Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore file_1_5834

file_1_5834

Description: file_1_5834

Search

Read the Text Version

รายงานผลการสำรวจ สภาวะสขุ ภาพชองปากแหง ชาติ ครงั้ ที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560 สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กรกฎาคม 2561

รายงานผลการสำ� รวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากแห่งชาติ คร้งั ที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560 สำ� นักทันตสาธารณสขุ กรมอนามัย กรกฎาคม 2561

รายงานผลการสำ� รวจสภาวะสขุ ภาพช่องปากแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560 ส�ำนักทันตสาธารณสขุ กรมอนามยั 2561 จ�ำนวน 330 หน้า ขนาด 18.5 x 26 ซม. ISBN : 978-616-11-3751-9 ท่ีปรกึ ษา เจียรมณโี ชตชิ ยั ดาโลดม ทนั ตแพทย์สธุ า อึ้งชูศักด์ิ ทนั ตแพทย์หญิงสปุ ราณี ลีละศธิ ร ทนั ตแพทยห์ ญิงจนั ทนา ประเสริฐสม ทนั ตแพทย์หญิงศรีสดุ า วสิ าลเสสถ์ ทนั ตแพทย์หญงิ ปิยะดา เวชวิธี ทนั ตแพทย์หญงิ วกิ ุล ทันตแพทย์หญิงวรางคนา ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ ทนั ตแพทยห์ ญิงกรกมล นยิ มศิลป์ นางขนษิ ฐ์ รตั นรงั สิมา บรรณาธิการ ทันตแพทยห์ ญิงจิราพร ขดี ดี ผเู้ ขียน ทันตแพทยห์ ญิงจริ าพร ขีดดี ทันตแพทยห์ ญิงสรุ ัตน์ มงคลชัยอรญั ญา ทันตแพทยห์ ญิงนพวรรณ โพชนุกลู ทนั ตแพทย์พงศธร จินตกานนท์ ทนั ตแพทย์หญิงพัชรวรรณ สขุ ุมาลนิ ท์ ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรม รายงานผลการสำ� รวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งท่ี 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560.--นนทบุรี : สำ� นกั ทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข, 2561. 330 หนา้ . 1. ทนั ตสาธารณสขุ --ไทย. I. ชอ่ื เรอื่ ง. 617.6 ISBN 978-616-11-3751-9 จดั ทำ� โดย สำ� นักทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ พมิ พท์ ่ี บริษทั สามเจรญิ พาณชิ ย์ (กรงุ เทพ) จำ� กดั พมิ พ์ครงั้ ท่ี 1 จ�ำนวน 800 เลม่ พ.ศ. 2561

ค�ำนำ� สำ� นกั ทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามยั ไดด้ ำ� เนนิ การสำ� รวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากระดบั ประเทศ อย่างต่อเนื่องทุก 5 ปี นับตั้งแต่ปี 2520 เป็นต้นมา ท้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ข้อมูลระบาดวิทยา ของโรคส�ำคัญในช่องปากและปจั จัยที่มีอิทธพิ ลตอ่ สภาวะสขุ ภาพช่องปากในทุกชว่ งวยั ขอ้ มูลทไ่ี ดใ้ นการ ส�ำรวจแต่ละครั้งใชเ้ พ่ือประเมินสถานการณ์ การกำ� หนดยทุ ธศาสตร์ แผนงาน โครงการตา่ งๆ เพือ่ แกไ้ ข ปัญหาโรคส�ำคัญในช่องปาก สร้างเสริมสุขภาพช่องปากแก่ประชาชน รวมไปถึงข้อเสนอแนะในการ พัฒนาระบบบริการทันตสาธารณสุขของประเทศ นอกจากนี้ยังเป็นฐานข้อมูลท่ีเป็นแหล่งอ้างอิงหลัก ของสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากและปจั จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ สภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากในทกุ ชว่ งวยั ของประเทศดว้ ย โดยท่ีการส�ำรวจในคร้ังน้ีได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ท้ังคณะทันตแพทยศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยต่างๆ ผู้เช่ียวชาญด้านทันตสาธารณสุข ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ท้ังระดับศูนย์อนามัย ส�ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัด โรงพยาบาลชมุ ชน โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำ� บล และภาคเอกชน รายงานผลการสำ� รวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปากแห่งชาติ ครงั้ ที่ 8 ในปี 2560 จงึ เป็นขอ้ มลู ทีม่ ี ประโยชนอ์ ย่างยิ่งสำ� หรับการเปรียบเทียบ และประเมนิ สถานการณ์ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั สุขภาพชอ่ งปาก ภาย ใต้แผนงาน/โครงการด้านทันตสาธารณสุขท่ีมีการด�ำเนินงานระหว่างปีที่ท�ำการส�ำรวจ นอกจากนี้ ยงั เปน็ ขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ ประกอบการจดั ทำ� แผนงาน/ โครงการเพอื่ พฒั นาทนั ตสขุ ภาพของคนไทยใหด้ ยี งิ่ ขนึ้ กรมอนามัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ทันตบุคลากรและนักวิชาการที่เกี่ยวข้องจะได้น�ำผลการส�ำรวจในคร้ังนี้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนางานทันตสาธารณสุขของประเทศ เพ่ือสุขภาพและคุณภาพชีวิต ของคนไทยต่อไป (นายแพทยว์ ชิระ เพง็ จนั ทร)์ อธิบดีกรมอนามยั

กติ ตกิ รรมประกาศ การส�ำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ คร้ังท่ี 8 ในปี 2560 ได้รับความอนุเคราะห์ ด้านวิชาการอย่างดียิ่งจากผู้เช่ียวชาญจากคณะทันตแพทยศาสตร์ทุกมหาวิทยาลัย รวมทั้งทันตแพทย์ ในส�ำนักทันตสาธารณสุข ได้รับความอนุเคราะห์สถานท่ีและกลุ่มตัวอย่างส�ำหรับการปรับมาตรฐาน จากโรงพยาบาลบางเลน จงั หวดั นครปฐม การดำ� เนนิ การเกบ็ ขอ้ มลู ในพนื้ ทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณ สว่ นหน่งึ จากมูลนธิ ิทันตสาธารณสุข ไดร้ บั ความอนเุ คราะหจ์ ากทนั ตแพทย์และทันตบุคลากรอาสาสมัคร รวมทั้งผู้ประสานงานในพ้ืนท่ี 25 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ แพร่ เพชรบูรณ์ ตาก ก�ำแพงเพชร อทุ ัยธานี ปทุมธานี นครนายก สมุทรสาคร เพชรบรุ ี ชลบรุ ี ปราจนี บรุ ี ขอนแกน่ มหาสารคาม สกลนคร หนองคาย นครราชสีมา สุรินทร์ อุบลราชธานี มุกดาหาร สุราษฎร์ธานี กระบี่ สงขลา พัทลุง และ กรุงเทพมหานคร ตลอดจนกลุม่ ตัวอย่างทีใ่ หข้ อ้ มลู อันเป็นประโยชน์อยา่ งยง่ิ คณะกรรมการด�ำเนินการโครงการส�ำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ คร้ังที่ 8 จึงขอขอบคุณในความร่วมมือและให้การสนับสนุนอย่างจริงจังของทุกหน่วยงานและทุกท่านที่เกี่ยวข้อง รวมทง้ั ทพญ.ปยิ ะดา ประเสรฐิ สม ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั ทนั ตสาธารณสขุ ทไี่ ดใ้ หก้ ารสนบั สนนุ จนการสำ� รวจ สภาวะสขุ ภาพช่องปากแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 8 ส�ำเร็จลลุ ่วงตามวตั ถปุ ระสงค์

สารบญั หนา้ ค�ำนำ� 1 กิตติกรรมประกาศ 2 สารบญั ตาราง 11 สารบัญภาพ 13 บทสรปุ ผบู้ ริหาร 14 ส่วนที่ 1 รายงานผลการสำ� รวจสภาวะสขุ ภาพช่องปากแห่งชาติ ครง้ั ที่ 8 22 31 บทนำ� 32 ระเบยี บวธิ ีวิจยั 37 การปรบั มาตรฐาน 75 ผลการศึกษา 115 ผลการส�ำรวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปาก 125 ผลการสัมภาษณ์พฤติกรรมและปจั จัยเส่ยี ง 129 ผลการตรวจปริมาณฟลูออไรด์ในแหลง่ น้ำ� บรโิ ภคหลกั ของเดก็ อายุ 12 ปี 149 151 แนวโนม้ สภาวะสขุ ภาพช่องปาก 160 ตารางแสดงผล 167 168 ตารางผลการสำ� รวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปาก 173 ตารางผลการสมั ภาษณพ์ ฤตกิ รรมและปจั จัยเสย่ี ง 193 ตารางเปรียบเทยี บผลการส�ำรวจสภาวะสขุ ภาพช่องปากแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 2-8 ตารางผลการส�ำรวจปริมาณฟลอู อไรด์ในแหล่งนำ้� บรโิ ภค ส ่วนท่ี 2 ผลคณุ ภาพชวี ติ ในมติ สิ ขุ ภาพช่องปากของเด็กไทยอายุ 12 ปี ภาคผนวก - โครงการส�ำรวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปากแห่งชาติ ครั้งท่ี 8 พ.ศ. 2560 - คำ� ส่งั แตง่ ต้งั คณะทำ� งานดำ� เนินงานโครงการสำ� รวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปากแห่งชาติ คร้ังท่ี 8 พ.ศ. 2560 - ผลการพิจารณาโครงการวิจัยของคณะกรรมการจรยิ ธรรมการวิจยั - กำ� หนดการลงพ้ืนท่ีสำ� รวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปากแห่งชาติ ครัง้ ที่ 8 - แบบฟอรม์ การสำ� รวจ - ตารางผลการส�ำรวจปริมาณฟลอู อไรด์ในแหล่งน�ำ้ บรโิ ภคในพ้ืนทสี่ ำ� รวจ

สารบัญตาราง หน้า สภาวะโรคฟันผแุ ละการสูญเสียฟนั ตารางที่ 1.1 รอ้ ยละของผมู้ ปี ระสบการณ์โรคฟนั ผใุ นกลุ่มอายุตา่ งๆ พ.ศ. 2560 39 ตารางที่ 1.2 คา่ เฉลย่ี ฟันผุ ถอน อุด ในกลมุ่ อายุต่างๆ พ.ศ. 2560 39 ตารางที่ 1.3 รอ้ ยละผู้มปี ระสบการณโ์ รคฟันผุในฟนั น้�ำนมในเด็กอายุ 3 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต 40 ตารางท่ี 1.4 ค่าเฉล่ียฟนั ผุ ถอน อุด ของฟนั น้ำ� นมในเด็กอายุ 3 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 40 ตารางท่ี 1.5 ร้อยละผู้มีประสบการณ์โรคฟันผุในฟันน�้ำนมในเด็กอายุ 5 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต 41 ตารางท่ี 1.6 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด ของฟนั น้ำ� นมในเด็กอายุ 5 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต 41 ตารางท่ี 1.7 รอ้ ยละผมู้ ปี ระสบการณ์โรคฟนั ผใุ นฟนั ถาวรในเดก็ อายุ 12 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 42 ตารางท่ี 1.8 ค่าเฉลย่ี ฟนั ผุ ถอน อุด ของฟนั ถาวรในเด็กอายุ 12 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต 42 ตารางท่ี 1.9 รอ้ ยละผมู้ ปี ระสบการณโ์ รคฟนั ผใุ นฟนั ถาวรในกลมุ่ อายุ 15 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 43 ตารางท่ี 1.10 คา่ เฉลยี่ ฟนั ผุ ถอน อุด ในกลุม่ อายุ 15 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 43 ตารางที่ 1.11 รอ้ ยละผมู้ ปี ระสบการณโ์ รคฟนั ผใุ นฟนั ถาวรกลมุ่ อายุ 35-44 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 44 ตารางที่ 1.12 ค่าเฉลย่ี ฟนั ผุ ถอน อดุ ในกลุ่มอายุ 35–44 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 44 ตารางที่ 1.13 รอ้ ยละผมู้ ปี ระสบการณโ์ รคฟนั ผใุ นฟนั ถาวรกลมุ่ อายุ 60-74 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 45 ตารางที่ 1.14 ค่าเฉลย่ี ฟนั ผุ ถอน อดุ ในกล่มุ อายุ 60–74 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 45 ตารางท่ี 1.15 รอ้ ยละผู้มปี ระสบการณ์โรคฟนั ผุในฟันถาวรกลุ่มอายุ 80-85 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 46 ตารางที่ 1.16 คา่ เฉลยี่ ฟันผุ ถอน อดุ ในกลมุ่ อายุ 80-85 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 46 ตารางท่ี 1.17 ร้อยละของผทู้ ่มี ปี ระสบการณร์ ากฟนั ผุ จ�ำแนกตามกลมุ่ อายุ ภาค และเขต 47 ตารางท่ี 1.18 คา่ เฉลี่ยรากฟันจำ� แนกตามกลมุ่ อายุ ภาค และเขต 48 ตารางที่ 1.19 รอ้ ยละของเดก็ อายุ 5 ปี ท่ีมฟี ันกรามถาวรซ่ีที่ 1 49 ตารางที่ 1.20 ร้อยละของเดก็ อายุ 5 ปี ที่มีฟันกรามถาวรซ่ที ี่ 1 จ�ำแนกตามรายซี่ 49 ตารางท่ี 1.21 ร้อยละของผมู้ ีฟนั ใช้งานครบ 28 ซี่ ในกลุ่มอายุ 15 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 50 ตารางท่ี 1.22 ร้อยละของผูม้ ฟี ันใชง้ านครบ 24 ซ่ี ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 50 ตารางที่ 1.23 ร้อยละของผไู้ ม่มฟี ันท้งั ปากในกลมุ่ อายุ 60-74 ปี และ 80-85 ปี จำ� แนกตามภาค 50 และเขต 51 ตารางที่ 1.24 รอ้ ยละของผมู้ ฟี ันอยา่ งนอ้ ย 20 ซ่ี และ คู่สบฟันหลัง 4 คู่สบ จำ� แนกตามภาคและเขต 52 ตารางที่ 1.25 ค่าเฉล่ยี คู่สบฟันหลัง จำ� แนกตาม กลุ่มอายุ ภาค และเขต

ความจ�ำเปน็ ในการรับการป้องกัน รักษา ตามสภาวะโรคฟนั ผแุ ละการสญู เสียฟนั 53 54 ตารางที่ 1.26 รอ้ ยละของผู้จ�ำเปน็ ต้องได้รบั บริการป้องกนั และรกั ษาฟนั นำ้� นม 55 จำ� แนกตามชนิดบริการ ในกลุม่ เด็กเลก็ ตามภาคและเขต 56 57 ตารางที่ 1.27 ค่าเฉลย่ี จำ� นวนซีฟ่ ันน�้ำนม ทจ่ี ำ� เปน็ ต้องไดร้ บั บรกิ ารป้องกนั และรกั ษา 58 จำ� แนกตามชนดิ บรกิ ารในกลุ่มเดก็ เลก็ ตามภาคและเขต 59 ตารางท่ี 1.28 รอ้ ยละของผจู้ ำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั บรกิ ารปอ้ งกนั และรกั ษา ฟนั ถาวร จำ� แนกตามชนดิ บรกิ าร ในกลมุ่ เด็กวัยเรียนและวยั ร่นุ ตามภาคและเขต 60 61 ตารางท่ี 1.29 ค่าเฉล่ียจ�ำนวนซ่ี ฟันถาวร ท่ีจ�ำเป็นต้องได้รับบริการป้องกันและรักษา จ�ำแนกตาม ชนิดบรกิ ารในกลุ่มเด็กวัยเรียนและวยั รุ่น ตามภาคและเขต 62 62 ตารางท่ี 1.30 รอ้ ยละของผจู้ ำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั บรกิ ารปอ้ งกนั และรกั ษา ฟนั ถาวร จำ� แนกตามชนดิ บรกิ าร ในกลมุ่ ผู้ใหญ่และผสู้ งู อายุ ตามภาคและเขต 63 63 ตารางที่ 1.31 ค่าเฉลี่ยจ�ำนวนซี่ ฟันถาวร ที่จ�ำเป็นต้องได้รับบริการป้องกันและรักษา จ�ำแนกตาม 64 ชนดิ บรกิ าร ในกลุ่มผใู้ หญแ่ ละผสู้ งู อายุ ตามภาคและเขต 64 สภาวะฟนั ตกกระ ต ารางท่ี 1.32 ร้อยละของกล่มุ อายุ 12 ปี ท่มี ฟี นั ตกกระ จ�ำแนกตามภาคและเขต สภาวะฟันสึก ตารางท่ี 1.33 ร้อยละฟันสกึ ในกลุ่มผใู้ หญ่และผ้สู งู อายุ จ�ำแนกตาม อายุ ภาคและเขต ตารางท่ี 1.34 ค่าเฉล่ยี จำ� นวนซฟ่ี นั สกึ (ซ่ี/คน) ในกลมุ่ ผู้ใหญแ่ ละผสู้ ูงอายุ จ�ำแนกตามอายุ ภาคและเขต การตรวจแผ่นคราบจลุ นิ ทรีย ์ ตารางท่ี 1.35 รอ้ ยละของเด็กอายุ 3 ปี ท่ีมีคราบจุลินทรีย์ จำ� แนกตาม ภาคและเขต ตารางท่ี 1.36 รอ้ ยละของเด็กอายุ 5 ปี ทม่ี คี ราบจุลินทรยี ์ จำ� แนกตาม ภาคและเขต สภาวะปรทิ นั ต ์ ตารางที่ 1.37 ร้อยละผู้ที่เหงือกอักเสบและค่าเฉลี่ยส่วนของช่องปาก (Sextant) ที่มีเหงือกอักเสบ ในกลุ่มอายุต่างๆ ตารางท่ี 1.38 รอ้ ยละผทู้ ม่ี สี ภาวะปรทิ นั ตแ์ ละคา่ เฉลยี่ สว่ นของชอ่ งปาก (Sextant) ทม่ี สี ภาวะปรทิ นั ต์ ในกลมุ่ อายุตา่ งๆ ตารางท่ี 1.39 ร้อยละของผู้ที่เหงือกอักเสบและค่าเฉลี่ยส่วนของช่องปากท่ีมีเหงือกอักเสบในกลุ่ม อายุ 12 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต ตารางที่ 1.40 ร้อยละของผู้ท่ีเหงือกอักเสบและค่าเฉลี่ยส่วนของช่องปากท่ีมีเหงือกอักเสบในกลุ่ม อายุ 15 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต

ตารางท่ี 1.41 ร้อยละของผู้ที่เหงือกอักเสบและค่าเฉล่ียส่วนของช่องปาก (Sextant) ท่ีมี 65 เหงอื กอักเสบในกลุ่มอายุ 35-44 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต 65 66 ตารางที่ 1.42 ร้อยละผู้ที่มีสภาวะปริทันต์และค่าเฉลี่ยส่วนของช่องปาก (Sextant) ท่ีมีสภาวะ 66 ปรทิ ันต์ในกลุ่มอายุ 35 - 44 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต 67 67 ตารางท่ี 1.43 ร้อยละของผู้ที่เหงือกอักเสบ และค่าเฉลี่ยส่วนของช่องปาก (Sextant) ที่มี เหงือกอักเสบ ในกลมุ่ อายุ 60 - 74 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 68 69 ตารางท่ี 1.44 ร้อยละผู้ที่มีสภาวะปริทันต์และค่าเฉล่ียส่วนของช่องปาก (Sextant) ท่ีมีสภาวะ ปริทนั ต์ในกล่มุ อายุ 60 - 74 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 70 ตารางที่ 1.45 ร้อยละของผู้ที่เหงือกอักเสบ และค่าเฉล่ียส่วนของช่องปาก (Sextant) ที่มี 77 เหงือกอักเสบ ในกลุ่มอายุ 80 - 85 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต 77 ตารางที่ 1.46 ร้อยละผู้ที่มีสภาวะปริทันต์และค่าเฉล่ียส่วนของช่องปาก (Sextant) ท่ีมีสภาวะ 78 ปรทิ นั ต์ในกลุ่มอายุ 80 - 85 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 78 79 สภาวะการใสฟ่ ันเทยี ม 79 79 ตารางที่ 1.47 ร้อยละของผู้ใส่ฟันเทียมประเภทต่างๆ (prosthetic status) จ�ำแนกตามกลุ่มอายุ ภาค และเขต ตารางที่ 1.48 ร้อยละของผู้ที่จ�ำเป็นต้องใส่ฟันเทียมประเภทต่างๆ (prosthetic need) จ�ำแนก ตามกลุ่มอายุ ภาค และเขต สภาวะน�้ำลายแหง้ ตารางที่ 1.49 ร้อยละของกลุ่มอายุ 60-74 ปที ่ีมีสภาวะน�้ำลายแห้ง จ�ำแนกตามภาคและเขต ผลการสัมภาษณ์ กลุม่ เด็กอายุ 3 ปี และ 5 ปี ข้อมูลทวั่ ไป ตารางท่ี 2.1 ร้อยละนำ�้ หนัก สว่ นสูง ของเด็กชาย หญงิ อายุ 3 ปี และ 5 ปี เทียบเกณฑอ์ า้ งองิ ภาพรวมประเทศ ตารางท่ี 2.2 ร้อยละการนบั ถือศาสนาของกล่มุ เดก็ อายุ 3 ปี และ 5 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต พฤตกิ รรมดา้ นทันตสขุ ภาพ ตารางที่ 2.3 ร้อยละของการแปรงฟันตอนเช้าก่อนมาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียน ในเด็กอายุ 3 ปี และ 5 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต ตารางที่ 2.4 รอ้ ยละของผ้แู ปรงฟันตอนเช้าให้แกเ่ ดก็ อายุ 3 ปี และ 5 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต ตารางที่ 2.5 ร้อยละของการดืม่ นมรสชาตติ ่างๆ เม่อื อยทู่ บ่ี ้าน ในเดก็ อายุ 3 ปี และ 5 ปี จำ� แนก ตามภาคและเขต ตารางที่ 2.6 รอ้ ยละของการใชข้ วดนมเมอื่ อยทู่ บ่ี า้ นในเดก็ อายุ 3 ปี และ 5 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต ตารางท่ี 2.7 ร้อยละของการเคยมอี าการปวดฟันรุนแรงในเด็กอายุ 5 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต

ผลการสัมภาษณ์ กลุ่มอายุ 12 ปี และ 15 ปี 80 ข้อมลู ท่วั ไป 80 ตารางที่ 3.1 รอ้ ยละการนับถอื ศาสนาในเด็กอายุ 12 ปี และ 15 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 81 ตารางท่ี 3.2 ระดับการศกึ ษาปัจจุบันในเด็กอายุ 12 ปี และ 15 ปี จ�ำแนกตามภาคและเขต 81 82 พฤติกรรมดา้ นทนั ตสุขภาพ 82 83 ตารางท่ี 3.3 รอ้ ยละพฤตกิ รรมการแปรงฟันในช่วงเวลาต่างๆ ในเดก็ อายุ 12 ปี 83 ตารางท่ี 3.4 ร้อยละพฤตกิ รรมการแปรงฟันก่อนนอนแล้วเข้านอนทันที ในเด็กอายุ 12 ปี 84 ตารางท่ี 3.5 รอ้ ยละพฤตกิ รรมการแปรงฟันในชว่ งเวลาตา่ งๆ ในเด็กอายุ 15 ปี 84 ตารางท่ี 3.6 ร้อยละพฤตกิ รรมการแปรงฟันกอ่ นนอนแล้วเข้านอนทนั ที ในเด็กอายุ 15 ปี 85 ตารางท่ี 3.7 รอ้ ยละระยะเวลาการแปรงฟนั แตล่ ะคร้งั ในเดก็ อายุ 12 ปี และ 15 ปี 85 ตารางที่ 3.8 รอ้ ยละการเลอื กใชแ้ ปรงสฟี ันในเดก็ อายุ 12 ปี และ 15 ปี 86 ตารางที่ 3.9 ร้อยละการใช้ยาสีฟนั ผสมฟลูออไรด์ ในเดก็ อายุ 12 ปี และ 15 ปี 86 ตารางที่ 3.10 ร้อยละการใช้อปุ กรณเ์ สรมิ ท�ำความสะอาดฟนั ในเด็กอายุ 15 ปี 87 ตารางที่ 3.11 ร้อยละพฤตกิ รรมการด่ืมน�ำ้ อดั ลม ในเดก็ อายุ 12 ปี และ 15 ปี 87 ตารางท่ี 3.12 รอ้ ยละพฤตกิ รรมการดมื่ นำ้� ผลไม้ นำ้� หวาน นมปรงุ แตง่ รส ในเดก็ อายุ 12 ปี และ 15 ปี 88 ตารางที่ 3.13 รอ้ ยละพฤตกิ รรมการกินลกู อม ในเดก็ อายุ 12 ปี และ 15 ปี 88 ตารางท่ี 3.14 รอ้ ยละพฤติกรรมการกินขนมถงุ กรบุ กรอบในเดก็ อายุ 12 ปี และ 15 ปี ตารางท่ี 3.15 ค่าเฉลีย่ เงนิ ทไี่ ด้มาโรงเรยี น และคา่ เฉล่ยี เงินคา่ ขนมในเดก็ อายุ 12 ปี 89 ตารางที่ 3.16 รอ้ ยละผสู้ ูบบหุ รี่ ในเดก็ อายุ 15 ปี 89 ตารางที่ 3.17 รอ้ ยละผู้ทใี่ ชย้ าสูบรูปแบบอื่นๆ นอกจากบหุ รี่ ในเด็กอายุ 15 ปี 90 ตารางที่ 3.18 รอ้ ยละของผู้ทด่ี ื่มเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ ในเด็กอายุ 15 ปี 90 การรับรู้และการรับบรกิ ารดา้ นทนั ตสขุ ภาพ ตารางที่ 3.19 ร้อยละกลุ่มตัวอย่างท่ีเคยปวดฟันและเคยหยุดเรียนเพราะไปท�ำฟัน ในเด็กอายุ 12 ปี และ 15 ปี ตารางท่ี 3.20 ค่าเฉล่ียจ�ำนวนวันท่ีปวดฟันและค่าเฉล่ียจ�ำนวนวันที่หยุดเรียนเพราะไปท�ำฟัน ในเด็กอายุ 12 ปี และ 15 ปี ตารางที่ 3.21 ร้อยละของการได้รับการตรวจฟันในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมาในเด็กอายุ 12 ปี และ 15 ปี ตารางที่ 3.22 ร้อยละของการรักษาฟันและเหงือกในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมาในเด็กอายุ 12 ปี และ 15 ปี

ตารางที่ 3.23 รอ้ ยละของการรกั ษาฟนั และเหงอื กและรอ้ ยละของสถานทท่ี ไ่ี ปรบั การรกั ษาในรอบ 91 ปีการศกึ ษาที่ผ่านมา ในเด็กอายุ 12 ปี และ 15 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 91 92 ตารางที่ 3.24 รอ้ ยละชอ่ งทางท่ตี อ้ งการความรู้เก่ยี วกับสขุ ภาพช่องปากในเดก็ อายุ 12 ปี 92 ตารางท่ี 3.25 รอ้ ยละช่องทางท่ีเคยได้รับความรู้เก่ยี วกับสุขภาพชอ่ งปากในเด็กอายุ 15 ปี 93 ตารางท่ี 3.26 ร้อยละชนิดของข้อมูลความรู้เก่ียวกับสุขภาพช่องปากท่ีต้องการในเด็กอายุ 15 ปี 93 ตารางที่ 3.27 ร้อยละของปัญหาเก่ียวกับสุขภาพช่องปากและความต้องการรับบริการด้าน 94 94 ทันตกรรมในดา้ นตา่ งๆ ในเด็กอายุ 15 ปี 95 ตารางท่ี 3.28 ร้อยละของปญั หาเกี่ยวกับสขุ ภาพชอ่ งปากในด้านตา่ งๆ ในเด็กอายุ 15 ปี ตารางที่ 3.29 รอ้ ยละความตอ้ งการรับบริการด้านทนั ตกรรมในดา้ นต่างๆ ในเด็กอายุ 15 ปี 96 ตารางที่ 3.30 รอ้ ยละของสถานบริการทต่ี ้องการไปรับบริการจัดฟัน ในเด็กอายุ 15 ปี 97 ตารางท่ี 3.31 ร้อยละการรบั รูส้ วัสดิการสุขภาพทมี่ ีในเด็กอายุ 15 ปี 98 ผลการสัมภาษณ์กลุม่ อายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี 98 ข้อมูลทวั่ ไป 99 99 ตารางที่ 4.1 ขอ้ มูลท่วั ไปของกลุม่ อายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี 100 ตารางท่ี 4.2 ร้อยละสภาวะโรคประจำ� ตวั ท่แี พทยร์ ะบุ ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี 100 101 พฤตกิ รรมสุขภาพ 101 ตารางที่ 4.3 ร้อยละพฤติกรรมการแปรงฟันในกลุ่มอายุ 35-44 ปี 102 ตารางที่ 4.4 ร้อยละพฤติกรรมการแปรงฟนั กอ่ นนอนแลว้ เขา้ นอนทนั ทขี องกล่มุ อายุ 35-44 ปี 102 ตารางที่ 4.5 รอ้ ยละพฤตกิ รรมการแปรงฟันในกลมุ่ อายุ 60-74 ปี 103 ตารางท่ี 4.6 ร้อยละพฤติกรรมการแปรงฟันก่อนนอนแลว้ เขา้ นอนทนั ทขี องกลุม่ อายุ 60-74 ปี 104 ตารางท่ี 4.7 ร้อยละระยะเวลาในการแปรงฟนั ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี 104 ตารางท่ี 4.8 ร้อยละการเลอื กใชแ้ ปรงสีฟันในกลุม่ อายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี ตารางที่ 4.9 รอ้ ยละการใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี ตารางที่ 4.10 รอ้ ยละของการใชอ้ ุปกรณเ์ สรมิ ร่วมกับการแปรงฟันในกลุม่ อายุ 35-44 ปี ตารางท่ี 4.11 รอ้ ยละของการใช้อุปกรณ์เสรมิ รว่ มกับการแปรงฟันในกลุ่มอายุ 60-74 ปี ตารางที่ 4.12 รอ้ ยละของการทำ� ความสะอาดฟันเทยี มในกลมุ่ อายุ 60-74 ปี ที่ใส่ฟันเทียมถอดได้ ตารางท่ี 4.13 ร้อยละของการมีพฤติกรรมเนือยน่ิง การนอน และกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ในกล่มุ อายุ 35-44 ปี ตารางที่ 4.14 รอ้ ยละของพฤตกิ รรมการบรโิ ภคผกั การเตมิ เครอื่ งปรงุ รสเคม็ และการดมื่ เครอื่ งดมื่ รสหวานในกล่มุ อายุ 35-44 ปี ตารางท่ี 4.15 รอ้ ยละของการมกี จิ กรรมทางกาย การดม่ื นำ้� สะอาดอย่างน้อยวนั ละ 8 แกว้ และ การบริโภคผกั /ผลไม้ ในกลมุ่ อายุ 60-74 ปี

ตารางท่ี 4.16 รอ้ ยละของการสบู บุหรีห่ รือยาเส้น ในกลุ่มอายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี 105 ตารางที่ 4.17 ค่าเฉลยี่ จ�ำนวนปีและจำ� นวนมวนของการสบู บุหรหี่ รอื ยาเส้น ในกล่มุ อายุ 35-44 ปี 105 106 และ 60-74 ปี 106 ตารางที่ 4.18 รอ้ ยละของผู้เคยสบู บุหรี่และยังสบู อยแู่ บ่งตามจำ� นวน pack-year* 107 107 ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี ตารางที่ 4.19 รอ้ ยละของผู้เคยสบู บหุ รแี่ ละยงั สบู อยูแ่ บ่งตามจำ� นวน pack-year* 108 108 ในกลุม่ อายุ 60-74 ปี 109 ตารางท่ี 4.20 ร้อยละของผู้ดม่ื เครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี 109 ตารางที่ 4.21 ร้อยละของผ้เู คยี้ วหมากในกลุ่มอายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี 110 110 การรับรู้ และการรบั บรกิ ารดา้ นทนั ตสุขภาพ 111 ตารางที่ 4.22 ร้อยละของความพึงพอใจต่อสขุ ภาพชอ่ งปาก ในกลุ่มอายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี 111 ตารางท่ี 4.23 ร้อยละของปญั หาการรบั ประทานหรือบดเคีย้ วอาหาร และปัญหาการพูดหรอื 112 112 ออกเสียง ในกล่มุ อายุ 60-74 ปี จำ� แนกตามภาคและเขต 113 ตารางท่ี 4.24 รอ้ ยละของชอ่ งทางการไดร้ บั ความรเู้ กยี่ วกบั สขุ ภาพชอ่ งปาก ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี ตารางท่ี 4.25 รอ้ ยละของชอ่ งทางการไดร้ บั ความรเู้ กยี่ วกบั สขุ ภาพชอ่ งปาก ในกลมุ่ อายุ 60-74 ปี 113 ตารางที่ 4.26 ร้อยละของการรับบริการทันตกรรมในรอบปีท่ีผ่านมาในกลุ่มอายุ 35-44 ปี และ 114 60-74 ปี ตารางที่ 4.27 จำ� นวนครั้งเฉลี่ยในการรับบรกิ ารทนั ตกรรมในรอบปที ีผ่ ่านมา ในกล่มุ อายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี ตารางที่ 4.28 เหตผุ ลทีไ่ ม่ไปรับบรกิ ารทนั ตกรรมในรอบปที ผี่ ่านมา ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี ตารางท่ี 4.29 เหตผุ ลท่ไี ม่ไปรับบรกิ ารทันตกรรมในรอบปที ผ่ี ่านมา ในกลมุ่ อายุ 60-74 ปี ตารางที่ 4.30 เหตผุ ลทไ่ี ปรบั บรกิ ารทันตกรรมในรอบปที ี่ผา่ นมา ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี ตารางที่ 4.31 เหตุผลทไ่ี ปรับบรกิ ารทนั ตกรรมในรอบปที ี่ผา่ นมา ในกลมุ่ อายุ 60-74 ปี ตารางท่ี 4.32 ร้อยละของสถานพยาบาลที่ไปรับบริการทันตกรรมในรอบปีที่ผ่านมาในกลุ่มอายุ 35-44 ปี ตารางท่ี 4.33 ร้อยละของสถานพยาบาลที่ไปรับบริการทันตกรรมในรอบปีที่ผ่านมาในกลุ่ม อายุ 60-74 ปี ตารางท่ี 4.34 รอ้ ยละของการใช้สทิ ธสิ วัสดกิ ารสุขภาพในการรักษาทางทันตกรรมครง้ั ล่าสดุ ในกลุ่มอายุ 35-44 ปี และ 60-74 ปี

การเปรยี บเทยี บ ผลการส�ำรวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 2 – 8 117 ตารางท่ี 5.1 ผลการส�ำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติของประเทศไทยตามตัวช้ีวัดหลัก 117 118 ขององค์การอนามัยโลก 118 ตารางที่ 5.2 ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ที่ปราศจากโรคฟันผุในฟันน้�ำนมจากการส�ำรวจ 119 119 ระดบั ประเทศ จ�ำแนกตามภาค เขต และปีที่สำ� รวจ 120 ตารางที่ 5.3 ความชุกของโรคฟันผุในฟันน้�ำนมในเด็กอายุ 3 ปี จากการส�ำรวจระดับประเทศ 120 120 จ�ำแนกตามภาค เขต และปีท่ีสำ� รวจ 121 ตารางที่ 5.4 คา่ เฉลีย่ ฟนั ผุ ถอน อุด (ซ่/ี คน) ในฟันนำ้� นม ของเด็กอายุ 3 ปี จากการสำ� รวจระดบั 121 121 ประเทศจ�ำแนกตามภาค เขต และปีท่สี ำ� รวจ 122 ตารางท่ี 5.5 ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ที่ปราศจากโรคฟันผุในฟันน้�ำนม จากการส�ำรวจระดับ 123 124 ประเทศจำ� แนกตามภาค เขต และปีทส่ี �ำรวจ ตารางท่ี 5.6 ความชุกของโรคฟันผุในฟันน้�ำนมในเด็กอายุ 5 ปี จากการส�ำรวจระดับประเทศ จ�ำแนกตามภาค เขต และปีทส่ี ำ� รวจ ตารางท่ี 5.7 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (ซี่/คน) ในฟันน�้ำนมของเด็กอายุ 5 ปี จากการส�ำรวจ ระดับประเทศจ�ำแนกตามภาค เขต และปีทีส่ �ำรวจ ตารางท่ี 5.8 ความชุกของโรคฟันผุในฟันถาวรในเด็กอายุ 12 ปี จากการส�ำรวจระดับประเทศ จำ� แนกตามภาค เขต และปีท่สี ำ� รวจ ตารางที่ 5.9 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด ในเด็กอายุ 12 ปี จากการส�ำรวจระดับประเทศ จ�ำแนก ตามภาค เขต และปีท่สี ำ� รวจ ตารางที่ 5.10 ร้อยละของผ้มู ีฟนั ใชง้ านไดอ้ ย่างนอ้ ย 20 ซี่ ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี จากการสำ� รวจ ระดับประเทศ จ�ำแนกตามภาค เขต และปีทส่ี ำ� รวจ ตารางที่ 5.11 รอ้ ยละของผมู้ ฟี ันใช้งานไดอ้ ย่างนอ้ ย 20 ซ่ี ในกลุ่มอายุ 60-74 ปี จากการส�ำรวจ ระดับประเทศ จำ� แนกตามภาค เขต และปีท่ีส�ำรวจ ตารางท่ี 5.12 รอ้ ยละของผ้สู ูญเสียฟันทง้ั ปาก ในกลมุ่ อายุ 60-74 ปี จากการสำ� รวจระดับประเทศ จ�ำแนกตามภาค เขต และปที ี่ส�ำรวจ ตารางที่ 5.13 ร้อยละของผู้มีเหงือกอักเสบในเด็กอายุ 12 ปี จากการส�ำรวจระดับประเทศ จ�ำแนกตามภาค เขต และปที ส่ี �ำรวจ ตารางท่ี 5.14 ร้อยละของผ้มู สี ภาวะเหงอื กอักเสบและสภาวะปริทันต์ จำ� แนกตามกลุ่มอายุ และ ปที ่ีส�ำรวจ ตารางที่ 5.15 ร้อยละของผมู้ สี ภาวะเหงอื กอกั เสบและสภาวะปริทนั ต์ จ�ำแนกตามกลุม่ อายุ และ ปีทสี่ �ำรวจ

สารบัญภาพ หน้า 33 ภาพที่ 1 ความชกุ โรคฟันผุในฟันน�้ำนมในกลุม่ อายุ 3 ปี และ 5 ปี จ�ำแนกตามปที สี่ ำ� รวจ 33 ภาพที่ 2 ความชกุ ของโรคฟันผุในเด็กอายุ 5 ปี แยกรายเขต 34 ภาพท่ี 3 ความชกุ ของโรคฟันผใุ นเดก็ อายุ 5 ปี แยกรายภาค 34 ภาพที่ 4 ความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี จากการส�ำรวจสภาวะสุขภาพช่องปาก 35 ภาพที่ 5 ระดับประเทศ 35 ภาพที่ 6 ความชุกของโรคฟนั ผใุ นเดก็ อายุ 12 ปี แยกรายภาค 36 ภาพท่ี 7 ร้อยละของกลุม่ อายุ 35-44 ปี และกลุ่มอายุ 60-74 ปี ทม่ี ีฟนั ใช้งานครบ 20 ซี่ 36 ภาพท่ี 8 คา่ เฉลีย่ ส่วนของชอ่ งปากทมี่ สี ภาวะเหงอื กปกตใิ นกลุ่มเดก็ วยั เรียนและเยาวชน ร้อยละของกลุ่มอายุ 35-44 ปี และผู้สูงอายุ 60-74 ปี มีสภาวะปริทันต์ท่ีมีร่องลึก 71 ปริทนั ต์ ตง้ั แต่ 6 มลิ ลิเมตรขึน้ ไป 71 72 ภาพท่ี 1.1 ร้อยละของการมีประสบการณฟ์ นั ผุ (ผุ ถอน อดุ ) ในฟนั น้�ำนมซต่ี า่ งๆ ในเด็กอายุ 3 ปี 72 ภาพที่ 1.2 ร้อยละของการมีประสบการณฟ์ ันผุ (ผุ ถอน อดุ ) ในฟันน้ำ� นมซ่ีตา่ งๆ ในเด็กอายุ 5 ปี 73 ภาพที่ 1.3 ร้อยละของการมปี ระสบการณ์ฟนั ผุ (ผุ ถอน อดุ ) ในฟนั ถาวรซ่ตี า่ งๆ ในอายุ 12 ปี 73 ภาพที่ 1.4 รอ้ ยละของการมีประสบการณ์ฟนั ผุ (ผุ ถอน อดุ ) ในฟันถาวรซ่ตี า่ งๆ ในอายุ 15 ปี 74 ภาพท่ี 1.5 รอ้ ยละผูม้ ีปัญหาเหงอื กอกั เสบ และรอ้ ยละผูม้ ีสภาวะปรทิ ันต์ ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี 74 แยกตามส่วนของช่องปาก ภาพท่ี 1.6 รอ้ ยละผ้มู ีปญั หาเหงือกอักเสบ และรอ้ ยละผ้มู ีสภาวะปรทิ ันต์ ในกลุ่มอายุ 60-74 ปี แยกตามส่วนของช่องปาก ภาพท่ี 1.7 รอ้ ยละการถอนฟันจากทุกสาเหตุในฟันถาวรซ่ตี ่างๆ ในกลมุ่ อายุ 35-44 ปี ภาพที่ 1.8 ร้อยละการถอนฟันจากทกุ สาเหตุในฟันถาวรซ่ตี า่ งๆ ในกล่มุ อายุ 60-74 ปี

บทสรุปผู้บรหิ าร สำ� นกั ทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามยั ไดด้ ำ� เนนิ การสำ� รวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากระดบั ประเทศ ทุก 5 ปี คร้ังนี้เป็นครั้งท่ี 8 ด�ำเนินการเก็บข้อมูลในปี 2560 โดยสุ่มจังหวัดในเขตสุขภาพ 12 เขต เขตละ 2 จังหวัด รวม 24 จังหวัดและพื้นที่กรุงเทพมหานคร การส�ำรวจในครั้งนี้ได้ใช้แนวทาง ตามองค์การอนามัยโลกแนะน�ำ กลุ่มอายุส�ำคัญท่ีเป็นตัวแทนความเปลี่ยนแปลงของสภาวะช่องปาก แตล่ ะชว่ งวัยประกอบดว้ ย เดก็ กอ่ นวัยเรียนอายุ 3 ปี และ 5 ปี กลมุ่ เด็กวยั เรียนและวยั รุ่นอายุ 12 ปี และ 15 ปี กลมุ่ ผูใ้ หญ่อายุ 35-44 ปี ผู้สูงอายุ 60-74 ปี และ 80-85 ปี ผลการส�ำรวจโดยสรปุ พบวา่ เดก็ ก่อนวยั เรยี นอายุ 3 ปี และ 5 ปี พบวา่ สถานการณ์ในเดก็ อายุ 3 ปี มีความใกล้เคยี งกบั การส�ำรวจคร้ังที่ผ่านมา โดยพบผู้ปราศจากโรคฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 47.1 ในเด็กอายุ 5 ปี มีแนวโน้มการปราศจากโรคฟันผุเพิ่มขึ้นคือร้อยละ 24.4 นอกจากน้ียังพบว่าเด็กก่อนวัยเรียน ท้ัง 2 กลุ่มอายุประมาณร้อยละ 40.0 มีคราบจุลินทรีย์อยู่ในระดับเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ พบฟันผุ ระยะเริ่มตน้ ในเด็กอายุ 3 ปี และ 5 ปี รอ้ ยละ 31.1 และรอ้ ยละ 31.3 ตามลำ� ดบั ซงึ่ เด็กกลุม่ นีจ้ �ำเป็น ต้องได้รับการส่งเสริมป้องกันเพ่ือไม่ให้เกิดฟันผุเป็นรู นอกจากน้ียังพบว่าเด็กอายุ 5 ปี ร้อยละ 18.6 มีฟันกรามถาวรซ่ีที่หน่ึงขึ้นในช่องปากแล้ว การให้ความส�ำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปากต้ังแต่ช่วง ปฐมวยั จงึ มีความสำ� คญั และลดโอกาสเกดิ ฟนั ถาวรผุได้ โดยสิง่ ส�ำคญั ทตี่ อ้ งเนน้ ยำ้� เพ่ิมเติมคือ พฤติกรรม ทันตสุขภาพท่ีพึงประสงค์ได้แก่ การแปรงฟันอย่างมีคุณภาพ และพฤติกรรมการบริโภคนม แม้ว่า เด็กส่วนใหญ่จะแปรงฟันตอนเช้าก่อนมาโรงเรียน แต่พบว่าผู้ปกครองของเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 44.1 ปล่อยใหเ้ ด็กแปรงฟันดว้ ยตนเอง และเมอื่ เดก็ โตขนึ้ พบว่าในกลุม่ อายุ 5 ปี เดก็ ถูกปลอ่ ยใหแ้ ปรงฟนั เอง ถึงร้อยละ 80.4 มีเพียงรอ้ ยละ 14.4 ที่ผปู้ กครองยงั คงแปรงให้ พฤติกรรมการด่ืมนมเดก็ อายุ 3 ปี และ 5 ปี ด่ืมนมหวานและนมเปรี้ยวเม่ืออยู่ที่บ้านถึงร้อยละ 44.5 และ 47.6 ตามล�ำดับ เด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 39.5 ใช้ขวดนมเมื่ออยู่ที่บ้าน และยังมีเด็กอายุ 5 ปี อีกร้อยละ 11.9 ท่ียังคงดูดนมจากขวด ซึง่ เปน็ พฤติกรรมท่ีเพ่มิ ความเสีย่ งตอ่ การเกิดฟนั ผุ เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี ร้อยละ 58.7 เรียนในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ ดา้ นสภาวะสุขภาพช่องปากพบวา่ ความชุกของโรคฟนั ผใุ นเดก็ อายุ 12 ปี คอื รอ้ ยละ 52.0 โดย มคี ่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.4 ซ่ี/คน ซงึ่ ใกลเ้ คียงกับผลจากการส�ำรวจคร้ังท่ี 7 ทีม่ คี วามชุกของโรคฟนั ผุ ร้อยละ 52.3 ค่าเฉลย่ี ฟนั ผุ ถอน อุด 1.3 ซ/่ี คน ตามลำ� ดับ สภาวะการเกิดโรคฟนั ผคุ อ่ นขา้ งคงท่ี และ พบว่าในการสำ� รวจคร้งั นีเ้ ด็กอายุ 12 ปี มสี ภาวะเหงอื กอกั เสบสูงกวา่ การสำ� รวจในคร้ังที่ 7 พ.ศ. 2555 จากร้อยละ 50.3 เป็นร้อยละ 66.3 ด้านพฤติกรรมทันตสุขภาพและการรับบริการสุขภาพช่องปาก

ของนักเรียน ปัจจัยที่มีผลโดยตรงต่อสภาวะเหงือกอักเสบคือพฤติกรรมการแปรงฟันซ่ึงพบว่าร้อยละ ของการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันของเด็กอายุ 12 ปี ลดลงจากร้อยละ 53.9 เป็นร้อยละ 44.7 เม่ือเปรียบเทียบกับผลการส�ำรวจครั้งที่ผ่านมา ส่วนประเด็นพฤติกรรมการบริโภคท่ีเส่ียงต่อการเกิด โรคฟันผุในเด็กกลุ่มน้ีคือ พฤติกรรมการด่ืมน�้ำอัดลมและน้�ำหวาน การกินลูกอม และการกินขนม กรุบกรอบ พบว่าเด็กด่ืมน้�ำอัดลมและกินขนมกรุบกรอบทุกวันเพิ่มข้ึนจากการส�ำรวจคร้ังท่ีผ่านมา โดยดื่มน�้ำอัดลมทุกวันเพิ่มข้ึนจากร้อยละ 9.6 เป็นร้อยละ 13.4 และกินขนมกรุบกรอบทุกวัน ลดลงจากร้อยละ 38.8 เป็นร้อยละ 32.6 การรับรู้และการรับบริการด้านสุขภาพ เด็กอายุ 12 ปี เคยปวดฟนั รอ้ ยละ 36.7 เคยหยุดเรียนเพราะไปท�ำฟันรอ้ ยละ 12.2 เคยได้รับการตรวจฟนั รอ้ ยละ 84.7 เคยได้รับการรักษาฟันและเหงือกร้อยละ 50.8 สถานบริการภาครัฐยังคงเป็นสถานบริการหลักในการ ไปรบั บรกิ ารในเด็กอายุ 12 ปี การท�ำงานดา้ นทันตสาธารณสุขในกลุม่ วัยเรยี น ควรตอ้ งขยายการทำ� งาน ให้ครอบคลุมกลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนต้นเพิ่มมากขึ้น และเน้นการส่งเสริมการแปรงฟันคุณภาพ โดยเฉพาะเนน้ ประสทิ ธภิ าพของกจิ กรรมแปรงฟนั หลงั อาหารกลางวนั และสง่ เสรมิ การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ในการเอื้อให้เกิดพฤตกิ รรมดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากและพฤตกิ รรมบริโภคทดี่ ีทั้งในโรงเรียนและชุมชน เด็กวัยรุ่นพบว่าเด็กอายุ 15 ปี มีความชุกของโรคฟันผุร้อยละ 62.7 โดยมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 2.0 ซ่ี/คน ซ่ึงใกล้เคียงกับผลจากการส�ำรวจคร้ังท่ี 7 ท่ีมีความชุกของโรคฟันผุร้อยละ 62.4 คา่ เฉลย่ี ฟันผุ ถอน อดุ 1.9 ซ่/ี คน ตามล�ำดับ สภาวะการเกิดโรคฟนั ผคุ ่อนข้างคงท่ี สภาวะเหงือกอักเสบ สูงกว่าการส�ำรวจในครงั้ ที่ 7 พ.ศ. 2555 จากร้อยละ 53.6 เป็นรอ้ ยละ 69.9 ตามลำ� ดบั ดา้ นพฤตกิ รรม ทันตสขุ ภาพในเดก็ กลมุ่ น้มี ีพบวา่ มีพฤติกรรมการแปรงฟันหลงั อาหารกลางวนั ของเดก็ อายุ 15 ปี ลดลง จากร้อยละ 33.8 เป็นร้อยละ 25.4 เมื่อเปรียบเทียบกับผลการส�ำรวจคร้ังที่ผ่านมา ส่วนประเด็น พฤติกรรมการบริโภคที่เส่ียงต่อการเกิดโรคฟันผุในเด็กกลุ่มน้ี พบว่าเด็กมีพฤติกรรมการด่ืมน�้ำอัดลม ร้อยละ 82.3 โดยด่ืมทุกวันร้อยละ 14.1 ด่ืมน้�ำหวานร้อยละ 83.7 โดยดื่มทุกวันร้อยละ 17 ด้าน พฤตกิ รรมเสี่ยงอื่นๆ เช่น การสูบบุหร่ี เด็กกลุ่มน้ีเคยสูบบุหร่ีร้อยละ 8.6 และมีเด็กท่ีสูบจนถึงปัจจุบัน ร้อยละ 3.4 โดยสบู บุหรีเ่ ฉลยี่ วนั ละ 3.7 มวน เดก็ ดืม่ เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ในช่วงเทศกาลร้อยละ 26.2 และดื่มเป็นประจ�ำร้อยละ 0.9 การรับรู้และการรับบริการด้านสุขภาพ เด็กอายุ 15 ปี เคยปวดฟัน ร้อยละ 12.7 เคยหยุดเรียนเพราะไปท�ำฟันร้อยละ 7.2 เคยได้รับการตรวจฟันร้อยละ 53.6 เคยได้รับ การรักษาฟันและเหงือกร้อยละ 32.3 โดยสถานบริการภาครัฐยังคงเป็นสถานบริการหลักในการ ไปรับบรกิ ารในเดก็ อายุ 15 ปี กลุ่มวัยท�ำงานอายุ 35-44 ปี ปัญหาหลักที่พบคือการสูญเสียฟันโดยพบว่ากลุ่มวัยท�ำงาน รอ้ ยละ 85.3 มีการสญู เสยี ฟนั โดยเฉล่ยี 3.6 ซ่/ี คน โดยมผี ูท้ ีม่ ีฟนั ผุทยี่ งั ไม่ได้รบั การรักษาร้อยละ 43.3 มีปัญหาสภาวะเหงือกอักเสบและสภาวะปริทันต์ พบเหงือกอักเสบร้อยละ 62.4 และมีร่องลึกปริทันต์

รอ้ ยละ 25.9 มีรากฟนั เผยผึ่งรอ้ ยละ 57.1 และมีฟันสกึ ร้อยละ 49.7 โดยปญั หาดังกลา่ ว จะแสดงอาการ ที่รุนแรงจนเกิดความเจ็บปวดและการสูญเสียฟันในช่วงอายุต่อไป ถ้าไม่ได้รับการดูแล ป้องกัน รักษาที่ เหมาะสมทันเวลา พฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพ กลุ่มวัยท�ำงานส่วนมาก แปรงฟันก่อนนอนร้อยละ 95.1 แตม่ ีเพียงร้อยละ 28.3 แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน สว่ นการใชอ้ ุปกรณเ์ สริมรว่ มกบั การแปรงฟัน กล่มุ อายนุ ใ้ี ช้ นำ�้ ยาบว้ นปาก ไมจ้ ้มิ ฟนั ไหมขดั ฟัน และแปรงซอกฟัน คดิ เป็นรอ้ ยละ 36.0, 27.0, 14.7 และ 2.4 ตามล�ำดับ นอกจากน้ีในวัยน้ี ยังมีพฤติกรรมท่ีเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปาก โดยเฉพาะการสูบบุหร่ี ท่ีพบมกี ารสบู บหุ ร่รี อ้ ยละ 17.9 เฉล่ยี 10.4 มวน/วัน โดยมผี ทู้ ีส่ บู บุหร่ี ≥ 20.1 pack-year รอ้ ยละ 9.5 ซ่งึ มคี วามเส่ยี งตอ่ การเกดิ โรคมะเรง็ ชอ่ งปาก รวมทงั้ พฤติกรรมการไปใชบ้ ริการ ในรอบปี โดยกลุ่มอายุนี้ไปใช้บริการทันตกรรมร้อยละ 42.3 ซึ่งเหตุผลในการรับบริการทันตกรรมคือ มหี นิ ปูนมากทีส่ ดุ รองลงมาคอื ปวดฟันเสยี วฟัน และ ฟันมีจดุ ด�ำ คิดเปน็ ร้อยละ 44.3, 27.8 และ 26.8 ตามล�ำดับ โดยสถานบริการที่ไปรับบริการมากที่สุดคือ คลินิกเอกชน รองลงมาคือ โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล คิดเป็นร้อยละ 28.3, 27.4, 24.7 และ 19.8 ตามล�ำดับ ช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพช่องปากในกลุ่มวัยน้ีได้รับจากเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขมากที่สุด รองลงมาคือจากโทรทัศน์และเว็บไซด์ ตามล�ำดับ ส�ำหรับกลุ่มวัยท�ำงานนอกจาก การส่งเสริมให้มีการเข้าถึงบริการด้านทันตกรรมแล้ว การเพิ่มช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และความรู้เพื่อการดูแลอนามัยช่องปากตนเองก็มีความจ�ำเป็น นอกจากนี้ยังจ�ำเป็นต้องมีมาตรการ ควบคุมป้องกันโรค โดยเฉพาะสนับสนุนให้ใช้อุปกรณ์เสริมท�ำความสะอาดซอกฟันเพื่อป้องกัน โรคปริทันต์และฟันผบุ รเิ วณด้านประชิด (proximal caries) กลมุ่ วัยสงู อายุ 60-74 ปี และ 80-85 ปี ผสู้ งู อายุ 60-74 ปี ร้อยละ 56.1 มีฟันถาวรใชง้ าน ได้อย่างน้อย 20 ซี่ เฉล่ีย 18.6 ซ่ี/คน ร้อยละ 40.2 มีฟันหลังสบกันอย่างน้อย 4 คู่สบ และลดลง ในผ้สู งู อายุตอนปลายอายุ 80-85 ปี มเี พยี งร้อยละ 22.4 ทีม่ ฟี นั ถาวรใชง้ านได้อยา่ งนอ้ ย 20 ซี่ เฉลย่ี 10 ซ/่ี คน และมีฟันหลงั สบกนั 4 คสู่ บ เพยี งร้อยละ 12.1 ทำ� ใหป้ ระสิทธภิ าพการบดเค้ียวลดลงชดั เจน แม้วา่ กลุ่มผสู้ ูงอายตุ อนต้น จำ� นวนมากกว่าครึง่ มฟี นั ถาวรใช้งานได้ 20 ซี่ แตฟ่ ันถาวรทเ่ี หลืออยู่น้ี ยังมี ปัญหารอยโรคและความผิดปกติในช่องปากที่จ�ำเป็นต้องได้รับการดูแลที่เหมาะสม เพ่ือป้องกัน การลุกลาม ที่น�ำไปสู่ความเจ็บปวดและการสูญเสียฟัน ซึ่งปัญหาส�ำคัญ ได้แก่ การสูญเสียฟัน โดยเฉพาะการสญู เสียฟนั ท้ังปาก ในผู้สูงอายุ 60-74 ปี พบร้อยละ 8.7 แตเ่ มื่ออายุ 80-85 ปี เพ่มิ สงู ถึงร้อยละ 31.0 ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตด้านการบดเคี้ยวอย่างมาก นอกจากนี้ยังพบฟันผุที่ยัง ไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 52.6 รากฟันผุที่สัมพันธ์กับเหงือกร่นในวัยสูงอายุร้อยละ 16.5 โรคปริทันต์ อักเสบท่ีมีการท�ำลายของเน้ือเย่ือและกระดูกรองรับรากฟันร้อยละ 36.3 โดยร้อยละ 12.2 เป็นโรค ปริทันต์อักเสบท่ีอยู่ในระดับรุนแรงมาก (มีร่องลึกปริทันต์ต้ังแต่ 6 มม. ข้ึนไป) ซึ่งนอกจากจะเส่ียงต่อ การอกั เสบ ปวดบวม ติดเชอ้ื และสญู เสียฟันแล้ว ยังสมั พันธ์กับความรุนแรงของเบาหวานด้วย

ปญั หาดงั กลา่ วสามารถปอ้ งกนั ไดจ้ ากการมพี ฤตกิ รรมสขุ ภาพทถ่ี กู ตอ้ งและเหมาะสม ทง้ั ในเรอื่ ง การท�ำความสะอาดช่องปาก ท่ีพบว่ามีผู้สูงอายุแปรงฟันก่อนนอน โดยไม่รับประทานอาหารใดๆ อีก ร้อยละ 53.7 มีการใช้อุปกรณ์เสริมการแปรงฟัน ได้แก่ ไหมขัดฟัน แปรงซอกฟัน เพียงร้อยละ 4.1 และ 1.9 ตามล�ำดับ และมีการไปรับบริการทันตกรรมในปีท่ีผ่านมาร้อยละ 38.6 ในจ�ำนวนนี้เหตุผล ที่ไปรับบริการสูงสุดร้อยละ 12.3 คือรู้สึกมีอาการปวดหรือเสียวฟัน การรักษาโดยการเก็บรักษาฟันไว้ จึงมีความยุ่งยากซับซ้อน หลายข้ันตอน ท�ำให้ผู้สูงอายุไม่สามารถมารับบริการต่อเนื่องได้จนถูกถอนฟัน ไปในท่ีสุด ดังนั้นประเด็นที่ควรให้ความส�ำคัญส�ำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ นอกจากการสื่อสารความรู้ให้เข้าใจ และตระหนักในเร่ืองการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองที่ถูกต้อง ซ่ึงช่องทางหลักท่ีกลุ่มผู้สูงอายุ เข้าถึงและได้รับข้อมูลสูงสุดคือ การสื่อสารผ่านบุคลากรสาธารณสุขร้อยละ 54.7 และผ่านสื่อโทรทัศน์ ร้อยละ 36.2 รวมทั้งการสนับสนุนให้เข้ารับการตรวจสุขภาพช่องปากประจ�ำปี ซึ่งจากการส�ำรวจครั้งนี้ มีรอ้ ยละ 8.4 และเขา้ รับบรกิ ารรกั ษาต้งั แต่ระยะแรกเริ่ม เพ่อื ลดความเสี่ยงในการสูญเสียฟนั พร้อมกับ การใส่ฟนั เทียมบางสว่ นและทง้ั ปากเพื่อทดแทนฟันถาวรทีส่ ูญเสยี ไป โดยสรปุ สภาวะสุขภาพชอ่ งปากของคนไทย ยังคงใกลเ้ คียงกบั เม่อื 5 ปี ทีผ่ า่ นมา การพฒั นา กิจกรรมในการเพิ่มประสิทธิภาพของการลดปัญหาสุขภาพช่องปากในแต่ละกลุ่มวัยมีความจ�ำเป็น นอกจากน้ันการเฝ้าระวังปัจจัยเส่ียงต่อการเกิดโรคก็มีความส�ำคัญ ซ่ึงการสนับสนุนให้เกิดมาตรการ ท้งั การสง่ เสริม ปอ้ งกนั ควบคุมโรค รักษา และฟื้นฟู อยา่ งต่อเน่อื งเป็นเร่ืองจ�ำเปน็ ที่ต้องท�ำพร้อมๆ กันไป โดยให้น้�ำหนักตามข้อมูลทางระบาดวิทยา ทั้งน้ีเพ่ือประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสภาวะสุขภาพช่องปากที่ดี และมคี ุณภาพชีวิตที่ดีตลอดช่วงชีวิต



บทน�ำ องค์กรสหพันธ์ทันตกรรมโลก (FDI World Dental Federation) ได้ให้นิยามใหม่ของ ค�ำว่า “สุขภาพช่องปาก” โดยก�ำหนดให้เป็นส่วนส�ำคัญของสุขภาพโดยท่ัวไปทั้งทางร่างกายและจิตใจ การมีสุขภาพช่องปากท่ีดี อยู่ในส่ิงแวดล้อมที่เหมาะสมย่อมส่งผลต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของ ประชาชนทุกกลุ่มวยั ปัจจัยเส่ยี งส�ำคญั ของโรคในชอ่ งปาก เช่น การบรโิ ภคน้�ำตาลล้นเกิน ยังเปน็ ปัจจยั เสย่ี งรว่ ม (Common risk factors) ของโรคไมต่ ิดตอ่ เร้อื รงั (Non-Communicable diseases: NCDs) ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่ส�ำคัญอีกด้วย การติดตามข้อมูลสภาวะสุขภาพช่องปาก พฤติกรรมและ ปัจจัยเสี่ยงด้านทันตสุขภาพ และการรับบริการสุขภาพช่องปาก ซ่ึงมีความแตกต่างกันตามกลุ่มวัย และบริบทของสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา มีความส�ำคัญต่อการน�ำข้อมูลมาใช้ในการก�ำหนด ยทุ ธศาสตร์ การวางแผนงาน โครงการต่างๆ และการด�ำเนนิ งานท่มี ีประสทิ ธิภาพและทนั ต่อสถานการณ์ เพ่ือแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนในระดับประเทศ การก�ำหนดเป้าหมายและตัวช้ีวัด การด�ำเนินงานในพน้ื ที่ทง้ั 76 จงั หวดั และกรุงเทพมหานคร นอกจากนยี้ ังสามารถประเมินสถานการณ์ เปรียบเทียบกับการส�ำรวจครั้งท่ีผ่านมา เพ่ือคาดการณ์แนวโน้มของปัญหาที่อาจจะเกิดข้ึน ส�ำหรับ การควบคมุ และป้องกัน และยังใชเ้ ปรียบเทยี บสถานการณ์กับประเทศตา่ งๆ ในระดบั สากลอีกด้วย ส�ำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ตระหนักถึงความส�ำคัญของข้อมูลที่ได้จากการส�ำรวจ สภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ จึงได้ด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าวในระดับประเทศเป็น ระยะทุก 5 ปี โดยครั้งที่ 1 เร่ิมด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2520 จนถึงครั้งล่าสุดเป็นการส�ำรวจคร้ังท่ี 7 เม่ือ พ.ศ. 2555 และเห็นสมควรให้จัดท�ำโครงการส�ำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ในปี พ.ศ. 2560 อยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั การทางระบาดวทิ ยา เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทเี่ ปน็ จรงิ สะทอ้ นสถานการณ์ รวมทั้งพฤติกรรม และปัจจัยเส่ียงท่ีเป็นปัจจุบัน ส�ำหรับการก�ำหนดยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ ต่างๆ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพช่องปากแก่ประชาชน การส�ำรวจครั้งนี้อ้างอิงตามการแนะน�ำของ องค์การอนามัยโลก และปรับเพ่ิมข้อมูลสภาวะและปัจจัยต่างๆ ท่ีประเมินว่าจะมีความเช่ือมโยงกับ สภาวะสุขภาพช่องปากของคนไทย ตามการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์สุขภาพช่องปาก พฤติกรรม และปจั จัยเสย่ี งในแต่ละกลุ่มวยั ส�ำ นกั ทันตสาธารณสุข กรมอนามยั 1

วตั ถปุ ระสงค์ . 1. เพ่ือให้ได้ข้อมูลสภาวะสุขภาพช่องปากและปัจจัยท่ีเก่ียวข้องท่ีส�ำคัญของประชาชน ในกลุ่มอายเุ ป้าหมาย 2. เพอ่ื ตดิ ตาม และประเมนิ สถานการณส์ ขุ ภาพชอ่ งปาก หลงั การด�ำเนนิ งานทนั ตสาธารณสขุ ตามโครงการตา่ ง ๆ ในชว่ งเวลาทีผ่ า่ นมา รวมทั้งใชใ้ นการวางแผนพฒั นาการด�ำเนินงานส่งเสรมิ สขุ ภาพ และป้องกนั โรคในช่องปากของประเทศ 3. เพ่ือติดตามแนวโน้มของสถานการณ์สภาวะสุขภาพช่องปากของคนไทย และน�ำไป เปรียบเทยี บกบั ระดบั สากล ระเบยี บวิธวี จิ ยั จากธรรมชาติการเกิดโรคในช่องปากท่ีมีการเปล่ียนแปลงตามช่วงวัยเน่ืองจากพฤติกรรม และปัจจัยเส่ียงท่ีแตกต่างกัน โดยแต่ละช่วงวัยจะมีกลุ่มอายุหรือช่วงอายุหลักส�ำคัญท่ีสามารถใช้เป็น อายุดัชนี (indexed age group) เพื่อเป็นข้อมูลทางระบาดวิทยาด้านสุขภาพช่องปากตามท่ีองค์การ อนามัยโลกแนะน�ำ(1) เพ่ือประกอบการก�ำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ ที่ชี้ทิศทาง การท�ำงานทันตสาธารณสขุ ระดบั ประเทศ รวมท้งั ใชต้ ดิ ตาม ประเมิน เปรยี บเทียบผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ ช่องปากจากการด�ำเนินงานทันตสาธารณสุขตามเป้าหมายและยุทธศาสตร์ที่ผ่านมาท้ังในระดับประเทศ และระดับสากล ซง่ึ กลุ่มอายดุ ชั นี (Index Age) ท่อี งคก์ ารอนามยั โลกแนะน�ำ ประกอบดว้ ย 5 กลุ่มอายุ ได้แก่ กล่มุ เดก็ อายุ 5 ปี : เป็นกลุ่มท่ีส�ำรวจเพื่อเป็นตัวแทนข้อมูลการเกิดโรคฟันผุในฟันน�้ำนม ซ่ึงเกิดการ ผุอย่างรวดเรว็ และเป็นกลุ่มทเ่ี ริ่มเข้าโรงเรยี น กลุ่มเดก็ อายุ 12 ปี : เปน็ กลมุ่ อายสุ �ำคญั เนอ่ื งจากเปน็ กลมุ่ อายทุ ใี่ ชใ้ นการเปรยี บเทยี บสภาวะทนั ตสขุ ภาพ ในระดับสากล เนื่องจากเป็นกลุ่มอายุท่ีมีฟันถาวรขึ้นครบ 28 ซี่ และเป็นช่วงอายุ ทีย่ ่างเขา้ สูว่ ยั รุ่น กลมุ่ เยาวชน 15 ปี : เปน็ ตวั แทนกลมุ่ ทเ่ี ขา้ สวู่ ยั รนุ่ ซงึ่ เปน็ ระยะทฟ่ี นั ถาวรขน้ึ ในชอ่ งปากมาแลว้ เปน็ เวลา 3-9 ปี ท�ำให้สามารถประเมินภาวะเสีย่ งและแนวโน้มความรุนแรงของโรคฟนั ผไุ ด้ นอกจากน้ียงั เป็นช่วงวัยที่ใชเ้ ปน็ ตวั ช้ีวดั การเกิดโรคปรทิ นั ตใ์ นวยั รุน่ กลุ่มวัยท�ำงาน : ช่วงวัยน้ีเป็นช่วงวัยมาตรฐานที่ใช้ติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์สุขภาพช่องปาก 35-44 ปี ของผู้ใหญ่ โดยกลุ่มอายุน้ีจะเป็นช่วงอายุท่ีสามารถวิเคราะห์ข้อมูลให้เห็นถึง การสะสมของโรคฟนั ผุ ระดบั ความรุนแรงของการเกิดโรคปริทนั ต์ และการเขา้ ถึง บรกิ ารของประชาชน 2 รายงานผลการส�ำ รวจสภาวะสุขภาพช่องปากแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ : เปน็ ชว่ งอายสุ �ำคญั เนอ่ื งจากสดั สว่ นประชากรในกลมุ่ นมี้ แี นวโนม้ เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ 60-74 ปี ข้อมูลจากการส�ำรวจช่วงอายุนี้นอกจากจะเป็นประโยชน์ในการก�ำหนดแผนงาน โครงการตามกลุ่มวัยแล้ว ยังเป็นกลุ่มท่ีสะท้อนภาพรวมท่ีเกิดจากการด�ำเนิน โครงการดา้ นทันตสาธารณสขุ ที่ผ่านมาของประเทศ จากการส�ำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากของประเทศไทยที่ผ่านมา(2) พบว่า สถานการณ์ การเกดิ โรคฟนั ผุในกลุ่มเด็กอายุ 5 ปี มปี ญั หาคอ่ นขา้ งรุนแรง มคี วามชกุ สูงกว่ารอ้ ยละ 75 ท�ำใหจ้ �ำเป็น ต้องมกี ารวางแผนการดแู ลเดก็ ตัง้ แต่ก่อนวัยเรียน ดงั นัน้ ในการส�ำรวจครัง้ ท่ี 3 ในปี 2532 เปน็ ต้นมา(3) จึงไดม้ กี ารส�ำรวจกลมุ่ อายุ 3 ปี ซง่ึ เปน็ กล่มุ อายทุ ่ีฟันนำ�้ นมเพ่ิงขน้ึ ครบเพมิ่ เพื่อประกอบการวางแผนงาน แก้ไขปัญหาที่เฉพาะเจาะจง ส�ำหรับป้องกันและดูแลในกลุ่มเด็กปฐมวัยและก่อนวัยเรียน จากข้อมูล องค์ประกอบทางอายขุ องประเทศไทย พบว่าสดั ส่วนผู้สูงอายุวัยปลาย คืออายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไป เพม่ิ ขน้ึ มากกว่าผู้สูงอายุวัยต้น และวัยกลางอย่างชัดเจน คาดประมาณว่าสัดส่วนประชากรสูงอายุวัยปลาย จะเพมิ่ จากรอ้ ยละ 9.8 ในปี พ.ศ.2553 เปน็ รอ้ ยละ 12.4 ในปี พ.ศ.2568(4) จงึ ไดท้ �ำการส�ำรวจสถานการณ์ สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุกลุ่มนี้ในการส�ำรวจคร้ังที่ 6 เป็นต้นมา(5,6) เพ่ือเตรียมแผนงานสร้างเสริม สุขภาพชอ่ งปากส�ำหรบั ผสู้ ูงอายุ ใหม้ ีฟันใชเ้ คยี้ วอาหารไดอ้ ย่างเหมาะสม การสำ� รวจ การส�ำรวจนี้ เปน็ การศึกษาแบบภาคตดั ขวาง (Cross sectional study) โดยมกี ารออกแบบ การส�ำรวจดังน้ี 1. ประชากรทศี่ ึกษาและกลุ่มตวั อยา่ ง ประชากรที่ส�ำรวจเปน็ ตวั แทน 7 กลมุ่ อายุ ได้แก่ กลมุ่ อายุ 3 ปี 5 ปี 12 ปี 15 ปี 35-44 ปี 60-74 ปี และ 80-85 ปี 1.1 การคำ� นวณขนาดตวั อย่างและการส่มุ การส�ำรวจคร้ังนี้ต้องการได้ข้อมูลซ่ึงเป็นตัวแทนในระดับภาค ระดับเขตเมือง ชนบท และระดับเขตสุขภาพ 1-12 และกรุงเทพมหานคร การค�ำนวณขนาดตัวอย่าง ใช้ข้อมูลความชุกของ โรคฟันผุในฟันน�้ำนมและฟันถาวร การสูญเสียฟัน และร้อยละของฟันถาวร 20 ซ่ี ที่ได้จากการส�ำรวจ สภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ คร้ังท่ี 7 พ.ศ. 2555 เพื่อให้ได้ขนาดตัวอย่างที่เป็นตัวแทนใน ระดบั เขตสุขภาพ ระดบั ภาค และประเทศไทยในแตล่ ะกลมุ่ อายุ ได้แก่ กลุ่มอายุ 3 ปี 5 ปี 12 ปี 15 ปี 35-44 ปี 60-74 ปี และ 80-85 ปี สำ�นกั ทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามัย 3

ค�ำนวณหาขนาดตัวอยา่ งโดยการใชส้ ตู ร n = Z2α/2dP2(1-P)* (deff) การแทนคา่ สตู ร ก�ำหนดระดบั ความเชื่อมัน่ ที่ 95% (α=0.05) ค่าความคลาดเคลื่อน (relative d) = 10-15% ค่า design effect (deff) = 2 1.2 ก�ำหนดกรอบการสมุ่ ตัวอย่าง พื้นท่ีส�ำรวจ จ�ำนวน 24 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร การสุ่มตัวอย่างใช้วิธี Stratified Three-Stage Sampling โดยสุ่มเลือกจังหวัดในแต่ละเขตสุขภาพจ�ำนวนเขตสุขภาพละ 2 จังหวัด โดยวิธี systematic sampling (จังหวัดเป็นหน่วยตัวอย่างขั้นท่ี 1) ในแต่ละจังหวัดสุ่มเลือกโรงเรียน โดยวธิ ี systematic sampling (โรงเรยี นเปน็ หนว่ ยตวั อยา่ งขนั้ ที่ 2) ในแตล่ ะโรงเรยี นและต�ำบลทโ่ี รงเรยี น ตั้งอยู่ เลือกกลุ่มตัวอย่างตามขนาดท่ีค�ำนวณได้ในแต่ละ Index age โดยวิธี Quota sampling (กลมุ่ ตวั อยา่ งเปน็ หนว่ ยตวั อยา่ งขน้ั ที่ 3) เนอ่ื งจากความเปน็ เมอื งและชนบทในปจั จบุ นั ไมม่ คี วามแตกตา่ งกนั จึงก�ำหนดตัวอย่างเมืองและชนบท 2 : 2 โดยก�ำหนดจุดส�ำรวจให้แต่ละจุดมีตัวอย่างประมาณ 30 คน มีเพศชายเพศหญิงจ�ำนวนเท่ากัน เม่ือท�ำการปรับขนาดตัวอย่างตามเกณฑ์จึงได้ตัวอย่างส�ำหรับ การส�ำรวจครงั้ น้ี ดงั น้ี ข นา ดตวั อย่า1งส.3า ห รขับนกาารดสตารัววอจยา่ งสำ� หรบั การส�ำรวจ อายุ เหนือ กลาง ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ใต้ กทม. รวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 เขต 13 3 480 480 480 272 272 272 416 416 416 416 256 256 420 4,852 5 240 240 240 240 240 240 240 240 240 240 240 240 240 3,120 12 368 368 368 368 368 368 304 304 304 304 320 320 456 4,520 15 272 272 272 240 240 240 240 240 240 240 240 240 240 3,216 35-44 240 240 240 464 464 464 240 240 240 240 384 384 288 4,128 60-74 240 240 240 304 304 304 240 240 240 240 240 240 396 3,468 80-85 48 48 48 48 48 48 48 48 48 48 48 48 36 612 รวม 5,664 5,808 6,912 3,456 2,076 23,916 สถานทแี่ ละระยะเวลาดาเนินการ ระยะเวลาดาเนนิ การ : ตุลาคม 2559 – มนี าคม 2561 โดยเกบ็ ข้อมลู เดือนมถิ ุนายนถงึ กนั ยายน 2560 เขตสุขภาพ จังหวดั 4 รายงานผล1การสำ�รวจสภาวะสเุขชียภงาใพหมช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8แพปรร่ ะเทศไทย พ.ศ. 2560 2 เพชรบูรณ์ ตาก

60-74 240 240 240 304 304 304 240 240 240 240 240 240 396 3,468 80-85 48 48 48 48 48 48 48 48 48 48 48 48 36 612 รวม 5,664 5,808 6,912 3,456 2,076 23,916 ส ถาน1ท.่ีแ4ล ะรสะยถะาเนวลทาี่ ดาเนนิ การ ระยะเวลาดาเนนิ การ : ตุลาคม 2559 – มีนาคม 2561 โดยเก็บข้อมูลเดอื นมถิ ุนายนถึงกันยายน 2560 เขตสขุ ภาพ จังหวัด 1 2 เชยี งใหม่ แพร่ 3 4 เพชรบรู ณ์ ตาก 5 6 กาแพงเพชร อทุ ยั ธานี 7 8 ปทุมธานี นครนายก 9 10 สมทุ รสาคร เพชรบุรี 11 12 ชลบุรี ปราจนี บรุ ี 13 ขอนแกน่ มหาสารคาม สกลนคร หนองคาย นครราชสีมา สุรินทร์ อุบลราชธานี มุกดาหาร สุราษฎร์ธานี กระบี่ สงขลา พทั ลุง กรงุ เทพมหานคร ผลการส่มุ เขตในพืน้ ทกี่ รงุ เทพมหานคร 4 กรุงเทพมหานคร เขตวงั ทองหลาง เขตวัฒนา เขตสายไหม เขตประเวศ เขตบางพลดั เขตบางแค สำ�นักทันตสาธารณสขุ กรมอนามัย 5

6 6 รายงานผลการสำ�รวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

2. การเกบ็ ข้อมลู 2. 2กโด .า1ยรโ2กเดก .า1ปยสบ็ร รรตกข ้าะรอ้าปสงเวรดมเจรรคตน็ูลสา้ะรขรุขงอ่ืเ้อวภดเงมจคาม็นูลพสรือขทช่ือขุเอ้พีต่่อภงอ้มื่องมาปงเูลกกพอืาทบ็ากเชรพี่ตขป่อแ้อ้อื่อลรงมงะะเปลูกกกกาอ็บาาแกรบรลขสดปแะัม้อว้ทรลภมยะดะาูลสกษกออณาแบบร์ลเสคดะมัร้วท่ือภยดง ามสษืออณบ ์ เครอ่ื งมอื 3 ปี 5 ปี 12 ปี 15 ปี 35-44 ปี 60-74 ปี 80-85 ปี ขอ้ มูลจากการตรวจสุขภาพชอ่ งปาก สภาวะฟนั และความต้องการการรักษา - โรคฟนั ผุ     - รากฟันผุ  - สภาวะฟันตกกระ  สภาวะปรทิ ันต์     การสบฟนั  การใสฟ่ นั และความต้องการใส่ฟัน  ฟนั สกึ    รอยโรคในชอ่ งปาก  ข้อมลู จากการสัมภาษณ์ โรคประจาตวั ทางรา่ งกายทีส่ มั พันธก์ ับชอ่ งปาก  พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพช่องปาก    พฤติกรรมการบริโภคขนม/เครอื่ งด่มื    พฤตกิ รรมการสบู บุหรี่/เค้ยี วหมาก   พฤติกรรมสุขภาพอ่นื ๆ เชน่ การมกี จิ กรรมทางกาย    การบริโภค พฤติกรรมการใชบ้ รกิ ารทนั ตสุขภาพ    การรบั รู้ข้อมลู ขา่ วสารดา้ นทันตสขุ ภาพ    การประเมนิ ระดบั สขุ ภาพช่องปากตนเอง  2.22.1เ2ค. ร ื่อเเงคคมรรอื ่ือื่อทงมงีใ่ ชมอื ใ้ทือนี่ใทกชา้ใ่ีในรชเกใ้กานบ็ รกขตรอ้าวมรจลูเสกุข็บภขาพอ้ ชมอ่ ูลงปาก ประกอบด้วย 1- . ชุดเคตรรวือ่ จงมตาอื มทW่ใี ชH้ใOนกไาดรแ้ ตกร่ วWจHสOขุ ภPeาrพioชd่อoงnปtaาlกprปobรeะกแอละบดpl้วaยne mouth mirror - อุป- กชรดุณต์สราวหจรับตใสาเ่มครW่อื งHมOือ ไอดุปแ้กกรณ่ Wท์ าHคOวามPสeะrอioาdดอoื่นnๆtทal่ีเกpีย่ rวoขbอ้ งe และ plane mouth mirror 2. แบบ-ต รอวุปจแกลระณแบ์สบ�ำสหมั รภับาใษสณ่เค์ มรกีือ่ างรมอือกอแปุบบกสราณหท์รับ�ำแคตว่ลาะมกสลมุ่ะออาายดุ ออ้าน่ื งอๆงิ ตทาเ่ีมกีย่ วOขrอ้alง Health S urv ey Ba sic M2.e tแhoบdบsต5รthวeจdแitลioะnแแบลบะตสาัมมภปราะษเดณ็น์แลมะีกปาัจรจอยั สอากคแญั บขอบงสก�ลำหมุ่ อราับยแนุ ้นัตๆ่ละกลุ่มอายุ อ้างอิงตาม Oral Health Survey Basic Methods 5th edition7และตามประเดน็ และปจั จัยส�ำคญั ของกลุ่มอายนุ ้นั ๆ สำ�นกั ทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามัย 7

การประมวลและการวเิ คราะหข์ ้อมลู ขอ้ มลู จากการส�ำรวจทงั้ หมดจะถกู ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและตรวจสอบเทยี บกบั แบบส�ำรวจ กอ่ นน�ำเขา้ ขอ้ มูล ตามโปรแกรมทพ่ี ัฒนาขน้ึ และตรวจสอบความเปน็ ไปได้ของข้อมลู กอ่ นการประมวล ผลการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) เป็นค่าร้อยละ และค่าเฉล่ีย ตามลกั ษณะข้อมูล ข้อมูลจากการประมวลผลจะถูกน�ำมาถ่วงน้�ำหนักตามขนาดประชากรและตามกลุ่มอายุ รายเขตสุขภาพและรายภาค โดยใช้ข้อมูลประชากรจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ ธันวาคม 2560 ระยะเวลาดำ� เนนิ การ ระยะเวลาการศึกษาวิจัย พฤศจิกายน 2559-เมษายน 2561 โดยเก็บข้อมูลเดือนมิถุนายน ถึงกันยายน 2560 ขนั้ ตอนการด�ำเนินการ 1. ประชมุ ผเู้ ชีย่ วชาญ เพือ่ ออกแบบการส�ำรวจ และสรา้ งเครอื่ งมือเกบ็ ขอ้ มลู ตามกล่มุ อายุ เปา้ หมาย 2. จดั พิมพแ์ บบฟอรม์ การส�ำรวจ 3. สรรหาทีมส�ำรวจ 4. ทดสอบเครอ่ื งมอื และปรบั มาตรฐานทีมส�ำรวจ 5. ประชุมช้ีแจงจังหวัด และศูนย์อนามัยในเขต จังหวัดพื้นที่ส�ำรวจ 24 จังหวัด และ กรงุ เทพมหานคร เพือ่ ประสานงานการจัดเตรียมกลมุ่ ตวั อยา่ งตามเกณฑ์การคดั เลือก 6. ด�ำเนินการส�ำรวจ เก็บขอ้ มลู ในพนื้ ท่ี 7. รวบรวมข้อมลู ประมวล วเิ คราะหข์ อ้ มูล 8. สรปุ และรายงานผล งบประมาณ การส�ำรวจครงั้ น้ี ใชง้ บประมาณ จากกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ จ�ำนวน 4,980,000 บาท 8 รายงานผลการสำ�รวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

แผนการใช้ประโยชน์ ขอ้ มูลผลการส�ำรวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปากแหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 8 เปน็ ขอ้ มูลพน้ื ฐาน สถานการณ์ ส ขุ ภาพช่องปาก และปจั จยั เกย่ี วข้อง ของประชากรระดบั ประเทศ สามารถน�ำไปใชเ้ พอ่ื - การจัดท�ำ ยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการทันตสาธารณสุขท่ีเหมาะสม - การก�ำหนดเปา้ หมายและตวั ชวี้ ดั ท่เี หมาะสมในระดบั ประเทศ และการเปรยี บเทียบ - การประเมินผลการด�ำเนินงานทนั ตสาธารณสุขของประเทศ - เผยแพร่ใหน้ กั วชิ าการผู้เกย่ี วข้องน�ำไปใชป้ ระโยชน์ ส�ำ นกั ทันตสาธารณสขุ กรมอนามยั 9

บรรณานกุ รม 1. World Health Organization. Oral Health Surveys - Basic Methods. 5 Edition., Geneva: World Health Organization, 2013. 2. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการส�ำรวจทันตสุขภาพของ ประเทศไทย ครง้ั ท่ี 2 พ.ศ.2527. 3. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการส�ำรวจทันตสุขภาพของ ประเทศไทย ครั้งท่ี 3 พ.ศ.2532. 4. คณะกรรมการผ้สู งู อายุแหง่ ชาติ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์. แผนผู้สูงอายุ แหง่ ชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ฉบบั ปรบั ปรุงครั้งท่ี 1 พ.ศ.2552 : บทสงั เคราะหส์ ถานการณ์ ท่ีมผี ลตอ่ การด�ำเนนิ งานตามแผนผสู้ ูงอายุในอนาคต. 5. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการส�ำรวจสภาวะสุขภาพ ช่องปากระดบั ประเทศ ครงั้ ที่ 6 ประเทศไทย พ.ศ.2549-2550. 6. ส�ำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการส�ำรวจสภาวะสุขภาพ ช่องปากระดบั ประเทศ ครัง้ ท่ี 7 ประเทศไทย พ.ศ.2555. 1 0 รายงานผลการส�ำ รวจสภาวะสุขภาพช่องปากแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

การปรับมาตรฐาน การส�ำรวจขอ้ มูลระดบั ประเทศเปน็ การส�ำรวจท่ใี ชก้ ลมุ่ ตัวอย่างจ�ำนวนมาก ตอ้ งมกี ารเดนิ ทาง เพอ่ื เก็บข้อมลู จากพนื้ ท่ีท่ีสุ่มไดท้ ั่วประเทศ ภายใต้งบประมาณและระยะเวลาท่จี �ำกัด เพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อมูลทม่ี ี ความนา่ เชอื่ ถอื (Reliability) จงึ ไดอ้ อกแบบการส�ำรวจโดยใชท้ มี ส�ำรวจกลางทตี่ อ้ งผา่ นการปรบั มาตรฐาน ทั้งการตรวจสุขภาพช่องปากในกลุ่มต่างๆ และการสัมภาษณ์เป็นผู้ด�ำเนินการในทุกพื้นที่ โดยการ จัดทีมส�ำรวจประกอบดว้ ย - ผ้ตู รวจ เปน็ ทันตแพทย์ จากส�ำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัด โรงพยาบาลชุมชน ศนู ย์อนามยั ของกรมอนามัย ส�ำนักทันตสาธารณสุข และจากมหาวิทยาลัย ที่สมัครเข้าร่วมโครงการและผ่าน การคดั เลือกจากส�ำนกั ทนั ตสาธารณสุข โดยผู้ตรวจมที ง้ั ส้นิ 19 คน เปน็ ผู้ตรวจหลกั 16 คน ส�ำรอง 3 คน ผตู้ รวจทุกคนต้องผ่านกระบวนการปรับมาตรฐาน และคะแนนมาตรฐาน Kappa - ผู้บันทึก ได้แก่ นักวิชาการของส�ำนักทันตสาธารณสุข หรือบุคลากรผู้เคยมีประสบการณ์ ในการส�ำรวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากในระดับประเทศ - ผู้สัมภาษณ์ เป็นนักวิชาการหรือบุคลากรในจังหวัดตัวอย่างที่ผ่านการปรับมาตรฐาน และฝึกการสมั ภาษณจ์ ากทมี ส�ำรวจของส�ำนกั ทันตสาธารณสุข กรมอนามัย - ท่ีปรึกษา ได้แก่ ทันตแพทย์ของส�ำนักทันตสาธารณสุข ที่เคยเป็นผู้ตรวจในการส�ำรวจ สภาวะสขุ ภาพช่องปากระดับประเทศ ว ตั ถปุ ระสงคข์ องการปรบั มาตรฐาน เพ่ือให้ผู้ส�ำรวจมีความเข้าใจ ตีความได้ตรงตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนดในการส�ำรวจ และสามารถ ท�ำการส�ำรวจได้คงทต่ี ามเกณฑ์ทีก่ �ำหนด ขั้นตอนการปรับมาตรฐาน การปรับมาตรฐานในการส�ำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ.2560 ซึ่งด�ำเนินการในระหว่างวันท่ี 24-26 พฤษภาคม 2560 ได้ก�ำหนดการปรับมาตรฐานเป็น 2 ส่วน คือ การปรบั มาตรฐานผ้สู มั ภาษณ์ และการปรับมาตรฐานผตู้ รวจ 1. การปรบั มาตรฐานผสู้ มั ภาษณ์ ส�ำนกั ทนั ตสาธารณสขุ ไดเ้ ชญิ ผปู้ ระสานงานจงั หวดั ตวั อยา่ ง ท้งั 24 จังหวัด และกรงุ เทพมหานคร และทมี บุคลากรจากสว่ นกลางเขา้ รว่ มรับฟงั การชแ้ี จงกระบวนการ ส�ำรวจ การเตรียมการ การสนับสนุน ท�ำความตกลงช่วงเวลาในการออกส�ำรวจ และท�ำความเข้าใจ แบบสมั ภาษณ์และวธิ กี ารสัมภาษณ์ของกล่มุ ตัวอย่างแตล่ ะกลมุ่ อายุ สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามยั 11

2. การปรับมาตรฐานผู้ตรวจ ทันตแพทย์ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ตรวจทุกคนต้องได้รับ การปรับมาตรฐานตามเกณฑ์การตรวจสภาวะช่องปาก ตามท่ีก�ำหนดในกลุ่มอายุต่างๆ โดยทันตแพทย์ ผู้ตรวจจะรับฟังการบรรยายท�ำความเข้าใจและอภิปรายร่วมกันด้วยการฉายภาพสไลด์ก่อน แล้วจึง ฝึกตรวจสภาวะช่องปากจริง ที่โรงพยาบาลบางเลน จังหวัดนครปฐม ในกลุ่มตัวอย่างอายุ 5 ปี 12 ปี 35-44 ปี และผู้สูงอายุ 60-74 ปี และท�ำการปรบั มาตรฐานสภาวะฟนั ตกกระของเดก็ อายุ 12 ปี ผู้ตรวจ Kทแทแลaลุันกpะะคตpเนแ%ทaพจสจผค%ียะลภ่าะทaบแสเกaาตทgยลถกวgาrรียะrรติ์ผะับeeบวตฟิู้ตeeKวกจรัน%mรamวิทันกตpวจเeยกลอขepจnกaางุ่มอanทtรใกgงอนtะแุกรทrรกขeาล้อครนัทอลยะยeอ้ตนมุ่งี่เลุตmแย%ปเจผะดัพวลู้ต8็นะก็eอท0ะรaถอทnยวยgาูกtจrัผ์น8่ายeสแนตู้0ุงตeโว่1ลร�ดmแนำ2วะสมกยจกเพeว่ปทาลทรเnนทีียปวณุุก่มtบกผิเยค้าีสลคกู้ตโร์นทหภดะรบัรณจาี่มมยวาวะวเจาสีีปิทะ5ปถะทยยภหปกู้ารุกาคหนคระา์ คกิทม่าาวสนเนรมพาันะบทจยาKตป่ือีเ่ะโวคกป์aดตหิเรค่าาคน็pริทยา่ารรทวpKกคานัณKจนัaะaaา่ากตpตห์กpรคลแ์p์สpาป่มุคเวพaพaร�อ่าารำทอ่ืสหาสใมับยยหKห�าร์ทตำมุตหาอ้aรับม่ีรควัายรวpโอีง่าบัใู่ตจรpปนคยขโรคใaรวา่รเอนกฐงคฟาะงณมใาสรฟกันผหตนบะฑนัลผู้ตร้อกดผจุ่ม์ ง0ุรายุลับะขต.รตว4ะู่ใอเณป้อนจ้อทงขง5์กรผกงเีอยน้ึ กาะู้ตอคับยบไรรณเนปยู่ใสมทวกนู่ใาจฑโาเศันนรดกกต์วยเเณบั0จรอกกผมฑ.ใฐาณง4นลา์ราใตรก0ปฑนนขะร.าร8ฐ้ึนกด์ดับราบั0ลไ้วขมตนปป.้ึนยุ่มา8ดรรตไคผ้ววะปรย่าขู้เจตแฐทสึ้นขาลรศนถะวอไปิตจงิ การแปกาลรแผปลลคผล่าคKา่ aKappppaa นอ้ นย้อกยวกา่ วา่0 0 PPoororagargereemeemntent 0.000.0–0 –0.00.202 SSliglihgthatgaregermeenmtent 0.201.2–1 –0.04.040 FFaiarir agreeeemmeentnt 0.401.4–1 –0.06.060 MMoodedreatreateaagrgereememenet nt 0.601.6–1 –0.08.080 SSuubsbtsatnatinaltiaaglreaegmreeenmt ent 0.801.8–1 –1.10.000 AAlmlmosotspteprfeecrtfeacgrteaemgreenetment ผลกาผรลปกรารบั ปมรบัามตารตฐรฐาานน กกาารรปปรรับบั มมาาตตรรฐฐานาในนใเนดก็เดกก็ลมุ่กอลามุ่ยุอา5ยปุ 5ี ดปาเีนดนิ �ำกเานรนิ เฉกพาาระเโฉรคพฟานั ะผโุใรนคฟฟนั ันนผา้ นใุ มนฟสว่ันนนใน�้ำเนดมก็ กสลวุ่่มนอาในยุ เด1็ก2กปลีุ่ม ผเอปลาา้ยกหุา1มร2กมKาปaลายปรตpุ่มทับรpีผฐีต่aใู้มกาหง้ั าลแนญไตลพ่มุว่ะรบ้ผคโ3ฐวู้ใด5่าา่าห-ยคน%4ญ่าม4พ่คีaK3บgปa่า5rวpีeแ-K่าpe4ลคaam4ะp่าแeปpล6nKะ0aีtแa-%อ7แลpย4ละpู่ใaนะgปa6ชrคีe0ดว่ า่แeง-าm7ตลเ%นา4ะeนิมnปตกa%tาาgี รรขดrาปอe�งaำรงeเgทับนmrนัมนิeาตeกeตแnmารพฐtรทาeปอยนnร์ผยในtบัู้ตใู่ โนรมรขวชคาจอฟ่ตวทงงนัรกุทตผฐคันแุาานลตมนผะแตา่ใสนนพาภเรโกทาราณวยคงะฑ์ผฟป์เู้ตรันปิทรา้ผนัหวแุ ตจมล์าทผะยลุกทสกคต่ีภานัง้ ราไปผววร้่าะโับดนปยเรมกิทคีณัน่าฑต์์ กลุ่มอายุ สภาวะ Kappa % agreement 5 ปี โรคฟนั ผุในฟนั น้านม 0.75 - 0.91 72.0 - 80.5 12 ปี โรคฟนั ผุ 0.70 - 0.85 81.0 - 89.0 สภาวะปริทันต์ 0.44 - 0.67 65.3 - 77.8 35-44 ปี โรคฟนั ผุ 0.73 - 0.82 81.0 - 85.6 โรคฟันผทุ รี่ ากฟนั 0.76 - 0.84 81.0 - 86.0 60-74 ปี สภาวะปริทนั ต์ 0.41 - 0.66 70.1 - 74.6 โรคฟันผุ 0.78 - 0.87 82.3 - 88.0 โรคฟนั ผุท่รี ากฟัน 0.78 - 0.86 82.5 - 87.0 สภาวะปริทันต์ 0.46 - 0.78 72.5 - 75.5 1 2 รายงานผลการส�ำ รวจสภาวะสขุ ภาพช่องปากแห1่งช1าติ คร้ังท่ี 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

ผลการศกึ ษา การส�ำรวจคร้ังนี้ ด�ำเนินการในกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 26,259 คน ซ่ึงมากกว่าขนาดตัวอย่าง ที่ค�ำนวณไว้ 23,916 คน โดยมีสัดส่วนเพศชายร้อยละ 49.4 เพศหญิงร้อยละ 50.6 แยกรายละเอียด จ�ำนวนตัวอยา่ งในแตล่ ะกลมุ่ อายุและเพศ รายเขตสขุ ภาพ ดังแสดงในตาราง ตาราง แสดงจ�ำนวนตัวอย่างจ�ำแนกตามกลุ่มอายุ เพศ และเขตสุขภาพ อายุ เพศ เหนอื กลาง ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ใต้ กทม. รวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 เขต 13 3 ชาย 240 243 241 136 146 140 223 212 214 218 132 140 208 2,493 หญงิ 240 243 239 136 146 140 223 212 214 218 134 140 208 2,493 5 ชาย 128 128 128 124 126 121 127 129 128 128 129 128 137 1,661 หญงิ 128 128 128 124 126 121 127 129 128 128 129 128 137 1,661 12 ชาย 196 192 193 200 202 190 167 160 163 159 168 174 227 2,391 หญิง 197 203 199 202 202 201 168 162 158 166 173 176 212 2,419 15 ชาย 147 145 146 135 132 130 131 133 126 124 130 132 127 1,738 หญิง 150 151 147 128 129 129 130 129 141 131 134 139 128 1,766 35-44 ชาย 131 134 139 245 244 250 135 135 134 135 217 208 165 2,272 หญิง 147 143 139 257 263 265 143 141 146 138 215 231 183 2,411 60-74 ชาย 142 137 136 170 179 177 140 139 138 136 145 140 223 2,002 หญงิ 137 138 142 184 177 203 159 146 148 143 146 156 253 2,132 80-85 ชาย 29 31 35 33 28 34 23 33 33 36 39 32 17 403 หญงิ 37 33 31 36 31 31 25 35 33 33 43 33 16 417 รวม 2,049 2,049 2,043 2,110 2,131 2,132 1,921 1,895 1,904 1,893 1,934 1,957 2,241 26,259 ผลการส�ำรวจแบง่ เปน็ 4 สว่ น คอื 1. ผลการส�ำรวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปาก 2. ผลการสัมภาษณ์พฤติกรรมและปจั จัยเสยี่ ง 3. ผลการตรวจปรมิ าณฟลูออไรด์ในแหล่งน้ำ� บริโภคหลักของเด็กอายุ 12 ปี 4. แนวโนม้ สภาวะสขุ ภาพช่องปาก สำ�นกั ทันตสาธารณสขุ กรมอนามัย 13

ผลการส�ำรวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปาก 1. สภาวะโรคฟันผุและการสูญเสียฟัน เด็กก่อนวัยเรยี น (อายุ 3 ปี และ 5 ปี) โรคที่เป็นสาเหตุหลักของอาการเจ็บปวดและการสูญเสียฟันน้�ำนมคือโรคฟันผุ ซึ่งในเด็กอายุ 3 ปี และ 5 ปี ทใ่ี ชเ้ ป็นตวั แทนในการติดตามการเกดิ โรคฟนั ผใุ นฟนั น้ำ� นมพบว่า เด็กอายุ 3 ปี ซ่ึงเปน็ ขวบปีแรกท่ีมีฟันน�้ำนมขึ้นครบ 20 ซ่ี มีฟันผุระยะเร่ิมต้นร้อยละ 31.1 มีความชุกในการเกิดโรคฟันผุ รอ้ ยละ 52.9 มคี า่ เฉลยี่ ฟนั ผุ ถอน อดุ (dmft) 2.8 ซ/่ี คน และรอ้ ยละ 2.3 ของเดก็ อายุ 3 ปี มปี ระสบการณ์ การสญู เสียฟันในชอ่ งปาก นอกจากน้พี บวา่ เดก็ อายุ 3 ปี มฟี ันผุทไี่ มไ่ ด้รับการรักษาร้อยละ 52.0 หรือ เฉลย่ี 2.7 ซี่/คน ความชุกของการเกิดฟันผใุ นเด็กอายุ 3 ปี พบสูงสุดในภาคกลางและภาคใต้ ร้อยละ 57.9 และ 57.0 คา่ เฉลย่ี ฟันผุ ถอน อุด 3.5 ซ/่ี คน และ 3.1 ซ/ี่ คน ตามล�ำดบั ในขณะท่เี ด็กอายุ 3 ปี ในภาค เหนือและภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื มคี วามชุกของโรคฟันผุนอ้ ยกว่า คือ ร้อยละ 51.0 และ 48.3 คา่ เฉลี่ย ฟนั ผุ ถอน อุด 2.5 ซ/ี่ คน และ 2.3 ซ/่ี คน ตามล�ำดับ ความชกุ การเกดิ โรคฟนั ผุในเขตชนบท สูงกวา่ เขตเมอื งและกรุงเทพมหานคร โดยเขตชนบทพบ ร้อยละ 56.0 ค่าเฉล่ยี ฟันผุ ถอน อุด 3 ซี่/คน เขตเมือง และกรุงเทพมหานครพบรอ้ ยละ 50.2 และ 49.5 ค่าเฉล่ยี ฟันผุ ถอน อดุ 2.6 ซ่/ี คน และ 2.5 ซ/่ี คน ตามล�ำดับ (ตารางท่ี 1.3 และ 1.4) ผลสภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเดก็ อายุ 5 ปี พบว่ามฟี ันผุระยะเรม่ิ ต้น 31.3 ความชุกในการ เกิดโรคฟนั ผุรอ้ ยละ 75.6 มคี า่ เฉล่ยี ฟันผุ ถอน อุด 4.5 ซี่/คน โดยพบสูงสุดในเขตภาคใต้และภาคเหนือ คอื ร้อยละ 80.2 และ 78.3 ค่าเฉล่ยี ฟนั ผุ ถอน อุด 5.1 และ 4.4 ซี่/คน ตามล�ำดับ ในขณะทเี่ ดก็ อายุ 5 ปี ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือและภาคกลาง มคี วามชุกของโรคฟันผุน้อยกว่า คือ รอ้ ยละ74.7 และ 74.2 ค่าเฉลีย่ ฟันผุ ถอน อดุ 4.0 และ 5.2 ซ/่ี คน ตามล�ำดบั อตั ราการเกิดโรคฟันผุในเขตชนบท สูงกวา่ เขตเมืองและกรุงเทพมหานคร โดยเขตชนบทพบ ร้อยละ 80.6 มีค่าเฉล่ียฟันผุ ถอน อุด 5.0 ซี่/คน เขตเมอื งและกรุงเทพมหานครพบรอ้ ยละ 72.0 และ 66.1 ตามล�ำดับ คา่ เฉล่ียฟนั ผุ ถอน อุด 4.2 และ 3.7 ซ/ี่ คน ตามล�ำดับ และยงั พบการสูญเสยี ฟันเพม่ิ ข้ึนเปน็ ร้อยละ 6.5 (ตารางท่ี 1.5 และ 1.6) และ พบเดก็ อายุ 5 ปี มฟี นั ถาวรขน้ึ ร้อยละ 18.6 (ตารางที่ 1.19) กลมุ่ วยั เรยี น (อายุ 12 ป)ี จากการส�ำรวจพบว่าเด็กวยั เรยี นอายุ 12 ปี รอ้ ยละ 58.7 เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ จากการส�ำรวจสภาวะโรคฟันผุในฟันถาวรพบว่า เด็กอายุ 12 ปี ฟนั ดีไม่มผี ุ (Cavity free)1 ร้อยละ 66.7 ความชุกของโรคฟันผใุ นเด็กอายุ 12 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 52.0 โดยมีค่าเฉลยี่ ฟนั ผุ ถอน อดุ (DMFT) เทา่ กบั 1.4 ซี่/คน เป็นฟันผุท่ียังไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 31.5 มีฟันอุดร้อยละ 31.1 และมีการสูญเสียฟัน 1 ฟนั ดไี ม่มผี ุ (Cavity free) หมายถงึ ฟันทไี่ ม่มีรผู ุหรือฟนั ผทุ ่ีไดร้ ับการอุดแล้ว และไม่ถูกถอนเนอ่ื งจากสาเหตฟุ ันผุ 1 4 รายงานผลการส�ำ รวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปากแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

ร้อยละ 3.0 โดยพบว่าความชุกของการเกิดโรคฟันผุสูงสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยละ 61.1 รองลงมาคือภาคเหนือร้อยละ 51.1 ภาคกลางร้อยละ 49.2 และภาคใต้ร้อยละ 44.0 ตามล�ำดับ ค่าเฉล่ยี ฟนั ผุ ถอน อุด 1.6, 1.3, 1.3 และ 1.1 ซี่/คน ตามล�ำดับ ความชกุ การเกดิ โรคฟันผใุ นเขตชนบท สูงกว่าเขตเมืองและกรุงเทพมหานคร โดยมีความชุกร้อยละ 55.8, 50.0 และ 40.6 ตามล�ำดับ และมี คา่ เฉล่ียฟนั ผุ ถอน อุด ในเขตชนบท เขตเมอื ง และกรุงเทพมหานคร 1.5, 1.3 และ 1.1 ซ่ี/คน ตามล�ำดับ (ตารางท่ี 1.7 และ 1.8) ภาคกลางและภาคเหนือพบฟันที่เคลือบหลุมร่องฟันร้อยละ 36.9 และ 36.4 ตามล�ำดับ และนอ้ ยท่สี ดุ ทภี่ าคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยละ 18.5 เฉลยี่ 0.4 ซ่/ี คน ในขณะท่ีภาพรวม ประเทศมีร้อยละการเคลือบหลุมร่องฟันร้อยละ 27.4 เฉล่ีย 0.7 ซี่/คน ซ่ึงร้อยละฟันผุที่ยังไม่ได้รักษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสูงท่ีสุดคือร้อยละ 36.3 ในขณะที่ฟันผุท่ียังไม่ได้รักษาของประเทศอยู่ท่ี ร ้อยละ 31.5 (ตารางที่ 1.7 และ 1.8) กลมุ่ วยั รนุ่ (อายุ 15 ป)ี กลุ่มอายุ 15 ปี มคี วามชกุ ของโรคฟันผุร้อยละ 62.7 โดยเขตชนบทมีความชุกสูงสดุ รองลงมา คือเขตเมอื งและกรุงเทพมหานครรอ้ ยละ 67.0, 60.4 และ 51.3 ตามล�ำดับ วยั รุน่ ทฟ่ี นั ดีไม่มีผุ (Cavity free) คิดเปน็ รอ้ ยละ 55.7 สูงสุดพบในกรุงเทพมหานคร รองลงมาคอื เขตเมืองและชนบทรอ้ ยละ 62.8, 57.0 และ 53.1 ตามล�ำดับ มีฟันเคลือบหลุมรอ่ งฟนั ร้อยละ 21.2 ในระดับภาค พบวา่ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือมีความชุกของโรคฟันผุสูงสุดร้อยละ 67.3 รองลงมาคือภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ รอ้ ยละ 66.1, 58.9 และ 58.0 ตามล�ำดบั (ตารางที่ 1.9) ผู้มฟี นั ผุท่ยี งั ไม่ได้รบั การรกั ษารอ้ ยละ 40.1 มีฟนั อดุ ร้อยละ 39.0 และมีฟนั ถอนร้อยละ 7.1 เขตชนบทมีฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษาสูงสุดรองลงมาคือเขตเมือง และกรุงเทพมหานครร้อยละ 43.3, 38.0 และ 33.6 ตามล�ำดับ โดยเม่ือเทียบเป็นรายภาค ร้อยละของผู้มีฟันผุไม่ได้รับการรักษาจากมาก ไปน้อย คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ และภาคเหนือ ร้อยละ 43.8, 43.5, 38.1 และ 32.7 ตามล�ำดบั (ตารางที่ 1.9) จากผลการส�ำรวจโดยเฉลี่ยหน่ึงคนมีฟันในปาก 27.7 ซี่ ค่าเฉล่ียฟันผุ ถอน อุด (DMFT) 2 ซี่/คน โดยเป็นฟนั ผไุ ม่ได้รบั การรกั ษา 0.9 ซี/่ คน ฟนั ถอน 0.1 ซ/ี่ คน ฟันอุด 1 ซี่/คน (ตารางที่ 1.10) วัยรุ่นที่มีฟันใช้งาน 28 ซี่ ในช่องปากร้อยละ 79.3 โดยสูงสุดคือกรุงเทพมหานคร รองลงมาเป็น เขตชนบท และเขตเมืองรอ้ ยละ 82.0, 79.6 และ78.4 ตามล�ำดบั เรียงจากมากไปน้อยตามรายภาคคือ ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 80.1, 79.0, 78.7 และ 78.2 ต ามล�ำดับ (ตารางท่ี 1.21) กลมุ่ วัยท�ำงาน (อายุ 35-44 ป)ี กลุ่มวัยท�ำงานมีฟันใช้งานในช่องปากเฉล่ีย 28.4 ซ่ี โดยมีค่าเฉล่ียฟันผุ ถอน อุด (DMFT) 6.6 ซ่ี/คน ร้อยละของคนที่มีประสบการณ์โรคฟันผุในเขตชนบทกับเขตเมืองและกรุงเทพมหานคร ไม่แตกต่างกันมากนัก แต่ร้อยละของคนที่มีฟันผุยังไม่ได้รักษาและร้อยละของคนท่ีได้รับการอุด ในเขต ส�ำ นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 15

ชนบทและในเขตเมืองมีความแตกต่างกันชัดเจน โดยพบว่าในเขตชนบทมีผู้ท่ีมีฟันผุแต่ยังไม่ได้รักษา มากที่สุดร้อยละ 46.6 รองลงมาคือเขตเมืองและกรุงเทพมหานครร้อยละ 40.9 และ 38.1 ตามล�ำดับ ด้านร้อยละการอุดฟัน กรุงเทพมหานครมีร้อยละการอุดฟันสูงท่ีสุดคือร้อยละ 59.2 รองลงมาคือ เขตเมืองและเขตชนบทร้อยละ 51.8 และ 38.9 ตามล�ำดับ ร้อยละของผู้ท่ีมีฟันผุยังไม่ได้รักษา รายภาคพบว่า ภาคใต้มีร้อยละของผู้ท่ีมีฟันผุยังไม่ได้รักษามากที่สุดร้อยละ 47.4 รองลงมาคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคเหนือ ร้อยละ 44.3, 44.0 และ 39.5 ตามล�ำดับ (ตารางท่ี 1.11) นอกจากน้ีวัยท�ำงานยังพบปัญหาฟันผุบริเวณรากฟันร้อยละ 4.1 โดยเขตชนบท มีผู้มีรากฟันผุมากที่สุดร้อยละ 4.7 รองลงมาคือเขตเมืองและกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 3.9 และ 1.7 ตามล�ำดับ ในรายภาค ภาคท่ีมีผู้มีรากฟันผุมากที่สุดคือภาคกลางร้อยละ 5.4 รองลงมาคือภาคเหนือ และภาคใต้ร้อยละ 5.1 เท่ากัน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีรากฟันผุน้อยที่สุดร้อยละ 2.8 (ตารางที่ 1.17) กลมุ่ วยั สงู อายุ (อายุ 60-74 ปี และ 80-85 ปี) กลมุ่ วยั สงู อายุ 60-74 ปี มคี า่ เฉลยี่ ฟนั ถาวรทมี่ ใี นชอ่ งปาก 18.6 ซ/่ี คน โดยมผี มู้ ฟี นั ถาวรใชง้ าน ได้อย่างนอ้ ย 20 ซี่ ร้อยละ 56.1 มฟี ันหลงั สบกนั อย่างนอ้ ย 4 คูส่ บร้อยละ 40.2 มีจ�ำนวนฟนั ถาวรใช้งาน 20 ซ่ี และมีฟันหลัง 4 คู่สบร้อยละ 39.4 โดยพบว่าในเขตชนบทมีผู้ที่มีจ�ำนวนฟันถาวรใช้งาน 20 ซ่ี และมีฟันหลงั 4 คูส่ บมากทสี่ ดุ ร้อยละ 41.3 รองลงมาคือเขตเมืองและกรงุ เทพมหานคร ร้อยละ 38.2 และร้อยละ 36.0 ตามล�ำดบั เมื่อดูแยกรายภาคพบว่า ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือมีผูท้ ม่ี จี �ำนวนฟนั ถาวร ใชง้ าน 20 ซ่ี และมีฟันหลัง 4 คู่สบมากกวา่ ภาคเหนอื ภาคใต้ และภาคกลาง รอ้ ยละ 47.0, 43.6, 37.5 และ 27.8 ตามล�ำดบั (ตารางท่ี 1.24) ในผสู้ ูงอายุตอนปลายอายุ 80-85 ปี มีการสญู เสียฟนั ถาวรเพมิ่ ขึน้ โดยมีค่าเฉลีย่ ฟนั ถาวรที่มี ในช่องปาก 10 ซ่ี/คน เหลือผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 22.4 ที่มีฟันถาวรใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซ่ี และ มีฟันหลังสบกัน 4 คู่สบ เพียงร้อยละ 12.1 ท�ำให้เมื่ออายุเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพในการบดเค้ียวอาหาร จะลดลง อย่างไรก็ตามสถานการณ์ที่สะท้อนปัญหาที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุมากท่ีสุดคือ การปราศจากฟันถาวรท้งั ปาก ซึง่ ในกลมุ่ 60-74 ปี พบร้อยละ 8.7 โดยภาคกลางและภาคใต้พบเทา่ กนั คือร้อยละ 13.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีผู้สูงอายุที่ไม่มีฟันทั้งปากน้อยท่ีสุด เพียงร้อยละ 4.1 (ตารางที่ 1.23) ในขณะที่ในกลุ่มอายุ 80-85 ปี พบการสูญเสียฟันท้ังปาก เพิ่มขึ้นเกือบ 4 เท่า เป็น รอ้ ยละ 31.0 กลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีประสบการณ์การเป็นโรคฟันผุ ครอบคลุมเกือบทั้งกลุ่มประชากร โดยในกล่มุ ผ้สู ูงอายุ 60-74 ปี ร้อยละ 52.6 มฟี นั ผทุ ย่ี งั ไม่ไดร้ ับการรกั ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื พบ สูงสุดร้อยละ 59.1 และมีผู้สูงอายุท่ีได้รับการอุดฟันแล้วน้อยท่ีสุดคือร้อยละ 15.9 ในขณะที่ภาพรวม ประเทศมผี สู้ งู อายทุ ไี่ ดร้ บั การอดุ ฟนั แลว้ อยทู่ ร่ี อ้ ยละ 22.5 (ตารางท่ี 1.13) ส�ำหรบั กลมุ่ ผสู้ งู อายุ 80-85 ปี พบว่าแทบทุกคนมีประสบการณ์การสูญเสียฟัน และในเขตกรุงเทพมหานคร พบผู้สูงอายุได้รับการ อุดฟนั มากกว่าพนื้ ท่อี ่ืนๆ อย่างชัดเจน โดยได้รับการอุดฟนั ร้อยละ 31.7 ในขณะทภ่ี าพรวมประเทศของ ผู้สงู อายุไดร้ ับการอุดฟันเพยี งรอ้ ยละ 9.9 (ตารางท่ี 1.15) 1 6 รายงานผลการส�ำ รวจสภาวะสขุ ภาพช่องปากแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

ปัญหารากฟนั ผทุ ่ียังไม่ได้รักษา พบสูงสดุ ร้อยละ 16.5 ในผ้สู งู อายุ 60-74 ปี แต่การผจุ ะลดลง เป็นร้อยละ 12.5 ในกลุ่มผู้สูงอายุ 80-85 ปี เนื่องจากส่วนใหญ่มีการสูญเสียฟันถาวรไป โดยผู้สูงอายุ ในกรุงเทพมหานคร ทง้ั 2 ชว่ งอายุ พบรากฟนั ผแุ ละอุดสงู กว่าภาคอ่ืนๆ (ตารางที่ 1.17) 2. ความจำ� เปน็ ในการรับการป้องกนั รกั ษาตามสภาวะโรคฟันผุ เด็กกอ่ นวยั เรยี น (อายุ 3 ปี และ 5 ปี) เด็กอายุ 3 ปี และ 5 ปี มีสภาพฟันท่ีเสี่ยงต่อโรคฟันผุและจ�ำเปน็ ต้องรบั บริการป้องกนั ฟันผุ ใกล้เคียงกันคือร้อยละ 24.8 และร้อยละ 26.7 โดยเด็กในเขตเมืองมีความต้องการมากกว่าเขตชนบท และกรุงเทพมหานคร ทั้งสองกลมุ่ อายุ ในส่วนของความต้องการการรักษา พบวา่ เด็กอายุ 5 ปี มีความ จ�ำเปน็ ตอ้ งรบั บรกิ ารรกั ษาสงู กวา่ เดก็ อายุ 3 ปี อยา่ งชดั เจนโดยเฉพาะการรกั ษาทซ่ี บั ซอ้ น เชน่ การอดุ ฟนั 2 ด้านข้นึ ไป การรักษารากฟนั การท�ำครอบฟัน และการถอนฟันน�ำ้ นม โดยเด็กอายุ 3 ปี มีความต้องการ ดังกล่าว รอ้ ยละ 27.5, 9.8, 4.9 และ 13.0 ตามล�ำดับ ในขณะที่เด็กอายุ 5 ปี มคี วามตอ้ งการดงั กล่าว ร้อยละ 53.2, 19.1, 5.1 และ 27.1 โดยรวมพบว่า เด็กในเขตภาคใต้มีความจ�ำเป็นต้องได้รับบริการ รักษามากที่สุด เมอื่ จ�ำแนกรายเขตพบว่า เดก็ อายุ 3 ปี และ 5 ปี ในเขตชนบทตอ้ งการบริการดา้ นรกั ษา มากกวา่ เขตเมอื งและกรงุ เทพมหานครในทกุ ประเภทบริการ (ตารางท่ี 1.26) กลุม่ วัยเรยี น (อายุ 12 ป)ี เดก็ อายุ 12 ปี พบวา่ รอ้ ยละของผจู้ �ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั บรกิ ารปอ้ งกนั เปน็ ความตอ้ งการเคลอื บหลมุ ร่องฟนั มากท่สี ุดร้อยละ 19.9 เฉล่ยี 0.7 ซี/่ คน รองลงมาคือ Preventive Resin Restoration (PRR) รอ้ ยละ 15.4 ในขณะท่มี รี อ้ ยละของผ้จู �ำเป็นต้องรับบรกิ ารรกั ษา การอดุ ฟัน 1 ด้าน ร้อยละ 24.0 อุดฟัน 2 ดา้ น ร้อยละ 12.6 ถอนฟนั ร้อยละ 6.7 รกั ษารากฟันรอ้ ยละ 6.0 โดยเด็กในกรงุ เทพมหานครมีผจู้ �ำเป็น ต้องได้รับบริการป้องกันเคลือบหลุมร่องฟันมากที่สุดร้อยละ 29.3 และเด็กในเขตชนบทมีผู้จ�ำเป็น ตอ้ งได้รบั บริการรกั ษามากทีส่ ดุ คอื การอุดฟนั 1 ดา้ น รอ้ ยละ 24.7 อุดฟัน 2 ด้าน รอ้ ยละ 13.3 และ ถอนฟันร้อยละ 7.5 โดยเด็กในภาคเหนือมผี จู้ �ำเปน็ ต้องได้รบั บรกิ ารป้องกันเคลอื บหลมุ รอ่ งฟนั มากทีส่ ดุ รอ้ ยละ 22.3 และเดก็ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มผี จู้ �ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั บรกิ ารรกั ษามากทสี่ ดุ คอื การอดุ ฟนั 1 ดา้ น รอ้ ยละ 28.9 อุดฟนั 2 ดา้ น ร้อยละ 14.3 และถอนฟนั ร้อยละ 6.9 (ตารางที่ 1.28) กลุม่ วัยรนุ่ (อายุ 15 ป)ี พบว่าร้อยละของผู้จ�ำเป็นต้องได้รับบริการป้องกันเป็นความต้องการ Preventive Resin Restoration (PRR) มากทสี่ ุดร้อยละ 22.7 รองลงมาคือเคลือบหลมุ ร่องฟัน ร้อยละ 14.5 ในขณะท่ีมี รอ้ ยละของผูจ้ �ำเปน็ ต้องรบั บรกิ ารรักษา การอดุ ฟัน 1 ด้าน ร้อยละ 32.9 อุดฟนั 2 ดา้ น รอ้ ยละ 16.1 ถอนฟันร้อยละ 10.0 รักษารากฟันร้อยละ 8.0 โดยเด็กในกรุงเทพมหานครมีผู้จ�ำเป็นต้องได้รับบริการ ป้องกันด้วย PRR มากท่ีสุดร้อยละ 28.2 และเด็กในเขตชนบทมีผู้จ�ำเป็นต้องได้รับบริการรักษา ส�ำ นกั ทันตสาธารณสุข กรมอนามยั 17

มากทสี่ ดุ คอื การอดุ ฟัน 1 ด้าน รอ้ ยละ 36.3 อดุ ฟัน 2 ด้าน ร้อยละ 17.2 ถอนฟนั รอ้ ยละ 10.4 และ รักษารากฟันร้อยละ 8.0 โดยเด็กในภาคเหนือมีผู้จ�ำเป็นต้องได้รับบริการป้องกันด้วย PRR มากท่ีสุด ร้อยละ 27.6 และเด็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีผู้จ�ำเป็นต้องได้รับบริการรักษามากท่ีสุดคือ การอุดฟนั 1 ดา้ น ร้อยละ 37.5 อดุ ฟัน 2 ด้าน ร้อยละ 17.2 และเด็กในภาคกลางมีผจู้ �ำเปน็ ตอ้ งได้รบั บ ริการรกั ษาถอนฟันรอ้ ยละ 11.8 และรักษารากฟนั ร้อยละ 9.2 (ตารางท่ี 1.28) กลมุ่ วัยทำ� งาน (อายุ 35-44 ปี) ในกลมุ่ วัยท�ำงานอายุ 35-44 ปี พบว่า มรี ้อยละของผจู้ �ำเปน็ ตอ้ งรบั บรกิ ารรักษา การอุดฟัน 1 ดา้ น รอ้ ยละ 42.8 เฉล่ยี 1.2 ซี่/คน อดุ ฟัน 2 ด้าน รอ้ ยละ 19.0 เฉล่ีย 0.3 ซ่/ี คน ถอนฟันร้อยละ 27.7 เฉล่ีย 0.6 ซี่/คน รักษารากฟันร้อยละ 5.8 เฉล่ีย 0.1 ซี่/คน โดยในเขตชนบทมีร้อยละของผู้จ�ำเป็น ต้องรบั บรกิ ารรักษามากทสี่ ดุ โดยมีรอ้ ยละของผจู้ �ำเปน็ ต้องอดุ ฟัน 1 ดา้ น ร้อยละ 44.2 และมีร้อยละ ของผู้จ�ำเป็นต้องถอนฟันร้อยละ 31.4 โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีร้อยละของผู้จ�ำเป็นต้องอุดฟัน 1 ด้านมากท่ีสดุ รอ้ ยละ 48.0 ภาคกลางมีรอ้ ยละของผูจ้ �ำเปน็ ต้องถอนฟันมากท่สี ุดร้อยละ 30.1 และ ภาคใต้มีร้อยละของผจู้ �ำเปน็ ตอ้ งรักษารากฟันมากทส่ี ุดรอ้ ยละ 6.8 (ตารางท่ี 1.30) กลุ่มวัยสูงอายุ (อายุ 60-74 ปี และ 80-85 ปี) ส�ำหรับความจ�ำเป็นในการรักษาในกลุม่ อายุ 60-74 ปี พบว่า ความจ�ำเป็นสงู สุด 2 ล�ำดับแรก คือ ถอนฟนั และอุดฟัน 1 ดา้ น ร้อยละ 53.6 และ 50.0 ตามล�ำดับ โดยความจ�ำเปน็ ทตี่ อ้ งถอนฟันจะสูง กวา่ การอดุ ฟันเล็กน้อย ยกเวน้ ในเขตกรุงเทพมหานคร ที่ความจ�ำเปน็ ในการอดุ ฟันจะสงู กว่า ในรายภาค ผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีร้อยละของผู้จ�ำเป็นต้องถอนฟันและอุดฟัน 1 ด้านมากท่ีสุด ร้อยละ 63.4 และรอ้ ยละ 56.2 ตามล�ำดบั สว่ นผูส้ ูงอายุ 80-85 ปี มรี ้อยละของผู้จ�ำเปน็ ต้องรับบริการ รักษาโดยการถอนฟนั รอ้ ยละ 49.4 เฉลี่ย 2.3 ซี่/คน ซ่ึงสงู กว่าความจ�ำเป็นในการอุดฟนั 1 ดา้ น ร้อยละ 25.8 เกือบ 1 เท่า โดยผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีร้อยละของผู้จ�ำเป็นต้องรับบริการรักษา โดยการถอนฟนั มากที่สดุ รองลงมาคือ ภาคเหนอื ภาคใตแ้ ละภาคกลาง ร้อยละ 61.2, 50.3, 48.4 และ 37.3 ตามล�ำดับ (ตารางที่ 1.30) 3. สภาวะฟันตกกระ สภาวะฟันตกกระเป็นความผิดปกติของผิวเคลือบฟันท่ีเกิดจากการสะสมแร่ธาตุไม่สมบูรณ์ ต้ังแต่ในวัยเด็กเน่ืองมาจากผลการได้รับสารฟลูออไรด์เข้าสู่ร่างกายในปริมาณสูงกว่าระดับท่ีเหมาะสม จากการส�ำรวจพบวา่ เด็กอายุ 12 ปี ร้อยละ 97.7 มสี ภาวะฟนั ปกติ ร้อยละ 1.8 พบฟันตกกระในระดับ สงสัย ร้อยละ 0.3 มสี ภาวะฟนั ตกกระในระดับนอ้ ยมาก ร้อยละ 0.1 มีสภาวะฟันตกกระในระดับนอ้ ย และปานกลาง แต่ไมพ่ บฟันตกกระในระดบั รุนแรง (ตารางท่ี 1.32) 1 8 รายงานผลการสำ�รวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครัง้ ที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

4. สภาวะฟันสึก ในกลุ่มวยั ท�ำงานมรี อ้ ยละของผมู้ ีฟนั สกึ รอ้ ยละ 49.7 โดยมีฟันสึกในดา้ นบดเคย้ี ว (Occlusal) รอ้ ยละ 30.3 เฉลย่ี 1.3 ซ/ี่ คน และดา้ นคอฟนั (Cervical) รอ้ ยละ 24.6 เฉลีย่ 0.9 ซี่/คน โดยเขตชนบท มีฟันสกึ มากท่ีสุดคือร้อยละ 51.9 และมรี อ้ ยละของผู้มีฟันสกึ ด้านบดเคย้ี วมากทสี่ ดุ ร้อยละ 33.1 ข้อมลู รายภาคพบว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีผู้มีฟันสึกมากท่ีสุดร้อยละ 58.7 โดยมีฟันสึกด้านบดเคี้ยว รอ้ ยละ 36.4 เฉลี่ย 1.5 ซี/่ คน และสกึ ดา้ นคอฟันร้อยละ 31.2 เฉล่ยี 1.2 ซ่/ี คน รองลงมาคือภาคเหนอื ร้อยละ 54.2 โดยมฟี ันสึกในด้านบดเคีย้ วรอ้ ยละ 38.6 เฉล่ีย 2.2 ซ/ี่ คน และดา้ นคอฟันรอ้ ยละ 20.0 เฉล่ีย 0.7 ซี่/คน ในผู้สูงอายุ 60-74 ปี เป็นกลุ่มที่มีฟันสึกอย่างน้อย 1 ด้าน สูงถึงร้อยละ 72.0 โดยกว่าครึ่งคือ ร้อยละ 51.9 เป็นการสึกด้านบดเคี้ยว ในขณะท่ีกลุ่มผู้สูงอายุตอนปลาย 80-85 ปี มีฟนั สึกอยา่ งน้อย 1 ด้าน ลดลงเหลือร้อยละ 47.0 ทัง้ นเ้ี นื่องจากกลุ่มนมี้ ฟี นั ถาวรอยู่ในช่องปากลดลง (ตารางท่ี 1.33 และ 1.34) 5. สภาวะคราบจลุ ินทรยี ์ ผลสภาวะคราบจลุ นิ ทรยี ใ์ นเดก็ อายุ 3 ปี และ 5 ปี ไมม่ คี ราบจุลินทรยี ์ (ระดับ 0) รอ้ ยละ 21.8 และร้อยละ 22.9 ตามล�ำดับ มีคราบจลุ ินทรยี น์ ้อยกวา่ 1/3 ของผิวฟัน (ระดับ 1) รอ้ ยละ 36.5 และ 37.4 ตามล�ำดับ มีคราบจลุ นิ ทรยี ม์ ากกวา่ 1/3 แตไ่ มเ่ กิน 2/3 ของผวิ ฟัน (ระดับ 2) รอ้ ยละ 24.8 และ 24.7 และมคี ราบจลุ นิ ทรยี ม์ ากกวา่ 2/3 ของผวิ ฟนั (ระดบั 3) รอ้ ยละ 16.7 และ 14.7 ตามล�ำดบั คราบจลุ นิ ทรยี ์ ในระดับที่ถือเป็นระดับท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิดฟันผุคือระดับท่ี 2 และ 3 โดยพบว่าเด็กอายุ 3 ปี ทม่ี ีคราบจุลินทรยี ์อย่ใู นระดับเสย่ี งต่อการเกดิ ฟันผรุ อ้ ยละ 41.5 เขตเมอื งและเขตชนบท พบเด็กท่มี ีคราบ จุลินทรยี ์อยู่ในระดบั เสย่ี งต่อการเกดิ ฟนั ผุในอตั ราที่ใกลเ้ คยี งกัน คอื รอ้ ยละ 41.5 และ 41.6 ตามล�ำดับ ภาคทีม่ คี วามเส่ียงตำ�่ ท่ีสดุ คือภาคเหนอื มเี ดก็ 3 ปี ทม่ี คี ราบจลุ ินทรีย์อยใู่ นระดับเส่ยี งรอ้ ยละ 35.8 สงู สุด คอื ภาคใตร้ อ้ ยละ 52.8 เด็กอายุ 5 ปี ท่ีมีคราบจุลินทรีย์อยู่ในระดับเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุคิดเป็นร้อยละ 39.4 ในเขตเมืองพบเด็กท่ีมีคราบจุลินทรีย์อยู่ในระดับเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุน้อยกว่าเขตชนบทคือ ร้อยละ 38.7 และ 42.3 ตามล�ำดบั ภาคท่มี คี วามเสยี่ งต�่ำทส่ี ดุ คือภาคกลาง มเี ดก็ 5 ปี ที่มีคราบจลุ ินทรีย์อย่ใู น ระดบั เสย่ี งร้อยละ 35.9 สงู สดุ คือภาคใตร้ อ้ ยละ 51.4 (ตารางที่ 1.35) 6. สภาวะปริทนั ต์ กลมุ่ วยั เรยี น (อายุ 12 ป)ี ปญั หาสภาวะปรทิ นั ตใ์ นเดก็ วยั เรยี นคอื การมเี หงอื กอกั เสบและการมหี นิ นำ้� ลาย จากการส�ำรวจ พบว่าเด็กอายุ 12 ปี ร้อยละ 66.3 มีเหงือกอักเสบ โดยร้อยละ 34.5 มีเลือดออกและร้อยละ 31.8 สำ�นกั ทนั ตสาธารณสุข กรมอนามัย 19

มีหินน�้ำลายและมีเลือดออกร่วมด้วย แต่ก็ยังมีเด็กอีกร้อยละ 16.7 ที่มีหินน�้ำลายในช่องปากโดยไม่มี การอักเสบของเหงือก เด็กในกรุงเทพมหานครและเขตชนบทมีร้อยละเหงือกอักเสบใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 68.9 และ 68.5 ตามล�ำดับ ในขณะท่ีเด็กในเขตเมืองเหงือกอักเสบร้อยละ 63.6 ภาคใต้มีเด็ก ท่ีมีเหงือกอักเสบมากท่ีสุดร้อยละ 75.2 รองลงมาคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยละ 70.1 ภาคเหนือ ร้อยละ 65.1 และภาคกลางรอ้ ยละ 54.9 ตามล�ำดับ (ตารางที่ 1.39) กลมุ่ วัยร่นุ (อายุ 15 ป)ี กลุ่มวัยร่นุ อายุ 15 ปี มสี ภาวะเหงอื กปกติ รอ้ ยละ 12.7 และมหี นิ นำ้� ลายโดยไม่มเี หงือกอักเสบ ร้อยละ 17.4 มีสภาวะเหงือกอักเสบร้อยละ 69.9 โดยเป็นเหงือกอักเสบที่มีหินน้�ำลายร้อยละ 45.2 โดยมีเหงือกอักเสบเฉล่ีย 1.6 ส่วน จาก 6 ส่วน พบว่าเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานครมีร้อยละ เหงือกอักเสบมากท่สี ดุ รองลงมาคือเขตชนบท และเขตเมอื งร้อยละ 77.3, 70.6 และ 68.0 ตามล�ำดบั จ�ำแนกตามภาคพบเหงือกอักเสบเรียงจากมากไปน้อยคือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ แ ละภาคกลาง ร้อยละ 81.0, 69.2, 67.2 และ 62.5 ตามล�ำดบั (ตารางท่ี 1.39 และ 1.40) กลุ่มวยั ท�ำงาน (อายุ 35-44 ป)ี วัยท�ำงานอายุ 35-44 ปี พบร้อยละ 12.5 มีสภาวะเหงือกปกติ ร้อยละ 62.4 มีปัญหา เหงือกอักเสบโดยสว่ นใหญ่รอ้ ยละ 51.0 เกดิ ร่วมกบั หินน�ำ้ ลาย สว่ นโรคปริทันต์อักเสบทม่ี ีท�ำลายอวัยวะ ปริทันต์เกิดเป็นร่องลึกปริทันต์พบร้อยละ 25.9 เป็นโรคปริทันต์ที่มีร่องลึกระดับ 4-5 มิลลิเมตร รอ้ ยละ 19.8 และร่องลึกปริทนั ตต์ งั้ แต่ 6 มลิ ลิเมตรขน้ึ ไปรอ้ ยละ 6.1 ประชากรในภาคกลางมีความชกุ ของโรคปริทันต์ต่�ำกว่าทุกภาค ในขณะท่ีภาคใต้มีความชุกของโรคปริทันต์ท่ีมีร่องลึกปริทันต์ตั้งแต่ 6 มลิ ลเิ มตรข้นึ ไปรอ้ ยละ 10.8 ซ่งึ สงู กว่าภาคอื่นๆ (ตารางท่ี 1.41 และ 1.42) กลุม่ วัยสูงอายุ (อายุ 60-74 ปี และ 80-85 ป)ี กล่มุ ผูส้ งู อายุ 60-74 ปี จ�ำนวน 1 ใน 3 ร้อยละ 36.3 มีการอักเสบและการท�ำลายของอวยั วะ ปริทันต์ที่อยู่รอบรากฟัน ท�ำให้เกิดร่องลึกปริทันต์ โดยร้อยละ 12.2 มีสภาวะปริทันต์อักเสบรุนแรง (ร่องลึกปริทันต์ต้ังแต่ 6 มิลลิเมตรขึ้นไป) ซ่ึงผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความชุกของโรค ปริทันต์สูงกว่าภาคอื่นๆ รวมท้ังเขตชนบทท่ีพบสภาวะปริทันต์อักเสบสูงกว่าผู้สูงอายุในเขตเมืองและ เขตกรุงเทพมหานคร ซงึ่ รอยโรคปรทิ ันต์จ�ำเปน็ ต้องไดร้ บั การรกั ษาจากทันตแพทย์ เมื่อพิจารณาจากส่วนในช่องปาก พบว่าผู้สูงอายุกลุ่ม 60-74 ปี มีฟันเหลืออยู่ในช่องปาก เฉล่ยี 4 ใน 6 ส่วนต่อคน (4 sextants) ในจ�ำนวนนมี้ สี ภาวะเหงือกปกติเฉลย่ี 1.2 สว่ นตอ่ คน สว่ นที่เหลือ 2.7 ส่วน มีหินน้�ำลายและ/หรือมีเหงือกอักเสบ ซ่ึงต้องได้รับการดูแลเพื่อควบคุมคราบจุลินทรีย์และ ขูดหินน�้ำลาย ในขณะท่ีกลุ่มอายุ 80-85 ปี มีฟันเหลืออยู่ในช่องปาก เฉล่ียเพียง 2 ใน 6 ส่วนต่อคน (2 sextants) และมเี พยี ง 1 sextant เทา่ นน้ั ทม่ี สี ภาวะเหงอื กปกติ (ตารางท่ี 1.43, 1.44 ,1.45 และ 1.46) 2 0 รายงานผลการส�ำ รวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากแห่งชาติ คร้ังท่ี 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

7. สภาวะการใสฟ่ นั เทยี มและความจ�ำเปน็ ในการรับบริการ กลุ่มวัยทำ� งาน (อายุ 35-44 ป)ี วัยท�ำงานมีเพียงร้อยละ 5.2 เท่าน้ันที่ใส่ฟันเทียมอยู่ โดยเกือบท้ังหมดเป็นฟันเทียมชนิด ถอดได้บางส่วนและส่วนใหญ่ใส่ในฟันบนร้อยละ 3.4 ร้อยละผู้จ�ำเป็นต้องใส่ฟันเทียมชนิดต่างๆ พบว่ามผี ู้จ�ำเป็นต้องใสฟ่ นั เทยี มถอดได้บางสว่ นรอ้ ยละ 72.3 โดยตรวจพบในขากรรไกรลา่ งมากท่สี ุดคอื ร้อยละ 36.8 ในขณะท่ีผู้จ�ำเปน็ ต้องใสฟ่ นั เทียมในขากรรไกรบนเปน็ ร้อยละ 21.8 และผทู้ จี่ �ำเป็นตอ้ งใส่ ท้งั ขากรรไกรบนและล่างร้อยละ 13.7 (ตารางท่ี 1.47 และ 1.48) กลุ่มวัยสูงอายุ (อายุ 60-74 ปี และ 80-85 ป)ี ผูส้ งู อายุ 60-74 ปี ทใี่ สฟ่ ันเทียมบางสว่ น ส่วนใหญ่ใสใ่ นขากรรไกรบน มากกว่าขากรรไกรลา่ ง เกือบ 1 เท่า โดยในเขตกรุงเทพมหานคร มีร้อยละของการใส่ฟันเทียมบางส่วนสูงสุดร้อยละ 28.0 ซงึ่ สงู กวา่ ระดบั ประเทศคอื รอ้ ยละ 18.0 ส�ำหรบั การใสฟ่ นั เทยี มทง้ั ปากพบรอ้ ยละ 6.5 และเพม่ิ ขน้ึ ชดั เจน เป็นร้อยละ 18.9 ในผู้สูงอายุ 80-85 ปี (ตารางที่ 1.47) ส่วนความจ�ำเป็นในการใส่ฟันเทียมบางส่วน ในกลุ่มอายุ 60-74 ปี สูงถึงรอ้ ยละ 42.6 แต่จะลดลงในกลมุ่ อายุ 80-85 ปี แต่ในทางกลับกนั กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ ตอนปลายจ�ำเป็นต้องได้รับการใส่ฟันเทียมทั้งปากสูงกว่ากลุ่มอายุ 60-74 ปี จากร้อยละ 2.7 ในกลุ่ม อายุ 60-74 ปี เป็นร้อยละ 13.1 ในกลมุ่ อายุ 80-85 ปี (ตารางที่ 1.48) 8. รอยโรคของเน้ือเยอ่ื อ่อนในชอ่ งปาก (Oral Lesions) กลมุ่ วยั ท�ำงานและกลมุ่ วยั สูงอายุ จากการตรวจเนอื้ เยอ่ื ในชอ่ งปากของประชากรกลมุ่ วยั ท�ำงานจ�ำนวน 4,683 คน พบคนทเ่ี นอ้ื เยอ่ื ท่ีมลี ักษณะผิดปกติ 5 คน พบลักษณะรอยโรคสแี ดง 1 คน รอยโรคสีขาว 1 คน รอยโรคสีขาวปนสแี ดง 1 คน ลกั ษณะเปน็ แผลถลอก 1 คน และกอ้ นเนอื้ งอก/ก้อนบวม 1 คน ในประชากรผสู้ ูงอายจุ ากการ ตรวจเนื้อเยื้อในช่องปากของประชากรกลุ่มอายุ 60-74 ปี จ�ำนวน 4,134 คน พบผู้สูงอายุที่มีเนื้อเย่ือ ทม่ี ลี กั ษณะผิดปกตริ วม 32 คน โดยพบลกั ษณะรอยโรคสแี ดง 7 คน รอยโรคสขี าว 5 คน รอยโรคสขี าว ปนสีแดง 3 คน ลักษณะเปน็ แผลถลอก 7 คน และก้อนเนือ้ งอก/กอ้ นบวม 10 คน และในกลมุ่ อายุ 80-85 ปี จ�ำนวน 820 คน พบผู้สูงอายุท่ีมีเน้ือเยื่อท่ีมีลักษณะผิดปกติ รวม 10 คน โดยพบลักษณะ รอยโรคสีแดง 3 คน รอยโรคสขี าว 3 คน รอยโรคสีขาวปนสีแดง 1 คน ลักษณะเปน็ แผลถลอก 2 คน และก้อนเน้ืองอก/ก้อนบวม 1 คน ลักษณะผิดปกติของเนื้อเย่ือดังกล่าว แม้พบจ�ำนวนไม่มาก แต่หากปล่อยไว้โดยไม่ได้รับการดูแลท่ีถูกต้อง อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งช่องปากได้ ดังน้ัน ทั้งประชาชนและบุคลากร จึงควรให้ความส�ำคัญในการตรวจคัดกรองรอยโรคและลดปัจจัยเส่ียง ท่ีเก่ยี วข้อง สำ�นักทันตสาธารณสขุ กรมอนามัย 21

ผลการสัมภาษณ์พฤตกิ รรมและปจั จัยเสย่ี ง การสมั ภาษณใ์ นการส�ำรวจครง้ั นไี้ ดด้ �ำเนนิ การในทกุ กลมุ่ อายุ โดยค�ำถามทใี่ ชส้ มั ภาษณน์ อกจาก เพือ่ ประเมนิ ปัจจยั ส�ำคญั ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับสภาวะช่องปากทีท่ �ำการส�ำรวจแล้ว จะม่งุ เนน้ ประเดน็ ส�ำคญั ทจ่ี ะ สง่ ผลตอ่ การวางแผนและการประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งานทนั ตสาธารณสขุ ในแตล่ ะกลมุ่ อายุ ดงั นนั้ ประเดน็ ค�ำถามและข้อค�ำถามจึงไม่เหมือนกนั ในแตล่ ะกลุม่ อายุ กลมุ่ เดก็ กอ่ นวัยเรียน (อายุ 3 ปี และ 5 ป)ี ข้อมลู ทว่ั ไป กลมุ่ เดก็ อายุ 3 ปี พบวา่ ในเด็กชายและหญิง สว่ นใหญ่มนี ำ้� หนกั ตามเกณฑร์ อ้ ยละ 72.8 และ 73.5 มสี ว่ นสงู ตามเกณฑ์รอ้ ยละ 72.9 และ 72.5 ตามล�ำดับ สงู ดีสมส่วน (น�ำ้ หนักตามเกณฑส์ ่วนสูง) รอ้ ยละ 70.7 และ 72.6 สว่ นใหญร่ อ้ ยละ 95.1 นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ รองลงมาคอื ศาสนาอสิ ลาม รอ้ ยละ 4.5 ส�ำหรับกลุ่มเด็กอายุ 5 ปี พบมีน�้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติน้อยลงเป็นร้อยละ 70.4 ในเด็กชาย และ ร้อยละ 73.2 ในเด็กหญิง สูงดีสมส่วน (นำ้� หนกั ตามเกณฑ์ส่วนสงู ) ร้อยละ 68.6 และ 70.9 เด็กสว่ นใหญ่ น ับถอื ศาสนาพุทธร้อยละ 95.2 (ตารางท่ี 2.1 และ 2.2) พฤตกิ รรมดา้ นทันตสุขภาพ เน่ืองจากเด็กเล็กมีข้อจ�ำกัดในการสื่อสารในเด็กอายุ 3 ปี จึงใช้ค�ำถามเพียง 4 ข้อ คือ การ แปรงฟันตอนเช้าก่อนมาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือโรงเรียน ผู้ที่แปรงฟันให้เด็ก การด่ืมนมรสชาติต่างๆ และการใชข้ วดนม สว่ นเดก็ อายุ 5 ปี มีค�ำถาม 5 ข้อ โดยขอ้ ค�ำถามเพมิ่ เตมิ อีก 1 ข้อ คอื ประสบการณ์ การปวดฟันรุนแรงท่ีส่งผลตอ่ การรบั ประทานอาหาร ผลการสมั ภาษณพ์ บว่าเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 86.8 และเด็กอายุ 5 ปี รอ้ ยละ 89.4 แปรงฟนั ตอนเชา้ กอ่ นมาโรงเรียน โดยเดก็ อายุ 3 ปี รอ้ ยละ 44.1 แปรง ฟนั ด้วยตนเอง รอ้ ยละ 42.5 แม่หรอื ผปู้ กครองแปรงให้ เม่ือเดก็ โตขึน้ พบวา่ เด็กแปรงฟนั เองมากข้นึ คือ อายุ 5 ปี เดก็ แปรงฟนั เองถงึ ร้อยละ 80.4 มีเพยี งร้อยละ 14.4 ทผ่ี ปู้ กครองยงั คงแปรงให้ พฤตกิ รรมการดมื่ นม ทง้ั ในเดก็ อายุ 3 ปี และ 5 ปี พบวา่ เดก็ ดม่ื นมจดื มากทสี่ ดุ คอื รอ้ ยละ 42.0 และ 44.5 ตามล�ำดับ รองลงมาคือ นมรสหวานและรสเปรี้ยว โดยข้อมูลท้ังสองกลุ่มอายุมีรูปแบบท่ี เหมอื นกันในทุกเขตและทุกภาค เดก็ อายุ 3 ปี รอ้ ยละ 39.5 ใชข้ วดนมเมอ่ื อยู่ทบี่ ้าน และยังมีเดก็ อายุ 5 ปี อีกร้อยละ 11.9 ที่ยังคงดูดนมจากขวด โดยเด็กในเขตเมืองใช้ขวดนมมากกว่าเขตชนบทและ กรงุ เทพมหานครในทั้งสองกลุ่มอายุ (ตารางท่ี 2.3, 2.4, 2.5 และ 2.6) 2 2 รายงานผลการส�ำ รวจสภาวะสขุ ภาพช่องปากแห่งชาติ ครัง้ ที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

ในส่วนของประสบการณ์การปวดฟัน พบวา่ เด็กอายุ 5 ปี ร้อยละ 27.5 เคยปวดฟนั รุนแรง จนส่งผลต่อการรับประทานอาหาร พบว่ามีจ�ำนวนเด็กที่เคยมีอาการปวดฟันรุนแรง ในเขตเมืองและ เขตชนบทมากกว่าในเขตกรุงเทพมหานคร และพบมากท่สี ุดในภาคใต้ คือ ร้อยละ 34.2 (ตารางท่ี 2.7) กลุ่มวยั เรียน (อายุ 12 ปี) ข้อมลู ทวั่ ไป กลุ่มตัวอย่างเด็กอายุ 12 ปี ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 95.4 รองลงมาคือศาสนา อสิ ลามและครสิ ต์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.0 และ 0.6 ตามล�ำดบั เด็กรอ้ ยละ 41.3 เรยี นอยูใ่ นชัน้ ประถมศกึ ษา สว่ นทเ่ี หลือรอ้ ยละ 58.7 อยชู่ ัน้ มัธยมศึกษา (ตารางท่ี 3.1 และ 3.2) พฤตกิ รรมดา้ นทนั ตสุขภาพ สัมภาษณ์ 2 ประเด็นหลัก ได้แก่ พฤติกรรมการแปรงฟันและการใช้ยาสีฟนั และพฤตกิ รรม ก ารบรโิ ภคขนมและเครอ่ื งด่ืม 1. พฤตกิ รรมการแปรงฟันและการใช้ยาสีฟนั พฤติกรรมการแปรงฟันของเด็กอายุ 12 ปี ร้อยละ 86.5 แปรงฟันหลังตื่นนอนตอนเช้า ทกุ วนั ส่วนการแปรงฟนั หลังอาหารกลางวันพบว่ามเี ดก็ อายุ 12 ปี ร้อยละ 13.3 ทีแ่ ปรงฟนั หลังอาหาร กลางวันทโ่ี รงเรยี นทกุ วนั รอ้ ยละ 31.4 แปรงบางวัน และร้อยละ 55.3 ตอบว่าไมเ่ คยแปรงเลย โดยเฉพาะ เด็กในกรุงเทพมหานคร มีเพียงร้อยละ 5.9 ท่ีตอบว่าแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน สถานการณ์ เช่นนส้ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ กจิ กรรมการแปรงฟันหลงั อาหารกลางวันท่ีโรงเรยี นมเี ด็กเขา้ ร่วมกิจกรรมน้อยลง ส�ำหรับการแปรงฟันก่อนนอนซึ่งเป็นช่วงเวลาส�ำคัญที่จะช่วยป้องกันโรคฟันผุ พบว่าเด็กอายุ 12 ปี แปรงฟันก่อนนอนทุกวันร้อยละ 58.6 เด็กในกรุงเทพมหานครแปรงฟันก่อนนอนทุกวันมากท่ีสุด คือ รอ้ ยละ 72.3 รองลงมาเปน็ เดก็ ในเขตเมอื ง ส่วนเด็กในชนบทมคี วามสมำ่� เสมอในการแปรงฟนั ก่อนนอน น้อยสดุ เพียงรอ้ ยละ 51.8 นอกจากนย้ี งั มเี ด็กอีกร้อยละ 9.6 ทต่ี อบว่าไม่เคยแปรงฟันก่อนนอนเลย และ มเี ดก็ ทแ่ี ปรงฟนั ก่อนนอนทุกวันแลว้ เขา้ นอนทันทรี อ้ ยละ 38.6 เท่านนั้ (ตารางท่ี 3.3 และ 3.4) ระยะเวลา ในการแปรงฟันเด็กอายุ 12 ปี แปรงฟันนาน 2 นาทีและ 2 นาทีขึ้นไปร้อยละ 63.1 ในการแปรงฟัน แม้เด็กจะเลือกใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เป็นส่วนใหญ่ คือร้อยละ 87.1 แต่แปรงสีฟันที่ใช้ มีเด็กระบุว่า ย งั ใชข้ นแปรงแข็งกวา่ แปรงสีฟันมาตรฐานรอ้ ยละ 27.6 (ตารางที่ 3.7, 3.8 และ 3.9) 2. พฤติกรรมการบรโิ ภคขนมและเครือ่ งด่ืม การดื่มน�้ำอัดลม เป็นพฤติกรรมท่ีส่งผลเสียต่อสุขภาพช่องปากชัดเจน เนื่องจากน�้ำอัดลม นอกจากจะมสี ว่ นประกอบหลกั คอื น�ำ้ ตาล ซึง่ เป็นสาเหตุส�ำคญั ของโรคฟันผแุ ล้ว น้�ำอัดลมยังมีค่าความ เปน็ กรดสูงคือ มีคา่ pH ประมาณ 2.7 - 3.0 ซงึ่ จะมผี ลท�ำใหฟ้ ันกรอ่ นไดด้ ้วย น้ำ� อัดลมเป็นเครอ่ื งดมื่ สำ�นกั ทันตสาธารณสขุ กรมอนามยั 23

ที่แพร่หลายและเป็นที่นิยมของเด็ก ในเด็กกลุ่มอายุ 12 ปี ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.4 ดื่มน�้ำอัดลม สัปดาห์ละ 1-3 วัน ร้อยละ 13.4 ดื่มน�้ำอัดลมเป็นประจ�ำทุกวัน ร้อยละ 18.9 ท่ีไม่ด่ืมน�้ำอัดลมเลย เด็กทั้งในเขตเมืองและชนบทมีพฤติกรรมการดื่มน�้ำอัดลมไม่แตกต่างกัน ส่วนเด็กในกรุงเทพมหานคร มีการด่ืมน�้ำอัดลมเป็นประจ�ำทุกวัน ร้อยละ 21.3 แยกรายภาคพบว่าในภาคกลางและภาคตะวันออก เฉียงเหนอื มีเดก็ ท่ีด่ืมน�้ำอัดลมทกุ วันเปน็ ประจ�ำรอ้ ยละ 15.7 และ 14.9 ในขณะท่ีภาคเหนือพบน้อยสุด เพียงร้อยละ 6.9 เท่าน้ัน ส่วนพฤติกรรมการด่ืมน�้ำหวาน น�้ำผลไม้ ซึ่งมีส่วนประกอบหลักเป็นน้�ำตาล เดก็ ในภาคใต้มรี ้อยละการดื่มเป็นประจ�ำทกุ วันมากที่สดุ รอ้ ยละ 16.0 (ตารางที่ 3.11 และ 3.12) การกินลูกอมและการบริโภคขนมถุงกรุบกรอบซึ่งมีส่วนผสมของแป้งและน�้ำตาลเป็น ส่วนประกอบหลัก เปน็ อกี พฤติกรรมหนึง่ ท่ที �ำใหเ้ กิดภาวะเสีย่ งตอ่ การเกดิ โรคฟันผุ จากการส�ำรวจพบว่า พฤติกรรมการกินลูกอมในกลุ่มวัยนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นแบบนานๆคร้ังหรือบางวัน ในขณะท่ีพฤติกรรม การบริโภคขนมกรุบกรอบกลับมีทิศทางเพ่ิมข้ึนอย่างมาก โดยพบว่าร้อยละ 32.6 บริโภคขนมเหล่านี้ ทกุ วนั โดยเดก็ ในชนบทบรโิ ภคทกุ วนั มากกวา่ เดก็ ในเขตเมอื งและกรงุ เทพมหานคร และเดก็ ในภาคกลาง บริโภคขนมกรุบกรอบทุกวันมากที่สุดร้อยละ 36.0 (ตารางท่ี 3.13 และ 3.14) จากพฤติกรรมการ บริโภคขนมและเครื่องดื่มของเด็ก ค่าเฉล่ียเงินค่าขนมและเครื่องดื่มเฉพาะวันท่ีไปโรงเรียนในเด็กอายุ 12 ปี คือ 24.5 บาท โดยเดก็ ในเขตกรงุ เทพมหานครใชจ้ า่ ยเงินซอื้ ขนมและเคร่อื งด่ืมเฉล่ยี 35.5 บาท และภาคกลางเด็กมีค่าขนมเฉลีย่ มากท่สี ุดคอื 27.1 บาท รองลงมาคือภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และภาคเหนอื 25.9, 22.0 และ 20.1 ตามล�ำดบั (ตารางที่ 3.15) การรบั รู้และการรับบริการด้านทันตสุขภาพ จากผลการสัมภาษณ์พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 36.7 เคยปวดฟันและร้อยละ 12.2 เคย หยุดเรียนเพราะไปท�ำฟันโดยมีค่าเฉลี่ยจ�ำนวนวันท่ีปวดฟันและค่าเฉลี่ยจ�ำนวนวันที่หยุดเรียนเพราะ ไปท�ำฟัน 1.9 และ 1.3 วันตามล�ำดับ ข้อมูลการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากพบว่าเด็กอายุ 12 ปี ร้อยละ 74.5 ได้รับการตรวจฟันในปีการศึกษาที่ผ่านมาโดยหมอ และมีเด็กเคยได้รับการรักษาฟัน และเหงือกในรอบปีการศึกษาท่ีผ่านมาร้อยละ 50.8 โดยไปรับการรักษาท่ีสถานบริการภาครัฐมากท่ีสุด ร้อยละ 49.9 เด็กอายุ 12 ปีในเขตชนบทจะได้รับการตรวจฟันสูงกว่าเด็กในเขตเมือง ในขณะท่ีเด็ก ในกรุงเทพมหานครร้อยละ 35.2 ไม่เคยได้รับการตรวจฟัน (ตารางที่ 3.19-3.23) ช่องทางท่ีเด็กวัยน้ี ต้องการไดร้ บั ความรูเ้ กย่ี วกบั สขุ ภาพชอ่ งปากผา่ นทางหมอ พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ มากที่สุด ร้อยละ 66.3 รองลงมาผ่านทางเว็บไซต์และส่ือสังคมออนไลน์ร้อยละ 34.1 ผ่านทางครูร้อยละ 34.0 และผ่านทาง พอ่ แม่ ญาติพีน่ อ้ งรอ้ ยละ 28.0 (ตารางที่ 3.24) 2 4 รายงานผลการส�ำ รวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปากแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

กลุ่มวยั รนุ่ (อายุ 15 ปี) ขอ้ มลู ท่ัวไป กลุ่มตัวอย่างเด็กอายุ 15 ปี ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 95.2 รองลงมาคือศาสนา อสิ ลามและคริสต์ คิดเป็นร้อยละ 4.0 และ 0.8 ตามล�ำดบั เดก็ รอ้ ยละ 61.8 เรียนอยใู่ นชัน้ มัธยมศกึ ษา ตอนต้น ร้อยละ 37.4 เรียนอยู่ในช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ส่วนท่ีเหลือร้อยละ 0.6 อยู่อาชีวศึกษา (ตารางที่ 3.1 และ 3.2) พฤตกิ รรมด้านทนั ตสขุ ภาพ สัมภาษณ์ 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ พฤติกรรมการแปรงฟันและการใช้ยาสีฟัน พฤติกรรม การบรโิ ภคขนมและเครอื่ งด่ืม และพฤตกิ รรมเสยี่ งอ่นื ๆ 1. พฤตกิ รรมการแปรงฟนั และการใช้ยาสีฟัน พฤตกิ รรมการแปรงฟนั ของกลมุ่ อายุ 15 ปี ส่วนใหญร่ ้อยละ 94.1 แปรงฟันหลังตนื่ นอน ตอนเชา้ ทกุ วัน ส่วนการแปรงฟันหลงั อาหารกลางวันพบวา่ มีเพียงรอ้ ยละ 3.9 แปรงฟันหลงั อาหารกลาง วนั ทีโ่ รงเรียนทกุ วัน และร้อยละ 74.6 ตอบวา่ ไม่เคยแปรงเลย โดยเฉพาะเดก็ ในกรุงเทพมหานครมเี พียง ร้อยละ 1.2 ที่ตอบว่าแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน ขณะท่ีร้อยละ 71.2 ตอบว่าไม่เคยแปรงเลย และเด็กร้อยละ 66.0 แปรงฟันก่อนนอนทุกวัน แต่มีเพียงร้อยละ 43.7 ที่แปรงฟันก่อนนอนแล้ว เข้านอนทนั ที โดยเดก็ ในภาคใตแ้ ปรงฟนั กอ่ นนอนแลว้ เข้านอนทันทมี ากท่ีสดุ รอ้ ยละ 49.6 (ตารางที่ 3.5 และ 3.6) เด็กอายุ 15 ปี ร้อยละ 70.1 แปรงฟนั นาน 2 นาที และ 2 นาทีขึน้ ไป โดยมเี ด็กรอ้ ยละ 84.2 เลือกใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ส�ำหรับแปรงสีฟันพบว่ามีการใช้แปรงสีฟันที่มีขนแปรงแข็งกว่า ขนแปรงมาตรฐานร้อยละ 23.8 โดยเดก็ มกี ารใช้อปุ กรณเ์ สริมในการท�ำความสะอาดฟันโดยใช้ไหมขดั ฟัน ร้อยละ 4.3 ใช้น้�ำยาบ้วนปากร้อยละ 33.0 ใช้ไม้จ้ิมฟันร้อยละ 14.2 ใช้หมากฝรั่งร้อยละ 10.4 (ต ารางท่ี 3.7-3.10) 2. พฤติกรรมการบริโภคขนมและเคร่อื งดืม่ ในกลุม่ อายุ 15 ปี รอ้ ยละ 57.1 ดื่มน้�ำอดั ลมสัปดาหล์ ะ 1-3 วัน และรอ้ ยละ 14.1 ด่ืมน้�ำ อัดลมเป็นประจ�ำทุกวัน มีร้อยละ 17.7 ไม่ด่ืมน้�ำอัดลมเลย เด็กท้ังในเขตเมืองและชนบทมีพฤติกรรม การด่ืมน�้ำอัดลมไม่แตกต่างกัน ส่วนเด็กในกรุงเทพมหานครจะมีอัตราการดื่มน�้ำอัดลมเป็นประจ�ำ ทกุ วนั มากกว่าเขตเมือง และเขตชนบท คอื รอ้ ยละ 22.4 เดก็ ในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ดื่มน�้ำอัดลมทุกวันร้อยละ 18.3 และ 15.5 ตามล�ำดับ โดยภาคเหนือด่ืมน้�ำอัดลมทุกวันน้อยที่สุดเพียง ร้อยละ 5.6 ส่วนพฤติกรรมการดื่มน�้ำหวาน น�้ำผลไม้ ซ่ึงมีส่วนประกอบหลักเป็นน�้ำตาล เด็กในภาคใต้ มกี ารดมื่ เป็นประจ�ำทกุ วันมากท่ีสดุ รอ้ ยละ 20.2 (ตารางท่ี 3.11 และ 3.12) ส�ำ นกั ทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามยั 25

จากการส�ำรวจพบวา่ พฤตกิ รรมการกนิ ลกู อมในกลมุ่ อายนุ สี้ ว่ นใหญจ่ ะเปน็ แบบนานๆ ครงั้ หรือบางวัน ในขณะที่พบพฤติกรรมการบริโภคขนมกรุบกรอบเป็นประจ�ำทุกวันร้อยละ 33.1 โดยเด็ก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มพี ฤตกิ รรมการบรโิ ภคขนมกรบุ กรอบเปน็ ประจ�ำทกุ วนั มากทส่ี ดุ รอ้ ยละ 38.6 (ตารางที่ 3.13 และ 3.14) 3. พฤติกรรมเสี่ยงอืน่ ๆ จากการสัมภาษณ์ เด็กกลุ่มอายุ 15 ปี ร้อยละ 3.4 สูบบุหรี่จนถึงปัจจุบันโดยสูบเฉลี่ย 3.7 มวน/วัน โดยเด็กในภาคใต้มีร้อยละการสูบบุหร่ีมากที่สุดร้อยละ 6 และสูบเฉล่ีย 3.3 มวน/วัน มีการใช้ยาสูบรูปแบบอ่ืนๆ โดยใช้บุหร่ีไฟฟ้าร้อยละ 2.8 บุหรี่มวนเองร้อยละ 2.1 บารากู่ร้อยละ 1.0 และอื่นๆ รอ้ ยละ 0.1 ส่วนพฤติกรรมการด่มื เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ พบว่ามผี ูท้ ดี่ ม่ื เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ เป็นประจ�ำร้อยละ 0.9 และร้อยละ 26.2 ด่ืมช่วงเทศกาลและวันพิเศษ เด็กในภาคกลางดื่มเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์เป็นประจ�ำมากที่สุดร้อยละ 1.3 โดยเด็กในภาคใต้ดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในช่วงเทศกาล และวนั พเิ ศษมากท่สี ุดร้อยละ 32.9 (ตารางท่ี 3.16-3.18) การรบั รู้และการรบั บริการด้านทนั ตสขุ ภาพ จากการสัมภาษณ์พบว่าเด็กอายุ 15 ปี คิดว่ามีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากร้อยละ 64.2 โดยมีฟนั ผุมากท่ีสุดรอ้ ยละ 42.6 รองลงมาคอื มหี นิ ปูนรอ้ ยละ 40.7 ฟันเหลอื งร้อยละ 24.9 เสยี วฟัน รอ้ ยละ 21.1 และปวดฟนั ร้อยละ 19.8 โดยมีผูต้ ้องการรบั บริการทันตกรรมรอ้ ยละ 63.9 โดยต้องการ รับบริการจัดฟันมากท่ีสุดร้อยละ 45.4 รองลงมาคือขูดหินปูนร้อยละ 44.3 อุดฟันร้อยละ 34.1 และ ท�ำให้ฟันขาวร้อยละ 32.2 ในเด็กท่ีต้องการจัดฟันคิดว่าจะไปรับบริการจัดฟันกับทันตแพทย์ท่ีคลินิก หรือโรงพยาบาลร้อยละ 98.4 แต่มีร้อยละ 0.8 ต้องการจัดฟันกับร้านจัดฟันแฟช่ันในห้างหรือ รา้ นเสริมสวย (ตารางท่ี 3.27-3.30) ร้อยละ 53.6 เคยได้รับการตรวจฟัน โดยได้รับการตรวจฟันโดยหมอมากที่สุดร้อยละ 47.4 ในปีทีผ่ ่านมาเดก็ อายุ 15 ปี เคยรกั ษาฟันและเหงอื กร้อยละ 32.3 โดยไปรบั การรกั ษาที่ สถานีอนามัย รพสต. หรือโรงพยาบาลมากท่ีสดุ รอ้ ยละ 49.5 และกลุม่ อายุนี้เคยหยุดเรยี นเพราะไปท�ำฟนั รอ้ ยละ 7.2 โดยจ�ำนวนวนั เฉลี่ยทห่ี ยุดเรยี นเพราะไปท�ำฟันคอื 1 วัน (ตารางที่ 3.19-3.23) โดยมีสวสั ดกิ ารสุขภาพ โดยใช้สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าร้อยละ 60.7 และยังมีร้อยละ 25.0 ไม่ทราบสวัสดิการสุขภาพ ของตนเอง กลุ่มอายุ 15 ปี เคยได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากผ่านทางหมอ พยาบาลและ เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ มากทส่ี ดุ รอ้ ยละ 62.8 รองลงมาผา่ นทาง เวบ็ ไซตแ์ ละสอื่ สงั คมออนไลนร์ อ้ ยละ 39.8 กลุ่มอายุนี้ต้องการข้อมูลความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากในเรื่องอุปกรณ์และวิธีท�ำความสะอาดช่องปาก มากท่ีสุดร้อยละ 51.9 รองลงมาเรื่องการจัดฟันและเรื่องโรคในช่องปากร้อยละ 41.9 และ 34.6 ตามล�ำดบั (ตารางที่ 3.25-3.26) 2 6 รายงานผลการส�ำ รวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากแห่งชาติ คร้ังที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

กลุ่มวยั ท�ำงาน (อายุ 35-44 ปี) ขอ้ มูลท่ัวไป ประชากรในกลุ่มวัยท�ำงาน ร้อยละ 94.8 นับถอื ศาสนาพุทธ รอ้ ยละ 4.1 นบั ถือศาสนาอิสลาม และร้อยละ 1.1 นับถือศาสนาคริสต์ สถานภาพสมรส ร้อยละ 70.2 สมรส รองลงมาสถานภาพโสด รอ้ ยละ 23.4 อาชพี หลกั ทพ่ี บมากคอื ขา้ ราชการ/พนกั งานราชการ หรอื ลกู จา้ งของรฐั /พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ ร้อยละ 31.3 รองลงมาคือเกษตรกรร้อยละ 21.6 สิทธิในการรักษาพยาบาลหลักคือสิทธิ 30 บาท (บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า) รองลงมาคือสิทธิประกันสังคม/กองทุนทดแทน และสิทธิข้าราชการ หรือข้าราชการบ�ำนาญร้อยละ 47.6, 27.0 และ 19.1 ตามล�ำดับ การศึกษาส่วนใหญ่ร้อยละ 26.0 จบช้ันประถมศึกษา รองลงมาคือปริญญาตรีร้อยละ 23.3 ด้านรายได้ร้อยละ 49.3 มีรายได้อยู่ใน ช่วง 5,001-15,000 บาทต่อเดือน (ตารางที่ 4.1) สภาวะโรคประจ�ำตัว ส่วนใหญ่ไม่มีโรคประจ�ำตัว โรคประจ�ำตัวที่พบในคนกลมุ่ นไี้ ดแ้ ก่ โรคภมู ิแพ้ โรคความดนั โลหิตสูง โรคไขมันในเลอื ดสูง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจหลอดเลอื ด (ตารางที่ 4.2) พฤตกิ รรมสุขภาพ ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพประกอบด้วย 3 ประเด็นหลักคือ พฤติกรรมการท�ำความสะอาด ช่องปาก พฤติกรรมสขุ ภาพอื่นๆ และพฤติกรรมเสีย่ งทีเ่ กยี่ วข้อง 1. พฤตกิ รรมการท�ำความสะอาดช่องปาก การท�ำความสะอาดหลักในกลุ่มนี้คือ การแปรงฟัน โดยร้อยละ 94.7 แปรงหลังตื่นนอน ตอนเช้าทกุ วัน ร้อยละ 83.4 แปรงฟนั ก่อนเข้านอนทุกวนั และแปรงฟนั กอ่ นนอนทกุ วันแล้วเขา้ นอนทันที ร้อยละ 61.8 โดยใช้เวลาในการแปรงฟันประมาณ 2 นาทีข้ึนไปร้อยละ 77.0 แปรงสีฟันที่ใช้ส่วนใหญ่ ใชแ้ ปรงสฟี นั ทม่ี ลี กั ษณะขนแปรงแขง็ กวา่ แปรงสฟี นั มาตรฐานรอ้ ยละ 18.1 เลอื กใชย้ าสฟี นั ผสมฟลอู อไรด์ ร้อยละ 86.1 นอกจากนี้พบว่าวัยท�ำงานร้อยละ 63.5 มีการใช้อุปกรณ์เสริมช่วยท�ำความสะอาด อุปกรณ์เสริมที่ใช้ได้แก่ น้�ำยาบ้วนปาก ไม้จิ้มฟัน ไหมขัดฟัน และแปรงซอกฟัน ร้อยละ 36.0, 27.0, 14.7 และ 2.4 ตามล�ำดบั (ตารางที่ 4.3-4.4 และ 4.7-4.10) 2. พฤติกรรมสุขภาพอื่นๆ พบว่าคนวัยท�ำงานอายุ 35-44 ปี ร้อยละ 42.8 มีพฤติกรรมเนือยนิ่ง (นั่งหรือเอนกาย เฉยๆ นานเกิน 2 ช่ัวโมงทุกวัน) ร้อยละ 58.9 มีพฤติกรรมการนอนไม่เพียงพอ (นอนไม่ถึง 7 ช่ัวโมง ทกุ วนั หรอื นอนถงึ 7 ช่วั โมงบางวัน) ร้อยละ 75.7 มกี ิจกรรมทางกายไมเ่ พียงพอ (ไมม่ กี จิ กรรมทางกาย ทท่ี �ำให้ร้สู กึ เหนือ่ ยกวา่ ปกติเลย หรอื มีแตไ่ มถ่ ึงวันละ 30 นาที หรือมอี ยา่ งน้อยวนั ละ 30 นาที แต่ไม่ถึง 5 วันต่อสัปดาห์) ด้านพฤติกรรมการบริโภคพบว่า มีการบริโภคผักในปริมาณที่เพียงพอ (5 ทัพพี/วัน) ร้อยละ 41.0 ส่วนใหญ่ยังเติมเครื่องปรุงรสเค็มในอาหารร้อยละ 62.0 โดยเติมทุกคร้ังร้อยละ 22.3 เติมเป็นบางครั้งร้อยละ 39.7 ดื่มเคร่ืองด่ืมรสหวานทุกวันร้อยละ 20.2 ดื่มเป็นบางวันร้อยละ 61.3 พบเพียงร้อยละ 18.5 ท่ีไมด่ ่มื เคร่ืองดืม่ รสหวานเลย (ตารางที่ 4.13-4.14) สำ�นกั ทันตสาธารณสขุ กรมอนามัย 27

3. พฤติกรรมเสีย่ งทีเ่ ก่ยี วข้อง การสูบบุหร่ีมีผลต่อสภาวะปริทันต์และหนึ่งในปัจจัยท่ีท�ำให้เกิดมะเร็งในช่องปาก โดยใน กลุม่ วัยท�ำงานยงั คงสูบบหุ รร่ี อ้ ยละ 17.9 ปริมาณท่สี บู เฉลยี่ 10.4 มวน/วนั สูบเฉลย่ี 15.7 ปี ในขณะที่ ผ้เู คยสูบบหุ ร่แี ละเลิกได้แลว้ มีอยู่ร้อยละ 9.5 คนกลุ่มนีส้ บู เฉล่ีย 10.6 มวน/วัน ระยะเวลาท่เี คยสูบเฉลีย่ 10.1 ปี (ตารางท่ี 4.16 และ 4.17) ซึ่งผู้ท่ีเคยสูบบุหร่ีในระยะเวลาท่ีนานเกินกว่า 10 ปี แม้เลิกแล้ว กย็ งั คงเปน็ ผทู้ มี่ ภี าวะเสย่ี งตอ่ การเกดิ โรคปรทิ นั ตแ์ ละมะเรง็ ไดเ้ ชน่ กนั ความเสยี่ งตอ่ โรคสามารถประมาณ จากค่า pack-year พบว่าในกลุ่มท่ียังคงสูบบุหรี่อยู่ร้อยละ 90.5 มีค่า pack-year น้อยกว่า 20 และ ร้อยละ 9.5 มีค่ามากกว่า 20 ซึ่งเส่ยี งเปน็ โรคความดนั โลหิตสงู โรคถงุ ลมโป่งพอง โรคหลอดลมอกั เสบ เรอ้ื รงั และโรคมะเร็ง (คา่ pack-year = จ�ำนวนบหุ รท่ี สี่ บู ใน 1 วนั x จ�ำนวนปีที่สบู บุหร่/ี 20) (ตาราง ที่ 4.18) การดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในกลุ่มอายุ 35-44 ปี ดื่มเป็นประจ�ำร้อยละ 12.6 โดย ภาคเหนอื จะดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์เป็นประจ�ำมากท่ีสดุ ร้อยละ 18.7 (ตารางที่ 4.20) การเคี้ยวหมากจะเพ่ิมความเส่ียงต่อการเกิดความผิดปกติของเน้ือเยื่ออ่อนในช่องปาก ซงึ่ ในกลมุ่ วยั ท�ำงานแม้ในภาพรวมจะมีผูเ้ ค้ยี วหมากเพยี งร้อยละ 4.6 แตใ่ นภาคใต้จะเคีย้ วหมากมากกวา่ ภาคอนื่ ชัดเจนเปน็ ร้อยละ 10.3 ในเขตชนบทไม่แตกตา่ งจากเขตเมือง (ตารางที่ 4.21) การรบั รู้ และการรับบริการดา้ นทันตสขุ ภาพ ด้านความพึงพอใจต่อสุขภาพช่องปากในคนวัยท�ำงานพบว่ากลุ่มวัยท�ำงานร้อยละ 27.2 ไมพ่ อใจต่อสุขภาพช่องปากของตนเอง ร้อยละ 58.2 ร้สู ึกพอใจระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ 14.6 พอใจมาก (ตารางที่ 4.22) กลุม่ วัยนี้ไดร้ ับความรู้เกีย่ วกับสุขภาพช่องปากผ่านทางบุคลากรสาธารณสขุ เป็นช่องทาง หลักที่ส่งถึงกลุ่มวัยน้ีได้มากท่ีสุด รองลงมาคือโทรทัศน์และการสื่อสารทางออนไลน์ เช่น เฟสบุค ไลน์ ร้อยละ 55.0, 41.0 และ 24.8 ตามล�ำดับ (ตารางที่ 4.24) ในรอบปที ่ีผ่านมาร้อยละ 42.3 ของกล่มุ วยั ท�ำงานเคยไปหาหมอฟนั โดยเฉล่ยี คนละ 1.8 ครัง้ การไปหาหมอฟนั ในเขตเมืองและกรงุ เทพมหานครจะมีมากกวา่ ในเขตชนบท (ตารางที่ 4.26 และ 4.27) เหตุผลที่ท�ำให้กลุ่มวัยท�ำงานไปรับบริการมากท่ีสุดคือรู้สึกมีหินปูน รองลงมาคือรู้สึกปวด/เสียวฟัน และเหน็ วา่ มฟี นั ผ/ุ มจี ดุ ด�ำรอ้ ยละ 44.3, 27.8 และ 26.8 ตามล�ำดบั (ตารางที่ 4.30) เหตผุ ลทคี่ นวยั ท�ำงาน ไม่ไปหาหมอฟันเนอื่ งจากไม่คิดวา่ ตัวเองมีความผิดปกติและไม่มเี วลาร้อยละ 68.6 และ 25.7 ตามล�ำดบั (ตารางที่ 4.28) สถานพยาบาลหลักท่ีประชากรกลุ่มวัยท�ำงานไปใช้บริการคือ คลินิกเอกชน รองลงมา โรงพยาบาลชุมชน และรพ.จังหวัด/รพ.ศูนย์/ศูนย์อนามัย ร้อยละของการเข้ารับบริการตามที่ต่างๆ คือ 28.3, 27.4 และ 24.7 ตามล�ำดับ (ตารางที่ 4.32) วัยท�ำงานใช้สิทธิในการเข้ารับบริการทาง ทันตกรรมร้อยละ 79.1 ไม่ใช้สิทธิร้อยละ 20.9 เหตุผลท่ีไม่ใช้สวัสดิการสุขภาพในการรักษาทาง ทันตกรรมครั้งล่าสุดเน่ืองจากรอนานร้อยละ 40.1 คิวยาวร้อยละ 28.1 และสิทธิไม่ครอบคลุมร้อยละ 18.7 ตามล�ำดบั (ตารางที่ 4.34) 2 8 รายงานผลการสำ�รวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครง้ั ที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

กลมุ่ วยั สูงอายุ (อายุ 60-74 ปี) ขอ้ มูลท่วั ไป กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ 60–74 ปี มีอายุเฉล่ีย 67.1 ปี เป็นเพศชายและหญิงใกล้เคียงกัน รอ้ ยละ 94.0 นับถอื ศาสนาพุทธ ร้อยละ 4.6 นบั ถือศาสนาอสิ ลาม และร้อยละ 1.2 นับถือศาสนาครสิ ต์ ร้อยละ 69.1 มีสถานภาพสมรส รองลงมาร้อยละ 19.1 เป็นหม้าย ร้อยละ 71.8 จบการศึกษาสูงสุด ระดบั ประถมศึกษา รอ้ ยละ 28.4 เกษียณจากการท�ำงานแล้ว ซึง่ ใกล้เคียงกับกลุ่มเกษตร (ร้อยละ 28.0) ร้อยละ 83.0 มีรายได้ โดยเกือบคร่ึงหนึ่ง (ร้อยละ 53.5) มีรายได้เฉล่ียต่อเดือนไม่เกิน 5,000 บาท (ตารางท่ี 4.1) ดา้ นสวสั ดกิ ารรกั ษาพบวา่ ผสู้ งู อายรุ อ้ ยละ 70.3 มสี วสั ดกิ ารดา้ นสขุ ภาพเปน็ บตั รประกนั สขุ ภาพ ถ้วนหนา้ (สทิ ธิ 30 บาท) รองลงมาร้อยละ 16.6 เปน็ สิทธขิ า้ ราชการหรือขา้ ราชการบ�ำนาญ ผสู้ งู อายุ ร้อยละ 96.9 สามารถช่วยเหลือตนเองได้ดี มีเพียงร้อยละ 0.5 เท่าน้ัน ที่ต้องพ่ึงพาผู้ดูแลตลอดเวลา (ตารางท่ี 4.1) สามอนั ดบั โรคประจ�ำตัวที่ผู้สงู อายุเป็นมากทส่ี ุด ไดแ้ ก่ ความดนั โลหิตสูง ไขมันในเลือดสงู และเบาหวาน ตามล�ำดับ ทง้ั นี้ผสู้ ูงอายุทีม่ ีโรคประจ�ำตัวเหลา่ นเ้ี กือบทงั้ หมดจะรักษาและรับประทานยา ตามทแ่ี พทยส์ ัง่ (ตารางที่ 4.2) พฤตกิ รรมสุขภาพ ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพประกอบด้วย 2 ประเด็นหลักคือ พฤติกรรมการท�ำความสะอาด ชอ่ งปาก และพฤติกรรมสขุ ภาพอน่ื ๆและพฤติกรรมเสี่ยงทีเ่ กย่ี วข้อง 1. พฤตกิ รรมการทำ� ความสะอาดชอ่ งปาก พฤติกรรมการท�ำความสะอาดช่องปากหลักของผู้สูงอายุยังคงเป็นการแปรงฟันโดย รอ้ ยละ 92.0 แปรงฟันหลงั ตืน่ นอนตอนเชา้ ทกุ วัน ร้อยละ 72.5 แปรงฟนั ก่อนเขา้ นอนทกุ วนั โดยกลมุ่ น้ี แปรงฟนั กอ่ นเขา้ นอนแล้วนอนทันทีรอ้ ยละ 53.7 (ตารางที่ 4.5 และ 4.6) ผสู้ งู อายุร้อยละ 72.7 ใชเ้ วลา แปรงฟันต่อคร้ังประมาณ 2 นาทีข้ึนไป (ตารางที่ 4.7) ร้อยละ 24.1 แปรงฟันด้วยแปรงสีฟัน แข็งกว่ามาตรฐาน (ตารางที่ 4.8) และรอ้ ยละ 81.8 แปรงรว่ มกบั ยาสฟี นั ผสมฟลอู อไรด์ (ตารางท่ี 4.9) นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุประมาณคร่ึงหน่ึง (ร้อยละ 47.0) ใช้อุปกรณ์เสริมร่วมกับการแปรงฟันด้วย โดยอปุ กรณเ์ สรมิ ที่ใช้มากท่ีสุดคือไม้จ้ิมฟันร้อยละ 28.6 รองลงมาคือน้�ำยาบ้วนปากร้อยละ 20.3 ท้ังน้ี มีผู้สูงอายุเพียงรอ้ ยละ 6.0 เทา่ นน้ั ทใี่ ชไ้ หมขดั ฟนั หรอื แปรงซอกฟนั รว่ มกบั การแปรงฟนั (ตารางท่ี 4.11) การท�ำความสะอาดฟนั เทยี มส�ำหรบั ผสู้ งู อายทุ ใี่ สฟ่ นั เทยี มชนดิ ถอดไดบ้ างสว่ น/ทงั้ ปาก พบวา่ รอ้ ยละ 48.2 แปรงฟันเทียม ร้อยละ 20.0 ท�ำความสะอาดโดยล้างน�้ำเปล่า และร้อยละ 8.2 ใช้น้�ำยาล้างฟันเทียม (ตารางท่ี 4.12) สำ�นักทนั ตสาธารณสุข กรมอนามยั 29

2. พฤติกรรมสุขภาพอ่ืนๆ และพฤตกิ รรมเส่ยี งที่เกี่ยวขอ้ ง ผู้สูงอายุท่ีมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (มีกิจกรรมทางกายจนท�ำให้รู้สึกเหน่ือยกว่าปกติ อยา่ งน้อยละ 30 นาที ตั้งแต่ 5 วันต่อสปั ดาห์ขึน้ ไป) มเี พยี งหนึ่งในสาม (รอ้ ยละ 33.5) เท่านน้ั ในขณะที่ ผู้สูงอายุที่ดื่มน�้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว และบริโภคผัก/ผลไม้เป็นประจ�ำ (5-7 วันต่อสัปดาห์) ร้อยละ 54.2 และ 58.4 ตามล�ำดับ (ตารางท่ี 4.15) การสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมเส่ียงท่ีมีผลต่อสภาวะปริทันต์และเป็นหน่ึงในปัจจัยที่ท�ำให้เกิด มะเร็งในช่องปาก จากการส�ำรวจพบว่า มีผู้สูงอายุท่ียังคงสูบบุหร่ีอยู่ร้อยละ 12.8 โดยสูบเฉลี่ยวันละ 9.7 มวน เป็นเวลาต่อเน่ืองเฉลี่ย 36.3 ปี ในขณะท่ีผู้ท่ีเคยสูบบุหร่ีแต่เลิกได้แล้วมีอยู่ร้อยละ 14.6 ผู้สูงอายุกลุ่มนเี้ คยสูบเฉลย่ี วนั ละ 13.7 มวน เปน็ เวลาต่อเนอ่ื งเฉลีย่ 23.4 ปี (ตารางท่ี 4.16 และ 4.17) ท้ังนี้เป็นท่ีทราบกันว่า ผู้ที่เคยสูบบุหร่ีนานกว่า 10 ปี แม้เลิกสูบแล้ว ก็ยังคงมีความเส่ียงท่ีจะเกิด โรคปริทันต์และมะเร็งได้เช่นกัน โดยความเส่ียงต่อโรคดังกล่าวสามารถประมาณได้จากค่า pack-year ซงึ่ ในผสู้ งู อายพุ บวา่ กลมุ่ ทเ่ี คยสบู บหุ รแี่ ตเ่ ลกิ ไดแ้ ลว้ รอ้ ยละ 51.0 มคี า่ pack-year ไมเ่ กนิ 10 ปี ในขณะที่ ผู้สูงอายุท่ียังคงสูบบุหร่ีอยู่ร้อยละ 60.3 มีค่า pack-year มากกว่า 10 ปี จึงเป็นกลุ่มท่ีโดยส่วนใหญ่ จะมีความเสี่ยงต่อการเกดิ โรคปรทิ นั ต์และมะเร็งไดม้ ากกว่าปกติ (ตารางท่ี 4.19) การดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลม์ ผี ลเสยี ตอ่ รา่ งกายหลายประการ นอกจากนนั้ ยงั เปน็ สาเหตหุ ลกั สาเหตุหนึ่งของการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนด้วย พบว่ามีผู้สูงอายุร้อยละ 21.2 ท่ียังคงด่ืมเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์ โดยในกลุม่ น้ีร้อยละ 4.8 ด่มื เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์เป็นประจ�ำ (ตารางที่ 4.20) การเค้ียวหมากจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดความผิดปกติของเนื้อเยื่ออ่อนในช่องปาก แม้ใน ภาพรวมจะพบผู้สูงอายุท่ียังคงเคี้ยวหมากอยู่เพียงร้อยละ 6.9 แต่ผู้สูงอายุที่อาศัยในเขตชนบทก็ยังคง เคย้ี วหมากมากกวา่ ผสู้ งู อายทุ อ่ี าศยั ในเขตเมอื งอยา่ งชดั เจนรอ้ ยละ 11.5 และ 4.1 ตามล�ำดบั นอกจากนน้ั แล้วยังพบว่าผู้สูงอายุในภาคใต้และตะวันออกเฉียงเหนือนิยมเค้ียวหมากมากกว่าภาคอื่นๆ อย่างชัดเจน ร้อยละ 12.4 และ 9.1 ตามล�ำดับ (ตารางท่ี 4.21) การรับร้แู ละการรับบรกิ ารด้านทันตสุขภาพ จากการประเมินสภาวะช่องปากตนเองของกล่มุ ตวั อย่างผู้สงู อายพุ บวา่ ผู้สูงอายุรอ้ ยละ 57.0 พึงพอใจต่อสุขภาพช่องปากของตนเองในระดับปานกลาง โดยมีผู้สูงอายุร้อยละ 18.1 รู้สึกไม่พอใจ ต่อสุขภาพช่องปากของตนเอง (ตารางท่ี 4.22) ท้ังน้ีผู้สูงอายุดังกล่าวมีปัญหาเรื่องการรับประทานหรือ บดเคี้ยวมากกว่าการพูดออกเสียง ร้อยละ 52.6 และ 12.6 ตามล�ำดับ โดยมีผู้สูงอายุร้อยละ 11.9 ที่รูส้ ึกว่าตนเองมปี ัญหาเรื่องการรบั ประทานหรอื บดเคีย้ วอาหารมาก (ตารางท่ี 4.23) ดา้ นการสอ่ื สารความรเู้ กยี่ วกบั สขุ ภาพชอ่ งปากพบวา่ การสอ่ื สารผา่ นบคุ ลากรสาธารณสขุ เปน็ ชอ่ งทางหลักทีผ่ ู้สงู อายุไดร้ บั ความร้เู ก่ยี วกับสุขภาพช่องปากมากทสี่ ดุ รอ้ ยละ 54.7 รองลงมาคอื โทรทศั น์ และอาสาสมัครสาธารณสุขภาคประชาชนร้อยละ 36.2 และ 17.2 ตามล�ำดับ ช่องทางออนไลน์ต่างๆ และโปสเตอร/์ แผ่นพับ/สงิ่ พมิ พ์ ยังเขา้ ถงึ ผสู้ งู อายไุ ด้น้อยรอ้ ยละ 2.4 และ 4.0 ตามล�ำดับ (ตารางที่ 4.25) 3 0 รายงานผลการสำ�รวจสภาวะสขุ ภาพช่องปากแห่งชาติ คร้งั ที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560

อาจเนื่องมาจากข้อจ�ำกัดในการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่และความสามารถในการอ่านหนังสือ ดังนั้น หากต้องการให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ ควรส่ือสารผ่านบุคลากรสาธารณสุขหรืออาสาสมัครสาธารณสุข ภาคประชาชน ที่สามารถเข้าถึงตัวและให้ความรู้ท่ีมีคุณภาพได้ หรือผ่านโทรทัศน์ ท่ีมีทั้งภาพและเสียง จะท�ำใหผ้ ู้สงู อายรุ บั รูแ้ ละจดจ�ำความรูไ้ ดด้ ี ในรอบปีที่ผา่ นมาผสู้ ูงอายรุ ้อยละ 38.6 เคยเข้ารบั บรกิ ารทันตกรรม (ตารางที่ 4.26) โดยเฉลีย่ คนละ 1.9 ครั้ง (ตารางท่ี 4.27) ผู้สูงอายุท่ีอาศัยในเขตเมืองมีอัตราการเข้ารับบริการสูงกว่าผู้สูงอายุ ที่อาศัยในเขตชนบทและกรุงเทพมหานครร้อยละ 43.1, 34.3 และ 38.1 ตามล�ำดับ เหตุผลท่ีท�ำให้ ผู้สูงอายุเข้ารับบริการทันตกรรมมากท่ีสุดคือ มีอาการปวดฟัน/เสียวฟันร้อยละ 32.0 รองลงมาคือ ต้องการตรวจสุขภาพช่องปากโดยที่ไม่มีอาการผิดปกติใดๆ ร้อยละ 21.8 เป็นที่น่าสังเกตว่าผู้สูงอายุ ที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครมีเหตุผลที่ไปรับบริการทันตกรรมแตกต่างจากภาพรวมของประเทศ โดยเหตผุ ลหลกั ของคนกลุ่มนไี้ ด้แก่ พบว่ามฟี นั ผุ/จดุ ด�ำ และมหี ินปนู ร้อยละ 28.1 และ 26.5 ตามล�ำดับ (ตารางท่ี 4.31) สถานบริการหลักท่ีผู้สูงอายุไปรับบริการทันตกรรมในรอบปีที่ผ่านมาคือ หน่วยบริการระดับ ปฐมภูมิร้อยละ 30.2 และหน่วยบริการระดับทุติยภูมิร้อยละ 30.5 เป็นที่น่าสังเกตว่าผู้สูงอายุท่ีอาศัย ในเขตเมอื งและกรงุ เทพมหานครมกี ารเขา้ รบั บรกิ ารทนั ตกรรมทห่ี นว่ ยบรกิ ารระดบั ตตยิ ภมู สิ งู กวา่ ผสู้ งู อายุ ที่อาศัยในเขตชนบทอย่างชัดเจนร้อยละ 28.3, 23.2 และ 7.2 ตามล�ำดับ อีกทั้งผู้สูงอายุที่อาศัย ในกรุงเทพมหานครก็นิยมเข้ารับบริการทันตกรรมท่ีคลินิกเอกชนมากกว่าผู้สูงอายุที่อาศัยในเขตเมือง และชนบทเป็นอย่างมากอกี ดว้ ยร้อยละ 31.2, 17.6 และ 8.8 ตามล�ำดบั (ตารางท่ี 4.33) ผู้สูงอายุมากกว่าคร่ึง (ร้อยละ 57.0) ไม่เคยเข้ารับบริการทันตกรรมในรอบปีท่ีผ่านมา (ตารางท่ี 4.26) โดยเหตุผลหลักที่ท�ำให้ผู้สูงอายุไม่ไปรับบริการคือ รู้สึกว่าช่องปากของตนเองไม่มี ความผิดปกติร้อยละ 81.1 (ตารางท่ี 4.29) ซึ่งอาจสะท้อนความไม่ครอบคลุมของการให้ความรู้เรื่อง การดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากทีเ่ หมาะสม หรอื ความไม่ตระหนกั ถึงความส�ำคญั ของสุขภาพช่องปาก เมือ่ พจิ ารณาเรอ่ื งการใช้สทิ ธิสวสั ดิการสุขภาพในการรักษาทางทนั ตกรรมพบว่า ร้อยละ 83.0 ของผู้สูงอายุที่เคยไปรับบริการทันตกรรมในรอบปีที่ผ่านมาใช้สิทธิที่ตนเองมี ในขณะท่ีร้อยละ 17.0 ไม่ได้ใช้สิทธิสวัสดิการสุขภาพ เหตุผลหลักท่ีท�ำให้ไม่ใช้สิทธิคือการท่ีต้องรอนานร้อยละ 30.8 รองลงมาคอื ไมม่ สี ิทธิและควิ ยาวร้อยละ 17.6 และ 17.5 ตามล�ำดับ (ตารางที่ 4.34) ผลการตรวจปริมาณฟลอู อไรด์ในแหลง่ น�ำ้ บรโิ ภคหลกั ของเด็กอายุ 12 ปี การส�ำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 8 ไดเ้ กบ็ ตัวอย่างนำ้� บริโภคในพื้นท่ี ณ จุด ท่ที �ำการส�ำรวจ (ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ โรงเรียนประถมศึกษา มธั ยมศึกษา และครวั เรือน) ใน 24 จังหวัด และกรงุ เทพมหานคร จ�ำนวน 513 ตวั อย่าง เพ่อื ตรวจปรมิ าณฟลอู อไรด์ พบว่าน้�ำบริโภคทเี่ ก็บมาเปน็ น้ำ� ประปารอ้ ยละ 55.0 นำ�้ บรรจุขวดร้อยละ 34.9 นำ้� บาดาลรอ้ ยละ 4.3 ท่เี หลือเป็นน�ำ้ บอ่ รอ้ ยละ 1.4 สำ�นกั ทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามยั 31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook