Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย อช31003

การพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย อช31003

Description: การพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย อช31003

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชพี รายวชิ า การพฒั นาอาชพี ใหมคี วามมน่ั คง (อช31003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หา มจําหนา ย หนังสือเรยี นเลม น้ีจดั พมิ พดวยเงินงบประมาณแผนดินเพื่อการศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรบั ประชาชน ลิขสทิ ธิเ์ ปน ของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 32/2555

หนังสือเรยี นสาระการประกอบอาชีพ รายวิชา การพัฒนาอาชพี ใหม ีความม่นั คง (อช31003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554 ลขิ สทิ ธเ์ิ ปนของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดบั ที่ 32/2555



สารบัญ หนา คาํ นาํ 4 คาํ แนะนาํ การใชหนงั สอื เรยี น 5 โครงสรา งรายวิชา การพัฒนาอาชีพใหม ีความมน่ั คง 6 บทที่ 1 ศักยภาพธุรกจิ 7 เร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และความจําเปนของการพัฒนาอาชีพ 8 เพื่อความมั่นคง 15 16 เร่ืองที่ 2 ความจําเปนของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ เรื่องท่ี 3 การวิเคราะหตาํ แหนง ธุรกิจ 19 เร่ืองท่ี 4 การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพ 20 25 ของแตล ะพ้นื ที่ 27 บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด 29 30 เรื่องท่ี 1 การกําหนดทิศทางการตลาด เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชีพ 32 เร่ืองท่ี 2 การวิเคราะหกลยุทธ 34 เรื่องที่ 3 การกาํ หนดกจิ กรรม และแผนพฒั นาการตลาด 36 บทที่ 3 การจัดทาํ แผนพฒั นาการผลติ หรือการบรกิ าร 39 เร่ืองท่ี 1 การกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือบรกิ าร 41 เรื่องท่ี 2 การวเิ คราะหท ุน ปจจยั การผลิตหรือการบริการ 42 เรื่องที่ 3 การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือบริการ 43 เรื่องที่ 4 การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลิตหรือบรกิ าร 46 เรื่องที่ 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรือการบรกิ าร 47 บทท่ี 4 การพัฒนาธุรกจิ เชงิ รุก เร่ืองที่ 1 ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก เรื่องที่ 2 การแทรกความนิยมเขาสูความตอ งการของผูบริโภค เรื่องที่ 3 การสรา งรปู ลกั ษณค ณุ ภาพสินคาใหม เรื่องท่ี 4 การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

สารบัญ (ตอ ) หนา บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 54 เรื่องท่ี 1 การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนการผลิตหรือบรกิ าร 55 เร่ืองที่ 2 การเขียนโครงการพัฒนาอาชีพสูความมั่นคง 62 เร่ืองที่ 3 การตรวจสอบความเปนไปไดและปรับปรุงแกไขโครงการ 69

คาํ แนะนําการใชหนังสือเรียน หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ อช 31003 รายวิชา การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เปนแบบเรยี นท่ีจัดทาํ ข้ึนสาํ หรับผูเรยี นที่เปน นักศึกษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสือเรยี นสาระการประกอบอาชพี รายวชิ าการพฒั นาอาชพี ใหม คี วามมน่ั คง 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาในในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และ ขอบขา ยเน้อื หาของรายวิชาน้ัน ๆ โดยละเอยี ด 2. ศึกษารายละเอียดเนือ้ หาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามทีก่ ําหนด แลว ตรวจสอบกับครูหรือผูรูในเรือ่ งนัน้ ๆ ถายังไมเขาใจใหกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนือ้ หานั้น ใหมใหเ ขา ใจ กอนทจ่ี ะศกึ ษาเรือ่ งตอ ๆ ไป 3. หนงั สอื เรยี นเลม น้ีมี 4 บทเรียน ประกอบดวย บทที่ 1 ศักยภาพธรุ กจิ บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด บทที่ 3 การจัดทาํ แผนพฒั นาการผลติ หรือการบริการ บทที่ 4 การพฒั นาธุรกิจเชงิ รุก บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

โครงสรา งรายวชิ าการพฒั นาอาชพี ใหม ีความมน่ั คง (อช 31003) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย สาระสําคัญ การพัฒนาอาชีพใหมีความมัน่ คง จําเปนตองศึกษา วิเคราะหศักยภาพของธุรกิจแลวจัดทํา แผนพัฒนากระบวนการตลาด กระบวนการการผลิตหรือการบริการ กําหนดระบบกํากับดูแลเพือ่ ให อาชีพสูความมั่นคง ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความเขาใจในการพัฒนาอาชีพใหมีผลิตภัณฑหรืองานบริการ สรางรายไดพอเพียงตอการดํารงชีวิต มีเงินออมและมีทุนในการขยายอาชีพ 2. วิเคราะหศักยภาพธุรกิจ การตลาด การผลิตหรือการบริการ แผนธุรกิจ เพื่อสรางธุรกิจใหมี ความมั่นคง 3. อธบิ ายวธิ กี ารตรวจสอบการพัฒนาอาชีพใหเขาสูความมั่นคง 4. ปฏิบัติการจัดทําแผนโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ขอบขายเน้อื หาวชิ า บทที่ 1 ศกั ยภาพธุรกจิ บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด บทที่ 3 การจดั ทาํ แผนพฒั นาการผลิตหรือการบริการ บทที่ 4 การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

6 บทท่ี 1 ศักยภาพธุรกิจ สาระสําคัญ การพัฒนาอาชีพจําเปนตองมีการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ ตําแหนงธุรกิจในระยะตาง ๆ และ วิเคราะหศักยภาพของธุรกิจบนเสนทางของเวลา เพื่อสรางธุรกิจใหมีความมั่นคง ลักษณะบง ช้ีความสําเรจ็ ของการเรยี นรู 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพเพื่อความมั่นคง 2. อธิบายความจําเปนของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ 3. วเิ คราะหต าํ แหนงธุรกิจในระยะตา ง ๆ 4. วิเคราะหศักยภาพของธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่ ขอบขา ยเนือ้ หา เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพเพื่อความมั่นคง เร่อื งที่ 2 ความจําเปนของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ เรอ่ื งท่ี 3 การวเิ คราะหต าํ แหนง ธุรกจิ เร่อื งท่ี 4 การวเิ คราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่

7 เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั และความจาํ เปน ของการพัฒนาอาชพี เพ่ือความมน่ั คง ความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การประกอบอาชีพทีม่ ีการพัฒนาสินคาหรือผลิตภัณฑใหตรงกับ ความตองการของลูกคาอยูต ลอดเวลา โดยมีสวนครองตลาดไดตามความตองการของผูผ ลิต แสดงถึง ความมั่นคงในอาชีพ ความมั่นคง หมายถึง การเกิดความแนนและทนทานไมกลับ เปนอื่น ความสาํ คัญและความจําเปน ของการพฒั นาอาชีพ ผูประกอบอาชีพจะตองมีวิสัยทัศนกวางไกล เพือ่ พิจารณาแนวโนมของตลาด ความตองการของ ผูบ ริโภคเขาสูการแขงขันในตลาดใหได จึงจําเปนตองมีการพัฒนาอาชีพ ซึ่งถือวา ลูกคามีความสําคัญ ดังนั้น การพัฒนาอาชีพจึงมีความสําคัญและความจําเปน ดังนี้ 1. เพอ่ื ใหมสี นิ คา ทดี่ ตี รงตามความตอ งการของผบู รโิ ภค 2. เพือ่ ใหผูผลติ ไดม กี ารคดิ คนผลติ ภณั ฑหรอื สินคาไดต ลอดเวลา 3. มีการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีเขามาใชในกระบวนการผลิต เพื่อใหสินคามีคุณภาพ ยิ่งข้นึ 4. ทําใหเศรษฐกิจชุมชนและของประเทศดีขึ้น ขอควรพิจารณาในการพัฒนาอาชีพ ในการพัฒนาอาชพี จะชว ยใหส ามารถแขงขันกับผอู น่ื ได ข้นึ อยกู ับสง่ิ ตอ ไปนี้ 1. ผูป ระกอบอาชีพ ซึ่งอาจจะเปนเจาของธุรกิจ ผูจัดการ ทีมงาน จะตองมีความรูเ กี่ยวกับการ พัฒนาอาชีพนัน้ ๆ รวมถึงทักษะในอาชีพและประสบการณทีเ่ ปนประโยชนตอการพัฒนา อาชีพของตน นอกจากนี้ยังเปนผูรักความกาวหนา ไมหยุดน่ิง กาวทันกระแสโลก กลาคิด กลาทํา ทันสมัย มองโลกในแงดี 2. ปจจัยการผลิต ไดแก เงินทุน วัตถุดิบ แรงงาน สถานที่ ยอมตองพัฒนาใหมีคุณภาพมากกวา เดิม แตกตา งและโดดเดน ไปจากคแู ขง อ่นื ๆ ในตลาดขณะนั้น 3. โอกาสและสภาพแวดลอมทางธุรกิจ เชน มีตลาดรองรับนโยบายของรัฐบาลสงเสริมทีจ่ ะทํา ใหธ รุ กจิ เจรญิ กา วหนา 4. ผลกระทบตอ ชมุ ชน สงั คม และสิ่งแวดลอ ม ตอ งคาํ นึงถงึ ผลดกี ับทกุ ฝา ย

8 เรือ่ งที่ 2 ความจําเปน ของการวิเคราะหศ ักยภาพธุรกจิ ศักยภาพของธุรกิจ หมายถึง ธุรกิจทีท่ ุกบุคคลทีม่ ีความสามารถพัฒนาสินคานัน้ ๆ ใหอยูใ น ตลาดไดอยางมั่นคง ความจําเปนที่จะตองวิเคราะหศักยภาพของธุรกิจ 1. ทําใหสามารถขยายตลาดไดกวางขวางกวาเดิม 2. ทาํ ใหล ดความเสยี่ งในการดําเนินธุรกิจ 3. มีแนวทางในการดําเนินงานอยางรอบคอบ ปลอดภัยจากการขาดทุน 4. เปนการสื่อสารเกี่ยวกับทิศทางของธุรกิจใหแกผูเ กีย่ วของหรือองคกรทีส่ นับสนุนเงินให ทราบ เพือ่ ใหเกดิ ความมั่นใจ 5. ในการขยายธุรกิจมีความเปนไปได ความคิดรวบยอด องคประกอบที่มีความสัมพันธกับความมัน่ คงของอาชีพ จะตองมีความตรงกันกับปจจัย ทีส่ งผลตอศักยภาพในอาชีพ หากมีองคประกอบทีไ่ มตรง จําเปนที่จะตองจัดการใหตรงกันหรือสัมพันธ กันกจ็ ะทาํ ใหศ กั ยภาพของอาชพี สูงขึน้ ศักยภาพของอาชีพสามารถบอกเปนตัวเลขและอธิบายสภาพที่ปรากฏไดจะทําใหเรา มองเห็นขอบกพรองและสามารถแกไขขอบกพรองพัฒนาอาชีพสูความมั่นคงได ความหมายของศักยภาพในอาชีพ ศักยภาพในอาชีพ หมายถึง ภาวะแฝงหรืออํานาจแฝงทีม่ ีอยูในปจจัยดําเนินการอาชีพ ไดแก ทุน บุคลากร วัสดุอุปกรณ และระบบการจัดการนํามาจัดการใหตรงกับองคประกอบความมั่นคง ในอาชีพ จะสามารถทําใหอาชีพมั่นคงและปรากฏใหประจักษได ลกั ษณะโครงสรา งของศกั ยภาพในอาชพี โครงสรางของศักยภาพในอาชีพ เปนความสัมพันธระหวางการจัดปจจัยดําเนินการของ อาชีพกับองคประกอบของการพัฒนาอาชีพใหมั่นคง มีลักษณะโครงสรางของความสัมพันธ ดังนี้

ปจ จัยนาํ เขา เพื่อ  ตรงกัน การพจัดฒั อนงาคอปารชะีพกอบ= ศกั ยภาพ  9 สัมพันธกนั การขยายอาชีพ การขยายอาชีพ ความมั่นคงของ การขยายอาชีพ 1. ทุน 1. การจัดการลดความเสี่ยง 2. บุคลากร ผลผลติ 3. วสั ดุอุปกรณ 2. ขอ ตกลง/มาตรฐาน 4. การจัดการ พัฒนาอาชีพ จากแผนภูมิแสดงโครงสรางศักยภาพการขยายอาชีพสูความมั่นคง มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ปจจยั นําเขาเพอ่ื การขยายอาชพี ในแตละปจ จยั จะมตี ัวแปรรว ม ดังน้ี 1.1 ทนุ (1) เงนิ ทุน (2) ท่ีดนิ /อาคารสถานที่ (3) ทุนทางปญญา - การสรางความสัมพันธกับลูกคา - องคความรูที่สรางขึ้น - ภาพลกั ษณข องผลผลติ และสถานประกอบการทจ่ี ะสรา งความพอใจกบั ลกู คา 1.2 บุคลากร (1) หนุ สว น (2) แรงงาน 1.3 วัสดุอปุ กรณ (1) วัตถุดบิ (2) อปุ กรณเครอื่ งมือ 1.4 การจัดการ (1) การจดั การการผลติ (2) การจัดการการตลาด 2. การจัดองคป ระกอบพฒั นาอาชพี มปี จ จัยและตัวแปร ดงั น้ี 1.1 องคประกอบดานการจัดการลดความเสี่ยงผลผลิต (1) ความหลากหลายทางชีวภาพ (2) การเพ่ิมผลผลติ (3) การจดั การหมนุ เวยี นเปลย่ี นรปู (4) การจัดการรายไดใหเวียนกลับมาสูการขยายอาชีพ

10 1.2 ขอ ตกลง/มาตรฐานพัฒนาอาชีพ (1) คุณภาพผลผลติ (2) การลดตน ทนุ (3) การสงมอบ (4) ความปลอดภัย 3. ศักยภาพการขยายอาชีพ เปนตัวเลขบงชีค้ วามตรงกันหรือความสัมพันธระหวาง ปจ จัยนาํ เขา กบั การจดั องคประกอบพัฒนาอาชีพ ดงั น้ี 3.1 ประสิทธิภาพรวมของการดําเนินการขยายอาชีพ ซึ่งเปนตัวเลขผันแปร ระหวา ง -1 ถงึ 1 โดยมเี กณฑก ารประเมินดังน้ี ตํ่ากวา 0.5 = การขยายอาชีพ มีศักยภาพต่ําตองแกไข สงู กวา 0.5 – 0.75 = การขยายอาชพี มีศกั ยภาพ สงู กวา 0.75 = การขยายอาชีพมีศักยภาพสูง 3.2 ประสทิ ธิภาพแตล ะปจจัย ตอ งมคี า 0.5 ขึ้นไปถงึ จะยอมรับได แตถ า หากตํ่ากวา กค็ วรดาํ เนนิ การแกไ ขพฒั นา

11 การวิเคราะหศักยภาพในธุรกิจ ดานการวิเคราะหความตรงกันหรือความสัมพันธกันระหวาง ปจจัยนําเขาดําเนินการขยายอาชีพกับองคประกอบการพัฒนาอาชีพของผูเชี่ยวชาญและผูเกี่ยวของกับการ ประกอบการขยายอาชีพ จํานวน 3 – 5 คน ดาํ เนนิ การวเิ คราะหแ ลว นาํ มาประมวลผล สรปุ ผล ดงั นี้ 1. จดั ทาํ ตารางวเิ คราะห ดงั ตวั อยา งน้ี ปจ จยั นาํ เขา ทนุ ดําเนินการ บุคลากร วัดสอุ ปุ กรณ การจัดการ ศกั ยภาพ ขยายอาชพี 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 รายขอ องคประกอบ พัฒนาอาชพี 1. ความหลากหลาย ทางชีวภาพ 2. การเพิ่มของผลิต 3. การหมนุ เวยี น เปลี่ยนรูป 4. การจดั การ รายได 5. คณุ ภาพ ผลผลิต 6. การลดตน ทุน 7. การสงมอบ ผลผลิต 8. ความปลอดภัย ศกั ยภาพรวม

12 2. ดําเนินการวิเคราะหเพือ่ สรุปศักยภาพการขยายอาชีพดวยการใชผูเ ชีย่ วชาญ จํานวน 3 – 5 คน ตรวจสอบพิจารณาความตรงกันระหวางองคประกอบพัฒนาอาชีพในแตละขอกับปจจัยนําเขา ขยายอาชพี โดยมเี กณฑพจิ ารณาดังน้ี ใหค ะแนน 1 หมายถึง มคี วามตรงกนั สมั พนั ธกัน ใหค ะแนน 0 หมายถงึ เฉย ๆ ไมมีความเหน็ ใหค ะแนน – 1 หมายถงึ ไมตรงกนั 3. ดาํ เนนิ การประมวลผล เพื่อสรุปผลและอภิปรายผลศักยภาพการขยายอาชีพดวยการ นําผลการวิเคราะหของทุกคนมาคิดหาคาเฉลี่ย ดังตัวอยาง ปจจยั นาํ เขา ทุนดาํ เนนิ การ บคุ ลากร วดั สุอปุ กรณ การจัดการ ศกั ยภาพ ขยายอาชพี 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 รายขอ องคประกอบ 4 -1 3-2 23- พัฒนาอาชพี 23- 23- 4 1 - 0.50 23- 14- 1. ความหลากหลาย 23- 23- ทางชีวภาพ 32- 32- 5-- -14 2. การเพิ่มของผลิต 5 - - 2-3 1-4 4 1 - 0.65 5-- 32- 3. การหมนุ เวยี น 5 - - 4 1 - 0.60 เปล่ยี นรูป 4. การจัดการ 14- 4 - 1 0.40 รายได 5. คุณภาพ 41- 4 1 - 0.70 ผลผลติ 6. การลดตน ทุน 5 - - 3 - 2 0.35 7. การสงมอบ 1 -4 2 - 3 -0.40 ผลผลติ 8. ความปลอดภัย 2 3 - 5 - - 0.75 0.55 0.45 0.225 0.60 0.365

13 ผลการวิเคราะหสามารถอธิบายไดวา (1) ภาพรวมของศักยภาพ มีคะแนน 0.365 อาจบอกไดวา การขยายอาชีพมีศักยภาพไม ถึงเกณฑ (2) เมื่อพิจารณาดานปจจัยนําเขา พบวา ปจจัยดานบุคลากรและวัสดุอุปกรณมีศักยภาพ ไมถงึ เกณฑ (3) เมือ่ พิจารณาดานองคประกอบพัฒนาอาชีพ พบวา องคประกอบดานการจัดการ รายได การลดตนทุนและการสงมอบผลผลิตมศี ักยภาพไมถึงเกณฑ (4) ผลการวิเคราะหอาจสรุปไดวา การขยายอาชีพของผูประกอบการรายนี้ มีศักยภาพ ตํ่ากวาเกณฑท่ีกําหนดจาํ เปนตอ งทบทวนพฒั นาใหม การระบปุ จจยั และองคประกอบท่ีมีและไมมีศกั ยภาพ การระบุปจจัยและองคประกอบที่มีและไมมีศักยภาพได จากการนําผลการวิเคราะหและ ประเมนิ ศกั ยภาพในธรุ กิจมาพิจารณาอภปิ รายเหตุและผลทีน่ ําไปสูการพฒั นา ดงั ขน้ั ตอนตอไปนี้ 1. ตรวจสอบผลการวิเคราะหองคประกอบทีม่ ีคะแนนต่าํ กวาเกณฑทีม่ ีองคประกอบ อะไรบาง 2. พิจารณาองคประกอบท่ีพบวาต่าํ กวา เกณฑแลวนํามาพิจารณาสภาพภายในวา ความ ตรงกับกับปจจัยนําเขาขยายอาชีพมีสภาพเปนอยางไรแลวคิดทบทวนหาเหตุ หาผล วามาจากอะไร ตัวอยางการพิจารณา ปจจัยนําเขา ทุนดาํ เนินการ บุคลากร วดั สอุ ปุ กรณ การจัดการ ศักยภาพ ขยายอาชพี 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 รายขอ องคประกอบ พัฒนาอาชพี 4. การจัดการรายได 1 4 - 2 3 - 2 3 - 4 - 1 0.40 จากตัวอยาง เราพบวา องคประกอบของการพัฒนาอาชีพในรายการที่ 4 เร่ือง การจัดการ รายได มีคะแนนศักยภาพ 0.40 ต่าํ กวาเกณฑทีย่ อมรับได จึงจําเปนทีเ่ ราตองพัฒนา ดังนั้น จึงหันมาพิจารณา ดานปจจัยนาํ เขาซ่งึ เปน ตัวท่ีมีภาวะแฝง สามารถทําใหอ าชพี พัฒนาและปรากฏใหประจกั ษไ ด ดงั น้ี 1. ดานทุนดําเนินการ ที่จะใชขับเคลื่อนการจัดการรายได ขาดความชัดเจน 2. บุคลากรดาํ เนินการ ผเู ชย่ี วชาญมองเหน็ วา ไมช ัดเจน 3. วัสดุอุปกรณ ผูเชี่ยวชาญมองเห็นวา ไมช ัดเจน ท้ัง 3 ปจจัยสงผลตอศักยภาพการจัดการรายได จึงจําเปนตองมีการทบทวนกําหนด แนวทางพฒั นา

14 กิจกรรมท่ี 1 ใหผูเรียนวิเคราะหศักยภาพธุรกิจของตนเอง หรือธุรกิจของผูประสบความสําเร็จในอาชีพ ตามรูปแบบตารางการวิเคราะหที่กําหนด และประเมินผลดังนี้ 1. ภาพรวมของศักยภาพธรุ กิจอยูระดบั ใด 2. ศกั ยภาพใดบางที่ถึงเกณฑ และศักยภาพใดบางทไ่ี มถ งึ เกณฑ 3. ศักยภาพที่ไมถึงเกณฑทานมีแนวทางในการพัฒนาอยางไร

15 เรื่องที่ 3 การวิเคราะหตาํ แหนง ธรุ กจิ การเขาสูอาชีพเมือ่ ดําเนินธุรกิจไปจนประสบผลสําเร็จ มักจะถูกจับตามองทําตามกัน มาก สวนแบงการตลาดจึงมีขนาดเล็กลงโดยลําดับ จนถึงวันหนึ่งจะเกิดวิกฤติจึงมีความจําเปนทีจ่ ะตอง พัฒนาหรือขยายขอบขายอาชีพออกไปหรือเรียนรูทําในสิง่ ทีค่ นอื่นทําไมได เพือ่ ใหอยูไ ดอยางมั่นคง ยั่งยืน การพัฒนาหรือขยายอาชีพ จะตองวิเคราะหและประเมินศักยภาพของธุรกิจวาอยูใ นตําแหนงธุรกิจ ระดบั ใด ดงั น้ี 4 ธรุ กิจตกตํ่าหรอื สงู ขึ้นถา ไมม ี การพฒั นาธรุ กจิ จะเปน ขาลง จาํ เปน ตอ งขยายขอบขาย จึงมีความตองการใชนวตกรรม/ เทคโนโลยีเขา มาใชง าน 3 ธรุ กิจทรงตวั จะมีผูคนเขามาเรียนรูท ําตาม ทําใหเ กดิ วิกฤตสิ ว นแบง ตลาด 2 ธรุ กิจอยใู นระยะสรางตัว จะมีคนจับตามองพรอมทําตาม 1 ธรุ กจิ ระยะเร่มิ ตน การพฒั นา แผนภูมิการวเิ คราะหตาํ แหนงธรุ กจิ 1. ระยะเริม่ ตน เปนระยะเริม่ ตนของการทําธุรกิจ จึงตองมีการพัฒนาใหธุรกิจอยูได เปน ระยะท่ีผูประกอบการจะตอ งประชาสมั พันธส ินคา และบริการใหลกู คารูจกั 2. ระยะสรา งตัว เปน ระยะทธี่ รุ กิจเติบโตมาดวยดี มักจะมคี นจบั ตามองพรอมคําถาม 3. ระยะทรงตัว เปนระยะทีธ่ ุรกิจอยูนิง่ ไมมีการขยายตลาด ไมมีการพัฒนา สืบ เนื่องมาจากระยะที่ 3 ทีม่ ผี ูประกอบการอนื่ ๆ ทาํ ตาม จงึ ทาํ ใหมีสว นแบง ของตลาด 4. ระยะตกต่ําหรือสูงขึน้ เปนระยะที่ถาไมมีการพัฒนาธุรกิจก็จะอยูในขาลง ถามีการ พฒั นาธรุ กจิ จากระยะทรงตวั กจ็ ะทาํ ใหธรุ กจิ อยูใ นขาข้นึ การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลา เปนการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจตามระยะเวลา กับขั้นตอนการทํางานในอาชีพ

16 เรือ่ งที่ 4 การวิเคราะหศ กั ยภาพธุรกจิ บนเสนทางของเวลาตามศกั ยภาพของแตล ะพื้นท่ี เสนทางของเวลา หมายถึง วัฎจักรของการประกอบอาชีพ ธุรกิจ สินคาหรือบริการ ในชวงระยะเวลาหนึ่งของการดาํ เนนิ การ การวิเคราะหศักยภาพบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่ ทําใหมองเห็น ความกาวหนา ความสําเร็จในแตละภารกิจ ดวยการกําหนดกิจกรรมพรอมกํากับเวลาทีต่ องใชจริง เขียน เปนผังการไหลของงานใชเฝาระวังการดําเนินงาน การจัดทําผังการไหลของงานในแตละภารกิจ ให กาํ หนดดงั น้ี 1. กาํ หนดงาน/อาชพี ออกเปน เรอ่ื งสาํ คญั 2. นาํ กิจกรรมออกมาจัดลาํ ดบั ขัน้ ตอนกอ นหลัง 3. นําลักษณะบงชี้ความสําเร็จออกมากําหนดเปนผลการดําเนินงาน จัดทําผังของงานในรูปแบบใดก็ไดที่ผูประกอบอาชีพมีความเขาใจดี ดังตัวอยางการปลกู มะละกอ การบรหิ าร วางแผน เตรยี ม จัดจาํ หนา ย สรุป จดั การ การผลติ ปจจยั ปลกู ยอดขาย ขยายอาชพี ปลกู ปลกู มะละกอ มะละกอ 5 ไร การผลติ ทํา บาํ รงุ ปลกู บํารุง เก็บเก่ียว มะละกอ ปุยหมัก ดิน มะละกอ รักษา ชวงเวลา (สปั ดาห) 1 2 3 4-14 15 16-24 25 26

17 การปลูกผักอนิ ทรยี ใ ชเวลา 8 สัปดาห การทํางาน มี 2 ลักษณะ คือ การบริหารจัดการและ การปลูกผกั ตองจัดผังใหเห็นการทาํ งานกอนหลงั ตัง้ แตเ ริ่มตนจนจบ เพ่อื ใหม องเหน็ เสนทางของการปลูกพชื เราสามารถใชผังการไหล กํากับ ดูแลการขยายอาชีพดวยการ 1. นําผังการไหลของงานติดผนังใหมองเห็น 2. ติดตามระยะเวลาตามผังการไหลของงานวา วันทีก่ ําหนดกิจกรรมดําเนินการเสร็จ หรือไม ถาเสรจ็ ก็ทําเครอื่ งหมายบอกใหรวู าเสรจ็ 3. ถาไมเสร็จผูป ระกอบการจะตองติดตาม คนหาสาเหตุแลวปฏิบัติการแกไข ขอ บกพรอ ง 4. ดําเนินการปรับระยะเวลาในผังการไหลของงานใหเปนความจริง ประเมินผลการกํากับ ดูแลวา มีสวนใดประสบผลสําเร็จบาง และสําเร็จไดเพราะอะไร เปนเหตุ จากนั้นดูวา สวนใดทีไ่ มประสบผลสําเร็จและมีอะไรเปนเหตุ นําผลทั้งความสําเร็จและความ เสียหายมาสรปุ ผล เพ่ือนําผลกลบั มาแกไขแผนกลยทุ ธและแผนปฏิบตั ิการใหมปี ระสทิ ธิภาพได การวิเคราะหศักยภาพบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่ คือ การแยกแยะ กระบวนการทางธุรกิจ หรือการดําเนินการดานอาชีพหรือการประกอบอาชีพ โดยแบงตามชวงระยะเวลา ดําเนินกิจกรรม และมีเปาหมาย คือ ผลการประกอบการในชวงเวลานั้น เมือ่ เปรียบเทียบชวงกอนหนานี้ จัดอยปู ระเภทขาขึน้ หรอื ขาลงในตําแหนงธรุ กจิ ดงั ตอ ไปนี้ 1. ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นแตล ะพื้นท่ี ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษยสามารถนําไปใชใหเกิด ประโยชนตอชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพได เชน การวางแผนปลูกมะละกอ มีแหลงน้ํา เพียงพอตอระยะเวลาในการปลกู หรือไม และความอุดมสมบรู ณของดนิ มมี ากนอยเพยี งใด ซึง่ จะสงผลตอ การปรับปรุงดินและการใสปุยมะละกอ 2. ศกั ยภาพของพ้นื ทตี่ ามลกั ษณะภมู ิอากาศ ลกั ษณะภมู ิอากาศ หมายถึง ลกั ษณะอากาศประจําถิ่นในชวงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งมีอทิ ธพิ ลตอ การ ประกอบอาชีพในแตละพื้นที่มีสภาพอากาศที่แตกตางกัน การเตรียมปจจัยการปลูกมะละกอเกี่ยวกับเมล็ด พันธุ ควรเลอื กพันธใุ หเหมาะสมกับฤดูกาล เพราะจะทําใหม ะละกอเจริญเติบโตดี และใหผ ลผลิตตรงตาม สายพันธุ 3. ศกั ยภาพของภมู ปิ ระเทศ และทําเลท่ีตั้งของแตล ะพื้นที่ ภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผนดิน ความสูงตา่ํ ทรี่ าบลมุ ที่ราบสูง ภูเขา แมน ้ํา ทะเล เปน ตน ในการปลูกมะละกอ ควรเลือกพ้ืนที่ท่ีสูง ใกลแ หลงนา้ํ และน้ําไมทวมขงั

18 4. ศักยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวิตของแตล ะพ้นื ที่ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี หมายถงึ ความเชอื่ การกระทําท่ีมกี ารปฏิบัติสืบเนอื่ งกันมาเปน เอกลักษณ และมคี วามสําคัญตอ สังคม ในแตล ะภาคของประเทศไทย มวี ถิ ชี ีวิต การเปน อยู การประกอบอาชีพและการบริโภคที่ แตกตา งกนั เชน บางแหง ปลูกมะละกอ เพื่อสงโรงงาน หรือบางแหงปลูกมะละกอเพอื่ บริโภค เปนตน 5. ศักยภาพของทรัพยากรมนุษยในแตล ะพื้นท่ี ทรพั ยากรมนษุ ยใ นแตล ะพืน้ ที่ หมายถงึ ความรู ความสามารถของมนษุ ยท ี่เปน ภมู ิรู ภูมิปญ ญา ทง้ั ในอดีตและปจ จุบันตางกนั ในแตละทองถิ่นมีความถนัด และความชํานาญในการบํารุงรักษา เก็บเกี่ยว และจัดจาํ หนายท่ไี มเหมอื นกันสงผลใหผ ลผลิตและรายไดต างกัน กิจกรรมที่ 2 ใหผูเ รียนทดลองจัดทําผังการไหลของงานการขยายอาชีพของตนเอง หรืออาชีพของผู ประสบความสําเร็จจากการประกอบอาชีพ

19 บทที่ 2 การจดั ทาํ แผนพัฒนาการตลาด สาระสําคัญ การจัดทําแผนพัฒนาการตลาดเปนการพัฒนาการตลาดของสินคาใหสามารถแขงขัน ได โดยการกําหนดเปาหมายและกลยุทธตางๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมายทางการตลาดที่กําหนดไว ลกั ษณะบง ชีค้ วามสําเร็จของการเรยี นรู 1. กําหนดทิศทางและเปาหมายการตลาดของสินคาหรือบริการได 2. กําหนดและวิเคราะหกลยุทธสูเปาหมายการตลาดได 3. กาํ หนดกจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาดได ขอบขายเนอ้ื หา เรือ่ งที่ 1 การกําหนดทิศทางการตลาด เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชีพ เรื่องที่ 2 การวิเคราะหกลยุทธ เร่อื งท่ี 3 การกําหนดกิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาด

20 เรอื่ งที่ 1 การกาํ หนดทิศทางการตลาด เปาหมาย กลยทุ ธในการขยายอาชีพ ความคิดรวบยอด การทําธุรกิจไมวาจะทําระดับใด จําเปนตองมีทิศทางใหมองเห็นผลสําเร็จ ภาระงานที่ จะตองทําและกลยุทธสูความสําเร็จใชเปนความคิดสูการปฏิบัติจริง จะทําใหเราวางธุรกิจอยูใ นความพอดี อยางมีภูมิคุมกัน ไมใชทําไป คิดไป ลงทุนไป อยางไรทิศทาง ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งาน 123 1. ทิศทางธุรกิจ 2. เปาหมาย 3. แผน วสิ ยั ทัศน กลยุทธ แผนกลยทุ ธ พันธกจิ จากแผนภูมิ ทําใหมองเห็นวาการกําหนดทิศทาง กลยุทธ การขยายอาชีพ ประกอบดวย 1. การคิดเขียนทิศทางธุรกิจ ประกอบดวยวิสัยทัศนทีต่ องการใหเกิดอยางมีความพอดี และ พนั ธกจิ สาํ คญั ทจี่ ะนําไปสูค วามสาํ เร็จ 2. การคิดเขียนกลยุทธหรือวิธีการสรางความสําเร็จตามพันธกิจ ซึ่งจะมีเปาหมายอยางชัดเจน 3. การคิดเขียนแผนกลยุทธดวยการนําเปาหมายกลยุทธมาวิเคราะหใหมองเห็นตัวบงชี้ ความสําเร็จ ปจจัยนําเขาทีส่ ําคัญ และกิจกรรมทีจ่ ําเปนตองทําเปนแผนทิศทางไปสูค วามสําเร็จของการ ดําเนนิ ธรุ กจิ

21 รายละเอยี ดการดําเนนิ งาน 1. การกําหนดทิศทางธุรกจิ เปนการคิดใหมองเห็นอนาคตของการขยายอาชีพใหมีความพอดี จะตองกําหนดใหไดวา ในชวงระยะขางหนาควรจะไปถึงไหน อยางไร ซึ่งประกอบดวย ขอความวิสัยทัศนวาจะไปถึงไหน และ ขอความพันธกจิ วา จะไปอยางไร โดยมวี ธิ กี ารคดิ และเขยี นดังน้ี 1.1 การเขียนขอความวิสัยทัศน การขยายอาชีพ มีลักษณะโครงสรางการเขียนที่ประกอบดวย ก. ชว งระยะเวลาทเ่ี ราไปสดุ ทางของการขยายอาชพี ในชว งน้ี จะเปน ระยะเวลา กป่ี  พ.ศ. อะไร ข. ความคิด เปาหมาย ลักษณะความสําเร็จทีเ่ ราจะไปถึงอยางมีความพอดี และทาทาย ความสามารถของเรา คืออะไร ตวั อยางขอ ความวสิ ยั ทัศน “ พ.ศ. 2551 ไรทนเหนอื่ ยผลิตผักสดผลไมเกษตรอินทรยี เขาสตู ลาดคณุ ภาพประเทศสงิ คโปร จากขอความวิสัยทัศน ตัวอยางขางตน สามารถจําแนกใหมองเห็นโครงสรางการเขียนไดดังนี้ ก. ชวงระยะเวลาที่จะไปสุดทาง คือ ป พ.ศ. 2551 ข. ขอความ ความคิดลักษณะความสําเร็จทีจ่ ะไปถึงอยางมีความพอดีและทาทาย คือไรทน เหนือ่ ยสามารถผลิตผักสด ผลไม เกษตรอินทรยี เขา สตู ลาดคุณภาพประเทศสงิ คโปรไ ด จึงอาจสรุปไดวาการกําหนดวิสัยทัศนไมใชเปนการกําหนดเพือ่ ความนาสนใจ แตเปนการ กาํ หนดใหมองเห็นทิศทางของธุรกิจที่เราจะตองฝาฟนอุปสรรคตางๆ ไปใหถึงได 1.2 การเขียนพันธกิจ การเขียนขอความพันธกิจเปนการดําเนินการตอเนื่องจากการกําหนด วิสัยทศั น วา เราจะตองมีภารกิจทีส่ ําคัญ อะไรบาง ทีเ่ ราทําใหการขยายอาชีพบรรลุผลสําเร็จ ไดต ามวสิ ยั ทศั น โดยมแี นวทางการคดิ และเขยี นดงั น้ี 1.2.1 การวิเคราะหวา หากจะใหเกิดความสําเร็จตามวิสัยทัศน จะตองมีพันธกิจอะไรบาง ในทางธุรกจิ มีภาระทส่ี าํ คญั 4 ประการ คือ ก. ภารกจิ ดา นทนุ ดาํ เนนิ การ ข. ภารกิจดานลูกคา ค. ภารกจิ ดา นผลผลติ ง. ภารกจิ ดา นการเรียนรูพัฒนาตนเองและองคกร ดงั นน้ั การดาํ เนนิ การขยายอาชพี อาจใชพ นั ธกจิ ทง้ั 4 กรณีมาคิดเขียนพันธกจิ นําไปสูค วามสาํ เรจ็ ได 1.2.2 โครงสรางการเขียนพันธกิจมีองคประกอบรวม 3 ดาน คอื ก. ทําอะไร (บอกภาระสําคัญที่กระทบตอความสําเร็จ) ข. ทําไมตองทํา (บอกเหตผุ ลหรอื จดุ ประสงค) ค. ทําอยางไร (บอกวิธดี าํ เนนิ การทีส่ าํ คัญ และสง ผลตอ ความสําเรจ็ จรงิ )

22 ตัวอยางขอความภารกจิ ของไรทนเหนื่อย 1. ขยายพนื้ ทกี่ ารผลติ 20 ไร เพ่ือใชผ ลิตผกั สดอนิ ทรีย ดวยการพัฒนาคุณภาพดนิ ดวยปยุ พืชสด เพิ่มแรงงาน 10 คน จัดหานาํ้ ใหไ ดว นั ละ 300 ลูกบาศกเมตร 2. สรางความเชื่อถือใหกับลูกคา เพื่อขยายการตลาดดวยการจัดทําเว็บไซดของตนเอง จัดทําสารคดี เผยแพร สัปดาหล ะ 1 เรื่อง และเวบ็ บอรด แลกเปล่ยี นเรียนรูกบั ลกู คา และผูสนใจ 3. ยกระดบั คณุ ภาพผลผลิตใหเปน ไปตามมาตรฐานเกษตรอินทรียย โุ รป เพ่อื ใหสามารถสงออก ตางประเทศได ดว ยการพฒั นาคณุ ภาพดนิ ไมใหป นเปอ นโลหะหนกั และจัดการแปลงเกษตรให เปนระบบนิเวศธรรมชาติ 4. พัฒนาคนงานใหทํางานตามขั้นตอน เพื่อติดตามหาขอบกพรอ งและปฏบิ ัตกิ ารแกไข ขอบกพรองไดดวยการสรางความตระหนักใหเห็นความสําคัญของมาตรฐานคุณภาพ และรวม เขียนเอกสารขั้นตอนการทํางาน จากตัวอยางขอความพันธกิจของไรทนเหนื่อย นํามาจําแนกขอความตามลักษณะโครงสรางการ เขยี นไดด งั น้ี ทําอะไร ทําไมตองทํา ทาํ อยา งไร 1. ขยายพ้นื ทีก่ ารผลติ 20 ไร เพือ่ ใชผลติ ผักสดอินทรยี  โดยการพัฒนาคุณภาพดินดวยปุย พืชสด เพิ่มแรงงาน 10 คน จัดหา นาํ้ วนั ละ 300 ลูกบาศกเมตร 2. สรา งความเช่ือถอื ใหก ับลูกคา เพอ่ื ใหลกู คา มัน่ ใจวาไดบ ริโภค ดว ยการจดั ทาํ เวบ็ ไซดข องตนเอง อาหารคุณภาพ สะอาด ปลอดภยั จดั ทาํ สารคดีเผยแพรส ปั ดาหละ 1 เร่ือง และเว็บบอรดแลกเปล่ียน เรยี นรูกับลูกคา 3. ยกระดบั คุณภาพผลผลติ ให เพือ่ ใหส ามารถสง ออกไปสู ดว ยการพัฒนาดนิ ไมใ หป นเปอ น เปนไปตามมาตรฐานเกษตร ประเทศสิงคโปรได โลหะหนกั ตามมาตรฐานพฒั นา อนิ ทรยี ยุโรป ระบบนิเวศแปลงเกษตรใหเปน ระบบนิเวศธรรมชาติ 4. พัฒนาคนงานใหทํางานตาม เพื่อใหสามารถติดตามหา ดว ยการสรา งความตระหนกั ให ขน้ั ตอนได ขอบกพรองและปฏิบตั ิการแกไข เห็นความสําคัญของมาตรฐาน ขอบกพรองได คณุ ภาพผลผลติ และรว มเขียน เอกสารขั้นตอนการทํางาน

23 จึงสรุปไดวาการขยายอาชีพใหเกิดความพอดีนัน้ เปนไปตามศักยภาพของผูป ระกอบ อาชีพ แตการกําหนดทิศทางขยายอาชีพนั้นตองมองเห็นทิศทางที่จะไปถึงและรูวามีภารกิจอะไรบาง ตอง ทําอยางไรใหมองเห็นรูปธรรมของการขยายอาชีพที่กาวออกไปขางหนา 2. การกาํ หนดเปา หมายการตลาด เปาหมายการตลาดเพือ่ การขยายอาชีพ คือ การบอกใหทราบวา สถานประกอบการนั้น สามารถทําอะไรไดภายในระยะเวลาเทาใด ซึ่งอาจจะกําหนดไวเปนระยะสั้น หรือระยะยาว 3 ป หรือ 5 ป ก็ได การกําหนดเปาหมายของการขยายอาชีพตองมีความชัดเจนสามารถวัดและประเมินผลได การ กําหนดเปาหมายหากสามารถกําหนดเปนจํานวนตัวเลขไดก็จะยิ่งดี เพราะทําใหมีความชัดเจนจะชวยให การวางแผนมคี ุณภาพยิง่ ข้นึ และจะสง ผลในทางปฏิบัตไิ ดดีย่งิ ขน้ึ 3. การกาํ หนดกลยทุ ธ การท่ีจะขยายอาชีพใหบรรลุตามวิสัยทัศน ตองมีแนวทางปฏิบัติสูค วามสําเร็จ เพือ่ ชัย ชนะเราเรียกวา กลยุทธ ดังนัน้ การกําหนดกลยุทธเพือ่ ใหการขยายอาชีพสูค วามสําเร็จจึงกําหนดกลยุทธ จากภารกจิ ท่ีจะทําทั้ง 4 ดา นตามแนวคดิ ดงั น้ี นําขอความพันธกิจในสวนทําอยางไรมาพิจารณาวามีกิจกรรมที่จะตองทําอะไรบาง ตัวอยา ง การพิจารณาในสวน ทําอยางไรของพันธกิจที่ 1 มีกิจกรรมที่ตอ งทาํ ดงั น้ี 1. พัฒนาคุณภาพดินดวยปุย พืชสด 2. เพิ่มแรงงาน 10 คน 3. จดั ใหม นี าํ้ ใชเพ่มิ วันละ 300 ลูกบาศกเมตร 3.1 คิดพิจารณาวา กิจกรรมใดเปนกิจกรรมทีย่ ุง ยากและเปนแกนหลักสําคัญของความสําเร็จใน ภารกิจนี้ จะตองใชเทคนิควิธีอะไรเขามาเปนกลยุทธในการทํางานดังตัวอยาง กิจกรรม สรปุ ผลการพจิ ารณา ลาํ ดบั เทคนคิ วธิ กี ารทจ่ี ะใช ความสําคัญ เปนกลยุทธ 1. พัฒนาคุณภาพดิน เปนกิจกรรมทีต่ องทํากรอบการ 1 ใชจ อบหมนุ ฟน ดนิ และ วัชพชื เขา ดวยกัน ดว ยปยุ พชื สด ผลิตเปนระยะๆ อยางตอเน่อื ง 2. เพิ่มแรงงาน 10 คน เพียงประกาศรับสมัครแลวชี้แจงให 3 - ทํางานตามขั้นตอน 3. จัดน้าํ เพิ่มวันละ 300 วาจางผูร ับเหมา สํารวจ เจาะหาน้ํา 2 - ลูกบาศกเมตร ทําเสร็จแลว กใ็ ชไดเ ลย

24 3.2 สรปุ ระบุกลยุทธ และเปาหมายกลยุทธดวยการนําผลการวิเคราะหกําหนดเทคนิควิธีการมา เปนกลยุทธ และนําขอความสวนที่บอกวาทําอะไรมาเปนเปาหมายกลยุทธ ดังตัวอยางนี้ 3.2.1 กลยุทธดําเนินการคอื การใชจอบหมุนพัฒนาคณุ ภาพดนิ 3.2.2 เปา หมายกลยทุ ธค อื การพัฒนาคณุ ภาพดนิ 20 ไร ตัวอยางผลการพิจารณากําหนดกลยทุ ธข ยายอาชีพเกษตรอินทรียข องไรทนเหนอ่ื ยดังนี้ ผลการพจิ ารณาขอ ความทาํ ขอความภารกจิ ในสว น ทาํ ขอความกลยทุ ธสูค วามสาํ เร็จ อยางไร และกาํ หนดเทคนคิ วิธีใน อยางไร นํามาใชกําหนด ของการขยายอาชพี กจิ กรรมทีส่ ําคัญสง ผลตอ เปา หมายกลยุทธ ความสําเรจ็ ของภารกิจ ใชจอบหมุนพัฒนาคุณภาพดิน ในการขยายพ้นื ทก่ี ารผลติ จาํ นวน 1. ใชจอบหมนุ พัฒนาคุณภาพ ขยายพื้นทกี่ ารผลติ 20 ไร 20 ไร ใชเว็บไซดเผยแพรความรูเกษตร ดนิ อินทรีย ความเขาใจทาง อินเตอรเนต็ 2. ใชเวบ็ ไซดเ ผยแพร สรางความเชื่อถือใหกับลูกคา ใชองคความรูระบบนิเวศ ธรรมชาติยกระดับคุณภาพ 3. ใชองคความรูระบบนิเวศ ยกระดับคุณภาพผลผลิตใหไ ด ผลผลิตเขาสูมาตรฐานเกษตร อนิ ทรยี ย ุโรป ธรรมชาติ พัฒนาระบบนิเวศ ตามมาตรฐานคุณภาพเกษตร ใชเทคนิคการบริหารคุณภาพให แปลงเกษตร อนิ ทรยี ย ุโรป คณะทํางานรเู ทาทันกนั รวมกนั ทํางานตามขั้นตอนได 4. พัฒนาคณะทํางานใหรเู ทา กัน พัฒนาคนงานใหทํางานตาม ขน้ั ตอนได

25 เรื่องที่ 2 การวิเคราะหก ลยทุ ธ ใชเปนแผนภาพรวมของการขยายอาชีพ เปนเคร่ืองมือควบคุม ภาพรวมของการจัดการขยาย อาชีพที่ประกอบดวยเหตุผลที่จะทําใหการขยายอาชีพสําเร็จกับองคประกอบดานการควบคุมเชิงกลยุทธ ทาํ ใหเ กิด 16 ตาราง บรรจุเงื่อนไขสูความสําเร็จไวสําหรับจัดทําแผนปฏิบัติการ และควบคุมภาพรวมของ การดําเนินงาน ก. องคประกอบดานเหตุผลสูความสําเร็จของการขยายอาชีพประกอบดวย (1) ดา นการลงทุน (2) ดา นลกู คา (3) ดานผลผลิต (4) ดา นการเรยี นรพู ฒั นาตนเอง ข. องคประกอบดานการควบคุมเชิงกลยุทธประกอบดวย (1) เปาหมายกลยุทธ (2) ตัวบงชี้ความสําเร็จ (3) ปจจัยนําเขาดําเนินงาน (4) กจิ กรรม / โครงการที่ตองทํา 3.1 การเขียนแผนกลยุทธทั้งหมดจะตองบรรจุอยูในเอกสารหนาเดียว เพื่อใหมองเห็น ความสัมพันธรวมระหวางตารางทั้ง 16 ตารางดังตัวอยาง ตัวอยางแผนกลยุทธ วิสัยทัศน “ป พ.ศ. 2551 ไรทนเหนือ่ ยผลิตผักสด ผลไมเกษตรอินทรียเขาสูต ลาดอาหารคุณภาพ ประเทศสิงคโปรได

26 แผนกลยทุ ธ เงอ่ื นไข ภารกจิ ดานการลงทุน ภารกิจดานลูกคา ภารกจิ ดานผลผลติ ภารกจิ ดานการ พฒั นาตนเอง เปาหมายกลยุทธ ขยายพื้นทกี่ ารผลติ 20 ไร สรา งความเชือ่ ถอื ใหก ับ ยกระดบั คุณภาพ พฒั นาคนงานใหท าํ งาน ตัวบง ช้คี วามสําเร็จ ลูกคา ผลผลติ ใหไ ดต าม ตามขั้นตอนได - พฒั นาคณุ ภาพเปน ดนิ - ยอดสง่ั ซอื้ เพิ่มขึน้ จนเตม็ มาตรฐานการเกษตร - คนงานยึดการทาํ ตาม ปจจยั นาํ เขา อินทรียค รบ 20ไร อนิ ทรยี ยโุ รป เอกสารคมู ือดาํ เนนิ งาน ดําเนินงาน ปริมาณการผลิต - ผลการวเิ คราะห - คนงานรเู ทา ทนั กนั กิจกรรมโครงการ - โครงสรางดินเปน เมลด็ กลม - ลกู คา เขา มาแลกเปลย่ี น สีนาํ้ ตาล ผลผลติ ไมพ บธาตุ - เอกสารขน้ั ตอนการ ความเขาใจเกษตรอนิ ทรีย โลหะหนกั ที่ระบุใน ทาํ งาน - จอบหมนุ ขนาดหนา กวา ง 120 ในเว็บเพจ มาตรฐาน - เอกสารตรวจติดตาม ซม. - สารคดกี ารผลติ เกษตร - ปราศจาก คณุ ภาพ - เมลด็ พนั ธปุ ุยพืชสด อินทรียไรท นเหน่อื ยภาค จลุ ินทรยี บ ูดเนา - ฝก อบรมการทาํ งาน - จลุ ินทรยี  พด.1 พด.2 และ ภาษาองั กฤษและไทย เมลด็ พนั ธุ รว มกัน เพ่ือใหม ี พด.3 - จดั ทาํ สารคดคี วามรแู ละ ออกานคิ ความสามารถเทา ทนั กนั - กิจกรรมการพัฒนาดนิ ดา นปยุ แสดงผลงานเกษตรอินทรยี  - จัดทาํ เอกสารขน้ั ตอน พชื สด เดือนละ 1 เรอื่ ง - ผลติ เมลด็ พนั ธุพชื ผกั การทาํ งานในแตล ะ - สาํ รวจขดุ เจาะบอ น้ําบาดาล - ติดตั้งเวบ็ ไซด ตวั ท่ีสามารถทําได กจิ กรรม ขนาด 300 ม3/วนั - จา ยแจก DVD ความรู - ฝก การใชเ อกสาร เกษตรอนิ ทรียไรท นเหนือ่ ย ขน้ั ตอนการทาํ งาน จากตัวอยาง ทําใหมองเห็นสาระสําคัญทีเ่ ปนเหตุเปนผลตอความสําเร็จของการขยาย อาชีพเกษตรอินทรยี ไรท นเหนอ่ื ย

27 เรื่องท่ี 3 การกาํ หนดกจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาด การกาํ หนดกิจกรรมเพ่อื พฒั นาการตลาด การตลาดมีความสําคัญมีผลตอการบรรลุเปาหมายสุดทายของการดําเนินธุรกิจ ธุรกิจ ตองเริม่ ดวยการศึกษาความตองการที่แทจริงของลูกคา จากนั้นจึงทําการสรางสินคาหรือบริการที่ทําให ลกู คา เกดิ ความพอใจสงู สดุ ดวยการคํานึงถงึ ในเรื่องตอ ไปน้ี 1. กิจกรรมการพัฒนาสินคาใหตรงกับความตองการของลูกคา 2. กิจกรรมดานราคาผูผลิตตองกําหนดราคาทีเ่ หมาะสมกับกําลังซือ้ ของผูบริโภค และ เหมาะสมกับคุณภาพของสินคา 3. กิจกรรมดานสถานที่ ตองคิดวาจะสงของสินคาใหกับผูบ ริโภคไดอยางไร หรือตองมี การปรับสถานที่ขาย ทําเลที่ตั้งขายสินคา 4. กิจกรรมสงเสริมการขาย จะใชว ธิ กี ารใดทท่ี ําใหล กู คารจู กั สนิ คาของเรา การวางแผนพัฒนาการตลาด ผูผ ลิตตอ งนํากิจกรรมตาง ๆ มาวางแผนเพื่อพฒั นาตลาด เพือ่ นาํ สูก ารปฏบิ ตั ิ ดงั ตัวอยา ง แผนพัฒนาการตลาดสนิ คา ผงซกั ฟอก แผนการพัฒนาการตลาด ป 2554 ท่ี กจิ กรรมท่ีตองดําเนนิ การ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1 กําหนดทิศทางการพัฒนา การตลาด - วสิ ยั ทัศน - พันธกจิ 2 กาํ หนดเปา หมายการตลาด 3 กําหนดกลยุทธส เู ปา หมาย 4 วเิ คราะหก ลยทุ ธ 5 ดาํ เนนิ การ - การโฆษณา - การประชาสัมพันธ - การทําฐานขอมูลลูกคา - การสงเสริมการขาย - การกระจายสินคา ฯลฯ

28 กจิ กรรมที่ 1 ใหผเู รียนกําหนดทิศทาง เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชีพ และกาํ หนดกจิ กรรม และวางแผนการพัฒนาตลาดสินคาของผเู รยี นหรือสนิ คา ท่ีสนใจ ลงในตารางท่กี ําหนดข้นึ 1. ทิศทางธุรกิจในการขยายอาชีพ.................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. เปาหมายธุรกิจในการขยายอาชีพ................................................................................ ..................................................................................................................................................................... 3. กลยุทธในการขยายอาชีพ............................................................................................. ..................................................................................................................................................................... กิจกรรมและแผนการพฒั นาการตลาด อาชพี /สินคา.......................................................................... แผนการพฒั นาการตลาด ป 2554 ท่ี กิจกรรมทีต่ องดาํ เนินการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

29 บทที่ 3 การจัดทาํ แผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ สาระสําคัญ การพัฒนาการผลิตหรือการบริการเกิดจากการกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ วเิ คราะหท นุ ปจจยั กําหนดเปาหมาย กําหนดแผนกิจกรรม เปน การพฒั นาระบบการผลติ หรือการบรกิ าร ลักษณะบงชีค้ วามสาํ เรจ็ ของการเรียนรู 1. อธบิ ายการกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบรกิ าร 2. สามารถวิเคราะห ทุนปจจยั การผลิตหรอื การบริการ 3. กําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ 4. กาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ 5. พัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ ขอบขา ยเน้ือหา 3.1 การกาํ หนดคณุ ภาพผลผลิตหรอื การบริการ 3.2 การวเิ คราะหท ุนปจ จยั การผลติ หรือการบริการ 3.3 การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ 3.4 การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลิต 3.5 การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ

30 เร่อื งที่ 1 การกาํ หนดคณุ ภาพผลผลติ หรอื การบรกิ าร หนวยนีจ้ ะเปนการเรียนรูตอเนือ่ งจากหนวยที่ 2 ซึง่ มีการกําหนดทิศทาง เปาหมาย กล ยุทธทางการตลาดแลว ดังนัน้ ในหนวยนีจ้ ะเปนการกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการใหสอดคลอง กับความตองการของตลาดขึ้นอยูกับเปาหมาย คือ ลูกคา เปนกลุม ใด วัยใด เพศใด อาชีพใด มีระดับ การศึกษาใด การกาํ หนดคุณภาพผลผลิต ความหมายของคุณภาพ ความหมายของคุณภาพ ถูกกําหนดขึน้ ตามการใชงานหรือตามความคาดหวังของผู กําหนด เชน มีความเหมาะสมกับการใชงาน มีความทนทาน ใหผลตอบแทนสูงสุด บริการดีและ ประทับใจหรือเปนไปตามมาตรฐานที่ตั้งใจไว แบงเปน 2 ลักษณะ ดงั น้ี 1. คุณภาพตามหนาที่ หมายถึง ประสิทธิภาพการทํางาน ความเหมาะสมในการใชงาน ความทนทาน เชน พัดลมเครื่องนี้มีมอเตอรที่สามารถใชไ ดอยางตอ เน่อื งถงึ 24 ช่ัวโมง 2. คุณภาพตามลักษณะภายนอก หมายถึง รูปรางสวยงาม สีสันสดใส เรียบรอย เหมาะ กับการใชงาน โครงสรางแข็งแรง ผลิตภัณฑสวนใหญมักเนนคุณภาพภายนอก โดยเนนที่สีสันสดใส หรอื รปู ลักษณใหโดดเดน เพ่ือดึงดดู ความสนใจของผซู ื้อ ในอดีตคุณภาพมักจะถูกกําหนดขึ้นจากความตองการของผูผ ลิต แตปจจุบันสภาพการ แขงขันในตลาด มีมาก หากคุณภาพไมตรงกับความตองการของผูซือ้ การผลิตสินคาและบริการก็อาจจะ ตองลมเลิกกิจการไป ดังที่ไดเกิดขึน้ มาในปจจุบัน สินคาบางประเภทแขงขันกันทีค่ ุณภาพ บางประเภท แขงขนั กนั ทร่ี าคา แตบ างประเภทแขง ขนั กนั ทค่ี วามแปลกใหม ดังน้ัน การผลิตหรือใหบริการใด ๆ จะตองมี การศึกษาสภาพตลาดอยางรอบคอบ เพื่อกําหนดคุณภาพ ขน้ั ตอนการกําหนดคุณภาพ การกําหนดคุณภาพมีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะการกําหนดคุณภาพไมไดกําหนดจาก บุคคลใด บุคคลหนึง่ หรือกลุมคน หรือสถาบันเทานัน้ แตการกําหนดคุณภาพตองคํานึงถึงคนหลายกลุม หลายสถาบนั การกําหนดคุณภาพสนิ คาและบรกิ าร มขี นั้ ตอนดําเนินการ 3 ขน้ั ตอน ไดแ ก 1. การศึกษาความตองการของผูใชสินคาและบริการอยางกวางขวางและครอบคลุมผูซื้อ หรือผูใชบริการที่มีความหลากหลาย 2. การออกแบบผลิตภัณฑหรือพัฒนาผลิตภัณฑใหสอดคลองกับความตองการทีศ่ ึกษา มาอยางจริงจัง 3. จดั ระบบการผลิตและควบคุมระบบการผลิตใหไดผลผลิตที่มคี ุณภาพ

31 การกําหนดคุณภาพการบริการ การบริการ หมายถึง การใหความชวยเหลือ หรือการดําเนินการเพื่อประโยชนของผูอ่ืน การบริการทีด่ ี ผูร ับบริการก็จะไดรับความประทับใจ และชื่นชมองคกร ซึง่ เปนสิ่งดีสิง่ หนึ่งอันเปนผลดี กับองคกรของเรา เบือ้ งหลังความสําเร็จเกือบทุกงาน มักพบวางานบริการเปนเครือ่ งมือสนับสนุนงาน ดานตาง ๆ เชน งานประชาสัมพันธ งานบริการวิชาการ เปนตน ดังนัน้ ถาบริการดี ผูรับบริการเกิดความ ประทับใจ เกิดภาพลักษณท่ีดตี อ องคก ร (อาศยา โชติพานิช. ออนไลน, 2533) คุณภาพของงานบริการ (Service Quality) ปจจัยทบี่ ง ชีค้ ณุ ภาพของการบริการ ไดแก 1. สามารถจับตองได โดยปกติบริการเปนสิ่งที่จับตองไมได ทําใหการรับรูใ นคุณภาพ คอนขางไมชัดเจน ดังนัน้ บริการทีด่ ีควรสรางหลักฐานใหเห็นชัดเจนวา บริการนัน้ มีคุณภาพหลักฐานที่ จะสรางนัน้ ไดแก อาคาร อุปกรณ เครือ่ งอํานวยความสะดวก และบุคลากร เชน การจัดทีน่ ั่งคอยการ บริการ การบริการอยางดี 2. นา เชื่อถอื ในทน่ี หี้ มายถึง ความถูกตองในการคิดคาบริการ รานอาหารที่คิดราคาตรง กับจํานวนอาหารที่ลูกคาสั่ง ลูกคายอมใหความเชื่อถือ และจะกลับไปรับประทานอาหารทีร่ านนั้นอีก ตรงกันขามกับรานอาหารทีค่ ิดเงินเกินกวาความเปนจริง ยอมทําใหลูกคาหมดความเชือ่ ถือ และไม กลับไปใชบริการที่รา นอาหารน้ันอีก เปน ตน 3. มีความรู ผูใหบริการทีม่ ีคุณภาพตองเปนผูม ีความรูใ นเรือ่ งนัน้ เชน ชางซอมรองเทา ตองมีความรูใ นเรือ่ งการซอมรองเทา ทาทางขณะซอมรองเทา ตองดูวามีความสามารถ มีความ กระฉับกระเฉง คลองแคลว ซึ่งทําใหผูเอารองเทาไปซอมเกดิ ความมน่ั ใจ เปนตน 4. มีความรับผิดชอบ ตัวอยางเชน อูซอมรถยนตสัญญากับลูกคาวา จะซอมรถยนตให เสร็จภายใน 3 วัน อูแหงนัน้ จะตองทําใหเสร็จภายในเวลา 3 วัน ชางซอมทีวีทีซ่ อมผิด ทําใหทีวีเสีย ตอง รบั ผิดชอบใหอ ยูในสภาพท่ดี ี โดยไมป ดความผิดใหเจา ของทีวี 5. มีจิตใจงาม ผูใหบริการทีม่ ีคุณภาพตองเปนผูมีจิตใจงาม จึงจะเปนผูก ระตือรือรนใน การใหบรกิ ารผอู ืน่ เตม็ ใจชวยเหลอื โดยไมรงั เกยี จ กิจกรรมที่ 1 ใหผ ูเ รยี นกาํ หนดคุณภาพผลผลติ หรอื การบริการท่สี อดคลองกับความตอ งการของกลุมลูกคาของ อาชพี ทผ่ี เู รียนดําเนินการหรืออาชีพที่สนใจลงในแบบบันทึก

32 เรื่องท่ี 2 การวเิ คราะหทุนปจ จยั การผลิตหรอื การบริการ ทนุ หมายถึง เงินลงทุนในการดําเนินงานธุรกิจ(ผลิตหรือบริการ) ทุนถือวาเปนปจจัยสําคัญในการประกอบกิจการอาชีพใหดําเนินงานไปอยางมีประสิทธิภาพ และมีความเจริญเตบิ โตอยา งตอ เนอ่ื ง ตนทุนการผลิต หมายถึง ทนุ ในการดาํ เนินกจิ การ แบง ได 2 ประเภท คอื 1. ทนุ คงท่ี คอื การทผี่ ูประกอบการจดั หาทนุ เพอ่ื ใชใ นการจัดหาสนิ ทรพั ยถ าวร เชน ดอกเบย้ี เงนิ กู ที่ดนิ อาคาร เคร่อื งจกั ร เปนตน ทุนคงที่ สามารถแบงได 2 ลกั ษณะ คอื 1.1 ทนุ คงทท่ี ่ีเปน เงินสด เปนจาํ นวนเงนิ ทตี่ อ งจา ยเปน คา ดอกเบี้ยเงินกู เพ่ือนาํ มาใช ในการดาํ เนนิ งานธรุ กจิ 1.2 ทนุ คงท่ีที่ไมเปน เงนิ สด ไดแก พนื้ ท่ี อาคารสถานท่ี โรงเรือน รวมถึงคา เส่ือม ของเครื่องจักร 2. ทุนหมุนเวียน คือ การท่ีผูประกอบการจัดหาทุน เพื่อใชในการดําเนินการจัดหา สินทรัพยหมุนเวียน เชน วัตถุดิบในการผลิตผลผลิตหรือการบริการ วัสดุสิน้ เปลือง คาแรงงาน คาขนสง คา ไฟฟา คา โทรศพั ท เปน ตน ทนุ หมนุ เวยี นแบง ออกเปน 2 ลกั ษณะ คอื 2.1 ทนุ หมนุ เวยี นทเ่ี ปน เงนิ สด ไดแ ก 2.1.1 คา วสั ดอุ ปุ กรณในการประกอบอาชีพ ดังนี้ 1) วัสดุอุปกรณอาชีพในกลุมผลิตผลผลิต เชน งานอาชีพเกษตรกรรม เชน คา ปยุ พันธพุ ชื พนั ธสุ ตั ว คา นา้ํ มัน เปน ตน 2) วัสดุอุปกรณอาชีพในกลุมบริการ เชน อาชีพรับจางซักรีดเสื้อผา เชน คา ผงซักฟอก คาน้าํ ยาซักผา เปน ตน 2.1.2 คาจางแรงงาน เปนคาจางแรงงานในการผลิตหรือบริการ เชน คาแรงงานใน การไถดิน คาจางลูกจางในรานอาหาร 2.1.3 คา เชา ทดี่ นิ /สถานที่ เปนคา เชาทด่ี นิ /สถานที่ในการประกอบธุรกิจ 2.1.4 คา ใชจ ายอน่ื ๆ เปน คา ใชจา ยในกรณอี น่ื ทน่ี อกเหนือจากรายการตา ง ๆ 2.2 ทนุ หมุนเวยี นท่ไี มเปนเงินสด ไดแ ก คาใชจายในครัวเรือน เปนแรงงานในครัวเรือนสวนใหญ ในการประกอบการ ธุรกิจจะไมนํามาคิดเปนตนทุน จึงไมทราบขอมูลการลงทุนที่ชัดเจน โดยการคิดคาแรงในครัวเรือน กาํ หนดคดิ ในอตั ราคา แรงขัน้ ต่ําของทองถิน่ น้ันๆ

33 คาเสียโอกาสทีด่ ิน กรณีเจาของธุรกิจมีทีด่ ินเปนของตนเอง การคิดตนทุนใหคิด ตามอตั ราคา เชาทด่ี ินในทองถน่ิ หรือบริเวณใกลเคยี ง ในการดําเนินกิจการงานอาชีพ การบริหารเงินทุนหรือดานการเงินนัน้ เปนสิง่ ที่ ผูป ระกอบการตองใหความสําคัญเปนอยางมาก เพราะมีผลตอความมั่นคงของอาชีพวาจะกาวหนาหรือ ลมเหลวได ดังนัน้ การใชทุนแตละชนิดตองผานการวิเคราะหวา จะตองใชชนิดใด คุณภาพอยางไร ปริมาณเทาไร จึงจะเหมาะสมกับอาชีพ กิจกรรมที่ 2 ใหผูเ รยี นกาํ หนดปจ จยั การผลติ พรอมวิเคราะหถึงเหตุผลในการใชปจจัยแตละชนิดในงานอาชีพ ทผี่ เู รยี นดาํ เนนิ การเองหรอื อาชีพท่ีสนใจ ปจจยั การผลติ จาํ นวน เหตุผลในการใชปจ จยั น้ัน ๆ รายการ

34 เร่อื งที่ 3 การกาํ หนดเปา หมายการผลติ หรอื การบรกิ าร เปาหมายการผลิตหรือการบริการ เปนคําตอบสําหรับผูประกอบการตองการมากทีส่ ุดโดยมี ปจจยั ทท่ี าํ ใหป ระสบความสาํ เรจ็ ประกอบดวยปจ จยั ตอไปนี้ 1. การกําหนดกลุมลูกคาเปาหมายใหชัดเจน 2. เสริมสรางสวนประสมทางการตลาด 3. คํานึงถึงสภาวะแวดลอมที่ควบคุมไมได 4. สามารถตอบคําถามตอไปนี้ไดทุกขอ ในสวนของลูกคา ประกอบดว ย 1. ใครคือ กลมุ ลูกคา เปา หมายสําหรับผลผลติ ทผ่ี ลติ ขน้ึ หรอื การบรกิ าร 2. ลูกคาเปาหมายดงั กลาวอยู ณ ท่ีใด 3. ในปจ จบุ ันลูกคา เหลานี้ซือ้ ผลผลติ หรอื การบริการไดจ ากท่ีใด 4. ลูกคาซอ้ื ผลผลิตหรือการบริการบอยแคไหน 5. อะไรคือสิ่งจูงใจท่ที าํ ใหล ูกคาเหลา นนั้ ตดั สินใจใชบ รกิ าร 6. ลกู คาใชอะไร หรือทําไมลูกคา ถงึ ใชผลผลติ หรือบรกิ ารของเรา 7. ลูกคา เหลา นั้นชอบและไมชอบผลผลติ หรอื บรกิ ารอะไรท่ีเรามีอยบู าง ในสวนของผลผลิตหรอื การบรกิ าร ประกอบดวย 1. ลูกคา ตองการผลผลิตหรือบริการอะไร 2. ลูกคา อยากจะใหมีผลผลิตหรือบริการในเวลาใด 3. เฉพาะการบริการ ควรตัง้ ชื่อวาอะไร เพือ่ เปน สงิ่ ดึงดดู ใจไดมากทส่ี ุด นอกจากนี้ ผูประกอบการตองคํานึงและพิจารณาถึงความเปนไปได และองคประกอบดานอื่นๆที่ สําคญั ท่ีเก่ียวขอ งตา งๆ ดวยดังน้ี 1. แรงงาน ตองใชแรงงานมากนอยเทาไร ปจจุบันมีแรงงานเพียงหรือไม ถาไมเพียงพอจะทํา อยางไร 2. เงนิ ทนุ ตองใชเงินทุนมากนอยเพียงไร ถาไมเพียงพอจะทําอยางไร 3. เครือ่ งมือ/อุปกรณ ตองใชเครือ่ งมือ/อุปกรณอะไร จํานวนเทาไร เพียงพอหรือไม ถาไม เพียงพอจะทําอยางไร 4. วัตถดุ บิ เปนสิ่งสําคัญมากตองพิจารณาวาจะจัดหาจัดซือ้ วัตถุดิบจากทีใ่ ด ราคาเทาไร จะหาได จากแหลง ไหน และโดยวธิ ใี ด 5. สถานที่ ใหมีความเหมาะสม สะอาด และเดินทางสะดวก เปนหลัก

35 กิจกรรมที่ 3 ใหผูเ รียนกรอกขอมูลเกีย่ วกับ การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ ที่ผูเรียนดําเนินการ เอง หรอื อาชพี ทส่ี นใจ โดยการกรอกรายละเอียดในการกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการอยางไร 1. ลักษณะงานอาชีพ…………………………………….………………………………………. 2. ประเภทของผลผลิตหรือการบริการ………………………………………………………… 3. ชอื่ เจา ของธุรกจิ ………………………………………………………………………… 4. ท่ตี ัง้ ของธุรกิจ………………………………………………………………………… 5. เปาหมายการผลติ หรอื การบรกิ าร……………………………………………………… 6. เหตุผลในการกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ เพราะ ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................

36 เรอ่ื งที่ 4 การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ หรอื การบรกิ าร การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ หรอื การบริการเพือ่ พัฒนาอาชีพ เปนการกําหนดกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับ การขยายอาชพี เชน ตอ งการเปด รา นขายขา วแกงสาขาท่ี 2 ตอ งดาํ เนินกจิ กรรมอะไรบาง ดงั ตัวอยา ง จัดหาทําเล จัดเตรียมวัสดุ ศกึ ษาเกย่ี วกบั เปด จดั บริการ ท่ตี ้งั รานท่ี 2 อุปกรณ เมนอู าหารใหมๆ รา นอาหาร ลกู คา 1 2 3 4 5 ซ่งึ ส่งิ ทส่ี ําคัญยงิ่ ตอ การขยายอาชีพคือการตัดสินใจ โดยมีแนวทางในการดําเนินการ ดงั น้ี 1. ตรวจสอบตัวเองเพื่อใหรูถ ึงสถานภาพในปจจุบันเกี่ยวกับ แรงงาน เงินทุน เครือ่ งมือ/ อุปกรณ วัตถุดิบ และสถานที่วา มีสภาพความพรอมหรือมีปญหาอยางไร รวมถึง ผลผลิตหรือบริการของ ตนเองวา มสี วนใดที่ไมส มบรู ณห รอื ไม 2. สํารวจสภาพแวดลอม เปนการตรวจสอบขอมูลภายนอกเกี่ยวกับการประกอบการประเภท เดียวกันในชุมชน และความตองการของลูกคาทองถิ่น การดําเนินงานตามขน้ั ตอนท่ี 1 และ 2 เปน การศึกษาขอ มูลเพอ่ื ระบถุ ึงปญหาที่เกดิ ขึน้ และควรแกไข 3. การกําหนดทางเลือก หลังจากสามารถกําหนดสาเหตุของปญหาไดแลว เพื่อใหการวางแผนมี ความชดั เจน เจาของธุรกจิ ตอ งตดั สินใจเพอื่ พจิ ารณาหาทางเลอื ก เพื่อใหไดทางเลือกหลายทางสกู ารปฏิบัติ 4. การประเมินทางเลือก เมือ่ สามารถกําหนดทางเลือกไดหลากหลายแลว เพือ่ ไดทางเลือกสู การปฏิบัติที่เหมาะสมทีส่ ุด ในการวางแผนกลยุทธทางการตลาด ผูป ระกอบการตองพิจารณาประเมิน ทางเลอื กในแตละวธิ ี เพ่ือใหสามารถบรรลเุ ปา หมายใหดีทสี่ ุด 5. การตัดสินใจ เมื่อไดทางเลือกหลายทางเลือกในการตัดสินใจสามารถใชหลัก 4 ประการใน การตดั สนิ ใจคอื 1) ประสบการณ 2) การทดลอง 3) การวิจัยหรือการวเิ คราะห และ 4) การตัดสนิ ใจเลอื ก 6. กําหนดวัตถุประสงค เปนการกําหนดเปาหมายของการดําเนินงานวา ตองการใหเกิดอะไร 7. พยากรณสภาพการณในอนาคต เปนการคิดผลบรรลุลวงหนาวา หากดําเนินการตามแผน กจิ กรรมการผลิตหรือการบริการแลว ธุรกจิ ท่ีดาํ เนินงานจะเกิดอะไรข้ึน 8. กําหนดแนวทางการปฏิบัติ เปนการกําหนดรายละเอียดขัน้ ตอนการปฏิบัติวาจะทําอยางไร เมอ่ื ไร เพอ่ื ใหเ กิดผลตามวตั ถุประสงคท ่กี ําหนดไว 9. ประเมินแนวทางการปฏิบัติทีว่ างไว เปนการตรวจสอบความสมบูรณของแผนกิจกรรมการ ผลิตหรือการบริการวา มีความสอดคลองกันหรือไมอยางไร สามารถที่จะปฏิบัติตามขั้นตอน วิธีการที่ กําหนดไวไดหรือไมอยางไร หากพบวาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการที่จัดทําขึน้ ยังไมมีความ สอดคลอง หรอื มีขัน้ ตอนวิธีการใดท่ไี มม่นั ใจ ใหจ ัดการปรบั ปรุงใหมใหมีความสอดคลอ งและเหมาะสม

37 10. ทบทวนและปรบั แผน เมอ่ื สถานการณเปลีย่ นแปลงไป และผลลัพธไมเปนไปตามที่กําหนด เปนการพัฒนาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในระหวางการปฏิบัติตามแผน เมื่อมีสถานการณ เปลย่ี นแปลงไป หรือมขี อ มูลใหมที่สาํ คัญ

38 กจิ กรรมที่ 4 ใหผูเ รียนเขียนแผนกิจกรรมการผลิตหรือแผนบริการที่ตองการขยายอาชีพเปนอาชีพของผูเ รียน ดําเนินการเอง หรอื อาชีพที่สนใจ วามีแผนกิจกรรมการผลิตหรอื การบรกิ ารอยา งไร ลักษณะงานอาชีพ……………………………………………………………………………. ประเภทของผลผลิตหรือการบริการ…………………………………………………………… ชอื่ เจาของธุรกจิ ………………………………………………………………………………… ทีต่ ั้งของธุรกิจ…………………………………………………………………………………… แผนกจิ กรรมการผลิตหรือการบริการ คือ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ เหตุผล เพราะ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

39 เรอื่ งที่ 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร การดําเนินธุรกจิ ทงั้ การผลิตและการบริการ ถึงแมว าธุรกจิ ทีด่ ําเนนิ การอยูจ ะสามารถดําเนินธุรกิจ ไปไดดวยดีแลวก็ตาม แตเพื่อใหธุรกิจมีความกาวหนาและมัน่ คง ผูป ระกอบการธุรกิจตองคํานึงถึงการ พัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการอยา งตอ เนอ่ื ง การพัฒนาระบบการผลิตหรอื การบรกิ ารในภาพรวม สามารถดาํ เนนิ การไดด งั น้ี 1. ลักษณะการผลิตและการใหบริการ หมายถึง สภาพของแหลงใหบริการที่ดีที่ผูใชบริการ สามารถสัมผัสจับตองได 2. ความไววางใจ หมายถึง ความสามารถในการนําเสนอผลิตภัณฑหรือการบริการตามคํามั่น สัญญาที่ใหไวอยางตรงไปตรงมาและถูกตอง 3. ความกระตือรือรน หมายถึง การแสดงความเต็มใจทีจ่ ะชวยเหลือ และพรอมทีจ่ ะใหบริการ ผูใชบริการอยางทันทวงที 4. ความเชี่ยวชาญ หมายถึง ความรู ความสามารถ ในการปฏิบัติงานบริการทีร่ ับผิดชอบอยางมี ประสทิ ธภิ าพ 5. อธั ยาศยั ที่นอบนอม หมายถึง ความมีมิตรไมตรี ความสุภาพนอบนอมเปนกันเอง 6. ใหเ กยี รตผิ ูอ ืน่ จรงิ ใจ มีนํา้ ใจ และความเปน มติ รของผปู ฏิบตั ิงานผลผลติ และบรกิ าร 7. ความนาเชือ่ ถือ หมายถึงความสามารถในดานการสรางความเชือ่ มั่น ดวยความซื่อสัตยของ ผูประกอบการธุรกิจ 8. ความปลอดภัย หมายถึง สภาพที่ปราศจากอันตราย ความเสี่ยงภัยและปญหาตางๆ 9. การเขาถึงบริการ หมายถึง การติดตอเพือ่ การซือ้ ผลิตภัณฑหรือบริการ ดวยความสะดวกไม ยงุ ยาก 10. การติดตอสือ่ สาร หมายถึง ความสามารถในการสรางความสัมพันธ และสื่อความหมายได ชัดเจน ใชภาษาที่งาย และรับฟงความคิดเห็นของผรู บั บรกิ าร 11. ความเขาใจลูกคา หมายถึง ความพยายามในการคนหาและทําความเขาใจกับความตองการ ของผูใชบริการ และใหความสําคัญตอบสนองความตองการของผูใชบริการโดยทันที คุณภาพของการผลิตหรือการบริการเปนสิง่ สําคัญทีผ่ ูป ระกอบการธุรกิจตองรักษาระดับคุณภาพ และพัฒนาระดับคุณภาพการผลิตหรือการบริการใหเหนือกวาคูแขงขัน โดยเสนอคุณภาพการผลิตหรือ การใหบริการตามลูกคาคาดหวัง หรือเกินกวาสิ่งที่ลูกคาคาดหวังไวเสมอ

40 กิจกรรมท่ี 5 ใหผูเ รียนบันทึกเกีย่ วกับ การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการทีผ่ ูเรียนดําเนินการเอง หรือ อาชีพทสี่ นใจ วา มีการพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการอยางไร 1...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 2...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 3...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 4...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 5...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 6...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

41 บทท่ี 4 การพัฒนาธุรกิจเชงิ รุก สาระสําคัญ การพัฒนาอาชีพใหมีความมัน่ คง จําเปนจะตองเห็นถึงคุณคาของธุรกิจเชิงรุก การแทรกความ นิยมเขาสูค วามตองการของผูบ ริโภค การสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหมและการพัฒนาอาชีพใหมี ความม่นั คง เขมแขง็ ย่ังยนื คือ พออยูพ อกนิ มรี ายได มีการออม และมีทุนในการขยายอาชพี ลกั ษณะบงชคี้ วามสาํ เร็จของการเรยี นรู 1. อธิบายความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก 2. อธิบายการแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภคไดอยางแทจริง 3. อธิบายการสรา งรปู ลักษณค ณุ ภาพสินคาใหม 4. อธิบายการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ขอบขา ยเนอื้ หา 1. ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก 2. การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค 3. การสรางรปู ลักษณคณุ ภาพสินคาใหม 4. การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง

42 เรือ่ งท่ี 1 ความจําเปนและคณุ คาของธุรกิจเชงิ รกุ การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก เปนการกําหนดวิธีการหรือแนวทางในการดําเนินงานและกิจกรรมตาง ๆ ขององคก รเพอื่ ใหบ รรลุถงึ วัตถุประสงคท ก่ี ําหนด การกาํ หนดแนวทางในการดาํ เนนิ งานน้ี ผูประกอบการ ตองทําการวิเคราะหและประเมินปจจัยตาง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกองคกร เพือ่ คิดหาแนวทางในการ ดําเนินงานทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด ทามกลางการเปลีย่ นแปลงของปจจัยตาง ๆ นําไปสูก ารพัฒนาอาชีพใหมี ความมนั่ คง เขม แข็ง ยัง่ ยืน คือ พออยพู อกินมีรายได มีการออมและมีทุนในการขยายอาชีพ โลกของเราเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็วทุกขณะทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี ฯลฯ ซง่ึ สง ผลกระทบตอสภาวะการแขง ขันระหวางธุรกจิ ตาง ๆ ดังน้ัน จึงมีความจําเปนท่ีตอง ใชธุรกิจเชิงรุกเขามาใชในการพัฒนาอาชีพ ดงั น้ี คอื 1. การแขง ขนั ทไ่ี รพ รมแดน การแขงขันที่ไรพรมแดนเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นเมื่อสินคาแรงงาน เทคโนโลยี ฯลฯ สามารถเคลอ่ื นยา ยไปมาระหวา งประเทศไดอ ยา งเสรมี ากขน้ึ มผี ลทาํ ใหม กี ารแขง ขนั ทม่ี คี วามรนุ แรงมากขน้ึ 2. การเปล่ียนแปลงทางนวตั กรรม เทคโนโลยี โลกยคุ ใหมมีความกาวหนาทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีมากข้ึน อัตราการเปล่ียนแปลงและการ ใชเทคโนโลยีจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็วขึ้น ทําใหวงจรชีวิตของสินคาและการบริการมีระยะเวลาสั้นลง เทคโนโลยีใหม ๆ สามารถทดแทนเทคโนโลยีเดิมไดอยางรวดเร็ว การปรับปรุงสินคาใหทันสมัยเปนที่ ตองการของลูกคาตลอดเวลา เปนปจจัยทําใหมีการแขงขันตลอดเวลา ปจจัยหรือความสําเร็จของธุรกิจที่มี มาในอดตี จะเรม่ิ เปลย่ี นแปลงไป จําเปนตองมีการทบทวนปรับปรุงและพัฒนาตนเองอยูตลอดเวลา แนวคิด หรอื วธิ กี ารในการบรหิ ารแบบเดิม ๆ ไมส ามารถนาํ องคก รไปสคู วามสาํ เรจ็ ไดเ หมอื นในอดตี

43 เรือ่ งท่ี 2 การแทรกความนิยมเขาสูความตอ งการของผูบรโิ ภค ความสาํ คญั และความตอ งการของผูบริโภค การวางแผนการขายสินคาหรือบริการใดๆ ผูบริหารจะตองมีขอมูลมาประกอบการตัดสินใจ ขอมูลเกี่ยวกับผูบ ริโภคจะถูกนํามาใชเปนขอมูลในการวิเคราะหและการวางแผนการตลาดและนักการ ตลาดจาํ เปน ตองใหความสนใจเกี่ยวกบั ผบู รโิ ภคและความตอ งการของผูบ รโิ ภค เพราะผูผลิตสวนใหญจะ ผลิตสินคาทีค่ ลายคลึงกันและขายใหกับผูบริโภคกลุม เดียวกันการกําหนดรูปแบบผลิตภัณฑตรายี่หอ โดยยึดถือความตองการของผูบ ริโภคจะเปนเครือ่ งชวยใหผูบ ริโภคตัดสินใจไดงายขึน้ นักการตลาด ทราบกันดีอยแู ลววา ผบู รโิ ภคทกุ คนมีรสนยิ มไมเ หมอื นกันซ่ึงมีความแตกตางกันไปเห็นไดชัดเจนในเรื่อง ความตองการของผูบริโภค นักการตลาดตองมีความเขาใจถึงความตองการของผูบริโภคซึ่งตองชีใ้ หเห็น วาความตองการเกิดขึ้นจากอะไร ความตองการของผูบริโภคแบงออกได 2 ประเภทใหญ ๆ คอื 1. ความตองการทางดานรางกาย คือความหิว การนอน การพักผอน การอบอุน 2. ความตองการดานอารมณหรือจิตวิทยา คือ ความปลอดภัย ความรัก การยอมรับ ความ พอใจ ความงาม ฉะนนั้ นกั การตลาดจึงตอ งเขาใจลกึ ซึ้งถงึ รายละเอยี ดของความตองการทั้งสองประเภท เพื่อเอามาเปนจุดขายสินคาและเปนสวนหนึ่งของกลยุทธทางการตลาดดานการโฆษณา โดยปกติสินคาแตละชนิดจะมีเอกลักษณเฉพาะอยูแ ลว เชน ความนิยมของอาหารไทยใน ตางประเทศ เปนที่นิยมแบบดาวรุงพุงแรงมาตลอดระยะเวลานาน ไมเพียงแตในสหรัฐอเมริกาเทานั้น แต รวมทง้ั ในยุโรป ออสเตรเลยี ญ่ีปนุ ตะวันออกกลางและอินเดยี อาจจะเปนเพราะอาหารไทยมีเอกลักษณท่ี มีรสชาติถูกปากไดรับการยอมรับ ดังนี้ 1. เอกลักษณดา นรสชาติ ที่มีความกลมกลอมทั้ง 3 รส คอื เปรย้ี ว หวาน เผ็ด ไดอยางลง ตัวพอดี โดยไมเนนหนักไปในรสใดรสหนึ่ง สรางความประทับใจใหกับผูบริโภค ทําใหรูสึกอยาก กลับมาทานอีก อาหารบางชนิดมีเอกลักษณของกลิ่นสมุนไพรที่เปนพืชผักในเมืองไทย เครื่องเทศตาง ๆที่ ใชปรุงอาหาร ถือวาโดดเดน ไมฉุนเกินไป แตมีกลิน่ หอมออน ๆ ของเครื่องเทศที่สอดแทรก บางครัง้ มี การปรับรสชาติบาง เพือ่ ใหตรงกับผูบริโภค เชน ไมเผ็ดเกินไป เพราะตางชาติจะไมนิยมรับประทาน อาหารรสจดั 2. ความหลากหลายของอาหารไทย อาหารไทยนั้นมีทั้งอาหารคาวหวาน สารพัดชนิดที่ สามารถเลือกมานําเสนอไดไมรูจ บ มีการแขงขันกัน นอกจากจะรสชาติแลว ยังมีการนําวัสดุมาดัดแปลง ใหเปนประโยชนใชแทนกันได หรือการจัดตกแตงอาหารก็เปนทีด่ ึงดูดลูกคาขึ้นอยูก ับการเขาถึงรสนิยม ของผบู รโิ ภค 3. อาหารไทยไมเลี่ยนและไมอวน ทั้งนีเ้ พราะอาหารไทยมักมีผักปนอยูเ สมอ พรอมกับ เครือ่ งเคียงตาง ๆ จนเปนทีเ่ ลืองลือวา อาหารไทยเปนอาหารสุขภาพ เชน เมีย่ งคํา น้ําพริกกะป จึงเปน อาหารที่เหมาะกับยุคนี้และแนวโนมของการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ

44 4. การบริการท่ีประทับใจ ซ่ึงเปนสวนเสริมท่ีสําคัญมากของธุรกิจการเปดรานขายอาหาร ไทย จึงเปน อีกมิติหนึง่ ท่ีมีภาพลักษณท ่ดี ีใหกับอาหารไทย ดวยการบริการแบบมีมารยาทอันดีงามของคน ไทย จึงเปนการชวยสงเสริมใหอาหารไทยยังคงครองความนิยมตอไป เรือ่ งนี้เปนกรณีตัวอยางในการแทรกความนิยมเขาสูค วามตองการของผูบ ริโภคไดเปนอยางดี โดยรูความตองการของผูบริโภค แลวจึงมีการพยายามดัดแปลงสินคาใหสอดคลองกับความตองการนั้น ๆ

45 กิจกรรมที่ 1 ใหผูเรียนกําหนดแนวทางการแทรกความนิยมลงในสินคา/บริการของตนเองหรืออาชีพที่สนใจ แลว นาํ เสนอแลกเปล่ียนเรียนรซู ึง่ กันและกัน แลว สรปุ เปนองคค วามรู .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

46 เรอ่ื งท่ี 3 การสรางรูปลกั ษณค ณุ ภาพสินคาใหม William H.Davidow กลา ววา “เคร่อื งมือทเี่ ยีย่ มท่ีสดุ ประดิษฐมาจากหองปฏิบัติการ ผลิตภัณฑ ที่เย่ยี มทส่ี ุดมาจากฝา ยการตลาด” การทําธุรกิจทุกขนาดจะตองทําการแบงสวนตลาดเปาหมายได เมื่อถึงเวลาที่จะพัฒนาและนํา ผลิตภณั ฑออกสตู ลาด ฝา ยการตลาดตองแสดงบทบาทสําคัญในกระบวนการนี้ ไมใชฝายวิจัยและพัฒนา อยางเดียวเปนผูร ับผิดชอบการพัฒนาผลิตภัณฑใหม ซึง่ ฝายการตลาดมีสวนเกี่ยวของอยางมาก ทุก ข้นั ตอนในการพัฒนาผลิตภณั ฑ ธุรกิจทกุ ธุรกจิ มีการพฒั นาผลติ ภัณฑอยูต ลอดเวลา การออกแบบผลิตภัณฑใหมแทนที่ผลิตภัณฑ เดิมจะทําเพื่อเพิม่ ยอดขายในอนาคตและลูกคาเองก็ตองการผลิตภัณฑใหม ซึ่งธุรกิจคูแขง ก็ใชความ พยายามทีจ่ ะผลิตสินคาที่ตรงกับความตองการของลูกคาออกจําหนายและจะออกผลิตภัณฑใหมไดจาก การเขาครอบครองสวนแบงตลาด จากการพัฒนาผลิตภัณฑใหม - การพฒั นาผลติ ภัณฑใหม หมายถงึ ผลิตภัณฑใ หมในสายผลิตภัณฑเดิมเปนการนําผลิตภัณฑ ใหมเ ขามาแทนผลติ ภัณฑในสายผลติ ภณั ฑเ ดิม เชน เปล่ียนขนาดบรรจุภณั ฑ เปลยี่ นรสชาติ - การปรบั ปรุงผลิตภณั ฑเดิม คอื การปรบั ปรงุ ผลติ ภณั ฑเดมิ ใหเ ปน ผลติ ภัณฑใหม - การวางตําแหนงสนิ คาใหม เปนการนําผลิตภัณฑเดิมทม่ี ีอยูออกขายใหล ูกคาเปาหมายกลุมใหม - การลดตน ทนุ คือ การทําผลิตภณั ฑใ หมท ี่มีคณุ สมบัติเหมือนเดิมแตต น ทุนตํา่ ลง ขนั้ ตอนการพฒั นาผลติ ภณั ฑ มี 8 ข้ันตอน 1. การสรางความคิดใหม 2. การเลือกความคิด 3. การทดสอบความคิด 4. การวางกลยุทธทางการตลาด 5. การวิเคราะหธ ุรกจิ 6. การพัฒนาผลติ ภณั ฑ 7. การทดสอบตลาด 8. การนาํ ผลิตภัณฑออกสตู ลาด กจิ กรรมท่ี 2 ใหผูเรียนศึกษาพิจารณาวา จะสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม/บริการใหมไดอยางไร และใหอธิบาย กระบวนการพฒั นาการสรา งรปู ลกั ษณด วย

47 เรือ่ งที่ 4 : การพฒั นาอาชีพให มคี วามมนั่ คง ในชว งการดาํ เนนิ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติฉบับท่ี 7 – 8 แมจะปรากฏผลรูปธรรม สวนหนึ่งเปนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ที่ตรวจวัดดวยอัตราเพิม่ ของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (จีดี พี) แตผลรปู ธรรมอกี สวนหน่ึงกลับเปนความตอเนือ่ งของสภาพปญหาการกระจายรายไดไมเทาเทียมกัน ระหวางชนบทกับเมือง และระหวางผูผ ลิตภาคเกษตรกรรม (ระดับครัวเรือนรายยอย) กับ ภาคอุตสาหกรรมและการบริการ ผลรูปธรรมสวนหลังขางตนปรากฏสะสมปญหา จนกลายเปนอุปสรรคสําคัญของการพัฒนา ประเทศชัดเจนมากขึ้นตามลําดับ จนถูกระบุเปนขอสังเกตเรื่อง “ความยากจน” ของประชากรสวนใหญ ของประเทศ ที่มีสัดสวนการถือครองทรัพยสินรายไดต่าํ สุด เมือ่ เปรียบเทียบกับสัดสวนการถือครองของ ประชากรร่ํารวยจํานวนนอยของประเทศ รายงานของคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สภาพัฒน) ยอมรับผลสรุป ของการพัฒนาขางตน ไวในชวงปลาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ดวยเชนกัน ปญหาความยากจน (รายไดไมเพียงพอตอรายจาย) แพรระบาดจากชนบท ชุมชนเกษตรกร เขาสูส ังคม เมืองมากขึ้น รวมทั้งแพรระบาดเขาสูแ วดวงอาชีพอืน่ ๆ นอกเหนือจากเกษตรกรรายยอยมากขึ้น ตามลําดับในชวงกอนและหลังวิกฤติเศรษฐกิจ 2540 โดยสภาพัฒนไดพยายามปรับกลยุทธการพัฒนา เชน การพฒั นาที่ถอื “มนุษย” เปนศูนยกลางจนกระทั้งไดเริ่มปรับและกําลังจะปรับปรุงใหเกิดกลยุทธการ พัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงมากขึน้ ตามลําดับ โดยถือตามหลักปรัชญา แนวทฤษฎี และโครงการ ตนแบบตามแนวพระราชดําริทีไ่ ดรับการยอมรับนับถือจากองคการสหประชาชาติ ดังที่มีรายงานขาว เผยแพรไปยังประชาคมโลกแลว เพราะเหตุทีป่ ระชาชนจํานวนมากยังคงอยูใ นภาวะยากจนคือ รายไดไมพอเพียงตอการใชจาย เพือ่ ดํารงชีวิตครอบครัว ในขัน้ พื้นฐาน โดยเฉพาะอยางยิง่ ชาวชนบทที่ดํารงอาชีพเกษตรกร ดังนัน้ การ แกไขปญหาความยากจนดวยการยกระดับรายไดของประชากรกลุม นีใ้ หสูงขึน้ สูภ าวะพอเพียงจึงเปน สวนสําคัญของยุทธศาสตรการพัฒนา แบบเศรษฐกิจพอเพียงในขั้นตนสวนหนึ่ง โดยไมยุติกระบวนการ ทางเศรษฐกิจสวนอื่นที่จําเปน เชน การแลกเปลีย่ นทางการคาระหวางประเทศ และการลงทุนทีอ่ ยูใ น ขอบเขตเหมาะสมภายใตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจําแนกขัน้ ตอนดําเนินการพัฒนาไวตอเนือ่ ง เปน ลําดับชัดเจน โดยไมปดกัน้ ความสัมพันธระหวางประเทศ และไมมุง หมายจะใหเกิดการหยุดชะงัก หรือ ถอยหลงั เขา คลองทางเศรษฐกิจ รวมทัง้ มิไดมุง หมายใหประเทศมีแตการผลิตแบบเกษตรกรรมเพียงสวน เดยี ว โครงการตามแนวพระราชดําริจํานวนมาก ทีส่ รางความรูต ามทฤษฎีใหมและปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง เปนโครงการทีม่ ีลักษณะผูกพันกับวิถีชีวิตชุมชนของชาวชนบทในภาคเกษตรกรรม เนือ่ งจาก ตลอด 3 – 4 ทศวรรษที่ผานมา ชุมชนเกษตรกรรมโดยทัว่ ไปในประเทศเผชิญกับปญหารายไดไม เพียงพอตอรายจายอยางกวางขวางรุน แรง แตโครงการทีม่ ีลักษณะเปนการพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร

48 จํานวนมากเหลานัน้ เชน โครงการหลวงดอยอางขาง และโครงการหลวงดอยอินทนนท ฯลฯ มีความ ชัดเจนในแนวคิดเรื่องการผลิตทีม่ ีคุณภาพเพียงพอ สําหรับการชายออกสูตลาดภายนอชุมชน เพือ่ สราง รายไดที่เพียงพอและยง่ั ยืนแทนการปลูกฝนในอดตี แนวคิดทีช่ ัดเจนเกี่ยวกับการผลิตทางการเกษตรที่พอเพียง สําหรับการจัดจําหนวยสูต ลาด ภายนอกชุมชนดังกลาว ทําใหเห็นวาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสงเสริมการแลกเปลี่ยนแบบเกอ้ื กูลกันทาง เศรษฐกิจ (ระหวางเกษตรกร พอคา และผูบริโภค) ระหวางประชาชนที่มีอาชีพตาง ๆ กัน และไมใช แนวคิดทีป่ ดกัน้ ไวเฉพาะชุมชนชนบท และแวดวงเกษตรกรตามลําพังตามทีค่ นในสังคมเมืองที่มิใช เกษตรกรจํานวนหนึ่งพากันวิตกกังวลวา ตนเองจะไมไดรับประโยชนจากการดําเนินชีวิตตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง นอกเหนือไปจากนัน้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักความคิดทีส่ งเสริม “พลวัต” มากกวาแนะนําใหประชากรทางเศรษฐกิจ ตัง้ อยูในภาวะ “สถิต” หรือหยุดนิ่ง อยูก ับสภาพการณทาง เศรษฐกิจในขณะหนึง่ ๆ แตการทีป่ ระชาชนพึ่งตนเองไดจําเปนตองปรับเปลีย่ นวิถีการดํารงชีวิตจาก แผนการกนิ ดี อยูดี เปน แผน อยพู อดกี นิ พอดี ตามแนวพระราชดําริ “การปรับเปลีย่ นแผนการผลิต” จากการผลิตเพื่อการพาณิชยมาเปนการ “ผลิตเพือ่ ยังชีพ” เนือ่ งจากการผลิตเพื่อการพาณิชยทําใหประชาชนตองพึง่ ระบบทุนนิยม ชะตาชีวิตของประชาชน ขึน้ อยู กับกลไก ของตลาดทําใหเกิดการเอารัดเอาเปรียบประชาชน “เพือ่ ลดผลกระทบ” ทีเ่ กิดจากความผันผวน ของตลาดเปาหมายการผลิตตองปรับไปเปนผลิตเพือ่ กินเพื่อใช เมือ่ มีสวนเกินจึงจะนําออกขาย การผลิต เพอ่ื กินเพ่อื ใชจ าํ เปน ตอ งกระจายการผลติ ในครวั เรือน เพื่อลดความเสีย่ งและเพมิ่ ความม่ันคงในชีวิตอยาง ยง่ั ยืน