Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระพุทธศาสนา ม.1

พระพุทธศาสนา ม.1

Published by sunisa.sombunma, 2020-05-03 02:26:32

Description: พระพุทธศาสนา ม.1

Search

Read the Text Version

๒. อริยสัจ ๔ อริยสัจ คือ ความจริงอนั ประเสริฐ หรือความจริงของอริยบุคคล ประกอบดว้ ยองค์ ๔ ดงั น้ี ๑. ทุกข์ ความทุกข์ หรือ ๒. สมุทยั สาเหตุของทกุ ข์ ปัญหาของชีวติ ท้งั หมด หรือสาเหตุของปัญหาชีวิต ๓. นิโรธ ความดบั ทุกข์ หรือ ๔. มรรค ทางดบั ทุกข์ หรือ ภาวะหมดปัญหา แนวทางแกป้ ัญหาชีวติ

ทุกข์ (ธรรมทคี่ วรรู้) ทุกข์ คือ ความจริงวา่ ดว้ ยความทุกข์ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ทุกขเ์ ป็นธรรมท่ีควรรู้ ซ่ึงมีอยมู่ ากมาย เช่น หลกั ธรรม “ขนั ธ์ ๕” คือ องคป์ ระกอบของชีวติ ๕ ประการ รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ

รูป รูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย รวมถึงพฤติกรรมท้งั หมดของร่างกายดว้ ย เช่น การหมุนเวยี น โลหิต การหายใจ รวมถึงส่ิงใดๆ ในโลกท่ีเป็นวตั ถุ ประกอบดว้ ยส่ิงด้งั เดิมท้งั ๔ เรียกวา่ “ธาตุ ๔” ไดแ้ ก่ ปฐวธี าตุ หรือธาตุดิน หมายถึง สิ่งที่มีลกั ษณะแขง็ อาโปธาตุ หรือธาตุน้า หมายถึง สิ่งที่ไหลและเหลว เตโชธาตุ หรือธาตุไฟ หมายถึง สิ่งท้งั หลายที่ร้อน วาโยธาตุ หรือธาตุลม หมายถึง สิ่งท้งั หลายท่ีสัน่ ไหว เคลื่อนที่

เวทนา เวทนา คือ ความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนต่อส่ิงท่ีรู้น้นั มิไดห้ มายถึงความสงสารท่ีใชก้ นั ทวั่ ไป มีอยู่ ๓ ประการ ไดแ้ ก่ สุขเวทนา • ความรู้สึกสบายกาย สบายใจ ทุกขเวทนา • ความรู้สึกไม่สบายกาย ไม่สบายใจ อุเบกขาเวทนา • ความรู้สึกเฉยๆ

สัญญา สัญญา หมายถึง การกาหนดหมายรู้ส่ิงใดส่ิงหน่ึง การแยกแยะไดว้ า่ อะไรเป็นอะไร มิไดห้ มายถึงคามนั่ สญั ญาใน ภาษาสามญั สญั ญาน้ีเป็นข้นั ตอนถดั จากเวทนานน่ั เอง

สังขาร สังขาร หมายถึง ส่ิงที่ปรุงแต่งจิต หรือสิ่งกระตุน้ ผลกั ดนั ใหม้ นุษยก์ ระทาการ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง อาจเรียกไดว้ า่ เป็นแรงจูงใจ สงั ขารเป็นผลรวมของ • การรับรู้ (วญิ ญาณ) • ความรู้สึก (เวทนา) • ความจาได้ (สญั ญา) ตวั อย่าง การรับรู้วตั ถุส่ิงหน่ึง (วญิ ญาณ) แลว้ รู้สึกวา่ สวยดี (เวทนา) สามารถจา ไดว้ า่ เป็นวตั ถุทรงกลม (สญั ญา) แจง้ เกิดแรงจูงใจผลกั ดนั ใหเ้ อ้ือมมือไปหยบิ มาเพราะความ อยากได้ ซ่ึงเรียกวา่ “สงั ขาร”

วญิ ญาณ วญิ ญาณ หมายถึง การรับรู้ผา่ นประสาทท้งั ๕ และใจ ไดแ้ ก่ จักขุวญิ ญาณ หมายถึง การรับรู้ทางตา หรือการเห็น โสตวญิ ญาณ หมายถึง การรับรู้ทางหู หรือการไดย้ นิ ฆานวญิ ญาณ หมายถึง การรับรู้ทางจมูก หรือการไดก้ ลิ่น ชิวหาวิญญาณ หมายถึง การรับรู้ทางลิ้น หรือการลิ้มรส กายวญิ ญาณ หมายถึง การรับรู้ทางกาย หรือการสมั ผสั ทางกาย มโนวญิ ญาณ หมายถึง การรับรู้ทางใจ

สมุทยั (ธรรมทีค่ วรละ) สมุทยั คือ ความจริงวา่ ดว้ ยเหตุเกิดแห่งความทุกข์ เพราะความทุกขท์ ่ีเกิดข้ึนน้นั ตอ้ งมีสาเหตุไม่ไดเ้ กิดข้ึนลอยๆ ดงั พทุ ธดารัสวา่ “เม่ือส่ิงน้ีมี ส่ิงน้นั จึงมี เพราะส่ิงน้ีเกิด ส่ิงน้นั จงึ เกิด” ตวั อย่าง นกั เรียนท่ีสอบตกแลว้ เป็นทุกขอ์ าจเป็นเพราะไม่ขยนั เรียน เป็นสาเหตุ หรือถา้ ขยนั เรียนกอ็ าจมีสาเหตุอื่นๆ เช่น เตรียมตวั สอบไม่เพยี งพอ หรือประหม่าในการสอบมากเกินไป สาเหตุเหล่าน้ีเรียกวา่ “สมุทยั ”

ตณั หา ตณั หา คือ ความอยากท่ีเกินพอดี ซ่ึงเป็นสาเหตุที่แทจ้ ริงของความทุกข์ มี ๓ ประเภท ดงั น้ี ตัณหา กามตณั หา หมายถึง ความอยากไดอ้ ยา่ งโนน้ อยา่ งน้ี อนั เกิดจากตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น อยากไดเ้ ส้ือผา้ ราคาแพง อยากมีรถ เป็นตน้ ภวตณั หา หมายถึง ความอยากจะเป็นนนั่ เป็นน่ี เช่น อยากเป็นมหา เศรษฐีอยากเป็นนกั แสดงช่ือดงั เป็นตน้ วภิ วตณั หา หมายถึง ความอยากจะไม่เป็นนน่ั เป็นนี่ เช่น ไมอ่ ยาก เป็น คนโง่ ไม่อยากเป็นคนจน เป็นตน้

ธรรมทค่ี วรละ สมุทยั เป็นธรรมที่ควรละ เพราะเป็นธรรมที่ ใหโ้ ทษแก่ชีวติ เช่น กรรม คือ การกระทา ในทางธรรม หมายถึง การกระทาท่ีประกอบดว้ ยเจตนาจงใจ อบายมุข ๖ คือ หนทางแห่งความเสื่อมหรือ ทางแห่งความพนิ าศ

ประเภทของของกรรม ประเภทของกรรมตามมูลเหตุการกระทา มี ๒ ประเภท ๑. อกศุ ลกรรม (กรรมชว่ั ) หมายถึง การกระทาที่เกิดจากอกุศลมูล คือ โลภ โกรธ หลง ๒. กศุ ลกรรม (กรรมดี) หมายถึง การกระทาท่ีเกิดจากกศุ ลมูล คือ ไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง ประเภทของกรรมตามการแสดงออก มี ๓ ประเภท ๑. กายกรรม หมายถึง กรรมท่ีกระทาทางกาย เช่น ต้งั ใจเรียนหนงั สือ ๒. วจีกรรม หมายถึง กรรมท่ีกระทาทางวาจา เช่น พดู จาปลอบโยนเพื่อนที่มีทุกข์ ๓. มโนกรรม หมายถึง กรรมท่ีกระทาทางใจ เช่น รู้สึกสงสารคนท่ีเจบ็ ป่ วยเป็นทุกข์

ผลของกรรม ผลของกรรม แบ่งได้ ๓ ระดบั ดงั น้ี ระดบั จติ • เมื่อทาดีจิตใจยอ่ มสงบสุข เม่ือทาชวั่ จิตใจ ยอ่ มทุกขร์ ้อน ระดบั บุคคล • คนดียอ่ มเป็นคนดี คนชว่ั ยอ่ มเป็นคนชวั่ ระดบั ภายนอก • เมื่อทาดียอ่ มไดร้ ับการสรรเสริญจาก บุคคลอื่น เมื่อทาชว่ั ยอ่ มถูกลงโทษต่างๆ

คุณของกรรม คุณของกรรม เกิดจากการกระทาท่ีถูกตอ้ ง ซ่ึงมีผลดงั น้ี ๑. ทาใหเ้ ช่ือวา่ ทุกสิ่งยอ่ มเป็นไปตามเหตุปัจจยั ๒. ทาใหเ้ ชื่อวา่ คุณธรรม ความดี ความสามารถ เป็นเครื่องวดั ความประเสริฐหรือความเลวของคน ๓. ทาใหม้ ีกาลงั ใจวา่ ตนเท่าน้นั จะเป็นผทู้ าใหต้ นดีหรือ เลวลง ๔. ทาใหเ้ ป็นผมู้ ีความรับผดิ ชอบต่อตนเองที่จะงดเวน้ จากการกระทาชว่ั

อบายมุข ๖ อบายมุข ๖ คือ หนทางแห่งความเส่ือม หรือทางแห่งความพนิ าศ ท้งั ๖ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. ติดสุราและของมึนเมา ๒. ชอบเท่ียวกลางคืน ๓. ชอบเท่ียวดูการละเล่น ๔. ติดการพนนั ๕. คบคนชว่ั ๖. เกียจคร้านการงาน

นิโรธ (ธรรมทคี่ วรบรรลุ) นิโรธ คือ ความจริงวา่ ดว้ ยความดบั ทุกข์ เมื่อความทุกขเ์ กิดจากสาเหตุ ถา้ เราดบั สาเหตุแห่งทุกขไ์ ด้ ความทุกขน์ ้นั กย็ อ่ มดบั ไปดว้ ย ดงั พทุ ธดารัสวา่ “เมื่อส่ิงน้ีไม่มี สิ่งน้นั กไ็ ม่มี เพราะส่ิงน้ีดบั ส่ิงน้นั กด็ บั ” เมื่อความทุกขเ์ กิดจากความอยากท่ีเกินพอดี ถา้ เราลดความอยากที่ฝืน กบั ความจริงไดม้ ากเท่าใด ปัญหาหรือความทุกขก์ น็ อ้ ยลง หากดบั ความอยากที่ผดิ ธรรมชาติไดท้ ้งั หมดปัญหากห็ มด เหลือแต่ความสงบสุขอยากยง่ิ ซ่ึงในทาง พระพทุ ธศาสนาเรียกวา่ “นิพพาน”

ธรรมทค่ี วรบรรลุ นิโรธ เป็นธรรมท่ีควรบรรลุ ในพระพทุ ธศาสนามีธรรมที่ควรบรรลุมากมาย ต้งั แต่ข้นั ต่าสุดถึงข้นั สูงสุด เช่น สุข ๒ คือ ความสุขอนั เป็นส่ิงท่ีทุกคนปรารถนา แบ่งเป็น ๒ ประการ ๑. กายกิ สุข คือ ความสุขทางกาย ๒. เจตสิกสุข คือ ความสุขทางใจ คหิ ิสุข คือ ความสุขของชาวบา้ น ไดแ้ ก่ ๑. อตั ถิสุข คือ ความสุขท่ีเกิดจากการมีทรัพย์ ๒. โภคสุข คือ ความสุขที่เกิดจากการใชจ้ ่ายทรัพย์ ๓. อนณสุข คือ ความสุขที่เกิดจากการไม่มีหน้ีสิน ๔. อนวชั ชสุข คือ ความสุขท่ีเกิดจากการประพฤติในส่ิงที่ไม่มีโทษ

มรรค (ธรรมทค่ี วรเจริญ) มรรค คือ ความจริงวา่ ดว้ ยวธิ ีทางแห่งความดบั ทุกข์ ถา้ ใครปฏิบตั ิตามกจ็ ะลด ความทุกขห์ รือปัญหาได้ ทางที่จะดบั ทุกขน์ ้นั มีองคป์ ระกอบ ๘ ประการ ดงั น้ี ๑. สัมมาทิฏฐิ คือ การเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกปั ปะ คือ การดาริชอบ ๓. สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ ๔. สัมมากมั มนั ตะ คือ การกระทาชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ คือ การเล้ียงชีพชอบ ๖. สัมมาวายามะ คือ การพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ คือ การระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ คือ การต้งั จิตมน่ั ชอบ

ธรรมทค่ี วรเจริญ มรรค เป็นธรรมที่ควรเจริญ หมายถึง ควรพฒั นา ควรทาใหเ้ กิดข้ึน ในทาง พระพทุ ธศาสนามีธรรมท่ีควรเจริญมากมาย เช่น ไตรสิกขา หมายถึง การศึกษาและฝึกอบรม มี ๓ ประการ ดงั น้ี ศีลสิกขา คือ การ จติ ตสิกขา คือ การ ปัญญาสิกขา คือ การ ฝึกอบรมเก่ียวกบั ความ ฝึกอบรมจิตเพือ่ ใหเ้ กิด ฝึกอบรมเพอื่ ใหเ้ กิด ประพฤติ มีเจรจาชอบ สมาธิ มีความพยายาม ความรู้แจง้ มีความ กระทาชอบ และเล้ียง ชอบ ระลึกชอบ และ เห็นชอบ และดาริชอบ ชีพชอบ ต้งั จิตมนั่ ชอบ

กรรมฐาน ๒ หมายถึง การกระทาท่ีเกี่ยวกบั การฝึกอบรมจิต ประกอบดว้ ย ๒ ประการ ดงั น้ี สมถกรรมฐาน คือ การฝึกอบรม วปิ ัสสนากรรมฐาน คือ การ จิตใจใหเ้ กิดความสงบ หรือการฝึก ฝึกอบรมปัญญาใหร้ ู้แจง้ หรือการ สมาธิ เจริญปัญญา

ปธาน ๔ คือ ความเพยี รที่ชอบ ๔ ประการ ดงั น้ี สังวรปธาน คือ ปหานปธาน คือ ภาวนาปธาน คือ อนุรักขนาปธาน เพยี รละ หรือเพียร เพยี รระวงั ยบั ย้งั กาจดั อกศุ ลธรรม เพยี รเจริญ หรือ คือ เพยี รรักษากุศล อกศุ ลที่ยงั ไม่เกิด ที่เกิดข้ึนแลว้ เพียรทากศุ ลธรรม ธรรมท่ีเกิดข้ึนแลว้ ที่ยงั ไม่เกิดใหเ้ กิด ใหค้ งอยแู่ ละให้ มิใหเ้ กิดข้ึนได้ มีข้ึน เจริญยง่ิ ข้ึนไป

โกศล ๓ โกศล ๓ คือ ความฉลาด มี ๓ ประการ ดงั น้ี อายโกศล อปายโกศล อปุ ายโกศล

อายโกศล คือ ความฉลาดที่ทาใหร้ ู้วา่ ความเจริญคืออะไร และอะไรเป็นปัจจยั ท่ี ทาใหเ้ กิดความเจริญ หลกั คาสอนท่ีเก่ียวกบั ความเจริญ เช่น “วฑุ ฒิธรรม ๔” หมายถึง คุณธรรมท่ีก่อใหเ้ กิดความเจริญงอกงาม วุฑฒิธรรม ๔ สัปปุริสสังเสวะ คือ การคบกบั คนดี มีความรู้ สัทธัมมสั สวนะ คือ การฟังธรรม เอาใจใส่เล่าเรียน แสวงหาความจริง โยนิโสมนสิการ คือ คิดหาเหตุผล และวเิ คราะห์ปัญหาต่างๆ โดย รอบคอบ ธัมมานุธัมมปฏิบตั ิ คือ การปฏิบตั ิธรรมใหถ้ ูกตอ้ ง รู้จกั ดีชวั่

อปายโกศล คือ ความฉลาดในความเสื่อม รู้สาเหตุของความเสื่อม ซ่ึงมีอยหู่ ลาย ประการ เช่น “อบายมุข ๔” ซ่ึงหมายถึง ทางแห่งความเส่ือม อบายมุข ๔ เป็นนกั เลงหญิง มีความประพฤติไม่เหมาะสมทางเพศ เป็นนกั เลงสุรา เป็นนกั เลงการพนนั คบคนชวั่ เป็นมิตร

อุปายโกศล คือ ความฉลาดในอุบายหรือวธิ ีที่ทาใหส้ าเร็จ คาสอนเก่ียวกบั เร่ืองน้ี เช่น “อิทธิบาท ๔” ซ่ึงหมายถึง ทางไปสู่ความสาเร็จ อทิ ธิบาท ๔ ฉันทะ คือ ความรัก ความพงึ พอใจ วริ ิยะ คือ ความพากเพียร ความบากบน่ั จิตตะ คือ การเอาใจใส่ฝักใฝ่ วมิ งั สา คือ การไตร่ตรองพจิ ารณา

มงคล มงคล คือ ธรรมอนั นามาซ่ึงความสุขความเจริญ มีหลกั ดงั น้ี ๑. การไม่คบคนพาล คือ การเล่ียงไม่สมาคมกบั บุคคลท่ีมีลกั ษณะเป็นคนพาลคนชวั่ ๒. การคบบัณฑิต คือ การคบหาสมาคมกบั บุคคลทม่ี ี ปัญญาและสามารถนาปัญญาน้นั มาใชใ้ นการดาเนิน ชีวิตได้ ๓. การบูชาผู้ควรบูชา คือ การยกยอ่ งบุคคลที่มีคุณ งามความดี มีคุณธรรม เพอ่ื ยกจิตใจของตนใหส้ ูงข้ึน

คุณของอริยสัจ สอนใหแ้ กป้ ัญหาดว้ ยปัญญาและเหตุผล สอนใหไ้ ม่ประมาท สอนใหแ้ กป้ ัญหาดว้ ยตนเอง สอนใหเ้ ห็นสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง

๔หน่วยการเรียนรู้ที่ พทุ ธศาสนสุภาษติ พทุ ธศาสนสุภาษิตเป็นคาสอน ของพระพุทธเจ้า ซ่ึงเป็ นข้อความ ส้ัน ๆ แ ล ะ เ ก็ บร ว บ ร ว ม ไ ว้ใ น พระไตรปิ ฎก พุทธศาสนิกชนทุกคนควร เรียนรู้พุทธศาสนสุภาษิต เพื่อให้ เข้าใจในหลักธรรมคาสอนของ พระพทุ ธเจา้ มากข้ึน และสามารถนา ข้อคิดจากพุทธศาสนสุ ภาษิตไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้

๑. ย เว เสวติ ตาทโิ ส : คบคนเช่นไรย่อมเป็ นเช่นน้ัน ประเภทของคน คนสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท ดงั นี้ คนดี คนไม่ดี • ปฏิบตั ิตามศีล 5 • ไม่ปฏิบตั ิตามศีล 5 • ปฏิบตั ิตนเป็น • ปฏิบตั ิตนใหเ้ ป็นท่ี พลเมืองดีของ เดือดร้อนต่อ ครอบครัว โรงเรียน ครอบครัว โรงเรียน และสงั คม และสงั คม

การเลือกคบคน การเลือกคบคนถือเป็นสิ่งสาคญั เพราะหากเราเลือกคบคนใด เรากม็ กั จะเลียนแบบ นิสยั ใจคอจากคนเหล่าน้นั มา ทาใหเ้ รากลายเป็นคนแบบน้นั ตามไปดว้ ย ดงั น้นั เราควรเลือกคบ คนดี

๒. อตฺตนา โจทยตฺตาน : จงเตือนตนด้วยตนเอง การเตือนตนเอง การเตือนตนเองมีความสาคญั เนื่องจาก ไม่มใี ครสามารถอยู่ การเตือนตนเองอยู่ การเตือนตนเอง เตือนเราได้ตลอดเวลา เสมอจะช่วยลดความ อย่เู สมอ จะนาไปสู่ ดงั น้ัน เราจงึ ต้อง ประมาทในการ ความสาเร็จใน เตือนตนเองอยู่เสมอ ดาเนินชีวติ เป้าหมายทว่ี างไว้

การฝึ กเตือนตนเอง การฝึกเตือนตนเองสามารถทาไดห้ ลายวธิ ี เช่น  หยดุ คิดก่อนใชเ้ งินทุกคร้ัง วา่ ใชจ้ ่ายในส่ิงท่ีจาเป็น และคุม้ ค่าหรือไม่ ถา้ ไม่คุม้ ค่าควร จ่ายหรือไม่  ทบทวนก่อนออกจากบา้ น วา่ ไดป้ ิ ดน้า ปิ ดไฟ หรือถอดปลก๊ั ไฟเรียบร้อยแลว้ หรือยงั หากไม่แน่ใจควรเขา้ ไปตรวจสอบอีกคร้ัง  ขณะขบั รถตอ้ งเตือนตนอยเู่ สมอวา่ ไม่ควรใชค้ วามเร็วเกินท่ีกฎหมายกาหนด และ ตอ้ งขบั ดว้ ยความระมดั ระวงั เป็นตน้

๓. นิสมฺม กรณ เสยฺโย : การใคร่ครวญก่อนแล้วจึงทาดกี ว่า ความสาคญั ของการใคร่ครวญก่อนลงมือทา การใคร่ครวญก่อนลงมือทา เป็นการลดความประมาทในการทาสิ่งต่างๆ ซ่ึงมีความสาคญั ดงั น้ี ช่วยป้องกนั การ ช่วยให้ประสบ ช่วยลดความขัดแย้ง ตดั สินใจผดิ พลาด ความสาเร็จในการทา ในครอบครัว ซึ่งอาจทาให้เสียเวลา สิ่งต่างๆ ได้เร็วขึน้ และส่ งผลร้ ายตามมา โรงเรียน และสังคม

พทุ ธดารัสเกย่ี วกบั ความประมาท รอยเทา้ ของสตั วบ์ กชนิดใดกต็ าม ยอ่ มลงในรอยเทา้ ชา้ งไดท้ ้งั หมด รอยเทา้ ชา้ ง เรียกวา่ เป็นยอดของรอยเทา้ เหล่าน้นั โดยความเป็นใหญฉ่ นั ใด กศุ ลธรรมท้งั หลาย อยา่ งใดกต็ าม ยอ่ มมีความไม่ประมาทเป็นมูล ประชุมลงในความไม่ประมาทได้ ท้งั หมด ความไม่ประมาทเรียกไดว้ า่ เป็นยอดของธรรมเหล่าน้นั ฉนั น้นั

๔. ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา : เหย้าเรือนทป่ี กครองไม่ดนี าทุกข์มาให้ ความสาคญั ของผ้นู าครอบครัว ครอบครัวมีความสาคญั ดงั น้ี เป็ นแบบอย่างในการดาเนินชีวติ ให้แก่สมาชิกในครอบครัว เป็ นผู้นาในการวางแนวทางปฏบิ ัติ กตกิ า กฎของครอบครัว เป็ นผ้หู ารายได้มาจุนเจือครอบครัว

ลกั ษณะของผู้นาครอบครัวที่ดี เป็นแบบอยา่ งที่ดีใหแ้ ก่สมาชิก ในครอบครัว มีความเป็ นประชาธิปไตย มีคุณธรรมจริยธรรม

ลกั ษณะของครอบครัวท่มี ีผู้ปกครองที่ดี ระเบียบและกฎเกณฑข์ องบา้ นมีความยดื หยนุ่ ไม่เขม้ งวดเกินไป สมาชิกในครอบครัวปฏิบตั ิตามระเบียบ พอ่ -แม่ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดี สมาชิกในครอบครัวมีความเมตตาต่อกนั ใหอ้ ภยั กนั ไม่จบั ผดิ กนั พอ่ -แม่มีความยตุ ิธรรม ไม่ลาเอียง

๕หน่วยการเรียนรู้ที่ หน้าทชี่ าวพุทธและมารยาทชาวพทุ ธ ประเทศไทยมีพระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติและผสมผสานกลมกลืน กบั วถิ ีชีวติ ความเป็นอยขู่ องคนไทย จนไม่สามารถแยกออกจากกนั ได้ ดงั น้นั ความเจริญ หรือความเส่ือมของพระพทุ ธศาสนายอ่ มมีผลกระทบต่อสงั คมไทยดว้ ย กล่าวคือ เม่ือพระพทุ ธศาสนาเจริญรุ่งเรือง บุคคลในสงั คมยอ่ มมีศีลธรรม อยรู่ ่วมกนั ในสงั คมไดอ้ ยา่ งสงบสุข แต่ในทางกลบั กนั ถา้ พระพทุ ธศาสนาเสื่อมลง ผคู้ นก็ จะขาดศีลธรรมอยอู่ ยา่ งเอารัดเอาเปรียบกนั สงั คมกย็ อ่ มเดือดร้อน ดงั น้นั ในฐานะที่เป็นชาวพทุ ธ เราจึงมีหนา้ ท่ีท่ีจะ ทานุบารุงพระพทุ ธศาสนาใหเ้ จริญมนั่ คงสืบไป โดยหมน่ั ศึกษา หาความรู้ ปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมและประเพณีพิธีกรรมทางศาสนา เผยแผ่ และปกป้องพระศาสนา

๑. การบาเพญ็ ประโยชน์และการบารุงรักษาวดั การบาเพญ็ ประโยชน์ พทุ ธศาสนิกชนที่ดีมีหนา้ ท่ีบาเพญ็ ประโยชน์แก่วดั พระภิกษสุ ามเณร เช่น • ทอดผา้ ป่ า ทอดกฐิน หาทุนทรัพยไ์ ปช่วยสร้างอุโบสถ วหิ าร หรือศาสนสถานอื่นๆ • ใหท้ ุนการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณร • จดั หาผเู้ ช่ียวชาญช่วยอบรมวธิ ีการใชส้ ่ือ และอุปกรณ์ท่ีทนั สมยั • ดูแลมิใหผ้ ใู้ ดใชว้ ดั เป็นสถานที่ประพฤติ มิชอบ • ชกั ชวนกนั ไปทาบุญ รักษาศีล และเจริญ ภาวนา

การบารุงรักษาวดั การบารุงรักษาวดั มีหลายวธิ ี เช่น • ก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง ตกแต่ง วางแบบแปลนศาสนสถานและศาสนวตั ถุ รวมถึงการ สร้างพระพทุ ธรูป ศาลาสวดศพ • ช่วยสนบั สนุนค่าใชจ้ ่าย จดั หาทุนสาหรับ บารุงรักษาศาสนสถานและศาสนวตั ถุ • จดั ใหม้ ีการเรียนการสอนพระปริยตั ิธรรม • ส่งเสริม สนบั สนุนวดั ท้งั กาลงั เงินและ กาลงั กาย • ช่วยทาความสะอาดวดั และบริเวณภายในวดั

๒. การเรียนรู้วถิ ชี ีวติ ของพระภกิ ษุสงฆ์ การศึกษา การศึกษา หมายถึง การเรียนพทุ ธวจนะหรือพระไตรปิ ฎก ในสมยั ก่อนใชว้ ธิ ีท่องจา เรียกวา่ มุขปาฐะ ถ่ายทอดต่อกนั มา เมื่อเวลาล่วงเลยไปทาใหพ้ ระธรรมวนิ ยั คลาดเคล่ือน พระสงฆจ์ ึง ประชุมสงั คายนา ภายหลงั จึงมีการบนั ทึกไว้ การศึกษาเล่าเรียนน้ี ต่อมาภายหลงั เรียกวา่ คนั ถธุระ

การปฏบิ ตั ิ เรียกตามศพั ทศ์ าสนาวา่ วปิ ัสสนาธุระ หมายถึง การฝึกฝน อบรมจิตใจใหเ้ ป็นสมาธิ เพ่ือนาไปขจดั กิเลส คือ ความ เศร้าหมองแห่งจิตและใหเ้ กิดความรู้แจง้ เห็นจริง

การเผยแผ่พระพุทธศาสนา การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม การแสดงธรรมหรือการแสดงพระ ธรรมเทศนาหรือการเทศน์ เป็น รูปแบบท่ีทากนั มาแต่โบราณ มี ระเบียบและวธิ ีปฏิบตั ิเป็นแบบอยา่ ง เฉพาะ ส่วนการแสดงปาฐกถาธรรม เป็นการแสดงธรรม โดยใชภ้ าษา ธรรมดาท่ีส่ือความไดง้ ่าย ไม่มี รูปแบบและพิธีกรรม

การประพฤตติ นให้เป็ นแบบอย่าง พระภิกษุมีหนา้ ที่ทาใหช้ าวบา้ นเห็นวา่ การมีชีวติ ตามที่พระพทุ ธองคท์ รง สอนน้นั เป็นไปได้ ตอ้ งมีชีวติ เรียบ ง่าย ไม่ยดึ ติดในลาภสกั การะ มีเมตตา ไม่พยาบาท คิดร้ายต่อผอู้ ่ืน

๓. มารยาทชาวพทุ ธ การเข้าพบพระภิกษุ และการปฏิบัตติ นในเขตวดั • ควรแต่งกายใหส้ ุภาพเรียบร้อย ไม่ตกแต่งเครื่องประดบั มากเกินไป • ถา้ ไปร่วมพิธีในช่วงเชา้ ควรมีภตั ตาหารไปถวายพระภิกษดุ ว้ ย แต่ถา้ ศาสนพธิ ีมีข้ึนตอน บ่ายหรือเยน็ ควรมีน้าผลไมไ้ ปถวายพระสงฆด์ ว้ ยจะเป็นการดี • ควรไปถึงวดั ก่อนการประกอบศาสนพธิ ี • ขณะพระสงฆแ์ สดงพระธรรมหรือใหศ้ ีล ควรต้งั ใจฟังอยา่ งสารวม มีสมาธิ • ควรสนทนากบั พระสงฆอ์ ยา่ งสารวม • พึงรักษาเวลาในการสนทนากบั พระ • ไม่ควรนาเรื่องทางโลกบางเร่ืองไปสนทนากบั พระ • ไม่กระทาการท่ีเป็นการรบกวนการประกอบศาสนพิธี

การแสดงความเคารพพระรัตนตรัย การประนมมือ (อญั ชล)ี การยกมือท้งั สองต้งั ประนม ข้ึนเป็นพมุ่ โดยใหฝ้ ่ามือท้งั สองชิดกนั ต้งั ไวร้ ะหวา่ งอก นิ้วมือท้งั สิบชิดกนั แขนท้งั สองถอยห่างจากลาตวั พอสมควร เงยหนา้ มองตรงต่อ สิ่งท่ีเคารพ ลาตวั ต้งั ตรง

การไหว้ (นมสั การ) การยกมือที่ประนมข้ึนจรดหนา้ ผาก พร้อมกบั นอ้ มศีรษะลงเลก็ นอ้ ย ใหป้ ลายนิ้วจรดตีนผม ปลาย นิ้วหวั แม่มือจรดกลางหนา้ ผากหรือ หวา่ งคิ้ว ไหวค้ ร้ังเดียวแลว้ ลดมือลง การไหวข้ ณะยนื น้นั ผชู้ ายควรยนื สน้ เทา้ ชิด ปลายเทา้ แยกเลก็ นอ้ ย ผหู้ ญิง ควรกา้ วขาขวาออกมาขา้ งหนา้ แลว้ ยอ่ ตวั หรือคอ้ มตวั ต่าลงเลก็ นอ้ ย

การกราบ (อภิวาท) การกราบพระรัตนตรัยใชว้ ธิ ีกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ หมายถึง การกราบใหอ้ วยั วะ ท้งั ๕ ส่วนของร่างกายจรดกบั พ้นื คือ มือท้งั สอง เข่าท้งั สอง และหนา้ ผากจรดพ้นื การกราบมี ๓ ข้นั ตอน คือ อญั ชลี วนั ทา อภิวาท

การฟังสวดพระอภิธรรม • ต้งั ใจฟังโดยเคารพ • ถา้ ไม่เขา้ ใจกส็ ่งกระแสจิตไปตามเสียง สวด เพื่อสร้างสมาธิในการฟัง • ถา้ เขา้ ใจความหมายของบทสวด กใ็ หน้ อ้ มใจไปตามคาสวดน้นั • ควรนาเอาธรรมะในบทสวดไปเป็น แนวทางในการดาเนินชีวติ

การฟังพระธรรมเทศนา • ฝ่ ายผฟู้ ัง ใหร้ ับศีลก่อน แลว้ กล่าวคา อาราธนาธรรม เพ่อื อญั เชิญใหพ้ ระแสดง พระธรรมเทศนา • พระข้ึนนงั่ บนธรรมาสน์ จบั ใบลานข้ึน ประคองระหวา่ งอก มือท้งั สองประนม แค่อกแลว้ ต้งั นโม ๓ จบ • จากน้นั ยกพระบาลีอุทเทศ แลว้ อ่าน คาเทศน์ในใบลาน • ฝ่ ายผฟู้ ังใหน้ ง่ั ประนมมือ ต้งั ใจฟัง • เมื่อเทศนจ์ บ เจา้ ภาพถวายไทยธรรมแก่ภิกษุ

การฟังเจริญพระพุทธมนต์ • ต้งั ใจฟังดว้ ยความเคารพ • แมไ้ ม่เขา้ ใจความหมาย กใ็ หส้ ่งใจไปตามเสียงสวดน้นั นอ้ มราลึกถึงคุณพระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ • ถา้ เขา้ ใจความหมาย กจ็ ะยง่ิ ช่วยใหม้ ีจิตศรัทธาเล่ือมใสในพระรัตนตรัยยง่ิ ข้ึน • เม่ือจิตเลื่อมใสศรัทธา จิตใจกจ็ ะสะอาดบริสุทธ์ิมากข้ึน เท่ากบั เป็นการชาระลา้ งขดั เกลากิเลส