Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หมวด การสรรหาและโครงสร้างหน่วยงานภายใน

หมวด การสรรหาและโครงสร้างหน่วยงานภายใน

Published by autauttapon08, 2021-07-14 10:33:29

Description: หมวด การสรรหาและโครงสร้างหน่วยงานภายใน (e-book) edit

Search

Read the Text Version

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม NAKHON PATHOM RAJABHAT UNIVERSITY ขอ้ บงั คบั ระเบยี บ ประกาศ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม หมวด การสรรหาและโครงสร้างหน่วยงานภายใน งานกฎหมายและนิตกิ าร

สารบญั หนา้ ข้อบงั คับมหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม ๑ ๔ ๑. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา ๗ ........นายกสภามหาวทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๓ และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเตมิ ๙ ๒. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา ๑๒ ........กรรมการสภาสภามหาวทิ ยาลัยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ พ.ศ. ๒๕๕๓ และท่ีแก้ไขเพมิ่ เตมิ ๑๕ ๓. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มา ๑๙ ........ซึ่งกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั จากผู้ดารงตาแหน่งบรหิ าร พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒๖ ๔. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มา ๓๐ ........ซง่ึ กรรมการสภามหาวิทยาลยั จากคณาจารยป์ ระจา พ.ศ. ๒๕๕๓ และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเตมิ ๕. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคณะกรรมการสภาวิชาการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๓๔ ........และที่แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ๓๘ ๖. ข้อบังคับมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐมว่าดว้ ยคณะกรรมการสง่ เสริมกิจการมหาวทิ ยาลัย ๔๑ ........พ.ศ. ๒๕๖๓ ๗. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยสภาคณาจารย์และข้าราชการ .......พ.ศ. ๒๕๖๑ และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เติม ๘. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการได้มา และคุณสมบัติ ........ของอธกิ ารบดี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๙. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาคณบดี ........พ.ศ. ๒๕๕๔ และทแี่ ก้ไขเพมิ่ เตมิ ๑๐. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการสรรหาผู้อานวยการ ........สถาบัน สานักศูนย์ ส่วนราชการ หรือหน่วยงานที่เรียกช่ืออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า ........คณะ พ.ศ. ๒๕๕๔ และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเติม ๑๑. ข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐมวา่ ด้วยคณะกรรมการประจาคณะ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑๒. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยการบริหารงานและการดาเนินงาน ........คณะพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๒ และทีแ่ ก้ไขเพ่มิ เตมิ

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ ๑๓. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยการบริหารงานและการดาเนินงานสานัก ๔๖ ........คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๕๑ ๑๔. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยการบริหารงานและการดาเนินงานสถาบัน ๕๖ ........ภาษา พ.ศ. ๒๕๕๖ และที่แก้ไขเพมิ่ เติม ๕๘ ๑๕. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคณะกรรมการบริหารงานมหาวิทยาลัย ........ราชภฏั นครปฐม พ.ศ. ๒๕๖๑ ๕๙ ๑๖. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยผู้รักษาการแทนผู้อานวยการสานักงาน ........อธกิ ารบดี พ.ศ. ๒๕๕๖ ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม ๑๗. ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยการแต่งตง้ั ทปี่ รึกษาอธกิ ารบดี พ.ศ. ๒๕๖๑

ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม วา่ ด้วยคณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารสรรหานายกสภามหาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๕๓ และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เติม

๑งานกฎหมายและนติ ิการ ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม ว่าด้วยคณุ สมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารสรรหานายกสภามหาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยทเ่ี ป็นการสมควรปรับปรงุ ข้อบงั คับมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีสรรหานายกสภามหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๗ เพ่ือให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคส่ี และมาตรา ๑๘ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ สภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม ในคราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๓ เม่ือวันท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๓ จึงออกขอ้ บังคบั ไว้ ดงั น้ี ข้อ ๑ ข้อบังคับน้ีเรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีสรรหานายกสภามหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๓” ข้อ ๒ ขอ้ บงั คับนใี้ ห้ใช้บงั คับนบั แตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศเป็นต้นไป ข้อ ๓ ใหย้ กเลิกข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการ สรรหานายกสภามหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๔ ในขอ้ บังคบั น้ี “มหาวทิ ยาลัย” หมายถงึ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม “สภามหาวทิ ยาลัย” หมายถงึ สภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม “อธกิ ารบดี” หมายถึง อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม “คณะกรรมการสรรหา” หมายถงึ คณะกรรมการสรรหานายกสภามหาวทิ ยาลัย “ขา้ ราชการ” หมายถึง ข้าราชการพลเรือนในสถาบนั อดุ มศกึ ษา “ผู้บริหาร” หมายถึง รองอธิการบดี คณบดี ผู้อานวยการสถาบัน ผู้อานวยการสานัก ผู้อานวยการ ศนู ย์ หวั หน้าสว่ นราชการหรือหัวหน้างานท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืนที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ ทั้งท่ีเป็นส่วนราชการและ ส่วนงานตามพระราชบัญญัติการบรหิ ารส่วนงานภายในของสถาบนั อุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ “คณาจารย์ประจา” หมายถึง ข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยตาแหน่งวิชาการใน มหาวิทยาลัย ได้แก่ ตาแหน่งศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และอาจารย์ โดยทาหน้าท่ี สอนและวิจัย หรือทางานที่วิจัยโดยเฉพาะ สังกัดส่วนราชการและส่วนงานตามพระราชบัญญัติการบริหาร สว่ นงานภายในของสถาบนั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๕ คุณสมบตั ิของผ้ดู ารงตาแน่งนายกสภามหาวิทยาลัย มีดังน้ี (๑) เปน็ บุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย (๒) มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม เป็นท่ียอมรับในสังคมและสามารถอทุ ิศตนใหแ้ ก่มหาวทิ ยาลยั (๓) มีความรคู้ วามเชีย่ วชาญวชิ าการด้านใดด้านหน่ึงอนั เปน็ ประโยชนต์ ่อกิจการของมหาวิทยาลยั

๒งานกฎหมายและนติ ิการ (๔) มภี าวะผู้นา และมคี วามสามารถในการบริหารอนั เปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนามหาวทิ ยาลยั (๕) มีวิสัยทัศน์ในการจดั การอุดมศึกษา การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทอ้ งถิ่นและเทคโนโลยสี ารสนเทศ (๖) มสี ถานภาพทางสังคมทเี่ ออ้ื อานวยประโยชนต์ อ่ การดาเนินงานของมหาวทิ ยาลัย ข้อ ๖ ใหอ้ ธกิ ารบดีเสนอสภามหาวิทยาลยั แต่งต้งั คณะกรรมการข้ึนคณะหน่งึ เรียกว่า “คณะกรรมการ สรรหานายกสภามหาวทิ ยาลัย” ประกอบด้วย (๑) ผแู้ ทนกรรมการสภามหาวิทยาลยั ผทู้ รงคุณวุฒิ จานวนหนง่ึ คน เปน็ ประธาน (๒) ผแู้ ทนกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั จากผูบ้ ริหาร จานวนหนงึ่ คน (๓) ผแู้ ทนกรรมการสภามหาวิทยาลยั จากคณาจารย์ประจา จานวนหนงึ่ คน (๔) ผูแ้ ทนคณาจารย์ประจา จานวนหน่งึ คน ซึง่ ดาเนินการเลือกต้งั ตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย (๕) ผู้แทนข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน จานวนหนึ่งคน ซ่ึงดาเนินการ เลอื กตั้งตามประกาศของมหาวิทยาลยั การคดั เลือกกรรมการสรรหา ใหบ้ ุคคลในแตล่ ะกลุ่มคดั เลือกกนั เองภายในกลุม่ ให้เลขานุการสภามหาวิทยาลัยเป็นเลขานุการ และให้ประธานแต่งต้ังผู้ช่วยเลขานุการได้อีก หนง่ึ คน๑ ท้ังนี้ ให้สภามหาวิทยาลัยดาเนินการให้ได้มาซึ่งนายกสภามหาวิทยาลัยภายในเก้าสิบวันนับแต่ วันทน่ี ายกสภามหาวิทยาลัยพ้นจากตาแหนง่ ข้อ ๗ ให้คณะกรรมการสรรหาดาเนินการสรรหาผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๕ จานวนไม่เกินสามช่ือ โดยจัดทาเป็นบัญชีรายช่ือเรียงตามลาดับอักษร พร้อมประวัติข้อมูลรายละเอียดท่ีใช้ประกอบการพิจารณา เสนอตอ่ สภามหาวทิ ยาลยั เพอ่ื พิจารณา ข้อ ๘ ในการประชุมสภามหาวิทยาลัยเพ่ือคัดเลือกสภามหาวิทยาลัย ให้ที่ประชุมประกอบด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยทีไ่ ม่มีนายกสภามหาวิทยาลยั ให้ทีป่ ระชมุ สภามหาวิทยาลยั พิจารณาเลอื กและทาบทามบุคคลตามบัญชีรายช่ือในข้อ ๗ คนหนึ่ง เปน็ นายกสภามหาวทิ ยาลัยโดยเร็วและให้ดาเนินการเพอื่ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้ังต่อไป ข้อ ๙ ในกรณีที่นายกสภามหาวิทยาลัยพ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระให้ดาเนินการสรรหาและ แต่งตั้งผู้ดารงตาแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยแทน โดยนาความในข้อ ๖ ข้อ ๗ และข้อ ๘ มาใช้บังคับ โดยอนโุ ลม เว้นแตว่ าระของนายกสภามหาวทิ ยาลยั เหลืออยนู่ ้อยกวา่ เกา้ สบิ วนั ให้ผูไ้ ดร้ บั แตง่ ต้งั ตามวรรคหน่ึงอยู่ในตาแหน่งเพยี งเทา่ กบั วาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน ข้อ ๑๐ ให้นายกสภามหาวิทยาลัยซึ่งดารงตาแหน่งอยู่ ณ วันที่ข้อบังคับนี้ใช้บังคับ คงดารง ตาแหน่งอย่ตู ่อไปจนครบวาระ ๑ ข้อ ๖ วรรคสาม แก้ไขเพ่ิมเติมโดยข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา นายกสภามหาวิทยาลยั (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗

๓งานกฎหมายและนติ กิ าร ข้อ ๑๑ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือ คาสง่ั เพือ่ ประโยชน์ในการปฏิบตั ติ ามข้อบังคบั นี้ ขอ้ ๑๒ ในกรณที มี่ ปี ญั หาเกย่ี วกับการปฏิบตั ิตามข้อบงั คับนี้ ใหส้ ภามหาวิทยาลยั มีอานาจตีความ และวินิจฉัย ประกาศ ณ วันท่ี ๒๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ นรนติ ิ เศรษฐบุตร (รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม วา่ ดว้ ยคณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารสรรหากรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผู้ทรงคณุ วุฒิ พ.ศ. ๒๕๕๓ และที่แกไ้ ขเพ่ิมเติม

๔งานกฎหมายและนติ กิ าร ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม ว่าดว้ ยคณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารสรรหากรรมการสภามหาวิทยาลยั ผทู้ รงคณุ วุฒิ พ.ศ. ๒๕๕๓ โ ด ย ที่ เ ป็ น ก า ร ส ม ค ว ร ป รั บ ป รุ ง ข้ อ บั ง คั บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ป ฐ ม ว่ า ด้ ว ย คุ ณ ส ม บั ติ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหากรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ พ.ศ. ๒๕๔๗ เพ่ือให้สอดคล้อง กับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคสี่ และ มาตรา ๑๘ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครปฐม พ.ศ. ๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในคราวประชุมครงั้ ที่ ๓/๒๕๕๓ เมอื่ วนั ที่ ๒๗ มนี าคม ๒๕๕๓ จึงออกขอ้ บังคบั ไว้ ดงั น้ี ขอ้ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารสรรหากรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวฒุ ิ พ.ศ. ๒๕๕๓” ขอ้ ๒ ขอ้ บงั คบั นีใ้ ห้ใชบ้ งั คับนบั แตว่ ันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ขอ้ ๓ ใหย้ กเลกิ ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการ สรรหากรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๔ ในข้อบงั คับน้ี “มหาวทิ ยาลยั ” หมายถึง มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม “สภามหาวิทยาลัย” หมายถึง สภามหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม “อธกิ ารบดี” หมายถงึ อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม “ผู้บริหาร” หมายถึง รองอธิการบดี คณบดี ผู้อานวยการสถาบัน ผู้อานวยการสานัก ผู้อานวยการ ศูนย์ หัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้างานท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะ ท้ังที่เป็นส่วนราชการและ ส่วนงานตามพระราชบัญญัติการบริหารส่วนงานภายในของสถาบนั อุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ “คณะกรรมการสรรหา” หมายถงึ คณะกรรมการสรรหากรรมการสภามหาวิทยาลัยผูท้ รงคณุ วุฒิ “ขา้ ราชการ” หมายถงึ ขา้ ราชการพลเรอื นในสถาบนั อุดมศกึ ษา “คณาจารย์ประจา” หมายถึง ข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยตาแหน่งวิชาการในมหาวิทยาลัย ได้แก่ ตาแหน่งศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และอาจารย์ โดยทาหน้าท่ีสอนและวิจัย หรือ ทางานท่ีวิจัยโดยเฉพาะ สังกัดส่วนราการและส่วนงานตามพระราชบัญญัติการบริหารส่วนงานภายในของ สถาบนั อุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ “พื้นท่ีบริการการศึกษา” หมายถึง เขตจังหวัดอันเป็นท่ีต้ังของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม และเขตพนื้ ที่ทมี่ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐมให้บรกิ ารการศึกษา ขอ้ ๕ คุณสมบัติของผู้ดารงตาแหน่งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ มดี งั น้ี (๑) เป็นบุคคลภายนอกมหาวทิ ยาลยั

๕งานกฎหมายและนติ ิการ (๒) มีคณุ ธรรมและจริยธรรม เป็นทย่ี อมรับในสังคมและสามารถอทุ ศิ ตนให้แกม่ หาวิทยาลัย (๓) มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การงบประมาณและการเงิน การบริหารงานบุคคล กฎหมาย การปกครอง ส่วนท้องถ่ิน การศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือด้านอื่น ๆ ตามที่สภามหาวิทยาลัย กาหนด (๔) มีภาวะผ้นู า และมคี วามสามารถในการบริหารอนั เป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นามหาวทิ ยาลยั (๕) มีวิสยั ทัศน์ในการจดั การอุดมศึกษา การศึกษาเพือ่ พัฒนาท้องถิ่นและเทคโนโลยีสารสนเทศ (๖) มสี ถานภาพทางสงั คมทเ่ี อือ้ อานวยประโยชนต์ อ่ การดาเนนิ งานของมหาวทิ ยาลัย ขอ้ ๖ ใหอ้ ธิการบดเี สนอสภามหาวทิ ยาลยั แตง่ ตั้งคณะกรรมการข้นึ คณะหนงึ่ เรยี กว่า “คณะกรรมการ สรรหากรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผูท้ รงคณุ วฒุ ิ” ประกอบดว้ ย (๑) อธิการบดี เป็นประธาน (๒) ผูแ้ ทนกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยจากผบู้ รหิ าร จานวนหนึง่ คน (๓) ผ้แู ทนกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารยป์ ระจา จานวนหนึ่งคน (๔) ผแู้ ทนคณาจารย์ประจา จานวนหนงึ่ คน ซง่ึ ดาเนินการเลือกตง้ั ตามประกาศของมหาวิทยาลยั (๕) ผู้แทนข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน จานวนหน่ึงคน ซ่ึงดาเนินการ เลอื กต้งั ตามประกาศของมหาวิทยาลยั การคัดเลอื กกรรมการสรรหา ใหบ้ ุคคลในแตล่ ะกล่มุ คดั เลอื กกนั เองภายในกลมุ่ ให้เลขานุการสภามหาวิทยาลัยเป็นเลขานุการ และให้ประธานแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการได้อีก หน่ึงคน๑ ทั้งนี้ ให้สภามหาวิทยาลัยดาเนินการให้ได้มาซึ่งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิภายใน เก้าสิบวันนบั แต่วันทกี่ รรมการสภามหาวิทยาลยั ผู้ทรงคุณวฒุ ิพน้ จากตาแหน่ง ข้อ ๗ ให้คณะกรรมการสรรหา มีหน้าที่ดาเนินการสรรหาผู้ท่ีมีคุณสมบัติตามข้อ ๕ จานวน ไม่เกินสองเท่าของจานวนกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิที่ว่างลง โดยให้มีบุคคลในเขตพื้นท่ีบริการ การศึกษาของมหาวิทยาลัยท่ีไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง โดยจัดทาบัญชีรายช่ือเรียงตามลาดับตัวอักษรพร้อมประวัติ ข้อมูลรายละเอียดทีใ่ ชป้ ระกอบการพจิ ารณาเสนอต่อทปี่ ระชุมสภามหาวทิ ยาลยั เพื่อพจิ ารณา ข้อ ๘ ให้ทีป่ ระชมุ สภามหาวิทยาลัยตามองค์ประกอบตามขอ้ ๙ พจิ ารณาเลอื กบุคคลตามบญั ชีรายชื่อ ในข้อ ๗ และทาบทามตามลาดับคะแนนให้ได้จานวนสิบเอ็ดคนหรือเท่ากับจานวนกรรมการสภามหาวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวฒุ ทิ ี่วา่ งลง เสนอรายชื่อเรียงตามลาดับตัวอักษร เพ่ือเป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิโดยเร็ว และดาเนินการเพื่อทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ต้งั ตอ่ ไป ๑ ข้อ ๖ วรรคสาม แก้ไขเพ่ิมเติมโดยข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗

๖งานกฎหมายและนิตกิ าร การพิจารณาคัดเลือกบุคคลตามวรรคหนึ่ง ให้คานึงถึงจานวนผู้ทรงคุณวุฒิในสภามหาวิทยาลัย ทบี่ ุคคลในพ้ืนที่บรกิ ารการศึกษาของมหาวทิ ยาลัยไมน่ ้อยกวา่ ก่ึงหนึ่งดว้ ย ข้อ ๙ ในการประชุมสภามหาวิทยาลัยเพื่อคัดเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ในท่ปี ระชุมประกอบดว้ ย กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยทไี่ มม่ ีกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ข้อ ๑๐ ในกรณีที่กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ ให้ดาเนินการสรรหาและแต่งต้ังผู้ดารงตาแหน่งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิแทน โดยนาความ ในข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๘ และข้อ ๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม เว้นแต่วาระของกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ เหลือน้อยกว่าเกา้ สิบวนั ใหผ้ ้ไู ดร้ ับแตง่ ตัง้ ตามวรรคหนงึ่ อยูใ่ นตาแหน่งเพียงเท่ากับวาระท่ีเหลอื อยู่ของผูซ้ ่ึงแทนตน ข้อ ๑๑ ให้กรรมการมหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งดารงตาแหน่งอยู่ ณ วันท่ีข้อบังคับนี้ใช้บังคับ คงดารงตาแหน่งอยู่ตอ่ ไปจนครบวาระ ข้อ ๑๒ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับน้ี และมีอานาจออกระเบียบ ประกาศหรือ คาส่งั เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัตติ ามข้อบงั คับน้ี ข้อ ๑๓ ในกรณีที่มีปัญหาเก่ียวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับน้ี ให้สภามหาวิทยาลัยมีอานาจ ตคี วามและวินิจฉยั ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๓ นรนิติ เศรษฐบุตร (รองศาสตราจารยน์ รนติ ิ เศรษฐบตุ ร) นายกสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม

ข้อบงั คับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม วา่ ดว้ ยคณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ์ และวิธีการได้มาซึง่ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั จากผดู้ ารงตาแหนง่ บริหาร พ.ศ. ๒๕๕๓

๗งานกฎหมายและนิตกิ าร ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม ว่าด้วยคุณสมบตั ิ หลักเกณฑ์ และวิธีการไดม้ าซึง่ กรรมการสภามหาวิทยาลยั จากผดู้ าํ รงตําแหนง่ บริหาร พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาซึ่งกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้ดํารงตําแหน่งบริหาร พ.ศ. ๒๕๔๗ เพ่ือให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.๒๕๔๗ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคส่ี และมาตรา ๑๘ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓/๒๕๕๓ เม่อื วันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๓ จึงออกข้อบังคับไว้ ดังน้ี ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการไดม้ าซึง่ กรรมการสภามหาวิทยาลยั จากผู้ดํารงตาํ แหน่งบรหิ าร พ.ศ. ๒๕๕๓” ข้อ ๒ ขอ้ บังคบั นใ้ี หใ้ ช้บังคบั นบั แต่วันถดั จากวนั ประกาศเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการ ได้มาซึ่งกรรมการสภามหาวิทยาลยั จากผู้ดํารงตาํ แหนง่ บริหาร พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๔ ในข้อบังคบั น้ี “มหาวทิ ยาลยั ” หมายถงึ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม “สภามหาวิทยาลัย” หมายถึง สภามหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม “นายกสภามหาวิทยาลยั ” หมายถึง นายกสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม “อธกิ ารบดี” หมายถึง อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม “ผบู้ ริหาร” หมายถงึ รองอธิการบดี คณบดี ผอู้ ํานวยการสถาบนั ผอู้ าํ นวยการสํานัก ผู้อํานวยการ ศูนย์ หวั หนา้ สว่ นราชการหรอื หัวหนา้ หน่วยงานที่เรยี กชือ่ อยา่ งอื่นทมี่ ฐี านะเทียบเท่าคณะ ท้ังท่ีเป็นส่วนราชการ และส่วนงานตามพระราชบัญญัตกิ ารบรหิ ารส่วนงานภายในของสถาบนั อดุ มศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๕ คุณสมบัติของกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้ดํารงตําแหน่งบริหาร ต้องเป็นผู้บริหารของ มหาวทิ ยาลัย ข้อ ๖ ให้อธิการบดีเป็นผู้ดําเนินการคัดเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้ดํารงตําแหน่ง บริหาร ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารดังต่อไปนี้ (๑) กรรมการจากผดู้ ํารงตําแหน่งรองอธิการบดี จาํ นวนหนึ่งคน โดยการคดั เลอื กกนั เอง (๒) กรรมการจากผู้ดํารงตําแหนง่ คณบดี จาํ นวนสองคน โดยการคดั เลอื กกนั เอง (๓) กรรมการจากผู้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการ และหัวหน้าส่วนราชการหรือหน่วยงานท่ีเรียกช่ือ อยา่ งอ่นื ทมี่ ฐี านะเทยี บเท่าคณะ จํานวนหนง่ึ คน โดยการคัดเลือกกันเอง

๘งานกฎหมายและนิติการ ข้อ ๗ การคัดเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้ดํารงตําแหน่งบริหารให้ดําเนินการให้ได้มา ซึง่ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยจากผู้ดาํ รงตาํ แหน่งบริหารภายในเกา้ สบิ วนั นับแต่วนั ทีก่ รรมการสภามหาวิทยาลัย จากผูด้ าํ รงตาํ แหนง่ บรหิ ารพน้ จากตาํ แหนง่ กรณีที่มีกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้ดํารงตําแหน่งบริหารพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระ ให้ดําเนินการคัดเลือกแทนตําแหน่งที่ว่าง โดยนําความในข้อ ๕ และข้อ ๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม เว้นแต่วาระ ของกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้ดาํ รงตาํ แหนง่ บริหารที่พ้นจากตําแหน่งนั้นเหลืออยู่น้อยกวา่ เก้าสบิ วนั ให้ผูไ้ ด้รบั แต่งตั้งตามวรรคสองอยู่ในตาํ แหน่งเพยี งเท่ากบั วาระท่ีเหลอื อยู่ของผู้ซึง่ ตนแทน ข้อ ๘ ให้อธิการบดีประกาศผลการคัดเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้ดํารงตําแหน่ง บรหิ ารและนาํ เสนอต่อสภามหาวทิ ยาลยั เพื่อทราบ ขอ้ ๙ การเปน็ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั จากผู้ดํารงตําแหน่งบริหารตามข้อบังคับน้ี มีผลโดยสมบูรณ์ นับแต่วันประกาศผลการคัดเลือก ขอ้ ๑๐ ผดู้ าํ รงตําแหน่งบริหารของมหาวิทยาลัย อาจคัดค้านผลการคัดเลือกภายในเจ็ดวันนับแต่ วนั ประกาศผลการคดั เลือก โดยทาํ หนังสอื เสนอต่อนายกสภามหาวิทยาลัยเพื่อวินจิ ฉยั ข้อ ๑๑ ให้กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้ดํารงตําแหน่งบริหาร ซ่ึงดํารงตําแหน่งอยู่ ณ วันท่ี ข้อบังคบั นี้ใช้บังคบั คงดาํ รงตําแหน่งอยตู่ ่อไปจนครบวาระ ข้อ ๑๒ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอํานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่ง เพ่ือประโยชน์ในการปฏบิ ตั ิตามข้อบงั คับนี้ ข้อ ๑๓ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับน้ี ให้สภามหาวิทยาลัยมีอํานาจตีความ และวนิ ิจฉยั ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ นรนิติ เศรษฐบตุ ร (รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบตุ ร) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม วา่ ดว้ ยคุณสมบตั ิ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารได้มาซงึ่ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั จากคณาจารย์ประจา พ.ศ. ๒๕๕๓ และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม

๙งานกฎหมายและนิตกิ าร ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม ว่าดว้ ยคณุ สมบัติ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารได้มาซ่งึ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั จากคณาจารยป์ ระจา พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาซึ่งกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจา พ.ศ. ๒๕๔๗ เพ่ือให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคสี่ และมาตรา ๑๘ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในคราวประชุมครั้งที่ ๕/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๓ จึงออกขอ้ บังคับไว้ ดงั น้ี ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารได้มาซึง่ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยจากคณาจารยป์ ระจา พ.ศ. ๒๕๕๓” ขอ้ ๒ ข้อบงั คบั นี้ให้ใชบ้ ังคับนบั แตว่ ันถดั จากวันประกาศเปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการ ไดม้ าซึง่ กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจา พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๔ ในข้อบังคับนี้ “มหาวทิ ยาลัย” หมายถงึ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม “สภามหาวิทยาลัย” หมายถงึ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม “นายกสภามหาวทิ ยาลัย” หมายถึง นายกสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม “คณะกรรมการดาเนินการเลือกต้ัง” หมายถึง คณะกรรมการดาเนินการเลือกต้ังกรรมการสภา มหาวทิ ยาลยั จากคณาจารย์ประจา “ขา้ ราชการ” หมายถึง ขา้ ราชการพลเรือนในสถาบนั อุดมศึกษา “คณาจารย์ประจา” หมายถึง ข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยตาแหน่งวิชาการในมหาวิทยาลัย ได้แก่ ตาแหน่งศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และอาจารย์ โดยทาหน้าที่สอนและวิจัย หรือ ทาหน้าที่วิจัยโดยเฉพาะ สังกัดส่วนราชการและส่วนงานตามพระราชบัญญัติการบริหารส่วนงานภายในของ สถาบันอดุ มศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๕ ให้อธิการบดีแต่งตั้งคณะกรรมการข้ึนคณะหน่ึงเรียกว่า “คณะกรรมการดาเนินการ เลอื กต้งั กรรมการสภามหาวิทยาลยั จากคณาจารย์ประจา” ประกอบด้วย (๑) อธิการบดีหรอื รองอธิการบดที ีอ่ ธกิ ารบดีมอบหมาย เป็นประธาน (๒) ตวั แทนคณาจารย์ประจาจากคณะ คณะละหนึง่ คน เปน็ กรรมการ (๓) ผู้อานวยการสานกั งานอธิการบดี เป็นกรรมการและเลขานกุ าร

๑๐งานกฎหมายและนติ ิการ ให้ประธานแตง่ ตั้งผชู้ ่วยเลขานุการได้อกี หนงึ่ คน๑ ข้อ ๖ กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจา จานวนส่ีคน ต้องเป็นกรรมการ สภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจาประเภทข้าราชการอย่างน้อยหน่ึงคน และกรรมการสภามหาวิทยาลัย จากคณาจารย์ประจาประเภทพนักงานมหาวิทยาลัยอย่างน้อยหน่ึงคน เว้นแต่คณาจารย์ประจาประเภทนั้น ไม่มีผูส้ มัคร ข้อ ๗ คณะกรรมการดาเนินการเลือกตั้งมีอานาจหน้าที่เก่ียวกับการเลือกตั้งกรรมการ สภามหาวทิ ยาลยั จากคณาจารย์ประจา ดังนี้ (๑) กาหนดวนั เวลา และสถานท่รี บั สมคั รเลือกตั้ง (๒) กาหนดวัน เวลา และสถานทเ่ี ลือกตัง้ (๓) กาหนดลกั ษณะบตั รเลอื กตง้ั (๔) จัดทาบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และประกาศรายชื่อให้ทราบโดยทั่วกัน ก่อนวันเลือกตั้งไมน่ อ้ ยกวา่ สิบหา้ วัน การทักทว้ งรายชอื่ ผูม้ ีสทิ ธิออกเสียงเลือกต้ัง ใหก้ ระทาไม่น้อยกวา่ เจ็ดวันก่อนวันเลือกต้งั (๕) ดาเนินการรับสมัคร อานวยการเลือกต้ัง โดยวิธีเลือกตั้งทั่วไป แบบลงคะแนนลับและ ดาเนินการตามท่ีกาหนดไว้ในข้อบังคับนี้ กรณีท่ีผู้ได้รับเลือกได้รับคะแนนเท่ากันเกินกว่าจานวนกรรมการ ใหใ้ ช้วธิ จี บั ฉลากเฉพาะผู้ทม่ี ีคะแนนเทา่ กัน (๖) รายงานผลการเลือกตงั้ ต่ออธิการบดี ข้อ ๘ คุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจา มดี งั ตอ่ ไปนี้ (๑) เปน็ คณาจารย์ประจา ทป่ี ฏบิ ตั ิงานในมหาวิทยาลัยไมน่ อ้ ยกวา่ สามปนี บั ถงึ วนั เลอื กตง้ั (๒) เป็นผู้ท่ีมิใช่ผู้ดารงตาแหน่งอธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผู้อานวยการสถาบัน ผู้อานวยการสานัก ผู้อานวยการวิทยาลัย ผู้อานวยการศูนย์ หัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงานท่ี เรียกชื่ออย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะ ทั้งท่ีเป็นส่วนราชการและส่วนงานตามพระราชบัญญัติการบริหาร ส่วนงานภายในของสถาบนั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๙ ผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจาต้องเป็น คณาจารย์ประจา ข้อ ๑๐ ให้ผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง เลือกผู้สมัครแต่ละประเภทไม่เกินสามคน แต่รวมทั้งสอง ประเภทไมเ่ กนิ สีค่ น กรณีประเภทใดประเภทหนึง่ ไม่มีผูส้ มัคร ผู้มสี ทิ ธิออกเสยี งเลอื กตัง้ เลือกผูส้ มัครได้ไมเ่ กินสคี่ น ๑ ข้อ ๕ วรรคสอง เพ่ิมโดยข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาซึ่งกรรมการ สภามหาวทิ ยาลัยจากคณาจารย์ประจา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗

๑๑งานกฎหมายและนิติการ ข้อ ๑๑ การเลือกต้ังกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจา ให้ดาเนินการให้ได้มา ซึ่งกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจาภายในเก้าสิบวันนับแต่วันท่ีกรรมการสภามหาวิทยาลัย จากคณาจารยป์ ระจาพน้ จากตาแหน่ง กรณีกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจาพ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ ให้ดาเนินการ เลอื กตัง้ แทนตาแหน่งทว่ี ่าง โดยนาความในข้อบังคับนใี้ นสว่ นทีเ่ กย่ี วข้องมาใช้บังคับโดยอนุโลม ใหผ้ ู้ได้รบั แตง่ ตง้ั ตามวรรคสอง อยใู่ นตาแหน่งเพยี งเทา่ กบั วาระทเ่ี หลืออยู่ซึง่ ผ้ทู ่ีตนแทน ข้อ ๑๒ ให้อธิการบดีจัดทาประกาศผลการเลือกตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ ประจาและนาเสนอตอ่ สภามหาวิทยาลยั เพื่อทราบ ข้อ ๑๓ การเป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจาตามข้อบังคับนี้ มีผลโดยสมบูรณ์ นบั แต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง ข้อ ๑๔ คณาจารย์ประจาอาจคัดค้านผลการเลือกต้ังภายในเจ็ดวันนับแต่วันประกาศผลการเลือกต้ัง โดยทาเปน็ หนงั สอื เสนอต่อนายกสภามหาวิทยาลัยเพ่ือวนิ ิจฉัย ข้อ ๑๕ ให้กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจาซ่ึงดารงตาแหน่งอยู่ในวันที่ข้อบังคับนี้ ใชบ้ งั คบั คงดารงตาแหน่งอยู่ต่อไปจนครบวาระ ข้อ ๑๖ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคาส่ัง เพือ่ ประโยชน์ในการปฏบิ ตั ิตามข้อบงั คับนี้ ข้อ ๑๗ ในกรณที ี่มีปญั หาเกยี่ วกบั การปฏบิ ัติตามข้อบังคบั น้ี ใหส้ ภามหาวิทยาลัยมีอานาจตีความ และวินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ นรนติ ิ เศรษฐบุตร (รองศาสตราจารย์นรนติ ิ เศรษฐบตุ ร) นายกสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม

ขอ้ บงั คับมหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม ว่าดว้ ยคณะกรรมการสภาวิชาการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และทีแ่ ก้ไขเพ่มิ เติม

๑๒งานกฎหมายและนิตกิ าร ข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม ว่าดว้ ยคณะกรรมการสภาวิชาการ พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยที่เปน็ การสมควรตราข้อบังคับวา่ ด้วยคณะกรรมการสภาวิชาการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๒) และมาตรา ๒๐ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภฏั พ.ศ.๒๕๔๗ สภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม จงึ ตราข้อบังคับไว้ดงั น้ี ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคณะกรรมการสภาวิชาการ พ.ศ. ๒๕๔๗” ขอ้ ๒ ข้อบังคบั นีใ้ ห้ใชบ้ งั คับนบั แต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ขอ้ ๓ ในขอ้ บังคบั น้ี “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม “สภามหาวิทยาลยั ” หมายถึง สภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม “กรรมการสภาวิชาการ” หมายถงึ กรรมการสภาวชิ าการมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม “คณะกรรมการประจําคณะ” หมายถึง คณะกรรมการประจําคณะตามมาตรา ๔๑ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยราชภฏั พ.ศ. ๒๕๔๗ “อธิการบดี” หมายถึง อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม “ผู้บริหาร” หมายถึง อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผู้อํานวยการสถาบัน ผู้อํานวยการสํานัก ผู้อาํ นวยการศูนย์ หัวหน้าของส่วนราชการหรอื หน่วยงานทม่ี ฐี านะเทยี บเทา่ คณะ ตามกฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการ ในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม “คณาจารย์ประจํา”๑ หมายถึง ข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยตําแหน่งวิชาการในมหาวิทยาลัย ได้แก่ ตําแหน่งศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และอาจารย์ โดยทําหน้าท่ีสอนและวิจัย หรือทําหน้าท่ีวิจัย โดยเฉพาะ ข้อ ๔ ผู้ดํารงตําแหน่งกรรมการสภาวิชาการท่ีคณาจารย์ประจําเลือกจากผู้บริหาร หรือคณาจารย์ ประจาํ คณะ ตอ้ งมีคณุ สมบัติ ดงั นี้ (๑) เป็นคณาจารยป์ ระจาํ คณะน้นั (๒) มีตําแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ํากว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์หรือสําเร็จการศึกษาปริญญาเอกหรือ เทียบเทา่ จากมหาวิทยาลัยหรอื สถาบันอุดมศึกษาอนื่ ทส่ี ภามหาวทิ ยาลัยรบั รอง ๑ ข้อ ๓ นิยามคําว่า “คณาจารย์ประจํา” แก้ไขเพ่ิมเติมโดยข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคณะกรรมการสภาวิชาการ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕

๑๓งานกฎหมายและนติ กิ าร (๓) เป็นผู้นําทางวิชาการ มีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ําเสมอ และมีผลงานทางวิชาการเป็นท่ี ยอมรบั ท่ัวไป ข้อ ๕ ผู้ดาํ รงตาํ แหนง่ กรรมการสภาวิชาการจากผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอก ต้องมคี ณุ สมบัติ ดังน้ี (๑) มีตําแหน่งทางวิชาการไม่ตํ่ากว่ารองศาสตราจารย์หรือสําเร็จการศึกษาปริญญาเอกหรือ เทยี บเท่าจากมหาวิทยาลยั หรือสถาบันอุดมศึกษาอืน่ ท่ีสภามหาวิทยาลยั รบั รอง (๒) เป็นผู้นําทางวิชาการ มีการพัฒนาตนเองอย่างสมํ่าเสมอ และมีผลงานทางวิชาการเป็นที่ ยอมรับท่วั ไป ข้อ ๖ ใหค้ ณบดเี รยี กประชุมคณาจารย์ประจําของคณะเพ่ือคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ และ ข้อ ๕ ในคราวเดียวกนั ข้อ ๗ หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกกรรมการสภาวิชาการจากผู้บริหารหรือคณาจารย์ประจํา คณะ ใหม้ ขี ัน้ ตอนและวิธีการดงั น้ี (๑) ให้คณะกรรมการประจําคณะ ดําเนินการคัดเลือกกรรมการสภาวิชาการของคณะ โดยจัดทํา ประกาศ และกาํ หนดรายช่อื ผู้บรหิ ารหรอื คณาจารยป์ ระจําคณะท่มี คี ุณสมบัติตามข้อ ๔ (๑) และข้อ ๔ (๒) (๒) ให้ผู้บริหารหรือคณาจารย์ประจําคณะท่ีมีรายชื่อตาม (๑) เสนอตัว หรือให้คณาจารย์ประจํา ที่เขา้ ร่วมประชุมเสนอชอ่ื บุคคลทมี่ ีรายชือ่ ตามประกาศ (๑) เพ่อื เปน็ กรรมการสภาวิชาการ (๓) ให้คณาจารย์ประจําคณะ ท่ีเข้าร่วมประชุมคัดเลือกผู้บริหารหรือคณาจารย์ประจําคณะ ในขอ้ (๒) ทใ่ี หค้ วามยินยอม โดยวิธีการหยอ่ นบตั รคนละหน่ึงรายชอื่ (๔) ใหบ้ ุคคลผไู้ ด้รบั การเสนอชือ่ ที่ไดร้ บั คะแนนสูงสุดหนงึ่ คนเป็นกรรมการสภาวิชาการ ในกรณีท่ี คะแนนสงู สดุ เท่ากนั หลายคนให้คณะกรรมการดําเนินการคัดเลอื กใหม่ เฉพาะบคุ คลทมี่ ีคะแนนเท่ากนั ข้อ ๘ หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกกรรมการสภาวิชาการจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ให้มี ข้นั ตอนและวิธกี ารดงั น้ี (๑) ให้คณาจารย์ประจําคณะที่เข้าประชุมเสนอช่ือบุคคลที่มีคุณสมบัติในข้อ ๕ เพ่ือเป็น กรรมการสภาวชิ าการ (๒) ให้คณาจารย์ประจําคณะท่ีเข้าประชุมคัดเลือกบุคคลท่ีมีรายช่ือใน (๑) โดยการหย่อนบัตร คนละหน่ึงรายชื่อ (๓) ให้แต่ละคณะเสนอรายชื่อบุคคลในข้อ (๒) ท่ีได้รับคะแนนสูงสุดจํานวนสองคนต่อ สภามหาวทิ ยาลยั เพือ่ พิจารณา ข้อ ๙ ให้สภามหาวิทยาลัยแต่งต้ังกรรมการสภาวิชาการจากบุคคลในข้อ ๗ (๔) และพิจารณา คัดเลือกบุคคลในข้อ ๗ (๓) จากคณะต่าง ๆ ให้เหลือจํานวนเท่ากับกรรมการสภาวิชาการจากผู้บริหารหรือ คณาจารย์ประจาํ ดําเนินการทาบทามและแตง่ ต้ังเป็นกรรมการสภาวชิ าการ

๑๔งานกฎหมายและนติ กิ าร ข้อ ๑๐ ให้สภาวิชาการแต่งตั้งรองอธิการบดีคนหน่ึงเป็นกรรมการและเลขานุการสภาวิชาการ โดยคําแนะนาํ ของอธิการบดี ข้อ ๑๑ ในกรณีท่ีกรรมการสภาวิชาการของคณะใดพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระ ให้คณะกรรมการ ประจําคณะนั้น ดําเนินการคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่งกรรมการสภาวิชาการแทน โดยนําความในข้อ ๕ และ ข้อ ๖ มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม เว้นแต่วาระของกรรมการสภาวชิ าการทีพ่ ้นจากตําแหน่งนน้ั เหลืออยนู่ ้อยกว่าเก้าสิบวัน ผไู้ ดร้ ับการคดั เลอื กตามวรรคหนึง่ อยใู่ นตาํ แหนง่ เทา่ กับวาระท่ีเหลืออยู่ของผซู้ ่งึ ตนแทน ข้อ ๑๒ การประชุมสภาวิชาการให้นําข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยการประชุม สภามหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๗ มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลมตามความจําเป็นและเหมาะสม ข้อ ๑๓ ใหส้ ภาวชิ าการมกี ารประชมุ อยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละสองครง้ั ข้อ ๑๔ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอํานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคําส่ัง เพอ่ื ประโยชน์ในการปฏิบตั ิตามข้อบงั คับนี้ ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ปุระชยั เป่ียมสมบรู ณ์ (ศาสตราจารย์ปุระชัย เปยี่ มสมบูรณ์) นายกสภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม วา่ ดว้ ยคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๖๓

๑๕งานกฎหมายและนิตกิ าร ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วา่ ด้วยคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคณะกรรมการ ส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เพ่ือให้เหมาะสมกับกาลปัจจุบัน และเพ่ือให้การดําเนินงานของคณะกรรมการ ส่งเสรมิ กจิ การมหาวิทยาลยั เป็นไปอย่างต่อเน่ืองและมีประสิทธิภาพ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๒) และมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในคราวประชมุ ครัง้ ท่ี ๖/๒๕๖๓ เม่อื วนั ท่ี ๒๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๓ จงึ ออกขอ้ บงั คบั ไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ข้อบงั คบั นเ้ี รยี กว่า “ขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคณะกรรมการส่งเสริม กจิ การมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๖๓” ขอ้ ๒ ขอ้ บังคบั นใ้ี หใ้ ช้บังคบั ตง้ั แต่วนั ถดั จากวันประกาศเปน็ ต้นไป ขอ้ ๓ ใหย้ กเลิก (๑) ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๗ (๒) ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ (๓) ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคําส่ังอ่ืนใดซึ่งขัดหรือแย้งกับข้อบังคับน้ีให้ใช้ข้อบังคับ นี้แทน ขอ้ ๔ ในข้อบังคบั นี้ “มหาวทิ ยาลยั ” หมายความว่า มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม “สภามหาวทิ ยาลัย” หมายความวา่ สภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม “อธกิ ารบดี” หมายความวา่ อธิการบดมี หาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการสง่ เสรมิ กิจการมหาวิทยาลัย “คณะกรรมการสรรหา” หมายความว่า คณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวิทยาลัย “เขตพ้ืนที่บริการการศึกษา” หมายความว่า เขตจังหวัดอันเป็นท่ีต้ังของมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐมและเขตพ้นื ทที่ ่มี หาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐมให้บริการการศึกษา

๑๖งานกฎหมายและนิตกิ าร ขอ้ ๕ คณะกรรมการสง่ เสริมกิจการมหาวิทยาลัย ประกอบดว้ ย (๑) ประธานกรรมการ ซงึ่ เปน็ ผ้ทู รงคุณวฒุ ภิ ายนอกมหาวทิ ยาลัย (๒) ประธานสภานักศึกษา (๓) นายกองค์การนกั ศกึ ษา (๔) กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ภิ ายนอกมหาวิทยาลัย จํานวนไม่เกินสิบสองคน ในจํานวนนี้ให้แต่งตั้ง จากบุคคลในเขตพน้ื ทีบ่ ริการการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ไมน่ อ้ ยกวา่ ก่ึงหนึง่ ให้กรรมการตาม (๑) ถึง (๔) เลือกกรรมการตาม (๔) หน่ึงคนทําหน้าที่รองประธานกรรมการ ในกรณีท่ีตําแหน่งประธานกรรมการว่างลงหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้รองประธานกรรมการปฏิบัติหน้าท่ี แทน ในกรณีท่ีตําแหน่งประธานกรรมการและรองประธานกรรมการว่างลงและไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ใหก้ รรมการตาม (๔) เลือกกรรมการตาม (๔) หนง่ึ คนเพอื่ ทาํ หนา้ ท่ีเปน็ ประธานกรรมการ ให้อธิการบดีแต่งตั้งรองอธิการบดีคนหนึ่งเป็นเลขานุการ และอาจแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการได้ ไม่เกนิ สองคน กรรมการตาม (๔) จะดํารงตําแหน่งกรรมการสภามหาวิทยาลัย หรือกรรมการสภาวิชาการ ในคราวเดยี วกนั มิได้ ขอ้ ๖ ประธานกรรมการ และกรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ติ ้องมคี ณุ สมบัติ ดังน้ี (๑) มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี กฎหมาย การงบประมาณและการเงิน การบริหารงานบุคคล การปกครองส่วนท้องถิ่น การศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม และดา้ นอ่ืน ๆ ตามทสี่ ภามหาวทิ ยาลยั เห็นสมควร (๒) มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม (๓) มีความสนใจและเห็นความสําคัญของการศึกษาในระดับอุดมศึกษาหรือการศึกษา เพอื่ พฒั นาทอ้ งถิ่น หรือเทคโนโลยสี ารสนเทศ (๔) มีความสนใจเกยี่ วกับความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับประชาชน (๕) มศี กั ยภาพในการสนับสนุนการดาํ เนนิ กิจการของมหาวิทยาลยั (๖) สามารถอทุ ศิ เวลาใหแ้ ก่กจิ การของมหาวทิ ยาลยั ตามสมควรแกต่ ําแหน่งหนา้ ท่ี ข้อ ๗ คณะกรรมการตามข้อ ๕ (๑) และ (๔) มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี และ อาจได้รบั แตง่ ตงั้ ใหม่ได้ กรรมการตามข้อ ๕ นอกจากพน้ ตาํ แหนง่ ตามวาระแลว้ อาจพ้นตาํ แหน่งในกรณี ดงั ต่อไปน้ี (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติในการเป็นกรรมการในประเภทน้นั ๆ (๔) ถูกจาํ คกุ โดยคําพิพากษาถงึ ทสี่ ุดใหจ้ าํ คุก

๑๗งานกฎหมายและนิติการ (๕) สภามหาวิทยาลัยให้ออกเพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือบกพร่องต่อหน้าที่ หรือ หย่อนความสามารถ ซ่ึงมีคะแนนเสียงลงมติไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนกรรมการสภามหาวิทยาลัย เท่าทม่ี ีอยู่ โดยให้ลงมติลับ (๖) เป็นบคุ คลลม้ ละลาย (๗) เปน็ บคุ คลไร้ความสามารถหรอื บุคคลเสมือนไร้ความสามารถ (๘) ถูกลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง หรือถูกสั่งให้ออกเพราะมีมลทินหรือมัวหมอง ในกรณีที่ถูก สอบสวนทางวินัยอยา่ งร้ายแรง กรณีคณะกรรมการตามข้อ ๕ พ้นจากตําแหน่งตามวาระ ให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะได้มี คณะกรรมการใหม่ กรณีท่ีประธานกรรมการตามข้อ ๕ (๑) หรือกรรมการตามข้อ ๕ (๔) พ้นจากตําแหน่งก่อนครบ วาระ ใหด้ ําเนินการสรรหาและแตง่ ตงั้ ผู้ดํารงตาํ แหน่งประธานกรรมการข้อ ๕ (๑) หรือกรรมการตามข้อ ๕ (๔) แล้วแต่กรณี แทนตําแหน่งท่ีว่างโดยนําความในข้อ ๙ และข้อ ๑๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม และให้ผู้นั้นอยู่ใน ตําแหน่งเพียงเท่ากับวาระท่ีเหลืออยู่ของผู้ซ่ึงตนแทน เว้นแต่วาระของกรรมการตามข้อ ๕ (๑) หรือกรรมการ ตามข้อ ๕ (๔) ที่พ้นจากตําแหน่งน้ันเหลืออยู่น้อยกว่าเก้าสิบวัน จะไม่ดําเนินการให้มีผู้ดํารงตําแหน่งแทนก็ได้ ใหค้ ณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเท่าที่มีอยู่ปฏิบัตหิ น้าที่ต่อไปได้ ขอ้ ๘ คณะกรรมการตามข้อ ๕ มอี ํานาจและหนา้ ท่ี ดังน้ี (๑) ส่งเสริม สนับสนุน ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่มหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาแนวทางการ ดาํ เนินงานของมหาวิทยาลยั (๒) เสนอความเหน็ เกี่ยวกับนโยบายและแผนพฒั นาการจดั การอุดมศกึ ษาเพ่ือการพฒั นาทอ้ งถิน่ (๓) ส่งเสรมิ ใหม้ ที นุ การศกึ ษาแกน่ ักศึกษาทข่ี าดแคลนทนุ ทรพั ย์ ใหม้ โี อกาสศกึ ษาในมหาวิทยาลัย อนั เป็นการสนับสนนุ ความเสมอภาคในโอกาสทางการศกึ ษา (๔) ส่งเสริม สนับสนนุ การสรา้ งสัมพนั ธภาพและการเรยี นรรู้ ะหวา่ งมหาวทิ ยาลัยกบั ประชาชน ขอ้ ๙ การสรรหาประธานกรรมการตามขอ้ ๕ (๑) และกรรมการตามข้อ ๕ (๔) ให้สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้ง คณะกรรมการขึน้ คณะหนงึ่ เรยี กวา่ “คณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการส่งเสริม กจิ การมหาวิทยาลยั ” ประกอบด้วย (๑) อธกิ ารบดี เปน็ ประธาน (๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผทู้ รงคณุ วฒุ ิซงึ่ เลอื กกันเองจาํ นวนหน่ึงคน เป็นกรรมการ (๓) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผ้แู ทนผูบ้ ริหารซ่ึงเลอื กกนั เอง จํานวนหนึง่ คน เป็นกรรมการ (๔) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจําซ่งึ เลือกกันเองจํานวนหนึ่งคน เป็นกรรมการ (๕) ประธานสภาคณาจารย์และข้าราชการ เป็นกรรมการ ให้ผู้อํานวยการกองกลางเปน็ เลขานกุ าร และประธานอาจแตง่ ตงั้ ผูช้ ่วยเลขานกุ ารได้อีกหนึง่ คน

๑๘งานกฎหมายและนิติการ การแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาตามวรรคหนึ่ง ให้ดําเนินการภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่า หกสบิ วนั กอ่ นทค่ี ณะกรรมการตามข้อ ๕ (๑) และ (๔) ครบวาระ หรือไม่เกินสามสิบวันหลังจากคณะกรรมการ ตามข้อ ๕ (๑) และ (๔) พน้ จากตําแหนง่ ก่อนครบวาระ แลว้ แต่กรณี ข้อ ๑๐ คณะกรรมการสรรหามีอํานาจและหนา้ ที่ ดาํ เนนิ การสรรหา ทาบทาม และประสานงาน บุคคล เพื่อให้ได้มาซ่ึงประธานกรรมการตามข้อ ๕ (๑) และกรรมการตามข้อ ๕ (๔) พร้อมประวัติและผลงาน ต่อสภามหาวิทยาลยั พิจารณาให้ความเหน็ ชอบและแต่งต้งั เป็นกรรมการ ข้อ ๑๑ การประชุมคณะกรรมการ ให้นําข้อบังคับว่าด้วยการประชุมสภามหาวิทยาลัย มาใช้บังคบั โดยอนุโลม ตามความจําเป็นและเหมาะสม ข้อ ๑๒ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอํานาจออกประกาศ หรือคําส่ัง เพอื่ ประโยชนใ์ นการปฏิบตั ิตามขอ้ บงั คับนี้ ในกรณีท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับนี้ ให้อธิการบดีมีอํานาจตีความและวินิจฉัย ชขี้ าด คาํ วินจิ ฉัยใหถ้ ือเปน็ ที่สุด บทเฉพาะกาล ขอ้ ๑๓ ใหค้ ณะกรรมการสง่ เสรมิ กิจการมหาวทิ ยาลยั ท่ดี าํ รงตาํ แหน่งตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม อย่ใู นปัจจบุ ัน ปฏบิ ัติหน้าทีต่ ่อไปจนกวา่ จะครบวาระ และจนกวา่ จะได้มาซึ่งคณะกรรมการชุดใหม่ ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ วฒุ สิ าร ตนั ไชย (ศาสตราจารยว์ ุฒิสาร ตนั ไชย) อุปนายกสภามหาวิทยาลัย ทําหนา้ ทแ่ี ทน นายกสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม

ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม วา่ ด้วยสภาคณาจารยแ์ ละข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๖๑ และท่แี กไ้ ขเพิม่ เติม

๑๙งานกฎหมายและนิติการ ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม ว่าด้วยสภาคณาจารย์และขา้ ราชการ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยสภาคณาจารย์และ ข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๒) และมาตรา ๒๓ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัย ในคราวประชมุ คร้งั ที่ ๒/๒๕๖๑ เมอ่ื วนั ท่ี ๓ มนี าคม ๒๕๖๑ จึงออกข้อบังคบั ไว้ ดงั น้ี ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยสภาคณาจารย์และ ขา้ ราชการ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๒ ขอ้ บงั คบั นใ้ี หใ้ ชบ้ ังคับตัง้ แตว่ ันถัดจากวนั ประกาศเป็นต้นไป ขอ้ ๓ ให้ยกเลกิ (๑) ข้อบงั คับมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐมว่าดว้ ยสภาคณาจารย์และขา้ ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ (๒) ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยสภาคณาจารย์และข้าราชการ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคําส่ังอ่ืนใดท่ีขัดหรือแย้งกับข้อบังคับน้ี ให้ใช้ข้อบังคับ นี้แทน ขอ้ ๔ ในขอ้ บงั คบั น้ี “มหาวทิ ยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม “สภาคณาจารย์และข้าราชการ” หมายความว่า สภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม “ประธาน” หมายความวา่ ประธานสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการสภาคณาจารย์และขา้ ราชการมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม “คณาจารย์ประจํา” หมายความว่า ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา และพนักงาน มหาวิทยาลัยสายวิชาการ โดยดํารงตําแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ หรือศาสตราจารย์ สงั กัดมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม “ข้าราชการ” หมายความว่า ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตําแหน่งประเภทวิชาชีพ เฉพาะหรือเชย่ี วชาญเฉพาะ และให้หมายความรวมถึงพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน สังกัดมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครปฐม “คณะกรรมการการเลือกต้ัง” หมายความว่า คณะกรรมการการเลือกตั้งสภาคณาจารย์และ ข้าราชการของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม

๒๐งานกฎหมายและนิติการ “ตําแหน่งประเภทผู้บรหิ าร” หมายความวา่ อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผู้อํานวยการ สถาบัน ผู้อํานวยการสํานัก ผู้อํานวยการศูนย์ หัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงานท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนที่มีฐานะ เทียบเท่าคณะ ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี ผู้อํานวยการกอง หรือหัวหน้าหน่วยงานท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืนที่มีฐานะเทียบเท่ากอง รองคณบดี รองผู้อํานวยการสถาบัน รองผู้อํานวยการสํานัก รองผู้อํานวยการศูนย์ รองหัวหน้าส่วนราชการหรือ รองหัวหนา้ หน่วยงานท่ีเรียกชื่ออยา่ งอื่นที่มีฐานะเทยี บเท่าคณะ และตาํ แหนง่ อืน่ ตามที่ ก.พ.อ. กาํ หนด ข้อ ๕ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับน้ี และมีอํานาจออกประกาศ หรือคําสั่ง เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อบงั คับนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับน้ี ให้อธิการบดีมีอํานาจตีความ วินิจฉัยช้ีขาด และใหถ้ อื เปน็ ท่ีสดุ หมวด ๑ องค์ประกอบ จํานวน และคุณสมบัติ ข้อ ๖ สภาคณาจารย์และขา้ ราชการ ประกอบด้วย (๑) ประธาน ซึง่ มาจากกรรมการตาม (๒) และ (๓) โดยการคัดเลือกกนั เอง (๒) กรรมการประเภทคณาจารย์ประจํา จํานวน ๑๒ คน โดยให้เป็นตัวแทนคณาจารย์จากคณะ ต่าง ๆ คณะละไม่เกิน ๑ คน และตัวแทนคณาจารย์จํานวนที่เหลือให้ได้มาโดยการเลือกตั้งท่ัวไปจากคณาจารย์ ประจาํ (๓) กรรมการประเภทขา้ ราชการ ซ่ึงมาจากการเลอื กตงั้ โดยทั่วไปจากข้าราชการ จาํ นวน ๓ คน ในกรณีที่มีผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นกรรมการตาม (๒) หรือ (๓) รวมกันมีจํานวนน้อยกว่าหรือเท่ากับ จํานวนกรรมการตาม (๒) หรือ (๓) ให้กรรมการตาม (๒) หรือ (๓) ประกอบด้วยกรรมการเท่ากับจํานวนท่ีมี ผู้สมคั รโดยไมต่ ้องมีการเลือกต้ังแล้วแต่กรณี ข้อ ๗ ผดู้ าํ รงตาํ แหน่งประธาน ต้องมคี ณุ สมบัติ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เป็นคณาจารย์ประจาํ หรอื ขา้ ราชการในสังกดั มหาวทิ ยาลัย (๒) ได้ทําการสอนหรือมีประสบการณ์ทางการบริหารหรือปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยมาแล้ว ไม่น้อยกว่าห้าปี (๓) ตอ้ งไมเ่ ป็นผู้ดาํ รงตําแหนง่ ประเภทผบู้ ริหารในมหาวิทยาลัย (๔) ตอ้ งไม่เคยถกู ลงโทษทางวินยั เว้นแต่โทษภาคทัณฑ์ (๕) ตอ้ งไม่อยู่ในระหว่างลาศกึ ษาต่อแบบเต็มเวลา ข้อ ๘ ผ้ดู าํ รงตาํ แหนง่ กรรมการ ต้องมีคณุ สมบตั ิ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) เป็นคณาจารย์ประจํา หรือขา้ ราชการในสังกัดมหาวิทยาลัย

๒๑งานกฎหมายและนิตกิ าร (๒) ได้ทาํ การสอนหรือปฏบิ ัตงิ านในมหาวิทยาลัยมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ สามปี (๓) ตอ้ งไมเ่ ปน็ ผู้ดํารงตาํ แหนง่ ประเภทผูบ้ ริหารในมหาวทิ ยาลัย (๔) ตอ้ งไมเ่ คยถกู ลงโทษทางวินยั เว้นแต่โทษภาคทณั ฑ์ (๕) ตอ้ งไมอ่ ยู่ในระหวา่ งลาศึกษาต่อแบบเตม็ เวลา หมวด ๒ หลกั เกณฑ์ วิธกี ารไดม้ า วาระการดํารงตําแหนง่ และการพ้นจากตาํ แหนง่ ข้อ ๙ ให้อธิการบดีแต่งต้ังคณะกรรมการข้ึนคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการการเลือกตั้ง สภาคณาจารย์และข้าราชการ” จํานวนไม่น้อยกว่าห้าคน โดยมีรองอธิการบดีที่อธิการบดีมอบหมาย เป็นประธาน กรรมการ ขอ้ ๑๐ คณะกรรมการการเลือกตั้ง มอี าํ นาจและหน้าที่ ดังต่อไปน้ี (๑) ดาํ เนนิ การเลือกต้ังคณะกรรมการทุกประเภท (๒) ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงและผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง กําหนดวัน เวลา และ สถานท่ี สาํ หรับการรบั สมคั ร การเลอื กตั้ง และการนับคะแนน (๓) กาํ หนดแบบฟอรม์ การสมัครและบตั รเลือกต้งั (๔) ตรวจสอบคณุ สมบัตผิ ู้สมัครรบั เลือกตง้ั (๕) กํากบั ดแู ล ดําเนนิ การ และวนิ จิ ฉยั ชี้ขาดปญั หาที่เกดิ จากการเลอื กตงั้ (๖) แตง่ ตงั้ คณะอนุกรรมการเพื่อดาํ เนนิ การตา่ ง ๆ ตามท่ีจําเปน็ (๗) ปฏิบตั ิการอืน่ ใดเพ่อื ใหก้ ารเลือกต้งั เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย ข้อ ๑๑ การเลอื กต้ังสภาคณาจารย์และขา้ ราชการทกุ ประเภท ให้ดําเนนิ การตามหลักเกณฑ์และ วิธกี าร ดงั ต่อไปนี้ (๑) การรับสมัครเลือกตั้ง การตรวจสอบคุณสมบัติ การอํานวยการเลือกต้ัง รายช่ือผู้มีสิทธิ ออกเสียง รายช่ือผู้มีสิทธิได้รับการเลือกตั้ง การออกเสียงเลือกต้ัง และการตรวจนับคะแนน ให้คณะกรรมการ การเลือกตั้งเป็นผู้กําหนดและประกาศภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการ การเลอื กตงั้ (๒) ผู้มีสิทธิออกเสียงและผู้มีสิทธิรับเลือกตั้งตามข้อบังคับนี้ได้แก่ คณาจารย์ประจํา ข้าราชการ ที่มิใช่ผู้ดํารงตําแหน่งประเภทผู้บริหาร กรณีคณาจารย์ประจํา ข้าราชการ ได้รับคําสั่งให้ไปราชการให้ คณะกรรมการการเลอื กต้ังดําเนนิ การใหใ้ ชส้ ทิ ธเิ ลือกตั้งกอ่ น (๓) การออกเสยี งเลือกตัง้ ใหใ้ ชว้ ธิ ีการเลอื กตงั้ โดยตรงและลับ

๒๒งานกฎหมายและนิตกิ าร (๔) การนับคะแนนให้กระทําโดยเปิดเผยและทันทีเม่ือสิ้นสุดการลงคะแนน โดยนําบัตรเลือกต้ัง มานับรวมกันท่ีหน่วยกลางตามท่ีคณะกรรมการการเลือกตั้งกําหนด โดยเรียงลําดับคะแนนของผู้สมัคร รบั เลอื กตั้งจากมากไปน้อย (๕) ให้ผู้ท่ีได้รับคะแนนสูงสุดเรียงตามลําดับจากผู้ที่ได้รับเลือกตามจํานวนกรรมการที่กําหนด เป็นสภาคณาจารย์และข้าราชการ ส่วนผู้สมัครที่เหลือให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดทําบัญชีรายช่ือสํารอง แยกประเภทตามทีม่ าของกรรมการประเภทนั้น ๆ โดยมีวาระเทา่ กบั ระยะเวลาที่เหลืออยูข่ องกรรมการชุดน้นั (๖) ใหป้ ระธานกรรมการการเลือกต้งั ประกาศผลการเลือกตั้งโดยเร็ว ข้อ ๑๒ ให้ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรียกผู้ได้รับการเลือกต้ังตามข้อ ๖ (๒) และ (๓) ประชุม เพื่อเลือกประธาน รองประธาน จํานวน ๑ คน โดยให้ประธานเลือกกรรมการอีกคนหน่ึง เป็นเลขานุการ เสนออธกิ ารบดี เพอ่ื ประกาศแต่งต้ังสภาคณาจารยแ์ ละข้าราชการ ประธานอาจแต่งตง้ั ผชู้ ว่ ยเลขานุการไดจ้ ํานวนไม่เกินสองคน กรณีท่ปี ระธานกรรมการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้หรือไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งประธานกรรมการให้รอง ประธานกรรมการปฏบิ ตั ิหนา้ ทีแ่ ทน๑ ขอ้ ๑๓ เมื่อมีประธาน รองประธาน กรรมการ และเลขานุการ ครบตามที่กําหนดในข้อ ๖ แล้ว ให้อธกิ ารบดปี ระกาศแต่งตง้ั สภาคณาจารย์และขา้ ราชการโดยเรว็ และนําเสนอต่อสภามหาวทิ ยาลยั เพ่ือทราบ ข้อ ๑๔ ประธานและกรรมการตามข้อบังคับน้ี มีผลโดยสมบูรณ์นับแต่วันที่กรรมการชุดเดิม ครบวาระหรือวันที่อธกิ ารบดปี ระกาศแตง่ ตัง้ สภาคณาจารย์และขา้ ราชการ ตามขอ้ ๑๒ แล้วแต่กรณี ข้อ ๑๕ ประธานและกรรมการมีวาระดํารงตําแหน่งคราวละสามปี และอาจได้รับเลือกตั้งอีกได้ แต่จะดาํ รงตําแหนง่ เกนิ สองวาระติดต่อกันมิได้ นอกจากการพ้นตําแหน่งตามวาระในวรรคหนึ่งแล้ว ประธานและกรรมการอาจพ้นจากตําแหน่ง เมือ่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ถกู ลงโทษทางวนิ ัยอย่างรา้ ยแรง (๔) ถูกจําคกุ โดยคําพพิ ากษาถงึ ที่สดุ ใหจ้ าํ คุก (๕) เป็นบุคคลล้มละลาย (๖) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมอื นไรค้ วามสามารถ (๗) พ้นจากการเป็นคณาจารยป์ ระจําหรือขา้ ราชการในสังกัดมหาวทิ ยาลัย (๘) สภาคณาจารย์และข้าราชการโดยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนกรรมการ เท่าทีม่ อี ยู่ มมี ตใิ ห้ออก เพราะมคี วามประพฤติเสอื่ มเสยี บกพร่องต่อหน้าที่ หรือหยอ่ นความสามารถ ๑ ข้อ ๑๒ วรรคสาม เพิ่มโดยขอ้ บังคบั มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐมว่าดว้ ยสภาคณาจารย์และขา้ ราชการ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๓งานกฎหมายและนิติการ (๙) ขาดการประชมุ ติดตอ่ กนั สามครั้งโดยไม่แจง้ ใหป้ ระธานทราบเป็นลายลกั ษณ์อักษร (๑๐) ไดร้ ับแตง่ ตั้งเป็นผู้ดํารงตาํ แหนง่ ประเภทผ้บู รหิ าร (๑๑) ถูกถอดถอนจากการเป็นกรรมการตามข้อ ๒๒ (๑๒) ขาดคณุ สมบัตขิ องการเป็นประธาน หรือกรรมการ ข้อ ๑๖ ในกรณีท่ีประธานหรือกรรมการพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระ ให้อธิการบดีประกาศ ให้ผู้ท่ีได้รับเลือกในประเภทเดียวกันกับผู้ที่พ้นจากตําแหน่งจากบัญชีรายชื่อสํารองตามข้อ ๑๑ (๕) ในลําดับ ถัดไปเข้าดํารงตําแหน่งแทน หากไม่มีผู้ได้รับเลือกในลําดับถัดไป ให้ดําเนินการเลือกตั้งซ่อมภายในเก้าสิบวัน นับแต่วันท่ีประธานหรือกรรมการผู้น้ันพ้นจากตําแหน่ง เว้นแต่วาระการดํารงตําแหน่งของประธานหรือ กรรมการจะเหลืออยู่น้อยกว่าเกา้ สิบวนั ให้ผู้เข้าดํารงตําแหน่งประธานหรือกรรมการตามวรรคหนึ่งอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ ของผู้ซึ่งตนแทน ในกรณีท่ีกรรมการพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระ ให้สภาคณาจารย์และข้าราชการ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการเทา่ ทมี่ อี ย่ปู ฏิบตั หิ นา้ ทตี่ ่อไปได้ ในกรณที ่ปี ระธานพ้นจากตาํ แหน่งกอ่ นครบวาระ ให้ดาํ เนินการตามข้อ ๖ (๑) ข้อ ๑๗ ในกรณีที่ประธานและกรรมการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ให้มหาวิทยาลัยดําเนินการ เลอื กตง้ั ให้แล้วเสร็จภายในหกสบิ วนั ก่อนครบวาระ ในกรณีมหาวิทยาลัยดําเนินการเลือกต้ังยังไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ใหป้ ระธานและกรรมการซ่งึ พน้ จากตาํ แหนง่ ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีต่ ่อไปจนกวา่ จะไดม้ ปี ระธานและกรรมการใหม่ หมวด ๓ การดําเนนิ งานและการประชมุ ข้อ ๑๘ ให้สภาคณาจารย์และข้าราชการมีหน้าที่ตามมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๑๙ ใหป้ ระธานเรยี กประชมุ กรรมการเดอื นละหนึ่งครัง้ หรือตามที่ประธานเหน็ สมควร เม่ือกรรมการจํานวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการท้ังหมดร้องขอให้มีการประชุมเพื่อกิจการ อย่างหน่ึงอย่างใด ให้ประธานเรียกประชุมสภาคณาจารย์และข้าราชการภายในสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับ คาํ ร้องขอ และองคป์ ระชุมต้องมจี ํานวนไมน่ ้อยกว่ากึ่งหน่งึ ของกรรมการท้ังหมด ข้อ ๒๐ สภาคณาจารย์และข้าราชการอาจต้ังคณะอนุกรรมการขึ้นตามความเหมาะสมและ จําเปน็ เพอื่ พจิ ารณาหรอื ดาํ เนินการเรอื่ งต่าง ๆ ตามทส่ี ภาคณาจารย์และข้าราชการมอบหมาย

๒๔งานกฎหมายและนติ กิ าร ข้อ ๒๑ เม่ือมีปัญหาสําคัญที่จําเป็นต้องเรียกประชุมคณาจารย์ประจําและข้าราชการ เพ่ือปรึกษาหารือ หรือขอมติ สภาคณาจารย์และข้าราชการอาจมีมติให้เรียกประชุมคณาจารย์ประจําและ ข้าราชการได้ ในกรณีเช่นน้ีให้ ประธานเรียกประชุมภายในสิบวันนับแต่วันท่ีสภาคณาจารย์และข้าราชการ มมี ติเช่นวา่ นั้น คณาจารยป์ ระจําและขา้ ราชการจํานวนไม่น้อยกวา่ หนง่ึ ในสี่ของคณาจารย์ประจําและข้าราชการ อาจเขา้ ชอ่ื เพื่อร้องขอให้ประธานเรยี กประชุมคณาจารย์ประจําและข้าราชการในปัญหาสําคัญได้ ในกรณีเช่นนี้ ให้ ประธานเรียกประชมุ ภายในสิบวนั นับแตว่ นั ทไี่ ด้รับคํารอ้ งขอ ถ้าประธานไม่เรียกประชุมภายในกําหนดเวลา ดงั กล่าว ใหผ้ ูย้ น่ื คาํ รอ้ งเรยี กประชมุ เองได้ การประชุมตามความในสองวรรคก่อน ต้องส่งวาระการประชุมให้คณาจารย์ประจําและ ข้าราชการทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน เว้นแต่เป็นกรณีเร่งด่วนให้ส่งวาระการประชุมภายในระยะเวลา อันสมควรก่อนมีการประชุม และจะต้องมีคณาจารย์ประจําและข้าราชการเข้าประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของ คณาจารยป์ ระจําและข้าราชการท้งั หมด จงึ จะเปน็ องคป์ ระชุม การลงมติของที่ประชุมคณาจารย์ประจําและข้าราชการท้ังมหาวิทยาลัย ให้ถือเสียงข้างมากของ ผู้เขา้ ประชมุ ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในท่ีประชุมออกเสียงเพิ่มอีกหน่ึงเสียงเป็นเสียงช้ีขาดการออก เสยี งชขี้ าด ต้องใหเ้ หตุผลประกอบดว้ ย การประชุมคณาจารย์ประจําและข้าราชการท้ังมหาวิทยาลัย ในกรณีประธานไม่อยู่ในที่ประชุม ให้ประธานมอบหมายใหร้ องประธานหรอื กรรมการคนใดคนหน่ึงทาํ หนา้ ทีป่ ระธานที่ประชุม ข้อ ๒๒ ในกรณีที่คณะกรรมการในสภาคณาจารย์และข้าราชการคนใดคนหน่ึง กระทําการใด อันนํามาซ่ึงความเส่ือมเสียต่อมหาวิทยาลัย คณาจารย์ประจําและข้าราชการจํานวนไม่น้อยกว่าหน่ึงในสี่ของ คณาจารย์ประจําและขา้ ราชการท้งั หมดอาจเข้าชื่อกัน ร้องขอให้อธิการบดีเรียกประชุมคณาจารย์ประจํา และ ขา้ ราชการท้ังมหาวิทยาลัยเพ่ือให้ลงมติถอดถอนกรรมการคนนั้นออกจากตําแหน่ง และให้อธิการบดีมีหนังสือ เรียกประชุมคณาจารย์ประจําและข้าราชการท้ังมหาวิทยาลัยภายในสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับคําร้องขอ การประชุมคณาจารย์ประจําและข้าราชการท้ังมหาวิทยาลัยเพื่อลงมติถอดถอนกรรมการคนน้ันออกจาก ตําแหน่ง ต้องมีคณาจารย์ประจําและข้าราชการเข้าประชุมอย่างน้อยกึ่งหนึ่งของคณาจารย์ประจําและ ข้าราชการทงั้ หมดจึงเปน็ องค์ประชุม และใหอ้ ธกิ ารบดเี ปน็ ประธานในทปี่ ระชุม การออกเสียงลงคะแนนเพอ่ื ถอดถอนกรรมการคนใดออกจากตําแหน่ง ให้ใช้วิธีลงคะแนนลับและ ต้องได้รบั คะแนนเสียงเหน็ ชอบไมน่ อ้ ยกว่าสามในสี่ของผูเ้ ข้าประชมุ ขอ้ ๒๓ สภาคณาจารยแ์ ละข้าราชการอาจมีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวน กรรมการทงั้ หมดเสนอใหส้ ภามหาวทิ ยาลยั แก้ไขขอ้ บังคับนี้ได้ ข้อ ๒๔ การประชุมเร่ืองใดที่มิได้กําหนดไว้ในข้อบังคับนี้ ให้นําข้อบังคับสภามหาวิทยาลัย ราชภฏั นครปฐมวา่ ด้วยการประชมุ สภามหาวทิ ยาลยั มาใชบ้ ังคับโดยอนุโลม

๒๕งานกฎหมายและนติ กิ าร บทเฉพาะกาล ข้อ ๒๕ ให้ประธานและกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการท่ีดํารงตําแหน่งอยู่ก่อนในวันท่ี ขอ้ บังคบั น้ีใชบ้ งั คบั ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอี่ ย่ตู อ่ ไปจนครบวาระการดํารงตาํ แหน่ง ประกาศ ณ วนั ที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ประสทิ ธิ์ ปทุมารักษ์ (นายประสทิ ธิ์ ปทมุ ารักษ์) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม

ข้อบงั คับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วา่ ด้วยหลักเกณฑ์ วิธกี ารไดม้ า และคณุ สมบัตขิ องอธิการบดี พ.ศ. ๒๕๕๔

๒๖งานกฎหมายและนิติการ ขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ วิธีการไดม้ า และคณุ สมบตั ิของอธกิ ารบดี พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยท่เี ป็นการสมควรปรบั ปรงุ ข้อบงั คับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารสรรหาอธกิ ารบดี พ.ศ. ๒๕๔๗ อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา ๑๘ (๒) มาตรา ๒๘ วรรคสอง และ มาตรา ๒๙ แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในคราว ประชมุ ครัง้ ที่ ๙/๒๕๕๔ เม่อื วนั ท่ี ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๔ จึงออกขอ้ บังคับไว้ ดังน้ี ข้อ ๑ ข้อบงั คบั น้ีเรียกวา่ “ข้อบงั คบั มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐมว่าดว้ ยหลักเกณฑ์ วิธีการได้มา และคุณสมบัติของอธกิ ารบดี พ.ศ. ๒๕๕๔” ข้อ ๒ ข้อบงั คบั นี้ให้ใชบ้ ังคับต้ังแตว่ ันถัดจากวนั ประกาศเป็นตน้ ไป ข้อ ๓ ใหย้ กเลิกข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการ สรรหาอธกิ ารบดี พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ้ ๔ ในขอ้ บงั คับนี้ “คณะกรรมการสรรหา” หมายถงึ คณะกรรมการสรรหาอธกิ ารบดี “บุคลากรของมหาวิทยาลัย” หมายถึง ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจํา พนักงาน มหาวิทยาลัย และพนกั งานโรงเรยี นสาธติ สังกดั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม ข้อ ๕ ผู้ดํารงตําแหน่งอธิการบดี นอกจากมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๙ แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ แลว้ ตอ้ งมีคุณสมบัติ ดังน้ี (๑) มคี ณุ ธรรมและจริยธรรมเป็นท่ียอมรบั ในสังคม และสามารถอทุ ิศตนให้แกม่ หาวทิ ยาลัย (๒) มภี าวะผูน้ ํา มีความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์ เป็นผู้ให้ความสําคัญและสนับสนุนการพัฒนาวิชาการ หรอื วชิ าชพี ทกุ สาขา (๓) มีวสิ ยั ทัศน์ในการจัดการอดุ มศึกษา การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทอ้ งถิน่ และเทคโนโลยี (๔) มคี วามรู้ความสามารถด้านบรหิ ารหรือเคยผ่านการอบรมหลกั สูตรสาํ หรบั ผู้บริหาร (๕) เป็นที่ยอมรับนับถือของบุคลากรของมหาวิทยาลัย บุคคลในท้องถ่ินและสังคมท่ีมีส่วน เกยี่ วขอ้ งกับกจิ การของมหาวทิ ยาลัย ข้อ ๖ ให้ดําเนินการสรรหาอธิการบดีตามข้อบังคับนี้ภายในเก้าสิบวันก่อนครบวาระ โดยใช้ นโยบายของสภามหาวิทยาลยั เปน็ กรอบในการกาํ หนดทิศทางการสรรหาอธกิ ารบดี ในกรณีที่อธิการบดีพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระ ให้ดําเนินการสรรหาอธิการบดีภายในเวลา เกา้ สบิ วันนับแตว่ นั ท่ีพ้นจากตําแหน่ง

๒๗งานกฎหมายและนิติการ ข้อ ๗ ให้สภามหาวิทยาลัยแต่งต้ังกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการสรรหา อธิการบดี” ประกอบด้วย (๑) กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ โดยคดั เลือกกันเอง จาํ นวนสามคน เป็นกรรมการ (๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้ดํารงตําแหน่งบริหาร ยกเว้นผู้ดํารงตําแหน่งรองอธิการบดี โดยคัดเลอื กกนั เอง จํานวนหน่ึงคน เป็นกรรมการ (๓) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจํา โดยคัดเลือกกันเอง จํานวนสองคน เป็นกรรมการ (๔) ผู้แทนคณาจารย์ประจํา โดยเลือกตั้งตามประกาศของมหาวิทยาลัย จํานวนหน่ึงคน เป็นกรรมการ (๕) บุคคลในท้องถ่ินที่มีส่วนเก่ียวข้องกับกิจการของมหาวิทยาลัยโดยคําแนะนําของ คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวทิ ยาลยั จาํ นวนหนึง่ คน เปน็ กรรมการ (๖) ประธานสภาคณาจารยแ์ ละขา้ ราชการ เปน็ กรรมการ ให้สภามหาวทิ ยาลยั เลอื กกรรมการตาม (๑) เปน็ ประธานกรรมการ ให้คณะกรรมการสรรหาเลือกกรรมการคนหน่ึงเป็นเลขานุการ และอาจเลือกบุคลากร ในสํานกั งานอธกิ ารบดคี นหน่ึงเป็นผ้ชู ่วยเลขานกุ ารกไ็ ด้ ข้อ ๘ คณะกรรมการสรรหามีอาํ นาจและหนา้ ที่ ดังนี้ (๑) กําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติของอธิการบดีตามข้อ ๕ เพ่ือนําไปใช้เป็นแนวทาง ในการสรรหาอธิการบดี (๒) ออกประกาศกาํ หนดการและขน้ั ตอนการสรรหาอธิการบดี (๓) ตรวจสอบคุณสมบัติและพิจารณากลั่นกรอง ใช้ดุลยพินิจและวินิจฉัยรายชื่อผู้สมควรดํารง ตําแหนง่ อธิการบดี เพอ่ื เสนอต่อสภามหาวิทยาลัย ข้อ ๙ การได้มาซ่ึงรายช่ือผู้สมควรดํารงตําแหน่งอธิการบดี กระทําได้สองวิธี คือ การสมัครและ การเสนอชอื่ คณะกรรมการสรรหาตามข้อ ๗ ไม่มีสิทธิสมัคร เสนอชื่อ หรือได้รับการเสนอชื่อ เป็นผู้สมควร ดํารงตาํ แหนง่ อธกิ ารบดี ขอ้ ๑๐ การสมัคร (๑) ผู้สมัครต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติตามข้อ ๕ ซ่ึงจะเป็นบุคคลภายในหรือภายนอก มหาวิทยาลยั ก็ได้ (๒) ให้ผู้สมัครย่ืนใบสมัครตามแบบฟอร์มด้วยตนเองหรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ภายใน วนั เวลา และสถานที่ที่คณะกรรมการสรรหากําหนด

๒๘งานกฎหมายและนติ ิการ ขอ้ ๑๑ การเสนอชือ่ ผู้มีสิทธิได้รับการเสนอชื่อต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติตามข้อ ๕ ซ่ึงจะเป็น บุคคลภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยก็ได้ ทั้งน้ี ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ได้รับการเสนอชื่อ เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร โดยการเสนอช่ือให้ดาํ เนนิ การ ดังน้ี (๑) ใหค้ ณะ สาํ นักงานอธิการบดี บัณฑติ วทิ ยาลัย สถาบนั สาํ นัก วทิ ยาลยั ศนู ย์ สว่ นราชการหรือ ส่วนงานภายในท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ โรงเรียนส าธิต และหน่วยงานอ่ืนตามที่ สภามหาวิทยาลัยเห็นสมควร เสนอชื่อผู้สมควรดํารงตําแหน่งอธิการบดี หน่วยงานละไม่เกินสามช่ือ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการสรรหากําหนด โดยคํานึงถึงการมีส่วนร่วมของบุคลากรของ หน่วยงานนัน้ ๆ (๒) การเสนอช่ือผู้สมควรดํารงตําแหน่งอธิการบดี ให้เสนอตามแบบฟอร์ม ภายในวัน เวลาและ สถานท่ที ี่คณะกรรมการสรรหากําหนด ขอ้ ๑๒ การพจิ ารณากล่ันกรองรายชือ่ ผู้สมควรดํารงตาํ แหน่งอธกิ ารบดี ให้คณะกรรมการสรรหา ดําเนินการดงั นี้ (๑) นาํ รายชือ่ ผ้สู มควรดํารงตําแหนง่ อธกิ ารบดีทไี่ ดร้ บั มาจากการสมัครตามข้อ ๑๐ และการเสนอ ชื่อตามขอ้ ๑๑ มาตรวจสอบคุณสมบัตติ ามขอ้ ๕ (๒) เชิญผู้สมัครหรือผู้ที่ได้รับการเสนอช่ือ ท่ีได้ดําเนินการตาม (๑) นําเสนอวิสัยทัศน์และ แนวทางในการนํานโยบายสภามหาวทิ ยาลัยไปสกู่ ารปฏบิ ัติต่อคณะกรรมการสรรหา โดยเปิดโอกาสให้บุคลากร ของมหาวทิ ยาลัย และบุคคลในทอ้ งถ่ินที่มีส่วนเก่ยี วขอ้ งกับกจิ การของมหาวทิ ยาลัยเข้าร่วมฟงั ได้ (๓) พิจารณาความเหมาะสมในการดํารงตําแหน่งอธิการบดีของบุคคลตาม (๒) โดยอาศัยข้อมูล จากเอกสารใบสมัครหรือใบเสนอชื่อ การนําเสนอวิสัยทัศน์ตาม (๒) และวิธีการอ่ืน ๆ ตามที่คณะกรรมการ สรรหาเห็นเหมาะสม การพิจารณาความเหมาะสมตามวรรคหน่ึงให้คํานึงถึงความเป็นผู้มีความรู้ ความชํานาญ และคุณสมบัติเหมาะสมกับวัตถุประสงค์และภาระหน้าท่ีของมหาวิทยาลัย และเป็นท่ียอมรับนับถือของ บุคลากรของมหาวิทยาลยั และบุคคลในทอ้ งถิน่ ทมี่ สี ่วนเกย่ี วข้องกับกจิ การของมหาวทิ ยาลัย (๔) คัดเลือกผู้ท่ีเหมาะสมในการดํารงตําแหน่งอธิการบดีตาม (๓) ให้เหลือจํานวนสามคน เว้นแต่มีรายชื่อผู้ท่ีเหมาะสมในการดํารงตําแหน่งอธิการบดีตาม (๒) มีจํานวนน้อยกว่าสามคน แล้วจัดทํา เป็นบัญชีรายชื่อเรียงลําดับตามตัวอักษร พร้อมเสนอประวัติและข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณา เสนอต่อ สภามหาวิทยาลยั ข้อ ๑๓ ให้สภามหาวิทยาลัยพิจารณาเลือกผู้ที่สมควรดํารงตําแหน่งอธิการบดีตามรายชื่อ ในข้อ ๑๒ (๔) ทีค่ ณะกรรมการสรรหานําเสนอ สภามหาวิทยาลัยจะเชญิ ให้ผูส้ มควรดาํ รงตําแหนง่ อธิการบดีตามวรรคหน่ึง นําเสนอวิสัยทัศน์และ แนวทางในการนาํ นโยบายสภามหาวิทยาลยั ไปสูก่ ารปฏิบตั ติ อ่ สภามหาวิทยาลัยก็ได้

๒๙งานกฎหมายและนติ ิการ เมอ่ื สภามหาวทิ ยาลยั ได้ลงมตเิ ลือกผู้ที่สมควรดาํ รงตําแหนง่ อธิการบดีเพื่อแต่งต้ังให้ดํารงตําแหน่ง อธิการบดีแล้ว ให้นายกสภามหาวิทยาลัยดําเนินการเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังให้ดํารงตําแหน่ง อธิการบดตี อ่ ไป ข้อ ๑๔ ให้นายกสภามหาวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอํานาจออกระเบียบ ประกาศ หรอื คําสัง่ เพอื่ ประโยชน์ในการปฏบิ ัติตามข้อบังคบั น้ี ในกรณีที่มีปัญหาเก่ียวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับน้ี ให้สภามหาวิทยาลัยมีอํานาจตีความ และวินิจฉัย ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ นรนิติ เศรษฐบตุ ร (รองศาสตราจารย์นรนติ ิ เศรษฐบุตร) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม

ข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม วา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารสรรหาคณบดี พ.ศ. ๒๕๕๔ และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม

๓๐งานกฎหมายและนติ กิ าร ขอ้ บังคับมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์และวธิ กี ารสรรหาคณบดี พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหาคณบดี พ.ศ. ๒๕๔๗ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๒) และมาตรา ๔๓ แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในคราวประชุมคร้ังที่ ๑๐/๒๕๕๔ เม่ือวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ และครั้งท่ี ๑๒/๒๕๕๔ เม่ือวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ จึงออก ข้อบงั คับไว้ ดงั นี้ ข้อ ๑ ข้อบังคับน้ีเรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ สรรหาคณบดี พ.ศ. ๒๕๕๔” ข้อ ๒ ข้อบงั คบั นีใ้ ห้ใชบ้ งั คบั ตงั้ แตว่ ันถดั จากวันประกาศเปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการ สรรหาคณบดี พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๔ ในขอ้ บงั คับนี้ “คณะกรรมการสรรหา” หมายถึง คณะกรรมการสรรหาคณบดี “คณบดี” หมายถึง ผบู้ ังคบั บัญชาของคณะทีด่ าเนินการสรรหาตามข้อบงั คับนี้ “บุคลากร” หมายถึง ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจา และพนักงานมหาวิทยาลัย ทีส่ งั กดั คณะทด่ี าเนินการสรรหาคณบดี ขอ้ ๕ ผู้ดารงตาแหน่งคณบดี จะเป็นบุคคลภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลยั ก็ได้ ซึ่งมีคุณสมบัติ ตามมาตรา ๓๗ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ และต้องมีคุณลักษณะ ดงั ต่อไปนี้ (๑) มีคุณธรรมและจริยธรรมเป็นท่ียอมรับของบุคลากรในคณะนั้น และสามารถอุทิศตนให้แก่ กิจการของคณะและมหาวทิ ยาลยั (๒) มคี วามรคู้ วามสามารถทางวิชาการหรอื วชิ าชีพท่เี กี่ยวขอ้ งกับการดาเนนิ งานของคณะ (๓) มีภาวะผู้นา เปน็ ผู้ท่มี คี วามคิดริเรมิ่ สนใจและเลง็ เห็นความสาคัญของกิจการในคณะ (๔) มีวสิ ยั ทศั นใ์ นการจดั การอดุ มศึกษา การศึกษาเพ่อื พฒั นาท้องถน่ิ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (๕) มีความรู้ความสามารถด้านการบริหารหรอื เคยผา่ นการอบรมหลักสตู รสาหรบั ผบู้ ริหาร ขอ้ ๖ ใหด้ าเนินการสรรหาคณบดีตามข้อบังคบั น้ี ก่อนที่ผ้ดู ารงตาแหน่งคณบดีจะดารงตาแหน่ง ครบวาระหกสิบวัน โดยใช้นโยบายของสภามหาวิทยาลัยเปน็ กรอบในการกาหนดทศิ ทางการสรรหาคณบดี

๓๑งานกฎหมายและนิติการ ในกรณีท่ีคณะใดผู้ดารงตาแหน่งคณบดีพ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ ให้ดาเนินการสรรหา คณบดีภายในเวลาสามสิบวนั นบั แต่วันที่พน้ จากตาแหนง่ ข้อ ๗๑ ให้สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการข้ึนคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการสรรหา คณบดี” ประกอบดว้ ย (๑) กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ เปน็ ประธานกรรมการ (๒) รองอธิการบดที อ่ี ธิการบดีมอบหมาย จานวนหนึ่งคน เปน็ กรรมการ (๓) ผทู้ รงคณุ วฒุ ภิ ายนอกท่กี รรมการประจาคณะเลือก จานวนหนึ่งคน เปน็ กรรมการ (๔) คณาจารยป์ ระจาในคณะ จานวนหนึ่งคน เปน็ กรรมการ (๕) พนักงานราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนในคณะ จานวนหน่ึงคน เป็นกรรมการ (๖) ผู้อานวยการสานักงานอธกิ ารบดี เป็นเลขานุการ ให้ประธานกรรมการแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการได้อีกหน่ึงคน การได้มาซ่ึงกรรมการตามวรรคหน่ึง (๔) และ (๕) ให้คณาจารย์ประจา พนักงานราชการและ พนกั งานมหาวทิ ยาลยั ในคณะนน้ั เลอื กกันเอง ในกรณีท่ีประธานและกรรมการซ่ึงไดร้ ับแต่งตั้งตามวรรคหนึ่งพ้นจากตาแหน่ง ให้กรรมการเท่าที่ เหลืออยูป่ ฏิบตั หิ น้าทต่ี อ่ ไปได้ เวน้ แตจ่ ะเหลอื กรรมการไม่ถงึ จานวนสามคน ใหแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการใหม่ ข้อ ๘ คณะกรรมการสรรหามีอานาจและหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปนี้ (๑) กาหนดรายละเอียดเก่ียวกับคุณสมบัติและคุณลักษณะท่ีเหมาะสมของคณบดี ตามข้อ ๕ เพอื่ นาไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการสรรหาคณบดี (๒) ออกประกาศกาหนดการและข้นั ตอนการสรรหาคณบดี (๓) ตรวจสอบคุณสมบัติและคุณลักษณะ และพิจารณากลั่นกรองรายช่ือผู้สมควรดารงตาแหน่ง คณบดี เพื่อเสนอต่อสภามหาวทิ ยาลยั ข้อ ๙ การได้มาซึ่งรายช่ือผู้สมควรดารงตาแหน่งคณบดี กระทาได้สองวิธี คือ การสมัครและ การเสนอช่ือ คณะกรรมการสรรหาตามข้อ ๗ ไม่มีสิทธิสมัคร เสนอช่ือ หรือได้รับการเสนอช่ือ เป็นผู้สมควร ดารงตาแหนง่ คณบดี ขอ้ ๑๐ การสมคั ร (๑) ผสู้ มัครตอ้ งเป็นบคุ คลท่มี ีคณุ สมบัตแิ ละมคี ุณลักษณะเหมาะสม ตามข้อ ๕ ๑ ข้อ ๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาคณบดี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ และแก้ไขเพิม่ เติมโดยข้อบงั คับวา่ ด้วยมหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐมวา่ ด้วยหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการสรรหาคณบดี (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔

๓๒งานกฎหมายและนิตกิ าร (๒) ใหผ้ ้สู มคั รยน่ื ใบสมคั รตามแบบฟอรม์ ด้วยตนเองหรอื ทางไปรษณยี ล์ งทะเบียนภายในวนั เวลา และสถานทท่ี ค่ี ณะกรรมการสรรหากาหนด ข้อ ๑๑ การเสนอช่ือ ผู้มีสิทธิได้รับการเสนอชื่อต้องเป็นบุคคลท่ีมีคุณสมบัติและมีคุณลักษณะ เหมาะสมตามข้อ ๕ โดยบุคลากรอาจเสนอช่ือผู้สมควรดารงตาแหน่งคณบดีได้คนละหนึ่งรายชื่อ ท้ังนี้ ตอ้ งได้รับคายนิ ยอมจากผ้รู ับการเสนอชอื่ ดว้ ย การเสนอชื่อผู้สมควรดารงตาแหน่งคณบดี ให้เสนอตามแบบฟอร์ม ภายในวัน เวลา และสถานท่ี ทคี่ ณะกรรมการสรรหากาหนด ข้อ ๑๒ การพิจารณากล่ันกรองรายชื่อผู้สมควรดารงตาแหน่งคณบดี ให้คณะกรรมการสรรหา ดาเนนิ การ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ตรวจสอบคุณสมบัติและคุณลักษณะผู้สมควรดารงตาแหน่งคณบดีที่ได้รับรายชื่อ ตามข้อ ๑๐ และข้อ ๑๑ (๒) นารายช่ือผู้ที่มีคุณสมบัติครบถ้วน และมีคุณลักษณะเหมาะสมที่สมควรจะดารงตาแหน่ง คณบดีตาม (๑) จัดให้บุคลากรทาการหย่ังเสียงให้เหลือจานวนไม่เกินห้ารายช่ือ ถ้ามีรายชื่อไม่เกินห้ารายช่ือ ไม่ต้องทาการหยั่งเสยี ง (๓) เชิญผู้สมควรดารงตาแหน่งคณบดีตาม (๒) นาเสนอวิสัยทัศน์และแนวการบริหารคณะ ตอ่ คณะกรรมการสรรหา โดยให้บุคลากรเข้ารว่ มฟังได้ (๔) นาข้อมูลตาม (๓) มาประกอบการพิจารณาเลือกผู้ท่ีสมควรดารงตาแหน่งคณบดีตามวิธีการ ที่คณะกรรมการสรรหาเห็นสมควร แล้วพิจารณาคัดเลือกให้เหลือผู้สมควรดารงตาแหน่งคณบดีจานวน สามรายช่อื นาเสนอตอ่ สภามหาวิทยาลัย หากมรี ายชื่อตาม (๒) น้อยกวา่ สามรายชือ่ ให้เสนอรายชื่อเท่าจานวน ทม่ี ีอยู่ การเสนอรายชอื่ ต่อสภามหาวทิ ยาลยั ให้จดั ทาเป็นบัญชีรายชื่อโดยเรียงลาดับตามตัวอักษรพร้อม ประวตั ิและข้อมลู ทใ่ี ชป้ ระกอบการพจิ ารณาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย ข้อ ๑๓ ให้สภามหาวิทยาลัยพิจารณาเลือกและแต่งต้ังบุคคลตามบัญชีรายชื่อในข้อ ๑๒ (๔) คนหนึ่งเป็นคณบดี ท้ังน้ี สภามหาวิทยาลัยจะให้ผู้ได้รับการเสนอชื่อนาเสนอวิสัยทัศน์และแนวทางการบริหาร คณะต่อสภามหาวทิ ยาลยั ก็ได้ ข้อ ๑๔ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือ คาสง่ั เพื่อประโยชนใ์ นการปฏิบัติตามขอ้ บงั คับน้ี ในกรณที ม่ี ีปัญหาเกีย่ วกับการปฏิบตั ิตามข้อบังคับนี้ ใหอ้ ธิการบดมี ีอานาจตคี วามและวินิจฉัย

๓๓งานกฎหมายและนติ ิการ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔ นรนิติ เศรษฐบตุ ร (ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร) นายกสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม

ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารสรรหาผอู้ านวยการสถาบนั สานัก ศูนย์ ส่วนราชการ หรือหนว่ ยงานท่ีเรยี กช่อื อย่างอื่นที่มฐี านะเทยี บเทา่ คณะ พ.ศ. ๒๕๕๔ และท่แี กไ้ ขเพิม่ เติม

๓๔งานกฎหมายและนิตกิ าร ข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารสรรหาผ้อู านวยการสถาบัน สานัก ศนู ย์ ส่วนราชการ หรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอืน่ ท่ีมฐี านะเทียบเทา่ คณะ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหาผู้อานวยการ สานักงานอธิการบดี สถาบัน สานัก ศูนย์ หัวหน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้า หน่วยงานที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะ พ.ศ. ๒๕๔๗ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๒) และ มาตรา ๔๓ แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในคราว ประชุมคร้ังท่ี ๑๐/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ และคร้ังท่ี ๑๒/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ จึงออกขอ้ บงั คับไว้ ดังน้ี ข้อ ๑ ข้อบังคับน้ีเรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ สรรหาผู้อานวยการสถาบัน สานัก ศูนย์ ส่วนราชการ หรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า คณะ พ.ศ. ๒๕๕๔” ข้อ ๒ ข้อบงั คบั น้ีใหใ้ ช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการ สรรหาผู้อานวยการ สานักงานอธิการบดี สถาบัน สานัก ศูนย์ หัวหน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้าหน่วยงาน ท่ีเรยี กชื่ออย่างอ่นื ที่มีฐานะเทยี บเท่าคณะ พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๔ ในข้อบังคบั นี้ “ผอู้ านวยการ” หมายถงึ ผ้อู านวยการสถาบัน สานกั ศูนย์ สว่ นราชการ หรือหน่วยงานที่เรียกชื่อ อยา่ งอน่ื ที่มีฐานะเทยี บเทา่ คณะ “คณะกรรมการสรรหา” หมายถึง คณะกรรมการสรรหาผู้อานวยการ “บุคลากร” หมายถงึ ข้าราชการ พนกั งานราชการ ลูกจ้างประจา และพนักงานมหาวิทยาลัยของ มหาวิทยาลัย ข้อ ๕ ผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการ จะเป็นบุคคลภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยก็ได้ ซึ่งมีคุณสมบตั แิ ละคุณลกั ษณะ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) คุณสมบัติ (๑.๑) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัย หรือ สถาบนั อุดมศึกษาอื่นท่ีสภามหาวิทยาลัยรับรอง (๑.๒) ทาการสอนหรือมีประสบการณ์ด้านการบริหารมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี ในมหาวทิ ยาลยั หรือสถาบันอุดมศึกษาอน่ื ทสี่ ภามหาวทิ ยาลยั รบั รอง

๓๕งานกฎหมายและนิติการ (๒) คณุ ลักษณะ (๒.๑) มคี ุณธรรมและจริยธรรมเปน็ ทยี่ อมรับของบคุ ลากรในมหาวทิ ยาลัย สามารถอุทิศเวลา ในการปฏิบตั หิ น้าทผ่ี ู้อานวยการ (๒.๒) มีความรู้ความสามารถทางวิชาการที่เก่ียวข้องกับการดาเนินงานของสถาบัน สานัก ศนู ย์ ส่วนราชการหรอื หนว่ ยงานทเ่ี รียกชอ่ื อย่างอืน่ ท่มี ฐี านะเทยี บเทา่ คณะ (๒.๓) มีภาวะผู้นา มีความคิดริเริ่ม สนใจและเล็งเห็นความสาคัญของกิจการในสถาบัน สานัก ศูนย์ ส่วนราชการหรอื หน่วยงานที่เรียกชื่ออยา่ งอน่ื ที่มีฐานะเทียบเทา่ คณะ (๒.๔) มีวิสัยทัศน์ในการจัดการอุดมศึกษา การศึกษาเพ่ือพัฒนาท้องถิ่นและเทคโนโลยี สารสนเทศ ขอ้ ๖ ผู้อานวยการมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละส่ปี ี นอกจากการพ้นจากตาแหนง่ ตามวรรคหนงึ่ ผอู้ านวยการพ้นจากตาแหนง่ เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) สภามหาวทิ ยาลยั ให้ออกเพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือบกพร่องต่อหน้าที่ หรือหย่อน ความสามารถ (๔) ถูกลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการเพราะเหตุมีมลทินหรือ มัวหมองในกรณที ถ่ี กู สอบสวนทางวนิ ัยอยา่ งร้ายแรง (๕) ถูกจาคกุ โดยคาพิพากษาถึงที่สดุ ใหจ้ าคุก (๖) เปน็ บคุ คลล้มละลาย (๗) เปน็ คนไร้ความสามารถหรอื คนเสมอื นไร้ความสามารถ การให้ออกจากตาแหน่งตาม (๓) ต้องมีคะแนนเสียงลงมติไม่น้อยกว่าสองในสามของจานวน กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยทัง้ หมดเท่าท่ีมอี ยู่ เม่ือผูอ้ านวยการพ้นจากตาแหน่ง ใหร้ องผู้อานวยการพ้นจากตาแหนง่ ดว้ ย๑ ข้อ ๗ ให้ดาเนินการสรรหาผู้อานวยการตามข้อบังคับน้ี ก่อนผู้อานวยการจะดารงตาแหน่งครบ วาระหกสิบวัน โดยให้สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาผู้อานวยการตามข้อ ๘ โดยใช้ นโยบายของสภามหาวิทยาลยั เป็นกรอบในการกาหนดทศิ ทางการสรรหาผู้อานวยการ ในกรณีท่ีผู้อานวยการพ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ ให้ดาเนินการสรรหาผู้อานวยการภายใน เวลาสามสบิ วนั นับแตว่ นั ที่พน้ จากตาแหนง่ ๑ ข้อ ๖ วรรคส่ี เพ่ิมโดยข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาผู้อานวยการสถาบัน สานัก ศนู ย์ ส่วนราชการหรือหนว่ ยงานท่ีเรียกชอื่ อย่างอ่นื ท่ีมฐี านะเทยี บเทา่ คณะ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗

๓๖งานกฎหมายและนิติการ ข้อ ๘๒ ให้สภามหาวิทยาลัยแต่งต้ังคณะกรรมการข้ึนคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการสรรหา ผอู้ านวยการ” ประกอบดว้ ย (๑) กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผูท้ รงคุณวฒุ ิ จานวนหนงึ่ คน เปน็ ประธานกรรมการ (๒) รองอธิการบดีท่อี ธกิ ารบดีมอบหมาย จานวนหนึง่ คน เป็นกรรมการ (๓) คณบดีทกุ คณะ เลอื กกนั เอง จานวนสองคน เป็นกรรมการ (๔) ประธานสภาคณาจารยแ์ ละข้าราชการ เปน็ กรรมการ (๕) ผู้อานวยการสานกั งานอธิการบดี เป็นเลขานุการ ใหป้ ระธานแตง่ ตัง้ ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ ารได้อีกหนงึ่ คน ในกรณีท่ีกรรมการตามวรรคหนึ่งพ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระหรือพ้นจากตาแหน่งตามวาระ ให้กรรมการเทา่ ท่ีเหลอื อย่ปู ฏิบตั หิ นา้ ทต่ี ่อไปได้ ขอ้ ๙ คณะกรรมการสรรหามอี านาจและหน้าที่ ดังต่อไปน้ี (๑) กาหนดรายละเอียดเกย่ี วกบั คุณสมบัตแิ ละคณุ ลักษณะทเี่ หมาะสมของผู้อานวยการตามข้อ ๕ เพ่อื นาไปใช้เปน็ แนวทางในการสรรหาผอู้ านวยการ (๒) ออกประกาศกาหนดการและข้นั ตอนการสรรหาผูอ้ านวยการ (๓) ตรวจสอบคุณสมบัติและคุณลักษณะ และพิจารณากลั่นกรองรายชื่อผู้สมควรดารงตาแหน่ง ผูอ้ านวยการ เพือ่ เสนอตอ่ สภามหาวทิ ยาลัย ข้อ ๑๐ การได้มาซึ่งรายช่ือผู้สมควรดารงตาแหน่งผู้อานวยการ กระทาได้สองวิธี คือ การสมัคร และการเสนอชอ่ื คณะกรรมการสรรหาตามข้อ ๘ ไม่มีสิทธิสมัคร เสนอช่ือ หรือได้รับการเสนอชื่อ เป็นผู้สมควร ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการ ขอ้ ๑๑ การสมคั ร (๑) ผสู้ มคั รตอ้ งเปน็ บคุ คลทีม่ ีคุณสมบัตแิ ละมีคุณลกั ษณะเหมาะสมตามข้อ ๕ (๒) ให้ผู้สมัครยื่นใบสมัครตามแบบฟอร์มด้วยตนเองหรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ภายในวัน เวลา และสถานที่ทีค่ ณะกรรมการสรรหากาหนด ข้อ ๑๒ การเสนอช่ือ ผู้มีสิทธิได้รับการเสนอชื่อต้องเป็นบุคคลท่ีมีคุณสมบัติและคุณลักษณะ เหมาะสมตามข้อ ๕ โดยบุคลากรของมหาวิทยาลัยอาจเสนอช่ือผู้สมควรดารงตาแหน่งผู้อานวยการได้คนละ หนงึ่ รายชือ่ ท้ังนี้ ตอ้ งไดร้ บั ความยินยอมจากผู้รับการเสนอชอื่ ดว้ ย การเสนอช่ือผู้สมควรดารงตาแหน่งผู้อานวยการให้เสนอตามแบบฟอร์ม ภายในวัน เวลา และสถานท่ีทคี่ ณะกรรมการสรรหากาหนด ๒ ข้อ ๘ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยข้อบังคับมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐมวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารสรรหาผอู้ านวยการสถาบนั สานกั ศูนย์ สว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานทีเ่ รยี กชอื่ อยา่ งอ่นื ทม่ี ฐี านะเทยี บเทา่ คณะ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔

๓๗งานกฎหมายและนิติการ ข้อ ๑๓ การพิจารณากลั่นกรองรายช่ือผู้สมควรดารงตาแหน่งผู้อานวยการให้คณะกรรมการ สรรหาดาเนนิ การ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ตรวจสอบคุณสมบัติและคุณลักษณะผู้สมควรดารงตาแหน่งผู้อานวยการท่ีได้รับรายช่ือ ตามขอ้ ๑๑ และข้อ ๑๒ (๒) เชิญผู้สมควรดารงตาแหน่งผู้อานวยการตาม (๑) นาเสนอวิสัยทัศน์และแนวการบริหาร สถาบัน สานัก ศูนย์ ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะต่อคณะกรรมการ สรรหา (๓) นาข้อมูลตาม (๒) มาประกอบการพิจารณาเลือกผู้ท่ีสมควรดารงตาแหน่งผู้อานวยการตาม วิธีการท่ีคณะกรรมการสรรหาเห็นสมควร แล้วพิจารณาคัดเลือกให้เหลือผู้สมควรดารงตาแหน่งผู้อานวยการ จานวนสองรายช่อื นาเสนอตอ่ สภามหาวทิ ยาลยั หากมีรายช่อื ตาม (๑) เพียงหนงึ่ รายชื่อ ก็ให้เสนอรายชอ่ื เดียว การเสนอรายช่ือต่อสภามหาวิทยาลัยให้จัดทาเป็นบัญชีรายชื่อโดยเรียงลาดับตามตัวอักษรพร้อม ประวตั ิและข้อมลู ท่ใี ชป้ ระกอบการพจิ ารณาเสนอต่อสภามหาวทิ ยาลัย ข้อ ๑๔ ให้สภามหาวิทยาลัยพิจารณาเลือกและแต่งตั้งบุคคลตามบัญชีรายช่ือในข้อ ๑๓ (๓) คนหนึ่ง เป็นผู้อานวยการ หากมีรายชื่อผู้สมควรดารงตาแหน่งผู้อานวยการเพียงรายชื่อเดียวให้สภามหาวิทยาลัยมีมติ รบั หรือไม่รบั พจิ ารณารายชื่อดังกล่าว ข้อ ๑๕ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือ คาส่งั เพือ่ ประโยชน์ในการปฏบิ ตั ิตามขอ้ บังคับนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกีย่ วกับการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บังคับน้ี ให้อธกิ ารบดมี ีอานาจตีความและวนิ ิจฉัย ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๖ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๔ นรนิติ เศรษฐบุตร (ศาสตราจารย์พิเศษ นรนติ ิ เศรษฐบตุ ร) นายกสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook