Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน วิชา ออกแบบ ม.2_2_63 ฉบับส่ง 22_2_64

แผนการสอน วิชา ออกแบบ ม.2_2_63 ฉบับส่ง 22_2_64

Published by rattanaporn, 2021-08-12 08:22:15

Description: แผนการสอน วิชา ออกแบบ ม.2_2_63 ฉบับส่ง 22_2_64

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ รหสั วชิ า ว22191 รายวชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 2 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางรัตนาภรณ์ พรหมเพชร ครูชาํ นาญการพเิ ศษ โรงเรียนหาดใหญ่วทิ ยาลยั อาํ เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา สาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 16 สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

บนั ทึกขอความ สว นราชการ กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โรงเรียนหาดใหญวทิ ยาลยั ท่ี .................................................. วันที่ 15 กุมภาพนั ธ 2564 เร่ือง รายงานการจดั ทาํ แผนการจัดการเรยี นรู เรียน ผอู ํานวยการโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย ตามที่ขาพเจา นางรัตนาภรณ พรหมเพชร ตําแหนง ครู วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานสอนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ว22191 ช่ือวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2จํานวน 0.5 หนว ยกติ จาํ นวน 1 ชว่ั โมง ในภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2563 น้ัน ขาพเจาไดวิเคราะหหลักสูตร จัดทํา  แผนการจัดการเรียนรูระยะยาว  แผนการจัดการเรียนรูรายหนวย และ  แผนการจดั การเรียนรรู ายชวั่ โมง ซ่ึงสอดคลองกบั หลกั สูตรสถานศึกษาเทียบเคียงมาตรฐานสากลโรงเรียนหาดใหญ วิทยาลัย พุทธศักราช ................................ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551/ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนที่เนนผูเรียนเปน สําคัญ เพอ่ื ขออนุมัติและนําไปใชในการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียนให บรรลุเปาหมายของหลักสูตรสถานศึกษาตอ ไป จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดทราบ (นางรัตนาภรณ พรหมเพชร) ตําแหนง ครู วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการพิเศษ ความคิดเห็นผูนิเทศกลุมสาระการเรียนรู ความคิดเหน็ หัวหนากลมุ สาระการเรียนรู ........................................................................................................ ......................................................................................................... ........................................................................................................ ......................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................ ลงช่ือ................................................................ (..........................................................) (นายวชิรพัฒน จิวานชิ ) ความคิดเห็นหวั หนา งานนิเทศ/หวั หนางานจัดการเรยี นรู ความคดิ เห็นผชู ว ย/รองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวชิ าการ ........................................................................................................ ......................................................................................................... ........................................................................................................ ......................................................................................................... .ลงชือ่ ................................................................ ลงชือ่ ................................................................ (..........................................................) (นายนภดล บุญรัศม)ี เสนอเพือ่ พจิ ารณา  อนุมัติ  ไมอนมุ ตั ิ ลงชือ่ ............................................................ (นายอดุ ม ชูลีวรรณ) ผอู ํานวยการโรงเรียนหาดใหญวิทยาลยั

คําอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน รหสั วชิ า ว22191 ชื่อวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2 เวลา 20 ช่ัวโมง จาํ นวน 0.5 หนว ยกติ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาสาเหตุหรือปจ จยั ทท่ี ําใหเกิดการเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยี ตลอดจนคาดการณแนวโนมเทคโนโลยี ในอนาคต เลือกใชเทคโนโลยโี ดยคํานงึ ถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นตอ ชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดลอ ม ประยุกตใชความรู ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห เปรียบเทียบและเลือกขอมูลท่ีจําเปน เพอื่ ออกแบบวิธีการแกปญหาในชุมชนหรือทองถ่นิ ในดา นพลงั งาน สงิ่ แวดลอ ม การเกษตรและอาหาร สามารถสรางชิน้ งานหรือพฒั นาวธิ กี ารโดย ใชก ระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใชวัสดุ อปุ กรณ เคร่ืองมือในการแกป ญ หาไดอยางถูกตอง เหมาะสม และปลอดภัย ตัวช้ีวัด ว 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 1. คาดการณแนวโนมเทคโนโลยีท่ีจะเกิดขึ้นโดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผลตอการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และวิเคราะห เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใชเทคโนโลยี โดยคํานึงถึง ผลกระทบท่ี เกดิ ขึ้นตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม 2. ระบุปญ หาหรอื ความตองการในชุมชนหรือทองถิ่น สรุปกรอบของปญหา รวบรวม วิเคราะหขอมูล และแนวคดิ ที่เกยี่ วขอ งกบั ปญ หา 3. ออกแบบวิธีการแกปญหา โดยวิเคราะหเปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอมูลที่จําเปนภายใต เงื่อนไข และทรพั ยากรท่มี ีอยู นําเสนอแนวทางการแกปญหาใหผ อู นื่ เขาใจ วางแผนข้ันตอนการทํางานและ ดาํ เนินการแกป ญ หาอยางเปน ขัน้ ตอน 4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และอธบิ ายปญ หาหรอื ขอบกพรองท่ีเกิดขึ้น ภายใตกรอบเงื่อนไข พรอมท้ังหา แนวทางการปรับปรุงแกไ ข และนาํ เสนอผลการแกปญ หา 5. ใชความรูและทักษะเก่ยี วกบั วสั ดุ อปุ กรณ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสเพ่ือแกปญหา หรือพฒั นางานไดอ ยา งถกู ตอง เหมาะสม และปลอดภัย รวมท้ังหมด 5 ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู

ตารางวเิ คราะหคําอธิบายรายวชิ า รหสั วิชา ว22191 วชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 2 เนื้อหา จุดประสงค กิจกรรม/กระบวนการ ศึกษาสาเหตุหรือ ป ร ะ ยุ ก ต ใ ช ค ว า ม รู ส า ม า ร ถ ส ร า ง ชิ้ น ง า น ป จ จั ย ที่ ทํ า ใ ห เ กิ ด ก า ร ทั ก ษ ะ แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร โ ด ย หรือพัฒนาวิธีการโดย ใช เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี วิเคราะห เปรียบเทียบและเลือก ก ร ะ บ ว น ก า ร อ อ ก แ บ บ เ ชิ ง ตลอดจนคาดการณแ นวโนม ขอมูลที่จําเปน เพ่ือออกแบบ วิศวกรรม รวมทั้งเลือกใชวัสดุ เทคโนโลยี ในอนาคต วิธีการแกปญหาในชุมชนหรือ อุ ป ก ร ณ เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เลือกใชเทคโ นโ ล ยีโ ดย ท อ ง ถ่ิ น ใ น ด า น พ ลั ง ง า น แ ก ป ญ ห า ไ ด อ ย า ง ถู ก ต อ ง คํานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึน ส่ิงแวดลอม การเกษตรและ เหมาะสม และปลอดภยั ต อ ชี วิ ต สั ง ค ม แ ล ะ อาหาร สงิ่ แวดลอ ม

โครงสรา งรายวชิ าพ้ืนฐาน รหัสวชิ า ว22191 รายวชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 2 ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 2 ลาํ ดับ รหัสตวั ช้ีวัด สาระสาํ คัญ ช่อื หนวย เวลา น้ําหนกั ที่ การเรียนรู (ช่วั โมง) คะแนน 1 ระบุปญหาหรอื ความ 1. ปญ หาหรือความตองการ วเิ คราะหป ญหา 4 15 ตองการในชุมชนหรือ ในชมุ ชนหรอื ทอ งถนิ่ มีหลาย ทอ งถน่ิ สรุปกรอบของ อยา ง ขึ้นกับบรบิ ทหรือ ปญ หา รวบรวม สถานการณท่ีประสบ เชน วเิ คราะหขอมูลและ ดานพลังงาน ส่งิ แวดลอ ม แนวคดิ ท่ีเก่ียวของกับ การเกษตร การอาหาร ปญ หา 2. การระบปุ ญ หาจาํ เปน ตอ ง มีการวิเคราะหสถานการณ ของปญหาเพื่อสรุปกรอบของ ปญ หา แลว ดาํ เนินการสบื คน รวบรวมขอมูลความรจู าก ศาสตรต า ง ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ ง เพอื่ นาํ ไปสกู ารออกแบบ แนวทางการแกป ญ หา

ลาํ ดบั รหัสตวั ชี้วดั / สาระสาํ คญั ชอ่ื หนวย เวลา น้ําหนกั ที่ ผลการเรยี นรู การเรยี นรู (ชั่วโมง) คะแนน 2 1. ออกแบบวิธกี าร 1. การวเิ คราะหเ ปรียบเทยี บ ออกแบบและ 10 25 สรา ง แกปญหาโดยวิเคราะห และตดั สินใจเลือกขอมลู ที่ เปรยี บเทยี บและ จาํ เปน โดยคาํ นงึ ถงึ เงื่อนไขและ ตดั สนิ ใจเลือกขอ มลู ที่ ทรัพยากรเชน งบ ประมาณ จาํ เปน ภายใตเ งอ่ื นไข เวลา ขอ มูลและสารสนเทศ วสั ดุ และทรัพยากรท่ีมีอยู เครือ่ งมือและอุปกรณ ชว ยใหได นําเสนอแนวทางการ แนวทางการแกป ญ หาท่ี แกป ญหาใหผูอ่นื เขาใจ เหมาะสม วางแผนขนั้ ตอนการ 2. การออกแบบแนวทางการ ทาํ งานและดําเนนิ การ แกปญหาทําไดห ลากหลายวิธี แกปญหาอยา งเปน เชน การรางภาพ การเขียน ขั้นตอน แผนภาพการเขียนผังงาน 2. ทดสอบ ประเมินผล 3. การกําหนดขน้ั ตอน และอธิบายปญ หาหรอื ระยะเวลาในการทํางานกอน ขอ บกพรองทเี่ กิดขึ้น ดาํ เนนิ การแกป ญหาจะชว ยให ภายใตกรอบเงอื่ นไข การทํางานสําเรจ็ ไดตาม พรอ มทั้งหาแนว เปา หมาย และลดขอผิดพลาด ทางการปรับปรงุ แกไข ของการทํางานท่ีอาจเกิดข้ึน และนาํ เสนอผลการ 4. การทดสอบและประเมนิ ผล แกปญหา เปน การตรวจสอบชิน้ งานหรือ 3. ใชค วามรู และทักษะ วิธีการวา สามารถแกปญ หาได เกีย่ วกับวสั ดุ อุปกรณ ตามวตั ถุประสงคภ ายใตกรอบ เคร่อื งมอื กลไก ไฟฟา ของปญ หาเพื่อหาขอบกพรอง และอเิ ล็กทรอนิกสเพ่ือ และดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ ให แกปญหาหรือพฒั นา สามารถแกไขปญหาได งานไดอยางถูกตอง เหมาะสมและปลอดภัย

ลาํ ดับ รหสั ตัวช้ีวัด/ สาระสาํ คัญ ช่ือหนวย เวลา นํา้ หนัก ท่ี ผลการเรยี นรู การเรียนรู (ช่ัวโมง) คะแนน 2 5. การนาํ เสนอผลงานเปน การ ออกแบบและ สราง (ตอ ) ถา ยทอดแนวคดิ เพอ่ื ใหผ ูอืน่ เขา ใจเกีย่ วกับกระบวนการ ทาํ งานและชิน้ งานหรือวิธีการที่ ได ซงึ่ สามารถทําไดห ลายวิธี เชน การเขยี นรายงาน การทาํ แผน นําเสนอผลงานการจัด นทิ รรศการ 6. วัสดแุ ตละประเภทมสี มบตั ิ แตกตางกัน เชน ไม โลหะ พลาสติก จงึ ตองมีการวเิ คราะห สมบัติเพื่อเลอื กใชใ หเ หมาะสม กบั ลกั ษณะของงาน 7. การสรางชิ้นงานอาจใช ความรู เร่ืองกลไก ไฟฟา อิเล็กทรอนิกส เชน LED มอเตอร บซั เซอร เฟอง รอก ลอ เพลา 8. อปุ กรณแ ละเครื่องมือในการ สรางชนิ้ งานหรอื พฒั นาวิธีการมี หลายประเภท ตอ งเลือกใชให ถกู ตองเหมาะสมและปลอดภัย รวมทง้ั รูจ กั เกบ็ รักษา

ลาํ ดบั รหัสตัวชี้วัด/ สาระสําคญั ชื่อหนวย เวลา น้าํ หนกั ท่ี ผลการเรียนรู การเรียนรู (ชัว่ โมง) คะแนน เทคโนโลยี 3 คาดการณแนวโนม 1. สาเหตุหรือปจ จัยตา ง ๆ เชน ในอนาคต 4 20 เทคโนโลยที จ่ี ะ ความกาวหนาของศาสตรตา ง ๆ เกดิ ข้ึนโดยพจิ ารณา การเปลยี่ นแปลงทางดานเศรษฐกิจ จากสาเหตุหรือปจจัย สังคม วัฒนธรรม ทําใหเทคโนโลยมี ี ท่ีสง ผลตอการ การเปล่ียนแปลงตลอดเวลา เปลย่ี นแปลงของ 2. เทคโนโลยีแตละประเภทมี เทคโนโลยี และ ผลกระทบตอชวี ติ สังคม และ วเิ คราะหเ ปรยี บเทียบ สง่ิ แวดลอ มท่ีแตกตางกนั จึงตอง ตัดสินใจเลอื กใช วเิ คราะหเ ปรยี บเทยี บขอ ดี ขอเสยี เทคโนโลยี โดย และตัดสนิ ใจเลอื กใชใหเหมาะสม คํานึงถึงผลกระทบที่ เกดิ ข้ึนตอชวี ิต สังคม และสิ่งแวดลอม 4 บรู ณาการ 2 10 สอบปลายภาคเรียน 30 100 รวม ตารางอาจมีการเปลีย่ นแปลงตามความเหมาะสมของเวลาในการสอน

แบบบนั ทึกการออกแบบการวัดและประเมินผล รหัสวชิ า ว22191 รายวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาปที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง จาํ นวน 0.5 หนวยกติ อตั ราสวนคะแนนระหวา งภาค : ปลายภาค 70 : 30 ครูผูสอน นางรัตนาภรณ พรหมเพชร ภาระงาน/ คะแนน มาตรฐาน/ ช้นิ งาน ระหวางภาค หนวย ชอ่ื หนว ย ตวั ช้ีวดั /ผล คุณ (เชค็ จาํ นวน ที่ การเรยี นรู การเรียนรู ลกั ษณะ สมรรถนะ ภาระงาน คาบ กอน กลาง หลัง ปลาย ท่ไี มสง แลว กลาง ภาค กลาง ภาค ภาค ภาค ตดิ ร) 1 วเิ คราะห ม.2/2,ม.2/3, 1. รกั ชาติ 1. 4 10 2 ปญ หา ม.2/4 ศาสน ความสามา 8 10 20 10 30 กษัตริย รถในการ 3 ออกแบบ ม.2/3,ม.2/4, 2. อยู สอ่ื สาร 6 10 4 และสราง ม.2/5 อยาง 2. 25 5 พอเพยี ง ความสามา เทคโนโลยี ม.2/1 ม.2/5 3. รถในการ ในอนาคต ซอ่ื สตั ย คดิ ออกแบบ ม.2/1,ม.2/2,ม. สุจรติ 3. บรู ณาการ 2/3,ม.2/4,ม. 4. มงุ มัน่ ความสามา ในการ รถในการ 2/5 ทาํ งาน แกป ญ หา 5. มวี ินยั 4. 6. รัก ความสามา ความเปน รถในการใช ไทย ทกั ษะชวี ิต 7. ใฝ 5. เรียนรู ความสามา 8. มจี ติ รถในการใช สาธารณะ เทคโนโลยี รวม 25 20 25 30

โครงสรางการจัดเวลาเรียน รหัสวชิ า ว22191 รายวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 หนว ยการเรยี นรู/แผนการจัดการเรยี นรู เวลาเรียน (ช่ัวโมง) 4 หนวยการเรยี นรทู ี่ 1 วิเคราะหปญหา 5 แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 1 มาออกแบบกนั เถอะ 5 4 หนว ยการเรยี นรูที่ 2 ออกแบบและสรา ง 2 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 2 ออกแบบกันกอน แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 3 วางแผน สรางสรรค และนาํ เสนอ หนว ยการเรียนรทู ่ี 3 เทคโนโลยีในอนาคต แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 4 คาดการณเทคโนโลยใี นอนาคต หนวยการเรียนรูที่ 4 บูรณาการ แผนการจดั การเรียนรูที่ 4 การบรู ณาการ รวมทั้งส้นิ 20 1. เปาหมายของวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) การออกแบบและเทคโนโลยี เปนวิชาที่มุงพัฒนาผูเรียนแบบองครวมเพื่อใหมีความรู ความสามารถ มที ักษะในการคดิ วเิ คราะห แกปญหาอยา งเปนข้ันตอน และเปนระบบ เพ่ือแกปญหาในชีวิตจริง อยางสรางสรรค โดยเปนวิชาท่ีเก่ียวกับการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความเขาใจเก่ียวกับเทคโนโลยีเพื่อ ดํารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอ่ืน ๆ เพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคํานงึ ถึงผลกระทบตอชีวิต สงั คม และสิ่งแวดลอม 2. คุณภาพผเู รยี นวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี หลกั สูตรออกแบบและเทคโนโลยี 2จัดใหมีการเรียนการสอนตั้งแตระดับมัธยมศึกษาตอนตน จนถงึ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีความคาดหวงั เพ่ือใหไดค ณุ ภาพผูเ รียนเมอื่ จบการศกึ ษา ดังน้ี

จบชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 3 เขาใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี ไดแ ก ระบบทางเทคโนโลยี การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร หรือคณิตศาสตร วิเคราะห เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพ่ือเลือกใชเทคโนโลยีโดยคํานึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และส่ิงแวดลอม ประยุกตใชความรู ทักษะ และทรัพยากรเพ่ือออกแบบและสรางผลงานสําหรับแกปญหาในชีวิตประจําวันหรือ การประกอบอาชีพ โดยใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใชวัสดุ อุปกรณและเครื่องมือได อยา งถกู ตอง เหมาะสม ปลอดภยั รวมทง้ั คาํ นงึ ถึงทรัพยสนิ ทางปญญา 3. สาระและมาตรฐานการเรียนรู วชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 2 กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใช ความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอื่น ๆ เพื่อแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมี ความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึง ผลกระทบตอ ชวี ิต สังคม และสิ่งแวดลอ มหลักสตู รเทคโนโลยี 1) เปาหมายของหลักสูตร ออกแบบและเทคโนโลยี 2 มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความเขาใจ เกย่ี วกบั เทคโนโลยเี พ่ือดํารงชวี ติ ในสงั คมที่มกี ารเปลย่ี นแปลงอยางรวดเรว็ 2) ใชความรูและทักษะเพื่อแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม บูรณาการกับศาสตรอ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร หรือคณิตศาสตร อยางเหมาะสม เลือกใชเทคโนโลยีโดยคํานึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และส่ิงแวดลอมหลักสูตร ออกแบบและเทคโนโลยี 2 แบงออกเปน 3 หัวขอหลัก ไดแก ความรูและความเขาใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ และ ความรแู ละทักษะพนื้ ฐานเฉพาะดาน หัวขอ หลกั ที่ 1 ความรแู ละความเขาใจเกยี่ วกบั เทคโนโลยี ประกอบดวยหวั ขอยอย ตอ ไปน้ี 1) ความหมายของเทคโนโลยี 2) ระบบทางเทคโนโลยี 3) การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี 4) ความสมั พนั ธระหวางเทคโนโลยกี ับศาสตรอืน่ 5) ผลกระทบของเทคโนโลยี

หัวขอ หลักที่ 2 กระบวนการออกแบบ กระบวนการออกแบบ (design process) ในวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 2เปนกระบวนการ แกปญหาหรือพัฒนางานอยางเปนขั้นตอน โดยใชความรูและทักษะ รวมท้ังความคิดสรางสรรค ซึ่งในท่ีนี้ใช กระบวนการท่ีเรียกวา กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (engineering design process) โดยมีขั้นตอน ดงั น้ี 1) ระบุปญหา 2) รวบรวมขอ มูลและแนวคดิ ทีเ่ กย่ี วขอ งกบั ปญหา 3) ออกแบบวิธีการแกปญหา 4) วางแผนและดําเนนิ การแกป ญ หา 5) ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรุงแกไ ขวธิ กี ารแกป ญหาหรือชิน้ งาน 6) นําเสนอวธิ ีการแกป ญ หา ผลการแกปญ หาหรอื ชิน้ งาน หัวขอ หลักที่ 3 ความรแู ละทักษะพ้นื ฐานเฉพาะดาน ความรูและทักษะพื้นฐานท่ีจําเปนสําหรับการแกปญหาหรือพัฒนางานในออกแบบและ เทคโนโลยี 2 ไดแ ก 1) วัสดุ อุปกรณ และเคร่อื งมือชา งพน้ื ฐาน 2) กลไก ไฟฟา และอเิ ล็กทรอนิกส 4. ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรแู กนกลาง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ชัน้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.2 1. คาดการณแนวโนมเทคโนโลยที ่ี - สาเหตหุ รอื ปจ จัยตา ง ๆ เชน ความกาวหนา ของ จะเกดิ ข้นึ โดยพิจารณาจากสาเหตุหรอื ปจ จัย ศาสตรต า ง ๆ การเปล่ียนแปลงทางดานเศรษฐกจิ ท่สี งผลตอ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี สังคมวัฒนธรรม ทําใหเ ทคโนโลยีมกี ารเปลีย่ นแปลง และวเิ คราะห เปรยี บเทยี บ ตัดสนิ ใจเลอื กใช ตลอดเวลา เทคโนโลยี โดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกดิ ขึ้น - เทคโนโลยแี ตล ะประเภทมีผลกระทบตอชวี ติ สงั คม ตอชีวิต สงั คม และส่ิงแวดลอ ม และสิง่ แวดลอ มทแี่ ตกตางกัน จงึ ตองวิเคราะห เปรยี บเทยี บ ขอ ดี ขอ เสีย และตัดสินใจเลอื กใชให เหมาะสม 2. ระบุปญหาหรอื ความตองการใน - ปญ หาหรอื ความตองการในชมุ ชนหรอื ทอ งถน่ิ มี ชุมชนหรือทอ งถิ่น สรปุ กรอบของปญหา หลายอยาง ข้ึนกับบริบทหรือสถานการณทป่ี ระสบ เชน รวบรวมวเิ คราะหขอมูลและแนวคิดที่ ดานพลังงาน สง่ิ แวดลอม การเกษตร การอาหาร เก่ียวขอ งกับปญ หา - การระบปุ ญหาจําเปน ตองมีการวิเคราะหสถานการณ ของปญหาเพื่อสรปุ กรอบของปญ หา แลวดําเนินการ สบื คน รวบรวมขอมูล ความรูจากศาสตรตาง ๆ ท่ี เกี่ยวขอ ง เพ่อื นําไปสูการออกแบบแนวทางการ แกปญ หา

ชัน้ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง 3. ออกแบบวิธีการแกป ญหา โดย - การวิเคราะห เปรยี บเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กขอมลู ที่ วเิ คราะหเ ปรยี บเทียบ และตดั สนิ ใจเลือก จาํ เปน โดยคํานึงถงึ เงื่อนไขและทรัพยากร เชน ขอ มูลทจ่ี ําเปน ภายใตเงื่อนไขและ งบประมาณเวลา ขอมลู และสารสนเทศ วัสดุ เคร่อื งมือ ทรพั ยากรท่ีมีอยู นาํ เสนอแนวทางการ และอปุ กรณชวยใหไดแนวทางการแกปญ หาที่ แกปญหาใหผูอ่ืนเขา ใจ วางแผนขน้ั ตอนการ เหมาะสม ทาํ งานและดําเนนิ การแกปญ หาอยา งเปน - การออกแบบแนวทางการแกป ญ หาทาํ ไดหลากหลาย ขั้นตอน วธิ ี เชน การรางภาพ การเขียนแผนภาพ การเขยี นผัง งาน - การกําหนดขัน้ ตอนระยะเวลาในการทาํ งานกอน ดาํ เนินการแกป ญ หาจะชวยใหก ารทํางานสาํ เรจ็ ไดต าม เปา หมายและลดขอผิดพลาดของการทํางานท่ีอาจ เกดิ ขึ้น 4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และอธิบาย - การทดสอบและประเมนิ ผลเปน การตรวจสอบชน้ิ งาน ปญหาหรอื ขอบกพรองทีเ่ กิดขึ้น ภายใต หรือวธิ ีการวาสามารถแกป ญ หาไดต ามวตั ถุประสงค กรอบเงื่อนไข พรอมท้ังหาแนวทางการ ภายใตก รอบของปญหา เพือ่ หาขอ บกพรอง และ ปรบั ปรุงแกไข และนาํ เสนอผลการ ดาํ เนนิ การปรับปรงุ ใหส ามารถแกไขปญหาได แกปญหา - การนาํ เสนอผลงานเปนการถา ยทอดแนวคิดเพ่ือให ผูอนื่ เขาใจเก่ยี วกบั กระบวนการทาํ งานและช้นิ งานหรือ วิธีการที่ได ซ่ึงสามารถทําไดห ลายวธิ ี เชน การเขยี น รายงาน การทําแผน นําเสนอผลงาน การจดั นทิ รรศการ 5. ใชค วามรู และทักษะเกีย่ วกบั - วสั ดแุ ตล ะประเภทมีสมบัติแตกตางกัน เชน ไม โลหะ วสั ดุ อปุ กรณเคร่ืองมือ กลไก ไฟฟา และ พลาสตกิ จงึ ตอ งมีการวเิ คราะหสมบตั ิ เพอื่ เลือกใชให อเิ ล็กทรอนกิ สเ พ่อื แกปญหาหรือพัฒนางาน เหมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน ไดอยา งถูกตอง เหมาะสม และปลอดภยั - การสรา งช้ินงานอาจใชค วามรู เร่อื งกลไก ไฟฟา อิเล็กทรอนกิ ส เชน LED มอเตอร บซั เซอร เฟอง รอก ลอ เพลา - อปุ กรณแ ละเคร่ืองมือในการสรา งชน้ิ งานหรอื พฒั นา วิธีการมหี ลายประเภท ตอ งเลือกใชใ หถกู ตอง เหมาะสมและปลอดภยั รวมทั้งรูจ ักเก็บรักษา 5. ทักษะและกระบวนการที่สาํ คัญในวชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 2 การจัดการเรียนรวู ิชาการออกแบบและเทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาความสามารถของผูเรียนในการ แกปญหาหรือพัฒนางานอยางสรางสรรค ผูเรียนจะไดรับการพัฒนาทักษะและกระบวนการที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตผานการจัดการเรียนรูท่ีเนนการลงมือปฏิบัติ ซ่ึงทักษะและกระบวนการสําคัญของวิชาการออกแบบ และเทคโนโลยี ไดแ ก

1) กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เปนกระบวนการแกปญหาหรือพัฒนางาน ประกอบไปดวย ขัน้ ตอน ดังน้ี  ข้ันระบุปญหา (Problem Identification) เปนการทําความเขาใจปญหาหรือความ ตอ งการ วเิ คราะหเงอ่ื นไขหรือขอจํากัดของสถานการณปญหาเพื่อกําหนดขอบเขตของปญหาซ่ึงจะนําไปสูการ สรางช้ิน งานหรอื พฒั นาวธิ ี การในการแกปญ หา  ขั้นรวบรวมขอมูลและแนวคิดที่เก่ียวของกับปญหา (Related Information Search) เปนการรวบรวมขอมูลและแนวคิดทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี หรือศาสตรอื่น ๆ ท่ี เก่ยี วขอ งกับแนวทางการแกปญหา เพอ่ื นาํ ไปสูการออกแบบแนวทางการแกป ญหา  ข้ันออกแบบวิธีการแกปญหา (Solution Design) เปนการนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจําเปนสําหรับการแกปญหาโดยคํานึงถึงเงื่อนไขหรือทรัพยากรท่ีมีอยู แลว ออกแบบแนวทางการแกป ญ หา โดยอาจรา งภาพ เขยี นเปน แผนภาพ หรือผงั งาน  ขั้นวางแผนและดําเนินการแกปญหา (Planning and Development) เปนการ กําหนดลําดับข้ันตอนของการแกปญหา และเวลาในการดําเนินงานแตละขั้นตอน แลวลงมือแกปญหาตามที่ ออกแบบและวางแผนไว  ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือช้ินงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement) เปนการทดสอบและประเมินผลการทํางานของช้ินงานหรือ วธิ ีการ โดยผลท่ไี ดอาจนาํ มาใชในการปรับปรงุ และพฒั นาการแกป ญหาใหมปี ระสทิ ธิภาพมากขึน้  ขั้นนําเสนอวิธีการแกปญหา ผลการแกปญหาหรือชิ้นงาน (Presentation) เปนการนําเสนอ แนวคดิ และข้นั ตอนการสรางชิ้นงานหรอื การพัฒนาวิธกี ารใหผ ูอ นื่ เขาใจ ทั้งน้ี ในการแกปญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมนั้นไมไดมีลําดับข้ันตอนที่แนนอนโดย ข้ันตอนทั้งหมดสามารถยอนกลับไปมาได และอาจมีการทํางานซ้ํา (iterative cycle) ในบางข้ันตอนหาก ตองการพัฒนาหรือปรบั ปรงุ ใหดีขนึ้ 2) การคิดเชิงระบบ เปนการคดิ ถงึ ส่งิ หน่ึงใดทม่ี องภาพรวมเปนระบบ โดยมีหลกั การและเหตุผล มีการ จัดระเบียบขอ มูลหรือความสัมพันธขององคประกอบตาง ๆ ใหเปน แบบแผนหรือกระบวนการท่ชี ดั เจน 3) ความคิดสรางสรรค ใชเทคนิคในการสรางสรรคมุมมองอยางหลากหลายและแปลกใหม ซ่ึงอาจจะ พัฒนาจากของเดิมหรือคิดใหม วิเคราะหและประเมินแนวคิดเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรคใหไดมากที่สุด นาํ ไปสกู ารลงมือปฏิบตั ติ ามความคิดสรางสรรคใหไดผลสําเร็จท่ีเปนรูปธรรม ความคิดสรางสรรคประกอบดวย 4 ลักษณะ คือ (1) ความคิดริเริ่ม เปนความสามารถในการคิดที่แปลกใหม แตกตางจากความคิดเดิม ประยุกตใ หเกิดสิง่ ใหม ไมซ า้ํ กบั ของเดิม (2) ความคิดคลอ ง เปนความสามารถในการคดิ หาคําตอบไดอยางคลองแคลว รวดเร็ว และมี ปรมิ าณมากในเวลาจํากัด (3) ความคิดยืดหยุน เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบไดหลายประเภทและหลาย ทศิ ทาง ดัดแปลงจากสิง่ หนงึ่ ไปเปน หลายสง่ิ ได (4) ความคิดละเอียดลออ เปนความสามารถในการคิดรายละเอียดหรือขยายความคิดหลัก ใหสมบูรณ และรวมถึงการเชื่อมโยงความสมั พนั ธของสิง่ ตาง ๆ อยางมคี วามหมาย

4) การคิดอยางมีวิจารณญาณ เปนการคิดโดยใชเหตุผลที่หลากหลายเหมาะสมกับสถานการณ มีการ วิเคราะหและประเมินหลักฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมองท่ีหลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย และลง ขอ สรุปไดอ ยา งสมเหตสุ มผลรวมทัง้ สะทอนความคดิ โดยใชป ระสบการณและกระบวนการเรียนรู 5) การคิดวิเคราะห เปนการจําแนก แจกแจงองคประกอบตาง ๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเร่ืองใดเรื่อง หน่ึง และหาความสัมพันธเชิงเหตุผลระหวา งองคป ระกอบเหลานน้ั เพื่อคนหาสาเหตุทีแ่ ทจ รงิ ของสง่ิ ทเี่ กดิ ข้นึ 6) การสื่อสาร เปนการเรียบเรียงความคิดและสื่อสารแนวคิดในการแกปญหาใหผูอ่ืนเขาใจอยาง ชัดเจน สามารถใชว ธิ กี ารสอื่ สารเพอ่ื ใหบ รรลุเปาหมายไดหลายรูปแบบ เชน การพูด การเขยี นบรรยาย การราง ภาพ และการใชส ่ือมัลตมิ เี ดีย 7) การทํางานรวมกับผูอื่น เปนความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่น มีความยืดหยุน มีความ รับผิดชอบรวมกันเคารพในความคิด เห็นคุณคา และเขาใจบทบาทของผูอ่ืน เพ่ือทํางานใหบรรลุเปาหมาย รว มกนั ISOMETRIC WEBINAR การจัดการเรียนรู วิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 2 ใชเ วลาในการจัดการเรียนรู 20 ช่ัวโมง เพ่ือใหผ ูเ รียนสามารถบรรลุมาตรฐานการเรียนรู/ ตวั ช้ีวดั ครผู สู อนไดศกึ ษาและทาํ ความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางการจัดการเรียนรูตามท่ีไดเสนอแนะไว อยางไรก็ ตาม ครูผสู อนไดปรับเปลย่ี นกจิ กรรมและออกแบบกจิ กรรมการเรียนรูไดต ามความเหมาะสม โดยคํานึงถึงความ พรอ มและศกั ยภาพของผเู รียนรวมทั้งเปา หมายการจดั การเรียนรูเปน สําคัญ การจัดการเรียนรู วิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 เนนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูผานกิจกรรมที่ให ผเู รียนไดล งมือปฏิบตั ิจริง โดยกจิ กรรมการเรยี นรูไดแ บงเนื้อหาเปน 3 หนวยการเรยี นรู 4 บท ไดแ ก หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 วเิ คราะหปญหา หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 ออกแบบและสราง หนวยการเรยี นรทู ่ี 3 เทคโนโลยีในอนาคต บทที่ 1 มาแกป ญหากันเถอะ ประกอบดว ยหัวขอ 1.1 เทคโนโลยใี นการจัดการส่ิงแวดลอม 1.2 การวิเคราะหส ถานการณปญหา 1.3 การรวบรวมขอมูลเพื่อแกปญหา บทท่ี 2 ออกแบบกนั กอน ประกอบดวยหัวขอ 2.1 การวเิ คราะหแนวทางแกปญหา 2.2 การสรา งทางเลือกในการออกแบบ 2.3 การออกแบบแนวทางการแกปญหา 2.4 การสรางแบบจาํ ลอง บทที่ 3 วางแผน สรา งสรรค และนําเสนอ ประกอบดว ยหวั ขอ 3.1 การวางแผนการแกป ญ หา 3.2 สิง่ ท่ีควรรกู อนลงมอื สรา งชิ้นงาน 3.3 การทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แกไ ข 3.4 การนําเสนอ

บทท่ี 4 คาดการณเ ทคโนโลยีในอนาคต ประกอบดว ยหัวขอ 4.1 การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี และการเลือกใชเทคโนโลยี 4.2 การคาดการณเ ทคโนโลยใี นอนาคต บทท่ี 1 บทท่ี 2 มาแกป ญหากันเถอะ ออกแบบกันกอ น เรอื่ งท่ี ศึกษา บทท่ี 3 บทท่ี 4 วางแผน สรา งสรรค คาดการณเ ทคโนโลยี และนาํ เสนอ ในอนาคต

3) การออกแบบการเรียนรู วิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 การออกแบบการเรียนรูเปนขั้นตอนการวิเคราะหตัวชี้วัด ซ่ึงกําหนดไวในหลักสูตร ไปสูหนวยการ เรยี นรู และแผนการจัดการเรียนรู ดังนี้ (1) การวิเคราะหหลักสูตร เปนการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวช้ีวัด และสาระการ เรยี นรู เพอื่ ใหท ราบวา ตองการใหผเู รยี นเกิดการเรียนรูตามสาระการเรียนรูใด และกําหนดเปนจุดประสงคการ เรยี นรู ทกั ษะและกระบวนการที่ตองการใหเ กดิ กบั ผเู รยี น (2) การกําหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู เปนการพิจารณาแนวทางการจัดการเรียนรูท่ี เหมาะสมกับสาระการเรียนรูทักษะและกระบวนการ เพ่ือใหผูเรียนบรรลุจุดประสงคการเรียนรู โดย ประกอบดวยองคประกอบหลัก ๆ ไดแก กิจกรรมการเรียนรู เปนการกําหนดส่ิงท่ีผูเรียนตองทําเพื่อใหบรรลุ ตามจุดประสงคที่กําหนด โดยควรเขียนเปนลําดับ ขั้นตอนอยางชัดเจน เพ่ือลําดับวิธีการจัดการเรียนรูให มองเห็นภาพตอเน่ืองวาผูเรียนตองทําส่ิงใดกอนหลัง และมีกระบวนการอยางไรบาง หากสามารถระบุถึง บทบาทของครูผูสอนและผูเรียนไดวามีสวนสนับสนุนการจัดการเรียนรูกันไดอยางไรจะทําใหกิจกรรมการ เรียนรมู คี วามหมายชัดเจนยิ่งข้นึ สือ่ การเรยี นรู สือ่ การเรยี นรูถ อื เปนเคร่อื งมอื สาํ คัญย่งิ สําหรบั การจดั การเรียนรูทช่ี วยเชื่อมโยง ความรูจากครูผูสอนไปถึงผูเรียนไดดียิ่งขึ้น ซ่ึงบางครั้งเน้ือหาอยูในรูปแบบที่เปนนามธรรม สื่อการเรียนรูจะ ชว ยทําใหผ เู รยี นเกดิ ความรคู วามเขา ใจเปน รปู ธรรมมากขึ้น ซงึ่ สื่อการเรียนรมู ีหลายประเภท ครูผูสอนตองผลิต หรือเลือกใชใ หเ หมาะสมกบั วัตถปุ ระสงคในการจดั การเรยี นรู (3) การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปนการตรวจสอบวาผูเรียนบรรลุจุดประสงคของการ เรียนรูที่กําหนดไวหรือไม เคร่ืองมือที่ใชในการวัดและประเมินผลมีหลายรูปแบบ การเลือกใชจึงตองพิจารณา ถึงจดุ ประสงคการเรยี นรูแ ละกิจกรรมการเรยี นรูเปน สาํ คญั 4) ส่อื และแหลงเรยี นรู ในการจัดการเรียนรูวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 2ผูเรียนและครูผูสอนสามารถศึกษาหรือเรียนรูได จากแหลงเรยี นรูท่ีมอี ยูไดห ลายแนวทางนอกจากหนังสอื เรยี นและคูมือครูออกแบบและเทคโนโลยี 2โดยอาจใช แหลง เรยี นรอู นื่ เพ่มิ เตมิ ได เชน (1) ภูมิปญญาทองถ่ินท่ีมีอยูในพ้ืนท่ี หรือปราชญชาวบานที่มีประสบการณ บุคคลท่ีประสบ ความสาํ เรจ็ ในงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับเน้อื หาบทเรยี น สามารถเปนผูใหความรูกับผูเรียนได โดยครูผูสอนอาจ ใชวิธีการเชิญวิทยากรมาใหความรูในโรงเรียนหรืออาจพาผูเรียนไปศึกษาดูงานในพ้ืนที่จริงได ทั้งน้ี ครูผูสอน ควรใหประเด็นกับผูเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ตองบันทึกหรือศึกษาระหวาง การศึกษาดูงานแลวนํามาสรุป อภิปราย ขอ คิดทไี่ ดระหวา งเพ่อื นสมาชกิ ในชน้ั เรยี นและครผู ูสอน (2) แหลงวิทยาการ ไดแก สถาบัน องคกร หนวยงาน หองสมุด ศูนยวิชาการท้ังจากภาครัฐ และเอกชนซึ่งใหบริการความรูในเรื่องตาง ๆ โดยครูผูสอนอาจมอบหมายใหผูเรียนไปศึกษาในประเด็นที่ เกย่ี วของกับหัวขอ ที่กําลงั เรียนรูแลว ทาํ สรุปรายงานเพือ่ นําเสนอในช้นั เรียน

(3) สถานประกอบการ สถานประกอบวิชาชีพอิสระ โรงงานอุตสาหกรรม หนวยวิจัยใน ทองถนิ่ ซึง่ ใหบริการความรู ฝก อบรมเกย่ี วกับงาน และวิชาชพี ตาง ๆ ท่มี ีอยูในชุมชนหรือทองถ่ิน โดยครูผูสอน สามารถนําผูเรียนไปศึกษาดูงานในแหลงตาง ๆ เพ่ือใหเกิดประสบการณจริง สามารถเห็นความเชื่อมโยง ระหวา งสิง่ ทไ่ี ดเ รยี นรูในช้นั เรยี นกับบรบิ ทของชีวิตจริง และยังชว ยเปด โอกาส ใหผูเรียนไดศึกษาสภาพปญหาท่ี เกดิ ขึน้ ในสถานการณจรงิ ซ่ึงอาจเปนจดุ เร่มิ ตนของการนาํ มาซ่งึ การพฒั นาหรือสรางแนวทางการแกปญหาดวย กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมไดอกี ดว ย (4) ส่ือส่ิงพิมพตาง ๆ เชน แผนพับ วารสาร หนังสืออางอิง หนังสือพิมพ สื่อเหลานี้เปนสิ่ง สําคญั ท่ีสามารถจัดหาไดงายเพอื่ ใหครผู สู อนสามารถนํามาใชเปนขอมูลอางอิง หรืออาจเปนสถานการณปญหา จากขาวในหนงั สอื พมิ พเ พือ่ ใหผ เู รียนใชเ ปน โจทย สถานการณปญหาในการทาํ กจิ กรรมการเรียนรูไ ด (5) ส่ือดิจิทัล ในเว็บไซตตาง ๆ ท้ังจากในและตางประเทศ ซ่ึงถือเปนแนวทางท่ีสําคัญในการ ใชประกอบการสืบคนขอมูลในสังคมปจจุบันท่ีมีสื่อตาง ๆ จากเว็บไซตจํานวนมาก โดยมีท้ังในรูปแบบของ ขอ ความ รปู ภาพ หรือวิดีโอ ซ่งึ จะชว ยใหเ ขาใจไดงา ยขน้ึ อยา งไรกต็ ามการเลอื กใชแ หลงขอมูลท่ีนาเช่ือถือ การ รูจักคิดวิเคราะห และการมีวิจารณญาณในการเลือกใช รวมท้ังตองรูจักการอางอิงขอมูลที่ไดมา ซ่ึงเปนสิ่ง สําคัญท่ีครูผูสอนตองสรางความตระหนักใหกับผูเรียนในการเคารพสิทธิของผูอ่ืน เชน แหลงเรียนรูออนไลน ของ สสวท. http://learningspace.ipst.ac.th/ แหลงเรียนรูออนไลนของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน (สพฐ.) http://www.dlit.ac.th/pages/classroom.php. 6. การจัดการเรียนรู วิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 การจัดการเรียนรูท่ีสามารถสะทอนหลักสูตร และพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามท่ีหลักสูตรกําหนดควรเปนการเรียนรูโดยเนนใหผูเรียนลงมือปฏิบัติ มีสวน รว มและเปน สว นหนึง่ ของกจิ กรรมการเรียนรู โดยจัดกิจกรรมใหผูเรียนมีโอกาสศึกษาดวยตนเอง ตัดสินใจและ ลงมือปฏิบัติ เพื่อใหเกิดประสบการณตรง แกปญหาในชีวิตจริงผานการวางแผน ออกแบบ ประเมินผล และ นําเสนอผลงานรวมกันเพื่อใหผูเรียนสามารถแกปญหาหรือสนองความตองการโดยสรางชิ้นงานหรือวิธีการ อยางสรางสรรค (Prince, 2004 ; Bonwell , 1991) ครูผูสอนจึงตองมีความรูความเขาใจในหลักการ แนวคิด และจุดเนนท่ีเกี่ยวของกับแนวทางการจัดการเรียนรูของวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2, ตัวอยางแนวทาง ในการจัดการเรียนรู เพ่ือใหผูเรียนเรียนรูโดยผานการลงมือปฏิบัติ เชน การจัดการเรียนรูโดยมีกิจกรรมเปน ฐาน (activity-based learning) ซึ่งเปนการเรียนรูตาง ๆ ท่ีใหผูเรียนลงมือปฏิบัติจริงผานกิจกรรมและมี บทบาทในการคนควาหาความรูดวยตนเอง โดยเนนใหผูเรียนรูจักคิดวิเคราะหและเรียนรูจากกิจกรรมที่ไดทํา จริง และเปดโอกาสใหผูเ รยี นมสี วนรวมในการสรา งองคความรู การสรางปฏิสัมพนั ธและการรวมมือกนั การจดั การเรียนรูโ ดยใชป ญ หาเปนฐาน (problem-based learning) เปนวธิ ีการเรียนรูที่นําปญหามา เปน ตัวกระตนุ ใหผูเรยี นเกิดการเรยี นรผู า นกระบวนการศึกษาคนควาความรูใหมเพ่ืออธิบายหรือแกปญหา โดย มีกระบวนการการจัดการเรียนรูคือ ผูเรียนจะไดรับสถานการณและทําความเขาใจในสถานการณนั้น และ รวมกันระบุปญหา วิเคราะหปญหา อภิปรายหาคําอธิบายตั้งสมมติฐานเพื่อหาคําตอบ พรอมจัดลําดับ ความสาํ คัญของสมมตฐิ านท่เี ปน ไปไดอยา งมเี หตุผล และตอ งพจิ ารณาวาจะตอ งมคี วามรูเรื่องอะไรบางที่จําเปน ในการแกปญหา ผูเรียนรวมกันกําหนดประเด็นการเรียนรูหรือวัตถุประสงคการเรียนรูเพื่อไปคนควาหาขอมูล ตอ ไป ผเู รยี นแตละคนคน ควา หาขอ มลู และศกึ ษาเพิ่มเติมพรอ มทง้ั ประเมินความถูกตอง และนําขอมูลมาใชเพ่ือ ชวยในการออกแบบการแกปญหา (Barrows, 2000) การจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน (project- based learning) เปนการใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา สํารวจ คนควา ทดลอง ประดิษฐคิดคนโดยมีกระบวนการจัดการเรียนรู คือ ครูผูสอนกําหนดขอบเขตของโครงงานอยางกวาง ๆ ให

สอดคลองกับรายวิชา สภาพปญหา หรือความถนัดของผูเรียน และใหผูเรียนออกแบบโครงงานรวมกัน เพ่ือ นําไปสกู ารเขียนเคาโครงและลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไวในเคาโครง ผูเรียนสรุปผานการเขียนรายงานและมี การประเมินโครงงาน (MacDonnell, 2007)จะเห็นวาการจัดการเรียนรูวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 ให ผเู รียนไดฝ กกระบวนการทํางานอยางเปนระบบผานกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ผานการคิดวิเคราะห ลงมือแกปญหาจากสถานการณปญหาท่ีเชื่อมโยงกับชีวิตจริง(real-world problems) ผูเรียนตองฝกการ ทํางานเพอ่ื แกปญ หาไดอ ยางเหมาะสมตามเงอื่ นไข ทรัพยากรท่มี ดี ว ยวิธีการทีห่ ลากหลาย 7. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู แนวทางการวัดและประเมินผลของวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 2มุงเนนท่ีการประเมินตาม สภาพจริง (authentic assessment) โดยวัดและประเมินผล 3 ดาน คือ ความสามารถดานสติปญญา ความสามารถดา นทักษะปฏบิ ตั ิ และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค โดยการประเมนิ ตามสภาพจริงในวิชาออกแบบ และเทคโนโลยี 2ครูผูสอนสามารถประเมินจากผลงานหรือการทํางานของผูเรียนเปนหลัก ผานกระบวนการ สังเกต บันทึก หรือตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกับชิ้นงานและวิธีการของผูเรียน เพื่อใหไดขอมูลเชิงคุณภาพท่ีมี ความตอ เนอื่ ง โดยลกั ษณะสาํ คญั ของการประเมินจากสภาพจรงิ มดี ังน้ี (1) ผสมผสานไปกับการจัดการเรียนรูและตองประเมินอยางตอเนื่อง โดยใชวิธีการ ประเมนิ ท่หี ลากหลาย (2) ใหความสําคัญกับการประเมินกระบวนการคิดที่ซับซอน ความสามารถในการ ปฏิบัติงาน ศักยภาพของผูเรียนในแงของผูผลิตและกระบวนการท่ีไดผลผลิตมากกวาที่จะประเมินวาผูเรียน สามารถจดจําความรอู ะไรไดบาง (3) มุงเนนศักยภาพโดยรวมของผูเรียนทั้งดานความรูพื้นฐาน ความคิดระดับสูง ความสามารถในการแกปญหา การสื่อสารเจตคติ ลักษณะนิสัย ทักษะในดานตาง ๆ และความสามารถในการ ทาํ งานรวมกบั ผอู ่นื (4) ใหความสําคัญตอพัฒนาการของผูเรียน ขอมูลที่ไดจากการประเมินหลาย ๆ ดาน และหลากหลายวิธีสามารถนํามาใชในการวินิจฉัยจุดเดนของผูเรียนท่ีควรจะใหการสงเสริม และวินิจฉัย จุดดอยที่จะตองใหความชวยเหลือหรือแกไข เพ่ือใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตามความสนใจ และ ความสามารถของแตละบุคคล (5) ขอมูลที่ไดจากการประเมินจะสะทอนใหเห็นถึงกระบวนการจัดการเรียนรู และ การวางแผนการสอนของครูผูสอนวาเปนไปตามจุดมุงหมายของการจัดการเรียนรูหรือไม ครูผูสอนสามารถนํา ขอมูลจากการประเมินมาปรับกระบวนการจัดการเรียนรู กิจกรรมและตัวแปรอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของใหเหมาะสม ตอ ไป (6) ผูเรียนมีสวนรวมในการประเมินเพื่อสงเสริมใหรูจักตัวเอง เชื่อมั่นในตนเองและ สามารถพัฒนาตนเองไดทั้งนี้ครูผูสอนสามารถเลือกใชวิธีการหรือเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย โดยตองสอดคลองและเหมาะสมกับจุดประสงคและกิจกรรมการเรียนรู ซึ่งวิธีการหรือเคร่ืองมือวัดท่ีสามารถ นาํ มาใช เชน (6.1) การเขียนสะทอนการเรียนรู เปนวิธีการประเมินดวยการเขียนตอบ ตามประเด็นคําถามที่ครูผูสอนกําหนด เพ่ือตรวจสอบความรูความเขาใจ ทักษะ กระบวนการ ซ่ึงสามารถ ประเมนิ ไดท ้งั ระหวางเรียนและหลังเรยี น คําตอบของผูเรียนจะสะทอนถึงความเขาใจ ความกาวหนาในผลการ เรียนรู เครือ่ งมือที่นิยมใช เชน แบบบนั ทึกการเรียนรู แบบสะทอนการเรยี นรู

(6.2) การทดสอบ เปนวิธีการประเมินความรู ความเขาใจ และทักษะของ ผเู รยี น ซ่ึงครูผสู อนควรเลอื กใชเครอ่ื งมือทดสอบใหตรงตามวัตถุประสงคของการวัดและประเมินผลนั้น ๆ และ ตอ งมีคณุ ภาพ มีความเที่ยงตรง (validity) และความเชื่อม่ัน(reliability) เครื่องมือที่นิยมใช เชน แบบทดสอบ ชนิดตา ง ๆ (6.3) แฟมสะสมงาน เปนวิธีการประเมินดวยการรวบรวมผลงานและ หลักฐานการเรียนรูที่แสดงถึงความรูความสามารถทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงคและพัฒนาการของผูเรียน อยางมีจุดมุงหมาย เพื่อใชในการประเมินความสามารถของผูเรียนในดานตาง ๆ ครูผูสอนจะเลือกผลงานและ หลักฐานชิ้นใดท่ีรวบรวมอยูในแฟมมาประเมินก็ข้ึนอยูกับวัตถุประสงคในการประเมิน เชน หากตองการ ประเมินความสามารถของผูเรียนควรเลือกผลงานหรือชิ้นงานที่ดีที่สุดของผูเรียนมาประเมิน หากตองการ ประเมินพัฒนาการทางการเรียนควรเลือกตัวแทนผลงานในแตละชวงมาประเมิน หากตองการประเมิน กระบวนการทํางานและการแกปญหาควรนํา บันทึกการปฏบิ ตั งิ านของผูเ รียนมาประเมิน (6.4) ผลการปฏิบัติงาน เปนวิธีการประเมินงานหรือกิจกรรมท่ีครูผูสอน มอบหมายใหผูเรียนปฏิบัติงานเพื่อใหทราบถึงผลการพัฒนาของผูเรียน ซ่ึงครูผูสอนตองเตรียมการประเมิน 2 สวน คือ การประเมินภาระงานหรือชิ้นงาน และการประเมินกระบวนการทํางาน เคร่ืองมือท่ีนิยมใช คือ แบบ มาตรประมาณคา และแบบบนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ าน (6.5) การสังเกตพฤติกรรม เปนวิธีการประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรม ตาง ๆ ของผูเรียนระหวางการทํากิจกรรม เพื่อประเมินท้ังดานทักษะการทํางาน และคุณลักษณะอันพึง ประสงค เครอื่ งมอื วัดที่นยิ มใช เชน แบบสังเกตพฤตกิ รรม แบบตรวจสอบรายการ (check list) (6.6) การสัมภาษณ เปนวิธีการประเมินดวยการพูดคุย การซักถามตาม ประเด็นการประเมินที่สนใจ ซ่ึงการสัมภาษณสามารถกระทําได 2 ลักษณะ คือ การสัมภาษณอยางเปน ทางการและไมเปนทางการ เคร่ืองมือวัดท่ีนิยมใช คือ แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง แบบกึ่งโครงสราง และ แบบไมมีโครงสราง

ตารางวเิ คราะห การจดั ทําหนวยการเรียนรู วิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 หนวยการเรียนรูท่ี 1 วิเคราะหป ญหา ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู จาํ นวน จดุ ประสงค กิจกรรม การวัด ระบุปญหา แกนกลาง ชวั่ โมง การเรียนรู การเรยี นรู และประเมินผล หรือความ กจิ กรรมที่ 1 ระบุ 1. การวิเคราะห ตอ งการ 1. ปญ หาหรือความ 4 1. วเิ คราะห ปญ หาและ สถานการณ ในชุมชนหรือ ตองการในชุมชนหรือ สถานการณ รวบรวมขอมลู ปญหา และสรุป ทอ งถนิ่ สรุป ทองถนิ่ มีหลายอยาง ปญ หา และ ภาระงาน: กรอบของปญหา กรอบของ ขึน้ กบั บรบิ ทหรือ สรปุ กรอบ 1.1 สํารวจปญหา 2. การรวบรวม ปญ หา สถานการณทปี่ ระสบ เชน ของปญหา ส่งิ แวดลอ มใน ขอ มูลที่เก่ยี วของ รวบรวม ดา นพลังงาน สงิ่ แวดลอม 2. รวบรวม โรงเรยี น กับแนวทางการ วิเคราะห การเกษตร การอาหาร ขอ มูลท่ี 1.2 วเิ คราะห แกปญ หา ขอ มลู และ 2. การระบปุ ญ หา เก่ียวขอ งกบั ปญหาเพื่อ แนวคดิ ที่ จําเปนตอ งมีการวเิ คราะห แนวทางการ กาํ หนดกรอบของ เก่ียวของกับ สถานการณของปญ หา แกปญหา ปญ หา ปญหา เพื่อสรปุ กรอบของปญหา 1.3 กําหนด แลวดําเนินการสืบคน ประเด็นเพ่ือ รวบรวมขอมูลความรูจาก คน หาขอมูลที่ ศาสตรตาง ๆ ที่เกีย่ วของ เกี่ยวขอ งกบั การ เพ่ือนําไปสูการออกแบบ แกป ญหา แนวทางการแกป ญ หา 1.4 สรุปแนวทาง การแกปญหา อยางนอย 2 แนวทางขึน้ ไป พรอ มระบุ แหลงทมี่ าของ ขอมูล

หนวยที่ 2 ออกแบบและสราง ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง จํานวน จดุ ประสงค กจิ กรรม การวดั ช่วั โมง การเรียนรู การเรยี นรู และประเมนิ ผล 1. ออกแบบ 1. การวเิ คราะหเปรียบเทยี บ 10 1. วิเคราะห กจิ กรรมท่ี 2 1. การวิเคราะห วิธกี าร และตัดสินใจเลอื กขอมลู ท่ี และตดั สินใจ ออกแบบแนวทาง และตัดสินใจ แกป ญหาโดย จําเปน โดยคาํ นงึ ถึงเง่ือนไขและ เลอื กขอมลู ที่ แกป ญหา เลอื กขอมูลท่ี วเิ คราะห ทรพั ยากรเชน งบประมาณ จําเปน โดย ภาระงาน: จาํ เปน โดย เปรยี บเทยี บ เวลา ขอ มูลและสารสนเทศ คาํ นึงถึง 2.1 วเิ คราะห คํานงึ ถึงเงื่อนไข และตดั สนิ ใจ วสั ดุ เครือ่ งมือและอุปกรณ เง่อื นไขและ ทรัพยากรทาง และทรัพยากร เลือกขอมลู ที่ ชว ยใหไดแนวทางการแกป ญ หา ทรพั ยากร เทคโนโลยขี อง เพือ่ หาแนวทาง จําเปน ภายใต ทเี่ หมาะสม เพ่อื หาแนว แนวทางการ การแกปญหา เงอ่ื นไขและ 2. การออกแบบแนวทางการ ทางการ แกปญหาท่ี 2 . ก า ร อ อ ก ทรพั ยากรทมี่ ี แกป ญหาทําไดหลากหลายวธิ ี แกป ญหา รวบรวมขอ มลู ได แ บ บ ชิ้น ง า น อยู นาํ เสนอ เชน การรางภาพ การเขยี น 2. ออกแบบ พรอ มตดั สินใจ หรือวิธกี ารท่ี แนวทางการ แผนภาพการเขียนผงั งาน ชนิ้ งานหรอื เลอื กแนวทางที่ สอดคลองกบั แนว แกปญ หาให 3. การกาํ หนดขนั้ ตอน วิธีการที่ เหมาะสมท่ีสดุ ทางการแกป ญหา ผูอืน่ เขา ใจ ระยะเวลาในการทํางานกอน สอดคลอ ง 2.2 ออกแบบ 3. การนาํ เสนอ วางแผน ดําเนินการแกปญ หาจะชว ยให กับแนว ชนิ้ งานหรอื แนวทางการ ขน้ั ตอนการ การทํางานสําเรจ็ ไดต าม ทางการ วธิ ีการจากแนว แกปญ หาใหผ ูอ่นื ทํางานและ เปา หมาย และลดขอผดิ พลาด แกปญ หา ทางการแกปญหา เขา ใจ ดาํ เนนิ การ ของการทาํ งานที่อาจเกดิ ขึ้น 3. นาํ เสนอ ท่เี ลอื ก 1. การวางแผน แกปญ หาอยาง 4. การทดสอบและประเมินผล แนวทางการ 2.3 สราง การทาํ งานกอน เปน ขนั้ ตอน เปนการตรวจสอบช้นิ งานหรอื แกป ญหาให แบบจําลองของ ลงมือสราง 2. ทดสอบ วิธีการวาสามารถแกปญ หาได ผอู ื่นเขา ใจ ชิน้ งานหรือ ชิ้นงาน ประเมินผล ตามวัตถปุ ระสงคภายใตกรอบ 4. วาง วธิ ีการตามท่ีได 2. การเลือกใช และอธบิ าย ของปญหาเพ่ือหาขอบกพรอง แผนการ ออกแบบ อุปกรณและ ปญหาหรอื และเนนิ การปรบั ปรุงให ทาํ งานกอน 2.4 นาํ เสนอ เครอ่ื งมือ ขอ บกพรองที่ สามารถแกไขปญหาได ลงมอื สราง แนวทางการ เหมาะสมกบั งาน เกิดข้ึน ภายใต 5. การนาํ เสนอผลงานเปน การ ชิ้นงาน แกป ญ หาท่ีเลือก และใชอ ยางถูกวิธี กรอบเง่ือนไข ถา ยทอดแนวคดิ เพอื่ ใหผ อู ่นื 5. เลือกใช พรอมภาพราง 3. การทดสอบ พรอมทง้ั เขาใจเกย่ี วกับกระบวนการ อุปกรณและ และแบบจําลอง ประเมินผลและ หาแนวทาง ทาํ งานและชน้ิ งานหรือวิธีการที่ เครือ่ งมือ ปรับปรงุ แกไข การปรบั ปรงุ ได ซึ่งสามารถทาํ ไดห ลายวิธี เหมาะสมกับ ชิ้นงาน แกไข และ เชน การเขียนรายงาน การทํา งานและใช นาํ เสนอผล แผนนําเสนอผลงานการจดั อยางถูกวธิ ี การแกปญหา นิทรรศการ

ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง จํานวน จุดประสงค กิจกรรม การวดั ชว่ั โมง การเรียนรู การเรยี นรู และประเมินผล 3. ใชค วามรู 6. วัสดุแตละประเภทมีสมบตั ิ 6. ทดสอบ กจิ กรรมที่ 3 4. การนาํ เสนอ และทักษะ แตกตา งกนั เชน ไม โลหะ ประเมินผล วางแผนและสรา ง ผลการทาํ งาน เก่ยี วกบั วสั ดุ พลาสติก จงึ ตอ งมีการวเิ คราะห และปรบั ปรงุ ภาระงาน: ดวยรปู แบบที่ อปุ กรณ สมบตั ิเพื่อเลือกใชใหเหมาะสม แกไขชิ้นงาน 3.1 กาํ หนด เหมาะสม เคร่อื งมอื กบั ลักษณะของงาน 7. นําเสนอ ขนั้ ตอนการ กลไก ไฟฟา 7. การสรา งช้นิ งานอาจใช ผลการ ทํางานและ และ ความรู เรือ่ งกลไก ไฟฟา ทาํ งานดว ย ระยะเวลาทีใ่ ชใน อิเลก็ ทรอนิกส อิเล็กทรอนิกส เชน LED รปู แบบท่ี แตละข้ันตอน เพือ่ แกป ญ หา มอเตอร บซั เซอร เฟอง รอก เหมาะสมวิธี 3.2 สรางชิ้นงาน หรือพัฒนา ลอ เพลา หรือวธิ ีการตาม งานไดอยา ง 8. อปุ กรณแ ละเคร่ืองมือในการ ข้ันตอนท่ีได ถูกตอง สรา งชิ้นงานหรือพัฒนาวิธกี ารมี วางแผนไว เหมาะสมและ หลายประเภท ตอ งเลือกใชให 3.3 ทดสอบการ ปลอดภยั ถูกตองเหมาะสมและปลอดภัย ทาํ งาน ประเมิน รวมทัง้ รูจักเก็บรักษา ผลและปรับปรงุ แกไ ขช้นิ งาน หรือวธิ ีการ 3.4 นําเสนอผล การแกป ญหา ตงั้ แตเ รม่ิ ตน จน สิน้ สดุ กระบวนการ ทํางาน

หนว ยการเรยี นรูท่ี 3 เทคโนโลยใี นอนาคต ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู จาํ นวน จดุ ประสงค กจิ กรรมการ การวดั แกนกลาง ชั่วโมง การเรยี นรู เรียนรู และประเมินผล คาดการณ 1. สาเหตหุ รอื ปจ จยั 4 1. เลือกใช กิจกรรมที่ 4 1. การเลือกใช แนวโนม ตา ง ๆ เชน ความกา วหนา เทคโนโลยี คาดการณ เทคโนโลยีโดย เทคโนโลยที จ่ี ะ ของศาสตรตา ง ๆ การ โดยคํานึงถงึ เทคโนโลยใี น คํานงึ ถึง เกดิ ข้ึนโดย เปลย่ี นแปลงทางดาน ผลกระทบที่ อนาคต ผลกระทบที่ พจิ ารณาจาก เศรษฐกจิ สังคม เกดิ ข้ึนตอ ภาระงาน: เกิดขึน้ ตอชีวติ สาเหตุหรอื วัฒนธรรม ทาํ ให ชวี ติ สังคม 4.1 วิเคราะหและ สังคม และ ปจ จัยท่ีสง ผล เทคโนโลยมี ีการ และ เลือกใช สิ่งแวดลอ ม ตอ การ เปล่ียนแปลงตลอดเวลา สิ่งแวดลอ ม เทคโนโลยีจาก 2. การคาดการณ เปลยี่ นแปลง 2. เทคโนโลยแี ตละ 2. สถานการณท่ี แนวโนม ของเทคโนโลยี ประเภทมีผลกระทบตอ คาดการณ กําหนดโดย เทคโนโลยีใน และวิเคราะห ชีวติ สงั คม และ แนวโนม คํานึงถึงชวี ิต อนาคต เปรียบเทียบ ส่งิ แวดลอ มที่แตกตางกัน เทคโนโลยีใน สงั คม และ ตัดสินใจ จงึ ตอ งวิเคราะห อนาคต สิง่ แวดลอม เลอื กใช เปรยี บเทยี บขอดี ขอเสีย 4.2 คาดการณ เทคโนโลยี และตดั สนิ ใจเลอื กใชใ ห เทคโนโลยใี น โดยคาํ นึงถงึ เหมาะสม อนาคตโดย ผลกระทบท่ี วเิ คราะหจาก เกิดข้นึ ตอชวี ติ ปจจยั ตาง ๆ ท่มี ี สงั คมและ ผลตอการ สงิ่ แวดลอม เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี หนว ยการเรียนรทู ่ี 4 บรู ณาการ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู จํานวน จดุ ประสงค กิจกรรมการ การวดั แกนกลาง ชว่ั โมง การเรียนรู เรยี นรู และประเมินผล การบูรณาการ 2 1. การบรู ณา ใหผ เู รียน กลุมสาระฯ การในกลมุ ออกแบบ Model ตรวจชิน้ งาน สาระการ ญ.ว. สวยดวยมอื เรียนรทู กุ เรา กลุมสาระ

แผนการจัดการเรยี นรู เรอ่ื ง ปฐมนิเทศ รหัสวชิ า ว22191 รายวชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 2 ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง 0.5 หนว ยกติ ชอื่ ครผู สู อน ครรู ตั นาภรณ พรหมเพชร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ มาตรฐานการเรยี นรู ว 4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใช ความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอ่ืน ๆ เพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมี ความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึง ผลกระทบตอ ชวี ติ สังคม และสิ่งแวดลอ มหลกั สตู รเทคโนโลยี ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู 1. ตวั ช้ีวัด ม.2/1 คาดการณแนวโนมเทคโนโลยีท่ีจะเกิดข้ึนโดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปจจัยท่ีสงผล ตอการเปล่ียนแปลง ของเทคโนโลยี และวิเคราะห เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใชเทคโนโลยี โดยคํานึงถึง ผลกระทบท่ีเกดิ ข้นึ ตอ ชีวติ สงั คม และสงิ่ แวดลอม ม.2/2 ระบุปญหาหรือความตองการในชุมชนหรือทองถิ่น สรุปกรอบของปญหา รวบรวม วิเคราะหขอมลู และแนวคดิ ทเ่ี กยี่ วของกบั ปญ หา ม.2/3 ออกแบบวิธกี ารแกปญ หา โดยวเิ คราะหเ ปรยี บเทยี บ และตัดสนิ ใจเลือกขอมูลท่ีจําเปน ภายใตเง่ือนไข และทรัพยากรที่มีอยู นําเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอ่ืนเขาใจ วางแผนข้ันตอนการทํางาน และ ดําเนินการแกป ญหาอยางเปนขั้นตอน ม.2/4 ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปญหาหรือขอบกพรองท่ีเกิดข้ึน ภายใตกรอบ เง่อื นไข พรอ มทั้งหา แนวทางการปรับปรงุ แกไ ข และนาํ เสนอผลการแกปญหา ม.2/5 ใชความรูและทักษะเกีย่ วกับวสั ดุ อุปกรณ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส เพ่อื แกปญ หา หรอื พัฒนางานไดอ ยางถูกตอง เหมาะสม และปลอดภยั 2. สาระการเรียนรู 1) มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชี้วัด/คาํ อธิบายรายวิชา/โครงสรางรายวชิ า 2) สาระการเรยี นรู 3) กจิ กรรมการเรยี นรู

4) แบบทดสอบ/แบบวิเคราะหผ ูเรยี นเปน รายบุคคล/ภาระงาน/ชิ้นงาน 5) เกณฑการวัดผลประเมนิ ผลในการเรยี น จุดประสงคการเรียนรู 1. ผเู รียนมีความรู ความเขาใจเกย่ี วกับการจัดการเรียนการสอน รายวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 (ว22191) ได 2. ผเู รยี นมีความสามารถและมที ักษะในการปฏิบัติงานที่สอดคลอ งกับการออกแบบและเทคโนโลยี 3. ผูเรียนมีเจตคติ และมีความกระตือรือรน มีความรับผิดชอบตอการจัดการเรียนการสอนและการ ทาํ กจิ กรรมตามทีค่ รมู อบหมาย สาระสําคญั การจัดการเรียนรูรายวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 (ว22191) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 เปน การจัดการเรียนการสอน เพ่ือใหผูเรียนศึกษาหาสาเหตุหรือปจจัยท่ีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี สามารถคาดการณแนวโนมเทคโนโลยีในอนาคต สามารสรางช้ินงานโดยการนํากระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรมมาใช การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนน้ันไดสอดคลองกับโครงสรางรายวิชาในหลักสูตร แกนกลางตามท่ี สพฐ.กําหนด ซึ่งตรงกับมาตรฐานตัวชี้วัด ว4.1 กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ประกอบดวย 3 หนว ยการเรยี นรู คอื วเิ คราะหปญ หา ออกแบบและสราง เทคโนโลยีในอนาคต ดา นความรู (Knowledge) เทคโนโลยี เปนสิ่งท่ีมนุษยสรางหรือพัฒนาข้ึน ซ่ึงอาจเปนไดทั้งชิ้นงานหรือวิธีการ เพ่ือใชแกปญหา สนองความตองการหรือเพ่ิมความสามารถในการทํางานของมนุษย กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เปนกระบวนการแกปญหาหรือพัฒนางาน ชวยสรางแนวทางท่ีเหมาะสมในการแกปญหาหรือสนองความ ตองการอยา งเปนข้นั ตอน ดา นทักษะ/กระบวนการ (Process) 1. ทักษะการส่ือสาร 2. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ 3. ทกั ษะการแกป ญ หา 4. ทักษะการทํางานรว มกบั ผอู ่นื ดานคณุ ลกั ษณะ (Attitude) ดานคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน 2551 (Attitude)  รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย  อยอู ยา งพอเพียง  ซอ่ื สัตยสุจริต  มุงมัน่ ในการทํางาน  มวี ินยั  รักความเปน ไทย  ใฝเรยี นรู  มจี ิตสาธารณะ ดา นสมรรถนะสาํ คญั ของผูเรียน  ความสามารถในการส่ือสาร :- - มีความสามารถในการรบั – สงสาร, - มีความสามารถในการถายทอดความรู ความคดิ ความเขาใจของตนเอง โดยใช

ภาษาอยา งเหมาะสม - มีความสามารถในการใชว ิธกี ารสอ่ื สารทเี่ หมาะสม  ความสามารถในการคิด :- - มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห สงั เคราะห - มีความสามารถในการคิดอยางมีระบบ - มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจแกป ญหาเก่ียวกับตนเองได  ความสามารถในการแกป ญหา : - ใชเ หตุผลในการแกป ญหา - แสวงหาความรู ประยุกตความรมู าใชใ นการปองกันและแกไขปญหา - สามารถตัดสนิ ใจไดเ หมาะสมตามวยั  ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต : - เรยี นรดู วยตนเองไดเ หมาะสมตามวยั - สามารถทาํ งานกลมุ รว มกับผอู นื่ ได - นาํ ความรูทีไ่ ดไปใชป ระโยชนในชีวิตประจาํ วัน  ความสามารถในการใชเทคโนโลยี : - เลอื กและใชเทคโนโลยีไดเ หมาะสมตามวัย - มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี - สามารถนําเทคโนโลยีไปใชพัฒนาตนเอง - ใชเ ทคโนโลยีในการแกป ญ หาอยางสรางสรรค ดา นคณุ ลกั ษณะของผเู รยี นตามหลักสตู รมาตรฐานสากล เปนเลิศวิชาการ  ส่ือสารสองภาษา  ลา้ํ หนาทางความคิด  ผลิตงานอยา งสรา งสรรค  รว มกนั รบั ผิดชอบตอ สงั คมโลก ดานคณุ ลกั ษณะผูเรยี นในศตวรรษท่ี 21 3 Rs  Reading การอา นออก  Writing การเขียนได  Arithmetic การคิดเลขเปน 8 Cs  Critical Thinking and Solving Problem : คดิ อยา งมีวจิ ารณญาณและมีทักษะในการ แกปญ หา  Creativity and Innovation : ทักษะดา นการสรา งสรรคและนวัตกรรม  Collaboration Teamwork and Leadership : ทกั ษะการรวมมือและการทาํ งานเปนทมี ภาวะ ผูน าํ  Cross cultural Understanding : ทักษะดานความเขาใจความตา งของวัฒนธรรม ตางกระบวน ทศั น  Communication Information and Media Literacy : ทกั ษะดานการสอ่ื สาร สารสนเทศและ การรูทันส่อื  Computing and Media Literacy : ทักษะดานคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร  Career and Learning Skills : ทกั ษะอาชพี และการเรยี นรู

 Compassion : ความมีเมตตา กรุณา วนิ ัย คุณธรรมและจริยธรรม บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลกั ความพอประมาณ 2. หลักความมเี หตุผล 3. หลักภมู ิคุมกนั 4. เง่ือนไขความรู 5. เงื่อนไขคณุ ธรรม ทมี่ า :- https://mynameiskemmy.blogspot.com/2018/01/blog-post.html กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนําเขาสูบทเรยี น 1) ครูผูสอนทักทายผูเรียน และทําความรูจักกับผูเรียน เน่ืองจากผูเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่2 เคยผานการเรียนการสอนวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 1 ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 มาแลว ยกเวน นกั เรียนทย่ี า ยจากโรงเรียนอน่ื มาเรยี น ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 2 ท่ีโรงเรียนหาดใหญวิทยาลยั 2) ครูผสู อนสอบถามผูเรยี นเกี่ยวกบั การใชช ีวิตประจาํ วันในชวงโควดิ 19 วา ผเู รียนทําอะไรบาง ขน้ั สอน 1) ครูผูสอนใหผูเรียนเขา Google Classroom เพ่ือลงทะเบียนรายวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 https://classroom.google.com/u/2/h โดยใหผ เู รียนเขาทางรหสั ของช้นั เรียน ดงั น้ี - ม.2/8 รหสั ของชน้ั เรยี น xOD ที่ หอง รหัสของช้นั เรียน ผูเรียนเปล่ียนช่ือกลุม ใน Line กลุม 2) 1 ม.2/8 g3jjd4c 2 ม.2/9 g5rus46 3 ม.2/10 d5f7qdi 4 ม.2/11 73oxhkv 5 ม.2/12 js2iof6 6 ม.2/13 wp4ygbz 7 ม.2/14 jbflggb

จากคําวา “ICT_1_หองเรียน_ภาคเรียน_ปการศึกษา” เชน ของเดิม ICT_1_8_2_62” ก็จะเปล่ียนมาเปน ICT_2_8_2_63 แทน ซึ่งกลุม Line สรางไวเพ่ือการติดตอสื่อสารกับครูผูสอน การสงงานทาง Note ทาง อัลบั้ม 3) ครูผสู อนอธิบายเก่ยี วกับ คําอธบิ ายรายวิชา โครงสรางรายวิชา ตัวช้ีวัด มาตรฐานการเรียนรู และ สัดสวนคะแนน ฯลฯ 4) ครผู ูสอนสอบถามผูเรยี นความรเู ดิมท่เี คยเรยี นในรายวชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 1 5) ครูผูสอนพูดคยุ กับผเู รยี น เร่ือง โครงงานท่จี ะตองทาํ ในภาคเรียนนี้ ขน้ั สรุป 1) ผูเรียนและครูรวมกันสรุป เกี่ยวกับคําอธิบายรายวิชา โครงสรางรายวิชา ตัวชี้วัด มาตรฐาน การเรียนรู และสดั สวนคะแนน ฯลฯ 2) ผเู รียนสามารถบอกแนวปฏิบตั ิในการเขา เรียนทาง Google Classroom ได 3) ผเู รยี นสามารถบอกไดวา เรยี นอยางไรจงึ จะไดผลการเรียนทดี่ ไี ด 4) ผเู รยี นสามารถบอกแนวปฏบิ ตั ิหรอื ขอ ตกลงการเขา เรียนในรายวชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 2 สอื่ /วสั ดุอุปกรณ/ แหลง เรียนรสู อ่ื และอปุ กรณ สื่อและอุปกรณ กิจกรรม เร่อื ง เวลา (นาที) ใบงาน การวิเคราะหผ เู รยี นรายบุคคล (ผานระบบ Online) 10 2. แหลงเรยี นรู 1) https://classroom.google.com/u/2/h 2) แบบประเมินผเู รยี นรายบุคคล https://docs.google.com/forms/d/1CdhRbujj_ZlZVBb5DAdF8e4h8qJcSNawMLcj4HKcpBA/edit? edit_requested=true การวัดและประเมินผล รายการประเมนิ วิธกี ารวัด เคร่ืองมือที่ใชวดั เกณฑการประเมนิ การผา น การวเิ คราะหผ เู รียน ตรวจเอกสารแบบ แบบวิเคราะหผเู รยี น ผูเ รยี นตอบแบบประเมินการ รายบคุ คล วิเคราะหผ ูเ รียน รายบุคคล วเิ คราะหผ ูเรยี นรายบุคคลผา น รายบคุ คลผา น ระบบ Online ระบบ Online

แบบนิเทศแผนการจดั การเรียนรู โรงเรียนหาดใหญว ทิ ยาลัย สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 16 ครูผสู อน นางรัตนาภรณ พรหมเพชร ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 2 กลุม สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี หนว ยการเรยี นรทู ่ี ช่อื หนวยการเรียนรู เวลา......1.... ช่วั โมง แผนการจัดการเรียนรูที่ เรื่อง ปฐมนเิ ทศ เวลา......1.... ช่วั โมง คําชี้แจง โปรดกาเคร่ืองหมาย  ในชองท่ีแสดงคุณภาพการจัดการเรียนรู ที่ รายการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ 1 ขอเสนอแนะ 432 1 ความครบถว นขององคประกอบของแผนการจัดการเรียนรู  ชอ่ื หนวยการเรียนรู  เรื่องทีส่ อน  เวลา  มาตรฐานการเรยี นรู  ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู  จดุ ประสงคก ารเรยี นรู  สาระสาํ คญั  สาระการเรียนรู  ช้ินงานหรอื ภาระงาน  กจิ กรรมการเรยี นร/ู กระบวนการเรียนรู ระบุอง คประกอบครบ ถวน 14 -18 รายการ ระบุอง คประกอบครบ ถวน 10-13 รายการ  สือ่ การจัดการเรยี นร/ู แหลงการเรยี นรู ระบุอง คประกอบครบ ถวน 7-9 รายการ ระบุอง คประกอบครบ ถวน 4-6 รายการ  การวดั และประเมินผล ระบุอง คประกอบครบ ถวน 1-3 รายการ  คุณลกั ษณะอันพึงประสงค  สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน  คณุ ลกั ษณะของผเู รยี นตามหลักสตู รมาตรฐานสากล  คุณลกั ษณะของผเู รยี นในศตวรรษท่ี 21  การบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  บนั ทึกผลหลังการเรยี นรู

ที่ รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ขอเสนอแนะ 54321 2 จุดประสงคการเรยี นรมู ีความสอดคลอ งกบั ตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นรู 3 สาระสําคัญสอดคลอ งกับตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู 4 สาระการเรียนรูสอดคลองกับตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู 5 ช้นิ งานหรือภาระงานสอดคลองกับตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู 6 กิจกรรมการเรียนรูสง เสริมใหเกดิ ความรู/ทักษะ/กระบวนการ/คณุ ลักษณะ ทร่ี ะบใุ นจุดประสงคการเรียนรู 7 กิจกรรมการเรียนรูเ ปนกจิ กรรมทีเ่ นนผูเรียนเปนสาํ คัญ 8 กิจกรรมการเรียนรเู ปน กจิ กรรมทเี่ นน Active Learning 9 กจิ กรรมการเรียนรทู ีร่ ะบใุ นแผนมคี วามเปนไปไดในการนําไปสอนจริงทงั้ ดานเวลาและการนําไปใช 10 รายการวัดผลสอดคลอ งกบั จุดประสงคการเรยี นรูทรี่ ะบใุ นแผนการจดั การ เรียนรูครบทุกขอ 11 บนั ทึกผลการเรยี นรนู าํ เสนอขอมูลเชงิ ปรมิ าณท่ีตอบตามจุดประสงคก าร เรียนรแู ละเชงิ คณุ ภาพทน่ี ําสูการพฒั นาแผนการจัดการเรียนรู ภาคผนวกของแผนการจดั การเรยี น 12 นําเสนอสือ่ /แหลงเรยี นรูทีใ่ ชประกอบ 13 นําเสนอเครื่องมือทใ่ี ชใ นการวัดผล 14 เครอ่ื งมือที่ใชในการวัดผลมคี ุณภาพเบื้องตน รวมระดับความถใ่ี นแตล ะระดบั คณุ ภาพ คาเฉล่ียโดยรวม เกณฑค ุณภาพ 4.50-5.00 ระดบั คุณภาพดีเยยี่ ม 3.50-4.49 ระดับคุณภาพดี 2.50-3.49 ระดบั คุณภาพปานกลาง 1.50-2.49 ระดับคุณภาพพอใช 1.00-1.49 ระดบั คุณภาพปรบั ปรุง บนั ทึกความเห็นเพ่ิมเติม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชอ่ื ).................................................................ผูนิเทศ (.....................................................................)

แบบสงั เกตการณก ารจดั การเรยี นรู โรงเรยี นหาดใหญว ทิ ยาลยั สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 16 วันท.่ี ...........เดือน.............................................พ.ศ............... ครูผสู อน นางรัตนาภรณ พรหมเพชร ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 2 กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หนว ยการเรยี นรูที่ ชอ่ื หนวยการเรยี นรู เวลา............ชวั่ โมง แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1 เร่อื ง ปฐมนิเทศ เวลา............ชวั่ โมง คาํ ชแ้ี จง โปรดกาเครอื่ งหมาย  ในชอ งท่แี สดงระดบั ปฏิบตั ิการจัดการเรยี นรู ที่ รายการประเมนิ ระดบั ปฏิบัติ ขอเสนอแนะ ปฏิบตั ิ ไมป ฏบิ ตั ิ ข้ันนาํ 1 ครูดาํ เนินการสอนเปน ลาํ ดับตามแผนการจัดการเรียนรู 2 ครูแจงภาระงาน/การเรียนรู/ มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู ขั้นสอน 3 ครกู ระตุนใหผเู รียนมสี วนรวมในกระบวนการเรียนรขู ้นั การจัดกิจกรรม 4 นกั เรียนทํา/รว มกจิ กรรมตามกระบวนการเรียนรู (วางแผน ลงมือทํา สรุป ประเมนิ ผล) 5 นกั เรียนไดเรยี นรูจากส่ือทรี่ ะบุไวใ นแผนการจัดการเรียนรู 6 นักเรยี นไดรับการเสรมิ แรง (วาจา ทาทาง ฯลฯ) ขัน้ สรปุ –ประเมิน 7 นกั เรยี นไดร บั การวดั และประเมนิ ผลดา นความรู 8 นกั เรยี นไดร ับการวัดและประเมินผลดา นทักษะ/กระบวนการ 9 นักเรียนไดร ับการวัดและประเมินผลดา นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค 10 นกั เรียนไดร ับการวัดและประเมินผลดา นสมรรถนะสาํ คญั 11 มกี ารทบทวนและสรปุ ความรหู รอื ทักษะท่สี อนรว มกันเพอ่ื ใหผ เู รยี นเขา ใจ และ แมนยาํ ในสิ่งท่ีเรยี นรูมากขน้ึ 12 นักเรยี นไดร บั ขอ มลู ยอนกลบั ผลการปฏิบตั ิ ผลการเรยี นรทู ีเ่ กิดขึ้น 13 บรรยากาศการเรยี นรู 13.1 ครู-นักเรยี นแลกเปล่ยี นเรยี นรูซ่งึ กนั และกนั 13.2 เอาใจใสและชวยเหลือผูเรียนไดอ ยางทั่วถึงทุกกลุม 13.3 สรางวินยั ในชนั้ เรยี นดว ยความเปน กัลยาณมติ ร 13.4 นักเรยี นเรยี นรูอยางสนุกสนาน 13.5 นกั เรียนรูจ ักบทบาท หนาทข่ี องตนเอง รวมความถขี่ องระดบั การปฏบิ ตั ิ สรปุ ตามเกณฑการประเมิน

เกณฑก ารประเมนิ ปฏิบัติ 16-17 รายการ = ระดับปฏิบัติ 5 (มากทสี่ ุด) ปฏิบตั ิ 13-15 รายการ = ระดับปฏิบัติ 4 (มาก ) ปฏบิ ตั ิ 9-12 รายการ = ระดับปฏิบตั ิ 3 (ปานกลาง) ปฏิบัติ 5-8 รายการ = ระดบั ปฏิบัติ 2 (นอ ย) ปฏิบตั ิ 1-4 รายการ = ระดบั ปฏบิ ัติ 1 (ปรับปรงุ ) ผนู ิเทศใหขอมลู ยอนกลบั เพ่ือเปนแนวทางในการพฒั นาตอ ยอดการเรยี นรู ดงั น้ี 1. จดุ เดนของการสอนในชวั่ โมงนี้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ส่ิงทีค่ วรปรับปรุง/พัฒนา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความคดิ เห็นหรอื ขอเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ...................................ผนู เิ ทศ ลงชอ่ื ....................................ผนู เิ ทศ ลงชือ่ ....................................ผนู ิเทศ (.....................................................) (..................................................) (....................................................) ............../........................./........... ............../.........................../........... ............../........................./........... ความคิดเห็นหวั หนาฝา ยวิชาการ ความคิดเห็นรองผอู าํ นวยการกลมุ บริหารวิชาการ ....................................................................................................... .................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ลงชือ่ ....................................................... ลงช่ือ....................................................... (................................................................) (นายนภดล บญุ รัศม)ี

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 2 เรอื่ ง มาแกป ญหากนั เถอะ รหัสวชิ า ว22191 รายวชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 2 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 หนวยการเรยี นรูท่ี 1 วิเคราะหปญ หา เวลา 4 ชั่วโมง 0.5 หนวยกิต ชอ่ื ครผู ูสอน ครรู ัตนาภรณ พรหมเพชร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ มาตรฐาน ว 4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใช ความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอ่ืน ๆ เพื่อแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมี ความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึง ผลกระทบตอ ชีวติ สงั คม และส่งิ แวดลอมหลักสตู รเทคโนโลยี ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู 1. ตวั ช้วี ัด ระบุปญหาหรือความตองการในชุมชนหรือทองถิ่น สรุปกรอบของปญหา รวบรวม วิเคราะห ขอ มลู และแนวคดิ ที่เก่ียวของกับปญ หา 2. สาระการเรยี นรู 1) ปญ หาหรอื ความตอ งการในชมุ ชนหรอื ทองถิ่น มีหลายอยาง ข้ึนกับบริบทหรือสถานการณ ทีป่ ระสบ เชน ดา นพลังงานส่งิ แวดลอ ม การเกษตร การอาหาร 2) การระบปุ ญหาจําเปนตองมีการวิเคราะหสถานการณของปญหาเพื่อสรุปกรอบของปญหา แลวดําเนินการสืบคนรวบรวมขอมูล ความรูจากศาสตรตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ เพ่ือนําไปสูการออกแบบแนว ทางการแกป ญ หา จดุ ประสงคก ารเรียนรู 1. วเิ คราะหสถานการณปญ หา และสรุปกรอบของปญหา 2. รวบรวมขอ มูลที่เก่ยี วขอ งกับแนวทางการแกป ญ หา

สาระสาํ คัญ การวิเคราะหสถานการณป ญ หา ทาํ ใหทราบถึงประเดน็ ปญ หารวมท้ังเงือ่ นไขหรอื ขอมูลท่ีเก่ียวของ กับ ปญหา เม่อื นําขอ มูลทีไ่ ดจ ากการวิเคราะหมาเขียนสรุปเปนกรอบของปญหาจะชวยใหปญหานั้นมีความชัดเจน ย่งิ ข้นึ ซ่งึ กรอบของปญ หานถี้ ือเปน สิ่งสาํ คญั ทีจ่ ะเปน ขอบเขตในการศกึ ษาหาแนวทางการแกป ญ หาตอไป การรวบรวมขอมูลท่ีเก่ียวของกับการแกปญหา เปนการมุงหาแนวทางหรือวิธีการท่ีจะนํามาใชในการ แกปญหาอยางเหมาะสม ขอมูลท่ีสืบคนอาจมาจากหลายศาสตร และมีวิธีการสืบคนขอมูลหลายวิธี อยางไรก็ ตามควรสบื คนจากแหลง ขอ มลู ทีน่ าเชอ่ื ถอื และตองมีการอา งอิงแหลงที่มาของขอมลู นัน้ ดวย ดา นความรู (Knowledge) เทคโนโลยี เปนส่ิงที่มนุษยสรางหรือพัฒนาขึ้น ซ่ึงอาจเปนไดท้ังช้ินงานหรือวิธีการ เพ่ือใชแกปญหา สนองความตองการหรือเพิ่มความสามารถในการทํางานของมนุษยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เปน กระบวนการแกปญหาหรือพัฒนางาน ชวยสรางแนวทางที่เหมาะสมในการแกปญหาหรือสนองความตองการ อยางเปนขั้นตอน ประกอบดวย ระบุปญหา รวบรวมขอมูลและแนวคิดที่เกี่ยวของกับปญหาออกแบบวิธีการ แกปญหา วางแผนและดําเนินการแกปญหา ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือ ช้ินงานนําเสนอวธิ กี ารแกป ญ หา ผลการแกปญ หาหรือช้ินงาน ดานทักษะ/กระบวนการ (Process) 1. ทกั ษะการส่อื สาร 2. ทกั ษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ 3. ทักษะการแกปญ หา 4. ทกั ษะการทํางานรว มกับผูอนื่ ดานคุณลักษณะ (Attitude) ดา นคุณลักษณะอนั พึงประสงคต ามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (Attitude)  รักชาติ ศาสน กษตั รยิ   อยูอยางพอเพยี ง  ซ่ือสตั ยส จุ รติ  มงุ มน่ั ในการทํางาน  มวี ินัย  รกั ความเปน ไทย  ใฝเรยี นรู  มจี ติ สาธารณะ ดา นสมรรถนะสําคัญของผเู รียน  ความสามารถในการส่อื สาร :- - มคี วามสามารถในการรับ – สง สาร, - มคี วามสามารถในการถายทอดความรู ความคดิ ความเขาใจของตนเอง โดยใช ภาษาอยา งเหมาะสม - มีความสามารถในการใชวธิ ีการสือ่ สารทีเ่ หมาะสม  ความสามารถในการคดิ :- - มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห สงั เคราะห - มีความสามารถในการคิดอยางมรี ะบบ - มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจแกปญ หาเกี่ยวกบั ตนเองได

 ความสามารถในการแกป ญหา : - ใชเ หตผุ ลในการแกป ญหา - แสวงหาความรู ประยกุ ตความรมู าใชในการปองกันและแกไขปญหา - สามารถตดั สนิ ใจไดเ หมาะสมตามวยั  ความสามารถในการใชทักษะชีวติ : - เรยี นรูดว ยตนเองไดเ หมาะสมตามวยั - สามารถทาํ งานกลมุ รว มกบั ผูอ่ืนได - นําความรูทีไ่ ดไปใชประโยชนใ นชีวติ ประจําวัน  ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี : - เลือกและใชเทคโนโลยีไดเหมาะสมตามวัย - มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี - สามารถนําเทคโนโลยีไปใชพฒั นาตนเอง - ใชเ ทคโนโลยใี นการแกป ญหาอยา งสรา งสรรค ดา นคุณลักษณะของผเู รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล เปน เลศิ วิชาการ  สอ่ื สารสองภาษา  ล้ําหนา ทางความคิด  ผลิตงานอยา งสรางสรรค  รว มกันรบั ผิดชอบตอ สงั คมโลก ดานคณุ ลกั ษณะผเู รยี นในศตวรรษท่ี 21 3 Rs  Reading การอานออก  Writing การเขยี นได  Arithmetic การคิดเลขเปน 8 Cs  Critical Thinking and Solving Problem : คิดอยางมวี ิจารณญาณและมีทักษะในการ แกปญ หา  Creativity and Innovation : ทกั ษะดานการสรา งสรรคและนวัตกรรม  Collaboration Teamwork and Leadership : ทักษะการรวมมือและการทาํ งานเปน ทีม ภาวะ ผนู าํ  Cross cultural Understanding : ทกั ษะดานความเขาใจความตา งของวัฒนธรรม ตางกระบวน ทศั น  Communication Information and Media Literacy : ทกั ษะดา นการส่อื สาร สารสนเทศและ การรทู ันส่ือ  Computing and Media Literacy : ทักษะดานคอมพวิ เตอร เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่อื สาร  Career and Learning Skills : ทักษะอาชีพและการเรียนรู  Compassion : ความมเี มตตา กรณุ า วนิ ัย คุณธรรมและจรยิ ธรรม บรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ 2. หลกั ความมีเหตุผล 3. หลกั ภูมิคุมกนั 4. เง่ือนไขความรู 5. เงอื่ นไขคุณธรรม

กจิ กรรมการเรยี นการสอน ข้ันนํา 1) อบรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมกอนสอน 2) ครูผูสอนสอบถามผูเรียนเก่ียวกับปญหารถติดบริเวณโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย ไดรวมวิเคราะห วามีสาเหตุและปจจัยอะไร และสงผลกระทบตอ สงิ่ แวดลอมอยางไรบา ง สาเหตแุ ละปจจัยของการทําใหเกิดปญ หารถตดิ เชน ปริมาณรถมากแตพ ้นื ท่ถี นนมีนอย คนไมมีวินัยในการขับขี่ เชน การไมปฏิบัติตามกฎจราจร การขับรถสวนเลนในขณะชวงที่เปล่ียนเปนถนน Onaway ในชวงเชากับชวงเย็น การท่ีผูปกครองมาสงลูกท่ีโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย แลวไมปฏิบัติตามกฎ จราจร จึงทําใหรถติดมากย่ิงขึ้น เน่ืองจากโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัยไมมีท่ีจอดรถ จึงทําให ครู อาจารย บคุ ลากรและผูเรียนจอดรถบนทงั้ ถนนรอบดา นของบริเวณโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย ดังนั้นจึงทําใหรถติดมาก ยิ่งข้ึน เมื่อมีผูปกครองไมปฏิบัติตามกฎจราจร การเปลี่ยนเลนหรือแทรกเลน การจอดขางทาง การจอดในที่ หามจอด การจัดระเบียบการจราจรไมมีประสิทธิภาพ เชน สัญญาณไฟจราจรไมสัมพันธกับปริมาณรถ ไมมี ปายจราจร เกิดอุบัติเหตุคนนิยมใชรถสวนตัวมากกวารถสาธารณะซ่ึงมีหลายเหตุผล เชน รถสวนตัว สะดวกสบายมากกวา ถึงจุดหมายเร็วกวาเสนทางการเดินรถของรถสาธารณะไมครอบคลุมสงผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ ม คอื เกดิ มลพิษทางอากาศจากไอเสยี ของรถ มลพษิ ทางเสยี ง เกดิ การสญู เปลาท้ังเวลาและเชื้อเพลิง 3) ครูผูสอนอภิปรายกับผูเรียนตอไปวาจะรูไดอยางไรวาอะไรคือสาเหตุท่ีแทจริงของปญหารถติด เพือ่ ใหส ามารถแกปญหาไดตรงจุด หลังจากน้ันครูผูสอนสรุปวาเราจะตองทําความเขาใจกับสถานการณปญหา แลววิเคราะหขอมูล โดยอาจใชการต้ังคําถามหรือวิธีการตาง ๆ เพ่ือใหไดกรอบของปญหาที่ชัดเจนข้ึน ซ่ึงเปน ส่งิ ท่ผี ูเรียนจะไดเรียนรหู ลงั จากนี้ตอ ไป 4) ครูผูสอนทบทวนความรูเดิม เร่ือง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม สมัยที่ผูเรียนเรียนเม่ือชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 รายวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 1 โดยใหผูเรียนไดระดมความคิดแกปญหาจากโจทย สถานการณใ นกรอบทบทวนความรูก อ นเรียนในหนังสือเรยี น หลังจากท่ีพิจารณาสถานการณปญหาในภาพแลว พบวาปญหาคือ มีการท้ิงขยะลงในแมน้ําลําคลอง ทําใหน้ําเนาเสีย ปลาตาย และกอใหเกิดโรคภัยตาง ๆ หากเราตองการแกปญหาน้ี ก็ควรเร่ิมตนจากการ รวบรวมขอมูลวาจะมีวิธีการใดบางที่จะชวยแกปญหาน้ี จากนั้นก็นําขอมูลที่รวบรวมได มาสรางเปนแนว ทางการแกปญหาหลาย ๆ แนวทาง แลวพิจารณาดูวาแนวทางไหนเหมาะสมท่ีสุด แลวนําแนวทางนั้นมา ออกแบบโดยอาจรางออกมาเปน ภาพ หรือเขียนเปนผังงาน จากนั้นนําช้ินงานหรือวิธีการท่ีไดออกแบบไวไปลง มอื ปฏิบตั ิ ทาํ การทดสอบวา ไดผลตามที่ตองการไม หากพบวา ยงั แกป ญหาไมไดตามท่ีกําหนดไวก็ปรับปรุงแกไข จนชิน้ งานหรือวธิ ีการนัน้ สามารถแกไขปญ หาได แลว นาํ เสนอวิธีการแกปญ หานี้ใหผอู ืน่ ไดเ ขาใจ 5) ครผู ูสอนใหผ ูเรียนทาํ แบบทดสอบกอนเรียนผา นทางระบบ Online https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSe-4R9ZXUR6dzrp-4UkwiZfC- TIXCMuVpreQFhpk2Awfx2O6Q/viewform

ข้นั สอน (ชั่วโมงท่ี 1-2) 1) ผูเรียนศึกษาหัวขอปญหาส่ิงแวดลอมที่เกิดจากมนุษยและธรรมชาติในหนังสือเรียน แลวรวมกัน อภิปรายเก่ียวกับปญหาส่ิงแวดลอมอื่น ๆ ที่พบ ครูผูสอนอาจใหผูเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะท่ี 1 ปญหา สิ่งแวดลอมรอบตวั โดยวิเคราะหว าเกดิ จากมนษุ ยหรอื ธรรมชาติ เพอ่ื เพิ่มเติมความรูใ หมากขน้ึ 2) ผูเรียนศึกษาหัวขอ 1.1 เทคโนโลยีในการจัดการส่ิงแวดลอมในหนังสือเรียน แลวรวมกันอภิปราย สรปุ เทคโนโลยใี นการจัดการส่งิ แวดลอม ปญ หาสิง่ แวดลอม สาเหตุ เทคโนโลยีในการจัดการส่ิงแวดลอม 1. น้ําเสยี จาก การปลอ ยโลหะจําพวก สารตะก่ัว การคดิ คนวิธีการกําจัดสารโลหะเหลา นี้ โรงงานผลติ สนิ คาประเภท สารหนู แคดเมยี ม โครเมยี ม โดยใช “Microbot” ดดู ซับตะกว่ั ออก อิเล็กทรอนิกส จากนํ้าในการบาํ บัดนํา้ เสยี ในโรงงาน 2. มลพิษทางอากาศใน การปลอ ยควนั และสารปนเปอนสู การดักจบั ฝุนขนาดเล็ก 10-40 ไมครอน โรงงาน บรรยากาศ จากโรงงาน ออกจากกระแสอากาศ ทําใหลดฝุน ละอองในอากาศได โดยใชแรงหนี ศูนยก ลางหรือแรงเหวี่ยง 3. ขยะมลู ฝอย เกดิ จากการทําอาหารทําเกษตรกรรม ใชเทคโนโลยีการจดั การขยะมูลฝอยตาม ทําใหเ กดิ ขยะเชน เศษอาหาร การจําแนกประเภทของขยะ ดังน้ี เศษพชื ถุง พลาสติก กระดาษ แกว ภาชนะบรรจุสารเคมี  ขยะทว่ั ไป ฝงกลบอยางถูกหลัก สุขาภิบาล  ขยะรีไซเคิล นาํ ไปผานกระบวนการ แปรรปู เปนผลิตภณั ฑใหม  ขยะเปยก ทาํ ปยุ หมัก/ปยุ ชีวภาพ เปนอาหารสตั วขยะพิษ สงโรงงานเพ่ือ กําจัดอยางถูกวธิ ี  ขยะอันตราย ทิ้งใหถกู ท่ีจะไดไมเปน อันตราย 3) ผูเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับคําถามชวนคิดวานอกจากเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดลอมใน หนังสอื เรียนแลว ยังมเี ทคโนโลยีอะไรอีกบา งที่ผเู รยี นเคยพบเหน็ ผูเรียนตอบตามความคิดของตัวเอง เชน เส้ือผาท่ีผลิตจากกนบุหร่ี นํ้ามันหลอล่ืนท่ีเปน สารอินทรีย โรงแรมท่ีใชพลังงานมนุษย คอมพิวเตอรโนตบุกท่ีผลิตจากไมไผ เคร่ืองพิมพที่ลบและพิมพซ้ําได เคร่อื งซักผา ทใ่ี ชนํา้ แค 1 แกว หลอดที่ทาํ มาจากไมไผห รอื กระดาษ ขอ เสนอแนะ ครผู ูสอนอาจเพ่มิ เติมเกรด็ นารูเกีย่ วกบั การแกปญหาขยะขนาดใหญ ของประเทศตาง ๆ ทน่ี าํ เทคโนโลยีไปใชใ นการแกป ญ หา เชน การแกปญ หาขยะในมหาสมทุ ร

4) ครูผูสอนแบงกลุมผูเรียนตามความเหมาะสม เพื่อทํากิจกรรมท่ี 1.1 สํารวจปญหาส่ิงแวดลอมใน โรงเรียนและเขียนแผนที่ความคิดของปญหาขอเสนอแนะ ครูผูสอนแนะนําผูเรียนวาปญหาสิ่งแวดลอมใน โรงเรียนไมไดม เี พยี งแคปญหาขยะอยา งเดียวยังมปี ญ หาส่งิ แวดลอมอ่ืน ๆ อีก เชน ปญหาน้ําเสียจากโรงอาหาร หรือหอ งนา้ํ ปญหาเรื่องเสียงจากชุมชนใกลเคียง ปญหาการเผาพืชไรปญหาฝุนละอองในอากาศ ปญหาการไม ปด ไฟหลงั เลิกเรียน ปญ หาการเปดเครอื่ งปรับอากาศทงิ้ ไวในหองเรียนทงั้ วัน ทัง้ คืน ฯลฯ 5) ครูผูสอนถามผูเรียนวาในการวิเคราะหสถานการณปญหาเพ่ือใหไดปญหาที่แทจริงและตรงจุดของ ผูเรียนน้ันมีหลักคิดอยางไร (ผูเรียนตอบตามความคิดของตัวเอง) จากนั้นใหผูเรียนศึกษาหัวขอ 1.2 การ วิเคราะหสถานการณของปญหา โดยการใชการตั้งคําถาม 5W1H โดยครูผูสอนอภิปรายรวมกับผูเรียนอีกครั้ง หนึ่งเก่ียวกับการต้ังคําถาม 5W1H วามีอะไรบาง แตละคําถาม หมายถึงอะไร เพ่ือใหผูเรียนเกิดความเขาใจ มากขึน้ 6) ผเู รียนศกึ ษาการวิเคราะหสถานการณเ กยี่ วกบั ปญ หาขยะในโรงเรียนโดยการใชคําถาม 5W1H และ ตัวอยางการกําหนดกรอบของปญหาของนนทและน้ําหวาน จากน้ันผูเรียนและครูผูสอนอภิปรายรวมกัน เกีย่ วกบั การกาํ หนดกรอบของปญหาของนนทและนํ้าหวาน และเกร็ดนารูของการบีบขวดพลาสติก โดยอางถึง วิธีการแกป ญหาของนนทท่ีตองการลดปริมาณขวดพลาสติก จึงมเี กรด็ นา รขู องการบบี ขวดพลาสตกิ ดงั กลาว 7) ผเู รยี นแตล ะกลุม ทํากิจกรรมท่ี 1.2 กาํ หนดกรอบของปญหา ข้ันสอน (ช่วั โมงที่ 3-4) 1) ผูเรียนแตล ะกลมุ นําเสนอ Mind Map เร่ือง ปญหาสิ่งแวดลอมในโรงเรียนใหเพื่อน ๆ ในหองไดรับ ทราบ เพ่ือเปนการแลกเปล่ียนเรียนรูและเปนการเปดมุมมองของการกําหนดกรอบของปญหาใหเห็นถึงความ หลากหลายของปญ หาส่ิงแวดลอ มในโรงเรียน 2) ครูผูสอนรวมสนทนากับผูเรียนถึงแนวทางดําเนินการในข้ันตอไป และสรุปรวมกันวาจะตอง รวบรวมขอมูลหรือแนวคิดที่เก่ียวของเพื่อหาแนวทางการแกปญหาที่เหมาะสม จากนั้นผูเรียนศึกษาตัวอยาง การกําหนดประเดน็ การรวบรวมขอมูลของนํ้าหวานในหนังสือเรียน แลวรวมกันอภิปรายวา ถาผูเรียนเปนนนท ซ่ึงตอ งการหาวิธกี ารบบี อดั ขยะ จะรวบรวมขอ มลู ในประเดน็ ใดบา ง ซึง่ ผเู รียนไดย กตัวอยางลกั ษณะของถงั ขยะ พฤติกรรมการท้ิงขยะของผูเรียน วิธกี ารบีบอัด ขยะท่ีมีอยูในปจ จบุ นั 3) ครูผสู อนถามผูเรยี นตอ วา เม่ือไดป ระเด็นท่ีตองการรวบรวมขอมูลแลว จะมวี ธิ กี ารคนหาขอมูล เหลา นัน้ อยางไร ซงึ่ การคนหาขอ มูลทําไดห ลายวธิ ี เชน จากแหลงขอมลู ในอินเทอรเน็ตทน่ี า เช่ือถือ สํารวจ จากสถานทจ่ี ริงการทดลองทางวทิ ยาศาสตร สอบถามจากผูเช่ยี วชาญ คน หาจากเอกสาร บทความ งานวจิ ัย 4) ครูผูสอนยกประเด็นเก่ียวกับการคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ตถึงวิธีการใช คํา ขอความ หรือ คําสาํ คัญ (keyword) ในการคนหาขอมูลในประเด็นที่สนใจอยางไร โดยใหผูเรียนศึกษาการใชคําสําคัญในการ คนหาขอมลู ในหนงั สือเรยี นหวั ขอ 1.3 การรวบรวมขอมูลเพือ่ แกป ญ หาแลวรวมกนั สรปุ ขอเสนอแนะ ครูผูสอนอาจเสนอแนะแหลงเรียนรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคนิคในการคนหาขอมูลบน อินเทอรเ น็ตใหไดรวดเร็วยงิ่ ขน้ึ

5) ผูเรียนทํากิจกรรมกรอบชวนคิดในหนังสือเรียนเก่ียวกับการกําหนดคําสําคัญในการสืบคนขอมูล เรอ่ื ง ภาวะโลกรอนจากนน้ั รวมกนั อภปิ รายวาขอมูลท่สี ืบคน มาไดม คี วามนาเช่ือถือหรือไมอยางไร และมีวิธีการ เลอื กแหลง ขอมูลที่นาเชื่อถอื อยางไร 6) ครูผูสอนอภิปรายรวมกับผูเรียนเก่ียวกับการใชขอมูลจากหลายศาสตรมาใชในการแกปญหา ตวั อยา งเชน การทําฝนเทียม จากนั้นใหผ ูเ รยี นทาํ กิจกรรมที่ 1.3 กําหนดประเดน็ ในการรวบรวมขอมลู 7) ผูเรียนศึกษาตัวอยางการรวบรวมขอมูลของนนทและนํ้าหวาน โดยกลุมเลขคูศึกษากรณีของนนท และกลุมเลขค่ีศึกษากรณีนํ้าหวาน แลวสุมกลุมออกมานําเสนอการศึกษา กรณีละหนึ่งกลุม และกลุมอื่น สามารถซักถามเพิ่มเตมิ ได 8) ครูผูสอนอภิปรายรวมกับผูเรียนเพิ่มเติมวา นอกจากวิธีการของนนทและนํ้าหวานแลว ยังมีวิธีการ อื่นอีกหรือไม จากนั้นรวมกันสรุปประเด็นที่ไดจากการศึกษาตัวอยางการรวบรวมขอมูลและหาแนวทางการ แกปญ หาของนนทแ ละนา้ํ หวาน แนวทางการแกปญหามีท้ังการสรางชิ้นงานและวิธีการแนวทางการแกปญหามีมากกวาหนึ่ง วธิ ีและใชความรจู ากหลายศาสตรค วรคน หาขอมูลจากแหลง ขอมลู หลายแหลง และมคี วามนาเช่ือถือ 9) แตละกลุมทํากิจกรรมท่ี 1.4 รวบรวมขอมูล โดยดําเนินการรวบรวมขอมูลท่ีเก่ียวของจากประเด็น การรวบรวมขอมลู ทแี่ ตล ะกลมุ ไดทาํ ในกิจกรรมท่ี 1.3 10) แตละกลุมทํากิจกรรมทายบท เร่ือง นําเสนอการวิเคราะหปญหาและผลการรวบรวมขอมูล โดย แตละกลุม นําเสนอกิจกรรมที่ไดดาํ เนนิ การมาตงั้ แตกจิ กรรมที่ 1.1 ถึง 1.4 แลวเปดโอกาสใหกลมุ อนื่ ซกั ถาม ขอเสนอแนะ ในการกาํ หนดวิธกี ารนําเสนอ ครูผูสอนอาจแนะนําใหผูเรียนเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่งหรือหลาย วธิ ีรวมกนั ได เชน ใชโ ปรแกรมสําเร็จรปู นาํ เสนออยางเดยี ว ใชโ ปรแกรมนาํ เสนองานรว มกับแผนโปสเตอร ขั้นสรปุ 1) ผูเรียนและครูผูสอนรวมกันสรุปสิ่งท่ีไดเรียนรูในหนวยท่ี 1 ซ่ึงควรไดขอสรุปวาการวิเคราะห สถานการณปญหา ทาํ ใหทราบถงึ ประเด็นปญ หา รวมทั้งเง่อื นไขหรือขอมูลทีเ่ กีย่ วของกับปญหา เม่ือนําขอมูลท่ี ไดจากการวิเคราะหมาเขียนสรุปเปนกรอบของปญหาจะชวยใหปญหานั้นมีความชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งกรอบของ ปญหาน้ีถือเปนส่ิงสําคัญท่ีจะเปนขอบเขตในการศึกษาหาแนวทางการแกปญหาตอไปการรวบรวมขอมูลท่ี เก่ียวของกับการแกปญหา เปนการมุงหาแนวทางหรือวิธีการท่ีจะนํามาใชในการแกปญหาอยางเหมาะสม ขอมูลท่ีตองสืบคนอาจมาจากหลากหลายศาสตร และมีวิธีการสืบคนขอมูลหลายวิธี อยางไรก็ตามควรสืบคน จากแหลง ขอ มลู ท่นี าเชื่อถอื และตองมีการอางอิงแหลงทม่ี าของขอมลู น้นั ดวย 2) ทําแบบทดสอบหลงั เรยี น

ส่อื /วสั ดุอปุ กรณ/ แหลง เรียนรสู ื่อและอุปกรณ 1. สื่อและอุปกรณ 1) ใบกจิ กรรม ใบกจิ กรรม เร่อื ง เวลา (นาที) กจิ กรรมเสนอแนะท่ี 1 ปญ หาสิง่ แวดลอมรอบตวั 10 กิจกรรมท่ี 1.1 สํารวจสง่ิ แวดลอมในโรงเรียน 30 กจิ กรรมท่ี 1.2 กําหนดกรอบของปญหา 20 กิจกรรมที่ 1.3 กาํ หนดประเดน็ รวบรวมขอมูล 20 กจิ กรรมที่ 1.4 รวบรวมขอมูล 20 กจิ กรรมทายบท นําเสนอการวเิ คราะหป ญ หาและผลการรวบรวมขอ มลู 50 2) สื่อ PowerPoint 2. แหลงเรียนรู 1) อาคารเรียนตา ง ๆ ภายในโรงเรียนหาดใหญวทิ ยาลยั 2) บริเวณตา ง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 3) https://classroom.google.com/u/2/h 4) https://kwangdk.weebly.com/ เทคนิคการสบื คน ขอมลู ในรปู แบบตา ง ๆ ดว ยGoogle search 5) สรุปเนื้อหา ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-dt/ การวดั และประเมนิ ผล รายการประเมิน วธิ กี ารวดั เคร่อื งมือท่ีใชวัด เกณฑก ารประเมนิ การผา น 1. การวเิ คราะห ตรวจใบกจิ กรรม แบบประเมินกิจกรรมท่ี คะแนน 7-9 หมายถึง ดี สถานการณป ญหาและ ตรวจใบกิจกรรม 1.2 เรอ่ื ง กาํ หนดกรอบ คะแนน 4-6 หมายถึง พอใช สรปุ กรอบของปญหา ของปญหา คะแนน 1-3 หมายถงึ ปรบั ปรงุ 2. การรวบรวมขอมูลท่ี แบบประเมินกจิ กรรมท่ี ผเู รยี นไดระดับคุณภาพ พอใช เก่ยี วของกับแนวทางการ 1.3 เรื่อง กําหนด ข้ึนไป ถือวาผาน แกปญหา ประเดน็ รวบรวมขอ มลู ผูเ รยี นไดระดับคณุ ภาพ พอใชข ้ึนไป กจิ กรรมที่ 1.4 เรอ่ื ง 3. ทักษะการสื่อสาร สงั เกตพฤติกรรม รวบรวมขอมูล ถอื วาผา น 4. ทกั ษะการคิดอยางมี แบบสงั เกตพฤติกรรม (ดเู กณฑการประเมินในภาคผนวก) วิจารณญาณ 5. ทักษะการแกป ญหา 6. ทกั ษะการทาํ งาน รวมกับผอู ่นื

ประเด็นการประเมนิ 3 ระดับคะแนน 1 1. การวิเคราะหส ถานการณ ใชคาํ ถาม 5W1Hใน 2 ใชค ําถาม 5W1H ใน ปญ หาและสรปุ กรอบของ การวเิ คราะหปญหา การวเิ คราะหป ญหาได ปญ หา ไดถูกตองท้ัง 6 คาํ ถาม ใชคําถาม 5W1H ในการ ถูกตอง และสรปุ กรอบของ วเิ คราะหปญหาได นอ ยกวา 4 คาํ ถาม 2. การรวบรวบขอ มูลที่ ปญหาไดส อดคลองกบั ถกู ตอง4-5 คําถาม สรปุ กรอบของปญ หา เกี่ยวของกับแนวทางการ การใชคําถาม 5W1H สามารถสรุปกรอบของ ไมสอดคลองกบั การใช แกปญ หากาํ หนดประเดน็ ใน กําหนดประเด็นในการ ปญหาไดส อดคลอ งกบั คําถาม 5W1H การรวบรวมขอ มลู ได รวบรวมขอ มลู ได การใชค ําถาม 5W1H กาํ หนดประเด็นใน 2.1 การกาํ หนดประเด็นและ 3 ประเด็นขน้ึ ไป และ กําหนดประเด็นในการ การรวบรวมขอมลู ระบแุ หลง ท่มี า ระบุแหลงขอมูลที่ รวบรวมขอมลู ได เพียง 1 ประเดน็ โดย ตอ งการสืบคน 2 ประเด็น และระบุ ระบหุ รอื ไมระบุ แหลงขอ มลู ทต่ี อ งการ แหลง ขอ มูลทต่ี องการ สืบคน สืบคน 2.2 การรวบรวมแนวทางการ รวบรวมแนวทางการ กําหนดประเด็นในการ กําหนดประเดน็ ใน แกปญหาและระบุแหลงท่มี า แกป ญหา 2 แนวทาง รวบรวมขอมูลได 2 การรวบรวมขอมลู ของขอมูล ขึน้ ไป พรอ มกบั ระบุ ประเดน็ และระบุ เพียง 1 ประเด็น โดย แหลงท่มี าของขอ มูล แหลง ขอ มลู ที่ตอ งการ ระบหุ รอื ไมร ะบุ และวันทีส่ ืบคน สืบคน แหลงขอ มลู ครบถว น ทีต่ องการสบื คน เกณฑก ารตัดสนิ ระดบั คณุ ภาพ คะแนน 7-9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 4-6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช คะแนน 1-3 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง ** เกณฑการวดั และประเมนิ ผลสามารถปรบั เปลีย่ นไดตามความเหมาะสม

ช้ินงาน/ภาระงาน กจิ กรรมท่ี 1.1 เรื่อง สํารวจสงิ่ แวดลอมในโรงเรยี น ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ 6 – 8 คน ขึ้นอยูกับจํานวนนักเรียนแตละหองเรียน ออกสํารวจปญหา ส่ิงแวดลอมในโรงเรียนหรือชุมชน จากน้ันนํามาเขียนแผนที่ความคิดเพื่อแสดงปญหาท่ีพบจากการสํารวจให ไดม ากทสี่ ดุ พรอมท้ังนาํ เสนอในช่วั โมงถดั ไป

กิจกรรมท่ี 1.2 เรือ่ ง กาํ หนดกรอบของปญหา หลังจากท่ีผูเรียนไดออกสํารวจปญหาส่ิงแวดลอมในโรงเรียน แลว ใหผูเรียนตัดสินใจเลือกปญหาท่ี สํารวจ 1 ปญหา พรอมใหเหตุผลในการตัดสินใจ จากน้ันใหวิเคราะหปญหาท่ีเลือกโดยใช 5W1H แลวเขียน กรอบของปญหา เพือ่ นําเสนองานกลุม ในชั่วโมงถัดไป

กจิ กรรม เรื่อง ปญหาส่งิ แวดลอมรอบตัว ใหผ เู รยี นระบปุ ญ หาสิง่ แวดลอมอ่ืนที่อยูรอบตัว แลววเิ คราะหวาเกดิ จากมนุษยหรือธรรมชาติ ปญหาสิ่งแวดลอ มทเี่ กดิ จากมนษุ ย ผลกระทบ ปญหา สาเหตุ แหลงแพรพนั ธขุ องเชอื้ โรคและปญ หา สขุ ภาพอ่นื ๆ นํา้ เสียสงกลิ่นเหม็น การทิ้งขยะและปลอ ยนํ้าเสีย การเพิ่มขน้ึ ของประชากร การขยายตวั ของชมุ ชน การเกิดเทคโนโลยีใหม ๆ มลพิษทางอากาศ การใชรถยนตเพมิ่ ขน้ึ - ระบบทางเดนิ หายใจของมนุษย ขยะมลู ฝอย การปลอยควันพษิ จากโรงงาน - เกดิ ฝนกรด ขยะทั่วไปท่เี กิดจากการอปุ โภค - ปญหามลพษิ และ ส่ิงแวดลอ ม เชน บริโภค กจิ กรรมท้งั หลายของมนษุ ย ปฏกิ ริ ิยาเรอื นกระจก ไมวาจะเปนบานเรือน ชมุ ชน ตลาด - ปญ หาขยะในทะเลท่ีสง ผลกระทบตอ รานคา และโรงงาน สภาพแวดลอม และชีวิตความเปนอยูของสตั วใ นทะเล แหลง แพรพันธขุ องเชือ้ โรคและปญหา สุขภาพอื่น ๆ

ปญหาส่งิ แวดลอมทเี่ กดิ จากธรรมชาติ ผลกระทบ ปญหา สาเหตุ เกดิ ฝุน ละอองและแกส พิษจากการเผาไหม ผลเสยี ตอระบบหายใจของสงิ่ มชี ีวติ ไฟปา การเกิดวาตภัย ทาํ ใหตน ไมเ สียดสีกนั - การพงั ทลายของหนาดนิ ฟาผา - ดนิ เสื่อมสภาพ - ที่มาของโรคภยั ตาง ๆ นาํ้ ทวม ปรมิ าณน้ําฝน - ความเสียหายตอ สง่ิ กอสรา ง - การพังทลายของแผนดิน แผน ดินไหว การยุบตวั ของเปลอื กโลก สภาพแวดลอมทางธรรมชาติของพืชและ ภเู ขาไฟระเบิด การเคล่ือนท่ีของเปลือกลก สตั วเ ปลย่ี นแปลงไป การระเบดิ ของภเู ขาไฟ - ไอระเหยหรือควันจากภูเขาไฟมกี ํามะถนั การยบุ ตวั ของเปลอื กโลก และฝุน ละอองปนอยมู าก เกิด การเคล่ือนทข่ี องเปลือกโลก - มลพิษทางอากาศ - เกิดคลืน่ สนึ ามิ

กิจกรรมท่ี 1.3 เรอ่ื ง กาํ หนดประเดน็ รวบรวมขอมูล ใหผูเรียนกําหนดประเด็นเพื่อรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับแนวทางการแกปญหาท่ีแตละกลุมไดเลือก ไวอยางนอ ย 3 ประเด็น พรอมระบแุ หลงขอมูลทต่ี องการสืบคน ในแตล ะประเด็น

กจิ กรรมที่ 1.4 เร่อื ง รวมรวมขอมูล จากประเด็นในการรวบรวมขอมูลท่ีกําหนดในกิจกรรมที่ 1.3 ใหผูเรียนดําเนินการรวบรวมขอมูลท่ี เก่ียวของเพ่ือนํามาใชในการแกปญหา แลวเขียนสรุปแนวทางการแกปญหาท่ีรวบรวมได พรอมกับระบุ แหลงทม่ี าของขอ มลู น้นั แนวทางการแกปญ หาท่ีรวบรวมได ระบุแหลง ทมี่ าของขอ มลู วนั ท่ีสบื คน แนวทางท่ี 1 แนวทางท่ี 2 แนวทางที่ 3

บนั ทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู รหัสวิชา ว22191 รายวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี 2 ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 2/13 วนั ท่ี 2 ธนั วาคม พ.ศ. 2563 ใชส อนหอ ง 7205 เวลา 11.00 – 11.50 น. (ชว่ั โมงที่ 1) 1. ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู 1.1 จาํ นวนนกั เรยี น ทงั้ หมด......48...........คน เขา เรยี น.....48........คน ไมเขา เรียน.....-.........คน คือ 1.2 ผลการเรียนดา นความรู (K) จดุ ประสงค จํานวน ผาน คดิ เปน ไมผ า น คดิ เปน นักเรยี น (คน) รอยละ (คน) รอ ยละ วิเคราะหส ถานการณป ญ หา และสรุป 48 48 100 - - กรอบของปญหา 1.3 ผลการเรยี นรูดา นทกั ษะ (P) ทกั ษะ จาํ นวน ผาน คิดเปน ไมผาน คิดเปน นกั เรียน (คน) รอยละ (คน) รอ ยละ 1. ทักษะการส่ือสาร 48 48 100 - - 2. ทกั ษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ 48 48 100 - - 3. ทักษะการแกปญหา 48 48 100 - - 4. ทกั ษะการทาํ งานรว มกบั ผอู น่ื 48 48 100 - - 1.4 ผลการเรียนรูด า นคุณลักษณะ Attitude (A) คุณลักษณะ จํานวน ผาน คิดเปน ไมผาน คดิ เปน นกั เรยี น (คน) รอ ยละ (คน) รอ ยละ 1. รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  48 48 100 - - 2. ซ่อื สัตยส จุ รติ 48 48 100 - - 3. มวี ินัย 48 48 100 - - 4. ใฝเรยี นรู 48 48 100 - - 5. อยอู ยางพอเพียง 48 48 100 - - 6. มุงมน่ั ในการทํางาน 48 48 100 - - 7. รกั ความเปนไทย 48 48 100 - - 8. มจี ิตสาธารณะ 48 48 100 - -

1.5 สมรรถนะของผูเรียน (C) จาํ นวน ผาน คดิ เปน ไมผาน คดิ เปน สมรรถนะ นกั เรียน (คน) รอยละ (คน) รอยละ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 48 48 100 - - 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป ญหา 48 48 100 - - 4. ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี 48 48 100 - - 48 48 100 - - 48 48 100 - - 2. ปญหา อปุ สรรค - หองเรียน 7205 เกาอีข้ องนกั เรียนมเี พยี ง 45 ตวั ซึง่ นักเรียนในระดับชนั้ ม.2 มีนกั เรียน จํานวน 48 คน - เคร่ือง Projector เสยี ไมส ามารถใชงานได - สายไมโครโฟนเสยี ไมส ามารถใชง านได 3. ขอ เสนอแนะ / แนวทางแกไข - ใหนักเรียนไปขนเกา อี้มาจากหองอน่ื ทีน่ ักเรยี นมาไมค รบ จงึ ทําใหเสียเวลาเรยี นไป 40 นาที - แจงฝายเทคโนโลยี ทัง้ 2 รายการ เพ่ือแกไขและดําเนนิ การตอ ไป ลงช่ือ...................................................................ครผู ูสอน (นางรตั นาภรณ พรหมเพชร) ........................../........................../............................ หมายเหตุ ในการบันทกึ ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูควรระบรุ อ ยละของนักเรยี นทผี่ านและไมผา นในแตล ะจดุ ประสงคท ี่ไดระบุไวใน สวนหนาของแผนการจัดการเรียนรู และหากการบันทกึ สมบรู ณใ นทุกสวนสามารถใชเปนขอมลู เพือ่ จัดทําวิจัยในชน้ั เรียนได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook