากขึ้นเท่านั้น ดังนั้น การดูโทรทัศน์ สาหรับเด็กทุกวัย พอ่ แมค่ วรเลือกรายการทีเ่ หมาะสมกับ วัยของเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็ก เพราะเด็กเล็กจะซึมซับ ส่ิงที่เขาเห็นได้ง่าย ที่สาคัญ พ่อแม่ควรอยู่กับลูกขณะดู โทรทัศน์พร้อมพูดคุยกบั เขา เพือ่ ประเมินทัศนคติ วิธีคิด และมุมมองของลูก รวมทั้งสอดแทรกวิธีคิดและมุมมอง ตามบรรทัดฐานของครอบครัวและสังคมไปพร้อมกันดว้ ย 22

5. ฝึกให้ลูกรู้จักช่วยเหลือตนเองอย่าง หลักในการชมเชยและให้รางวัล คือ ต้องทาทันทีท่ีลูก เหมาะสมตามวัย ให้ลูกสามารถทากิจวัตรของตนได้ แสดงพฤติกรรมท่ดี ีและเหมาะสม และควรเลือกรางวัลให้หลาย ๆ โดยไม่จาเปน็ ต้องพงึ่ พาผใู้ หญ่ แบบ ลดการยึดติดส่ิงของ ซ่ึงวิธีการให้อาจกาหนดให้ลูกทราบ ล่วงหนา้ หรือไม่ใหท้ ราบ แล้วแต่สถานการณ์ สาหรับรูปแบบของ เชน่ เด็ก 2 - 3 ขวบ ท่ีต้องเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รางวัลมีมากมาย ดังน้ี ควรได้รับการฝึกให้ขับถ่ายเป็นเวลาและเป็นท่ีเป็นทาง เมื่อเข้า โรงเรียนอนบุ าล เด็กควรแปรงฟนั ได้ ทานอาหารเองได้ เก็บท่ีนอน รางวัลทางสังคม : รอยย้ิม การสมั ผัสหรือโอบกอด เปน็ และสามารถบอกความรสู้ กึ หรือความต้องการของตนได้ ฯลฯ ไดร้ บั ความสนใจ เสียงตบมอื ชมเชย ฯลฯ กิจกรรม : หยอกล้อกับพ่อและแม่ ไปเที่ยวนอกบ้าน ได้เล่นของเล่นสุดโปรด ได้เล่นกับเพื่อนที่สนามเด็กเล่นของ หมู่บา้ น ฯลฯ สิ่งของรางวัล : ไอศกรีม ขนม ตุ๊กตา ของเล่น เงิน ดินสอสี ฯลฯ หลังจากน้ัน ค่อย ๆ ลดรางวัลลง จนกระท่ังเกิดคุณค่า ในตัวของเขาเอง โดยไม่จาเปน็ ต้องไดร้ บั รางวัลหรอื ส่ิงตอบแทน เด็กมากมายสามารถเรียนรู้การเดินการพูด การช่วยเหลือ ตนเอง แบ่งปันของเล่น ช่วยเหลืองานบ้าน ฯลฯ เพราะได้รับ ความสนใจและได้รางวัล (ในรูปแบบท่ีถูกต้อง) จากพ่อแม่หรือ ผู้ใหญ่ ดงั นั้น พอ่ และแม่จึงตอ้ งสร้างแรงจูงใจทดี่ ีอยา่ งสมา่ เสมอ 6. สร้างแรงจูงใจที่ดีอย่างสม่าเสมอ อย่างไรก็ตาม (ชมเชยและให้รางวัล) รางวัล คือ แรงจูงใจ เป็นกาลังใจ และ เด็กแตล่ ะคนอาจชอบของรางวลั เป็นความภาคภูมิใจในความสาเร็จ ดังน้ัน พ่อแม่จึงควรชมเชย และให้รางวัลลูก เม่ือลูกพยายามทาความดี หรือทาสิ่งท่ีถูกต้อง ไม่เหมอื นกนั เหมาะสม (เช่น เลิกดดู ขวดนม, ช่วยเก็บของเล่น, ทาการบ้านเสร็จ พ่อแมต่ อ้ งคอยสงั เกตดูว่าลกู ชอบอะไร ฯลฯ) หรือในโอกาสพิเศษ (เชน่ วนั เกิด วันเด็ก ลูกสอบได้คะแนน แลว้ เลือกส่ิงที่ลูกชอบเป็นของรางวลั ดีขึ้น ฯลฯ) เพียงแต่ต้องไม่ชมเด็กจนพร่าเพรื่อและเกินจริง แต่อยา่ ลืมพิจารณาความเหมาะสม ท่ีสาคัญ อย่านารางวัลมาสร้างเป็นเง่ือนไขกับเด็กว่าเขาต้องทา อย่าใหร้ างวัลกลายเป็นสง่ิ ท่ีทาร้ายลกู แบบนั้นแบบนี้แล้วจะได้รางวัล เพราะเด็กจะยึดติดกับรางวัล ทาอะไรก็หวังว่าจะได้รับรางวัลตอบแทน พอทาอะไรให้ใคร สาหรบั ครอบครวั ทม่ี ลี ูกหลายคน แล้วไม่ได้รับรางวัลก็จะไม่อยากทา หรือมีการเรียกร้องหาของรางวัล การใหร้ างวัลตอ้ งมีมาตรฐานเดยี วกนั เม่อื จะทาความดีในแต่ละครั้ง เพื่อเดก็ จะไดเ้ รยี นรู้ เร่ืองกตกิ าของการอยู่รว่ มกันในสังคม อย่างมีความเสมอภาคดว้ ย ท่ีมา : สานกั งานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. “คมู่ อื การเล้ยี งดลู กู วยั แรกเกิด – 6 ป”ี กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค.ลาดพร้าว, 2552. ขอบคุณภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 23

ข้อแนะนำ...คุณพอ่ คุณแม่มือใหม่ การเล้ียงลูกใหด้ ีและไมก่ ่อให้เกิดปัญหาต่อการใช้ชีวิตคู่ มีข้อมูลว่า เด็กสามารถรับรู้ความรู้สึกและบรรยากาศ สามารถทาได้ หากสามีภรรยาช่วยเสริมบทบาทหน้าที่การเลี้ยงลูก ของความขัดแย้งต่าง ๆ ได้ดี แต่ไม่สามารถเข้าใจและแยกแยะ ซงึ่ กันและกนั เร่ืองสาคัญท่ีต้องบอกกลา่ วคือ ไม่ควรคิดว่าลูกเป็น เหตุผลที่เกิดขึ้นได้ ดังน้ัน คุณพ่อคุณแม่คงต้องปรับตัวอย่างมาก ทั้งหมดของชีวิต แต่ต้องคิดว่าคู่ชีวิตของเรา ตัวเรา และลูก และพยายามทาบทบาทหน้าที่อย่างเหมาะสม ท่ีสาคัญการมีชีวิตคู่ ของเรา ต่างมีความสาคัญไม่ได้ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน เพียงแต่ ที่ดีจะเป็นรากฐานที่สาคัญในการเลี้ยงลูกให้เติบโตเป็นคนดี ลูกยังเล็กจึงมีความจาเป็นต้องมีคนดูแลอย่างใกล้ชิด แต่ใน มีคณุ ภาพ และใชช้ ีวติ อยใู่ นสังคมได้อยา่ งมีความสุขต่อไป ขณะเดยี วกนั คุณกม็ บี ทบาทหนา้ ทข่ี องสามภี รรยาอย่ดู ว้ ย สงั คมปจั จุบันผู้หญงิ มกี ารศกึ ษามากขึ้น สามารถทางาน ทตี่ อ้ งกลา่ วเช่นน้ี เพราะมีขอ้ มลู ว่า มีสามภี รรยาจานวน หาเลยี้ งตนเองและจุนเจือครอบครัวได้ ดังนั้น สามีและสมาชิกใน ไมน่ ้อยท่ีเมื่อเป็นพอ่ แม่จะมุง่ ใหค้ วามสาคัญตอ่ ลูกมากกว่าคสู่ มรส ครอบครัวคงต้องทาความเข้าใจว่า บทบาทหน้าท่ีการเล้ียงดูลูก ซ่ึงอาจทาให้เกิดปัญหาในการใช้ชีวิตคู่ตามมา และท้ายท่ีสุดก็จะ และทางานบ้าน ซ่ึงอดีตเคยเป็นหน้าที่ของฝ่ายภรรยาเพียงฝ่าย ส่งผลกระทบกับลูก …ฝากใคร่ครวญดูว่า ลูกจะมีพัฒนาการ เดียวน้ัน ควรต้องเป็นบทบาทหน้าท่ีของทั้งสองฝ่าย รวมถึง ทั้ ง ร่ า ง ก า ย แ ล ะ จิ ต ใ จ ที่ ดี ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร ห า ก พ่ อ แ ม่ มี สมาชิกในครอบครัวคนอ่ืน ๆ ด้วย เพียงแต่อาจมีบทบาทและ ความสัมพนั ธไ์ ม่ดีตอ่ กัน ความสาคัญในแต่ละเรือ่ งแตกตา่ งกนั การชว่ ยเลยี้ งดูลกู และการชว่ ยเหลอื งานบ้านของสามี นอกจากช่วยเหลือแบ่งเบาภาระไม่ให้ภรรยาเหน่ือยเกินไป และ เป็นการใหก้ าลังใจทดี่ แี ก่ภรรยาแลว้ ยงั มีข้อมลู จากนกั วชิ าการวา่ มผี ลดีอีกมากมาย ดังน้ี  พ่อได้มโี อกาสใกลช้ ดิ ลกู มากข้นึ  ลกู ได้มีโอกาสในการซมึ ซบั ลักษณะของความเป็นผชู้ ายจากพอ่  ลกู จะได้มปี ระสบการณท์ ่ีหลากหลายจากพอ่  โดยท่ัวไปผู้ชายจะมีความคิดแปลกใหม่ จึงสามารถนาความคิดและทากิจกรรมต่าง ๆ ที่สร้างสรรค์ได้ มากมาย ซ่ึงยอ่ มจะส่งผลต่อพัฒนาการท่ีดขี องลูก  ภรรยาได้มเี วลาในการดูแลตนเอง และดแู ลเอาใจใสส่ ามแี ละครอบครัวมากข้นึ  ลดภาวะความตงึ เครยี ดจากความเหนอื่ ยลา้ ของภรรยา ซึง่ จะช่วยป้องกัน/ลดปัญหาความขดั แยง้ ในครอบครวั  สามมี คี วามภมู ิใจในการได้มโี อกาสชว่ ยเหลือภรรยา 24

 ผู้ชายจะมีความผกู พนั และค้นุ เคยกบั การอยู่กับครอบครวั  ผชู้ ายจะเข้าใจความรสู้ กึ ของผูห้ ญงิ ทต่ี อ้ งรบั ภาระงานบ้าน และการเล้ยี งดลู ูกมากข้ึน  สร้างความรู้สกึ ใหม่ให้กบั ผูช้ ายรจู้ กั รับผดิ ชอบครอบครัวมากขึ้น  สามีและภรรยาจะมคี วามภมู ใิ จในครอบครัวทร่ี ่วมสร้างมาด้วยกัน  ครอบครวั มคี วามอบอุ่นเพราะไดท้ ากิจกรรมร่วมกัน อย่างไรกต็ าม มผี ูช้ ายไมน่ ้อยที่ไม่มีความมน่ั ใจในการทา หน้าท่ีเล้ียงดูลูก ซ่ึงอาจเกิดจากการขาดความมั่นใจว่าจะทา บทบาทหน้าที่น้ีได้ดีพอ หรืออาจคิดว่าผู้หญิงทาหน้าท่ีได้ดีกว่า ซึ่งหากฝ่ายสามีมีความคิดดังกล่าว ภรรยาควรช่วยแนะนา และสร้างความมั่นใจให้แก่สามีในการทาหน้าที่นี้ เพราะ นักวิชาการระบุว่า พ่อคือบุคคลสาคัญในการส่งเสริม พัฒนาการของลูก เป็นทั้งที่พึ่งทางปัญญา เป็นที่พึ่งทางใจ เป็นตวั อยา่ งในความเปน็ ผชู้ ายทด่ี ีทีส่ ุดของลูก สา ห รับ คุณ แ ม่ ก็ไ ม่ค ว ร ล ะ เ ล ย ค ว า ม ต้อ ง ก า ร ของตนเอง หาเวลาพักผ่อนนอนหลับ (เช่น ขณะลูกหลับ ขณะท่มี ีคนช่วยดูแลลกู ฯลฯ) ตัดความกังวลกับภาระต่าง ๆ หาเครื่องทุ่นแรงมาช่วยงานบ้าน (เช่น เคร่ืองซักผ้า เคร่ืองดูดฝุ่น จ้างคนรีดผ้า ฯลฯ) เพ่ือลดความเหน่ือยล้า และเอ่ยปากขอความช่วยเหลือจากสามี ญาติ หรือ คนใน ครอบครัวบ้าง อย่าพยายามทาทุกอย่างด้วยตนเอง เพราะจะเหนื่อยล้าเกินไป และอาจทาให้ไม่มีเวลาท่ีจะดูแล ตนเอง ดูแลสามี และคนในครอบครัว ยิ่งกว่าน้ัน การไม่มี เวลาพักผ่อนอาจทาให้เกิดอาการเครียด ป่วย และส่งผล กระทบกับความสมั พนั ธ์ภายในครอบครวั ตามมา ถึงเวลาแล้วท่ีสังคมคงต้องทาความเข้าใจว่า บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในการดูแลเลี้ยงดูและอบรม สง่ั สอนบตุ รหลาน เปน็ บทบาทหน้าทส่ี าคัญของคณุ พอ่ คุณแม่ และผู้ใหญ่ในครอบครัว สาหรับความคาดหวังเดิม ๆ ที่ต้องการให้ผู้หญิงที่ต้องทางานประกอบอาชีพหาเลี้ยงตนเองและครอบครัว ยังคงต้องแบกรับภาระ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในการเล้ียงลูกเพียงฝ่ายเดียว ดูจะเป็นเร่ืองท่ีไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง ในปัจจบุ นั ซง่ึ เรื่องน้ี ถอื เปน็ เรอื่ งสาคญั ท่ีตอ้ งเรง่ สร้างความเข้าใจใหก้ ับสังคม ท่มี า : สานักงานกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครวั . “คู่มอื การเลยี้ งดูลกู วยั แรกเกดิ – 6 ป”ี กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค.ลาดพร้าว, 2552. ขอบคณุ ภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 25

พอ่ แม่ควรสอนอะไร...เจ้าลกู ตัวเล็ก คุณผู้อ่านคงเคยได้ยินคาพูดของนักวิชาการด้านครอบครัวและเด็ก เ ก่ี ย ว กั บ เ รื่ อ ง น้ี มี ข้ อ แ น ะ น า จ า ก ที่ว่า “พ่อแม่สมัยน้ีมักจะแก่วิชา” กันมาบ้างแล้ว บางท่านอาจเข้าใจ นักวิชาการว่า “กอ่ นทพ่ี อ่ แม่จะตัดสินใจว่าจะ สอนอะไรให้กับลูก ควรไตร่ตรองก่อนว่า ประโยคนี้ บางท่านอาจไม่เข้าใจ ...ความหมาย คือ พ่อแม่ยุคนี้มักจะเร่งสอน จะให้ลูกเรียนไปเพ่ืออะไร” หากท่านคิดว่า วิชาต่างๆใหก้ ับลูก เช่น พอลูกเริ่มพูดได้ พ่อแม่ก็เร่งสอนให้ท่อง ก.ไก่–ฮ.นกฮูก สอนท่อง A–Z หัดให้นับ 1–10 และเมื่ออายุ 2 ขวบเศษ ก็รีบส่งลูกเข้า การสอนเลข สอนภาษาไทย สอนภาษาอังกฤษ โรงเรียนเตรียมอนุบาล ถ้าโรงเรียนไม่เน้นสอนให้เด็กหัดอ่านหัดเขียน ให้กับเด็กในวัยก่อนเข้าเรียน จะทาให้เด็กเก่งกว่า ก็มองว่าสอนไม่ดี เมื่อเด็กกลับมาบ้านก็สอนให้หัดอ่านหัดเขียนอีก คนอื่นเมื่อถึงเวลาที่จะต้อง เรียนตามเกณฑ์ วันเสาร์อาทิตย์ก็ต้องพาไปเรียนพิเศษ เบาลงมาหน่อยก็พาไปเรียนดนตรี การศึกษาภาคบังคับน้ัน นักวิชาการยืนยันว่า ร้องเพลง หรือวาดภาพ ฯลฯ หลากหลายทจ่ี ะหามาให้ลกู ได้เรียน “เป็นความคิดท่ีผดิ ” เพราะมีข้อมูลว่า ในการเรียนประถมต้นเด็ก ที่เคยเรียนมาก่อนอาจไปเร็วกว่าเด็กที่เข้าเรียน ตามเกณฑ์ปกติจริง แต่ความเก่งดังกล่าวจะอยู่เพียง แค่สองปีแรกเท่านั้น จึงแทบไม่มีผลต่อการเรียน ของเด็กเมื่อโตขึ้น ที่สาคัญช่วงวัยเรียนรู้ดังกล่าว เด็กต้อง “สูญเสียโอกาสเรียนรู้ส่ิงท่ีไม่ใช่วิชา” และ “ไม่ได้เรียนรูจ้ ากประสบการณ์” ซึ่งการไม่เปิดโอกาส ให้เด็กได้เรียนรู้อย่างอิสระจะทาให้เด็กไม่ได้รับ ส่ิงสาคัญที่จะเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของเขา เมอื่ เตบิ โต น่ันคอื “ความคดิ สรา้ งสรรค์” 26

ความคิดสร้างสรรค์เกิดจากประสบการณ์และ นอกจากนั้น พ่อแม่ควรสอนให้ลูกรู้จักเข้าใจผู้อื่น รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่วิชา แต่เป็น การเรียนรู้ ไม่ได้เกิดจากการท่องจา นักวิชาการ การเรียนรู้ทจ่ี ะมผี ลต่อการดาเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ซึ่งการที่ลูกจะเรียนรู้โดยผ่านการสัมพันธ์กับผู้อื่น ได้นั้น ให้คาแนะนาว่า “พ่อแม่มีหน้าที่สอนให้ลูกรู้จักพัฒนา ลูกต้องมีเพื่อน จึงถือเป็นหน้าที่ของพ่อแม่ที่ต้องสนับสนุน ความสามารถด้วยตนเอง รู้รสชาติของความปิติยินดี ให้เด็กได้เล่นกันเพื่อน ๆ และพ่อแม่ต้องเป็นแบบอย่างที่ดี เมื่อได้ทาส่ิงที่สร้างสรรค์ และพ่อแม่ต้องสร้างบรรยากาศ ในการเขา้ ใจผอู้ นื่ เชน่ ไม่มีการถกเถียงกันต่อหน้าลูก หรือไม่นินทา ครอบครวั ให้มคี วามสขุ สดช่นื ซึ่งความสขุ สดช่นื จะเกิดข้ึนได้ วา่ รา้ ยใครใหล้ ูกได้ยิน ฯลฯ ก็ต่อเม่ือสมาชิกในครอบครัวมีความเข้าใจกัน และอยู่ร่วมกัน อย่างมชี วี ติ ชีวา” ครอบครวั จะมีความสุขสดช่ืนมีชีวิตชีวา เมื่อเต็มไปด้วย ความเข้าใจผู้อ่ืน เป็นเร่ืองของจิตใจ ซึ่งคงไม่มีโอกาส ความปิติยินดีเพราะได้ทาส่ิงท่ีสร้างสรรค์ร่วมกัน ดังนั้น พ่อแม่ เกิดข้ึนเลย ถ้าใจของเด็กมีแต่ความอึดอัด เพราะถูกเลี้ยงไว้ จึงควรเปิดโอกาสให้ลูกได้ทากิจกรรมสร้างสรรค์ท่ีเหมาะกับ อปุ นสิ ยั และความสามารถของเขา เช่น เด็กที่ชอบวิ่งเล่นนอกบ้าน แต่ในบา้ น นักวิชาการบางรายใช้คาวา่ “ถูกกักขังอยู่ในบ้าน” ก็พาเขาไปว่ิงเล่นนอกบ้าน เด็กชอบวาดรูปก็เตรียมอุปกรณ์ ให้เขาวาด ถ้าชอบดูหนังสือภาพก็หาหนังสือที่ลูกชอบให้ เด็กบางคนอยู่กับแม่เพียงสองคนท้ังวัน ซึ่งอาจทาให้เกิดอาการ ชอบประดิษฐ์ก็หาแท่งไม้หรือพลาสติกสาหรับต่อเล่นให้ เครียดทั้งคู่ เพราะแม่อาจจู้จี้ขี้บ่น ลูกก็อาจทนแม่ไม่ได้ เด็กที่ชอบดนตรีก็ให้ฟังดนตรี หรือ หาเครื่องดนตรีเด็กเล่น เกดิ ความอยากดือ้ อยากตอ่ ต้าน ในกรณีน้ี นักวิชาการแนะนาว่า ให้เขาได้เล่น ที่สาคัญเมื่อมีข้อซักถาม พ่อแม่ควรตอบทุกครั้ง ควรให้เด็กแยกจากแม่บ้าง อาจส่งไปสถานเลี้ยงเด็กหรือ โรงเรียนอนุบาลวันละ 3 - 4 ชั่วโมง หรือ ตามความเหมาะสม อย่าแสดงอาการหงุดหงิดหรือราคาญลูก ถ้าลูกไม่สนใจ หรือ พาลูกไปเดินเล่น ไปซื้อของ หรือไปเที่ยวนอกบ้านบ้าง ก็ไม่ควรไปบังคับหรอื ยัดเยยี ดให้ลูกทา เพราะไม่เพียง ทั้งนี้ ไม่ควรใช้โทรทัศน์ หรือ วดี ีโอเล้ียงลูก เพราะจะทาให้ ไมม่ ีประโยชน์ แต่ยงั อาจมีโทษตามมาด้วย กลายเป็นเด็กเฉ่ือยชา ขาดความคิดสร้างสรรค์ ที่สาคัญ อาจซึมซับส่งิ ที่ไมเ่ หมาะสมจากส่ือเหลา่ นั้นดว้ ย 247

การให้ลูกทั้งลูกสาวและลูกชายช่วยเหลืองานในบ้าน เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ เป็นเรื่องที่นักวิชาการ กเ็ ปน็ เรื่องจาเปน็ เช่น ขณะตากผ้าก็ให้ลกู ชว่ ยหยิบผ้าในตะกร้าส่งให้ พูดถึงมานานระยะหน่ึงแล้ว แต่ท่ีนามาเล่าสู่กันฟังอีก ขณะที่พ่อแม่ปลูกต้นไม้ ก็ให้ลูกช่วยรดน้าหรือช่วยส่งอุปกรณ์ เพราะรู้สึกเป็นห่วงว่าสังคมไทยท้ังสถานศึกษาและ ปลูกบ้าง ขณะทาอาหารอาจให้ลูกหยิบของให้ ฯลฯ ซึ่งจะเป็น ผู้ปกครองยังคงยึดติดกับการเรียนการสอน (เนื้อหา) การสอนให้ลูกรู้จักการใช้แรงงาน สร้างความม่ันใจ และช่วยสร้าง ในชั้นเรียน ทาให้เด็กไทยขาดโอกาสที่จะเรียนรู้ ค ว า ม รู้สึก ว่า เ ข า เ ป็น ค น สา คัญ อีก ค น ห นึ่ง ข อ ง ค ร อ บ ค รัว ซึ่งจะส ร้า ง ส ร ร ค์สิ่ง ที่เ ป็น ป ร ะ โ ย ช น์ต่อ การใช้ชีวิต เพียงแต่จะต้องทาให้เด็กรู้สึกสนุกสนานกับการใช้แรงงานน้ันด้วย ... ของเดก็ ๆ เม่ือเตบิ โต ไปอยา่ งนา่ เสยี ดาย... อย่าใช้แรงงานเป็นการลงโทษ เช่น ให้ลูกท่ีฉ่ีรดท่ีนอนไปซักผ้าปู ที่นอน ฯลฯ เพราะจะสร้างทัศนคติในแง่ลบ แต่ควรทาให้เขารู้สึก สนุกสนานและประทับใจที่ได้ช่วยเหลืองานบ้าน เพราะการแสดง ค ว า ม ป ล า บ ป ลื้ม ยิน ดี ที่ลูก ช่ว ย ง า น จ น สา เ ร็จ เ ป็น เ รื่อ ง สา คัญ โดยขณะท่ีลูกช่วยงาน พ่อแม่ควรลงมือทางานน้ันไปพร้อมกันด้วย เพราะความภูมใิ จที่ได้ชว่ ยเหลืองานพ่อแม่ เป็นเร่ืองสาคัญของเด็ก ๆ อย่าเพยี งแต่สั่งงานแล้วปล่อยให้ลูกทาเอง เพราะการสอนให้ลูกใช้ แรงงานนอกจากสอนให้ลูกได้เรียนรู้แล้ว ยังสร้างความภาคภูมิใจ ใหก้ ับลูกดว้ ย เมื่อมีน้อง ปกติลูกคนพี่มักชอบช่วยงาน เพราะพ่ีจะมี ท้ายนี้ ขอฝากถึงคุณพ่อคุณแม่ที่คาดหวัง ความรู้สึกวา่ ตนเองโตแล้ว เกิดความภูมใิ จทเี่ ร่ิมพึ่งตนเองได้ ดังน้นั ให้ลูกเติบโตเป็นคนดีมีคุณภาพว่า คงต้องศึกษา พ่ อ แ ม่ จึ ง ค ว ร ใ ห้ ลู ก ค น พี่ ไ ด้ มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ดู แ ล น้ อ ง ด้ ว ย ทาความเข้าใจไปพร้อม ๆ กับการปรับเปล่ียน ซึ่งนอกจากเป็นการสอนลูกแล้ว ยังช่วยป้องกันปัญหาพี่อิจฉา พฤติ กร รมในก า ร เ ลี ้ย ง ด ูลูก ใ ห ้ถูก ต ้อ ง แ ล ะ น้องได้อีกด้วย ทั้งน้ี นักวิชาการแนะนาว่า การสอนให้เด็กรู้จัก เหมาะสมด้วย ทางานใช้แรงงานไม่ควรให้ค่าจ้างตอนแทนเป็นเงิน เพราะจะสร้างความเคยชินที่จะไม่ช่วยงานถ้าไม่ได้รับ รางวัลตอบแทน และจะสร้างทัศนะผิด ๆ ว่าการทาความดี เพียงเพือ่ หวังสิ่งตอบแทน... ท่มี า : ปภาดา ชิโนภาษ. พ่อแม่ควรสอนอะไร...เจา้ ลกู ตวั เลก็ . วารสารสตรแี ละครอบครวั . ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 ตลุ าคม 2554 – มนี าคม 2555 หนา้ 27. (ปรบั ปรุงขอ้ มูล กมุ ภาพนั ธ์ 2559) ขอบคณุ ภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 22588

ธรรมชาติสรา้ งใหท้ ารกแรกเกดิ – 6 เดือน สามารถมีชีวติ อยูไ่ ด้ด้วยน้านมของแม่ ควำมสำคัญของ…น้ำนมแม่โดยไม่จ้าเป็นตอ้ งมีอาหารใดเพม่ิ เตมิ แม้กระทั่งน้า ขข้อ้อมมูลูลสสำำคคั ญั ญเเกกี่ย่ียววกกั บั บ ““กกำำรรเเลล้ี้ยี ยงงลลูกูกดด้ ว้ วยยนนมมแแมม่ ”่ ” ธรรมชาติสร้างใหผ้ ู้หญิงมหี นา้ ที่ให้ก้าเนดิ ชีวติ สร้างให้รา่ งกายมี “อาหาร คือ นา้ นม” เผยแพร่โดย...กระทรวงสำธำรณสุข และ “กรยิ าการโอบอมุ้ ลูกน้อยในอ้อมกอด” องค์กำรอนำมัยโลก ร่วมกับองค์กำรยูนิเซฟ ระบุว่ำ ทำรก เพือ่ ใหก้ นิ นมของแม่ ทีม่ ีความสมบูรณ์ครบถ้วน แรกเกิดทุกคนควรได้กินนมแม่อย่ำงเดียวไปจนอำยุครบ 6 เดือน จึงให้นมแม่ร่วมกับน้ำ และอำหำรอื่นที่เหมำะสมตำมวัย ...ไดอ้ ย่างน่ามหัศจรรย์ จนลกู อำยุ 2 ปี หรือ นำนกว่ำนัน โดยอำหำรเสริมที่จัดให้ลูกทำน ควรเป็นอำหำรที่ผลิตเองในครัวเรือน ทังนี ส้ำหรับเหตุผล หากจะกล่าวว่า “น้ำนมของแม่” เป็นอาหาร ท่ีควรใหเ้ ฉพำะนมแมโ่ ดยไม่ต้องให้น้ำ มีเหตุผลส้ำคัญว่ำ นมแม่ มีน้ำมำกเพียงพอต่อควำมต้องกำรของเด็ก และในนมแม่จะมี ธรรมชาติท่ีดีท่ีสุดสาหรับเด็ก คงเป็นเร่ืองที่ทุกท่านทราบกัน สำรต้ำนกำรอักเสบ ดังนัน หำกให้เด็กกินน้ำหลังจำกกินนมแม่ เป็นอย่างดี แต่ข้อมูลสาคัญที่ว่า “น้ำนมของแม่เป็นอำหำร นอกจำกท้ำให้เด็กได้น้ำเกินควำมต้องกำรแล้ว น้ำยังไปลด ธรรมชำติท่ีดีท่ีสุดเพียงอย่ำงเดียวส้ำหรับทำรกช่วง 6 เดือน สำรต้ำนกำรอกั เสบทเี่ คลือบในปำกของลกู ออกไปดว้ ย แรก เพรำะเด็กสำมำรถมีชีวิตอยู่ได้ด้วยน้ำนมของแม่ โดยไม่จ้ำเป็นต้องมีอำหำรอื่นใด แม้กระทั่งน้ำ” นั้น องค์กำรยูนิเซพ (UNICEF, 2557) ระบุว่ำ ประเทศไทยมีแม่ อาจยังไม่เป็นที่แพร่หลายเท่าใดนัก ทั้งที่ น้านมของแม่ เพียงรอ้ ยละ 12 เท่ำนัน ที่เลียงลูกด้วยนมแม่อย่ำงเดียวช่วง 6 เดือน มีคุณประโยชน์มากมายอย่างที่ สามารถกล่าวได้ว่า แรก ซึ่งอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีอัตรำต้่ำที่สุดในโลก ถือเป็นเหตุผล ธรรมชำติได้สร้ำงควำมน่ำทึ่งให้กับกำรก่อเกิดชีวิตมนุษย์ ส้ำคัญประกำรหน่ึงท่ีท้ำให้ไอคิวของเด็กไทยในปัจจุบันต่้ำกว่ำ ไดอ้ ยำ่ งมหศั จรรย์ เกณฑ์มำตรฐำน (เกณฑ์มำตรฐำน คือ 90 – 110 จดุ ) ความสาคัญของการเล้ียงลูกดว้ ยนมแม่ โดยแม่คนไทยมีทัศนคติและควำมรู้ท่ีดีต่อกำรเลียงลูกด้วย นมแม่ แต่ในทำงปฏิบัติยังเป็นกำรให้ลูกกินนมแม่ไม่ถูกต้อง จากข้อมูลทางวิชาการ เกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูก ตำมข้อแนะนำ้ ข้ำงต้น ทังนี เพรำะแม่คนไทยได้รับค้ำแนะน้ำ ดว้ ยนมแม่สามารถสรุปได้วา่ การเล้ียงลูกด้วยน้านมของแม่ ให้เลียงลูกด้วยนมแม่อย่ำงเดียวน้อยมำก ส่วนใหญ่กำรแนะนำ้ ช่วยสร้างสายสัมพนั ธ์ทางใจอยา่ งแน่นแฟ้นระหว่างแม่กับลูก จะมุ่งที่ประโยชน์ของนมแม่ และระยะเวลำกำรให้นมแม่ โดยไม่ได้ ช่วยส่งเสริมให้ลูกมีสุขภาพร่างกายดี กระตุ้นการเจริญเติบโต เน้นเกี่ยวกับกำรให้ลูกกินนมแม่อย่ำงเดียวโดยไม่ให้น้ำตังแต่ ทางสมองของลกู สรา้ งอารมณ์ทีด่ ีให้กบั ลูก หล่อหลอมให้ลูก แรกเกดิ จนกระทัง่ ลูกอำยุ 6 เดือน ที่ส้ำคญั ยังมกี ำรปอ้ นข้อมลู ผิด ๆ มจี ิตใจดี ช่วยใหล้ กู เปน็ ผมู้ บี ุคลกิ ภาพทด่ี ี มีจริยธรรม อดทน ในเรื่องกำรใหอ้ ำหำรเสรมิ ก่อนเวลำด้วย อดกล้ัน และมีความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ต่อผู้อ่ืน ซึ่งหมายรวมถึง การเล้ียงลูกด้วยน้านมแม่จะช่วยวางรากฐานในการเป็นคน ทังนี มีผลกำรส้ำรวจของไทยท่ีน่ำสนใจว่ำ แม่ท่ีให้นมลูก มีคุณภาพตามมาด้วย ซ่ึงหากอธิบายให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพยี ง 3 เดอื นแล้วให้ลูกกนิ อำหำรเสริมอื่น ๆ ควบคู่ จะมคี ่ำใช้จำ่ ย สามารถสรุปได้ ดงั น้ี เพิ่มขึนเดือนละ 2,000 - 3,000 บำท ซ่ึงหมำยควำมว่ำ ถ้ำเลียง ด้วยนมแม่อย่ำงเดียวให้ครบ 6 เดือน นอกจำกท้ำให้เด็ก ได้สำรอำหำรท่ีครบถ้วนแล้ว ยังช่วยประห ยัดค่ำใช้จ่ำย ในครอบครัวไดอ้ ีกหลำยหมนื่ บำทดว้ ย 2299

การเลย้ี งลกู ด้วยนมแมม่ ีประโยชนต์ อ่ เดก็ ดังน้ี 1. ด้านรา่ งกาย กำรไดร้ ับคุณค่ำทำงอำหำรครบถ้วน : ส่งผลใหม้ ีสขุ ภำพร่ำงกำยแข็งแรง นมแม่จะทาให้เด็กไ ด้รับ คุณค่า ทางอาหารอย่างครบถ้วน สมดุล และพอเหมาะกับ ความต้องการของเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน โดยไม่จาเป็นต้องมีอาหา รเสริม อื่น เ พิ่มเติม แม้กระทั่งน้า อีกทั้งนมแม่ยังเป็นอาหารที่ย่อยง่าย สะอาด และปลอดภัยที่สุดสาหรับทารก เด็กที่กิน นมแม่ส่วนใหญ่จึงมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง นอกจากนั้น ธรรมชาติได้สร้างให้ ลักษณะหัวนมของแม่พอเหมาะกับปากและเหงือก ของลกู ท่ีสุดในโลก เด็กท่ีกินนมแม่จึงมีปากสวย มรี ปู ฟนั และเหงือกที่สวยงาม อีกท้ัง เด็กที่กินนมแม่จะมี พัฒนาการฟันที่ดี เนื่องจากต้องออกแรงดูดนมแม่ มากกว่าการดูดนมจากขวด จึงเป็นการบริหารขากรรไกรไปในตัว ในขณะที่ เด็กดูดนมขวดส่วนใหญ่จะปากยื่น ซึ่งอาจเกิดจาก การเลือกหัวนมไม่เหมาะสมกับเด็ก ซึ่งนอกจากจะทาให้รูปฟันและเหงือกไม่สวยงามแล้ว ยังอาจทาให้เด็กติดรสหวาน จนทาให้ เกิดโรคอ้วนตามมาด้วย กำรได้รับภูมิค้มุ กนั โรค : สง่ ผลใหไ้ มค่ ่อยเจบ็ ปว่ ย นักวิชาการระบุว่า ใน 2 - 3 วันแรก น้านมแม่จะข้นและมีสีเหลืองเข้ม เรียกว่า “หัวน้ำนม” ซ่ึงมีคุณค่าอย่างมาก เพราะมภี ูมคิ ุม้ กนั โรคสูง โดยเฉพาะน้านมแม่หยดแรก ซ่ึงจะมี “สำรโคลอสตรัม” ที่มีภูมิคุ้มกันสูง นักวิชาการเปรียบเสมือนเป็น วัคซีนหยดแรกในชีวิตของลูก ท่ีสามารถต้านทานโรคต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ท้ังโปรตีนในนมแม่ท่ีช่วยลดโอกาสการเป็นโรคภูมิแพ้ ในเดก็ สารตา้ นการอักเสบในนมแม่ที่ชว่ ยลดโอกาสการติดเช้ือและโอกาสไม่สบายในเด็ก ซ่ึงจะทาให้เด็กไม่เสียโอกาสในการพัฒนา ความสามารถไปเพราะเจ็บป่วย ซึ่งสารอาหารดังกล่าว นักวิชาการระบุว่า ไม่สามารถทดแทนได้ด้วยอาหารชนิดใด ๆ ดังนั้น เด็กทเี่ ล้ียงดว้ ยนมแมจ่ ะมีภูมิคมุ้ กันโรคอย่างตอ่ เน่อื ง และมีโอกาสปว่ ยน้อยกวา่ เด็กทไ่ี มไ่ ด้กินนมแม่ ขอ้ มลู จำกวิกพิ ีเดยี สำรำนุกรมเสรี, 2559 ระบุว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเป็นโรคต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมากมาย ดังนี้  โรคไหลตาย (Sudden Infant Death  โรคผวิ หนังอกั เสบออกผนื่ (Eczema) Syndrome หรือ SIDS)  กระเพาะและสาไส้เล็กอกั เสบ(Gastroenteritis)  โรคมะเร็งปุ่มน้าเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin’s  โรคหอบหดื (Asthma)  โรคภูมิแพ้ (Allergies) lymphoma)  โรคไทรอยด์ (Autoimmune Thyroid diseases)  ลาไสเ้ ลก็ และใหญอ่ ักเสบ (Necrotizing enterocolitis)  โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเช้ือแบคทีเรีย  โรคปลอกประสาทเสือ่ มแข็ง (Multiple sclerosis)  โรคอ้วน (Obesity) (Bacterial meningitis)  หูช้ันกลางหรอื แกว้ หูอกั เสบ (Otitis media)  โรคมะเร็งเต้านม (Breast cancer)  โรคติดเช้ือในทางเดินหายใจ (Respiratory infection  โรคขาดสารอาหาร (Celiac disease)  โรคโครหน์ (Crohn ’s disease) และ Wheeze)  โรคเบาหวาน (Diarrhea)  โรคขอ้ อกั เสบรมู าทอยด์ (Rheumatoid arthritis)  โรคทอ้ งรว่ ง (Diarrhea)  โรคติดเชอ้ื ในทางเดนิ ปสั สาวะ (Urinary tract infection) 30

2. ด้านอารมณ์ - จิตใจ ช่วยสร้ำงสำยสัมพันธท์ ำงใจอย่ำงแนน่ แฟ้นระหว่ำงแม่และลกู เด็กที่ถือกาเนิดข้ึนมาจะพบกับโลกใหม่ที่แตกต่าง จากโลกเดิมของเขา ซ่ึงคือส่ิงแวดล้อมรอบตัวเขาท้ังหมด ตั้งแต่ ออกมาจากครรภ์มารดา และแม่เป็ นสิ่งแวดล้อมแรก ที่มีความหมายต่ออารมณ์ของลูกมากที่สุด สัมผัสแรกของแม่ จะชว่ ยทาให้ลกู ไดร้ ับไออุ่นจากอ้อมอกของแม่ ช่วยให้เขาไม่หนาว สงบ การหายใจและการเต้นของหวั ใจเปน็ ไปอยา่ งปกติสม่าเสมอ นักวิชาการแนะนาว่า เมอื่ แรกคลอด ถา้ แมม่ คี วามพรอ้ มให้เรมิ่ จับและสมั ผสั ลกู ทันทตี ง้ั แตแ่ รกคลอดดว้ ย “กำรอุ้มและกอดแนบอก 1 ครัง” และ “แนะน้ำให้แม่ให้ นมลูกภำยใน ½ - 1 ชัว่ โมงแรกหลังคลอด” เพราะมีผลการศึกษา พบว่า จะส่งผลดี ทั้งต่อแม่และลูก เน่ืองจากสัมผัสแรกท่ีแม่ได้โอบกอดลูกในอ้อมอก จะกระตุ้นให้ ร่างกายของแม่หลง่ั ฮอร์โมนแห่งความรกั (Oxytocin) ออกมา ซึ่งจะทาให้สัญชาตญาณ ของความเปน็ แม่ท่ีมีจติ ใจอ่อนโยน เปี่ยมด้วยความรักความเมตตา ความห่วงหาอาทร ต่อลูก อยากดูแลลูก ไม่อยากทิ้งลูก เกิดขึ้นในทันที ในขณะเดียวกัน เด็กจะรับรู้ถึง ความรักความออ่ นโยน ทาใหล้ กู มอี ารมณ์ดแี ละมีความสุข ซ่ึงจะช่วยสร้างความผูกพัน ระหว่างแม่และลูกให้แน่นแฟ้นขึ้นด้วย ที่สาคัญ การให้ลูกดูดนมแม่โดยเร็วที่สุด ทันทีจะชว่ ยกระตุ้นน้านมให้หลัง่ ออกมาเป็นปกติอีกดว้ ย ความรู้สึกที่ดีของแม่และลูกที่เกิดขึ้นตลอดช่วงเวลาของการให้นม ดังนั้น การให้นมลูกของแม่จะเป็นการช่วยสร้างสายสัมพันธ์ทางใจอย่างแน่นแฟ้น ต่อกัน ตามมาด้วย อยา่ งไรก็ตาม นักวชิ าการชี้แนะว่า หากแม่มีปัญหาสุขภาพ หรือ ขาดความพร้อม หรือ ขาดความมั่นใจ ก็ยังไม่ควรสัมผัสหรืออุ้มลูก แต่ควรให้คนอื่นช่วยเหลือดูแลเด็ก ก่อนจนกวา่ แมจ่ ะมีความพรอ้ ม เพราะความพร้อมและความมั่นใจของแม่ในการอุ้มลูก คร้ังแรกจะมผี ลอยา่ งมากต่อการสร้างอารมณท์ ม่ี น่ั คงใหก้ บั ลกู เมอ่ื เตบิ โต ลูกไดร้ ับสัมผสั ท่ีอบอุ่นจำกกำรอย่ใู นออ้ มกอดของแม่ เด็กขณะกนิ นมแม่จะได้รับการโอบอุ้มและสมั ผสั ท่ีอบอนุ่ อยู่ตลอดเวลา เดก็ จะรบั ร้ถู งึ ความรักของแม่ที่มีต่อเขา ส่งผลให้ เขามีความสุข ซึ่งจะชว่ ยสร้างความมน่ั ใจให้กับลกู เมื่อเตบิ โตเปน็ ผใู้ หญต่ ่อไป กระบวนการโอบอุ้ม และโต้ตอบระหว่างแม่และลูกขณะให้นม จะช่วยปูพ้ืนฐานสาคัญในกระบวนการเรียนรู้และ ตอบสนองต่อส่ิงเร้าอย่างเหมาะสมในเด็ก เพราะขณะท่ีลูกดูดนมจากอกของแม่ ลูกจะสบตาแม่ เป็นการส่ือสารสาคัญที่ถ่ายทอด ผา่ นการมองเห็นในระยะท่ีเหมาะสม นักวิชาการให้การอธิบายว่า ช่วงแรกเกิด การมองเห็นของเด็กจะเหมือนคนสายตาส้ัน ซ่ึงจะค่อย ๆ เปลีย่ นระดบั การมองเหน็ ไปเป็นระดับปกติเมื่อเด็กอายุ 1 ปี นอกจากนั้น ขณะท่ีลูกกาลังดูดนมแม่ มือลูกจะสัมผัสกับผิวแม่ จมูกลูก จะไดก้ ลิ่นกายแม่ ล้ินของลูกจะได้รับรสนา้ นมของแม่ ร่วมกบั ความรู้สึกอิ่ม สบาย และผ่อนคลาย ขณะท่หี ขู องลกู จะได้ยินเสยี งทก่ี าลงั เกิดขึ้นรอบตัว ดังนั้น ประสาทสัมผัสทุกส่วนของเด็กจะถูกกระตุ้นให้เกิดการทางานบนความรู้สึกดี ๆ ที่แม่ถ่ายทอดสู่ลูก อันจะเป็น พืน้ ฐานสาคัญของการสงั เกต และโตต้ อบอย่างเหมาะสมของเดก็ ต่อไป 31

3. ด้านสติปัญญา จำกคณุ ค่ำทำงอำหำรทไี่ ดร้ ับ นักวิชาการระบุว่า น้านมแม่จะมีกรดไขมันชนิด ท่ีชว่ ยในการพฒั นาเซลล์สมองให้เจริญเติบโต ดังน้ัน เด็กที่ได้กิน นมแม่จะฉลาด และมไี อคิวสูงกว่าเดก็ ทไ่ี ม่ได้กินนมแม่ สารอาหารในนมแม่จะช่วยให้ลูกฉลาด สารอาหาร สาคัญ คอื ไขมนั ในนมแม่ ท่ีจะไปห่อหุ้มเส้นใยประสาทในสมองเด็ก ท่ีกาลงั เพิ่มการเชือ่ มโยงการทางานอย่างรวดเร็ว เพ่ือให้การทางาน ของสมองเด็กสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ ได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ จำกสมั ผัสอนั อบอุ่นท่ไี ดร้ ับ กริยาการโอบอมุ้ การกอด การสัมผสั และเสียงทค่ี ้นุ เคยหรอื อบอุ่นของแม่ จะช่วยกระตุ้นการพัฒนาทางสมองให้กับลูก และประสบการณท์ ่ีเดก็ ไดร้ บั ความรักความผูกพันจากแม่ ทั้งจากการอุ้ม และการสัมผัสที่อ่อนโยน ซ่ึงนอกจากเป็นการเชื่อมสายสัมพันธ์ ระหว่างแม่กับลูกท่ีดีแล้ว ยังช่วยกระตุ้นสมองเด็กให้สร้างฮอร์โมนท่ีสาคัญในการช่วยให้เด็กเจริญเติบโต และมีพัฒนาการทางสมอง และพัฒนาการด้านอื่น ๆ ที่ดีตามมาด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ลูกได้มองจ้องตา หรือ ดูสีหน้า และอารมณ์ของแม่ ได้ยินเสียงคุย เสียงร้องเพลง เสียงที่อ่านหนังสือ การเห่กล่อม หรือ สัมผัส โอบกอด หรือแม้แต่การได้เลียผิวหนังของเด็กเองหรือ ของแม่ ล้วนแล้วแต่ช่วยให้เซลล์สมองของเขาเกิดการเชือ่ มโยงกนั เพอ่ื รับรแู้ ละเรียนรู้ ตลอดจนทาหน้าที่ต่าง ๆ ทั้งการมองเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว และการแสดงออกไดอ้ ย่างมหัศจรรย์ 4. ด้านสังคม นักวิชาการระบุว่า เด็กท่ีกินนมแม่จะได้รับความอบอุ่นทั้งทางร่างกายและจิตใจ เนื่องจากการโอบอุ้มและให้นม จะช่วยพัฒนาระบบประสาทส่วนกลาง โดยการดูด การดมกล่ิน การเห็น ส่วนการสัมผัสจะสร้างความม่ันคงทางอารมณ์ให้แก่ลูก ซึ่งนักวิชาการเชื่อว่าเป็นรากฐานในการพัฒนาอุปนิสัยการเรียนรู้ และการปรับตัวของลูก นั่นคือ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ไม่ได้เป็นเพียง การให้อาหารเพื่อให้ลูกอ่ิม และช่วยในด้านการเจริญเติบโตทางร่างกายเท่าน้ัน แต่การเล้ียงลูกด้วยนมแม่เป็นเร่ืองของกระบวนการ ส่งเสริมพัฒนาการ และส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพ และช่วยให้เด็กมีจิตใจอ่อนโยน เอื้อโอกาสให้เด็ก กลายเป็นผู้มบี ุคลกิ ภาพทดี่ ี มีจริยธรรม อดทนอดกลน้ั และเอ้อื เฟ้อื เผื่อแผ่ตอ่ ผอู้ ืน่ ตามมาด้วย การเลี้ยงลกู ด้วยนมแม่มปี ระโยชนต์ อ่ แม่ ดงั นี้ 1. ด้านสุขภาพ / รูปร่าง - ชว่ ยให้มดลกู หดตัวดี เข้าอู่เรว็ และรา่ งกายขบั น้าคาวปลาไดด้ ี - ช่วยลดนา้ หนกั หลงั คลอดไดด้ ีกวา่ เพราะรา่ งกายจะนาไขมันท่ีสะสมไวร้ ะหวา่ งต้ังครรภ์มาใช้ผลิตน้านมใหล้ ูก - ชว่ ยลดปจั จัยเสีย่ งในการเกิดโรคต่าง ๆ ได้แก่ มะเรง็ เตา้ นม มะเรง็ รงั ไข่ ลดอาการวัยทอง โรคกระดูกพรุน ลดภาวะในการเปน็ โรคเบาหวาน ฯลฯ - ลดปญั หาเรื่องคดั เตา้ นม 2. จติ ใจ - ทาใหแ้ ม่มสี ัญชาตญาณของความเปน็ แม่เพ่มิ ขึน้ เนื่องจากเกิดความรูส้ ึกผกู พันกบั ลกู 32

3. การคุมก้าเนดิ - ชว่ ยเว้นระยะทิ้งชว่ งหา่ งของการมีลกู คนต่อไป ซ่งึ เป็นการคุมกาเนดิ แบบธรรมชาติท่ีดี 4. สะดวกและประหยัด - นมแมส่ ะดวกสามารถใหล้ กู ด่ืมไดต้ ลอดเวลา - ประหยัดคา่ ใช้จา่ ยของครอบครัว ไดแ้ ก่ ค่านมของลกู ค่าอุปกรณก์ ารให้นมของเด็กทารก ค่าใช้จ่ายส้ินเปลือง ในการเตรยี มนมผสม ประหยดั เวลา และค่ารักษาพยาบาล ฯลฯ อย่ำงไรก็ตำม พบว่า มีแม่หลายคน หยดุ ให้นมแม่ไปเพราะในชว่ งแรกมีน้านมไหลน้อย จึงคิดไปว่าตนไม่มีน้านมให้ลูกอย่างเพียงพอ ซ่ึงความเป็นจริง ทำรกแรกเกิด 2 – 3 วันแรก ยังต้องกำรนมแม่น้อยเท่ำ ๆ กับที่ร่ำงกำยแม่ สำมำรถผลิตน้ำนมได้ ซ่ึงหากแม่หยุดการให้นม ไปในช่วงแรก ร่างกายของแม่จะไม่ได้รับ การกระตุ้นให้มีการสร้างน้านมอย่างเพียงพอ กับความตอ้ งการของลูกไปอย่างเสียดาย ในควำมเป็นจริง ธรรมชำติได้สร้ำง ใหแ้ ม่ทกุ คนมปี ริมำนนำ้ นมมำกพอท่ีจะเลียงลูก ดงั นนั คณุ แม่จงึ ไมค่ วรกังวล หำกน้ำนมไมอ่ อก ใน 2 – 3 วันแรกหลังคลอด เพรำะในระยะนี น้ำนมแม่ยังมีปริมำณไม่มำกนัก แต่ก็มีมำกพอส้ำหรับเลียงลูก ขอเพียงแค่คุณแม่ตังใจจะเลียงลูกด้วยนมแม่ และเชื่อม่ันว่ำ ตนเองต้องมีน้ำนมพอ ท้ำตัวเองให้ผ่อนคลำยไม่เครียด พยำยำมอดทนต่อควำมเหน่ือยที่ให้ลูกดูดนมทุก 2 - 3 ชั่วโมง อดทนต่ออำกำรเจบ็ หรือเสยี วมดลูกขณะลกู ก้ำลังดูดนม (แต่กำรให้นมลกู จะชว่ ยให้มดลูกหดตัวรัดเข้ำช่องเชิงกรำนได้ดีขึน) คณุ แม่กจ็ ะมีนำ้ นมอย่ำงเพียงพอทจี่ ะเลียงดลู กู ส้ำหรับคุณแม่ที่ท้ำงำนประกอบอำชีพ ก็ไม่ต้องกังวลว่ำเม่ือครบ 3 เดือน ต้องกลับไปท้ำงำน เพรำะนักวิชำกำร แนะนำ้ ว่ำ คณุ แมส่ ำมำรถสอนให้ลูกวยั 3 เดือนขนึ ไป กินนมแมจ่ ำกแก้วได้ โดยใชเ้ วลำเพียง 2 – 3 วนั เท่ำนนั เรื่องนี้มีความสาคัญ หากภาคีทุกภาคส่วนร่วมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้ประชาชนทราบ อย่างแพร่หลาย ก็จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพของมนุษย์ และคงเป็นท่ีน่าเสียใจอย่างยิ่ง หากเด็กไทยส่วนใหญ่ยงั คงขาดโอกาสในการได้รับการเลี้ยงดูด้วยนมแม่ ด้วยเหตุผลเพราะคุณพ่อคุณแม่ และคนในครอบครัวขาดความรู้ทีถ่ ูกตอ้ ง หรือ ไมไ่ ด้รบั ขอ้ มลู ท่สี าคญั น้ี บรรณานุกรม ปภาดา ชโิ นภาษ. ควำมส้ำคัญของนำ้ นมแม่ วารสารสตรแี ละครอบครวั . ฉบบั ที่ 3 ประจาปี 2552 Unicef ประเทศไทย. สัปดำห์นมแม่โลก 2557 (World Breastfeeding Week) และข้อมูลส้ำคัญเก่ียวกับกำรเลียงลูกด้วยนมแม่. สืบค้นทางเว็บไซต์ http://www.unicef.org/thailand/tha/media_22882.html เมื่อวันท่ี 30 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 เวบ็ ไซตว์ กิ ิพเี ดีย สารานุกรมเสรี. กำรเลยี งลกู ดว้ ยน้ำนมแม่. สบื คน้ ทางเว็บไซต์ https://th.wikipedia.org/wiki/การเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแม่. เม่ือวันท่ี 11 มนี าคม 2559 ขอบคุณภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 33

“การเล่น” แนวคิดเก่ยี วกับการเลน่ หน้าทที่ สี่ าคญั ของเดก็ ๆ  การเล่น คือ หน้าทสี่ าคญั ของเด็ก  การเล่นเป็นโลกของเด็กซึ่งช่วยให้เด็ก เด็กกับการเล่นเกิดมาคู่กัน เป็นความรู้สึก เกดิ การเรยี นรู้ ที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติจากสัญชาติญาณของเด็ก การเล่นเป็น  การเล่นช่วยส่งเสริมให้เด็กได้พัฒนา กิจกรรมที่ให้ความสนุกสนาน ทาให้เด็กได้เรียนรู้ธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมรอบตัว ซึ่งจะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์และความรู้ ท้ังทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ โดยประสบการณ์ที่ได้จากการเล่นจะนาไปสู่การรับผิดชอบ จติ ใจ และสังคม ตอ่ ตนเอง ผู้อืน่ และช่วยให้เด็กสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมและ  การเล่นเปน็ ความตอ้ งการของเด็ก ซึ่งมีท้ัง... ผูอ้ ่นื ได้อย่างมคี วามสขุ - การเลน่ ที่ต้องใช้พละกาลัง & เล่นเงยี บ ๆ - การเล่นแบบธรรมชาติ & เล่นตามท่ี การเล่น จึงเป็นหัวใจสาคัญ ในการพัฒนา ผใู้ หญ่จัดเตรยี มไว้ให้ ความสามารถของเด็กในทกุ ด้าน ชว่ ยพฒั นาให้เด็กสามารถดาเนิน - การเลน่ ในทร่ี ม่ & กลางแจง้ ชวี ติ อยู่ในสังคมได้ดใี นอนาคต - การเล่นคนเดยี ว & เล่นกบั เพื่อน  ผใู้ หญช่ ่วยส่งเสรมิ ประสบการณก์ ารเลน่ ดังนั้น พ่อแม่ต้องจัดเวลาและสถานที่ให้ลูกได้มีโอกาส ให้กับเดก็ ได้ เคลื่อนไหว ได้ออกกาลังกาย และสามารถเล่นได้อย่างปลอดภัย เพราะลูกตอ้ งไดค้ ืบ คลาน เกาะเดิน หรือ วิ่งเล่น และได้ออกกาลังกาย ในทีโ่ ล่งกว้างและมีความปลอดภยั เพยี งพอ นักวิชาการแนะนาว่า พ่อแม่ควรแบ่งเวลาเล่นกับลูก อย่างนอ้ ยวันละ 15 - 30 นาที พร้อมจัดหาของเล่นทน่ี า่ สนใจตามวัย และความสามารถของลูก เพื่อให้ลูกเรียนรู้ด้วยการเล่น อย่างสนุกสนานและปลอดภัย หากลูกเล่นด้วยความร่าเริง แจ่มใส มีความสุข และเพลิดเพลิน แสดงว่าการเล่นและ การออกกาลังกายของลูกอยู่ในระดับที่พอดี ซึ่งการเล่นท่ีไม่มาก ไม่น้อยเกินไปและเหมาะสมกับวัย จะส่งผลให้ลูกมีความคล่องแคล่ว กระฉับกระเฉง กล้ามเนื้อแข็งแรง ได้ฝึกความคิดสร้างสรรค์ และเรียนรู้ทักษะการแกไ้ ขปัญหาทด่ี ตี ่อไป 34

ลกั ษณะการเล่นของเดก็ 1. การเล่นของเด็กจะไม่มีแบบแผน เพราะเป็นสิ่งท่ี ประโยชนข์ องการเล่น เกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ แตร่ ปู แบบของการเล่นจะมีการพัฒนา ตามแต่ละช่วงวัย โดยส่วนใหญ่ในระยะแรก การเล่นของเด็ก การเล่นมีประโยชน์ต่อพัฒนาการของเด็กในทุกด้าน จะเกี่ยวข้องกับประสาทสัมผัสต่อเมื่อสติปัญญาของเด็ก ทาให้เดก็ ได้พฒั นาความสามารถในดา้ นตา่ ง ๆ ของชีวติ ไดแ้ ก่ มกี ารพัฒนาขน้ึ การเล่นกจ็ ะมีความซับซ้อนมากข้ึน เป็นการใช้ ความสามารถของทักษะหลายอย่างร่วมกัน และเมื่อเด็ก 1. ด้านร่างกาย การเล่นเป็นการออกกาลังกาย เขา้ สวู่ ยั เรยี นก็จะมีการเล่นร่วมกับผอู้ นื่ มากข้ึน เนื่องจากเด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายขณะเล่น ทาให้เกิด 2. เด็กมักชอบเล่นโดยการเคล่ือนไหวกล้ามเน้ือ การพฒั นาความสามารถด้านการเคลื่อนไหว และช่วยเสริมสร้าง เพราะเด็กมักจะชอบทดสอบพละกาลังของตน เช่น การกระโดด ความแข็งแรงและพัฒนากล้ามเน้ือ ซึ่งจะช่วยให้เด็กมีร่างกาย ขาเดยี ว การเคลอ่ื นไหวบนท่อนไมห้ รือ การเดนิ ตามกาแพง ฯลฯ เจรญิ เติบโตอย่างเต็มท่ี 3. การเล่นแบบสร้างจินตนาการจะมีมากที่สุดในเด็ก 2. ด้านจติ ใจและอารมณ์ การเล่นทาให้เด็ก อายุระหวา่ ง 5 - 8 ปี สาหรับการเล่นสมมติของเด็ก 4 ปี จะเล่น สมมตเิ กยี่ วกบั ความเป็นอยู่ของสัตว์ และคนในครอบครวั เกิดจินตนาการ รู้จักคิดและแก้ปัญหา เกิดความคิดสร้างสรรค์ มีความสนุกสนาน ผ่อนคลาย มีความสุข และช่วยให้เด็กเข้าใจ 4. การเลน่ ทส่ี าคัญอกี อยา่ งหนง่ึ ของเด็ก คือ การก่อสร้าง ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัวได้ดีข้ึน ท่ีสาคัญที่สุด หากลูกได้เล่นกับพ่อแม่ เด็กจะเริ่มรู้จักเก็บและสะสมสิ่งของเพื่อนามาก่อสร้างหรือ ก็จะช่วยสรา้ งสายสมั พันธ์ท่ีดีระหว่างพ่อแม่และลกู อกี ด้วย ประดิษฐ์สิ่งตา่ ง ๆ 3. ด้านการเรียนรู้ ของเล่นและการเล่นแต่ละแบบ 5. การเล่นของเด็กและเวลาท่ีใช้ในการเล่นโดยรวม จะลดลงเมื่อมีอายุเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีบทบาทหน้าที่ใหม่ ๆ ทาใหเ้ ดก็ เกดิ การเรยี นรู้ในทกั ษะที่แตกต่างกันไป ของเล่นบางชนิด ใหเ้ ด็กทามากขึน้ ฝึกความสามารถดา้ นการเคลอ่ื นไหว บางชนิดฝึกเรอื่ งของภาษา ดงั นัน้ เมื่อเด็กได้เรียนรู้กิจกรรมใหม่ ๆ ความสามารถด้านต่าง ๆ 6. ความสนใจในการเล่นของเด็กในแต่ละช่วงวัย ของชีวิตก็จะถูกพัฒนาเพิ่มข้ึน และซึมซับเป็นประสบการณ์ จะมีความแตกต่างกัน นักวิชาการระบุว่า เด็กจะใช้เวลาในการเล่น ตอ่ ไป ของเล่นที่ชอบแต่ละชิ้นแตกต่างกัน โดยเด็กวัย 2 ขวบจะเล่น นานประมาณ 7 นาที, เด็กวัย 3 ขวบ ประมาณ 8.9 นาที, เด็กวัย 4. ด้านสังคม การเล่นกับผู้อื่นจะช่วยให้เด็ก 4 ขวบ ประมาณ 12.3 นาที สาหรับเด็กวัย 5 ขวบ จะใช้เวลาเล่น ประมาณ 13.6 นาที ไดเ้ รยี นรผู้ คู้ นรอบข้าง รู้จักเหตแุ ละผล ฝึกความอดทน การรอคอย รจู้ ักการแบง่ ปัน รจู้ ักแพ้ รจู้ ักชนะ รูจ้ ักจัดการกบั อารมณต์ นเอง ซึ่งจะเป็นการฝึกทักษะการปรับตัวในการอยู่ร่วมกับคนอ่ืนได้ เปน็ อย่างดี 5. ด้านภาษา เม่ือเด็กเรียนรู้ท่ีจะเล่นกับผู้อ่ืน เดก็ จะได้รบั การพฒั นาความสามารถทางด้านภาษา ในการสื่อสาร โตต้ อบกับผอู้ ืน่ ดว้ ย 3355

ลักษณะการเล่นทีช่ ว่ ยสง่ เสริมพัฒนาการเดก็  อุปกรณ์ของเล่น เวลา และสิ่งแวดลอ้ ม ต้องมีความปลอดภัยและเหมาะสมกับวยั ของเด็ก  เด็กได้เล่นตามความสนใจของเขา เด็กจะมีอิสระทางความคิด สามารถใช้จินตนาการและแสดงออกได้เต็มที่ โดยพอ่ แม่เพียงสงั เกตอยู่หา่ ง ๆ และใหค้ าแนะนาช่วยเหลือเม่อื เขาตอ้ งการเทา่ น้นั  ให้ความสนใจกระตือรือรน้ ซกั ถาม และมีสว่ นร่วมแสดงความยินดีกบั ความสาเรจ็ กับเขา  ไม่ควรจดั หาของเล่นใหม้ ากเกนิ ไป เพราะนอกจากเปน็ การสิ้นเปลอื งแล้ว ยังทาให้เด็กเกิดความสับสนเลอื กไมถ่ กู ว่าจะเลน่ อะไรกอ่ นหรือหลัง  เมื่อเด็กมีความสามารถในการเล่นมากข้ึน ควรจัดส่ิงแวดล้อมและอุปกรณ์การเล่นให้มีความซับซ้อนมากข้ึน เพ่ือสรา้ งความทา้ ทายและไมท่ าให้เดก็ รสู้ กึ เบื่อ  กระต้นุ และสง่ เสริมใหเ้ ดก็ มีการแสวงหาและสืบคน้ ด้วยตนเอง ใหเ้ ดก็ รจู้ กั แกป้ ญั หาในสถานการณ์การเลน่ ในแบบตา่ ง ๆ  ในขณะเล่นควรให้เดก็ ได้มีโอกาสแสดงอารมณค์ วามรสู้ กึ ออกมา พอ่ แม่สามารถสังเกตไดจ้ ากสีหน้าและแววตาของเขา  ในเด็กท่ีมีปญั หาทางอารมณ์ ไม่ควรใหเ้ ดก็ เลน่ ของเลน่ หรือมกี ารเลน่ ท่ีกระตุ้นใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงของอารมณม์ าก ๆ  ในกรณเี ด็กปว่ ย ควรเลอื กของเล่นใหเ้ หมาะกับสภาพร่างกาย จติ ใจ และความสามารถในขณะน้นั  ไมค่ วรคาดหวงั ว่าเดก็ จะตอ้ งบรรลุเปา้ หมายทกุ ครัง้ การเลอื กของเลน่ สาหรบั เด็กในวยั ตา่ ง ๆ ของเล่น เป็นส่วนหนึ่งที่สาคัญของการเล่น เป็นหัวใจสาคัญ ในการส่งเสริมพัฒนาการ และเป็นสื่อกลางในการกระตุ้นให้เด็กเรียนรู้ ทกั ษะชีวิต ซงึ่ จะชว่ ยในการสง่ เสรมิ การเรียนรูใ้ ห้กับเด็กได้เป็นอย่างดี ทั้งน้ี การเลือกของเล่นที่เหมาะสมกับวัยของเด็กมีความสาคัญเป็นอย่างมาก โดยมหี ลกั คร่าว ๆ ในการเลอื กของเลน่ ใหเ้ หมาะสมตามวัย ดงั นี้ อายุแรกเกดิ - 1 ปี นักวิชาการระบุว่า เด็กวัยนี้เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัส เด็กจะตอบสนองต่อกล่ิน รส เสียง สัมผัส และภาพที่มองเห็น ตลอดเวลา ดงั น้นั ของเลน่ ควรมีสีสันสดใส มีเสยี ง เคลอ่ื นไหวได้ หากเป็นของเล่นที่ใหเ้ ดก็ หยบิ ถอื จะตอ้ งมีน้าหนกั เบาขนาดเหมาะมือ ไม่มีเหลยี่ มแหลมคม และต้องมขี นาดใหญ่กว่ากาปน้ั ของเดก็ เพ่ือป้องกนั ไม่ใหเ้ ดก็ กลนื สาหรับประเภทของเลน่ ไดแ้ ก่ 1. ของเล่นฝกึ รับรู้การเคลื่อนไหว การควบคมุ รา่ งกาย การประสานระหว่างมือกับตา ได้แก่ - ของเล่นพฒั นากล้ามเนือ้ ตา เชน่ ปลาตะเพยี น โมบาย - ของเลน่ พัฒนากล้ามเนอ้ื มือหยบิ จบั เชน่ ตุ๊กตายาง 2. ของเลน่ ฝึกการรับรูท้ างเสียง เชน่ ของเลน่ มอื เขยา่ เครื่องดนตรี 3. ของเลน่ ฝกึ การเคลอ่ื นท่ี เช่น ตุ๊กตาไขลาน 36

อายุ 1 – 2 ปี เด็กวัยนี้จะซุกชน เริ่มเดินได้ด้วยตัวเอง แต่ยังไม่ม่ันคงนัก มักชอบเดินเกาะจากท่ีหนึ่งไปอีกที่หนึ่ง กล้ามเนื้อในการทรงตัว แขนขา มีการพัฒนามากข้ึน เม่ือเดินได้เองจะเริ่มสารวจสิ่งแวดล้อม ปีนป่าย ข้ึนบันได จึงต้องระมัดระวังความปลอดภัยอย่างใกล้ชิด เด็กวัยน้ีต้องการของเล่นสาหรับร่างกายท่ีคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง โดยเฉพาะของเล่นที่ข่ีหรือปีนป่ายได้ เช่น รถเข็นท่ีนั่งแล้วลากดึงได้ รถโยกแยก กล่องเสียง ระนาดเลก็ สาหรบั ประเภทของเล่น ได้แก่ 1. ของเล่นช่วยสร้างความม่ันใจ เด็กจะชอบการขว้างโยน รื้อ และใช้กาลัง เช่น ของเล่นที่ร้ือได้, เทกระจายได้, ทุบได้, กัดได้ และรถเข็น 2. ของเล่นสรา้ งความคลอ่ งตวั เชน่ ลกู ปดั เมด็ ใหญ่ที่รอ้ ยได้, กล่องใส่ของ เพราะเด็กจะชอบเลน่ หยิบเขา้ หยิบออก 3. ของเลน่ สร้างสรรค์ เชน่ เครื่องเคาะ เครือ่ งเขยา่ และของเลน่ ทลี่ ากจูงไปมาได้ เชน่ รถไฟ รถลากต่อ อายุ 2 - 3 ปี เด็กวัยนี้เป็นวัยอยากรู้อยากเห็น เด็กจะเคล่ือนไหวได้คล่องข้ึน และทรงตัวได้ดีขึ้น เพราะกล้ามเน้ือแขนขาแข็งแรงมากขึ้น และเริ่มมีพัฒนาการทางอารมณ์และความสามารถทางกาย เด็กจะเริ่มชอบเล่น บทบาทสมมติ ชอบเลียนแบบ สนใจของเล่น ทมี่ คี วามหลากหลายในชดุ เดียวกัน เช่น ชุดหม้อข้าวหม้อแกง แท่งไม้ประกอบ เกมปริศนาง่าย ๆ เคร่ืองดนตรี (แตร ออร์แกน กลอง) รวมทง้ั ของเล่นอ่นื ๆ เชน่ ตกุ๊ ตา ลูกบอล รถลาก แป้งปั้น หนังสือภาพประกอบ นอกจากนนั้ เด็กวัยน้ีจะชอบการเล่นที่มีการออกกาลัง เชน่ การได้วิง่ เล่น กระโดด ปีนปา่ ย เตะลูกบอล สาหรบั ประเภทของเล่น ได้แก่ 1. ของเลน่ ระบายอารมณ์ เชน่ ค้อนตอก เคร่ืองดนตรี ของเล่นทเ่ี ขย่า กระแทก หรือ ทบุ ได้ 2. ของเล่นที่สรา้ งความรกั และผกู พัน เชน่ ตุ๊กตา 3. ของเลน่ ทดลองปัญญา เช่น ไมบ้ ลอ็ ก กล่องบรรจรุ ูปทรง ห่วงคลอ้ งเสา ตัวต่อ ภาพต่อ 4. ของเล่นลองพลังและความสามารถ เช่น รถเข็น จกั รยานสามลอ้ ของเล่นทีถ่ อดประกอบได้ ในวัยนี้การเล่นกับเพ่ือนของเด็กจะไม่มีความชัดเจนนัก ส่วนใหญ่มักชอบเล่นคนเดียว แต่อาจเล่นอยู่ใกล้ ๆ เพื่อน เม่ืออายุ ใกล้ 3 ขวบ จงึ จะเรม่ิ เลน่ กับเพ่อื น 37

อายุ 4 – 6 ปี เด็กอายุเลย 4 ปี การเคล่ือนไหวของร่างกาย คลอ่ งแคลว่ ขึน้ ชอบเล่นกลางแจ้ง สนามเด็กเล่น และเครื่องเล่น ท่ีขับข่ีได้ ชอบเล่นเป็นกลุ่ม และมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม เช่น เลียนแบบพฤติกรรมพ่อแม่ ดารานักร้อง และสัตว์ต่าง ๆ ฯลฯ สาหรับการเล่นกับเพื่อนจะมีความชัดเจนข้ึน มีการตกลง มีกฎ และมีความหมายมากขนึ้ การเล่นแต่ละคร้ัง ไม่ว่าจะเล่นคนเดียว หรือเล่นกับ เพื่อน จะช่วยให้เด็กได้พัฒนาปัญญา รู้จักแก้ปัญหา และ มคี วามคิดสร้างสรรค์ โดยธรรมชาติเดก็ เลก็ จะชอบเล่นหลาย ๆ อยา่ งในเวลาเดยี วกนั หลักการเลือกของเล่นให้ลกู ข้อควรระวงั ในการเลน่ ของเด็ก การจัดหาของเล่นให้ลูก ควรเน้นท่ีกระตุ้นการใช้ 1. หา้ มเล่นปลั๊กไฟ ไม้ขีดไฟ สารพิษ สัตว์ดุร้าย/มีพิษ สติปัญญา ส่งเสริมพัฒนาการ และเป็นของเล่นท่ีมีความจาเป็น หรือของมีคม ไม่ควรซื้อของเล่นที่ทาอะไรไม่ได้นอกจากจับสัมผัส เช่น ของเล่น ที่เปน็ รูปหลอ่ พลาสตกิ หรือ ไม้แกะสลัก เพราะเด็กอาจเบ่ือง่าย 2. การเล่นทีโ่ ลดโผนหรอื รนุ แรงเกินไป และไมม่ ีประโยชน์ในการสง่ เสรมิ การเรียนรู้มากนัก 3. การเลียนแบบพฤติกรรรมที่ไม่ดี เช่น เล่นผิดเพศ เล่นอาวุธ เกณฑใ์ นการเลอื กของเลน่ ได้แก่ 4. สถานท่ีไมป่ ลอดภยั เชน่ ถนน ที่สงู ใกลแ้ หล่งนา้ 5. ของเล่นท่ีมีสสี ันสดใสเกินไปอาจมสี ารพิษอันตราย 1. มคี วามแข็งแรง ไม่แตกหกั ง่าย ไมม่ ีรอยแหลมคม หรอื อาจแตกหกั ง่ายจนทาให้ได้รบั บาดเจบ็ หรอื ติดคอสาลกั ได้ 2. ขนาดไมเ่ ล็กเกนิ ไป (มีขนาดไมเ่ ลก็ กวา่ กาปั้นเด็ก) 6. ควรให้เดก็ เลน่ อยใู่ นสายตาของผใู้ หญ่ 3. สขี องเลน่ ต้องมคี วามปลอดภยั 7. ไม่ควรให้เล่นเกมกดและวีดีโอเกมตามลาพังและ 4. เกบ็ รกั ษาและทาความสะอาดงา่ ย มากเกินไป เพราะจะบั่นทอนสุขภาพ และจะทาให้เด็ก 5. ระบอุ ายขุ องเดก็ ท่ีเหมาะกบั ของเลน่ และอธบิ าย ข า ด โ อ ก า ส ใ น ก า ร ทา กิ จ ก ร ร ม ที่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ อ ย่ า ง อื่ น ท่ีสาคัญ ยังอาจชักนาให้เด็กมีนิสัยติดการพนันด้วย วธิ ีการเลน่ ชัดเจน ทั้งนี้ สำหรับคุณพ่อคุณแม่อำจต้องมีวิธีจัดกำร กับของเล่นของลูกที่วำงอยู่เกล่ือนบ้ำน ด้วยกำรซื้อตะกร้ำ พลำสติกวำงไว้ทมี่ ุมห้อง เพ่อื ใหก้ ำรจัดเก็บได้สะดวกรวดเรว็ ขน้ึ ทมี่ า : สานกั งานกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครวั . “คมู่ อื การเลยี้ งดูลูก วยั แรกเกิด – 6 ป”ี กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ สกสค.ลาดพรา้ ว, 2552. ขอบคุณภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 38

สาระน่ารู้ ! ขอ้ มลู ทางวชิ าการยนื ยนั วา่ เสียงพูดทีน่ ุ่มนวลออ่ นโยนของคุณพอ่ คณุ แมจ่ ะช่วยหยดุ การรอ้ งไห้ ได้ดีกว่าเสียงอื่น ๆ และการเล้ียงดูด้วยความนุ่มนวล ให้ความอบอุ่น ให้กินและอยู่อย่างพอดี จะช่วย ให้เด็กรู้สึกสบายไม่ร้องไห้กวน สำหรับส่ิงท่ีควรระวัง คือ อย่าเขย่าเด็กทารกขณะร้องไห้ เพราะมีข้อมูล ว่าจะเป็นอันตรายต่อสมองเด็ก นอกจากน้ัน เด็กจะซึมซับความหยาบคายเป็นนิสัย กลายเป็นคนหงุดหงิด อารมณเ์ สียงา่ ย และก้าวร้าวเมื่อเตบิ โตขน้ึ ดังน้ัน คุณพ่อคุณแม่ท่ีมีลูกวัยทารกไม่เกิน 3 เดือน ควรได้ทราบว่าเด็กยังไม่คุ้นเคยกับ สภาพแวดล้อมใหม่ จากเดิมท่ีอยู่อย่างอบอุ่นและปลอดภัยในท้องของแม่ ดังนั้น เม่ือใดที่ลูกร้องไห้งอแง คณุ พ่อคุณแมค่ วรเข้าไปดูแลเดก็ ทันที พร้อมท้งั โอบกอดและปลอบโยน เพราะการตอบสนองความตอ้ งการ ของเดก็ อย่างรวดเรว็ และอ่อนโยน จะทำใหเ้ ดก็ รับรถู้ ึงความรกั ความห่วงใย และรสู้ กึ ปลอดภัย ถงึ แมอ้ ยู่ใน สภาพแวดลอ้ มใหม่ทย่ี ังไม่คุ้นเคยก็ตาม ทีม่ า..... ปภาดา ชโิ นภาษ. “ทำไมเดก็ ถงึ ร้องไห้” วารสารสตรแี ละครอบครัว. ปที ี่ 7 ฉบบั ท่ี 3 มถิ นุ ายน – กนั ยายน 2553 หนา้ 18 - 19 ขอบคุณภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 39

สาเหตทุ เี่ ดก็ ทารกรอ้ งไห้ และวธิ ีการดแู ล รอ้ งโคลิก (Colic) เด็กถ้าร้องไห้เพราะเกิดอาการมวนท้อง ให้อุ้มเด็กพาดบ่า หรืออุ้มคว่ำพาดแขนไว้สักครู่ เม่ือนมย่อยอาการก็จะดีข้ึน คนเฒ่าคนแก่จะใช้ มหาหงิ ส์ (ยาขับลม) ทาทอ้ งเดก็ (ร้องโคลกิ หรอื ร้องไห้สามเดือน เป็นการร้องไห้เนื่องจากเด็กรู้สึก ไม่สบายท้อง มวนท้อง ท้องอืด ต้องผายลม มักเกิดหลังกินนมแล้วประมาณ ½ - 1 ช่ัวโมง และมักเกิดเวลาเดิมในช่วงเย็น (ช่วง 18.00 – 22.00 น.) และร้องอยู่นานวันละ 2-3 ช่ัวโมง โดยปกตจิ ะเกดิ กับทารกแรกเกิด 3 เดอื นแรก ผ้าอ้อมเปียกแฉะ สังเกตดูว่าเด็กฉ่ีหรือถ่ายหรือไม่ หวิ ความหิวเป็นเหตุผลธรรมดาที่สุดที่ทำให้ เด็กบางคนร้องไห้เพราะเป็น ทารกร้องไห้ คุณแม่ต้องดูว่าทารกดูดนม ผน่ื ผา้ ออ้ ม การทาแปง้ ใหท้ กุ ครง้ั ท่ี อย่างเต็มที่แล้วหรือไม่ในแต่ละวัน ทั้งน้ี เปลย่ี นผ้าออ้ มจะช่วยไดม้ าก ทารกช่วง 2 – 3 สัปดาห์แรกควรให้นม ตามความต้องการของเด็ก จากน้ัน ความวนุ่ วาย บางครั้งเด็กอาจถูกรบกวนมากเกินไป เช่น ถูกอุ้ม จึ ง ค่ อ ย จั ด เ ว ล า ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม หรอื มคี นหยอกเลน่ เกอื บตลอดเวลา คณุ แมอ่ าจทำตาราง อาจทกุ 3 – 4 ชว่ั โมง ให้นมทกุ 4 ชั่วโมง ใหน้ มแลว้ ให้เดก็ เลน่ สัก 1 ½ ชว่ั โมง จากน้ันให้เข้านอน โดยควรให้เด็กเข้านอนแต่หัวค่ำ ตรงเวลาทุกวันเป็นประจำ วิธีน้ีจะดีกับเด็ก และช่วยลด ความวุ่นวายให้คุณพอ่ คณุ แมไ่ ด้ด้วย เหน่ือย เด็กถ้างอแงเพราะเหนอื่ ย ก่อนรอ้ งไห้ มีคนทำให้ตกใจ จะมีการขยี้ตา ตาแดงก่ำ และ หาวหวอด ซ่ึงปกติถึงแม้เด็กจะ เด็กจะร้องไห้เพื่อลดความคับข้องใจ เหนอื่ ยมาก แต่ถา้ บริเวณนัน้ มีเสยี งดงั และความกงั วล ดังน้ัน ผู้ใหญ่ไม่ควร หรือมีผู้คนขวักไขว่ เด็กจะหลับยาก หยอกหรอื แกลง้ ใหเ้ ดก็ รอ้ งไห้ ถา้ ใคร กรณนี ี้ ควรพาไปหอ้ งเงยี บ ๆ แลว้ กลอ่ ม แปลกหน้าก็อย่าอุ้มเด็ก เพราะเด็ก ให้หลับ ถ้าไม่ได้ผลให้อุ้มเด็กแนบอก ส่วนใหญจ่ ะร้องไห้ หรือ นำใสร่ ถเข็นเดนิ เลน่ รอบ ๆ บ้าน 40

เดก็ ไมช่ อบส่ิงทท่ี ำอยู่ ให้สังเกตว่า มีกิจกรรมใดที่ทำแล้ว เด็กต้องรอ้ งไหท้ ุกที หากหลกี เลย่ี งได้ กห็ ลกี เลยี่ ง แตถ่ า้ หลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ กต็ อ้ ง ทำใหน้ มุ่ นวลและเรว็ ทส่ี ดุ เชน่ เดก็ อาจ ไมช่ อบอาบน้ำ ไม่ชอบสระผม ฯลฯ เหงา ทารกอาจร้องไหเ้ พียงเพ่ือต้องการไออุ่นจากแม่ และชอบทีจ่ ะไดอ้ ย่ใู นออ้ มอกของคณุ แม่ ไมส่ บาย สังเกตเดก็ ว่าไมส่ บาย เป็นไข้ คดั จมูก เปน็ หวดั หรือ ไม่ ถ้าสงสัยว่าเด็กไม่สบาย ควรวัดไข้เพ่ือตรวจวัด อุณหภมู ิ หรอื ขอคำแนะนำเพม่ิ เตมิ จากคณุ หมอ อากาศ เด็กต้องได้อยู่ในอุณหภูมิที่พอเหมาะ ถ้าอากาศหนาวก็ต้องให้เด็กใส่เสื้อผ้า ก็หนเู ปน็ อยา่ งนี้ เ ด็ ก บ า ง ค น อ า จ ต้ อ ง ก า ร หนา ๆ ถ้าเปิดแอร์หรือพัดลมก็ต้อง การเอาใจเปน็ พเิ ศษรอ้ งไหง้ า่ ย ลดหรอื ปดิ ถา้ ร้อนเกนิ ไปกต็ ้องเชด็ ตัว คุณแม่ควรพาออกไปเท่ียว หรืออาบน้ำให้ ท้งั น้ี ห้องนอนสำหรับ นอกบ้านบ้างเพื่อรับอากาศ ทารกควรมีอุณหภูมิระหว่าง 24-25 บริสุทธ์ิ หรือ ให้ญาติช่วย องศาเซลเซียส ดแู ลบา้ ง เพ่ือที่แมจ่ ะไดม้ เี วลา พกั ผอ่ นมากขึน้ วธิ ีปลอบโยนเดก็ ถ้าเดก็ ยังไมห่ ยุดรอ้ งไห้ ใช้เสยี งช่วย พาไปนอกบ้านบา้ ง รอ้ งเพลง หรอื เปิดเพลงเบา ๆ ใหฟ้ ัง หรอื ใชเ้ สียง ควรพาเด็กไปเท่ยี วนอกบ้านบา้ ง อุ้ม / โอบกอด ของเคร่อื งใช้ไฟฟ้าชว่ ย เพ่อื ทำให้ อาจอมุ้ เดิน พานง่ั รถเขน็ หรือ นัง่ รถเล่น เคล่ือนไหวไปมา อุ้มโอบกอดในอ้อมอก ทารกอนุ่ ใจ เพื่อทารกจะไดร้ ู้สกึ อบอนุ่ ว่ามีคนอยู่ใกล้ ๆ พาเด็กเคลื่อนไหวไปมา หลากหลายรูปแบบและสังเกตวา่ และปลอดภัย เดก็ ชอบแบบไหน เชน่ เหก่ ล่อม เตน้ รำ เขยา่ ในอ้อมกอดเบา ๆ ห่อพนั ดว้ ยผ้า นวด เบี่ยงเบนความสนใจ ลบู หลงั เบา ๆ แลว้ ห่อทารกด้วยผา้ ทารกสว่ นใหญ่ชอบการถกู สัมผสั หาของเลน่ โมบายล์ หรือ ของเล่น จะชว่ ยให้เขารู้สึกอบอนุ่ ดังน้นั การนวดจะช่วยปลอบโยนเขา ทม่ี ีเสียงดนตรเี บา ๆ มาใหเ้ ด็กดู และปลอดภยั ขนึ้ หรอื ฟงั เพอื่ เบีย่ งเบนความสนใจ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ย่ิงกว่าน้นั พดู คยุ จะชว่ ยใหเ้ ขาสบายใจ สบายตัว และยงั ช่วยเพ่ิมน้ำหนกั ได้ด้วย มองตาและพูดคยุ กบั เขา อย่างออ่ นโยน 41

สาระน่ารู้ ! ขอ้ มลู ทางวชิ าการยนื ยนั วา่ เสียงพูดทีน่ ุ่มนวลออ่ นโยนของคุณพอ่ คณุ แมจ่ ะช่วยหยดุ การรอ้ งไห้ ได้ดีกว่าเสียงอื่น ๆ และการเล้ียงดูด้วยความนุ่มนวล ให้ความอบอุ่น ให้กินและอยู่อย่างพอดี จะช่วย ให้เด็กรู้สึกสบายไม่ร้องไห้กวน สำหรับส่ิงท่ีควรระวัง คือ อย่าเขย่าเด็กทารกขณะร้องไห้ เพราะมีข้อมูล ว่าจะเป็นอันตรายต่อสมองเด็ก นอกจากน้ัน เด็กจะซึมซับความหยาบคายเป็นนิสัย กลายเป็นคนหงุดหงิด อารมณเ์ สียงา่ ย และก้าวร้าวเมื่อเตบิ โตขน้ึ ดังน้ัน คุณพ่อคุณแม่ท่ีมีลูกวัยทารกไม่เกิน 3 เดือน ควรได้ทราบว่าเด็กยังไม่คุ้นเคยกับ สภาพแวดล้อมใหม่ จากเดิมท่ีอยู่อย่างอบอุ่นและปลอดภัยในท้องของแม่ ดังนั้น เม่ือใดที่ลูกร้องไห้งอแง คณุ พ่อคุณแมค่ วรเข้าไปดูแลเดก็ ทันที พร้อมท้งั โอบกอดและปลอบโยน เพราะการตอบสนองความตอ้ งการ ของเดก็ อย่างรวดเรว็ และอ่อนโยน จะทำใหเ้ ดก็ รับรถู้ ึงความรกั ความห่วงใย และรสู้ กึ ปลอดภัย ถงึ แมอ้ ยู่ใน สภาพแวดลอ้ มใหม่ทย่ี ังไม่คุ้นเคยก็ตาม ทีม่ า..... ปภาดา ชโิ นภาษ. “ทำไมเดก็ ถงึ ร้องไห้” วารสารสตรแี ละครอบครัว. ปที ี่ 7 ฉบบั ท่ี 3 มถิ นุ ายน – กนั ยายน 2553 หนา้ 18 - 19 ขอบคุณภาพประกอบจาก http://www.google.co.th และ http://pixabay.com/th 42

อวิธาดี ูแกลาเดศ็ก..ร.เม้ออื่ นจัด ในช่วงฤดูร้อน บ้านเราจะมีสภาพอากาศร้อนจัด และแดดแรง แมก้ ระทง่ั ผู้ใหญ่ก็แทบทนไมไ่ หว เดก็ ๆคงจะย่ิงรอ้ น ไปกนั ใหญ่ ผูใ้ หญ่จงึ ควรใหก้ ารดูแลเป็นพิเศษ โดยปกติอากาศที่ร้อนจัด อาจทาให้เด็กบางคน ท่ีกินยากอย่แู ลว้ เกิดอาการเบ่ืออาหาร กินได้นอ้ ย หรือจะยง่ิ ไมค่ ่อยกินขา้ ว กรณนี น้ี กั วิชาการแนะนาว่า ไม่ควรบังคับให้เด็ก ตอ้ งกิน เพราะถา้ เดก็ ยังร่าเริงแจ่มใสดี พออากาศคลายร้อน เดก็ จะกนิ ไดเ้ อง เรื่องนจี้ งึ ไมต่ อ้ งเป็นกังวลมากนัก อย่างไรก็ตาม ผู้ใหญ่ก็ยังคงต้องให้การดูแลเอาใจใส่ เด็กเป็นพิเศษ เพราะอากาศที่ร้อนไม่เพียงทาให้เด็ก ไม่สบายตัวเทา่ นั้น แต่อาจส่งผลให้เด็กอารมณ์เสีย หงุดหงิด และเจบ็ ป่วยไดง้ า่ ย วิธดี แู ลเดก็ เมอ่ื อากาศร้อน มีนักวิชาการแนะนาไวห้ ลากหลาย ซง่ึ คุณพ่อคุณแม่ สามารถนาไปใชไ้ ดต้ ามความเหมาะสม ดังน้ี - อาบน้าให้เด็กบ่อยขึ้น โดยไม่จาเป็นต้องถูสบู่ ใหท้ กุ ครั้ง - เลือกเสื้อผ้าที่สวมใส่สบายเหมาะกับฤดู และอาจ เปลีย่ นเสอ้ื ผ้าใหบ้ ่อย ๆ - เปลย่ี นผ้าปูท่ีนอน หรอื ปลอกหมอนบ่อย ๆ - เปิดพัดลมแกว่งไปมา (ให้ห่างประมาณ 2 เมตร) แหงนพดั ลมขึ้นอย่าให้ลมถกู ตวั เดก็ โดยตรง - เปิดเครื่องปรับอากาศในอุณหภูมิท่ีไม่ควรต่ากว่า 25 องศาเซลเซียส (ควรเปิดต่ากว่าอุณหภูมินอกห้อง ประมาณ 4 – 5 องศาเซลเซียส) - ถ้าเด็กจะกินนม สามารถให้กินนมเย็นๆด้วยการนา ไปแช่เย็นได้ - ให้กินน้าต้มสุกหรือน้าผลไม้ หรือน้าชาจาง ๆ เพอ่ื ชดเชยทร่ี า่ งกายเสียน้าไปกับเหง่ือ - ให้เด็กกนิ ไอศกรีมได้บ้าง - พาเดก็ ออกรับลมนอกบ้านในสถานที่อากาศดี ๆ - ถ้าไปข้างนอกควรให้สวมหมวก เพื่อไม่ให้ถูก แสงแดดโดยตรง 4343

- ใหเ้ ดก็ ไดเ้ ล่นนา้ โดยมีผู้ใหญ่ดแู ลอย่างใกล้ชดิ - เดก็ เลก็ : อาจให้เลน่ ในกะละมัง หรอื สระว่ายน้า พลาสตกิ - เด็กโต : อาจพาไปเที่ยวทะเล ให้เล่นน้าทะเล ในชว่ งทีแ่ ดดอ่อน ๆ แต่อย่าปล่อยให้เลน่ นา้ นานเกินไป - ถา้ เด็กเล่นน้าในที่สาธารณะ เช่นแม่น้าลาคลอง หรือ สระว่ายน้า ต้องสอนให้เด็กรู้จักใช้น้าล้างตาให้สะอาด เพอ่ื ปอ้ งกันการติดเชอื้ โรคเยื่อตาอกั เสบหรอื ตาแดง - ช่วงปิดเทอม (ปีละ 2 ครั้ง) ควรพาเด็กไปแหล่ง พักผ่อนหย่อนใจ หรือแหล่งเรียนรู้ เช่น สวนสัตว์ สวนสนุก สวนสาธารณะ พิพธิ ภณั ฑ์ หอ้ งสมุด ฯลฯ โดยปกติเด็กจะมีความสนใจในธรรมชาติอยู่แล้ว การปลูกฝังให้เด็กรักธรรมชาติจึงไม่ใช่เรื่องยาก นักวิชาการ ให้คาแนะนาว่า ถ้ามีโอกาสควรพาเด็กไปสัมผัสธรรมชาติ พร้อมกันท้ังครอบครัว เพราะความสุขความสนุกสนาน ร่วมกับพ่อแม่ในช่วงวัยเด็กจะอยู่ในความทรงจาของเด็ก ไปตลอดชวี ติ สาหรบั ครอบครวั ทอ่ี ยูต่ กึ แถว หรือ ทาวน์เฮาส์ในเมือง ถึงจะไม่มีสวนสาธารณะ ไม่มีสนามเด็กเล่น ก็สามารถสอน ให้เดก็ รกั ต้นไม้ได้ ด้วยการสอนใหป้ ลูกไมด้ อก ไม้ประดบั หรือ พืชสวนครัวใส่กระถางประดับไว้ตามระเบียง เม่ือต้นไม้ เจริญเตบิ โต หรอื ผลดิ อก เด็กจะเกดิ ความภาคภูมิใจ ...ท่ีสาคัญ มีข้อมูลว่า การสอนให้เด็กรักธรรมชาติไม่เพียงหล่อหลอม จิตใจให้มีความอ่อนโยนเท่านั้น แต่เป็นการสะสมความรู้ และเพมิ่ ทกั ษะชวี ติ ทีด่ ีให้กับเด็กด้วย ท่ีมา : ปภาดา ชิโนภาษ. “วิธีดูแลเด็ก : เม่ืออากาศร้อนจัด” วารสารสตรี และครอบครัว. ปีท่ี 7 ฉบับท่ี 2 กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม 2553 หน้า 17 (ปรบั ปรุงข้อมลู กมุ ภาพันธ์ 2559) 4444


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook