Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือรวมโอวาทการปฏิบัติธรรม เนื่องในมุ

หนังสือรวมโอวาทการปฏิบัติธรรม เนื่องในมุ

Description: หนังสือรวมโอวาทการปฏิบัติธรรม เนื่องในมุ

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org

รวมโอวาท การปฏบิ ตั ิธรรม ของพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพอ่ ธมั มชโย) เนื่องในมุทติ า อายุ ๖๐ ปี พระครูสมหุ ว์ ษิ ณุ ปญฺ าทโี ป www.kalyanamitra.org

หนังสอื รวมโอวาทการปฏิบตั ิธรรม ของพระเทพญาณมหามนุ ี (หลวงพอ่ ธมั มชโย) เนือ่ งในมทุ ิตา อายุ ๖๐ ปี พระครูสมุหว์ ษิ ณุ ปญฺ าทโี ป ทปี่ รึกษากติ ติมศกั ด ์ิ พระเทพญาณมหามนุ ี (หลวงพ่อธมั มชโย) ทปี่ รึกษา พระครสู มุห์วษิ ณุ ปญฺาทโี ป พระครูใบฎกี าอำ�นวยศกั ด์ิ มุนสิ กฺโก พระไชยยศ ยสวํโส บรรณาธิการ พระมหาไพโรจน์ ปุญฺ ภาโส พระสหวจั น์ กวทิ ตฺโต เรยี บเรยี ง พระภรถ ฌานชโย ภาพปก พระภูษิต ยุตตฺ วชิ โฺ ช ภาพถ่าย ศนู ย์ภาพนิง่ พสิ จู น์อักษร พระมหาอรรถพล กลุ สทิ ฺโธ ป.ธ.๙ พระมหาธีระชยั ธชี ชโย ป.ธ.๙ พระมหานภดล คมฺภีรธมฺโม ป.ธ.๖ ประสานงาน ภภทั รส์ รณ์ ลกั ษณ์ธนากุล วีนัส กณั โสภณ จดั รปู เล่ม พระภรถ ฌานชโย จดั ท�ำ โดย ใจ...หยุด ๒๔ น. พมิ พ์ท่ ี บริษทั ร่งุ ศิลปก์ ารพิมพ์ (๑๙๗๗) จำ�กัด พมิ พ์ครงั้ ที่ ๑ วนั ท่ี ๑๕ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ 2 www.kalyanamitra.org

ชวี ติ ของสมณะ คอื การปฏิบัติธรรม www.kalyanamitra.org

มุทติ า อายุ ๖๐ ปี พระครูสมุหว์ ิษณุ ปฺ าทโี ป www.kalyanamitra.org

คดั สรรโอวาทการปฏบิ ตั ิธรรม จาก พระเทพญาณมหามนุ ี (หลวงพอ่ ธมั มชโย) www.kalyanamitra.org

6 www.kalyanamitra.org

ประวัตพิ อสงั เขป พระครูสมหุ ว์ ิษณุ ปฺ าทีโป เกดิ วันพฤหสั บดที ี่ ๑๕ มีนาคม ๒๔๙๙ ประวัตกิ ารศึกษา มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห์ สงิ หเสนี) ปริญญาตรี มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วท.บ. (เกษตรศาสตร)์ ประวัติการสรา้ งบารมีโดยย่อ เข้าวดั เพระธรรมกายคร้งั แรก วันที่ ๑๒ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ เปน็ อุบาสกชว่ ยงานวดั ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ อปุ สมบท ณ พทั ธสีมา วดั ปากนำ�้ ภาษเี จรญิ วนั ท่ี ๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ ผู้อำ�นวยการส�ำ นักพฒั นาทรัพยากร ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ กรรมการที่ปรกึ ษาอาวโุ ส ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ไดร้ ับสมณศักด์ิ พระครูสมหุ ์วษิ ณุ ปฺ าทีโป ฐานานกุ รมในพระเทพญาณมหามุนี พ.ศ. ๒๕๕๔ 7 www.kalyanamitra.org

อายหุ กสบิ แลว้ เรว็ จัง รู้สึกบญุ ทำ�ยัง นดิ น้อย เวลาทเ่ี หลอื ก�ำ ลัง จะหมด ไปเฮย ต้องทมุ่ ใจเกนิ รอ้ ย มุง่ หนา้ หยดุ ใจ โลกนว้ี า่ งเปลา่ ไร ้ แกน่ สาร สรรพสงิ่ บ่ยนื นาน หมดสิ้น เหลอื ไวแ้ ตบ่ ญุ ทาน กรรมแต่ง เกดิ แกเ่ จ็บตายดนิ้ อย่หู ้วงกเิ ลสมาร ชวี ติ นบั จากน ี้ ขวบปี รีบเรง่ สรา้ งบารม ี มากไว้ ถึงคราวด​ ับชวี ี ลาโลก มพี ระธรรมกายได้ จงึ่ พน้ ภยั มาร พระครูสมหุ ์วิษณุ ปญฺ าทโี ป ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙ 8 www.kalyanamitra.org

9 www.kalyanamitra.org

10 www.kalyanamitra.org

ไม่มีก�ำ แพง : การปฏิบัตธิ รรม ใหเ้ ราท�ำ ความร้สู กึ ว่า ไมม่ ีฝาผนงั คอื ใหเ้ ราทำ�ในทุก ๆ อิรยิ าบถ ให้สงั เกตวา่ ตอนไหนเราสบาย กใ็ ห้ เอาตอนน้ันเปน็ เกณฑ์ เมือ่ มีความรู้สึกตงึ เม่ือไหร่ ก็ใหล้ ืมตา แล้ว คอ่ ย ๆ หรตี่ าลง ใหส้ งั เกตดใู หด้ ี เวลาผา่ นไปเรว็ ในการนงั่ สมาธิ นนั่ แสดงวา่ เราได้ความสุขจากการนัง่ สมาธใิ นระดับหน่ึงแลว้ สมณะที่แท้ : ชีวิตของสมณะท่ีแท้จริง คือ การปฏิบัติธรรม และการปฏิบัติธรรม ก็คือการที่เรามีจิตหยุดน่ิงไม่ฟุ้งซ่านไป ภายนอกตัว 11 www.kalyanamitra.org

12 www.kalyanamitra.org

ผังมีอยูแ่ ลว้ : เราทกุ คนมผี งั ของการเข้าถงึ พระธรรมกายดว้ ยกนั อยแู่ ลว้ เพยี งแตช่ าติน้ี เราต้องมาปรับปรงุ ใหม่ เราตอ้ งมาฝึกใจให้ หยดุ น่ิงใหม่ อย่าตัง้ ใจมาก เพราะธรรมะภายในมีอยู่ในตัวของเรา แลว้ เพยี งแตเ่ ราท�ำ หยดุ นงิ่ อยา่ งสบาย ๆ ใหส้ งั เกตใหด้ ี จบั อารมณ์ สบายให้ได้ การที่เรานั่งธรรมะไดใ้ นระดับนี้ เปน็ จุดเริม่ ตน้ ทีด่ ขี อง เราแล้ว เน้นให้มีความสุขที่เกิดจากสมาธิ ส่วนการเห็นภายในน้ัน เป็นเร่ืองรอง เพราะจรงิ ๆ แลว้ เมอื่ ใจเปน็ สมาธิ ดวงหรอื องคพ์ ระ กจ็ ะปรากฏใหเ้ ราเห็นเอง 13 www.kalyanamitra.org

14 www.kalyanamitra.org

ให้ทำ�เฉย ๆ หรือช่างมัน : ประสบการณ์ภายในท่ีเกิดข้ึน จะเป็น แบบไหนก็ตาม ไมว่ ่าจะตวั ขยาย ตัวยอ่ ตัวโคลง ตวั เคลง ตวั งอ หรือ ตัวหนักก็ตาม ไมต่ ้องไปสนใจอะไรทง้ั ส้นิ ใหเ้ ราทำ�เฉย ๆ หรือช่างมัน เด๋ียวประสบการณภ์ ายในจะดีมาก ๆ เลย ยดึ ศูนย์กลางกาย : เราตอ้ งยดึ ศนู ยก์ ลางกายให้ได้ เรายดึ ได้ครั้งแรก ครง้ั เดยี ว เรากช็ นะ และตอ่ ไปเรากจ็ ะยดึ ไดต้ ลอดทกุ ครง้ั เพราะครงั้ แรก เปน็ จุดส�ำ คัญทสี่ ดุ แลว้ คร้ังตอ่ ไปกจ็ ะง่าย 15 www.kalyanamitra.org

16 www.kalyanamitra.org

ท่ีพง่ึ ของชีวิต : หากเราจะต้องตายในตอนนี้ ไมม่ ีใครช่วยเราได้ คน รอบขา้ งไดแ้ ตเ่ ปน็ เพยี งผเู้ ชยี ร์ การเขา้ ถงึ พระธรรมกายเทา่ นนั้ ทจ่ี ะเปน็ ท่ีพึ่งของเราอย่างแท้จริง เราตอ้ งช่วยตวั ของเราเอง เหมือนนักฟุตบอล ทจ่ี ะต้องลงเล่นเอง ผ้เู ชียรไ์ ม่สามารถลงไปช่วยได้ 17 www.kalyanamitra.org

18 www.kalyanamitra.org

วิธที ่งี า่ ยทีส่ ดุ : การเข้าถึงธรรม คนทวั่ ไปจะเขา้ ใจว่า เขา้ ถึงยาก แต่ ท่ีจริงแล้วสามารถเข้าถึงได้ด้วยวิธีที่ง่ายท่ีสุด และลัดที่สุด คือนิ่ง ๆ เบา ๆ สบาย ๆ พอหมดกรรม กจ็ ะเขา้ ใจคำ�ทห่ี ลวงพอ่ พดู แตพ่ อเข้าถึง ไดแ้ ลว้ ทกุ คนกจ็ ะพดู เหมอื นกนั วา่ “รอู้ ยา่ งน้ี ท�ำ อยา่ งนต้ี งั้ นานแลว้ ” ไม่ต้องสงสัย : เราเข้าถึงสภาวธรรมระดับไหนก็ตาม เราไม่ต้อง สงสัย ให้ท�ำ เฉย ๆ อย่างเดียว “ฟา้ จะถล่ม แผน่ ดนิ จะทลาย คอขาด บาดตาย ชา่ งมัน” 19 www.kalyanamitra.org

20 www.kalyanamitra.org

สังเกต และปรบั ปรุง : การนงั่ ธรรมะทกุ รอบ ให้เราหม่นั สงั เกต และ ปรับปรุงแกไ้ ขตนเอง แล้วประสบการณจ์ ะค่อย ๆ พฒั นาขึ้น ปลอ่ ยไปกอ่ น : ถา้ หากเรายงั ไมส่ ามารถนอ้ มใจมาไวท้ ศี่ นู ยก์ ลางกาย ได้ กป็ ลอ่ ยใหใ้ จอยขู่ า้ งนอกไปกอ่ น พอใจสบายถกู สว่ นดแี ลว้ จงึ คอ่ ย ๆ นอ้ มเข้ามาใหม่ 21 www.kalyanamitra.org

22 www.kalyanamitra.org

ตงึ สองแบบ : ตึง มี ๒ แบบ คือตงึ ท่ีรา่ งกาย กับตงึ ทีใ่ จ ตงึ ทใ่ี จ เกดิ จากการตงั้ ใจ และพยายามมากเกนิ ไป จนตดิ เปน็ นสิ ยั ถา้ มี อาการตอ้ื ๆ แสดงว่า ตงึ แลว้ ใหเ้ ลกิ ทนั ที ลมื ตาขึ้น แลว้ ไปเดนิ ดูรอบ ๆ ดภู าพพระเดชพระคุณหลวงปู่ หรอื เข้าหอ้ งน�้ำ ทำ�ใจใหส้ บาย แลว้ คอ่ ย มาน่งั ใหม่ เริ่มต้นให้ผอ่ นคลายรา่ งกาย แล้วค่อย ๆ หลบั ตา ถ้าตึงอีกก็ ใหล้ มื ตาใหม่ แลว้ ค่อย ๆ หลับตา แต่อยา่ ปดิ สนทิ ปรือ ๆ ตา ตงึ ทรี่ า่ งกาย กใ็ หป้ รบั กายใหส้ บาย ๆ ใหผ้ อ่ นคลายทกุ สว่ นของรา่ งกาย หรือให้ยดื เส้นยืดสาย ใหร้ า่ งกายมคี วามสบาย ๆ 23 www.kalyanamitra.org

24 www.kalyanamitra.org

ทำ�ใหต้ อ่ เนือ่ ง : การนึกนิมติ ตอ้ งท�ำ ควบคไู่ ปกบั อารมณ์สบาย ไม่ตงึ ให้ท�ำ อย่างงา่ ย ๆ และท�ำ ให้ต่อเน่ือง ตงึ อยา่ ฝนื : แมใ้ จไม่ตึง แต่รา่ งกายตงึ กอ็ ยา่ ฝนื ท�ำ ตอ่ ไป ไม่ตอ้ งนกึ นมิ ติ ให้ลุกไปผอ่ นคลาย บริหารรา่ งกายเสียกอ่ น เพราะถา้ รา่ งกายไม่ สบาย กย็ ากทีใ่ จจะสบายได้ 25 www.kalyanamitra.org

26 www.kalyanamitra.org

ยอมชนะสกั ครัง้ : เรื่องประสบการณภ์ ายใน อาการถูกดดู แลว้ รู้สึก เสียวนั้นเป็นกันทุกคน ต้องอย่าไปฝืนประสบการณ์ ให้ยอมเสียว สักคร้ังหนึ่ง แล้วจะไม่เสียวไปตลอดชาติ แต่ถ้าไปฝืนก็จะเสียวอยู่ อยา่ งนนั้ ดงั นน้ั ใหย้ อมชนะสกั ครงั้ อยา่ ไปกลวั มนั เหมอื นงเู หา่ มนั ขู่ เรา อยา่ ไปกลวั มนั ถา้ เราไมก่ ลวั มนั มนั กจ็ ะกลวั เราหรอื เหมอื นกบั ขบั รถแลว้ มีใครมาตดั หน้า มนั ก็จะเสียว หรอื พลรม่ จะโดดรม่ ครง้ั แรกก็เสยี ว กลัว ไมก่ ลา้ โดด ตอ้ งโดดสกั ครงั้ ครง้ั ตอ่ ไปกจ็ ะไมก่ ลวั แลว้ ดงั นน้ั ใหท้ �ำ นงิ่ ๆ ท�ำ เฉย ๆ กับทกุ ประสบการณ์ 27 www.kalyanamitra.org

28 www.kalyanamitra.org

ศนู ยก์ ลางกาย : ศูนยก์ ลางกายเปน็ ที่รวมของทกุ สง่ิ เหมอื นเมลด็ โพธ์ิ ทเ่ี ก็บเอากิง่ ก้าน ใบ ดอก ผล เอาไว้ในเมลด็ เดยี ว ศนู ย์กลางกายเปน็ encyclopaedia ศูนยก์ ลางกายสว่างทงั้ กลางวัน และกลางคืน ไมม่ ี กลางวนั ไม่มีกลางคนื เปน็ อกาลโิ ก ยกชั้นแน่นอน : ธรรมะภายในนั้นมีอยู่แล้ว ให้ทำ�อย่างง่าย ๆ สบาย ๆ เขา้ ถึงได้ทุกคน ยกชน้ั แนน่ อน 29 www.kalyanamitra.org

30 www.kalyanamitra.org

คิดกับคลิก : คิดมี ๒ ระดับ คิดระดับแรก คือ การนึกเพ่ือให้ไม่ฟุ้ง เหน็ จ�ำ คดิ รขู้ องเรามนั กระเจงิ จงึ ตอ้ งคดิ เพอื่ ใหเ้ หน็ จ�ำ คดิ รขู้ องเรากลบั มาสศู่ นู ยก์ ลางกาย คดิ อกี ระดบั หนง่ึ เรยี กวา่ “คลกิ ” หรอื กระดกิ จติ เชน่ คลิกองค์พระ ระดับน้ีจะละเอียดกว่าระดับแรกแต่ถ้าเจอความโล่ง ๆ ว่าง ๆ กไ็ ม่ต้องคลกิ แล้ว เพราะจิตละเอียดเลยการคลกิ ไปแล้ว ปรับหยาบ : หลวงพ่อยนื ยันค�ำ ของคณุ ยายอาจารย์ฯ ทีว่ ่า “หยาบ กับละเอียดต้องไปคู่กัน” ถ้าหยาบไม่ละเอียดแล้ว ละเอียดจะไป ละเอียดได้อย่างไร 31 www.kalyanamitra.org

32 www.kalyanamitra.org

อย่ากงั วล : อย่ากังวลกับศูนยก์ ลางกายมากเกินไป ให้รู้สกึ ว่า อย่ใู น กลางทอ้ งก็เอาแล้ว เพราะต�ำ แหน่งทแี่ ทจ้ ริง จะรู้ไดก้ ็ตอนท่เี ขา้ ถึง แลว้ เท่าน้นั ให้ถอื เปน็ เร่อื งปกติ : ประสบการณ์ท่เี พ่งิ เห็นเป็นครั้งแรก ให้ถือเป็น เรือ่ งปกติ ให้ท�ำ น่ิง ๆ เฉย ๆ ต่อไป แล้วจะดีเอง 33 www.kalyanamitra.org

34 www.kalyanamitra.org

มีอะไรให้ดูก็ดูไป : ให้ย้อนกลับไปดูบรรทัดแรก ประสบการณ์ ภายในมอี ะไรใหด้ กู ็ดูไป ดไู ปเร่อื ย ๆ อยา่ งสบาย ๆ โดยไม่ต้องคิดอะไร ทงั้ ส้ิน เหมอื นเรากำ�ลังเดนิ ทาง จะผ่านภูเขาหลายลูก ผ่านลกู แรกก็จะ เจอลกู ใหมไ่ ปเรอื่ ย ๆ เราไมเ่ หน็ ยอ้ นกลบั ไปดลู กู แรกเลย ดงั นน้ั ใหด้ ไู ป เฉย ๆ ดูไปเรื่อย ๆ จนกระท่ังติด แตก่ อ่ นเรามีทุกขแ์ บบยาจก คอื ไมม่ ี อะไรใหด้ ู แต่ตอนนีม้ ีทุกข์แบบเศรษฐี เพราะไมร่ ูจ้ ะดูอะไร มีใหเ้ ลือกดู มากมาย ตรงนส้ี ว่ นใหญม่ กั จะตกม้าตายกัน ถ้าตกม้าแล้วไปข่เี บนซก์ ็ โอเค แตน่ ตี่ กมา้ แลว้ มาขีซ่ าเลง้ 35 www.kalyanamitra.org

36 www.kalyanamitra.org

การนึกนิมิต : การนึกนิมิตในแต่ละช่วง จะนึกเป็นองค์พระคลุมตัว เราอยใู่ นกลางองคพ์ ระ หรอื องค์พระผุดขนึ้ มาจากศนู ย์กลางกาย ก็ได้ ทงั้ นั้นแลว้ แตใ่ จเราชอบ อยู่ที่ว่าชว่ งนั้น ๆ เราอยากนึกอะไร ทำ�เฉย ๆ กับทุกประสบการณ์ : ประสบการณ์ภายในต่าง ๆ เปน็ แคท่ างผา่ นเทา่ นนั้ ใหท้ �ำ เฉย ๆ แลว้ จะผา่ นสงิ่ เหลา่ นนั้ ไปเอง ใหท้ �ำ อย่างเบา ๆ สบาย ๆ ยิ่งเบายิ่งสบาย ก็ยิ่งจะเข้าไปหาศูนย์กลางกาย จะเข้าถึงดวง เข้าถงึ องค์พระเอง 37 www.kalyanamitra.org

38 www.kalyanamitra.org

ขั้นของจิต : ในข้ัน basic เวลาเรานึก มันก็จะมีตึงบ้าง ไม่ตึงบ้าง สลับกันไป ถ้าตึงให้ลืมตาดูพระเดชพระคุณหลวงปู่ ข้ันต่อมามันก็จะ ขนึ้ มาเองเปน็ อตั โนมัติ ขน้ั advance เราจะนึกใหใ้ สอย่างไรกไ็ ด้ นกึ ท�ำ อะไรกไ็ ด้ เพราะจติ นุ่มนวลแล้ว จิตเปน็ เหมือนแกว้ สารพดั นึก จากสมมติสู่วิมุตติ : ให้ตัดความรู้สึกที่กายเน้ือ ไม่ต้องไปสนใจ กายหยาบ เรากำ�ลังเปลี่ยนจากสมมติไปสู่วิมุตติ ในระดับสมมติ เรา จะนกึ อะไรกไ็ ด้ แลว้ แตเ่ รา แตข่ อให้เบาสบาย และนกึ ทก่ี ลางกายจะดี กวา่ นกึ ขา้ งนอก ใหม้ องขา้ งใน เพราะเรามเี ปา้ หมายหลกั อยภู่ ายใน กลางกาย 39 www.kalyanamitra.org

40 www.kalyanamitra.org

ตรงไหนก่อนก็ได้ : วางใจในที่โลง่ ๆ วา่ ง ๆ ในจุดทส่ี บาย ตรงไหนไป กอ่ นกไ็ ด้ เดยี๋ วกจ็ ะเขา้ ศนู ยก์ ลางกายไปเอง เพราะเรารเู้ ปา้ หมายอยแู่ ลว้ ว่า สุดท้ายตอ้ งศนู ยก์ ลางกาย ทำ�อย่างมนุษย์ธรรมดา : ในแต่ละรอบวิธีการน่ังธรรมะเหมือนกัน แต่ได้ผลไม่เหมือนกัน ก็ไม่เป็นไร เพราะเราเป็นมนุษย์ธรรมดา ไม่ใช่ เทวดา เปรียบเหมือนตำ�น้ำ�พริกครกเดียวกัน แต่รสชาติยังไม่เหมือน กันเลย 41 www.kalyanamitra.org

42 www.kalyanamitra.org

มอี ยู่แลว้ : ความสบาย ดวง องคพ์ ระ มอี ยแู่ ล้วในตัวเรา ใหท้ �ำ เฉย ๆ เดี๋ยวก็จะมาเอง เราไม่ได้ติดความสบาย แต่ความสบายจะมาติดเรา เอง เมอื่ เราฝกึ ใจจนคนุ้ กบั ขา้ งในแลว้ เรากจ็ ะลมื ความรสู้ กึ ของกายเนอื้ ไปเอง พอเราปฏบิ ตั ธิ รรมไป มักจะลมื ของเกา่ หลวงพ่อจงึ ต้องมา เพ่อื เตอื นความไมจ่ �ำ ใหด้ ูภาพภายในแบบไร้อารมณ์รว่ ม คือดไู ปเฉย ๆ ดู ไปเรือ่ ย ๆ พวกเรา เป็นพนั ธป์ุ ฏบิ ัตสิ ะดวก บรรลเุ รว็ 43 www.kalyanamitra.org

44 www.kalyanamitra.org

ฐานความสุข : ฐานของความสุขจากสมาธิ จะทำ�ให้เราเข้าไปสู่ สภาวธรรมที่มอี ยู่จรงิ ภายใน แค่เพียง ๕ นาทกี ็เพียงพอ ใหว้ า่ ง ๆ เบา ๆ แล้วจะน�ำ เราไปสขู่ องจริง นงิ่ ๆ ยิง่ น่ิงยง่ิ แนน่ แล้วจะวืด้ ไปเลย เมอื่ ใจ หยุดถูกสว่ นแลว้ จะเกดิ ข้ึนมาเอง ตอ้ ง “เอง” เทา่ น้ัน แล้วถงึ จะมั่นใจ ปลอ่ ยวาง : ใหเ้ ราท�ำ ใจเบา ๆ อยา่ ไปตง้ั ใจมาก อยา่ ใหอ้ ะไรมาเหนย่ี ว รั้งเราไว้ ท้ิงให้หมดเลย ให้ปล่อยวางให้หมด จากเรื่องของคน สัตว์ ส่ิงของ งาน เร่อื งหยาบ ๆ ทงิ้ ใหห้ มดในช่วงท่ีมานงั่ และหม่ันตรกึ ทงั้ วนั ใหใ้ จคุ้นเคย หยดุ นง่ิ ทศ่ี ูนย์กลางกายให้สม�่ำ เสมอ 45 www.kalyanamitra.org

46 www.kalyanamitra.org

ความสุขน�ำ ไปสู่ของจริง : ท�ำ อย่างสบาย ๆ และมีฐานของความสขุ แลว้ ความสขุ จะน�ำ เราไปสูข่ องจรงิ ที่มีอยู่ภายในเอง ข้างนอก – ข้างใน : เห็นองค์พระใหม่ ๆ ให้ทำ�น่ิง ๆ เฉย ๆ ไป เรื่อย ๆ ตามใจองคพ์ ระภายใน เดย๋ี วท่านกจ็ ะตามใจเรา ของข้างนอก เวลาเหน็ มนั เหน็ กนั จะ ๆ แตข่ องขา้ งใน ไมเ่ ปน็ อยา่ งนน้ั อยา่ ไปหงดุ หงดิ ว่า จะตอ้ งเห็นให้ชดั เจนเหมอื นของข้างนอก 47 www.kalyanamitra.org

48 www.kalyanamitra.org

อยู่ตรงกลาง : ให้เอาใจมาอยู่ตรงกลางกาย ภาพภายในจะมาทาง ไหนก็ตาม เราก็เฉย ๆ ใจเราอยู่ท่ีเดิม ภาพมาไม่ถูกตำ�แหน่ง เราก็ ไม่สนใจ เราอยู่ตรงกลางอย่างเดียว เด๋ียวภาพภายในก็จะมาตรง กลางกายเอง ลนุ้ ลกึ ๆ : เรามาถงึ จดุ ทใ่ี กลม้ าก ๆ แลว้ จดุ ทบ่ี างกวา่ เอากระดาษทชิ ช ู่ มาลอกออก ๑๖ ครั้ง เหลืออีกช้ันก็ถึงแล้ว ความจริงมาถึงตรงจุดนี้ มนั ตอ้ งปึบ๊ ไปแล้ว แตย่ งั ตดิ ลนุ้ ลึก ๆ อยู่ เราอยา่ ไปกงั วล ทำ�น่ิง ๆ เฉย ๆ เดี๋ยวดวง เดี๋ยวองคพ์ ระก็จะมาเอง 49 www.kalyanamitra.org