Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี

โครงการศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี

Published by 23อารยา เปรมปรี, 2021-09-22 08:22:22

Description: โครงการศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี

Search

Read the Text Version

ศกึ ษาปจั จยั ในการตดั สินใจศึกษาตอ่ ในระดบั ปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนอื่ ง) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดบั ปริญญาตรี วิทยาลยั อาชีวศึกษาชลบุรี จัดทำโดย นภิ าพร พิเศษ รหสั นกั ศึกษา 63302010032 อารยา เปรมปรี รหสั นกั ศกึ ษา 63302010051 เสนอ อาจารย์นพิ ร จทุ ยั รัตน์ รายงานน้ีเป็นสว่ นหน่งึ ของการศกึ ษา วชิ า โครงการ สาขาวิชา การบัญชี ประเภทวชิ า บรหิ ารธรุ กิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาชลบุรี

ศกึ ษาปจั จยั ในการตดั สินใจศึกษาตอ่ ในระดับปรญิ ญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของนักศึกษาชนั้ ปที ่ี 1 ระดบั ปริญญาตรี วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี จัดทำโดย นางสาวนิภาพร พิเศษ รหสั นกั ศึกษา 63302010032 นางสาวอารยา เปรมปรี รหสั นกั ศึกษา 63302010051 ช้ัน ปวส. 2/2 สาขาวชิ า การบัญชี เสนอ อาจารย์นิพร จทุ ัยรตั น์ รายงานน้ีเป็นส่วนหน่งึ ของการศึกษา วชิ า โครงการ สาขาวชิ า การบัญชี ประเภทวชิ า บริหารธรุ กิจ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี



ใบรบั รองโครงการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบรุ ี เรือ่ ง ศึกษาปจั จัยในการตัดสินใจศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาบัญชี (ตอ่ เนื่อง) ของนกั ศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดบั ปรญิ ญาตรี วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบรุ ี จัดทำโดย นางสาวนภิ าพร พิเศษ นางสาวอารยา เปรมปรี ไดร้ ับการรับรองให้นับเปน็ ส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้นั สงู (ปวส.) สาขาวชิ าการบญั ชี ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกิจ ……………………………….หัวหนา้ แผนกวชิ า ………….………….รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ (นางนพิ ร จทุ ยั รตั น)์ (นายยรรยงค์ ประกอบเก้ือ) วนั ท่…ี …..เดือน………………พ.ศ……….. วนั ท่ี……..เดอื น………………พ.ศ……….. คณะกรรมการสอบโครงการ …………………………………………………ประธานกรรมการ (อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาโครงการ) (…………………………………………..) …………………………………………………กรรมการ (…………………………………………..) …………………………………………………กรรมการ (…………………………………………..) …………………………………………………กรรมการ (…………………………………………..)

ชื่อผลงาน ศกึ ษาปัจจัยในการตัดสนิ ใจศกึ ษาต่อในระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาบัญชี (ตอ่ เนื่อง) ของ นักศกึ ษาช้นั ปที ่ี 1 ระดบั ปริญญาตรี วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี ชอื่ นักศึกษา นภิ าพร พิเศษ อารยา เปรมปรี สาขาวชิ า การบัญชี ประเภทวิชา บริหารธุรกจิ ปีการศกึ ษา 2564 สถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบรุ ี บทคัดยอ่ ศกึ ษาปจั จยั ในการตัดสนิ ใจศึกษาต่อในระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนือ่ ง) ของนกั ศึกษาช้ันปี ที่ 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี วัตถุประสงค์การศึกษาเพื่อศึกษาปัจจัยในการตัดสนิ ใจ ศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัย อาชีวศึกษาชลบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีได้แก่ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ครงั้ น้ี ได้แก่ นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี หลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาบัญชี (ตอ่ เน่อื ง) ชน้ั ปีท่ี 1 ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี จำนวน 12 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีเป็นแบบสอบถาม ซ่งึ ประกอบด้วยแบบ ตรวจรายการ แบบมาตราส่วนประมาณ และแบบคำถามปลายปิดและปลายเปิด จำนวน 3 ตอนมี รายละเอียด ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยใน การตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบุรี แบ่งเปน็ 4 ด้าน คือ ดา้ นสถาบนั ด้านหลักสูตร ด้านครอบครัวและด้านสังคม ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะและความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ 1. ร้อยละ 2. ค่าเฉลี่ย 3. ส่วน เบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่านักศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.30 ส่วนใหญ่อยู่ในชว่ งอายุ 21 ปี จำนวน 6 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 50.00 รองลงมาอายุ 20 ปี จำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 33.30 อายุ 22 ปี จำนวน 1 คน คิด เป็นร้อยละ 8.30 และอายุ 23 ปีขึ้นไป จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.30 วิทยาลัยที่จบการศึกษาระดับ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ข้ันสูง (ปวส.) สว่ นใหญ่จากวทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาชลบุรี จำนวน 9 คน คดิ เปน็ รอ้ ย

ค ละ 75.00 และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีเกรดเฉลี่ยอยู่ที่ 3.51 ขึ้นไป ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการ ตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี แบง่ เปน็ 4 ดา้ น คอื ดา้ นสถาบัน ดา้ นหลักสตู ร ดา้ นครอบครัวและดา้ นสงั คม ด้านสถาบัน คือ เป็นวิทยาลัยที่จบออกมาแล้วเป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงาน ความมีชื่อเสียง ของวิทยาลัยเป็นที่ยอมรับของสังคม เป็นวิทยาลัยที่มีสภาพแวดล้อมร่มรื่น เอื้อต่อการเรียนรู้ และสถาน ทตี่ งั้ วทิ ยาลัยสะดวกตอ่ การเดนิ ทาง ด้านหลักสูตร คือ หลักสูตรที่เปิดสอนเป็นที่นิยมในปัจจุบัน หลักสูตรที่เปิดสอนเป็นที่ต้องการ ของตลาดแรงงาน หลักสูตรที่เปิดสอนเน้นทางด้านสาขาวิชาชีพบัญชีและหลักสูตรที่เปิดสอนตรงตาม ความตอ้ งการของผเู้ รียนมี ด้านครอบครัว คือ ครอบครัวสนับสนุนทุกๆด้านของการเข้าศึกษาต่อ สภาพคล่องด้านการเงิน เช่น มีเงินเก็บไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน ครอบครัวมีความต้องการให้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยแห่งนี้ และ ครอบครัวจบการศึกษาจากวิทยาลัยแห่งน้ี ด้านสังคม คือ ความก้าวหน้าในอาชีพการงานในอนาคต สามารถนำความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพไป ประกอบอาชพี ได้ สงั คมยกยอ่ งในความร้คู วามสามารถ และได้รบั การยอมรบั จากสงั คม คำสำคัญ ปจั จัย หลักสตู รปรญิ ญาตรี นกั ศึกษา

กติ ตกิ รรมประกาศ การศึกษาเรื่อง “ปัจจัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี” ในครั้งนี้ สามารถสำเร็จลุล่วงอย่าง สมบูรณ์ด้วยความเมตตา จากอาจารย์นิพร จุทัยรัตน์ ที่ปรึกษาโครงการที่ให้คำแนะนำแนวทางที่ถูกต้อง และเอาใจใส่ด้วยดีตลอดระยะเวลาในการทำศึกษาโครงการ ผู้ศึกษาซาบซึ้งเป็นอย่างยิ่ง จึงขอกราบ ขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง ณ โอกาสนี้ ขอบพระคุณบิดา มารดาและเพื่อนๆทุกคนทีไ่ ด้ให้คำแนะนำช่วยเหลือสนับสนุนผู้ศึกษาโครงการ มาตลอด โครงการจะสำเร็จลุลว่ งไปไมไ่ ด้ หากไม่มีบคุ คลดังกล่าวในการจดั ทำโครงการ คุณค่าและประโยชน์ของการศึกษานี้ ผู้ศึกษาขอมอบเป็นกตัญญูกตเวทิตาแด่บุพการี บูรพา อาจารย์ และผูม้ พี ระคุณทุกทา่ นทั้งในอดตี และปัจจุบัน ท่ไี ดอ้ บรม ส่ังสอน ชแี้ นะแนวทางในการศึกษาจน ทำให้ผศู้ กึ ษาประสบความสำเร็จ นภิ าพร พิเศษ อารยา เปรมปรี

สารบญั หนา้ ใบรับรองโครงการ ....................................................................................................................................ก บทคดั ย่อ..................................................................................................................................................ข กติ ตกิ รรมประกาศ……………………………………………………………………………………………………………………..…ง สารบญั .....................................................................................................................................................จ สารบัญตาราง...........................................................................................................................................ซ สารบญั ภาพ ............................................................................................................................................ฌ บทท่ี 1 บทนำ ..........................................................................................................................................1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา ......................................................................................1 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั ............................................................................................................2 ขอบเขตของการวิจยั ...................................................................................................................2 ประโยชนค์ าดว่าจะได้รบั .............................................................................................................2 คำนยิ ามศพั ท์ ..............................................................................................................................2 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวข้อง ...................................................................................................3 จุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวชิ า ....................................................3 ความหมาย แนวคดิ ทฤษฎีเก่ยี วกับการตัดสินใจ.........................................................................4 แนวคดิ กระบวนการตัดสนิ ใจ.......................................................................................................8 แนวคิดและทฤษฎเี กี่ยวกับปจั จัยทีม่ อี ิทธพิ ลต่อการตดั สินใจของผูบ้ รโิ ภค....................................9 แนวคิดเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน...................................................................................14 แนวคิดเก่ยี วกับสภาพแวดลอ้ ม..................................................................................................21 ขอบขา่ ยสภาพแวดล้อมการศึกษา.............................................................................................24 ประวัติวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี…………………………………………………………………………………….27 งานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง……………….……….……………………………………………………………………………….31

ฉ สารบญั (ตอ่ ) หน้า บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การศึกษา....................................................................................................................34 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง........................................................................................................34 เคร่อื งมือท่ีใช้ในการศึกษา .........................................................................................................34 ข้นั ตอนในการสร้างเคร่ืองมือ ...................................................................................................35 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล .............................................................................................................35 การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติท่ใี ช้ในการศึกษา ............................................................................36 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล................................................................................................................37 สัญลักษณท์ ่ีใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู .........................................................................................37 การนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ............................................................................................37 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ……………………..……….………………………………………………50 สรปุ ผลการศกึ ษา.........................................................................................................................50 อภิปรายผล............................................................................................................. .....................52 ข้อเสนอแนะ.............................................................................................................. ..................53 บรรณานุกรม..........................................................................................................................................54 ภาคผนวก...............................................................................................................................................55 ภาคผนวก ก แบบอนุมัติโครงการ .........................................................................................56 ภาคผนวก ข วิธเี กบ็ รวบรวมขอ้ มูลและการดำเนินโครงการ ..................................................63 ภาคผนวก ค เอกสารประกอบ..............................................................................................67 ประวตั ผิ จู้ ดั ทำ...........................................................................................................................................71

สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 แสดงความถ่แี ละรอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อยา่ ง จำแนกตามเพศ ..................................................38 ตารางท่ี 2 แสดงความถแ่ี ละรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอยา่ ง จำแนกตามอายุ ..................................................39 ตารางที่ 3 แสดงความถีแ่ ละร้อยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามจบการศึกษาระดับ ประกาศนยี บตั ร วิชาชพี ขนั้ สูง (ปวส.) จากท่ีใด ......................................................................................40 ตารางท่ี 4 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกลุม่ ตัวอย่าง จำแนกตามเกรดเฉล่ยี สะสม................................41 ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อคดิ เหน็ ของกลุ่มตัวอย่างมีตอ่ ปจั จยั ในการ ตัดสนิ ใจศกึ ษาต่อในระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนอ่ื ง) ของนักศึกษาชั้นปที ่ี 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบรุ ี สรปุ เป็นรายด้าน............................................................................................42 ตารางท่ี 6 แสดงค่าเฉลี่ย และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อคิดเห็นของกล่มุ ตัวอยา่ งท่ีมีต่อปจั จยั ในการ ตดั สนิ ใจศึกษาต่อในระดับปรญิ ญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเน่ือง) ของนักศึกษาชน้ั ปีท่ี 1 ระดับปรญิ ญาตรี วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี ด้านสถาบนั ....................................................................................................43 ตารางที่ 7 แสดงค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ข้อคดิ เห็นของกลุ่มตวั อย่างท่ีมีต่อปจั จยั ในการ ตัดสินใจศึกษาต่อในระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเน่ือง) ของนักศึกษาชน้ั ปที ่ี 1 ระดับปรญิ ญาตรี วิทยาลัยอาชวี ศึกษาชลบรุ ี ด้านหลกั สูตร ……………………………………………………………………………..……….45 ตารางท่ี 8 แสดงค่าเฉลีย่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ข้อคดิ เหน็ ของกล่มุ ตวั อยา่ งท่ีมีต่อปจั จัยในการ ตดั สินใจศึกษาต่อในระดบั ปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนอื่ ง) ของนักศึกษาชัน้ ปที ี่ 1 ระดับปรญิ ญาตรี วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี ดา้ นครอบครัว ............... ………………………………………………………………………46 ตารางที่ 9 แสดงค่าเฉล่ยี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ข้อคิดเห็นของกล่มุ ตวั อย่างท่ีมีต่อปจั จัยในการ ตดั สนิ ใจศึกษาตอ่ ในระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนอ่ื ง) ของนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 ระดับปรญิ ญาตรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี ดา้ นสงั คม .......................................................................................................48

สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 แสดงความถีแ่ ละร้อยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามเพศ .....................................................38 ภาพที่ 2 แสดงความถแี่ ละร้อยละของกลมุ่ ตัวอยา่ ง จำแนกตามอายุ.....................................................39 ภาพท่ี 3 แสดงความถีแ่ ละร้อยละของกลุ่มตัวอยา่ ง จำแนกตามจบการศึกษาระดบั ประกาศนียบัตร วชิ าชีพข้ันสงู (ปวส.) จากทีใ่ ด ................................................................................................40 ภาพที่ 4 แสดงความถี่และร้อยละของกลุม่ ตวั อย่าง จำแนกตามเกรดเฉล่ยี สะสม ..................................41 ภาพท่ี 5 แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง สรปุ เปน็ รายด้าน......................................................43 ภาพที่ 6 แสดงความถแี่ ละร้อยละของกล่มุ ตัวอย่าง ด้านสถาบนั ..............................................................44 ภาพที่ 7 แสดงความถแี่ ละร้อยละของกลมุ่ ตัวอยา่ ง ด้านหลักสตู ร...........................................................46 ภาพที่ 8 แสดงความถ่แี ละร้อยละของกลุม่ ตัวอยา่ ง ด้านครอบครวั ..........................................................47 ภาพท่ี 9 แสดงความถี่และร้อยละของกลุม่ ตวั อยา่ ง ด้านสังคม................................................................49 ภาพท่ี 10 การจดั ทำรูปเล่มโครงการ........................................................................................................68 ภาพท่ี 11 การจดั ทำรปู เลม่ โครงการ........................................................................................................68 ภาพท่ี 12 การจัดทำรูปเล่มโครงการ........................................................................................................69 ภาพท่ี 13 การจัดทำรปู เลม่ โครงการ........................................................................................................69 ภาพท่ี 14 แจกแบบสอบถามทางออนไลน.์ ...............................................................................................70 ภาพที่ 15 แจกแบบสอบถามทางออนไลน์................................................................................................70

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาชลบุรี จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.2480 โดยผู้ริเริ่มคือนายอร่าม นาคปฐม เป็นครูใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 388 หมู่ที่ 5 ถนน สุขุมวิท ตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี มีเนื้อที่ 9 ไร่ 2 งาน 28 ตารางวา ได้รับอนุญาตให้ใช้ ที่ดินสาธารณประโยชน์จากเทศบาลเมืองบ้านสวน เนื้อที่ 28 ตารางวา วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรีมี จุดประสงค์มุ่งให้ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถออกไปประกอบอาชีพได้ทั้งในภาครัฐและเอกชน มีความ เชื่อมั่นในตนเองในวิชาชีพ สามารถสร้างงานเพื่อประกอบอาชีพอิสระได้ และมีพื้นฐานความรู้เพียงพอ สำหรับการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ซึ่งมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ปรัชญา ดังนี้ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ ผลิตและพัฒนากำลังคนที่มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล พันธกิจ การบริหารจัดการเชิงรุก การ สร้างเครือข่ายความร่วมมือ การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน การส่งเสรมิ การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต วิจัย/พัฒนาและการจัดการองคก์ ารแห่งการ เรียนรู้ ปรัชญาวิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี “ คุณธรรมเยีย่ ม เปี่ยมวิทยา พัฒนาอาชีพ ” คุณธรรมเยี่ยม มี ความซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบวินัย มีน้ำใจงาม มีความประพฤติดีและมีสติ เปี่ยมวิทยา ประกอบด้วยมี ความรู้ มคี วามสามารถในวิชาชพี ตามสาขาอยา่ งดเี ยย่ี ม พัฒนาอาชพี สามารถสรา้ งสรรค์ สร้างงาน ซึ่งนำ ความกา้ วหน้ามาส่อู าชพี การงานและอนาคตทดี่ ี วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาชลบุรี มีการเรียนการสอน 3 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และ3. หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี โดยเปิดสอนระดบั ปริญญาตรี 1 หลกั สูตร คอื หลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ เปิด สอนรายวิชา 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการบัญชีและสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ซึ่งสาขาวิชาการบัญชี เป็นสาขาทไ่ี ด้รบั ความนิยมอย่างแพรห่ ลายในการตดั สนิ ใจเขา้ ศกึ ษาตอ่ เนื่องจากหลายปัจจยั เชน่ ช่อื เสียง ทางวทิ ยาลยั บคุ ลากรทางการศกึ ษา สภาพแวดล้อม เป็นต้น ดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงจัดทำโครงการศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี และนำผลที่ได้ จากการวจิ ัย ไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ การวางแผนใหต้ รงกับกลมุ่ เป้าหมาย

2 อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพ่ือให้พรอ้ มสำหรับสภาพการแขง่ ขันในปจั จุบนั และอนาคต รวมถึงเปน็ แนวทาง สำหรบั การจัดการเรยี นการสอนที่เหมาะสมต่อไป วตั ถุประสงคข์ องวิจัย เพื่อศกึ ษาปจั จัยในการตัดสนิ ใจศึกษาต่อในระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาบญั ชี (ตอ่ เนอ่ื ง) ของนักศึกษา ชัน้ ปที ี่ 1 ระดับปริญญาตรี วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี ขอบเขตของวจิ ัย 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับ ปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัย อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี 2. ขอบเขตที่เกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ปีการศึกษา 2564 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี จำนวน 12 คน 3. ขอบเขตด้านเวลา ระยะเวลาดำเนินงาน ทั้งสิ้น 18 สัปดาห์ ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 1 ตลุ าคม 2564 ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ ได้ทราบถึงปัจจัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของ นกั ศกึ ษาช้ันปที ่ี 1 ระดับปรญิ ญาตรี วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาชลบรุ ี คำนิยามศัพท์ ปจั จัย หมายถงึ สิง่ ที่มีผลในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาบญั ชี (ตอ่ เน่ือง) ของ นักศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยอาชวี ศึกษาชลบุรี หลกั สตู รปรญิ ญาตรี หมายถงึ หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชาการบญั ชี (ต่อเนอื่ ง) 2 ปี นักศึกษา หมายถึง ผู้ที่ศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาการ บัญชี (ต่อเนอื่ ง) 2 ปี ชนั้ ปีท่ี 1

บทท่ี 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจยั ท่เี กีย่ วขอ้ ง การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขา บญั ชี (ตอ่ เน่ือง) ของนกั ศึกษาชน้ั ปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบุรี โดยผู้วิจัยได้รวบรวม แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้องเพอื่ เปน็ แนวทางในการศึกษา ตามลำดับ ดังนี้ 1. จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวชิ า 2. ความหมาย แนวคดิ ทฤษฎีเกยี่ วกบั การตัดสินใจ 3. แนวคดิ กระบวนการตัดสนิ ใจ 4. แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการตดั สนิ ใจของผบู้ ริโภค 5. แนวคิดเกี่ยวกับการจดั การเรยี นการสอน 6. แนวคดิ เกี่ยวกบั สภาพแวดลอ้ ม 7. ขอบขา่ ยสภาพแวดลอ้ มการศกึ ษา 7.1 สภาพแวดลอ้ มด้านอาคารถานท่ี 7.2 สภาพแวดลอ้ มด้านการเรียนการสอน 7.3 สภาพแวดล้อมดา้ นกลุ่มเพอ่ื น 7.4 สภาพแวดล้อมดา้ นการบรหิ าร 8. ประวัตวิ ิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี 9. งานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 1. จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวชิ า 1.1 จุดประสงค์รายวิชา 1.1.1 เขา้ ใจขน้ั ตอนกระบวนการสร้างหรอื พัฒนางานอาชีพอย่างเปน็ ระบบ 1.1.2 สามารถบูรณาการความรู้และทักษะในการสร้างหรือพัฒนางานในสาขาวิชาชีพตาม กระบวนการวางแผน การดำเนินงาน การแก้ไขปัญหาประเมนิ ผลทำรายงานและนำเสนอผลงาน 1.1.3 มีเจตคติและกิจนิสัยในการศึกษาค้นคว้าเพื่อสร้างหรือพัฒนางานอาชีพด้วยความ รับผิดชอบ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ขยัน อดทนและสามารถทำงานร่วมกับ ผอู้ ่ืน

4 1.2 สมรรถนะรายวชิ า 1.2.1 แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการและกระบวนการสรา้ งและ/หรือพัฒนางานอาชีพอย่าง เป็นระบบ 1.2.2 เขยี นโครงการสรา้ งและหรอื พฒั นางานตามหลักการ 1.2.3 ดำเนนิ งานตามแผนงานโครงการตามหลกั การและกระบวนการ 1.2.4 เก็บขอ้ มลู วเิ คราะห์ สรุปและประเมินผลการดำเนนิ งานโครงการตามหลกั การ 1.2.5 นำเสนอผลการดำเนินงานด้วยรปู แบบวิธกี ารต่างๆ 1.3 คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการบูรณาการความรู้ และทักษะในระดับ เทคนิคที่สอดคล้องกับ สาขาวิชาชีพที่ศึกษา เพื่อสร้างหรือพัฒนางานด้วยกระบวนการทดลอง สำรวจ ประดิษฐ์คิดค้น หรือการ ปฏิบัติงานเชิงระบบ การเลือกหัวข้อโครงการ การศึกษาค้นคว้าข้อมูลและ เอกสารอ้างอิง การเขียน โครงการการดำเนินงานโครงการ การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์แปรผล การ สรุปผลการดำเนนิ งาน และจัดทำรายงาน การนำเสนอผลงานโครงการ ดำเนนิ การเป็นรายบคุ คลหรือกลุ่ม ตามลักษณะของงาน ใหแ้ ล้วเสรจ็ ในระยะเวลาที่กำหนด 2. ความหมาย แนวคิด ทฤษฎีเกย่ี วกบั การตัดสนิ ใจ 2.1 ความหมายการตัดสินใจ 2.1.1 ชูชัย เทพสาร (2546, หน้า 10) กล่าวว่า การตัดสินใจเป็นการกระทำอย่างรอบคอบ ในการเลือก จากทรัพยากรที่เรามีอยู่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีตัง้ ไว้จากความหมายของ การตดั สินใจมีแนวคดิ 3 ประการ คอื 2.1.1.1 การตัดสินใจรวมถึงการเลือกถ้าหากมีสิ่งเลือกเพียงสิ่งเดียวการตัดสินใจ ยอ่ มเปน็ ไปไมไ่ ด้ 2.1.1.2 การตดั สนิ ใจเป็นกระบวนการด้านความคิด ท้ังจะต้องมีความละเอยี ด สุขุม รอบคอบ เพราะอารมณ์และองค์ประกอบของจิตใต้สานึกมีอทิ ธิพลต่อกระบวนการความคิดนน้ั 2.1.1.3 การตัดสินใจเป็นเรื่องของการกระทำที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้ผลลัพธ์และ ความสำเร็จท่ีตอ้ งการและหวังไว้ 2.1.2 ชูชัย เทพสาร (2546, หน้า 7) กล่าวว่า การตัดสินใจ คือ การเลือกเอาทางเลือกของ วถิ ีการกระทำ ทางหนึง่ จากหลายๆ ทางทมี่ ีอยูเ่ พอ่ื จะนำไปสู่การบรรลเุ ป้าหมายกระบวนการตดั สินใจ การ ตัดสินใจมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์มาก ไม่ว่าจะเป็นการตัดสินใจเลอื กสาขาที่เรียน เลือกคบเพื่อน หรือ การเลือกคู่ครอง การตัดสนิ ใจของบุคคลอาจทำได้หลายวิธี

5 2.1.3 ภูมิจิตร ศรีวงษ์ราช (2541, หน้า 9) การตัดสินใจ คือ การพิจารณาไตร่ตรอง จริงใจ ตัดสินใจ หรือตกลงใจของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในการเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งที่เล็งเห็นว่าดี ที่สุด เหมาะสมที่สุด หรือได้ประโยชน์มากที่สุด จากบรรดาทางเลือกต่าง ๆ ที่มีอยู่หลายทางเลือก เพ่ือที่จะใช้ เปน็ แนวทางปฏบิ ตั อิ ันจะนำไปสู่เปา้ หมายหรือวัตถปุ ระสงคท์ ก่ี ำหนดไว้อย่างสัมฤทธผิ์ ล 2.1.4 แสวง รัตนมงคลมาศ (2537, หน้า 73) ได้ให้ความหมายของคำว่าการตัดสินใจ คือ การ เลือกบนทางเลือก (Choice of Alternative) ซึ่งทางเลือกน้นั จะตอ้ งมี ดังน้ี 2.1.4.1 เป้าหมายหรือจุดประสงค์ เป้าหมายหรือจุดประสงค์ (Goals) ความมุ่ง หมายเพอ่ื ให้ บรรลผุ ลน้นั ผ้กู ระทำตอ้ งมีการกำหนดเปา้ หมายไวก้ ่อนล่วงหน้า 2.2.4.2 ความเช่อื (Belief Orientation) เกิดจากความคิด ความรู้ในเรอื่ งน้ัน ทจ่ี ะมี อทิ ธิพลต่อ การตดั สนิ ใจและการเลือกกระทำทางสงั คม 2.1.5 บาร์นาร์ด (Barnard, 1938) ได้ให้ความหมายของการตัดสินใจไว้ว่า คือ \"เทคนิคใน การท่ีจะพิจารณาทางเลือกตา่ งๆ ให้เหลือทางเลือกเดยี ว\" 2.1.6 ไซมอน (Simon) ได้ให้ความหมายว่า การตัดสินใจ เป็นกระบวนการของการหา โอกาสท่จี ะตดั สินใจ การหาทางเลอื กที่พอเปน็ ไปได้ และทางเลอื กจากงานต่าง ๆ ทม่ี ีอยู่ 2.1.7 มูดี (Moody) ได้ให้ความหมายว่า การตัดสินใจเป็นการกระทำที่ต้องทำเมือ่ ไม่มีเวลา ที่จะหาข้อเท็จจริงอีกต่อไป ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือ เมื่อใดถึงจะตัดสินใจว่าควรหยุดหาข้อเท็จจริง แนว ทางแก้ไขจะเปลี่ยนแปลงไปตามปัญหาที่ตอ้ งการแก้ไข ซึ่งการรวบรวมข้อเท็จจริง เกี่ยวพันกับการใช้จ่าย และการใชเ้ วลา 2.1.8 กิบสันและอิวาน เซวิช (Gibson and Ivancevich) ได้ให้ความหมายของการ ตัดสินใจไว้ว่า เป็นกระบวนการสำคัญขององค์การ ที่ผู้บริหารจะต้อง กระทำอยู่บนพื้นฐานของข้อมูล ข่าวสาร (information) ซง่ึ ไดร้ ับมาจากโครงสรา้ งองคก์ าร พฤติกรรมบุคคล และกลุ่มในองคก์ าร 2.1.9 โจนส์ (Jones) ได้ให้ความหมายของการตัดสินใจองค์การว่าเป็นกระบวนการ ที่จะ แกไ้ ขปญั หาขององค์กร โดยการคน้ หาทางเลอื ก และเลือกทางเลอื กหรือแนวทางปฏบิ ัติท่ีดีท่สี ุด เพือ่ บรรลุ เป้าหมายขององค์การที่ได้กำหนดไว้ จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า การตัดสินใจ หมายถึง การ พจิ ารณาตกลงใจเพอื่ ช้ีขาด ทางเลือกใดทางเลือกหนง่ึ 2.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับการตดั สินใจ 2.2.1 องค์ประกอบการตัดสนิ ใจ 2.2.1.1 ตัวผู้ตัดสินใจ โดยผู้ตัดสินใจมคี วามสามารถในการประเมนิ คุณค่าประโยชน์ หรอื ความสำคัญของทางเลือกแตล่ ะอย่าง

6 2.2.1.2 ทางเลือก ผู้ตัดสินใจจะเผชิญกับทางเลือกจำนวนหนึ่ง ซึ่งถ้าไม่มีทางเลือกก็ ไม่ตอ้ งเลอื ก 2.2.1.3 ผลของทางเลือกในอดีต จะขึ้นอยู่กับการเลือก ซึ่งการเลือกแต่ละอย่าง แตกตา่ งกนั และ ไมเ่ ทา่ กนั ข้นึ อยู่กบั สถานการณ์ทีแ่ ตกตา่ งกนั 2.2.2 ประเภทของการตัดสินใจ วิชัย โถสุวรรณจินดา (2535, หน้า 185 -186) ได้แบ่ง ประเภทของการตัดสินใจไว้ 3 ประเภท ตามสถานการณท์ เ่ี กิดข้นึ คือ 2.2.2.1 การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน เป็นการตัดสินใจทีอ่ ยู่บนพ้ืนฐาน ของ ผลลพั ธท์ ค่ี าดหมายไว้แลว้ โดยเกดิ ขน้ึ ได้เม่ือผ้ตู ดั สินใจมขี ้อมูลเพียงพอและทราบถงึ ผลของ การเลือก แต่ละทางเลือกอย่างแน่นอน ในสถานการณ์เช่นนีผ้ ู้ตัดสินใจจะพยายามเลอื กทางเลือกที่ ให้ผลประโยชน์ สงู สุด 2.2.2.2 การตัดสินใจภายใตส้ ถานการณท์ ี่เสี่ยง คือ การตัดสินใจที่ตัง้ อยูบ่ นพื้นฐาน ของ ผลลพั ธท์ ี่แนน่ อนน้อยกว่าการตัดสินใจภายใตส้ ถานการณ์ท่ีแน่นอน แต่ยังพอคาดคะเน ความเป็นไป ได้อยู่บ้าง ทั้งนี้ผู้ตัดสินใจทราบถึงผลลัพธ์ของทางเลือกต่าง ๆ ที่ใช้ในการตัดสินใจ แต่โอกาสที่จะเกิด ทางเลือกแตกตา่ งกัน อันเนื่องมาจากปัจจยั บางอยา่ งที่ไมแ่ นน่ อน 2.2.2.3 การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน เป็นการตัดสินใจที่ไม่สามารถ คาดการณ์ ผลลัพธ์หรือความน่าจะเป็นที่จะเกิดขึ้นได้เลย หรือกล่าวได้ว่าเป็นสถานการณ์ที่มืดแปดด้าน ท้ังนี้ เพราะผู้ตัดสนิ ใจในสถานการณ์น้ีจะไม่มโี อกาสทราบความน่าจะเปน็ ของเหตุการณ์ท่ีจะเกิดข้นึ และมี ตัวแปรอ่ืนทคี่ วบคุมไมไ่ ดอ้ ยดู่ ว้ ย ดังนน้ั การตดั สินใจในสถานการณ์เชน่ น้ี จงึ ไม่อาจเลอื กโดย ใชท้ างเลือกที่ ใหผ้ ลตอบแทนสงู สุดได้ ผูต้ ดั สนิ ใจต้องใชด้ ุลพนิ ิจและวิจารณญาณช่วยในการ ตดั สินใจอย่างมาก 2.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ ทฤษฎีการตัดสินใจและการกระทำทางสังคม (The multiple factors theory of decision making and social action) 2.3.1 รีดเดอร์ (Reeder, 1971) ได้รวบรวมทฤษฎีทางสังคมวิทยาเพื่อมาอธิบาย พฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ซึ่งเขาเห็นว่าโดยทั่วไปแล้ว รูปแบบ (model) ทางด้าน จิตวิทยาสังคม ที่ เก่ยี วกบั การ ตดั สนิ ใจในพฤติกรรมของมนษุ ยน์ ้ัน นักสงั คมวทิ ยาจะมองในแง่ของสถานภาพทางเศรษฐกิจ และ สังคม (social –economics status) ซึ่งถือว่า ปัจจัยภายนอกจะมีผลต่อการตัดสินใจ แต่รีดเดอร์ เชื่อว่าปัจจยั ภายนอกจริง ๆ แล้วไม่มี อทิ ธพิ ลโดยตรงต่อการตัดสินใจ ซ่งึ แต่ละบคุ คลจะแปลง สถานภาพ ทางเศรษฐกิจและ สังคมเหล่านี้มาสู่ตัวคน ซึ่งจะอยู่ในรูปของความเชื่อและความไม่เชื่อที่ทำให้บุคคล ตัดสินใจเลือกกระทำ พฤติกรรมนั้น ๆ ดังนั้น บุคคลอาจจะเลือกตัดสินใจกระทำพฤติกรรมอย่างเดียวกนั

7 แต่เหตุผลของการตัดสินใจอาจจะแตกต่างกัน รีดเดอร์ จึงอธิบาย เหตุผลใน การกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งของ มนษุ ย์วา่ เกิดจากปจั จยั ดงั ต่อไปน้ี 2.3.1.1 เป้าหมายหรือจุดประสงค์ (goals) ความมุ่งหมายเพื่อการบรรลุผลนั้น ผู้กระทำจะต้องมีการกำ หนดเป้าหมายไว้ก่อนล่วงหน้า และพยายามที่จะกระทำทุกวิถีทาง เพื่อที่จะให้ บรรลเุ ป้าประสงค์นน้ั ๆ 2.3.1.2 ความเชื่อ (belief orientation) เกิดจากความคิด ความรู้ในเร่ืองนั้น ๆ ที่ จะมี อทิ ธิพลต่อการตดั สินใจ และการเลอื กการกระทำทางสังคม 2.3.1.3 ค่านิยม (value standard) คือ สิ่งที่บุคคลยึดถือให้เป็นเครื่องช่วยในการ ตดั สินใจและกำหนดการกระทำของตนเอง คา่ นยิ มนัน้ เปน็ ลักษณะความเชื่ออย่างหน่ึง แต่มีลักษณะถาวร โดยเชื่อว่าวิธีปฏิบัติบางอย่างเป็นสิ่งที่ตนเองหรือสังคมเห็นดี เห็นชอบ สมควรที่จะยึดถือปฏิบัติมากกว่า วธิ ีการปฏบิ ัติอยา่ งอืน่ 2.3.1.4 นิสัยและธรรมเนียม (habits and customs) คือ แบบอย่างที่สังคม กำหนดไวแ้ ลว้ และมกี ารสืบทอดต่อกันมาด้วยประเพณี 2.3.1.5 การคาดหวัง (expectation) คือ ท่าท่ีของบุคคลอื่นที่มีผลต่อพฤติกรรม ของบุคคลท่ีเกยี่ วข้องกับตวั โดยความคาดหวงั หรอื ตอ้ งการให้บุคคลนน้ั ประพฤตปิ ฏบิ ัตใิ น สิง่ ทตี่ นตอ้ งการ 2.3.1.6 ขอ้ ผกู พนั (commitments) คือ ส่งิ ทผี่ ู้กระทำเชอื่ ว่าเขาจะมีความผูกพันท่ี จะต้อง กระทำให้สอดคล้องกับสถานการณ์นั้น ๆ ข้อผูกพันจะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและการกระทำ ทางสงั คม 2.3.1.7 การบังคับ (force) คือ ตัวที่จะช่วยกระตุ้นให้ผู้กระทำเกิดการตัดสินใจได้ เร็วข้ึน 2.3.1.8 โอกาส (opportunity) เป็นความคิดของผู้กระทำที่เชื่อว่า สถานการณ์ที่ เกิดขนึ้ จะชว่ ยใหม้ ีโอกาสเลอื กกระทำ 2.3.1.9 ความสามารถ (ability) การทีผ่ ู้กระทำรถู้ ึงความสามารถของตนเอง ซ่ึงจะ ก่อใหเ้ กดิ ผลสำเรจ็ ในเร่ืองนั้น ๆ ได้ การตระหนักถึงความสามารถนี้ จะนำไปส่กู าตัดสินใจและการกระทำ ทางสงั คม 2.3.1.10 การสนับสนุน (support) คือ สิ่งที่ผู้กระทำรู้ว่าจะได้รับหรือคิดว่าจะ ได้รับจาก คนอื่น ๆ เช่น เมื่อนักเรียนเลือกเรียนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร น้ัน จะตอ้ งไดร้ ับการสนบั สนุนจากผ้ปู กครอง เป็นต้น

8 3. แนวคิดกระบวนการตัดสนิ ใจ การตัดสินใจแต่ละครั้งจะประกอบไปด้วยปัญหาและข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งจะต้องนำมาประกอบเป็น กระบวนการในการตดั สินใจ จากการศึกษาเอกสารท่ีเกีย่ วข้องได้มีนักวชิ าการศกึ ษา ได้เสนอลำดบั ขัน้ ตอน ของกระบวนการตัดสินใจ ดังน้ี 3.1 ลำดับขั้นตอนกระบวนการตัดสินใจ กุลชลี ไชยนันตา (2539) ได้เสนอลำดับขั้นตอนของ กระบวนการตดั สนิ ใจเปน็ 7 ขนั้ ตอน ดังน้ี 3.1.1 การระบปุ ญั หา (define the probrem) เป็นขน้ั ตอนแรกทม่ี คี วามสำคัญ อยา่ งมาก เพราะการระบุปัญหาได้ถูกต้องหรือไม่ ย่อมมีผลต่อการดำเนินการในขั้นต่อ ๆ ไป ของกระบวนการ ตดั สนิ ใจ ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพของการตดั สนิ ใจดว้ ย 3.1.2 การระบุข้อจำกัดของปัจจัย (identify limiting factors) เมื่อสามารถระบุ ปัญหา ได้ถกู ต้องแลว้ ผตู้ ัดสินใจควรพิจารณาถึงข้อจำกัดต่าง ๆ ขององค์การ โดยพจิ ารณาจาก ทรัพยากรซ่ึงเป็น องค์ประกอบของกระบวนการผลิต ได้แก่ กำลังคน เงินทุน เครื่องจักร สิ่งอำนวย ความสะดวกอื่น ๆ รวมทั้งเวลาซ่ึงมักเป็นปัจจัยจำกัดท่ีพบอยูเ่ สมอการรู้ถงึ ข้อจำกดั หรือเงือ่ นไข ที่ไม่สามารถเปล่ียนแปลงได้ จะชว่ ยให้ผูต้ ดั สินใจกำหนดขอบเขตในการพัฒนาทางเลอื กใหแ้ คบลงได้ 3.1.3 การพัฒนาทางเลือก (develop potential alternatives) ขั้นตอนนี้ผู้กระทำการ ตดั สินใจควรพัฒนาทางเลอื กตา่ ง ๆ ขึ้นมา ซง่ึ ทางเลือกเหลา่ นัน้ ควรเปน็ ทางเลอื กทีม่ ีศักยภาพ และมคี วาม เป็นไปได้ในการแก้ปญั หาให้นอ้ ยลงหรอื ใหป้ ระโยชน์สงู สุด 3.1.4 การวิเคราะห์ทางเลือก (analyze the alternatives) เมื่อผู้ทำการตัดสินใจได้ทำ การพัฒนาทางเลือกต่างๆ โดยจะนำเอาข้อดีและข้อเสียของแต่ละทางเลือกมาเปรียบเทียบกัน อย่าง รอบคอบ และควรวิเคราะห์ทางเลือกในสองแนวทาง คือ ทางเลือกนั้นสามารถนำมาใช้จะเกิดผลตอ่ เนื่อง อะไรตามมา 3.1.5 การเลือกทางเลือกทีด่ ีทส่ี ดุ (select the best alternatives) เมื่อผทู้ ำการ ตัดสินใจ ได้ทำการวิเคราะห์และประเมินทางเลือกต่าง ๆ แล้ว ผู้ตัดสินใจควรเปรียบเทียบข้อดีและ ข้อเสียของแต่ ละทางเลือกอีกคร้ังหน่ึงเพื่อพิจารณาทางเลือกท่ดี ีท่สี ุดเพียงทางเลือกเดียว ทางเลือกท่ีดีที่สุดควรมีผลเสีย ต่อเนื่องในภายหลังน้อยที่สุดและให้ผลประโยชน์มากที่สุดแต่บางครั้งผู้ตัดสินใจอาจเลือกทางเลือกแบบ ประนีประนอม โดยพิจารณาองค์ประกอบทีด่ ีทสี่ ดุ ของแตล่ ะเรื่องนำมาผสมผสานกัน 3.1.6 การนำผลการตัดสินใจไปปฏิบัติ (implement the decision) เมื่อผู้บริหาร ได้ ทางเลือกที่ดีที่สุดแล้ว ก็ควรมีการนำผลการตัดสินใจนั้นไปปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ผู้ตัดสินใจควรกำหนดโปรแกรมการตัดสินใจโดยระบุถึงตารางเวลาการดำเนินงาน

9 งบประมาณและบุคคลที่เกี่ยวกับกับการปฏิบัติ ควรมีการมอบหมายอำนาจหน้าที่ ชัดเจนและจัดให้มี ระบบการติดต่อส่ือสารท่จี ะช่วยให้การตดั สินใจเป็นทย่ี อมรับนอกจากน้ีผู้ตัดสินใจ ควรกำหนดระเบียบวิธี กฎ และนโยบาย ซ่ึงมีสว่ นสนับสนุนให้การดำเนนิ งานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 3.1.7 การสร้างระบบควบคุมและประเมินผล (establish a control and evaluation system) ขนั้ ตอนสดุ ท้ายของกระบวนการตัดสนิ ใจ ได้แก่ การสร้างระบบการควบคุม และประเมินผล ซึ่ง จะช่วยให้ผู้ตัดสนิ ใจได้รบั ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ ข้อมูล ยอ้ นกลบั จะช่วยให้ผตู้ ัดสนิ ใจแกป้ ญั หาหรือทำการตดั สนิ ใจใหม่ได้ โดยได้ผลลัพธ์ของการปฏิบัติ ท่ดี ีทส่ี ุด 4. แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ยี วกับปัจจัยทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ การตดั สินใจของผู้บรโิ ภค 4.1 ปัจจัยที่มีอทิ ธิพลต่อการตดั สินใจซื้อของผู้บริโภคผู้บริโภคแต่ละคนมีความแตกตา่ ง กันในด้านต่างๆ ซึ่งมีผลมาจากความแตกต่างกันของ ลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดล้อมของแต่ละ บุคคลทำให้การตัดสินใจซื้อของแต่ละบุคคลมี ความแตกต่างกัน โดยปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกที่มี อทิ ธิพลต่อการพฤตกิ รรมการซื้อของ ผบู้ ริโภค ประกอบด้วย 4 ปัจจัย ดังน้ี 4.1.1 ปัจจัยด้านวฒั นธรรม ( Cultural Factor) วัฒนธรรมเป็นวิธกี ารดำเนินชีวิต ที่สังคม เชื่อถือว่าเป็นสิ่งดีงามและยอมรับมาปฏิบัติ เพื่อให้สังคมด าเนินและมีการพัฒนาไปได้ด้วยดี บุคคลใน สังคมเดียวกันจึงต้องยึดถือและปฏิบัติตามวัฒนธรรมเพื่อการอยู่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม วฒั นธรรม เป็นเครือ่ งผูกพนั บุคคลในกลมุ่ ไว้ดว้ ยกนั วัฒนธรรมเปน็ สิ่งท่ีกำหนดความต้องการพ้ืนฐานและ พฤติกรรมของบุคคลโดยบุคคลจะเรียนรู้เรื่องค่านิยม ทัศนคติ ความชอบ การรับรู้ และมีพฤติกรรม อย่างไรนั้น จะต้องผ่านกระบวนการทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว และสถาบันต่างๆในสังคม คน ที่ อยู่ในวัฒนธรรมต่างกันย่อมมีพฤติกรรมการซื้อที่แตกต่างกัน การกำหนดกลยุทธ์จึงต้องแตกต่างกัน ไป สำหรบั ตลาดทีม่ วี ฒั นธรรมแตกต่างกัน โดยวฒั นธรรมสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดงั น้ี 4.1.1.1 วัฒนธรรมพื้นฐาน หมายถึง สิ่งที่เป็นรูปแบบหรือวิธีทางในการ ดำเนินชีวิตที่สามารถ เรียนรู้และถ่ายทอด สืบต่อกันมาโดยผ่านขบวนการอบรมและขัดเกลาทางสังคม วัฒนธรรมจึงเปน็ พื้นฐานในการกำหนดความตอ้ งการซ้ือและพฤติกรรมของบุคคล 4.1.1.2 วัฒนธรรมย่อย หมายถึง วัฒนธรรมกลุ่มย่อยในแต่ละวัฒนธรรม ซึ่งมีรากฐานมาจาก เชื้อชาติ ศาสนา สีผิว และภูมิภาคทีแ่ ตกต่างกัน บุคคลที่อยูใ่ นวฒั นธรรมกลุ่มย่อยจะ มีข้อปฏิบัติทาง วัฒนธรรมและสังคมที่แตกต่างกันไปจากกลุ่มอื่น ทำให้มีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ ความ ต้องการ แบบ แผนการบริโภค พฤติกรรมการซื้อที่แตกต่างกันและในกลุ่มเดียวกันจะมีพฤติกรรมที่ คล้ายคลึงกัน วัฒนธรรมกลุ่มย่อย เช่น กลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มศาสนา กลุ่มสีผิว กลุ่มอาชีพ กลุ่มย่อยด้านอายุ กลมุ่ ย่อย ด้านเพศ

10 4.1.1.3 ชั้นทางสังคม เป็นการจัดลำดับบุคคลในสังคมจากระดับสูงไป ระดับต่างๆโดยใช้ลักษณะที่ คล้ายคลึงกัน ได้แก่ อาชีพ ฐานะ รายได้ ตระกูลหรือชาติกำเนิด ตำแหน่ง หน้าที่ของบุคคลเพื่อจะเป็น แนวทางในการแบ่งส่วนตลาด การก าหนดตลาดเป้าหมาย ตำแหน่งของ ผลิตภัณฑ์และการจัดส่วน ประสมทางการตลาด ชั้นทางสังคมแบ่งเป็น 3 ระดับ 6 กลุ่มย่อย โดยชั้นทาง สงั คมของบุคคลสามารถ เลอ่ื นขัน้ ได้ทั้งข้ึนและลง เนือ่ งจากมีการเปล่ียนแปลงทางรายได้ อาชีพ ตำแหน่ง หนา้ ที่การงาน เช่น เมื่อบคุ คลมรี ายไดเ้ พิม่ ข้ึน ยอ่ มแสวงหาการบรโิ ภคทด่ี ีข้นึ ประกอบด้วย (1) ชั้นสูงระดับสูง (Upper-upper) มีความร่ำรวยเพราะได้รับ มรดกตกทอด มากมาย มีบ้านเรือนอยู่ในชุมชนคนร่ำรวยโดยเฉพาะ มีบ้านพักตากอากาศ ลูกๆ เข้าเรียน ใน โรงเรียนที่ดีที่สุด การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์จะไม่พิจารณาถึงราคามากนัก แต่จะคำนึงถึง รสนิยมและ ความพอใจมากกว่า (2) ชั้นสูงระดับต่ำ (Lower-upper) กลุ่มที่มีรายได้สูงที่สุดของ สังคม กลุ่มนี้สร้างฐานะ ความร่ำรวยจากความสามารถพิเศษของตนเอง เช่น เป็นประธานบริษัท หรือ หัวหน้างาน อาชีพต่างๆที่ประสบผลสำเร็จ ได้รับการศึกษาสูง ชอบช่วยเหลือสังคม ชอบซื้อผลิตภัณฑ์ที่ เป็นสัญลักษณ์แสดงฐานะเพื่อตนเอง และครอบครัว เช่นมีบ้านราคาแพง มีสระว่ายน้ำ ส่วนตัว รถยนต์ ราคาแพง เป็นตน้ และการซอ้ื สินค้าจะไม่ถอื เร่ืองเงินเป็นสำคัญ (3) ชั้นกลางระดับสูง (Upper-middle) กลุ่มคนที่ทำงานเป็น พนักงานในออฟฟิศทั่วไป (white – collar workers) และพวกคนงานในโรงงานระดับสูง (top – level blue – 12 collar worker) จำนวนมากผ่านการศึกษาระดับวิทยาลัย ต้องการให้สังคมยอมรับนับถือ และพยายามกระทำในสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสม มักจะซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่นิยมเพื่อยกระดับ ตนเองให้ ทันสมยั (4) ชัน้ กลางระดบั ต่ำ (Lower-middle) กลมุ่ ผ้ใู ชแ้ รงงานท้ังใน ออฟฟิศและในโรงงาน สว่ นท่เี หลือ ซึง่ เปน็ กลุม่ ท่ีใหญ่ท่สี ุดในสังคม ประกอบดว้ ยคนงานที่มีทักษะและกึ่ง ทักษะ (skilled and semiskilled workers) รวมทั้งพนักงานขายในธุรกิจขนาด ย่อยทั่วไป ใช้ชีวิตมี ความสขุ ไปแตล่ ะวันมกกวา่ จะอดออมเพ่ืออนาคต มีความภักดีใน ตราและช่อื สนิ ค้า (5) ชั้นต่ำระดับสูง (Upper-lower) กลุ่มผู้ทำงานส่วนใหญ่ซ่ึง สว่ นใหญ่จะเป็นงาน ประเภทที่ไม่ต้องมีทักษะหรือกง่ึ ทักษะ ได้รับการศึกษาต่างๆ รายได้น้อย มีมาตรฐาน การครองชีพระดบั ความยากจนหรือเหนอื กว่าเพียงเลก็ น้อยเท่านัน้ การยกระดับ สงั คมของตนเองให้สูงขึ้น คอ่ นข้างจะล าบาก จงึ เพียงแต่ปอ้ งกันมิใหฐ้ านะตนเอง ตกตำ่ ลงไปมากกว่าน้ี และอาศัยอยใู่ นบา้ นที่พอจะ สูค้ า่ ใชจ้ ่ายได้เทา่ น้ัน

11 (6) ชั้นต่ำระดับต่ำ (Lower-lower) กลุ่มผู้ว่างงานไม่มีงานจะ ทำหรือหากมีจะมีทำ อยู่บ้าง ส่วนใหญ่ก็เป็นงานต่ำต้อย (menial jobs) มีรายได้ การศึกษา ที่พักอาศัย ในระดับที่น่า สงสารมากที่สุด เป็นกลุ่มชั้นล่างสุดของสังคม ไม่สนใจหางานท าที่ถาวร ส่วนใหญ่ประทัง ชวี ิต อยดู่ ้วยการรับเงินชว่ ยเหลอื จากหนว่ ยงานการกศุ ล หรือประชาสงเคราะห์เท่านนั้ 4.1.2 ปัจจัยด้านสังคม (Social Factor) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน และมอี ทิ ธพิ ล ตอ่ พฤตกิ รรมการซื้อ ลกั ษณะทางสังคมจะประกอบด้วย 4.1.2.1 กลมุ่ อา้ งอิง (Reference Group) เป็นกลมุ่ ทบ่ี ุคคลเขา้ ไปเก่ยี วข้อง ด้วยมีอิทธิพลต่อ ทัศนคติ ความคิดเห็น และค่านิยมของบุคคลในกลุ่มอ้างอิง เนื่องจากบุคคลต้องการให้ เป็นที่ยอมรับ ของกลุ่ม จึงต้องปฏิบัติตามและยอมรับความคิดเห็นจากกลุ่มอ้างอิง สามารถแบ่งได้เป็น 2 ระดบั คือ กลุ่มปฐมภูมิ และกลุ่มทุติยภมู ิ 4.1.2.2 ครอบครัว (Family) บุคคลในครอบครัวถือว่ามีอิทธิพลอย่างมาก ต่อทศั นคติ ความคิด และคา่ นิยมของบุคคล ซ่งึ สงิ่ เหลา่ นี้มอี ทิ ธพิ ลต่อพฤติกรรมการซ้ือของครอบครวั การ เสนอขายสนิ ค้า จึงตอ้ งคำนึงถงึ ลกั ษณะการบรโิ ภค และการดำเนินชีวิตของครอบครัวดว้ ย 4.1.2.3 บทบาทและสถานะ (Roles and Statuses) บุคคลจะเกี่ยวข้อง กับหลายกลุม่ เช่น ครอบครัว กลุ่มอ้างอิง องค์กรและสถาบันต่างๆ บุคคลจะมีสถานะที่แตกตา่ งกันในแต่ ละกลุ่ม ฉะนั้น ในการตัดสินใจซื้อ ผู้บริโภคมักจะมีบทบาทหลายบทบาทที่เกี่ยวข้องกับ การตัดสินใจซ้ือ สนิ คา้ ของ ตนเอง และผ้อู น่ื ด้วย ดังพิจารณาได้จากรายละเอียด ตอ่ ไปน้ี (1) ผ้รู ิเริม่ (Initiator) คอื บคุ คลผูร้ เิ ร่มิ คิดถึงการซ้ือสินค้าอย่างใด อยา่ งหน่ึง (2) ผู้ที่มีอิทธิพล (Influence) คือ บุคคลผู้ที่มีความคิดเห็นที่มี อทิ ธพิ ลตอ่ การตดั สินใจ (3) ผู้ตัดสินใจซื้อ (Decider) คือ บุคคลผู้มีอำนาจและหน้าที่ใน การตดั สนิ ใจซ้ือ วา่ จะซ้ือสนิ ค้าอะไร ซ้ือทไี่ หนและซือ้ อย่างไร (4) ผูซ้ อื้ (Buyer) คือ บุคคลผู้ทท่ี ำหน้าท่ีในการซื้อสินคา้ (5) (User) คือ บุคคลผู้ที่ทำหน้าที่บริโภคหรือใช้สินค้าและ บรกิ าร 4.1.3 ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factor) การตัดสินใจซื้อของผู้ซื้อได้รับ อทิ ธิพลจาก ลักษณะส่วนบคุ คลของคนในด้านต่างๆ ดังน้ี 4.1.3.1 อายุ (Age) อายทุ แ่ี ตกต่างกันจะมีความต้องการผลติ ภัณฑ์ต่างกัน

12 เช่น กลุ่มวัยร่นุ ชอบ ทดลองส่ิงแปลกใหม่และชอบสนิ คา้ ประเภทแฟช่นั และรายการพักผ่อนหยอ่ นใจ 4.1.3.2 วงจรชวี ิตครอบครัว (Family life Cycle Stage) เป็นขัน้ ตอนกา รด ารงชีวิตของ บุคคลในลักษณะของการมีครอบครัว การด ารงชีวิตในแต่ละขั้นตอนเป็นสิ่งที่มีอิทธิพล ต่อความ ต้องการทัศนคติและค่านิยมของบุคคลท าให้เกิดความต้องการในผลิตภณั ฑ์ และพฤติกรรมการ ซื้อท่ี แตกต่างกัน Kotler. (2003: 260) ได้กล่าวว่า วงจรชีวิตครอบครัว ประกอบด้วยขั้นตอนแต่ละ ขนั้ ตอน จะมีลักษณะการบริโภคและพฤตกิ รรมการซื้อทีแ่ ตกต่างกัน ดังน้ี ขั้นที่ 1 เป็นโสดและอยู่ในวัยหนุ่มสาว ไม่พักอาศัยที่บ้าน มีภาระทางด้านการเงินน้อย เป็นผู้นำ แฟชนั่ ชอบสันทนาการและมักจะซื้อสินคา้ อปุ โภคบรโิ ภคส่วนตวั เครือ่ งใช้ใน ครัว เฟอร์นเิ จอร์ สนใจด้าน การพกั ผอ่ น บันเทงิ อุปกรณใ์ นการเล่นเกม เส้อื ผ้าและ เครือ่ งสำอาง ขัน้ ท่ี 2 คู่สมรสใหม่ วัยหนุ่มสาวและยงั ไม่มีบตุ ร มสี ถานะด้านการเงินดีกวา่ มอี ัตรา การซ้ือสูงสุด และมักจะซื้อสินค้าที่มีความถาวรคงทน เช่น รถยนต์ ตู้เย็น เตาไฟฟ้า เฟอร์นิเจอร์ที่มีความคงทนและ สวยงาม ข้นั ท่ี 3 ครอบครวั เต็มรูปแบบขัน้ ท่ี 1 : บตุ รคนเล็กต่ำกวา่ 6 ขวบ มีเงนิ สดนอ้ ยกวา่ ข้นั ท่ี 2 มักจะ ซื้อสนิ คา้ จำเป็นท่ีใช้ในบ้าน เช่น รถยนต์สำหรบั ครอบครัว เคร่ืองซกั ผา้ เครอ่ื งดูดฝุ่น และยังซื้อผลิตภัณฑ์ สำหรบั เด็ก เชน่ อาหาร เสอื้ ผ้า ยา วิตามินและของเดก็ เล่น รวมทั้งสนใจในผลิตภณั ฑใ์ หมเ่ ปน็ พเิ ศษ ขั้นที่ 4 ครอบครัวเต็มรูปแบบขั้นที่ 2 : บุตรคนเล็กอายุเท่ากับ 6 ขวบหรือมากกว่า 6 ขวบ มี ฐานะทางการเงนิ ดขี ้นึ ภรรยาอาจทำงานด้วย เพราะบุตรเขา้ โรงเรยี นแลว้ กลุ่มนไ้ี ม่ คอ่ ยไดร้ ับอิทธิพลจาก การโฆษณา สินค้าที่ซื้อมักมีขนาดใหญ่หรือซื้อเป็นจำนวนมาก เช่น อาหารจำนวนมาก จักรยานภูเขา รถยนตค์ นั ที่ 2 และใหบ้ ุตรเรยี นดนตรี เรยี นเปยี โน 14 ขั้นที่ 5 ครอบครัวเต็มรูปแบบขั้นที่ 3 : คู่แต่งงานสูงวัยและมีบุตรที่โตแล้วอาศัยอยู่ด้วย มีฐานะ การเงินดีสามารถซื้อสินค้าถาวรและเฟอร์นิเจอร์มาแทนของเก่า ผลิตภัณฑ์ที่ บริโภคอาจจะเป็นบริการ ของทนั ตแพทย์ การพักผอ่ นและการท่องเท่ยี วหรหู รา บ้านขนาด ใหญก่ ว่าเดิม ขั้นที่ 6 ครอบครัวที่มีบุตรแยกครอบครัวขั้นที่ 1 : บิดามารดามีอายุมาก มีบุตรที่ แยกครอบครัว และหัวหน้าครอบครวั ยังทำงานอยู่ มฐี านะการเงินดี ชอบการเดนิ ทางเพ่ือ พกั ผ่อน บริจาคทรัพย์สินบำรุง ศาสนาและชว่ ยเหลอื สังคม ขั้นที่ 7 ครอบครัวที่มีบุตรแยกครอบครัวขั้นที่ 2 : ครอบครัวที่บิดามารดาอายุมาก บุตรแยก ครอบครัวและหัวหน้าครอบครัวเกษียณแล้ว กลุ่มนี้จะมีรายได้ลดลง ค่าใช้จ่ายส่วน ใหญ่เป็นค่า รกั ษาพยาบาลและผลิตภณั ฑ์สำหรบั ผู้สงู อายุ ขั้นที่ 8 คนที่อยู่คนเดียว เนื่องจากอีกฝ่ายหนึ่งตายหรือหยา่ ขาดจากกันและยัง ทำงานอยู่ กลุ่มน้ี

13 รายไดย้ ังคงมอี ยู่ และพอใจในการท่องเทย่ี ว ขั้นที่ 9 คนที่อยู่คนเดียว เนื่องจากอีกฝ่ายหนึ่งตายหรือหย่าขาดจากกันและออกจากงานแล้ว กล่มุ นร้ี ายได้นอ้ ยและค่าใชจ้ ่ายสว่ นใหญเ่ ปน็ ค่ารักษาพยาบาล 4.1.3.3 อาชีพ (Occupation) อาชีพของแต่ละบุคคลจะนำไปสู่ความ จำเปน็ และความต้องการ สินค้าและบรกิ ารทแี่ ตกต่างกัน 4.1.3.4 รายได้ (Income) หรือโอกาสทางเศรษฐกิจ (Economic Circumstance) โอกาสทาง เศรษฐกิจของบุคคลจะกระทบต่อสินค้าและบริการที่เขาตัดสินใจซื้อ โอกาส เหล่านปี้ ระกอบดว้ ย รายไดก้ ารออมสินทรัพย์ อำนาจการซื้อและทัศนคติเกยี่ วกับการจ่ายเงิน ส่ิงเหล่านี้มี อิทธิพลตอ่ พฤตกิ รรมการตัดสนิ ใจซื้อสินค้าทั้งสิ้น 4.1.3.5 การศึกษา (Education) ผู้ที่มีระดับการศึกษาสูงมีแนวโน้มจะ บรโิ ภคผลติ ภณั ฑ์ท่มี ี คุณภาพดมี ากกวา่ ผูท้ ่ีมกี ารศึกษาต่ำ 4.1.3.6 ค่านิยมหรือคุณค่า (Value) และรูปแบบการดำรงชีวิต (Lifestyle) ค่านิยมหรือคุณค่า (Value) หมายถึง ความนิยมในสิ่งของหรือบุคคล หรือความคิดในเรื่องใด เร่อื งหนง่ึ หรอื หมายถงึ อตั รา ผลประโยชนท์ ่ีรบั ร้ตู อ่ ตราสนิ คา้ รปู แบบการด ารงชีวติ (Lifestyle) หมายถงึ รูปแบบของการดำเนนิ ชีวติ ในโลกมนุษย์ โดยแสดงออกในรปู กจิ กรรม (Activities) ความสนใจ (Interest) ความคดิ เห็น (Opinions) (ศิริวรรณ เสรีรตั น์, 2541, หน้า 130-135) 4.1.4 ปัจจัยด้านจิตวิทยา (Psychological factor) หรือปัจจัยภายใน การเลือก ซื้อของบุคคล ได้รับอิทธิพลจากปัจจัยด้านจิตวิทยา ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยภายในตัวผู้บริโภคที่มีอิทธิพลต่อ พฤตกิ รรม การซ้ือและการใช้สินค้าปจั จัยภายใน ประกอบดว้ ย 15 4.1.4.1 การจูงใจ (Motivation) หมายถึง พลังสิ่งกระตุ้น (Drive) ที่อยู่ ภายในตัวบุคคล ซึ่ง กระตุ้นให้บุคคลปฏิบัติ การจูงใจเกิดภายในตัวบุคคล แต่อาจถูกกระทบจากปัจจัย ภายนอกได้ พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นต้องมีแรงจูงใจ (Motive) ซึ่งหมายถึง ความต้องการที่ได้รับการ กระตุ้นจากภายในตัวบุคคลที่ต้องการแสวงหาความพอใจด้วยพฤติกรรมที่มีเป้าหมาย แรงจูงใจที่เกิดข้ึ ภายในตัวมนุษย์ ถือว่าเป็นความต้องการของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็น ความต้องการทางด้าน ต่างๆ ทำให้เกิด แรงจงู ใจทจี่ ะหาสินค้ามาบำบัดความตอ้ งการของตน 4.1.4.2 การรับรู้ (Perception) เปน็ กระบวนการรบั ร้ขู องแต่ละบคุ คลซึ่ง ขึ้นอยู่ปัจจัยภายใน เช่น ความเชื่อ ประสบการณ์ ความต้องการและอารมณ์ และยังมีปัจจัยภายนอกคือ สิ่งกระตุ้น การ รับรู้จะแสดงถึงความรู้สึกจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 การเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น รส กาย การ สัมผสั ซ่ึงแต่ ละคนมีการรับรู้แตกตา่ งกนั ไป ขน้ึ อยู่กับ

14 (1) ลักษณะทางกายภาพทต่ี อบสนองต่อสิ่งกระตนุ้ ส่ิงเร้าตา่ งๆ (2) ความสมั พนั ธ์ของสิ่งกระตุ้นเรา้ กับสิ่งแวดลอ้ มในขณะน้ัน (3) เง่อื นไขของแต่ละบุคคลท่ีมคี วามต้องการ ทัศนคติ คา่ นิยมแตกตา่ ง 4.1.4.3 การเรียนรู้ (Learning) เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็น ผลจากประสบการณ์ของ บุคคล การเรียนรู้ของบุคคลจะเกิดขึ้น เมื่อบุคคลได้รับสิ่งกระตุ้นและเกิดการ ตอบสนองต่อส่งิ กระต้นุ น้นั 4.1.4.4 ความเชื่อ (Beliefs) เป็นความคดิ ซึ่งบุคคลยดึ ถือเกี่ยวกับสิง่ ใดสงิ่ หน่ึง ซ่งึ เป็นผลมาจาก ประสบการณ์ในอดตี 4.1.4.5 ทัศนคติ (Attitudes) เป็นการประเมินความพึงพอใจหรือไม่พึง พอใจของบุคคล ความรู้สึกด้านอารมณ์และแนวโน้มการปฏิบัติที่มีผลต่อความคิดหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (Kotler. 2003: 270) หรือ หมายถึงความรู้สึกนึกคิดของบุคคลท่ีมีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งส่วนประกอบของ ทัศนคติ จะ ประกอบดว้ ย 3 สว่ น ดงั น้ี (1) ส่วนของความเข้าใจ (Cognitive Component) ประกอบด้วย ความรู้และความเชื่อ เกย่ี วกบั ตราสินค้าหรอื ผลิตภณั ฑ์ของผบู้ ริโภคของผบู้ รโิ ภค (2) ส่วนของความรู้สึก (Affective Component) หมายถึง สิ่งที่เกี่ยวกับอารมณ์ ความรู้สึกที่มี ต่อผลิตภัณฑ์และตราสินค้า ความรู้สึกอาจจะเป็นความพอใจและไม่พอใจ เช่น การเกิด ความรู้สึกชอบ หรือไมช่ อบตอ่ ผลติ ภัณฑ์ (3) ส่วนของพฤติกรรม (Behavior Component) หมายถึง แนวโน้มของการกระทำที่เกิดจาก ทศั นคติ หรอื การกำหนดพฤตกิ รรม ท่มี ตี อ่ ผลติ ภณั ฑ์หรอื ตราสนิ คา้ 4.1.4.6 บุคลิกภาพ (Personality) เป็นรูปแบบลักษณะของบุคคลที่จะ เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมการตอบสนอง หรืออาจหมายถึงลักษณะด้านจิตวิทยาที่มีลักษณะแตกต่างของ บุคคลซึง่ นำไปส่กู ารตอบสนองท่ีสม่ำเสมอและมปี ฏกิ ิริยาต่อสงิ่ กระตนุ้ 4.1.4.7 แนวคิดของตนเอง (Self-concept) หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดที่ บคุ คลมีต่อตนเองหรอื ความคิดทบี่ ุคคลคดิ ว่าบุคคลอนื่ มคี วามคดิ เห็นต่อตนอย่างไร 5. แนวคดิ เกีย่ วกับหลักสตู รและการจัดการเรียนการสอน หลักสูตร เป็นหัวใจของการจัดการศึกษาทุกระดับเป็นเครื่องมือในการกำหนดแนวทางการ จัด การศึกษา เป็นเข็มทิศในการพัฒนาผู้เรียนให้ถึงผลที่คาดหวัง มีสมรรถนะ มีทักษะในการดำรงชีวิต ที่จะ สามารถพฒั นาคุณภาพชีวติ ของตนเองและพัฒนาสังคมได้อย่างมีคุณภาพ หลักสตู รการศกึ ษาที่ดี จึงควรมี ความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพชีวิตและสังคมของผู้เรียน การพัฒนาหลักสูตรเป็น กระบวนการ

15 วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามความ มุ่งหมายและ จุดประสงค์ที่กำหนดไว้ รวมถึงการประเมินผลหลักสูตรให้ทราบถึงผลการเปลี่ยนแปลงในตัวผูเ้ รียน ว่าได้ บรรลุตามความมุ่งหมายและจุดประสงค์จริงหรือไม่ เพื่อผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบจะได้รู้ และคิดเพื่อแก้ไข ปรับปรุงต่อไป การทำความเข้าใจในกทฤษฎี แนวคิด และรูปแบบการพัฒนา หลักสูตรจึงมีความจำเป็น ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมอยู่เสมอ เพื่อให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงของ สภาพ สังคม เศรษฐกจิ นโยบาย วทิ ยาการและเทคโนโลยี และวฒั นธรรม ของสงั คมโลก ในบทเรยี นน้ี ขอ นำเสนอความหมาย แนวคิด และระดับของการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรระดับชาตแิ ละระดบั สถานศกึ ษา รูปแบบการพฒั นาหลักสูตรและแนวคิดการพฒั นา หลักสูตรสู่มาตรฐานสากล 5.1 ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร นักการศึกษาหลายท่านให้ความหมายของการพัฒนา หลักสูตรไว้ในลักษณะทคี่ ล้อยคลงึ หรือ แตกต่างกนั ดงั น้ี 5.1.1 สันต์ ธรรมบำรุง (2527 : 92) ได้กล่าวถึงความหมายของการพัฒนาหลักสูตรไว้ว่า การพัฒนา หลักสูตร (curriculum development) จะมีความหมายครอบคลุมถึงการสรา้ งหลักสูตรการ วางแผน หลกั สตู รการปรับปรุงหลักสูตร การพฒั นาหลกั สตู รซึง่ เปน็ การปรบั ปรุงคุณภาพของหลักสูตรให้ดี ขึน้ ทั้ง ระบบ ต้ังแต่จดุ มุ่งหมาย การเรยี นการสอน การใชส้ ่อื การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล 5.1.2 สงัด อุทรานันท์ (2532 : 30) กล่าวคำว่า “การพัฒนา” หรือ คำในภาษาอังกฤษว่า “development” มีความหมายที่เด่นชัดอยู่ 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรก หมายถึง การทำให้ดีขึ้น หรือ ทำให้สมบูรณ์ขึ้น และอีกลักษณะหนึ่ง หมายถึง ทำให้เกิดขึ้น โดยเหตุนี้ ความหมายของการ พัฒนา หลักสูตรจึงอาจมีความหมายได้ 2 ลักษณะเชน่ เดียวกัน คือ ความหมายแรก หมายถงึ การทำหลักสูตรที่มี อยู่แล้วให้ดีขึ้นหรือสมบูรณ์ขึ้น และอีกความหมายหนึ่งก็ คือ เป็นการสร้างหลักสูตรขึ้นมา ใหม่โดยไม่มี หลกั สูตรเดมิ เปน็ พ้ืนฐานอยู่เลย 5.1.3 สจีวรรณ ทรรพวสุ. (2548 : 108) กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การทำให้ หลักสูตร ดีขี้นโดยการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการ หรือ การ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจของแต่ละแหง่ โดยมีจุดมุ่งหมาย แนวทาง วิธีการ และ เนื้อหาสาระ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ทัศนคติและพฤติกรรมตามที่กำหนดในจุดมุ่งหมาย ของการศกึ ษา 5.1.4 ทาบา (Taba. 1962, : p.454) กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การ เปลี่ยนแปลงและ ปรับปรุงหลักสูตรเดิมให้ได้ผลดีขึ้น ทั้งในด้านวางจุดมุ่งหมาย การจัดเนื้อหาวิชา การ เรียนการสอน การวัดผลและประเมินผล เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายใหม่ที่วางไว้ การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร เป็นการ เปลี่ยนแปลงทั้งระบบ หรือเปลี่ยนแปลงตั้งแต่จุดประสงค์และวิธีการ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้จะมี

16 ผลกระทบกระเทือนต่อความคิดและความรู้สึกของทุกฝ่าย ส่วนการปรับปรุงหลักสูตร หมายถึงการ เปล่ียนแปลงหลักสูตรเพยี งบางสว่ น โดยไม่เปล่ยี นแปลงแนวคิดพ้ืนฐานของหลักสูตร 5.1.5 กู๊ด (Good. 1973, : p.157-158) กลา่ วว่า การพฒั นาหลกั สูตร หมายถึง การเกิดข้ึน ได้ 2 ลักษณะ คือ การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรเป็นวิชาการพัฒนา หลกั สตู ร อยา่ งหนึง่ เพื่อใหเ้ หมาะสมกับโรงเรียนและการจดั การเรียนการสอน ส่วนคำว่าการเปลี่ยนแปลง หลักสูตร หมายถึงการแก้ไขหลักสูตรให้ต่างไปจากเดิม กล่าวโดยสรุป การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การ สร้างหลักสูตรใหม่ หรือการปรับปรุง เพิ่มเติม เสริมต่อ หรือการด าเนินงานอื่น ๆ เพื่อให้หลักสูตรเดิมมี ความเหมาะสมสอดคล้องกับความหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการ หรือ การ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจและ สนองต่อความต้องการของผู้เรียน โดยมีจุดมุ่งหมาย แนวทาง วิธีการ และเนื้อหาสาระ เพื่อให้ครูและ นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ ทัศนคติและพฤติกรรม ตามทก่ี ำหนดในจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตร 5.2 ทฤษฎีหลักสูตร การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร พบว่า มีคำหลายคำที่มี ความหมายคล้ายคลึงกัน แ ละสามารถใช้แทนกันได้ ได้ แก่ Curriculum – Planning, Curriculum Development, Curriculum Construction, Curriculum – Improvement, แ ล ะ Curriculum Revision มี ความหมายแตกต่างกันดังนี้ Curriculum – Planning หมายถึง กระบวนการในการสร้าง หลักสูตร กล่าวถึงหลักสูตรในรูปสิ่งที่ คาดหวัง หรือที่เป็นแผนอย่างหนึ่ง Curriculum Development หมายถึง การสร้าง Curriculum Materials รวมทั้งสื่อการเรียนที่นักเรียนใช้ไม่ใช่การวางแผน หลักสูตร แต่จะเป็นผลที่เกิดจากการวางแผนหลักสูตร Curriculum Construction และ Curriculum Revision เป็นคำที่ใช้มาแต่ดั้งเดิม หมายถึง การเขียนและการปรับปรุงรายวิชาที่ศึกษา Curriculum – Improvement หมายถึง การปรับปรุง หรือการวางแผนหลักสูตรในส่วนที่เป็นเป้าประสงค์มากกว่า ที่ หมายถึง กระบวนการในการวางแผนหรือพัฒนาหลักสูตรทฤษฎีเกี่ยวกับวิชาและเนื้อหาวิชาที่จะนำไป สอน 5.2.1 โบแชมพ์ (Beauchamp 1981:77) ได้นำเสนอแนวคิดทฤษฎีการออกแบบ หลักสูตรเป็น 2 ลักษณะ คือ ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร (Design Theories) และทฤษฎีวิศวกรรม หลักสูตร (Engineering theories) 5.2.1.1 ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร (Design Theories) การออกแบบ หลักสูตร (Curriculum Design) หมายถึง การจัดแบ่งองค์ประกอบของ หลักสูตรได้แก่ จุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ วิธีการจัดกิจกรรม จุดมุ่งหมายทั่วไปและจุดมุ่งหมายเฉพาะ แนวทางการนำหลักสูตรไปใชส้ ู่

17 การจดั การเรยี นการสอนและการวัดผลประเมนิ ผล 5.2.1.2 ทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร (Engineering theories) ทฤษฎีวิศวกรรม หลักสูตร (Engineering theories) หมายถึง กระบวนการทุกอย่างที่ทำให้ ระบบหลักสูตรเกิดขึ้นใน โรงเรียน ได้แก่ การสร้างหรือจัดทำหลักสูตร การใช้หลักสูตร และการประเมิน ประสิทธิภาพหลักสูตร และการประเมินระบบหลักสูตร รูปแบบหลกั สตู รท่ีมีคุณภาพที่สามารถสร้าง ประสบการณ์แก่ผูเ้ รยี นได้มี หลายรูปแบบ ได้แก่ รูปแบบการบริหาร รูปแบบการปฏิบัติการ รูปแบบ การสาธิต รูปแบบการวิจัยเชิง ปฏิบัติ และรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐานสำหรับการกำหนด หลักสูตรทฤษฎี หลักสูตรจะช่วยใน การบริหารงานเกี่ยวกับหลักสูตรให้มีหลักเกณฑ์ หลักการ และ ระบบมากยิ่งขึ้น เช่น การสร้างหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร และการประเมินหลักสูตรการจัดบุคลากร เกี่ยวกับหลักสูตร การทำให้องค์ประกอบ ของหลักสูตรท่จี ะนำไปใชใ้ ห้เกิดประสิทธภิ าพมากขน้ึ สรปุ ได้ว่า ทฤษฎหี ลักสตู รกค็ ือแนวคิดในการพัฒนา หลักสูตร แบ่งออกเป็นทฤษฎีการ ออกแบบองค์ประกอบของหลักสูตร ได้แก่ จุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ วิธีการจัดกิจกรรม จุดมุ่งหมาย ทั่วไปและจุดมุ่งหมายเฉพาะแนวทางการนำหลักสูตรไปใช้สู่การจัดการ เรียนการสอนและการวัดผล ประเมินผล และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร โรงเรียน ได้แก่ การสร้างหรือ จัดทำหลักสูตร โครงสร้าง ของหลักสูตร การใช้หลกั สตู ร และการประเมินประสิทธภิ าพหลักสูตรและการ ประเมนิ ระบบหลกั สูตร 5.3 แนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาหลักสตู ร 5.3.1 การพัฒนาหลักสูตร เป็นกระบวนการที่สลับซับซ้อนและเกี่ยวข้องกับคนส่วนมากจึง ตอ้ งมกี าร วางแผนอยา่ งรอบคอบด้วยการศึกษาข้อมลู และความจำเปน็ พนื้ ฐานของการพัฒนาหลักสูตรใน หลาย ๆด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้เรียน (หมายถึง สภาพของบ้าน ครอบครัว ชุมชน) เกี่ยวข้องกับสังคมและเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ ข้อมูลและความจำเป็นเหล่านี้ จะเป็นพื้นฐาน เบื้องต้นในการกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การเลือกเนื้อหาวิชา และประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อ ช่วยใหผ้ ้เู รียนมพี ฒั นาการตามจดุ มุง่ หมายของหลักสูตรพ้ืนฐาน 5.3.2 กาญจนา คุณารักษ์ (2527 หน้า 82) ได้นำเสนอแนวคิดพื้นฐานในการพัฒนา หลักสูตรไว้ 6 ประการ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของสังคม การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และการ ปกครอง แนวความคิดและผลการศึกษาค้นคว้าทางด้านจิตวิทยา ความก้าวหน้าทางวิทยาการ เทคโนโลยแี ละ และ บทบาทของสถานบันศกึ ษาและสือ่ มวลชน 5.3.3 ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ (2537 หน้า 25) กล่าวถึงแนวคิดพื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร อย่างเปน็ ระบบสรุปไดด้ งั นี้

18 5.3.3.1 การวเิ คราะห์ข้อมูลพ้ืนฐาน เพอื่ วินิจฉยั ปญั หาและความต้องการ ซ่งึ จะช่วย ในการตดั สินใจ 5.3.3.2 การกำหนดเป้าประสงค์ จุดหมายและจุดประสงค์ หลังจากได้วิเคราะห์ ขอ้ มลู พืน้ ฐานแล้ว จะพจิ ารณาและกำหนดความมงุ่ หมายของการศึกษา 5.3.3.3 การเลอื กและการจัดเนือ้ หา จะตอ้ งมคี วามถูกตอ้ งสอดคลอ้ งกับจุดมุ่งหมาย ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรมีความสอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน มีความยากง่าย สอดคล้องเหมาะสมกับวัย เนื้อหาต้องเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน และเนื้อหานั้นเป็นสิ่งที่สามารถจัดให้ ผู้เรยี นได้ ในแง่ของความพร้อมด้านเวลา ผสู้ อน และวสั ดุอุปกรณ์ต่าง ๆ 5.3.3.4 การเลือกและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ต้อง สามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้เร็ว รวมไปถึงยุทธวิธีการสอน การเลือกใช้สื่อการสอนให้ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนต้องเอื้อต่อการเรียนรู้ และ กระตุน้ ความสนใจของผู้เรยี น 5.3.3.5 การกำหนดอัตราเวลาเรียน หลักเกณฑ์ในการวัดประเมินผลการเรียน กำหนดเวลาเรียนการสอน โดยจัดเนื้อหาวิชาตามลำดับก่อนหลังให้สัมพันธ์กับจำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วนการวดั ผลประเมินผล ควรกำหนดวธิ ีการเกณฑ์การจบหลักสูตร 5.3.3.6 การนำหลักสูตรไปใช้ หลังจากล่างหลักสูตรแล้วต้องมีการตรวจสอบ ข้อบกพรอ่ งที่ควรปรบั ปรงุ แก้ไขเพิม่ เติม 5.3.3.7 การประเมินผลหลักสูตร เมื่อใช้หลักสูตรไปได้สักระยะหนึ่ง ควรมีการ ประเมนิ ผลหลกั สูตรในด้านตา่ งๆวา่ มขี ้อบกพร่องท่ีควรแกไ้ ขปรับปรุงหรือเพิ่มเตมิ อะไรบ้าง 5.3.3.8 การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร หลังจากที่ทราบข้อบกพร่องของหลักสูตร อาจจะ ตอ้ งมกี ารศึกษาปญั หาเพื่อปรบั ปรงุ ข้อบกพร่องให้หลักสูตรเหมาะสมยิ่งขึ้น 5.3.4 มิเชลลิส กรอสแมน และสก๊อต (Michealis Grossman and Scott. 1975 : p175) ได้เสนอ แนวคิดหลักสำคัญ 5 ประการ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร ได้แก่ พื้นฐานทาง ประวัติศาสตร์ ซึ่งจะมีประโยชน์ต่อการศึกษาปัญหาข้อถกเถียงและการปฏิบัติตลอดจนความสำเร็จและ ความล้มเหลว ของหลักสูตรเดิม พื้นฐานทางด้านปรชั ญาซึ่งจะช่วยในการพัฒนาเคา้ โครงของค่านยิ มและ ความเชื่อที่ สัมพันธ์กับการกำหนดความมุ่งหมาย การเลือกและการใช้ความรู้ ความหมายและวิธีการ ดำเนินการ และมิติอ่นื ๆ ของการศึกษา พน้ื ฐานทางสังคมซึ่งจะเปน็ แหล่งข้อมูลค่านยิ ม การเปลี่ยนแปลง ปัญหา ความกดดันและแรงขบั ทางสงั คมท่จี ะน ามาพจิ ารณาในการวางแผนหลักสูตร พื้นฐานจิตวทิ ยา ซึ่ง

19 ประกอบด้วยความคิดเกย่ี วกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กตลอดจนการเรียนรู้ของเด็ก ๆ และ พื้นฐานเกยี่ วกบั สาขาวชิ า ซ่ึงจะเปรียบเสมือนแหล่งขอ้ มลู ที่เกีย่ วกบั มโนมติ ขอ้ มลู ต่าง ๆ แบบอยา่ งวธิ กี าร และกระบวนการคน้ คว้าอน่ื ๆ ทอ่ี าจจะใชใ้ นการพฒั นาหลักสูตรและการวางแผน การเรียนการสอน 5.3.5 บิชอบ (Bishop . 1985 : 88) มีความเห็นสอดคล้องกันว่าพื้นฐานในการพัฒนา หลักสูตรนั้นมี อยู่ด้วยกัน 5 ด้าน แต่ เขาใช้คำว่า “ตัวกำหนดหลัก” ซึ่งจัดเป็นตัวแปรที่ส่งผลต่อการ พัฒนาหลกั สูตร ไดแ้ ก่ ปรชั ญา ซึ่งหมายรวมถงึ จุดม่งุ หมายของการศึกษา ความนึกคิดทางลัทธิตา่ ง ๆ และ อื่น ๆ การเงินรวมถึงทรัพยากรบุคคลและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ สังคมและวัฒนธรรมซ่ึงรวมถึงภาษาด้วย ความรู้ ซึ่งรวมถึงเนื้อหาวิชา มโนทัศน์ และกระบวนการทางสมอง และ จิตวิทยาซึ่งประกอบด้วย ทฤษฎี การเรียนรู้วิธีสอนและอื่น ๆ สรุปได้ว่า แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร คือการวิเคราะห์ข้อมูล พื้นฐานทเ่ี กีย่ วข้องกับ การศกึ ษา การกำหนดเปา้ ประสงค์สำคัญและจดุ มุ่งหมายของหลักสูตร การกำหนด มาตรฐานต่างๆ ของหลักสูตร การคัดเลือกเนื้อหาสาระและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การนำ หลักสูตรไปใช้ การ ประเมนิ ผลการใช้หลกั สตู รและการปรบั ปรุงพฒั นาหลกั สตู รอย่างตอ่ เนือ่ ง 5.4 ระดบั การพัฒนาหลกั สตู ร 5.4.1 สุมิตร คุณานุกร (2532 : 11) ได้กล่าว การพัฒนาหลักสูตรมิได้มีขอบเขตจำกัดอยู่ เฉพาะใน ระดับกระทรวงศึกษาธิการ หรือที่เรยี กกนั ว่าระดับชาตเิ ท่านั้น แต่กระจายต่อไปในระดบั ต่าง ๆ ได้ถงึ 4 ระดบั ดงั นี้ 5.4.1.1 การพัฒนาหลกั สตู รระดบั ชาติควรพัฒนาหลักสูตรใหม้ ลี กั ษณะทเ่ี อ้ืออำนวย ต่อการนำไป ขยายหรือปรับให้มากที่สุด เพื่อให้ผู้ใช้ในระดับต่าง ๆ ที่รองลงไปนำไปขยายและปรับให้ เหมาะสมกบั สภาพของทอ้ งถิ่นโรงเรียนและชนั้ เรยี นตอ่ ไป 5.4.1.2 การพัฒนาหลักสูตรระดับท้องถิ่น คำว่าท้องถิ่นในระดับนี้ หมายถึง เขต การศึกษา (เขต พื้นที่การศึกษา : ผู้เรียน) ซึ่งจะทำการขยายหรือปรับหลักสูตรระดบั ชาติให้สอดคล้องกบั สภาพทาง สงั คม ภูมศิ าสตร์และความตอ้ งการของประชาชนในแต่ละเขตพื้นที่การศกึ ษา 5.4.1.3 การพัฒนาหลักสูตรในระดับโรงเรียน เป็นการพัฒนาหลักสูตรโดยทาง โรงเรียนทำหน้าท่ี ขยายและปรับประมวลการสอน จากการพัฒนาหลักสูตรระดับท้องถิ่นอีกครั้ง เพื่อให้ ละเอยี ดยงิ่ ข้ึน จนกระท่ังสามารถแยกแยะรายละเอยี ดของเนื้อหาวิชาท่จี ะสอนออกมาเปน็ เวลาได้ 5.4.1.4 การพัฒนาหลักสูตรในระดับชั้นเรียน เป็นการพัฒนาหลักสูตรที่เน้นการ ตอบสนองความ ต้องการและความสนใจของผู้เรียน โดยการปรับความมุ่งหมายในการสอน เนื้อหา กิจกรรมการเรยี นรู้ และการสอนให้สอคล้องกับสติปญั ญาและความสนใจของผเู้ รียน วชิ ัย วงษใ์ หญ่ (2537

20 : 67) ไดแ้ บ่งระดบั การพฒั นาหลักสูตรของไทยเป็น 3 ระดับ คือ (1) การพัฒนาหลักสูตรระดับชาติเป็นการพัฒนาหลักสูตรที่มีหลักการ จะต้องกระทำในระดบั กวา้ งๆ เพื่อใหท้ ้องถิน่ สามารถนำไปปรบั ใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสม (2) การพัฒนาหลักสูตรระดับท้องถิ่น ท้องถิ่นในที่นี้ หมายถึง ระดับภาค ระดับจังหวัด และ ระดับ กลุ่มโรงเรียน เป็นการน าหลักสูตรระดับชาติมาปรับเปลี่ยนเนื้อหาสาระให้มี ความสอดคล้องกับ ทอ้ งถิ่นนนั้ (3) การพัฒนาหลักสูตรระดับห้องเรียน เป็นการพัฒนาหลักสูตรโดย ครูผสู้ อนเอง มณฑิชา ชนะสทิ ธ์ิ (2539 : 19) ได้กลา่ ววา่ การพฒั นาหลักสูตรแบ่งได้เปน็ 4 ระดับ คอื (1) การพัฒนาหลักสูตรระดับชาติเป็นการจัดทำหลักสูตรแบ่งบทในลักษณะกว้าง ๆ เพื่อให้ หน่วยงานระดับลา่ งนำไปปรับใช้ได้ (2) การพัฒนาหลักสูตรระดับท้องถิ่น เป็นการพัฒนาหลักสูตรโดยเขตการศึกษานำหลักสูตร ระดบั ชาตมิ าปรับ หรอื ขยายใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกับสภาพท้องถ่นิ ในเขตการศึกษานั้น (3) การพัฒนาหลักสูตรระดับโรงเรียน เป็นการพัฒนาหลักสูตรโดยการนำหลักสูตรระดับชาติ ระดับทอ้ งถ่ินมาปรับหรอื ขยายให้มคี วามสอดคลอ้ งกับสภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน (4) การพัฒนาหลักสูตรระดับห้องเรียน เป็นการพัฒนาหลักสูตรโดยการนำหลักสูตรระดับ โรงเรยี นมาปรับหรอื ขยายให้มคี วามละเอียด เหมาะสมกบั หลกั สูตรทอ้ งถิน่ นีล (Neil. 1981 : p.55-58) กล่าวถึงระดับการนำหลักสูตรไปใช้ว่าเป็นการแปลงหลักสูตร ไปสู่ การเรียนการสอน โดยมุ่งให้ผู้ปฏิบัติดำเนินการได้ถูกต้องเกิดผลตรงความมุ่งหมายของหลักสูตร กระบวนการแปลงหลักสูตรไปสู่การปฏบิ ัติหรือการจัดการเรียนการสอน แบ่งได้ 5 ระดับ ในแต่ละ ระดับ อาจเกิดความผดิ พลาดไดด้ ังนี้ (1) หลักสูตรระดับอุดมการณ์ (ideal curriculum) เป็นแนวความคิดของผู้ร่างหลักสูตรท่ี ต้องการบอกลักษณะของผู้เรียนที่ต้องการ หลักการและแนวคิดพื้นฐานของหลักสูตรสำหรับเป็นกรอบที่ จะถา่ ยทอดไปสู่หลักสตู รทจี่ ะจดั ทำ (2) หลักสูตรระดับทางการ (formal curriculum) เป็นหลักสูตรที่เขียนเป็นเอกสารโดยการนำ แนวคิดของหลักสูตรระดับอุดมการณ์มาสังเคราะห์ให้เป็นแนวปฏิบัติ ความคลาดเคลื่อนที่จะเกิดขึ้นก็คอื อาจสะทอ้ นแนวคิดในอุดมการณไ์ ด้ไมห่ มด (3) หลักสตู รระดบั การรบั รู้ (perceived curriculum) เป็นหลกั สูตรตามความเข้าใจของผ้ใู ช้ แต่

21 ละคนหลังจากได้รับรู้หลักสูตรระดับทางการ ความคลาดเคลื่อนที่จะเกิดก็คือ ผู้ใช้อาจเข้าใจ หลักสูตรไม่ ตรงกับเอกสารหลักสูตร หรือแต่ละคนเข้าใจหลักสูตรไม่ตรงกัน เพราะแต่ละคนจะเข้าใจ หลักสูตรตาม การรับรู้และพนื้ ฐานความรู้ของตนเอง (4) หลักสูตรระดับปฏิบัติการ (Operational curriculum) เป็นการนำหลักสูตรไปใช้ใน หอ้ งเรียนซึง่ ครแู ตล่ ะคนมีความเข้าใจหลักสูตรอย่างใดกจ็ ะนำหลักสูตรไปใช้ในห้องเรียนตาม สถานการณ์ จริงความคลาดเคลื่อนจะเกดิ จาการที่สถานการณ์จริงแตกต่างจากที่คาดหวัง และ สถานการณ์ของแต่ละ แห่งแตกต่างกัน (5) หลักสูตรระดับประสบการณ์ (experiential curriculum) เป็นระดับของหลักสูตรที่จะ เกิดกับตัวผู้เรียน ความผิดพลาดที่จะเกิด คือ การเรียนที่ไม่ตรงตามความมุ่งหมาย ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ แตกตา่ ง ท้งั นี้ เปน็ เพราะผเู้ รียนมคี วามสามารถในการรับรแู้ ละประสบการณต์ ่างกนั โซเวลล์ (Sowell. 1996 : p.6) ไดแ้ บง่ การพัฒนาหลักสตู รออกเปน็ 4 ระดับ คอื (1) หลักสูตรระดับสังคม (The society curriculum) เป็นหลักสูตรที่อยูไ่ กลตัวผูเ้ รียน และถูก สรา้ งโดยรฐั นกั การเมือง กลุ่มผลประโยชน์ ผู้บริหารระดับต่าง ๆ และผู้เชีย่ วชาญในแต่ละสาขาวชิ า (2) หลักสูตรระดับสถาบัน (The institutional curriculum) เป็นหลักสูตรที่ใช้ในสถานศึกษา และได้รับมาจากหลักสูตรสูตรระดับสังคม ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมโดยนักการศึกษาและ คณะท างานในระดับท้องถ่ิน (3) หลักสูตรระดับการเรียนการสอน (The instructional curriculum) เป็นหลักสูตรท่ี วางแผนโดยครูและถูกกำหนดข้ึนเพ่อื ใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน (4) หลกั ระดับประสบการณ์ (The experience curriculum) เปน็ หลักสตู รทยี่ อมรบั และถูกจัด ข้นึ โดยตัวผเู้ รียนเอง ท้ังนีเ้ พราะว่าผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบุคคล ดงั น้ัน หลักสูตรจึง ต้อง สอดคล้องกับผูเ้ รยี นแตล่ ะคน 6. แนวคิดเกี่ยวกบั สภาพแวดลอ้ ม สภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมของมนุษยใ์ ห้อยากทํางาน หรอื เกิดความ เบอื่ หน่ายในการทํางานได้ดงั น้นั การจดั สภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการทํางาน จะทาํ ให้ ผู้ปฏิบัติงานทํางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความสุขอีกด้วย และในส่วนนี้ขอนําเสนอ ประเด็นต่าง ๆ ดังนี้คือ 1. ความหมายของสภาพแวดล้อม 2. ความสําคัญของการจัดการ สภาพแวดล้อม 3.สภาพแวดล้อมทาง กายภาพ 6.1 ความหมายของสภาพแวดล้อม นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อม

22 โดยกล่าวถึงความสาํ คัญ และความหมายของสภาพแวดล้อมไว้ต่าง ๆ กัน ดังนี้ 6.1.1 อรณุ รักธรรม (2536, หน้า 243) ได้กล่าวว่า สภาพแวดล้อมภายในองค์การเป็น บรรยากาศขององค์การ หมายถงึ กลุ่มคุณลักษณะของสภาพแวดล้อมของงาน บุคคล ผ้ปู ฏบิ ัติงานอยู่รับรู้ ท้งั โดยตรงและทางอ้อม เชน่ ทัศนคติคา่ นิยม ปทัสถาน และ ความร้สู กึ ของคนทาํ งานในองค์การท่ีเกิดข้ึน บอ่ ย ๆ 6.1.2 อุทัย เหลาวิเชียร (2543, หน้า 84) ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมของงาน คือ สิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการบริหารงาน สิ่งแวดล้อมของงานที่สําคัญมีอยู่ 4 ประการ คือ ลูกค้า ค่แู ขง่ ขัน ผูผ้ ลิต และหนว่ ยงานควบคมุ 6.1.3 พิทยา บวรวัฒนา (2544, หน้า 115) ได้กล่าวว่า สภาพแวดล้อม หมายถึง ทุกส่ิง ทุกอย่างที่อยู่นอกองค์การ อันได้แก่ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สภาพการเมือง ลักษณะของสังคม โครงสร้าง ของกฎหมาย นเิ วศวิทยาและวฒั นธรรม 6.1.4 ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ (2547, หน้า 123) ได้กล่าวว่า สภาพแวดล้อมของ องค์การ หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีอยู่ล้อมรอบองค์การและสามารถส่งผลกระทบ ต่อการทํางาน และการ เข้าถึงทรัพยากรที่หายาก ได้แก่ วัตถุดิบ คนงานที่มีความเชี่ยวชาญ ข้อมูลข่าวสารที่ใช้ในการปรับปรุง เทคโนโลยกี ารสนับสนนุ จากลกู คา้ และผูม้ ีส่วนร่วม สถาบันการเงิน และค่แู ข่ง เป็นตน้ 6.1.5 สาคร สุขศรวี งศ์ (2550, หน้า 69) ไดก้ ลา่ ววา่ สภาพแวดล้อมภายใน คือปจั จยั ต่าง ๆ ทีอ่ ยู่ในองค์การและสามารถควบคุมได้คือ ระบบงาน ผู้มีส่วนได้เสียในองค์การ ส่งิ อํานวยความ สะดวก และวัฒนธรรมองค์การ จากความหมายของสภาพแวดล้อมที่ได้กล่าวมาข้างต้น สามารถที่จะสรุปได้ว่า สภาพแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเราในขณะที่ปฏิบัติงานทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต หรือท่ี สามารถสมั ผสั จบั ตอ้ งได้และไมส่ ามารถสมั ผสั จับต้องได้ซึง่ มีผลต่อผู้ปฏิบัตงิ านและผเู้ รยี น 5.2 ความสําคัญของสภาพแวดล้อมสถาบันการศึกษา ในสถานศึกษาจะเป็นปัจจัยสําคัญในการ พัฒนาบุคลิกภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติของนักศึกษาไปในทางที่พึงประสงค์ซึ่ง มาริสา ธรรมะ (2545, หน้า 8) ได้กล่าวว่า สภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม (Abstract Environment) ได้แก่ ระบบบุคคลที่มีคุณค่าที่ควร ยึดถือ ซึ่งเป็นส่วนสําคัญของวัฒนธรรมของกลุ่มสังคม ข่าวสารความรู้ ความคิด ตลอดจน ความรู้สึกนึกคิดและทัศนคติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นของตนเองหรือคนอื่นก็ตาม สภาพแวดล้อมท่ี เป็นนามธรรมนี้อาจกล่าวโดยสรุปว่า สภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ก็คือ สภาพทาง เศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรมนั่นเอง สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นปัจจัยสําคัญที่มีผลต่อการเรียนการ สอนอย่างยิ่งโดยเฉพาะทางด้านสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์โดยสาเหตุที่การเรียน การสอน ในชั้นจะเป็นรูปแบบกลุ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้เรียน ด้วยกัน นอกจากน้ี

23 สภาพแวดล้อมทางกายภาพก็เป็นสิ่งสําคัญอีกส่วนหนึ่งที่ช่วยเอื้อความ สะดวกนานาประการให้ผู้เรียน และผสู้ อนไดบ้ รรลุสัมฤทธผ์ิ ลได้เร็วยิง่ ขึ้น 5.2.1 เฉลิม พรหมคุณาภรณ์ (2539, หน้า 43 –44) ได้เสนอผลการศึกษาไว้ว่า สมอง ของมนุษย์จะมีความสมบูรณ์ที่สุดเมื่ออายุ 17 – 18 ปีและมีแนวโน้มจะขยายเวลาออกไปอีกถ้า สมอง ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะถ้าเป็นบุคคลที่ได้เรียนรู้ในโรงเรียนหรือได้รับการศึกษาสูงๆ ขึ้น จะทําให้ I.Q เพิ่มขึ้น จากผลการศึกษาดังกล่าวนี้ทําให้นักการศึกษาต้องมา ให้ความสนใจและให้ ความสําคัญกับการตระเตรยี มสภาพแวดล้อมท่ีเอือ้ ต่อความอยากรู้อยาก เห็นและการค้นพบของนักเรยี น สภาวะเช่นน้ีจะทาํ ให้การเจรญิ ทางสมองดาํ เนนิ อยตู่ อ่ ไป 5.2.2 สุภัทรา ปณิ ฑะแพทย์ (2534, หนา้ 30 – 32) ได้เรยี บเรียงเกยี่ วกบั สภาพแวดล้อม ท่ีมีผลต่อพฤตกรรมของมนุษย์ไว้ 3 ประการ คอื 5.2.2.1 สภาพแวดล้อมภายในครอบครัว ครอบครัวเป็นสถาบันแรกที่มีอิทธิพล ตอ่ บุคคลในการสรา้ งและพฒั นาอารมณ์บุคลิกภาพ ความเชื่อ เจตคติ 5.2.2.2 สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา สถานศึกษาเป็นสถาบันที่มี ความสาํ คัญ เพราะเปน็ สถาบนั ที่อบรมสั่งสอนและใหค้ วามร้เู พื่อการดาํ รงชวี ติ 5.2.2.3 สภาพแวดล้อมในสังคมและชุมชน ได้แก่กลุ่มเพื่อน สื่อมวลชน ศาสนา และลัทธิความเชื่อ ซึ่งทําให้บุคคลแสดงพฤติกรรมความเชื่อถือ สรุป ความสําคัญของสภาพแวดล้อมใน สถานศึกษาเป็นเรื่องสําคัญที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมท่ี เปลย่ี นแปลงจากด้านสิ่งแวดล้อม นามธรรมส่งผลต่อการเรยี นและสมองไดร้ ับการกระตุ้นทําใหส้ มองมีการ พัฒนาทําให้การเรียน การสอนมีประสิทธิภาพขึ้น หลักทฤษฎีทางด้านจิตวิทยาที่มีการศึกษาถึงเรื่อง พฤติกรรมและ สิ่งแวดล้อมให้ทราบว่านอกเหนือจากลักษณะต่างๆ ที่คนได้รับการถ่ายทอดมาทาง พนั ธกุ รรม ทาํ ให้คนแตกตา่ งกนั แลว้ ยังมีอิทธพิ ลอื่นอีก โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทีส่ ําคัญ ไดแ้ กส่ ่งิ แวดล้อม การ อบรมเล้ยี งดกู ารคบเพื่อน การสงั คม การศกึ ษา การสมาคม ประเพณีวฒั นธรรม ศาสนา ดนิ ฟา้ อากาศ ท่ี อยู่อาศัย อาหาร น้ำ สื่อมวลชน โรคภัยไข้เจ็บ อุบัติเหตุซึ่งเป็นส่วนที่ทําให้ พฤติกรรมของคนมีการ เปลย่ี นแปลงไปในทางท่ดี ีหรือไมด่ ี 5.3 สภาพแวดลอมทางกายภาพ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ หมายถึง สภาพแวดล้อมตาม ธรรมชาตแิ ละ สภาพแวดล้อมทมี่ นษุ ย์สรา้ งขึ้น ตวั กําหนดทางด้านสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ได้แก่ 5.3.1 โอกาสและสภาพแวดล้อมกายภาพที่มีต่อความสัมพันธ์โอกาสเป็นสิ่งเร้าที่ทําให้เกิด พฤติกรรมเข้มแข็งขึ้น สิ่งเร้าบางอย่างอาจเป็นอุปสรรคขัดขวางการเกิดพฤติกรรมนั้นๆ เช่น นักเรียนยก มือเพื่อตอบปัญหาของครูครูมองเห็นและเรียกตอบ นักเรียนก็จะมีความกล้าและ มีความเชื่อมั่น

24 กระตือรือร้นตอบปัญหาของครูแต่นักเรียนไม่มีโอกาสได้ตอบปัญหาเลยเพราะ ครูมองไม่เห็น ทําให้ นกั เรยี นเหนือ่ ยหน่ายท่จี ะยกมอื ต่อไปอาจจะไม่ยกมือ ไม่คดิ ตอบเลยก็ได้ 5.3.2 คุณสมบัติตา่ งๆ ของสภาพแวดล้อมทางกายภาพคุณสมบตั ิของกายภาพ แวดลอ้ มทาง กายภาพ เช่น ความซับซ้อน ความง่าย ลักษณะกํากวม เหล่านี้จะมีผลกระทบ ต่อการรับรู้การรู้สึก การ เรียนรกู้ ารจำ การคิด ซง่ึ ทาํ ให้เกิดการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมขน้ึ ได้ 5.3.3 ตําแหน่งของสภาพแวดล้อม ตําแหน่งของสภาพแวดล้อมที่แตกตางกันย่อมก่อเกิด พฤติกรรมที่แตกต่างกันด้วย เช่น นักเรียนที่นั่งหา่ งไปดา้ นหลงั ยอ่ มมีโอกาสที่จะแอบหลับ หรือ แอบลอก งานเพ่อื นได้มากกว่านักเรียนที่นั่งแถวหน้า นกั เรยี นทนี่ ั่งแถวหน้าและกลางๆ ห้องมี ความสนใจโต้ตอบกับ ครูมากกว่านักเรียนทนี่ งั่ อยูร่ มิ ด้านหลังห้อง (อรพันธ์ปุ ระสิทธริ ัตน์, 2533, หน้า 12) 7. ขอบข่ายสภาพแวดลอมของสถานศึกษา ขอบข่ายสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา นัฐญาพร ดุษดี (2545, หน้า 30 – 32) กล่าว ว่าเป็น สถานศกึ ษาท่ีอบรมส่ังสอนและใหว้ ิชาความรเู้ พื่อดํารงชีวิต ดังน้ัน การทสี่ ถานศกึ ษาจะ สามารถทําหน้าท่ี ต่างๆ ได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดได้สถานศึกษาจะต้อง จัดสิ่งต่างๆ ดังต่อไปน้ี 1. กฎ ระเบียบ ข้อบังคับและการปกครอง ซึ่งสถานศึกษามุ่งหมายเพื่อฝึกหัดให้เด็ก พัฒนาบุคลิกภาพให้ สอดคล้องกับสภาพสังคม 2. ครูเป็นผู้ส่งเสริมให้เด็กได้รับความรู้และพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ครูมี อิทธิพลต่อ เด็กทั้งทางด้านการแสดงออก และจิตใจ ดังน้ันครูจึงเป็นแม่แบบที่ดีให้กับเด็ก 3. กลุ่มเพื่อน ร่วมโรงเรียนและร่วมชั้นเรียน มีอิทธิพลในการปรับตัวและการดํารงชีวิต ในสังคมโรงเรียน ซึ่ง เปรียบเสมือนสังคมยอ่ ย 4. หลักสูตรและวิชาที่เรียน มีส่วนทําให้บุคคลได้รับการพัฒนาด้านความรู้ ความคิดและประสบการณ์ แอสติน (Astin, 1968, อา้ งถึงใน ผกาทพิ ยเ์ กษรากุล, 2542, หน้า 11) ไดจ้ ัดแบง่ สภาพแวดล้อม ในสถาบันการศึกษาที่เป็นสิ่งเร้าให้นักเรียนแสดงพฤติกรรม กิจกรรม หรือ ลักษณะ ที่พึงประสงค์ต่างๆ ออกมาเปน็ 4 ประเภท คอื 7.1 สภาพแวดล้อมด้านอาคารสถานท่ี สภาพแวดล้อมด้านอาคารสถานที่ หมายถึง สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติหรือที่มนุษย์ สร้างขั้น ซึ่งมีอิทธิพลต่อบุคคลที่อยู่ในสภาพแวดล้อมนั้น เช่น บริเวณสภาพพื้นที่ของสถานทตี่ ้ัง ลักษณะของอาคารเรียน ห้องเรยี น หอ้ งปฏิบัติการ หอ้ งสมุด โรงอาหาร โรงฝึกงาน หอพัก สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ การตกแต่งสถานที่สิ่งอํานวยความสะดวกต่างๆ ภายใน มหาวิทยาลัย 14 รวมทั้งสภาพแสง เสียง และสิ่งอื่นๆ ที่มีอิทธิพลตอสภาพความเป็นอยู่และการศึกษาใน มหาวิทยาลัย (สมหมาย ดอกไม้ 2535, หน้า 20) ดังนั้นในการวางแผนจัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่

25 ในมหาวทิ ยาลัย เพ่ือสนับสนนุ การเรยี นของนกั ศึกษา ควรประกอบด้วยความ สมดุลของปัจจัย 4 ประการ (วิจิตร วรตุ บางกรุ 2524, หนา้ 150-157) คอื 7.1.1 การจัดบริเวณและความงามของบริเวณ การจัดบริเวณเพื่อการเรียนรู้มีการ ตื่นตัว และมีความหมายมากขึ้น อาคารเรียนที่ไม่สวยงามเป็นการทําลายสภาพภายในและภายนอก อาคารให้หมดไป นอกจากนี้อาคารเรียนยังมีบทบาทสําคัญในการช่วยพัฒนาการรับรู้เกี่ยวกับ ความรัก สวยรักงามอยู่มาก เพราะนักศึกษาจะต้องใช้เวลาอยู่ในสถานศึกษาเป็นเวลานาน ในช่วงเวลานี้นักศึกษา จะซาบซึ้งต่อความงดงาม นักศึกษาจะเฉยเมยไม่ยินดียินร้ายกับสภาพของมหาวิทยาลัยที่ไม่สวยงาม เมื่อ จบการศึกษาไปแล้วนักศึกษาก็จะสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมของตนเอง โดยอาศัยประสบการณ์ที่ได้รับจาก มหาวิทยาลัยเป็นส่วนใหญ่ด้วยเหตุนี้มหาวิทยาลัย จึงควรได้รับการดูและเอาใจใส่ให้มีความงดงาม ความ สะอาดเรยี บรอ้ ย เพอื่ เปน็ ส่วนหนง่ึ ใน การกระตุ้นและพัฒนาความต้องการ 7.1.2 แสง สีการมองเห็น และแสงสว่าง เนื่องจากแสงสว่างมีบทบาทสําคัญในการส่ือ ความรู้จึงจําเป็นต้องจัดให้แสงสว่างในอาคารและห้องเรียน มีระดับที่มองเห็นได้ดีซึ่งหมาย ความว่า มองเห็นได้เร็ว สบายตา และชัดเจน ความสว่างพอดีกับห้องหรือบริเวณ การพราง ความจ้าของแสง และ ความเดน่ และตัดกนั ระหวา่ งวตั ถกุ ับสพี ้นื จะชว่ ยให้มองเห็นไดช้ ดั เจนและ สบายตาได้เชน่ เดียวกนั 7.1.3 เสียงภายในหอ้ งเรียนเป็นสิ่งจําเป็นอยา่ งมาก เสียงดังรบกวนจากบรเิ วณรอบ ๆ หรือภายนอกห้องเรียนจะทําให้รู้สึกรําคาญ หงุดหงิด เครียด กระวนกระวายใจ และเหน็ด เหนื่อย เสียง รบกวนเปน็ อุปสรรคต่อความเขา้ ใจในการส่อื ความหมายระหวา่ งอาจารย์กับ นกั ศกึ ษา 7.1.4 อุณหภูมิและการถ่ายเทอากาศ ในกระบวนปัจจัยแวดล้อมในห้องเรียนทั้งหมด สิ่งสําคัญที่จะทําให้เกิดความสุขสบายทางร่างกาย คือ ปัจจัยที่เกี่ยวกับอุณหภูมิและความชื้น ในอากาศ แนวคิดความสมดุลของปัจจัย 4 ประการ ดังกล่าว ข้างต้นในเรื่องการวางแผนจัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานทไี่ ว้ 4 ประการ ดว้ ยเชน่ กันดัง 1. แสงสว่าง แสงสว่างเป็นสิ่งจาํ เป็นสาํ หรบั การมองเห็น การ อ่านหนงั สอื แสงสวา่ งควร ผ่านเขา้ ทางด้านข้างไม่แรงจ้าเกินไป การจดั แสงสวา่ ง หรือควบคมุ แสงสว่างจึง เป็นส่ิงจาํ เป็นต่อ การใชห้ อ้ งเรียน ซึ่งจะช่วยใหม้ องเห็นได้ชดั ความเมอื่ ยลา้ และความเครียดของประสาท ตาก็จะ ไม่เกิดขึ้น 2. สีสีมีอิทธิพลและมีบทบาทต่อชีวิตมนุษยมากเพราะส ์ ีมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ มนษุ ย์สจี งึ ให้ความรู้สกึ ต่อมนุษย์ต่าง ๆ กัน อิทธพิ ลของสีทําให้คนเรามีความรูส้ ึกสดชนื่ ต่ืนเต้น สงบ ยินดี หดหู่ เศร้า แจ่มใส เบิกบาน เร้าใจหรือเฉยเมย ดังนั้น ในการเรียนการสอน สภาพ แวดล้อมของผู้เรียนก็ ต้องจัดสภาพแวดล้อมใหม้ ีชีวิตชวี า สดชนื่ แจ่มใส นา่ อยูน่ ่าเรยี น สมี สี ่วน ชว่ ยไดม้ าก โดยเฉพาะสีท่ีใช้กับ อาคารเรียน และห้องเรียนต่าง ๆ 3. เสียง เสียงนับว่ามีส่วนสําคัญ ในชีวิตประจําวันของมนุษย์ซึ่งถือว่า เป็นสภาพ แวดล้อมอย่างหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาของมนุษย์เสียงเป็นสิ่งท่ีมองไม่เห็นแต่อันตราย ท่ี

26 เกิดขึ้นนั้นมีมาก อาจทําให้หย่อนสมรรถภาพในการได้ยิน หรือทําให้หูหนวกได้ 4. การถ่ายเทอากาศ อากาศเป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่งสําหรบั ชีวิตเรา เราได้ออกซิเจนจาก อากาศ ร้อยละ 21 เพื่อมาใช้ฟอกเลือด ในปอดให้เลือดดํากลายเป็นเลือดแดง แล้วส่งเลือดแดง ไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ดังนั้นอากาศท่ี ต้องการ คือ อากาศบริสุทธ์ิทสี่ ดช่ืน ไม่อบอา้ ว รอ้ ยจัดจนเกนิ ไป มีการถา่ ยเทอากาศอยเู่ สมอ 7.2 สภาพแวดล้อมด้านการเรียนการสอน กระบวนการการจัดการเรียนการสอนและสร้าง บรรยากาศในการเรียนการสอน เพื่อให้ ผู้เรียนได้ความรู้และสามารถนําความรู้ไปปฏิบัติได้ตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ประกอบกับการจัด หลักสูตร พฤติกรรมการสอนของผู้สอนการนําสื่อการเรียนการ สอนมาใชอ้ ย่างถูกต้อง อทุ มุ พร ทองอุไทย (ม.ป.ป., อ้างถึงใน นพมาศ พัวพสิ ิฐ , 2529, หนา้ 19) ได้ศกึ ษา การวิจัยทั้งในและ นอกประเทศ ที่ใช้เป็นตัวประกอบคน้ หาโครงสร้างของประสทิ ธิภาพการเรียนการสอน และ สรุปว่าผลการวจิ ัยนั้นสอดคล้องกัน โดยสามารถจําแนกเป็นตวั ประกอบต่างๆได้ 6 ตัวประกอบ คอื 7.2.1 พฤติกรรมครูได้แก่ลักษณะท่าทาง ความจริงใจ ความสนใจต่อผู้เรียนให้ความเป็น กันเอง เปน็ ผู้นําและเป็นผูท้ มี่ คี วามร้ใู นสาขานน้ั ๆ อยา่ งแท้จรงิ และทนั สมยั อยูเ่ สมอ 7.2.2 วิธีการสอน ได้แก่การจัดเตรียมกระบวนการการเรียนการสอนแบบต่างๆ ได้อย่าง เหมาะสมกับเน้อื หาและเวลา มกี ารถ่ายทอดความรไู้ ด้อย่างชดั เจน เขา้ ใจง่าย ทําใหผ้ ู้เรียน เกิดพัฒนาการ ด้านความคดิ 7.2.3 สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน ได้แก่ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน ครู รับฟงั ความคิดเห็นของนกั เรยี น เป็นกันเองชว่ ยเหลือนักเรียนท้ังในและนอกห้องเรยี น 18 7.2.4 อุปกรณ์การเรียนการสอน รวมทั้งห้องปฏิบัติการ การใช้เครื่องมือต่างๆ รวมท้ัง หอ้ งสมุดท่ีสมบูรณ์และตาํ ราท่เี ป็นภาษาของตนเองดว้ ย 7.2.5 การวัดผลมีการย้อนกลับและเสริมให้การวัดผลเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน รู้ หลกั ขอ้ สอบท่ีดีใหค้ ะแนนอยา่ งยุตธิ รรม 7.2.6 ทัศนคติของครูต่อการสอนและต่อนักเรียน ครูต้องมีการยกย่องนักเรียนอย่างจริงใจ ตง้ั ใจสอน 7.3 สภาพแวดล้อมด้านกลุ่มเพื่อน กลุ่มเพื่อนเป็นสภาพแวดล้อมที่สําคัญที่มีอิทธิพลต่อนักศึกท่ี กาํ ลังศึกษา เป็นกลุม่ บคุ คลทอ่ี ยใู่ นวัยเจริญเติบโต รา่ งกายและจิตใจมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว เมื่อ เข้าอยู่ในสถาบันศึกษาต้องมีความสัมพันธ์กับเพื่อนอย่างมาก กลุ่มเพื่อนจึงมีอิทธิพลตอการเปล่ียนแปลง และพัฒนาการทางด้านความรู้ทัศนคติบุคลิกภาพและคุณธรรมของนักศึกษา วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา (2533, หนา้ 45 –46) ไดก้ ล่าวถงึ อิทธพิ ลของกลุ่มเพ่ือน ดังนี้

27 7.3.1 เป็นกลุ่มที่จะประสานชีวิตจากสังคมในบ้านไปสู่มหาวิทยาลัย ทําให้นิสิตได้รู้สึกว่า ตนเองประสบความสําเร็จในด้านใดดา้ นหน่งึ 7.3.2 เป็นกลุ่มที่สนับสนุนและเป็นเครื่องมือให้บรรลุเป้าหมายทางพุทธิปัญญาของ การศกึ ษาในมหาวิทยาลัย 7.3.3 เป็นกลุ่มที่สนับสนุน สนองอารมณ์จิตใจและความต้องการของนิสิตซึ่งอาจจะไม่ตรง กบั อาจารย์หอ้ งเรียนและมหาวิทยาลยั 7.3.4 เป็นกลุ่มที่เปิดโอกาสให้นิสิตเรียนรู้และเข้าใจชีวิตการอยู่ร่วมกันการสมาคมและ ทาํ งานกับคนทีม่ ภี มู ิหลงั แตกต่างกนั ไดด้ 7.4 สภาพแวดล้อมด้านการบริหาร การบริหารสถานศึกษา หมายถึง กิจกรรมต่างๆที่บุคคล หลายคนรว่ มกันดําเนินการ เพือ่ พัฒนาเดก็ เยาวชน ประชาชน หรอื สมาชิกของสังคมในทุกดา้ น เชน่ ความ สมารถ เจตคติ พฤตกิ รรม ค่านยิ ม หรือคณุ ธรรม ทั้งในดา้ นสงั คมการเมืองเศรษฐกจิ เพือ่ ใหบ้ คุ คลดังกล่าว เป็น สมาชกิ ท่ีดีและมปี ระสิทธิภาพในสงั คม 7.4.1 ธงชัย สันติวงษ์ (2538, หน้า 322) กล่าวว่า การมีส่วนร่วมในการบริหารไม่ว่าจะ เป็น ไปในลักษณะของการมีส่วนร่วมตัดสินใจหรือร่วมให้ข้อเสนอแนะมักทําให้ผู้ปฏิบัติเกิดความรู้สึก ภูมิใจได้เสมอ 7.4.2 เสนาะ ติเยาว์ (2539, หน้า 304 – 305) กลา่ ววา่ การสรา้ งขวญั ใหแ้ กผ่ ้รู ่วมงานโดย การใหม้ ีสว่ นรว่ มในงานเป็นการส่งเสริมให้มีการร่วมมือจากกลุ่ม สามารถเรยี นรู้พฤติกรรมและ ความรู้สึก ทางดา้ นจติ วทิ ยาของผ้รู ่วมงานได้มาก ทําให้รทู้ า่ ทีวา่ แตล่ ะคนมีความสามารถมีความ คิดเห็นอยา่ งไร เป็น การเปิดโอกาสให้ได้ใชค้ วามรูค้ วามสามารถของแต่ละคนได้อย่างเต็มท่ีสรุป สภาพแวดลอ้ มดา้ นการบริหาร หมายถึง การบริหารงานให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์จากการท่ี บุคลากรมีความร่วมมือ การจัดระบบการทํางาน บุคลากรมสี ่วนรว่ มในการบรหิ ารและตดั สินใจ 8. ประวตั ิวิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ชื่อโรงเรียนประถมอุตสาหกรรม โดยมี นายอร่าม นาคปฐม เป็นครูใหญ่ ตั้งอยู่ เลขที่ 388 หมทู่ ่ี 5 ถนนสขุ มุ วิท ตำบลบา้ นสวน อำเภอเมือง จงั หวดั ชลบรุ ี มีเนอ้ื ท่ี 9 ไร่ 2 งาน 28 ตาราง วา ได้รับอนุญาตให้ใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์จากเทศบาลเมืองบ้านสวน เนื้อที่ 28 ตารางวา การจัดการ เรยี นการสอนได้ดำเนนิ การและพฒั นาขึน้ มาเป็นลำดบั ดงั นี้

28 กอ่ ตงั้ ข้ึนเม่ือ วนั ท่ี 26 กรกฎาคม 2480 ช่อื โรงเรียนประถมอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2483 เปลี่ยนช่ือเปน็ โรงเรยี นช่างทอผ้าและเยบ็ ผา้ พ.ศ. 2491 เปลย่ี นชอ่ื เป็น โรงเรยี นการชา่ งสตรชี ลบุรี พ.ศ. 2516 เปล่ยี นชอื่ เปน็ โรงเรยี นอาชีวศกึ ษาชลบุรี พ.ศ. 2519 รวมกับโรงเรยี นเทคนคิ ชลบรุ ี เปน็ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรวี ทิ ยาเขต 2 พ.ศ. 2522 แยกออกเปน็ วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี มีวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ ปรชั ญา ดังน้ี วิสยั ทศั น์ เป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้ ผลติ และพัฒนากำลงั คนที่ มคี ุณภาพมาตรฐานระดับสากล พนั ธกิจ การบรหิ ารจดั การเชงิ รกุ การสรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมอื การ พฒั นาหลักสูตรและการจัดการเรยี นการสอนให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน การส่งเสรมิ การเรยี นร้ตู ลอดชีวิต วจิ ยั /พัฒนาและการจดั การองค์การแห่งการเรียนรู้ ปรัชญาวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษา ชลบรุ ี “ คุณธรรมเยย่ี ม เป่ยี มวทิ ยา พัฒนาอาชีพ ” คณุ ธรรมเยีย่ ม มีความซื่อสตั ย์ สุจรติ มรี ะเบียบวินยั มีนำ้ ใจงาม มีความประพฤติดีและมสี ติ เป่ียมวิทยา ประกอบด้วยมีความรู้ มคี วามสามารถในวิชาชีพ ตาม สาขาอย่างดเี ยย่ี ม พฒั นาอาชีพ สามารถสร้างสรรค์ สร้างงาน ซงึ่ นำความก้าวหนา้ มาสอู่ าชพี การงานและ อนาคตทดี่ ี หลกั สูตรระดบั การศกึ ษาและสาขาที่เปิดสอน 1. ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ใช้เวลาศึกษา 3 ปี โดยรบั ผู้สำเรจ็ การศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษา ตอนตน้ (ม.3 หรือเทยี บเท่า) คณะและสาขาวชิ าท่เี ปิดสอน มีดงั น้ี 1. ประเภทวิชาคหกรรม 1.1 สาขาวชิ าผา้ และเครื่องแต่งกาย 1.1.1 สาขางานออกแบบเส้อื ผ้า 1.2 สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ 1.2.1 สาขางานอาหารและโภชนาการ 1.3 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 1.3.1 สาขางานธุรกจิ ดอกไม้และงานประดษิ ฐ์

29 2. ประเภทวิชาศลิ ปกรรม 2.1 สาขางานวจิ ติ รศิลป์ 2.1.1 สาขางานวิจติ รศิลป์ 2.2 สาขาวิชาการออกแบบ 2.2.1 สาขาวชิ าการออกแบบ 2.3 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์กราฟกิ 2.3.1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต 3. ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม 3.1 สาขาวิชาพณชิ ยการ 3.1.1 สาขางานการบัญชี 3.1.2 สาขางานการขาย 3.1.3 สาขางานเลขานุการ 3.1.4 สาขางานคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 3.1.5 สาขางานธรุ กิจค้าปลกี 4. ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว 4.1 สาขางานการโรงแรม ( ทวภิ าคี ) 4.1 สาขางานการทอ่ งเที่ยว 2. หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ในเวลาศึกษา 2 ปี โดยผู้สำเรจ็ การศึกษาระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) ม.6 หรอื เทียบเท่า ประเภทและสาขาวชิ าทเ่ี ปิดสอน มีดงั นี้ 1. ประเภทวิชาคหกรรม 1.1 สาขาวชิ าผ้าและเครื่องแต่งกาย

30 1.1.1 สาขางานออกแบบเส้ือผ้า 1.2 สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 1.2.1 สาขางานอาหารและโภชนาการ 1.2.2 สาขางานอาหารและโภชนาการ (ทวภิ าค)ี 1.3 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 1.3.1 สาขางานธุรกจิ ดอกไม้และงานประดิษฐ์ 2. ประเภทวชิ าศลิ ปกรรม 2.1 สาขาวิชาวจิ ิตรศลิ ป์ 2.2 สาขาวชิ าการออกแบบ 2.2.1 สาขางานออกแบบตกแตง่ ภายใน 3. ประเภทวชิ าบริหารธุรกจิ 3.1 สาขาวิชาการบัญชี 3.2 สาขาวชิ าการตลาด 3.3 สาขาการจัดการทว่ั ไป 3.4 สาขาโลการจดั การโลจิสตกิ ส์ 3.5 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ 4. ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทยี่ ว 4.1 สาขาวิชาการทอ่ งเทย่ี ว (ทวภิ าคี) 4.2 สาขาวชิ าการการโรงแรมและบริการ 4.3 สาขาวิชาการจดั ประชมุ และนิทรรศการ

31 3. หลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรี หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สำหรับนกั ศกึ ษาทีส่ ำเรจ็ การศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชัน้ สงู (ปวส.) 1. สาขาวิชาการบญั ชี 2. สาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 9. งานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้อง เสาวลักษณ์ ปัญญาภาส (2555) ศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจเลือกเรียนและความพึงพอใจของ นักศึกษาหลักสูตรปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง 200 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนใน หลักสูตรฯ ได้แก่ ปัจจัยด้านชื่อเสียงสถาบัน ด้านความรู้ความสามารถของคณาจารย์ ด้านหลักสูตรการ เรยี นการสอน ดา้ นวัตถุประสงค์/สาเหตทุ ี่ตัดสนิ ใจเลือกเรยี น และดา้ นค่าใชจ้ ่าย มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การตัดสินใจ เลือกเรียนในหลักสูตรฯ ในระดับมาก และกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในหลักสูตร คณาจารย์ และ ชื่อเสียงสถาบัน ในระดับมาก ส่วนความพึงพอใจเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ดูแลหลักสูตร และสิ่งอํานวยความ สะดวก อยใู่ นระดับปานกลาง ปัทมา วิชิตะกุล (2554) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี เก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง 400 คน วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยใชส้ ถติ ิเชิงพรรณนา ไดแ้ ก่ ความถร่ี อ้ ยละ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และใชส้ ถิติ เชิงอนุมาน ได้แก่ t-test One-way ANOVA และ Multiple Regression ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้าน เป้าหมายหรือจุดประสงค์ ด้านความเชื่อ ด้านค่านิยม ด้านนิสัยและขนบธรรมเนียม มีผลต่อการตัดสนิ ใจ เข้าศกึ ษาต่อในระดบั มาก นางธนวรรณ รักอู่ (2557) ศึกษาปัจจัยเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ เข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อ การ ตัดสนิ ใจเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภฏั กาญจนบรุ ี ประชากรท่ีใช้ คือ นกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภัฏ กาญจนบุรี ระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 ภาคปกติ เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2556 จำนวน 1,171 คน กลุ่ม ตัวอยา่ งจำนวน 300 คน โดยสูตรของทาโร ยามาเน่ และสุม่ กลุ่มตัวอย่างโดยวธิ แี บบชั้นภูมิ เครื่องมือท่ีใช้ ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ประกอบด้วย 5 ด้าน คือ ด้าน ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยมีค่าระดับความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.79 ด้านสถานที่ตั้งมีค่า ระดับความเช่ือ

32 มน่ั เทา่ กับ 0.77 ด้านการประชาสมั พนั ธ์มีคา่ ระดับความเช่ือมนั่ เทา่ กับ 0.91 ดา้ นบคุ ลากรมคี า่ ระดับความ เชอ่ื มน่ั เทา่ กับ 0.92 ด้านหลกั สตู รและการจัดการเรียนการสอน มคี ่าระดับความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย รายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ และค่าสัมประสิทธ์ิ สหสัมพนั ธ์ของเพียรส์ ัน เมธาวี สุขปาน (2556) ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ของนักเรียน กรณีศึกษาวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มอย่าง 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อฯ ด้านความชอบ ความถนัด และความสนใจ และด้านต้นทุน มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ ในระดับ มากที่สุด สำหรบั ด้านหลกั สูตร ดา้ นอิทธพิ ลชักจงู จากบคุ คลอน่ื ๆ ด้านความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ ในระดับมาก ปัจจัยด้านชื่อเสียงสถาบัน ด้านความรู้ ความสามารถ ของคณาจารย์ ด้านหลักสูตรการเรียนการสอน ด้านวัตถุประสงค์/สาเหตุที่ตัดสินใจเลือกเรียน และด้าน คา่ ใชจ้ ่าย มอี ิทธิพลต่อการตัดสนิ ใจเลือกเรยี นในหลักสูตรฯ ในระดบั มาก วิทวัส เหล่ามะลอ (2562) ได้ศึกษาปัจจัยท่ีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรขี อง นักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจ าปีการศึกษา 2562 โดยผ่านการคัดเลือกด้วยระบบ TCAS” มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษา มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2562 โดยผ่านการคัดเลือกดว้ ยระบบ TCAS มกี ลมุ่ ประชากร คือนักศึกษาชั้น ม.6 ที่สนใจเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยใช้แบบสอบถาม ออนไลน์เป็น เครื่องมือในการสำรวจ ซึ่งได้แบบสอบถามทั้งหมด 755 ชุด จากนั้นทำการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ (SPSS for windows (Version 19)) จากผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อ การตดั สนิ ใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษา มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2562 โดยผ่านการคดั เลือกด้วยระบบ TCAS มากที่สุดคือ กลุ่ม ปัจจัยทางด้านสถาบันการศึกษามคี ่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาปัจจัยด้านหลักสูตร และปัจจัย ทางด้านสังคมตามลำดับ ซึ่งสรุปได้ว่าปัจจัยที่มีผลต่อการ ตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นคือปัจจัยทางด้าน สถาบันการศึกษาเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ สูงสุด ผู้ตอบแบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงซึ่งก าลังศึกษาอยู่ระดับชั้น ม.6 โดยที่ส่วนใหญ่เป็น นักเรียนโรงเรียนของรัฐบาล มีเกรดเฉลี่ยสะสม 3.51 ขึ้น ไป และรายได้รวมต่อเดือนของครอบครัว ต่ำกว่า 40,000 บาท และแนวโน้มหรือความต้องการที่จะ ตัดสนิ ใจเข้าศกึ ษาตอ่ ระดับปริญญาตรีของ นกั ศกึ ษามหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจำปีการศึกษา 2562 โดย

33 ผ่านการคัดเลือกด้วยระบบ TCAS อยู่ในระดับมากท่ีสุด ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหคุ ูณโดยใช้ผลจาก การวิเคราะห์ปัจจัย พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อ การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2562 โดยผ่านการคัดเลือกด้วยระบบ TCAS ได้แก่ ปัจจัย ปัจจัยด้านความมีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย และเป็นที่ยอมรับของสังคม และปัจจัยด้านสังคมยกย่องใน ความร้คู วามสามารถ

บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การศึกษา ศกึ ษาปจั จัยในการตดั สินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบญั ชี (ตอ่ เน่ือง) ของนักศึกษาชน้ั ปี ท่ี 1 ระดับปรญิ ญาตรี วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี ในครง้ั น้ี ผศู้ ึกษาได้ดำเนนิ งานตามลำดับข้นั ตอน ดงั ต่อไปน้ี 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 2. เครอื่ งมือท่ีใชก้ ารศึกษา 3. ขนั้ ตอนในการสรา้ งเคร่ืองมอื 4. การเก็บรวบรวมข้อมลู 5. วธิ ีการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิตทิ ใ่ี ช้ในการศกึ ษา 1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 1.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้งั นี้ ไดแ้ ก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี หลกั สตู ร เทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาบญั ชี (ตอ่ เนื่อง) ชั้นปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 วทิ ยาลัย อาชวี ศึกษาชลบรุ ี จำนวน 12 คน ซ่ึงได้มาจากการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 2. เครอื่ งมือที่ใช้ในการศึกษา เครอื่ งมือที่ใช้ในการศึกษาครง้ั นเ้ี ปน็ แบบสอบถาม ซึง่ ประกอบด้วยแบบตรวจรายการ แบบ มาตราส่วนประมาณ และแบบคำถามปลายปดิ และปลายเปิด จำนวน 3 ตอนมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ข้อคดิ เหน็ เกีย่ วกบั ปจั จยั ในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดบั ปริญญาตรี สาขาบัญชี (ตอ่ เน่ือง) ของนักศึกษาชน้ั ปีท่ี 1 ระดับปรญิ ญาตรี วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะและความคดิ เหน็

35 3. ข้นั ตอนในการสร้างเคร่อื งมือ การสร้างเครื่องมือจากแบบสอบถาม ซงึ่ มีรายละเอียดแบง่ เปน็ 3 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อ 1 เพศ ขอ้ 2 ช่วงอายุ ขอ้ 3 จบการศึกษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) จากที่ใด ขอ้ 4 เกรดเฉลีย่ สะสม ตอนท่ี 2 ข้อคดิ เห็นเกย่ี วกบั ปจั จัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในระดบั ปริญญาตรี สาขาบัญชี (ตอ่ เนื่อง) ของนักศึกษาชัน้ ปีท่ี 1 ระดบั ปรญิ ญาตรี วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบรุ ี ลักษณะแบบสอบถามเปน็ แบบมาตราส่วน 5 ระดับ ระดบั 5 หมายถึง เป็นปัจจัยที่มรี ะดบั ความสำคัญมากท่ีสดุ ระดบั 4 หมายถึง เปน็ ปัจจัยที่มรี ะดบั ความสำคญั มาก ระดบั 3 หมายถงึ เปน็ ปัจจัยทมี่ ีระดบั ความสำคญั ปานกลาง ระดบั 2 หมายถึง เป็นปัจจยั ท่มี รี ะดับความสำคญั น้อย ระดับ 1 หมายถึง เปน็ ปัจจยั ท่ีมีระดบั ความสำคัญนอ้ ยทส่ี ุด โดยกำหนดเกณฑ์การแปลความหมายข้อมลู ทเี่ ปน็ คา่ เฉลีย่ ต่าง ๆ คือ คา่ เฉลีย่ ระหว่าง ความหมาย 4.21 – 5.00 เป็นปัจจัยทม่ี ีระดับความสำคัญมากที่สุด 3.41 – 4.20 เปน็ ปัจจยั ทม่ี ีระดบั ความสำคญั มาก 2.61 – 3.40 เป็นปัจจยั ทีม่ รี ะดับความสำคัญปานกลาง 1.81 – 2.60 เปน็ ปจั จยั ทม่ี รี ะดับความสำคญั น้อย 1.00 – 1.80 เปน็ ปัจจัยทีม่ ีระดบั ความสำคญั น้อยท่สี ดุ ตอนท่ี 3 เปน็ คำถามปลายเปิดสำหรับผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ เพิ่มเตมิ และให้ ขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 4.1 ดำเนนิ การแจกแบบสอบถาม โดยแจกแบบสอบถามใหก้ บั กลุม่ เป้าหมาย 4.2 เก็บรวบรวมแบบสอบถาม เพื่อนำข้อมลู ทไี่ ด้มาวิเคราะห์ต่อไป

36 5. การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถิตทิ ่ใี ช้ในการศกึ ษา คะแนนทไ่ี ดจ้ ากแบบสอบถาม หาคา่ ร้อยละ รวมท้ังหาคา่ เฉลีย่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานโดย ใชส้ ตู ร 5.1 ค่ารอ้ ยละ P = ������×100 ������ เมอ่ื P แทน รอ้ ยละ F แทน ความถ่ีทตี่ อ้ งการแปลคา่ ให้เป็นร้อยละ n แทน จำนวนความถที่ ัง้ หมด 5.2 คา่ เฉล่ยี ���̅��� = ∑ ������ เมื่อ ������ ������ แทน ค่าเฉลีย่ ∑ ������ แทน ผลรวมทัง้ หมดของความถ่ี คูณคะแนน N แทน ผลรวมทัง้ หมดของความถ่ีซึ่งมีคา่ เทา่ กบั จำนวนข้อมลู ทัง้ หมด 5.3 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน S.D. = √������ ∑ ������2 − (∑ ������)2 ������(������ − 1) เมอ่ื S.D. แทน ส่วนที่เบ่ียงเบนมาตรฐาน ∑ ������ แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตัว N แทน จำนวนคะแนนในกลมุ่

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ศึกษาปัจจัยในการตดั สินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาบญั ชี (ตอ่ เน่ือง) ของนกั ศกึ ษาชั้นปี ท่ี 1 ระดบั ปริญญาตรี วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี ในครงั้ น้ี ผ้ศู ึกษาเสนอตามลำดบั ดงั น้ี 4.1 สัญลักษณ์ท่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล n แทน จำนวนคนในกลุม่ ตวั อยา่ ง ���̅��� แทน คะแนนเฉล่ยี S.D. แทน สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.2 การนำเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูลในการศกึ ษานี้ ผศู้ ึกษาไดด้ ำเนนิ การวเิ คราะหอ์ อกเปน็ 3 ตอนดงั น้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ข้อคดิ เหน็ เกีย่ วกับปัจจยั ในการตัดสนิ ใจศึกษาต่อในระดับปรญิ ญาตรี สาขาบัญชี (ต่อเนื่อง) ของนักศึกษาชน้ั ปีที่ 1 ระดับปรญิ ญาตรี วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะและความคดิ เหน็

38 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ตอนที่ 1 ข้อมลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางท่ี 1 แสดงความถ่ีและร้อยละของกลมุ่ เปา้ หมาย จำแนกตามเพศ สถานภาพ n = 12 จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 2 16.07 หญงิ 10 83.30 12 100.00 รวม จากตารางที่ 1 พบว่า กลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่เป็นเพศหญงิ จำนวน 10 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 83.30 เพศ ชาย จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16.07 16.07 83.30 ชาย หญิง ภาพท่ี 1 แสดงความถีแ่ ละร้อยละของกลุม่ เปา้ หมาย จำแนกตามเพศ

39 ตารางท่ี 2 แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย จำแนกตามอายุ สถานภาพ n =12 อายุ จำนวน รอ้ ยละ 20 ปี 21 ปี 4 33.30 22 ปี 6 50.00 23 ปขี ้นึ ไป 1 8.30 1 8.30 รวม 12 100.00 จากตารางที่ 2 พบว่ากลุ่มตวั อย่างสว่ นใหญ่อายุ 21 ปี จำนวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.00 อายุ 20 ปี จำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 33.30 อายุ 22 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.30 และอายุ 23 ปีขน้ึ ไป จำนวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 8.30 50.00 8.33 8.33 33.30 20 21 22 23 ปีขนึ้ ไป ภาพท่ี 2 แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกลุม่ เป้าหมาย จำแนกตามอายุ