Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระพุทธศาสนา ม.1

พระพุทธศาสนา ม.1

Published by sunisa.sombunma, 2020-05-03 02:26:32

Description: พระพุทธศาสนา ม.1

Search

Read the Text Version

ข้นั ตอนและวธิ ีการฝึ กสมาธิ ตามหลกั อานาปานสติ การฝึกสมาธิตามหลกั อานาปานสติ มีข้นั ตอนและวธิ ีการฝึก ดงั น้ี ๑. นงั่ ท่าสมาธิ เอามือขวาทบั มือซา้ ย เทา้ ขวาทบั เทา้ ซา้ ย หรือ ใชท้ ่าอ่ืนที่เหมาะสม ๒. นง่ั สบายๆ ต้งั ตวั ตรง ไม่เกร็ง ไม่ใหห้ ลงั งอ ๓. หลบั ตาพอสบาย หรืออาจลืมตาแลว้ แพง่ มองวตั ถุใด วตั ถุหน่ึงกไ็ ด้ ๔. ต้งั ศูนยก์ ลางสมาธิไวท้ ี่ลมหายใจ

๕. เมื่อหายใจเขา้ ใหจ้ ิตกาหนดวา่ “เข้า” เม่ือหายใจออก ใหจ้ ิตกาหนดวา่ “ออก” ควบคุมสติใหท้ นั กบั ลมหายใจ ๖. ภาวนาในใจเวลาหายใจเขา้ วา่ “พุท” เวลาหายใจออก วา่ “โธ” ปฏิบตั ิต่อเนื่องจนจิตสงบ ๗. อาจใชว้ ธิ ีนบั เลข โดยเวลาหายใจเขา้ และออกจนสุด แลว้ นบั หน่ึงเร่ือยไปจนถึงสิบ และยอ้ นมานบั หน่ึงใหม่ ๘. ระหวา่ งนบั หน่ึงถึงสิบ ตอ้ งคอยระวงั อยา่ ใหเ้ ผลอ แต่ถา้ เผลอกใ็ หย้ อ้ นกลบั มานบั หน่ึงใหม่

๓. การเจริญปัญญา ปัญญา แปลว่า ความรู้ทว่ั ถึง หมายถึง ความรู้จริงเก่ียวกบั เรื่องต่างๆ อย่างทว่ั ถึง หรือรู้ตลอด มนุษยแ์ ต่ละคน ยอ่ มมีปัญญาหรือความรู้มากนอ้ ยแตกต่างกนั ไปตามการฝึ กฝน หรือ จากประสบการณ์ที่ได้พบเจอมา ซ่ึงเราทุกคนสามารถฝึ กฝนหรือพฒั นาความรู้ของตนให้ เพิ่มข้ึนได้ โดยอาศยั ความพากเพียรในการศึกษาเล่าเรียน การทางาน หรือการเดินทางท่องเที่ยว ไปยงั สถานท่ีต่างๆ ท้งั น้ี การพฒั นาปัญญาใหเ้ จริญงอกงามสามารถทาได้ ๓ ทาง ไดแ้ ก่

สุตมยปัญญา : ปัญญาเกดิ จากการฟัง การฟังมีประโยชน์และมีผลดีต่อปัญญา ดงั น้ี ๑. เพมิ่ พูนความรู้ในส่ิงที่ ๒. ทาให้เข้าใจเรื่องที่ยงั ๓. ช่วยลดความสงสัยใคร่รู้ ไม่ได้ยนิ ได้ฟังมาก่อน เข้าใจไม่ชัดเจน ให้ชัดเจน ในเร่ืองต่างๆ ลกึ ซึ้งมากขนึ้ ๔. ทาให้มคี วามเห็นถูกต้อง ๕. ทาให้มจี ิตใจผ่องใส เกย่ี วกบั เร่ืองต่างๆ เพราะได้ฟังสิ่งทเ่ี ป็ น ประโยชน์

จินตามยปัญญา : ปัญญาเกดิ จากการคดิ การนาเรื่องท่ีไดย้ นิ ไดฟ้ ังมาคิดทบทวน วเิ คราะห์หาเหตุผล จะทาใหเ้ ราเกิดความเขา้ ใจเร่ืองราวไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เห็นแง่มุมต่างๆ ท่ีซบั ซอ้ นและเขา้ ใจสถานการณ์ต่างๆ ไดล้ ึกซ้ึงยง่ิ ข้ึน การเขา้ ใจท่ีถูกตอ้ ง ยอ่ มนามาซ่ึงประโยชนใ์ นหลายดา้ น เช่น การปฏิบตั ิตนไดส้ อดคลอ้ งกบั เหตุการณ์ที่พบเจอ การรู้แนวทางแกป้ ัญหาที่ตรงจุด เป็นตน้

ภาวนามยปัญญา : ปัญญาเกดิ จากการลงมือทา เมื่อไดย้ นิ ไดฟ้ ังส่ิงต่างๆ มา และพิจารณา อยา่ งถี่ถว้ นรอบคอบแลว้ เห็นวา่ เป็นส่ิงท่ีดีมีประโยชน์ ดงั น้นั เพอ่ื ใหเ้ กิดผลท่ีเป็นรูปธรรมจากความรู้เหล่าน้นั จึงตอ้ งอาศยั การลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง โดยอาศยั ปัญญาความรู้ท่ีมีอยเู่ ป็นพ้นื ฐานในการปฏิบตั ิ

สรุป : การเรียนวชิ าการท้งั หลาย จะเกิดปัญญาแทจ้ ริง จะตอ้ งปฏิบตั ิข้นั ตอนท่ีสาคญั ๓ ข้นั ตอน ดงั น้ี • ตอ้ งรับฟังจากครูหรือผรู้ ู้ในสาขาวชิ าน้นั ๆ โดยจะตอ้ งฟังหรืออ่านใหม้ าก ข้นั ท่ี ๑ ท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ • นาเรื่องที่ฟังหรืออ่านมาคิดทบทวนพิจารณาหาเหตุผลความเป็นไปได้ เป็นไป ข้นั ที่ ๒ ไม่ได้ ถา้ ไม่แน่ใจในขอ้ มูลกศ็ ึกษาเพม่ิ เติมในเร่ืองน้นั อีกคร้ัง • นาเอาความรู้มาปฏิบตั ิใหก้ ลายเป็นผลในเชิงรูปธรรม เพ่อื พิสูจน์ใหแ้ น่ชดั วา่ ข้นั ที่ ๓ ความรู้น้นั สามารถนามาใชป้ ฏิบตั ิไดจ้ ริง

๔. การเจริญปัญญาโดยการคิดแบบโยนิโสมนสิการ โยนิโสมนสิการ คือ การรู้จกั คิดวิเคราะห์ วจิ ารณ์อยา่ งรอบคอบรอบดา้ น ทาให้เกิด ปัญญาแตกฉาน มี ๑๐ ข้นั ตอน ดงั น้ี ๑. คดิ แบบแยกแยะส่วนประกอบ ๑๐. คดิ แบบแยกประเดน็ ๒. คดิ แบบคุณ-โทษ และทางออก ๙. คดิ แบบเป็ นอยู่ในปัจจุบนั ๓. คดิ แบบสืบสาวเหตุปัจจัย ๘. คดิ แบบปลุกเร้าคุณธรรม ๔. คดิ แบบสัมพนั ธ์กบั เป้าหมาย ๗. คดิ แบบคุณค่าแท้ คุณค่าเทยี ม ๕. คดิ แบบแก้ปัญหา ๖. คดิ แบบรู้เท่าทนั ธรรมดา

การคดิ แบบคุณค่าแท้ คุณค่าเทยี ม • เป็นการคิดถึงแก่นหรือ การคดิ แบบคุณค่าแท้ คุณประโยชน์ท่ีแทจ้ ริงของส่ิงน้นั • เป็นการคิดเพยี งแต่จะสนองตณั หา การคดิ แบบคุณค่าเทยี ม ของตนไม่วา่ กบั สิ่งใด

การคดิ แบบคุณ-โทษ และทางออก คดิ ในแง่ดี • คิดวา่ สิ่งน้นั เป็นส่ิงดีต่อตนเอง ผอู้ ื่น และสงั คมหรือไม่ อยา่ งไร คดิ ในแง่เสีย • คิดวา่ สิ่งน้นั ก่อใหเ้ กิดผลเสียต่อตนเอง ผอู้ ื่น และสงั คมหรือไม่ อยา่ งไร คดิ ท้งั แง่ดแี ละแง่เสีย • คิดหาทางเลือกที่ดีกวา่ หรือพิจารณา เลือกแนวทางท่ีเหมาะสมที่สุด

๕. การนาวธิ ีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั การบริหารจิตและการเจริญปัญญา ทาให้ผปู้ ฏิบตั ิเกิด “สติ” และ “สมาธิ” และเมื่อ เกิดสติและสมาธิแลว้ ใจของเราก็จะจดจ่ออยกู่ บั ส่ิงท่ีกระทาอยเู่ สมอ ทาใหข้ ะมกั เขมน้ ทาส่ิงที่ อยใู่ นมือน้นั อยา่ งดีและระมดั ระวงั ไม่พะวงถึงส่ิงอ่ืน สิ่งท่ีกาลงั ทาอยกู่ ็จะสาเร็จลงอยา่ งดี และ ไดผ้ ลท่ีมีคุณภาพ

ลกั ษณะของคนท่มี ีสติ คนท่ีมีสติจะเป็นคนท่ีไม่ประมาท มีความตื่นตวั อยเู่ สมอ รู้วา่ ตนเองกาลงั ทา คิด หรือ พูดอะไร ทาให้จิตไม่ดิ้นรน ไม่ฟุ้งซ่าน และยงั ช่วยให้พินิจพิจารณาสิ่งต่างๆ อย่างรอบคอบ สามารถแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และมีภูมิคุม้ กนั ในตนเอง พร้อมท่ีจะเผชิญกบั ความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

๘หน่วยการเรียนรู้ที่ ศาสนสัมพนั ธ์ ประเทศไทยให้สิทธิเสรีภาพ แก่ประชาชนในการนับถือศาสนา ทาให้สังคมไทยมีความหลากหลาย ทางศาสนา การเรียนรู้และทาความ เขา้ ใจเก่ียวกบั ศาสนาอื่น จึงเป็ นส่ิง สาคญั ท่ีคนในสงั คมควรปฏิบตั ิ ท้งั น้ี เพื่อการอยู่ร่ วมกันอย่างมี ความสุ ข และสร้างสรรค์สังคมให้พฒั นาไป ไดอ้ ยา่ งราบร่ืน

๑. ความจาเป็ นทเี่ ราควรเรียนรู้ศาสนาอ่ืน มนุษยค์ วรรู้จกั ศาสนา ท้งั ที่ตนเองนบั ถืออยู่ และศาสนาอื่น เน่ืองจากศาสนา มีความสาคญั ดงั น้ี เป็ นแรงบนั ดาลใจให้มนุษย์สร้างสรรค์ส่ิงยง่ิ ใหญ่ เช่น วฒั นธรรม ประเพณี ศาสนสถาน เป็ นต้น ความสาคญั ของศาสนา ทาให้คนมคี วามสุขสงบทางใจ ทาให้คนในสังคมอยู่ร่วมกนั อย่างสันติ ซ่ึงส่งผลให้สุขภาพกายดไี ปด้วย และกลมเกลยี ว

สงั คมไทยมีความหลากหลายทางศาสนา และวฒั นธรรมประเพณี ดงั น้นั เพ่ือการอยู่ ร่วมกนั อย่างสงบสุขและสามคั คีกนั เราจึงจาเป็ นตอ้ งเรียนรู้หลกั คาสอน หลกั ปฏิบตั ิ และ ขอ้ หา้ มของศาสนาอ่ืนดว้ ย ศาสนาท่ีสาคญั ในประเทศไทย มีดงั น้ี พระพทุ ธศาสนา ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนา ศาสนาสิข พราหมณ์-ฮินดู

๒. การปฏิบตั ติ นอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอ่ืนในสถานการณ์ต่าง ข้อห้ามของศาสนาต่าง  พระพุทธศาสนา มีขอ้ หา้ มที่สาคญั ตามศีล ๕ ดงั น้ี ๑. ห้ามทาลายชีวติ ๒. ห้ามลกั ขโมย ๓. ห้ามผดิ ประเวณี ๔. ห้ามพดู ปด พดู ยุยงให้เกดิ ความแตกแยก ๕. ห้ามเสพของมนึ เมา

 ศาสนาคริสต์ มีขอ้ หา้ มที่สาคญั คือ บญั ญตั ิ ๑๐ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. • ห้ามมพี ระเจ้าอ่ืน ๒. • ห้ามกราบไหว้รูปเคารพ ๓. • อย่าเอ่ยนามพระเจ้าเล่นๆ ๔. • ให้รักษาวนั สะบาโตเป็ นวนั บริสุทธ์ิ ๕. • ให้นับถือบดิ ามารดา

๖. • อย่าฆ่าคน ๗. • อย่าผดิ ประเวณี ๘. • อย่าลกั ทรัพย์ ๙. • อย่าเป็ นพยานเทจ็ ๑๐. • อย่าโลภของเพื่อนบ้าน

 ศาสนาอสิ ลาม มีขอ้ หา้ ม และขอ้ ปฏิบตั ิท่ีสาคญั ดงั น้ี ๑. ห้ามกราบรูปเคารพ หรือบุคคลใดๆ ท้งั สิ้น ๒. ห้ามคุมกาเนิดทุกวธิ ีการ ๓. ห้ามเผาศพ ๔. ห้ามด่ืมสุรา เบยี ร์ และของมนึ เมาใดๆ ๕. ห้ามเล่นการพนนั

๓. การปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมทางศาสนาทตี่ นนับถือ ในการดาเนินชีวติ แบบพอเพยี ง และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นแนวพระราชดาริ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ซ่ึงมีหลกั การโดยสรุป ดงั น้ี

การดารงชีวติ แบบพอเพยี ง พงึ่ ตนเอง เลยี้ งตนได้ เดนิ ทางสายกลาง ไม่เน้นการแข่งขนั • ผลิตเพื่อพอกินพอใช้ • ใชจ้ ่ายอยา่ งประหยดั • ไม่เนน้ การแข่งขนั เพอ่ื ในครอบครัว หาก ไม่ฟ่ มุ เฟื อยเกินฐานะ แสวงหาความสุขทาง เหลือจึงนาไปขาย ของครอบครัว วตั ถุ แต่เนน้ การหา ความสุขทางใจ

พระพทุ ธศาสนา กบั การดารงชีวติ แบบพอเพยี ง หลกั ธรรมที่สอดคลอ้ งกบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไดแ้ ก่  สันโดษ คือ ความพอใจในของๆ ตน มี ๓ อยา่ ง ๑. ยถาลาภสันโดษ คือ ๒. พลสันโดษ คือ ความ ๓. ยถาสารุปปสันโดษ ความยนิ ดีตามที่ไดม้ าโดย ยนิ ดีตามกาลงั ที่ตนมีอยู่ คือ ความยนิ ดีตามสมควร ชอบธรรม แก่ภาวะความเป็ นอยู่ ของตน

 คหิ ิสุข คือ ความสุขของชาวบา้ น มี ๔ ประการ ๑. สุขท่ีเกิด ๒. สุขที่เกิด ๓. สุขท่ีเกิด ๔. สุขท่ีเกิด จากการมี จากการใชจ้ ่าย จากการไม่เป็ น จากความ ทรัพยท์ ี่หามา ทรัพยเ์ พือ่ เล้ียง หน้ี ประพฤติไม่มี ไดโ้ ดยชอบ ชีพและบาเพญ็ โทษ ธรรม ประโยชน์

๔. ตวั อย่างบุคคลทเี่ ป็ นแบบอย่างทางด้านศาสนสัมพนั ธ์ พระธรรมโกศาจารย์ (ท่านพทุ ธทาสภกิ ข)ุ นามเดมิ เง่ือม พานิช เกดิ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ อุปสมบท ตอนอายุ ๒๐ ปี ท่ีวดั โพธาราม อาเภอไชยา จ.สุราษฎร์ธานี ไดร้ ับ ฉายาอินทปัญโญ องคก์ ารยเู นสโก ไดป้ ระกาศยกยอ่ งใหท้ ่านเป็น “บุคคลสาคญั ของโลก” ดา้ นการจรรโลงสันติภาพ ในโลก

ปณิธานในชีวติ ของท่านพทุ ธทาส มีอยู่ ๓ ประการ ใหศ้ าสนิกชนของศาสนาใดกต็ ามพยายามเขา้ ใจถึงหวั ใจของศาสนาของตน ใหศ้ าสนิกชนของศาสนาใดกต็ ามพยายามทาความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ ง ศาสนา ใหศ้ าสนิกชนของศาสนาใดกต็ ามพยายามนาเพอื่ นมนุษยอ์ อกมาจากอานาจ ของวตั ถุ

หลงั จากอุปสมบท ท่านพทุ ธทาสไดศ้ ึกษาจนสาเร็จนกั ธรรมเอก และเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาจนกระทงั่ มรณภาพ ซ่ึงมีผลงานท่ีโดดเด่น เช่น • ก่อต้งั สวนโมกขพลาราม ท่ีอาเภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี • ร่วมกบั คณะธรรมทาน ในการออกหนงั สือพิมพ์ “พทุ ธศาสนา” ซ่ึงนบั เป็น หนงั สือพมิ พท์ างพระพทุ ธศาสนาเล่มแรกของไทย • ประพนั ธ์หนงั สือต่างๆ เช่น ตามรอยพระอรหนั ต์ ชุมนุมเรื่องส้นั ชุมนุมเร่ืองยาว ชุมนุมขอ้ คิดอิสระ เป็นตน้ • แปลหนงั สือภาษาองั กฤษเรื่อง สูตรของเวย่ หล่าง และคาสอนของฮวงโป เป็นเรื่องราว เก่ียวกบั พระสูตรที่สาคญั ของพทุ ธศาสนานิกายเซ็น

ศูนยป์ ฏิบตั ิธรรมสวนโมกขพลาราม หรือวดั ธารน้าไหล ต้งั อยทู่ ่ีอาเภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี



อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ นามเดมิ บุญรอด ปุญญานุภาพ เกดิ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๐ อาจารยส์ ุชีพไดร้ ับการยอมรับจากพทุ ธศาสนิกชน และคณะสงฆไ์ ทย วา่ เป็นผทู้ ี่สมบูรณ์ดว้ ยวชิ าความรู้ ทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ งยอดเยย่ี ม มีความประพฤติ ดีงามสุภาพ อ่อนนอ้ มถ่อมตน ควรแก่การเคารพ

บทบาทโดดเด่นของอาจารยส์ ุชีพในการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา เป็นภิกษุไทยรูปแรกที่บรรยายธรรมเป็นภาษาองั กฤษในท่ีประชุมที่มีชาวต่างชาติ จนทาใหเ้ กิด การติดต่อระหวา่ งชาวพทุ ธในต่างประเทศกบั ประเทศไทย เป็นคนไทยคนแรกท่ีนาเอาวชิ าศาสนาเปรียบเทียบมาใชส้ อนในมหาวทิ ยาลยั เป็นผบู้ ุกเบิกทาพจนานุกรมศพั ทพ์ ระพทุ ธศาสนาองั กฤษ-ไทย และไทย-องั กฤษ เป็นผมู้ ีบทบาทในการฟ้ื นฟูมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ซ่ึงถือเป็นจุดเริ่มตน้ ของมหาวทิ ยาลยั สงฆ์ ไทยยคุ ใหม่

อาจารยส์ ุชีพ ปุญญานุภาพ เป็นผมู้ ีบทบาทสาคญั ในการฟ้ื นฟูมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ซ่ึงถือเป็นจุดเร่ิมตน้ ของมหาวทิ ยาลยั สงฆไ์ ทยยคุ ใหม่

ตวั อยา่ งผลงานเขียนของอาจารยส์ ุชีพ ปุญญานุภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook