Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 12 การสุขาภิบาลในสภาวะฉุกเฉิน

บทที่ 12 การสุขาภิบาลในสภาวะฉุกเฉิน

Published by [email protected], 2018-07-08 03:38:38

Description: ภาวะฉุกเฉิน (emergencies) เป็นสภาวะที่ไม่เป็นปกติของสิ่งแวดล้อมซึ่งอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติหรือจากการกระทำของมนุษย์ อันจะก่อให้เกิดผลกระทบทางลบ และความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมเองและสุขภาพอนามัยของมนุษย์ได้
ภาวะฉุกเฉินอาจเกิดขึ้นได้อย่างเฉียบพลัน มีผลกระทบในระยะสั้นๆ หรืออาจเกิดสะสมมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง และมีผลกระทบอย่างต่อเนื่องยาวนานก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับรูปแบบและลักษณะของความผิดปกติที่เกิดขึ้นนั้นๆ

Search

Read the Text Version

บทท่ี 12การจดั การสขุ าภบิ าลใน สภาวะฉุกเฉนิ

ภยั หนาว สนึ ามิ แผน่ ดนิ ไหว

ความหมายภยั พบิ ัติตามระเบยี บกระทรวงการคลงั พ.ศ. 2540 หมายถงึ สาธารณภยั อนั ได้แก่อคั คภี ัย วาตภยั อุทกภยั ภยั แล้ง ภาวะฝนแล้ง ฝนทงิ้ ช่วง ฟ้ าผ่า ภัยจากลูกเหบ็ ภยั อนั เกิดไฟป่ า ภยั จากโรค หรือการระบาดของแมลงหรือศัตรูพชื ทกุ ชนิด อากาศหนาวจดั จนสตั ว์ต้องสญู เสยี ชีวิต ภยั สงครามและภยั อนั เนื่องมาจากการกระทาของผ้กู ่อการร้าย ตลอดจนภยั อ่ืนๆ อนั มีมาเป็นสาธารณะไมว่ า่ เกิดจากธรรมชาติ หรือมีผ้ทู าให้เกิดขึน้ ซงึ่ กอ่ ให้เกิดอนั ตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชนหรือความเสยี หายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือรัฐ

ความหมายเหตุฉุกเฉิน (Emergency) หมายถงึ เหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขนึ ้ อยา่ งไมค่ าดคดิ และมีความรุนแรงทาให้ เกิดความเสียหายตอ่ ชีวิตและทรัพย์สนิ ของประชาชนเป็ นอยา่ งมาก ทา ให้ภาครัฐต้องประกาศภาวะฉกุ เฉินในพืน้ ที่นนั้ ๆ เพ่ือระดมเจ้าหน้าที่ที่ เก่ียวข้องในการให้ความชว่ ยเหลือและแก้ปัญหาที่เกิดขนึ ้ อยา่ งเร่งดว่ นอุบัตภิ ยั (Accident)• หมายถึง ภยั ท่ีเกิดจากอบุ ตั ิเหตุ โดยท่ีอบุ ตั เิ หตหุ มายถงึ อนั ตรายที่ เกิดขนึ ้ โดยมิได้ตงั้ ใจมากอ่ น อบุ ตั ภิ ยั มาจากคาวา่ อุบัติ แปลวา่ การ เกิดขนึ ้ กาเนดิ + คาวา่ ภยั แปลว่า สงิ่ ที่น่ากลวั หรืออนั ตราย

ความหมายความเส่ียง (Risk) หมายถงึ โอกาสที่ประชากรหรือระบบการจดั การจะ ได้รับความเสียหายหรือความไมม่ นั่ คงและอนั ตรายจากภยั ธรรมชาติอนั ตราย (Hazard) หมายถงึ ความเสีย่ งตอ่ ความเสียหายหรือความไม่ม่ันคง (Vulnerability) ของประชากรหรือระบบการจดั การ เชน่โรงพยาบาล ระบบประปา และระบบบาบดั ของเสีย หรือโครงสร้างตา่ งๆเป็นต้น ท่ีเกิดจากภยั ธรรมชาติ Risk = Hazard x Vulnerability

แบ่งตามลกั ษณะของสาธารณภยั ภยั หรือความผดิ ปกติของสิ่งแวดลอ้ ม1. ภาวะฉุกเฉินจากภยั ธรรมชาติ (Natural Disaster) มกั เกิดข้ึน ตามฤดูกาลเป็นส่วนใหญ่แต่บางคร้ังกเ็ กิดข้ึนโดยไม่รู้ตวั สามารถ ก่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพยส์ ินเป็นอยา่ งมาก แบ่งไดด้ งั น้ี - สาธารณภยั เชิงอตุ ุนิยมวทิ ยา (meteorological disaster) เกิดข้ึนตามฤดูกาล คือ วาตภยั อากาศหนาวผดิ ปกติ คลื่นความร้อน ฝน แลง้

- สาธารณภัยตามสภาพภูมปิ ระเทศ (topological disaster) เป็น สาธารณภยั ท่ีเกิดข้ึนตามลกั ษณะของภูมิประเทศ ไดแ้ ก่ อุทกภยั หิมะ ถล่ม- สาธารณภยั ทเี่ กดิ จากการเปลย่ี นแปลงพนื้ ผวิ โลก(tectonic disaster) การเปล่ียนแปลงของผวิ โลกทาใหเ้ กิดแผน่ ดินเลื่อนหรือ แผน่ ดินถล่ม แผน่ ดินไหว ภูเขาไฟระเบิด

เหตกุ ารณภ์ ยั ทางธรรมชาติ 8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

- สาธารณภยั ทางชีวภาพ (biological disaster) เช่น เช้ือโรคต่างๆ ที่ทาใหเ้ กิดโรคระบาด สตั วแ์ ละแมลงที่ทาลายพืชไร่ทางเกษตรกรรม2. ภาวะฉุกเฉินจากภยั มนุษย์ (Man-made disaster) ไดแ้ ก่ภยั จาก การจราจร ภยั จากการอุตสาหกรรม ภยั จากการก่อสร้าง ภยั จากการ ขดั แยง้ ในผลประโยชน์ หรือการก่ออาชญากรรมในท่ีสาธารณะ ภยั จาก การก่อวนิ าศกรรม ภยั จากการ ภยั จากสงคราม

เหตุฉุกเฉินอน่ื ๆเหตกุ ารณ์เพลงิ ไหม้ บรษิ ทั บีเอสที อลี าสโตเมอรส์ จากดั (พฤษภาคม 2555)

นามนั ร่วั เกาะเสมด็ จ.ระยอง (ก.ค. - ส.ค. 2556)

จากสาธารณภยั ท่ีก่อใหเ้ กิดภาวะฉุกเฉินมาท้งั หมดน้ี อาจนามาสรุปความสมั พนั ธ์ตมแผนภาพดงั ตอ่ ไปน้ีสาธารณภยั สาธารณภยัธรรมชาติ มนุษย์วาตภยั อากาศหนาว ผิดปกติคล่นื อคั คีภยั ไฟไหม้ ภยั จากการจราจร ภยั จากการ ป่ า อุทกภยั การ อุตสาหกรรม ภยั จากการก่อสร้าง ภยัความร้อน ฝนแล้วอทุ กภยั หิมะถล่ม ระบาดของโรค จากการขดั แยง้ ในผลประโยชน์ ภยั แผน่ ดินเลื่อน ภเู ขาไฟระเบิด การ จากการก่อวนิ าศกรรม ภยั จากจลาจล ภยั จากสงคราม อคั คีภยั ระบาดของโรค ไฟไหม้ป่ า

1. ผลเสียทางเศรษฐกจิ เกิดจากความเสียหายท่ีเกิดข้ึนทาใหป้ ระเทศชาติ ตอ้ งนางบประมาณมาใชเ้ พอ่ื การบูรณะฟ้ื นฟู อนั เป็นการถ่วงการพฒั นา ประเทศในอีกทางหน่ึง2. ผลเสียทางเกษตรกรรม เช่น วาตภยั อุทกภยั ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดการขาด แคลนผลผลิตทางการเกษตรอนั เป็นปัจจยั พ้ืนฐานในการดารงชีวิต ท้งั ยงั เป็นที่มาของผลเสียทางเศรษฐกิจในดา้ นอื่นๆ ได้ เช่น อุตสาหกรรม แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เป็นตน้

3. ผลเสียทางอตุ สาหกรรม จะก่อใหเ้ กิดการขาดแคลนสินคา้ และบริการ ต่างๆ ซ่ึงจะนาไปสู่ความเสียหายของธุรกิจอ่ืนๆ4. ผลเสียต่อทรัพย์สิน ไม่สามารถใชง้ านต่อไปได้ ก่อใหเ้ กิดความ เดือดร้อนต่อประชาชน จาเป็นตอ้ งไดร้ ับการซ่อมแซม แกไ้ ข ซ่ึงจะทา ใหเ้ กิดการสูญเสียเงินเพ่อื การบรู ณะฟ้ื นฟแู ละนาไปสู่ความเสียหายทาง เศรษฐกิจอีกทางหน่ึงดว้ ย

5. ผลเสียต่อร่างกายและชีวติ ท้งั ที่ก่อใหเ้ กิดการบาดเจบ็ ทุพพลภาพ และ เสียชีวิต ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดการหยดุ ชะงกั ของการขบั เคลื่อนของกลไกทาง เศรษฐกิจได้6. ผลเสียต่อจติ ใจ คือ ความหวาดวิตก กงั วล และทอ้ แท้ ซ่ึงสามารถจะ นาไปสู่การหยดุ ชะงกั ในการปฏิบตั ิงาน ตลอดจนการดารงชีวิตได้ จน กลายเป็นการขดั ขวางการพฒั นาประเทศชาติได้

1. ปัญหาทางการสาธารณสุข เช่น การขาดแคลนอาหาร น้าสะอาด ท่ีอยู่ อาศยั ฯลฯ ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดโรคระบาด หรือปัญหาสุขภาพอ่ืนๆ2. ปัญหาทางเศรษฐกจิ และสังคม เช่น การวา่ งงาน ราคาสินคา้ สูงข้นึ การ วา่ งงานและไม่มีเงินในการยงั ชีพจะก่อใหเ้ กิดการประกอบอาชญากรรม ปัญหาราคาสินคา้ สูงข้ึนอาจจะนาไปสู่ การก่อความไม่สงบ การจลาจล รวมไปถึงการก่อสงครามขนาดยอ่ ยได้ เดก็ ถกู ทอดทิ้งเพราะพอ่ แม่ไม่ สามารถเล้ียงดูได้

3. ปัญหาทางการเมืองการปกครอง อาจทาใหป้ ระชาชนเกิดปฏิกิริยาในทาง ลบต่อหน่วยงานของรัฐ จนกลายเป็นปัญหาความมน่ั คงของประเทศชาติ นอกจากน้ี อาจนามาซ่ึงการเสียภาพพจน์ของประเทศชาติในสงั คมโลก ได้4. ปัญหาทางสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้ า น้าประปา การคมนาคม ขนส่ง ติดต่อสื่อสารต่างๆ เมื่อไดร้ ับความเสียหายจากสาธารณภยั กจ็ ะก่อใหเ้ กิด ความเดือดร้อนแก่ประชาชนส่วนรวม

1. ระยะเตอื นภัย (warning stage) ระยะน้ีเป็นช่วงระยะเวลาก่อน เกิดภยั ซ่ึงทาใหม้ ีโอกาสเตือนภยั แก่ประชาชนได้2. ระยะเกดิ ภยั (impact phase) ระยะน้ีเป็นระยะเวลาในการเกิด ภยั พบิ ตั ิอนั ก่อใหเ้ กิดความเสียหายท้งั ต่อชีวิตและทรัพยส์ ิน3. ระยะก้ภู ยั (rescue phase) ระยะน้ีเป็นระยะของการช่วยชีวิต และระงบั ภยั โดยทาใหภ้ ยั สงบลงโดยเร็ว หรือลดอนั ตรายใหน้ อ้ ยลง

4. ระยะบรรเทาภัย (relief phase) ระยะน้ีเป็นระยะท่ีภยั เร่ิมสงบหรือหมดฤทธ์ิไม่เป็นอนั ตรายต่อไป5. ระยะฟื้ นฟูสภาพ (rehabilitation phase) ระยะน้ีเป็นระยะหลงั จากภยั พบิ ตั ิไดส้ งบลงไปแลว้ และไดร้ ับการบรรเทาภยั ในระยะเร่งด่วนไปแลว้ เช่น การขจดั ส่ิงปรักหกั พงั การจดั การท่ีอยอู่ าศยั การฟ้ื นฟงู านอาชีพ การซ่อมแซมสิ่งสาธารณประโยชน์ต่างๆ

1. การจดั หาทพี่ กั อาศัยชั่วคราว ในกรณีท่ีผไู้ ดร้ ับภยั พิบตั ิ เช่น อคั คีภยั วาตภยั อุทกภยั อพยพล้ีภยั อนั ทาใหต้ อ้ งไร้ท่ีอยอู่ าศยั โดยตอ้ งเป็นท่ีสูง น้าท่วมไม่ถึง สามารถจดั หาน้าสะอาดไดง้ ่าย สะดวกต่อการกาจดั ขยะ มลู ฝอยและสิ่งปฏิกลู การคมนาคมที่สะดวก2. การจัดหานา้ สะอาดเพอ่ื การอปุ โภค บริโภค ในปริมาณท่ีเพียงพอ ไม่วา่ จะเป็นการนาน้าในพ้ืนท่ี หรือการตอ้ งขนส่งน้าจากนอกพ้ืนที่ มารองรับ การอุปโภค บริโภคของผปู้ ระสบภยั

3. การกาจัดอจุ จาระ เช่น การสร้างสว้ มสนาม หรืออาจตอ้ งใชร้ ถสว้ มเคล่ือนท่ีซ่ึงตอ้ งจดั ใหม้ ีจานวน 5-6 ท่ีต่อคน และจดั ใหอ้ ยหู่ ่างจากเตน๊ ท์หรือที่พกั แรมไม่เกิน 200 ฟตุ เพือ่ ป้ องกนั ปัญหาโรคติดต่อ4. การทาความสะอาดบริเวณทอ่ี าศัยและการกาจัดขยะมูลฝอย อยา่ งถูกหลกั สุขาภิบาลเพื่อป้ องกนั การเกิดแหล่งท่ีเพาะโรคติดต่อต่างๆ และเป็นที่อยขู่ องสตั วน์ าโรค อนั จะก่อใหเ้ กิดปัญหาโรคระบาดตามมา

5. การกาจัดนา้ เสีย เป็นแหล่งท่ีจะเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อต่างๆ รวมท้งั เป็นท่ีมาของเหตุราคาญ การบาบดั ควรห่างจากค่ายพกั หรือครัวประมาณ 50 ฟุต หรืออาจปล่อยใหซ้ ึมลงพ้นื ดินบริเวณน้นั ได้ ถา้หากปริมาณน้าเสียน้นั ไม่มากจนเกินไป6. การควบคุมแมลงและสัตว์แทะ สามารถนาโรคติดต่อแพร่ระบาดในคนหมู่มากไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว จึงมีความจาเป็นท่ีจะตอ้ งดาเนินการอยา่ งเขม้ ขน้ มากกวา่ การสุขภิบาลในสภาวะปกติ

1. การสร้างส้วมและห้องนา้ เช่น การใชส้ ว้ มถงั เท หรือแมแ้ ต่การขบั ถ่ายลงในภาชนะบางอยา่ ง ใชน้ ้ายาฆ่าเช้ือ แลว้ จึงมีการนาไปกาจดัโดยการเผาทิ้งหรือฝังทีหลงั อยา่ งถกู หลกั สุขาภิบาลได้2. การเกบ็ กกั ขยะมูลฝอย ควรจดั ใหม้ ีถงั พลาสติกพร้อมฝาปิ ดขนาดความจุ 50-100 ลิตรไวเ้ พอ่ื เกบ็ กกั ขยะมลู ฝอยของแต่ละวนั ส่วนขยะมูลฝอยชนิดเปี ยกใชถ้ ุงพลาสติกที่มีขนาดเท่ากนั หรือใหญ่กวา่ รองอีกช้นั หน่ึงเพ่ือป้ องกนั การร่ัวไหล แลว้ จึงเกบ็ รวบรวมเพ่อื นาไปทาลาย

3. การสร้างประปาฉุกเฉิน เป็นประปาสนาม สามารถติดต้งั และขนยา้ ย ไดโ้ ดยสะดวก รวดเร็ว เพราะโครงสร้างต่างๆ ทาดว้ ยเหลก็ ที่ออกแบบมา ง่ายๆ ไม่สลบั ซบั ซอ้ น4. การล้างบ่อนา้ และการทาลายเชื้อ เมื่อน้าลดแลว้ จะตอ้ งมีการลา้ งบ่อน้า และทาลายเช้ือในบ่อน้าเสียก่อน โดยใชป้ ูนคลอรีนละลายลงบ่อน้าและ วดั ความเขม้ ขน้ ใหไ้ ด้ 50 ppm ทิ้งไวข้ า้ มคืนแลว้ ใชเ้ ครื่องสูบน้าสูบน้า ในบ่อทิ้งเพื่อทาลายเช้ือโรคท่ีปนมากบั น้าในบ่อ

1. การเตรียมการก่อนมเี หตุการณ์เกดิ ขนึ้ 1.1 ส่วนกลาง จะตอ้ งร่วมกนั จดั ทาแผนการล่วงหนา้ โดยคาดคะเน และคาดการณ์ตามเหตุการณ์ท่ีเคยเกิดข้ึนแต่ละฤดูกาล ดงั น้ี1) จดั ทางบประมาณสารองเพม่ิ เติมจากงบประมาณปกติ 2) จดั เตรียมวสั ดุครุภณั ฑด์ า้ นการสุขาภิบาลและทรัพยากรสนับสนุน 3) จดั ต้งั ศนู ยป์ ระสานงานและเครือข่ายการส่ือสารส่วนกลาง 4) จดั หน่วยเฉพาะกิจไวเ้ พอ่ื เป็นการสนบั สนุนดา้ นกาลงั คน

1.2 ส่วนภูมภิ าค 1) ทราบขอ้ มลู และแหล่งน้าครอบคลุมทุกทอ้ งที่ของจงั หวดั 2) มีเคร่ืองสูบน้าเคลื่อนท่ีไวใ้ นสานกั งาน 3) อุปกรณ์ต่างๆ สาหรับกกั เกบ็ น้าสะอาดเพือ่ แจกจ่ายแก่ประชาชน 4) การจดั เตรียมอุปกรณ์สาหรับจดั สร้างท่ีพกั อาศยั ชวั่ คราว 5) การติดต่อประสานงานกบั หน่วยงานอ่ืน 6) ควรกระตนุ้ ใหม้ ีคณะกรรมการดา้ นการจดั การสุขาภิบาลในภาวะ ฉุกเฉิน

2. การดาเนินการขณะทม่ี เี หตุการณ์เกดิ ขนึ้2.1 ส่วนกลาง1) สนบั สนุนงบประมาณและทรัพยากรท่ีจาเป็นตามที่จงั หวดั ร้องขอ2) ประสานงานกบั หน่วยงานอ่ืนๆ ท้งั ของรัฐและเอกชน3) ในกรณีที่เกินกาลงั ความสามารถของจงั หวดั กจ็ ดั ส่งหน่วยเฉพาะกิจเขา้ ไปช่วยเหลือ4) ติดตามประเมินผลทุกระยะ พร้อมท้งั เตรียมการไวใ้ นการช่วยเหลือและสนบั สนุนเพิ่มเติม

2.2 ส่วนภูมภิ าค ขอความช่วยเหลือและสนบั สนุนจากส่วนกลาง ท้งั งบประมาณ ทรัพยากร กาลงั คนท่ีเกินความสามารถของจงั หวดั เท่าท่ี จาเป็นเพ่ือใหบ้ ริการแก่ผปู้ ระสบภยั เหล่าน้นั2.3 การดาเนินงานหลงั จากเหตุการณ์สงบแล้ว 1) ส่วนกลาง จะตอ้ งเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลต่างๆ ท้งั ดา้ นงบประมาณ ทรัพยากร กาลงั คนเสนอต่อผบู้ งั คบั บญั ชา พร้อมท้งั สรุปรายงานผล ขอ้ เสนอแนะ และนามาปรับปรุงแผนงานในปี ต่อไป

2) ส่วนภูมิภาค จะตอ้ งรวบรวมขอ้ มูลทุกประเภทนาเสนอตอ่ กระทรวงฯ และนามาวเิ คราะห์เปรียบเทียบกบั สถานการณ์ท่ีเกิด ข้ึนกบั ปี ก่อนๆ และทาการปรับปรุงแผนไวร้ อรับเหตุการณ์ที่จะ เกิดข้ึนในปี ต่อๆ

• Who (ใคร) : ประชาชนในหม่บู า้ นคงคาไลย ต.บางทราย อ.เมือง จ.ชลบุรี• What (อะไร) : จดั นิทรรศการเรื่องรู้ทนั วิกฤตพิชิตภยั ธรรมชาติ• Where (ทไ่ี หน) : ณ ศาลาประชาคมหม่บู า้ นคงคาไลย ต.บางทราย อ. เมือง จ.ชลบุรี• When (เมอ่ื ไหร่) : 21 ตุลาคม 2555 (วนั พยาบาลแห่งชาติ)• Why (ทาไม) : โดยมีการจดั บอร์ดใหค้ วามรู้เรื่องภยั ธรรมชาติ• How (อย่างไร) : เพ่อื ใหป้ ระชาชนมีความรู้ สามารถดูแลตนเอง รู้ถึงวิธีการ เตรียมตวั และป้ องกนั ตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเม่ือเกิดภยั ธรรมชาติ

ผลกระทบของสาธารณภยั ต่อสุขภาพ• ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข (Public Health Emergency) การสูญเสียชีวติ และภยั คุกคามต่อสุขภาพ• ความเส่ียงต่อการเกดิ โรคระบาดหรือโรคตดิ ต่อขึน้ ในพนื้ ท่ี ประสบภยั – ระยะสัน้ อุบัตกิ ารณ์ของโรคท่เี กดิ ขนึ้ มักจะมาจากากรปนเปื้อนของ อุจจาระในนา้ และอาหาร – ระยะยาวการเกดิ โรคท่ีเกดิ จากแมลงนาโรคอาจมีมากขนึ้ เน่ืองจาก ระบบป้ องกนั แมลงนาโรคได้รับผลกระทบจากสาธารณภัย

ผลกระทบของสาธารณภยั ต่ออาหาร และภาวะโภชนาการ• การขาดแคลนอาหาร นา้ บริโภคท่สี ะอาด ปบอดภยั• ปัญหาทางด้านโภชนาการอาจเกดิ ขนึ้ กบั ประชากรกล่มุ ท่ี มีความอ่อนแอ เช่น หญิงตงั้ ครรภ์ ผู้สูงอายุ ผ้ปู ่ วย และ เดก็ อ่อน เป็ นต้น

ผลกระทบจากสาธารณภยั ต่อการจัดหานา้ สะอาด และการสุขาภบิ าล• ความเส่ียงของการเกิดโรคเพ่มิ มากขนึ้ – การขาดแคลนนา้ ด่มื นา้ ใช้ – นา้ มีคุณภาพไม่ปลอดภยั ต่อการอุปโภคบริโภค – ระบบการเกบ็ กักของเสียและส่ิงปฏกิ ลู ได้รับความ เสียหาย

โรคติดต่อภายหลงั การเกดิ สาธารณภัย• โรคระบบทางเดนิ อาหาร• โรคระบบทางเดนิ หายใจ• โรคตดิ ต่อโดยแมลง

แนวทางการดาเนินงาน สอ. และนา้ ในภาวะฉุกเฉินก่อนเกดิ เหตุ1. จดั โครงสร้างการทางานตามลักษณะงาน (War room/ทมี ปฏบิ ตั งิ าน)2. สารวจวสั ดุอุปกรณ์ สารเคมี ชุดตรวจ และเอกสารส่ิงพมิ พ์ ส่ือ เผยแพร่ ท่จี าเป็ นต้องใช้ในภาวะฉุกเฉิน3. จัดเตรียม/ทา/ผลิต วัสดุอุปกรณ์ สารเคมี ชุดตรวจ และเอกสาร ส่งิ พมิ พ์ ส่ือเผยแพร่4. ซ้อมแผนปฏบิ ตั งิ านบนโต๊ะ และซ้อมแผนปฏบิ ตั งิ านจริง (สถานการณ์ สมมต)ิ5. เผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ข้อมูลข่าวสาร และแนวทางการป้ องกันหาก เกดิ เหตุ

แนวทางการดาเนินงาน ด้านอาหารและนา้ ในภาวะฉุกเฉินขณะเกดิ เหตุ1. ระยะแรก (หลังเกิดเหตุ 24-48 ชม.) – จัดตัง้ ศูนย์ปฏบิ ัตงิ านฉุกเฉิน และประสานงานกับหน่วยงานต่าง – ประเมนิ สถานการณ์จากข้อมูลจากพนื้ ท่ีเกดิ เหตุ และข้อมูลจาก หน่วยงานอ่ืน – จดั เตรียมวัสดุอุปกรณ์ สารเคมี ชุดตรวจและเอกสารส่งิ พมิ พ์ ส่ือเผยแพร่ท่ีจาเป็ น – เตรียมทีมปฏบิ ัตงิ านในพนื้ ท่ี และเจ้าหน้าท่ีประจาสานักงาน – ร่วมประชุม war room และจัดทาแผนปฏิบัตงิ านร่วมกบั หน่วยงาน อ่ืน

แนวทางการดาเนินงาน ด้านอาหารและนา้ ในภาวะฉุกเฉิน2. ระยะกลาง (หลังเกดิ เหตุ 48 ชม.-เหตุยุต)ิ 2.1 ตดิ ตาม ประเมินสถานการณ์ท่เี กดิ ขึน้ และให้การสนับสนุนด้าน วิชาการ และส่ิงสนับสนุนอ่ืน 2.2 ทมี ปฏบิ ตั งิ านลงพนื้ ท่ี และร่วมปฏิบตั งิ านกับหน่วยงานอ่ืน - การจัดการด้าน สอ.และนา้ - การเฝ้ าระวังความปลอดภยั ของอาหารและนา้ - การให้ความรู้แก่ประชาชน ภาคีเครือข่าย - การสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์

แนวทางการดาเนินงาน ด้านอาหารและนา้ ในภาวะฉุกเฉิน2.3 ประเมนิ สถานการณ์ในพนื้ ท่ปี ระสบภยั และจุดพักพงิ ผู้ประสบภยั ช่ัวคราวเพ่อื ปรับปรุงการ ปฏบิ ตั งิ านให้เหมาะสมกับสถานการณ์ท่ี เปล่ียนแปลงไป2.4 จัดทารายงานการปฏบิ ตั งิ านประจาวนั และรายงานให้ war room และหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องทราบ

แนวทางการดาเนินงาน ด้านอาหารและนา้ ในภาวะฉุกเฉินกรณีมีจุดอพยพ/ศนู ย์พกั พงิ ช่ัวคราว1. สารวจสภาพด้านสุขาภบิ าลอาหารของสถานเตรียมปรุงอาหาร แต่ละจุด ตามข้อกาหนดมาตรฐานด้านสุขาภบิ าลอาหาร2. ให้คาแนะนา ผู้เตรียม ปรุง ประกอบอาหาร และปรับปรุงสภาพ/ บริเวณท่เี ตรียม ปรุงอาหาร ให้ถูกสุขลักษณะ และร่วมในการ แก้ไขปัญหา3. จัดส่ิงสนับสนุน เช่น ผ้ากันเปื้อน นา้ ยาล้างจาน สบู่ล้างมือ เจลทาความสะอาดมือ ถุงมือพลาสตกิ เป็ นต้น

แนวทางการดาเนินงาน ด้านอาหารและนา้ ในภาวะฉุกเฉินกรณีมจี ุดอพยพ/ศูนย์พกั พงิ ช่ัวคราว4. เฝ้ าระวงั ความปลอดภยั ของอาหารและนา้ ภาชนะ อุปกรณ์ และ มือผู้สัมผัสอาหาร โดยใช้ชุดตรวจสอบภาคสนาม5. วิเคราะห์หาจดุ เส่ียงท่ที าให้เกดิ การปนเปื้อนของอาหารและนา้6. หากพบปัญหาด้านส่ิงแวดล้อมอ่นื เช่น พบแมลงวันจานวน มาก มีขยะตกค้าง นา้ ใช้ไม่เพียงพอ ให้ประสานงานกับ หน่วยงานท่เี ก่ียวข้อง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook