Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุดภาพกระทรวงมหาดไทยเล่ม 1

สมุดภาพกระทรวงมหาดไทยเล่ม 1

Published by prmoi0206.2, 2023-02-08 06:47:19

Description: สมุดภาพกระทรวงมหาดไทยเล่ม 1

Search

Read the Text Version

รอ้ ยตำ�รวจเอก หลวงสุดแดนฟา้ (บญุ ธรรม สมบัตินนั ทน)์ หลวงนรกิจบรหิ าร (เปลง่ วปินานนท์) นายอ�ำเภอบางเขน มหาดไทย มณฑลปราจณิ บุรี (ภาพจากนายธงชัย ลขิ ิตพรสวรรค์) (ภาพจากนายธงชัย ลขิ ติ พรสวรรค์) 199 I 199

พลโท บัญญตั ิ เทพหัสดนิ ณ อยุธยา (ชาตะ ๑๒ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๔๘ มตะ ๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๙) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวง มหาดไทย ระหวา่ ง ๒๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๔ ถงึ ๑๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๙๖ (ภาพจากนายธงชยั ลขิ ติ พรสวรรค์) 200 I 200

พลเอก มงั กร พรหมโยธี หรือ หลวงพรหมโยธี (มงั กร ผลโยธิน) (ชาตะ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๙ มตะ ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๙) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย ระหว่าง ๑๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๘๕ ถงึ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๗ และ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๒ ถึง ๒๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๔ (ภาพจากนายจตุพจน์ ปิยมั ปตุ ระ) 201 I 201

พลเอก เดช เดชประดยิ ุทธ์ หรอื หลวงเดชประดิยุทธ (เดช แสงเงนิ ) (ชาตะ ๑๕ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๔๕ มตะ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๑) รฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ๑๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ ถึง ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๐ (ภาพจากครอบครวั เดชประดิยทุ ธ)์ 202 I 202

จอมพล ประภาส จารุเสถียร (ชาตะ ๒๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๕๕ มตะ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๐) รัฐมนตรวี า่ การกระทรวง มหาดไทย ระหวา่ งวันท่ี ๒๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๐๐ ถึง ๑๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๑๔ และระหวา่ งวนั ท่ี ๑๙ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ถึง ๑๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๖ (ภาพจากนายธงชยั ลิขิตพรสวรรค)์ 203 I 203

นายถวิล สุนทรศารทลู (ชาตะ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๐ มตะ รอ้ ยตำ� รวจโทระดม มหาศรานนท์ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นครราชสมี า ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๙) ผูว้ า่ ราชการจังหวดั นครพนม พ.ศ. ๒๕๑๓ – ๒๕๑๖ ผวู้ า่ ราชการจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา พ.ศ. ๒๔๘๖ – ๒๔๙๐ อธิบดกี รมท่ดี ิน พ.ศ. ๒๔๙๙ – ๒๕๐๑ พ.ศ. ๒๕๑๖ – ๒๕๑๗ อธบิ ดกี รมทด่ี นิ พ.ศ. ๒๕๑๘ – ๒๕๒๒ และเปน็ ปลัดกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๐๖ – ๒๕๑๑ (ภาพจากนายธงชยั ลขิ ติ พรสวรรค์) (ภาพจากบุตรและธิดาของนายถวลิ สุนทรศารทูล) 204 I 204

ศาสตราจารย์ ทวี แรงขำ� (ชาตะ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๐ มตะ ๗ นายยุทธ จรัณยานนท์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๒๘) ผู้ว่าราชการจงั หวัดนครปฐม พ.ศ. ๒๔๘๗ – พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๔๙๑ และผู้วา่ ราชการจงั หวัดนครราชสมี า ๒๔๘๘ ผ้วู ่าราชการจังหวดั เชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๘๘ – ๒๔๘๙ ตอ่ มา ๒๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๙๕ ถงึ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยหลายสมัยระหว่าง (ภาพจากนางสาวดารกิ า จรณั ยานนท์) พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๒๕๑๔ (ภาพจากแพทย์หญงิ พรสม หตุ ะเจริญ) 205 I 205

นายช�ำนาญ ยุวบูรณ์ (ชาตะ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ มตะ ๑ นายชลอ วนะภูติ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ระหว่าง กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘) อธบิ ดีกรมการปกครอง พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๑ ตุลาคม ๒๕๑๗ ถงึ ๓๐ กันยายน ๒๕๒๐ ๒๕๑๑ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนแรก ระหวา่ ง ๑ มกราคม (ภาพจากนายจตพุ จน์ ปิยมั ปตุ ระ) พ.ศ. ๒๕๑๖ ถึง ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ (ภาพจากบุตรและธิดาของนายช�ำนาญ ยวุ บูรณ์) 206 I 206

นายสนิท วิไลจติ ต์ (ชาตะ ๒๐ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๕๕ มตะ ๓๐ นายวงษ์ ช่อวเิ ชยี ร (ชาตะ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๙ มตะ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๕) ผวู้ ่าราชการจงั หวัดสิงห์บุรี มกราคม พ.ศ. ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๑) ผู้วา่ ราชการจงั หวัดระนอง พ.ศ. ๒๔๙๑ – เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓ ผวู้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. ๒๕๑๒ – ๒๕๑๓ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั กาญจนบรุ ี พ.ศ. ๒๕๑๓ ๒๔๙๓ – ๒๔๙๔ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๔๙๔ – – ๒๕๑๔ รองอธิบดีกรมทีด่ ิน พ.ศ. ๒๕๑๔ – ๒๕๑๖ และ ๒๔๙๖ ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๔๙๖ – ๒๔๙๗ ผู้ว่า รองอธบิ ดกี รมการปกครอง พ.ศ. ๒๕๑๖ – ๒๕๒๐ ราชการจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๔๙๘ – ๒๔๙๙ และอธบิ ดีกรม (ภาพจากนายจตุพจน์ ปิยัมปุตระ) การปกครอง ระหวา่ งมกราคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ถงึ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๖ (ภาพจากครอบครวั วิไลจติ ต)์ 207 I 207

ภาพหม่ขู ้าราชการของอำ�เภอในเขตกรงุ เทพมหานคร มีหลวงนรนิตผิ ดงุ การ (พฒั น์ ยงั คสนุ ทร) เป็นนายอำ�เภอ (แถวน่งั เกา้ อี้คนท่ี ๓ จากซา้ ย) ภาพยคุ ๒๔๖๐ (ภาพจากนายจกั รกฤษณ์ นรนิตผิ ดงุ การ) 208 I 208

ภาพหมู่ขา้ ราชการของอำ�เภอในเขตกรุงเทพมหานคร มหี ลวงนรนิตผิ ดุงการ (พฒั น์ ยังคสุนทร) เปน็ นายอำ�เภอ (น่ังกลาง) ภาพยคุ ๒๔๖๐ (ภาพจากนายจักรกฤษณ์ นรนติ ผิ ดงุ การ) 209 I 209

๕5 สิ่งของที่ระลึกซ่ึงเกี่ยวข้องกับกระทรวงมหาดไทย “…กลบั มาแวะวดั โสธร ซึ่งกรมหลวงดำ� รงคิดจะแปลว่า ยโสธร จะให้เก่ียวขอ้ งแก่การท่ี ได้สร้างเมื่อเสด็จกลับจากไปตีเขมรแผ่นดินพระบรมไตรโลกนาถหรือเม่ือใดราวนั้น แต่ เป็นที่น่าสงสัยด้วยเห็นใหม่นัก พระพุทธรูปว่าท�ำด้วยศิลาแลงท้ังน้ัน องค์ท่ีส�ำคัญว่า เปน็ พระหมอดนี น้ั คอื องคท์ อี่ ยกู่ ลาง ดรู ปู ตกั และเอวงามเปน็ ทำ� นองเดยี วกนั กบั พระพทุ ธ เทวปฏิมากร แต่ตอนบนกลายไป เป็นด้วยฝีมือผู้ที่ไปปั้น ว่าลอยน้�ำมาก็เป็นความจริง เพราะเปน็ พระศลิ าคงไมไ่ ดท้ ำ� ในทนี่ ี้ ความนยิ มนบั ถอื ในความเจบ็ ไขอ้ ยขู่ า้ งจะมาก มคี น ไปมาเสมอไมข่ าดจนถงึ มรี า้ นธปู เทยี นประจำ� อยไู่ ดท้ ง้ั สสี่ ะพานและทป่ี ระตกู ำ� แพงแกว้ กวา่ ๒๐ คน สอบถามดวู า่ ขายไดอ้ ยใู่ นวนั ละกงึ่ ตำ� ลงึ มที อดตวิ้ พวกจนี เขา้ รกั ษา เจา้ ศรใี สถวาย ก�ำปั่นเหลก็ เจาะชอ่ งไว้ส�ำหรับเรอ่ี รายใบหนง่ึ ไม่มีอะไรจะดูเลยในวัดนนั้ …” ทม่ี า : พระราชหตั ถเลขาพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เรอื่ งเสดจ็ ประพาสมณฑลปราจนี เมอ่ื ร.ศ. ๑๒๗ (พ.ศ. ๒๔๕๑) พมิ พใ์ นงานพระเมรพุ ลเอก สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาชยั นาท นเรนทร พ.ศ. ๒๔๙๕ หน้า ๑๔ 210 I 210

ตราประทบั ของมณฑลนครสวรรค์ ท�ำดว้ ยงา ขนาด ๖.๘ เซนตเิ มตร สมบัติของนายนริ ันดร วศิ ิษฐส์ นิ 211 I 211

พระพุทธนวราชบพิตรประจ�ำจังหวัดก�ำแพงเพชร พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โปรดเกล้าฯ ให้พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจา้ อย่หู ัว เมอ่ื ครั้งด�ำรงพระอิสริยยศสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ แทนพระองค์มาพระราชทาน ณ ศาลากลางจงั หวัดกำ� แพงเพชร เมื่อวันที่ ๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ พระพุทธนวราชบพิตรมีพุทธลักษณะปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง ๒๓ เซนติเมตร สูง ๔๐ เซนติเมตร ปจั จุบันเก็บรกั ษา ณ ศาลากลางจงั หวดั ก�ำแพงเพชร 212 I 212

213 I 213

พระแสงราชศัสตราประจ�ำเมืองก�ำแพงเพชร เป็นดาบด้ามทอง ฝักทอง ด้ามยาว ๓๙.๕ เซนติเมตร ฝักยาว ๔๙ เซนติเมตร ใบดาบยาว ๔๕.๕ เซนติเมตร นำ�้ หนักพระแสงราชศสั ตรา ๖๓๒.๒ กรมั สมบตั ิของจงั หวดั ก�ำแพงเพชร พระแสงราชศัสตราองค์นี้ มีประวัติความเป็นมาพิเศษ คือ เป็นดาบพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระราชทานแก่พระยาก�ำแพงเพชร (นุช) คร้ังไปรบชนะเมืองปัตตานี และพระราชทานต�ำแหน่งให้เป็นที่พระยารามรณรงค์ สงครามฯ ครองเมืองก�ำแพงเพชร พระแสงตกทอดในตระกูลมาหลายช่ัวคน กล่าวคือ พระยาก�ำแพงเพชร (นาค) พระยา ก�ำแพงเพชร (บัว) พระยาก�ำแพงเพชร (น้อย) พระยาก�ำแพงเพชร (เกิด) พระยาก�ำแพงเพชร (อ้น) จนหลวงพิพิธอภัย (หวล) บุตรพระยาก�ำแพง (อ้น) ซ่ึงมิได้เป็นเจ้าเมืองก�ำแพงเพชร ครั้นถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ คราวเสด็จประพาส ตน้ ของรชั กาลที่ ๕ หลวงพพิ ธิ อภยั (หวล) ผชู้ ว่ ยขา้ หลวงเมอื งกำ� แพงเพชรไดท้ ลู เกลา้ ฯ ถวายรชั กาลที่ ๕ ทรงพจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ “พเิ คราะห์ดกู เ็ หน็ จะเป็นดาบพระราชทานจรงิ ” รชั กาลท่ี ๕ พระราชทานคืนไว้ส�ำหรบั เป็นพระแสงดาบประจ�ำเมืองก�ำแพงเพชร สืบมา พระแสงองคน์ ไ้ี ดร้ บั การอนรุ กั ษแ์ ละซอ่ มแซมอกี ครง้ั เมอื่ พ.ศ. ๒๕๕๐ สมยั ทน่ี ายวทิ ยา ผวิ ผอ่ ง ดำ� รงตำ� แหนง่ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ก�ำแพงเพชร มีพระราชญาณปรีชาครั้งด�ำรงสมณศักด์ิพระครูวิสุทธิธรรมภาณ (พระมหาสมจิตร อภิจิตโต) วัดบวรนิเวศวิหาร มอบทองคำ� ให้ ๔๖.๖ กรมั และคา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ๆ ดำ� เนินการซอ่ มโดยนายยงยทุ ธ วรรณโกวิท นายช่างประณตี ศลิ ป์ กรมศิลปากร 214 I 214

พระแสงราชศสั ตราประจำ� มณฑลปตั ตานี พระราชทานเมอื่ วนั ท่ี ๑๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๕๘ พระยาเดชานชุ ติ (หนา บนุ นาค) สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลปัตตานรี ับพระราชทาน ณ พลับพลาทอง ในสนามเมอื งปัตตานี เป็นพระแสงด้ามทอง ฝักทอง ลงยาราชาวดี ประดบั พลอยลายกดุ ั่น จารกึ ข้อความว่า “มณฑลปตั ตาน”ี บนใบพระแสงท้ัง ๒ ด้าน ด้ามยาว ๓๒.๕ เซนติเมตร ฝักยาว ๗๔.๕ เซนตเิ มตร ใบดาบยาว ๖๖.๕ เซนตเิ มตร สมบตั ขิ องจงั หวดั ปตั ตานี 215 I 215

พระบรมฉายาลกั ษณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หัว ประดิษฐานภายในห้องท�ำงานปลัดกระทรวงมหาดไทย สมบตั ิของกระทรวงมหาดไทย 216 I 216

พระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เม่ือคร้ังด�ำรงพระอิสริยศสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ พระราชทานสำ� หรับศาลากลางจงั หวดั ปตั ตานี เม่อื คราวเสดจ็ ประพาสภาคใต้ วนั ท่ี ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ สมบตั ขิ องจงั หวดั ปัตตานี 217 I 217

ครฑุ ประจำ� หนา้ บนั ศาลากลางจงั หวดั ลำ� ปางหลงั เกา่ ปจั จบุ นั เกบ็ รกั ษาทว่ี ดั เจดยี ซ์ าว บา้ นวงั หมอ้ ถนนลำ� ปาง-แจห้ ม่ ต�ำบลต้นธงชยั อ�ำเภอเมือง จงั หวดั ล�ำปาง 218 I 218

กล่องบรรจพุ นิ ัยกรรมของ เจ้าพระยารตั นบดนิ ทร์ (รอด กัลยาณมิตร) สมุหนายกในสมยั รัชกาลท่ี ๕ และเป็นสมหุ นายกท่านสุดท้าย สมบตั ขิ องพิพธิ ภัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย 219 I 219

220 I 220

พระบรมรูปรชั กาลที่ ๕ ประทบั ยืนบนฐานสี่เหล่ยี ม หล่อโดยบริษัทซุส แฟร์ ฟองเดอร์ ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นบริษทั เดยี วกับท่หี ล่อพระบรมรปู ทรงมา้ สร้างจ�ำนวน ๔๐๐ องค์ สูง ๔๙ เซนตเิ มตร หมายเลข P ๒๕๑ สมบตั ขิ องจงั หวดั เพชรบรู ณ์ 221 I 221

เครอ่ื งกระเบือ้ งลายคราม ภาชนะใสข่ นมอย่างจนี เรียกว่า จี่นอับ๊ เกะ ลายสิงโต อายชุ ่วงรชั กาลที่ ๔ สมบัติของพิพธิ ภณั ฑ์กระทรวงมหาดไทย 222 I 222

เครอื่ งกระเบื้องลายคราม รูปเทพเจ้าจนี ๓ องค์ สมบตั ิของพพิ ิธภัณฑก์ ระทรวงมหาดไทย 223 I 223

กระถางธปู ลายคราม ลายมังกรส่เี ลบ็ สมบัติของพพิ ธิ ภณั ฑก์ ระทรวงมหาดไทย 224 I 224

แจกันลายคราม ทรงขวด ลายสงิ โตด้นั เมฆ กระถางธปู ลายคราม สามขา ลายสงิ โตดั้นเมฆ สมบตั ขิ องพิพิธภณั ฑ์กระทรวงมหาดไทย 225 I 225

ถาดเงนิ รปู ทรงและลวดลายแบบยุโรป จารกึ ข้อความวา่ “นายดศิ บุตรพระยาทรงสุรเดช ถวายไวส้ �ำหรบั กระทรวงมหาดไทย เม่อื ปี ร.ศ. ๑๒๑” สมบัติของพพิ ิธภณั ฑ์กระทรวงมหาดไทย 226 I 226

ขันน้ำ� ลงหิน ส�ำหรบั ทำ� พิธีถอื นำ�้ พิพัฒนส์ ตั ยา ส�ำหรับกระทรวงนครบาล พ.ศ. ๒๔๕๖ จ�ำนวน ๒ ใบ สมบตั ิของพพิ ิธภณั ฑก์ ระทรวงมหาดไทย 227 I 227

นาฬิกาทร่ี ะลึกในการรับราชการครบ ๒๐ ปี สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๔๕๕ เป็นนาฬกิ าแบบปารีส ลงรักปิดทอง (เรือนนเ้ี ป็นเรือนพิเศษ ทลู เกล้าฯ ถวาย) สมบตั ขิ องสำ� นกั หอสมดุ แหง่ ชาติ กรมศิลปากร 228 I 228

นาฬกิ าทร่ี ะลึกในการรับราชการครบ ๒๐ ปี สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๔๕๕ เป็นนาฬกิ าแบบปารสี ตทู้ �ำดว้ ยไม้สกั สมบตั ิของพิพธิ ภณั ฑก์ ระทรวงมหาดไทย 229 I 229

พระธาตุนารายณ์เจงเวงจำ� ลอง ฐานทำ� ดว้ ยโลหะเงิน สงู ๑๒ เซนติเมตร องคธ์ าตทุ �ำดว้ ยทองคำ� เป็นของท่รี ะลกึ ในคราวสมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ เสดจ็ ตรวจราชการมณฑลอุดร เมอ่ื ร.ศ. ๑๒๕ (พ.ศ. ๒๔๔๙) สมบตั ขิ องหอสมุดด�ำรงราชานุภาพ กรมศลิ ปากร 230 I 230

ต้นมะเดือ่ หมากแขง็ ตน้ ไมท้ ำ� ด้วยโลหะเงิน ใบไม้เป็นทองค�ำ จ�ำนวน ๖๔ ใบ สูง ๓๔ เซนติเมตร เปน็ ของทรี่ ะลกึ ในคราวสมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เสดจ็ ตรวจราชการมณฑลอุดร เม่อื ร.ศ. ๑๒๕ (พ.ศ. ๒๔๔๙) สมบตั ขิ องหอสมุดดำ� รงราชานุภาพ กรมศลิ ปากร 231 I 231

พระธาตุพนมจ�ำลอง โลหะเงิน สูง ๗๑.๕ เซนตเิ มตร เป็นของที่ระลกึ ในคราวสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ เสด็จตรวจราชการมณฑลอุดร เม่อื ร.ศ. ๑๒๕ (พ.ศ. ๒๔๔๙) มีจารึกข้อความท้ัง ๔ ดา้ น ความวา่ “พระยาสุนทรนุรักษ์ ข้าหลวงบริเวณ ขนุ ผลาญณรงค์ ผู้พิพากษา พระอนุชาติวุฒิคุณ เมืองมกุ ดาหาร ขุนศภุ กจิ จำ� นงค์ เมอื งท่าอเุ ทน แลผ้วู ่าราชการเมือง กรมการอ�ำเภอ เมอื งนครพนม เมอื งมกุ ดาหาร เมืองท่าอเุ ทน เมืองไชยบุรี เมืองเรณูนคร เมอื งอากาศอ�ำนวย เมอื งกุสมุ าลย์ เมืองโพธไิ พศาล เมอื งหนองสูง เมอื งอาจสามารถ เมืองรามราช พร้อมกันขอพระทาน ถวายรูปจ�ำลองพระธาตุพนม อันเป็นนามบรเิ วณ แดพ่ ระเจา้ น้องยาเธอ กรมหลวงดำ� รงราชานภุ าพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ซ่งึ เสดจ็ ทรงตรวจราชการ บรเิ วณธาตพุ นม แตว่ นั ที่ ๒๐ เดอื นมกราคม ร.ศ. ๑๒๕” สมบตั ขิ องหอสมุดด�ำรงราชานุภาพ ส�ำนกั หอสมุดแห่งชาติ กรมศลิ ปากร หมายเหตุ : พระยาสุนทรนรุ ักษ์ (เล่อื น ภมู ริ ตั น์) ตอ่ มาคอื พระยาเทพ สนุ ทรกจิ จารกั ษ์ พระอนชุ าติวุฒิคณุ (แพ ณ หนองคาย) ขนุ ผลาญณรงค์ (ทยุ้ ศาตราศรัย) และขนุ ศุภกิจจ�ำนงค์ (จนั ทิมา พลเตชา) 232 I 232

233 I 233

ขะออม คือ โถน้�ำส�ำหรับเจ้านายของเมอื งเหนอื เปน็ เครอ่ื งประกอบยศ ตัวเรอื นทำ� ดว้ ยเงิน ยอดทองค�ำ สงู ๓๔ เซนตเิ มตร เปน็ ของท่รี ะลกึ ในคราว สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ เสดจ็ ตรวจราชการมณฑลพายัพ (เมอื งนา่ น) เมอื่ ร.ศ. ๑๑๗ (พ.ศ. ๒๔๔๑) สมบัติของหอสมดุ ด�ำรงราชานุภาพ กรมศลิ ปากร 234 I 234

ระแทะ คอื เกวียนของภาคอีสาน ทำ� ด้วยโลหะเงิน ยาว ๕๐ เซนติเมตร เปน็ ของท่รี ะลกึ ในคราวสมเด็จฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ เสด็จตรวจราชการมณฑลอุดร เมอ่ื ร.ศ. ๑๒๕ (พ.ศ. ๒๔๔๙) สมบัตขิ องหอสมดุ ด�ำรงราชานภุ าพ กรมศิลปากร 235 I 235

เครื่องแกว้ หลายสี หลากรปู ทรง แกะสลักคำ� ว่า มหาดไทย สมบตั ิของพิพธิ ภณั ฑ์ กระทรวงมหาดไทย 236 I 236

เอกสารและสิ่งพิมพ์ ๖6 “…เจ้าคณุ อำ� นาจอยู่ที่ราษฎรเชอ่ื ถือไมใ่ ช่อยูท่ พ่ี ระแสงราชศสั ตรา จะไปอยู่ทไี่ หนกต็ าม ถ้าเจ้าคุณท�ำให้ราษฎรเช่ือถือด้วยความศรัทธาแล้ว ไม่มีใครถอดเจ้าคุณได้แม้ในหลวง เพราะท่านก็ทรงปรารถนาให้ราษฎรอย่เู ยน็ เปน็ สขุ เช่นเดียวกนั …” ทม่ี า : ชวี ติ และงานของสมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ โดย หม่อมเจ้าหญงิ พูนพิศมัย ดศิ กลุ , สำ� นกั พิมพ์คลงั วิทยา, พ.ศ. ๒๕๑๗ หน้าที่ ๒๓ 237 I 237

238 I 238

สมุดลงพระปรมาภไิ ธยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พรอ้ มด้วยสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ในการเสดจ็ พระราชด�ำเนินประกอบพิธเี ปิดศาลากลางจงั หวัดล�ำปาง เม่ือวันศุกรท์ ี่ ๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๙ สมบตั ขิ องจงั หวดั ล�ำปาง 239 I 239

หนังสอื รายงานการประชุมเทศาภิบาล รัตนโกสนิ ทร์ศก ๑๑๘ (พ.ศ. ๒๔๔๒) สมบัติของพพิ ิธภัณฑก์ ระทรวงมหาดไทย 240 I 240

เอกสารจดหมายเหตุ หนังสือสั่งราชการกระทรวงมหาดไทย เอกสารจดหมายเหตุ หนงั สอื สง่ั ราชการกระทรวง รัตนโกสินทร์ศก ๑๒๗ ลงพระนาม ด�ำรง เสนาบดี และประทบั มหาดไทย รตั นโกสนิ ทรศ์ ก ๑๒๐ ลงพระนาม ดำ� รง ตราราชสหี น์ ้อย สมบัติของพิพธิ ภัณฑ์กระทรวงมหาดไทย ราชานุภาพ เสนาบดี และประทับตราราชสีห์น้อย สมบตั ขิ องพิพธิ ภณั ฑก์ ระทรวงมหาดไทย เอกสารจดหมายเหตุ เรอื่ ง การขอใชท้ ท่ี ำ� การศาลจงั หวดั นครนายกหลงั เกา่ เปน็ ทท่ี ำ� การอำ� เภอวงั กระโจม พ.ศ. ๒๔๗๕ สมบัตขิ องนายนกิ ร ทสั สโร 241 I 241

บตั รประจ�ำตัวข้าราชการ นายชำ� นาญ ยุวบูรณ์ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๖ สมบตั ิของบตุ รและธิดาของนายช�ำนาญ ยุวบรู ณ์ บตั รประจ�ำตวั ประชาชน นายฉลอง กลั ยาณมิตร เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๖ สมบัติจากนายบุณยฤทธ์ิ กลั ยาณมิตร 242 I 242

รัฐธรรมนญู จ�ำลอง ประจ�ำจังหวัดเชยี งใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ มีพระพินจิ ธนากร (บุญเพ็ง ยุกตะนนั ทน)์ และหลวงศรปี ระกาศ (ฉนั ท์ วชิ ยาภัย) ผู้แทนราษฎรจงั หวัดเชียงใหมเ่ ปน็ ผ้นู �ำมาให้เปน็ สมบัตขิ องหอจดหมายเหตเุ ฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ติ ์พิ ระบรมราชินีนาถ เชยี งใหม่ 243 I 243

เทศาภิบาล ฉบบั วันสถาปนากระทรวงมหาดไทย ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๗ เล่มที่ ๔๙ ตอนท่ี ๔ นายช�ำนาญ ยวุ บรู ณ์ เปน็ บรรณาธิการ ตวั อยา่ งปกนติ ยสารเทศาภบิ าลฉบบั ตา่ งๆ สมบัตขิ องห้องสมดุ ส�ำนกั พมิ พต์ น้ ฉบับ 244 I 244

ตวั อยา่ งปกนติ ยสารของกระทรวงมหาดไทย จัดทำ� ในวาระและภารกิจต่าง ๆ (สมบัติของนายธงชัย ลิขติ พรสวรรค)์ วารสารกำ� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น รายเดอื น ปที ่ี ๑๘ ฉบบั ที่ ๓ ขา่ วจากเทศบาลนครกรงุ เทพฯรายเดอื นปที ี่๑ฉบบั ที่๑๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ นายฉลอง กัลยาณมติ ร ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๐๔ รอ้ ยตำ� รวจโท ระดม มหาศรานนท์ เป็นบรรณาธิการ เป็นบรรณาธิการ ภาพปก คือ ภาพนายช�ำนาญ ยุวบูรณ์ นายกเทศมนตรีนครกรุงเทพ (คนท่ีสอง จากซา้ ย) ต้อนรบั เซอร์ เบอนารด์ วัลล่ี โคเฮ็น นายก เทศมนตรีนครลอนดอน (คนท่ีสามจากซ้าย) ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๔ หนังสอื ประวัติมหาดไทย กรมศลิ ปากรตรวจสอบแลว้ พ.ศ. ๒๕๐๖ จำ� นวน ๓ เลม่ จบ สมบตั ิของห้องสมุดส�ำนักพิมพ์ต้นฉบบั 245 I 245

นิตยสารทอ้ งถ่ิน ปีที่ ๙ เล่มท่ี ๙ เดือนกนั ยายน พ.ศ. ๒๕๐๒ มหาดไทย ปที ี่ ๒ ฉบบั ท่ี ๒๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ นายดำ� รงสนุ ทรศารทลู เปน็ บรรณาธกิ ารภาพหนา้ ปกเปน็ ภาพชอ่ื นายผัน จันทรปาน เป็นบรรณาธิการ “ชนบท” ไดร้ บั ความเออื้ เฟอ้ื จากแผนกตา่ งประเทศ สำ� นกั การทอ่ งเทยี่ ว สมบตั ิของหอ้ งสมุดส�ำนกั พิมพ์ต้นฉบับ กรมประชาสัมพนั ธ์ สมบัติของหอ้ งสมดุ ส�ำนกั พิมพ์ตน้ ฉบับ เพชรบรู ณส์ าร รายเดือน ปที ่ี ๒ ฉบับท่ี ๑๗ ประจำ� วันพฤหัสบดี วารสารลำ� พนู ประจ�ำเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ปที ี่ ๔ ที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๔ นายพศิ าล มลู ศาสสาทร เปน็ บรรณาธกิ าร ฉบบั ที่ ๗ ปกหนา้ เปน็ ภาพนกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นศรบี ญุ ยนื - สมบตั ิของห้องสมดุ สำ� นักพมิ พต์ น้ ฉบับ วงั ทอง กำ� ลงั เดนิ พาเหรด ผา่ นซมุ้ ประตโู รงเรยี น ในวนั เปดิ โรงเรยี นใหม่ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๓ ผพู้ มิ พค์ อื 246 I 246 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดล�ำพูน สมบตั ขิ องนายนเรนทร์ ปญั ญาภู

ภาคผนวก การประชุมเทศาภบิ าล แถวยนื ท่ี ๑ จากซา้ ย ๑๖. พระยาเสถยี รฐาปนกจิ (ชม ชมธวชั ) กระทรวงมหาดไทย ถา่ ยที่หนา้ เฉลียง ๑. พระยาศรสี นุ ทรโวหาร(กมลสาลกั ษณ์) ปลัดทูลฉลองกระทรวงโยธาธิการ วดั พระศรีรตั นศาสดาราม ตอ่ มาเปน็ พระยาศรภี รู ปิ รชี า ปลดั ทลู ๑๗. หม่อมเจ้าปยิ ะภกั ดีนาถ สปุ ระดิษฐ์ พทุ ธศกั ราช ๒๔๔๘ ฉลองกระทรวงเกษตราธกิ าร ปลัดทูลฉลองกระทรวงพระคลังมหา (ภาพจากหน้า ๒๒-๒๓) ๒. พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง สมบัติ (หมอ่ มราชวงศล์ พ สุทศั น์) ต่อมาเป็น แถวนัง่ จากซา้ ย เจ้าพระยาอภัยราชา ปลัดทูลฉลอง แถวยนื ท่ี ๒ จากซา้ ย ๑. นายเอ็ดเวิร์ด สโตรเบล ท่ีปรึกษา กระทรวงนครบาล ๑. พระยาวิชยาธิบดี (แบน บุนนาค) ๓. พระยาศรสี รุ ยิ ราชวรานวุ ตั ร(โพเนตโิ พธ)ิ ราชการทัว่ ไป ขา้ หลวงเทศาภบิ าลมณฑลพิษณุโลก ข้าหลวงเทศาภบิ าลมณฑลจนั ทบุรี ๒. พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหม่ืนชุมพร ๔. พระยาก�ำแหงสงคราม (จัน อินทร ๒. พระยาโบราณบรุ านรุ กั ษ์(พรเดชะคปุ ต)์ ก�ำแหง) ข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑล เขตรอุดมศักดิ์ (ต่อมาเลื่อนพระ นครราชสีมา ต่อมาเป็นพระยาโบราณราชธานินทร์) อิสริยยศเป็นกรมหลวงชุมพรเขตร ๕. พลตรี พระยาวรเดชศักดาวุธ (แย้ม ผู้รั้งข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑล อดุ มศกั ด)์ิ รองผบู้ ญั ชาการกรมทหาร ณ นคร) ตอ่ มาเปน็ พลเอก เจา้ พระยา กรุงเก่า เรือ บดินทรเดชานุชิต) ปลัดทพั บก ๓. พระยาสิงหบรุ านุรักษ์ (เจิม บนุ นาค) ๓. พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นจันทบุรี ๖. พลตรี พระยาประสิทธ์ิศัลการ (สอาด ต่อมาเป็นพระยาศรีสัชนาไลยบดี นฤนาถ (ตอ่ มาเลอื่ นพระอสิ รยิ ยศเปน็ สิงหเสนี) ต่อมาเป็นพระยาสิงหเสนี ผูว้ า่ ราชการเมืองระยอง กรมพระจันทบุรีนฤนาถ) เสนาบดี ปลดั ทลู ฉลองกระทรวงกลาโหม ๔. นายโรนัลด์ เวิร์ธธี กิบลิน เจ้ากรม กระทรวงพระคลงั มหาสมบตั ิ ๗ พระศรเี สนา (เลอ่ื น ศภุ ศริ วิ ฒั น)์ ตอ่ มา แผนท่ี ๔. พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงด�ำรง เป็นพระยาญาณประกาศ เจ้ากรม แถวยนื ท่ี ๓ จากซ้าย ราชานภุ าพ (ตอ่ มาเลอ่ื นพระอสิ รยิ ยศ มหาดไทยฝ่ายเหนือ ๑. นายวิลเลียม แอลเฟรด ติเลกี (ตอ่ มา เป็นสมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชา ๘. พระยาสขุ มุ นัยวนิ ิต (ปน้ั สขุ ุม) ต่อมา เป็นพระยาอรรถการประสิทธิ์) เจ้า นภุ าพ) เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เปน็ เจา้ พระยายมราช ขา้ หลวงเทศา- กรมอยั การ ๕. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยาม ภบิ าลมณฑลนครศรีธรรมราช ๒. นายเฮนรี ยอช สก๊อต เจ้ากรมราช มกุฎราชกุมาร (พระบาทสมเด็จ ๙. พระยาจกั รปาณศี รศี ลี วสิ ทุ ธิ์(ลออไกรฤกษ์) โลหกจิ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั ) ต่อมาเป็นเจ้าพระยามหิธร ปลัดทูล ๓. นายวลิ เลียม ลอยด์ เจ้ากรมปา่ ไม้ ๖. พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงนเรศ ฉลองกระทรวงยุติธรรม แถวยืนท่ี ๔ จากซา้ ย วรฤทธิ์ (ต่อมาเลื่อนพระอิสริยยศ ๑๐. พระยาศรีสหเทพ (เส็ง วิริยศิริ) ๑. พระรษั ฎากรโกศล (ฮง นาวานเุ คราะห์ ) เป็นกรมพระนเรศวรฤทธิ์) เสนาบดี ต่อมาเป็นพระยามหาอ�ำมาตยาธิบดี เจ้ากรมสรรพากรใน (ต่อมาเป็น กระทรวงนครบาล ปลัดทลู ฉลองกระทรวงมหาดไทย พระยารัษฎากรโกศล แล้วถูกถอด ๗. พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมนื่ มรุพงษ์ ๑๑. พลเรือตรี พระยาเทพอรชุน (เจ๊ก จากบรรดาศักดิ์) ศิริพัฒน์ (ต่อมาเลื่อนพระอิสริยยศ จารจุ นิ ดา) ผชู้ ว่ ยผบู้ ญั ชาการทหารเรอื ๒. นายฟรานซิส เฮนรี ไยล์ (ตอ่ มาเป็น เปน็ กรมขนุ มรพุ งษศ์ ริ พิ ฒั น)์ ขา้ หลวง ๑๒. พระยาไกรเพ็ชรรัตนสงคราม (แฉ่ พระยาอินทรมนตรี) เจ้ากรม เทศาภิบาลมณฑลปราจณิ บุนนาค) ขา้ หลวงเทศาภิบาลมณฑล สรรพากรนอก ๘. เจา้ พระยาเทเวศร์วงศ์วิวฒั น์ (หม่อม ราชบรุ ี ๓. พระภริ มยร์ าชา(อทุ ยั วรรณอมาตยกลุ ) ราชวงศ์หลาน กุญชร) เสนาบดี ๑๓.พระยาอมรนิ ทรฦๅชยั (จำ� รสั รตั นกลุ ) ตอ่ มาเปน็ พระยาราชพนิ จิ จยั ขา้ หลวง กระทรวงเกษตราธิการ ต่อมาเป็นพระยารัตนกุล ข้าหลวง มหาดไทยมณฑลภูเกต็ ๙. พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) เทศาภบิ าลมณฑนครสวรรค์ แถวยนื ที่ ๕ จากซา้ ย เสนาบดกี ระทรวงโยธาธิการ ๑๔. พระยาสุนทรบุรี (ชม สุนทรารชนุ ) ๑. พระยาจา่ แสนบดี (อวบ เปาโรหิตย์) ต่อมาเปน็ เจา้ พระยาศรวี ไิ ชยชนินทร์ ตอ่ มาเปน็ เจา้ พระยามขุ มนตรี เจา้ กรม ขา้ หลวงเทศาภบิ าลมณฑลนครไชยศรี มหาดไทยฝา่ ยพลำ� ภงั ๑๕. พลตรี พระยาสีหราชเดโชไชย ๒. หม่อมอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อม (หมอ่ มราชวงศอ์ รณุ ฉตั รกลุ ) ตอ่ มาเปน็ ราชวงศ์ประยูร อศิ รศกั ดิ)์ ต่อมาเป็น จอมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสด์ิ ปลัด รองผบู้ ัญชาการกรมยทุ ธนาธกิ าร บาญชีกระทรวงมหาดไทย ๓. พระราชพนิ จิ จยั (เหม บนุ นาค) ตอ่ มา เ ป ็ น พ ร ะ ย า นิ พั ท ธ สุ ริ ย า นุ ว ง ศ ์ เลขานุการกระทรวงมหาดไทย 247 I 247

การประชุมเทศาภบิ าลกระทรวงมหาดไทย จากซา้ ย๑.พระยาเสถยี รฐาปนกจิ ๒.เจา้ พระยาศรวี ไิ ชยชนนิ ทร์ พุทธศักราช ๒๔๔๑ (ชม สนุ ทรารชนุ ) ๓. พระยาดำ� รงสจุ รติ ๔. พระยามหาอำ� มาตย์ (ภาพจากหน้า ๒๖-๒๗) (เสง็ วริ ยิ ศริ )ิ ๕. เจา้ พระยาสรุ สหี ว์ สิ ษิ ฐศกั ดิ์ (เชย กลั ยาณมติ ร) ๖. เจา้ พระยาสรุ พนั ธพ์ สิ ทุ ธิ์ (เทศ บนุ นาค) ๗. เจา้ พระยาเทเวศร์ วงศว์ วิ ัฒน์ ๘. พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหมืน่ มหิศรราชหฤทัย ๙.สมเดจ็ ฯกรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ๑๐.พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงราชบรุ ดี เิ รกฤทธิ์ ๑๑. เจา้ พระยายมราช (ปนั้ สขุ ุม) ๑๒. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขนุ มรพุ งษศ์ ิรพิ ัฒน์ ๑๓. พระยา ยอดเมอื งขวาง (ฤกษ)์ ๑๔. พระยาราชวรานกุ ลู (อว่ ม เปาโรหติ ) ๑๕. พระยาสงิ หเสนี (สอาด สงิ หเสน)ี ๑๖. พระยาศกั ดาวรฤทธิ์ (ดน่ั บนุ นาค)๑๗.พระยาจา่ แสนบดี(ไทย) ๑๘.พระยาเทพอรชนุ (เจก๊ จารจุ นิ ดา) (ภาพจากส�ำนักหอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ การอบรมการปอ้ งกันและบรรเทาภัยทางอากาศ แถวกลาง จังหวดั สงขลา หมน่ื ฉลาดเฉลยสาร นายกเทศมนตรีเมืองสตลู หลวงบ�ำราบจันฑนิกร (นิ่ม อินทสร) นายกเทศมนตรีเมือง (ภาพจากหน้า ๑๕๖-๑๕๗) แถวหน้า นราธวิ าส นายกลนั่ คันธินทระ นายอ�ำเภอเมืองพัทลุง นายฝาก มิตรภักดี ปลดั เทศบาลเมอื งสุราษฎร์ธานี นายเลก็ ณ สงขลา นายอ�ำเภอเมอื งสตูล พระรฐั กจิ วจิ ารณ์ (สวาสดิ์ ณ นคร) นายกเทศมนตรเี มอื งยะลา ขนุ ภกั ดดี าํ รงฤทธ์ิ (อน้ เกศรพี นั ธ)ุ์ ขา้ หลวงประจำ� จงั หวดั ยะลา ขนุ พศิ าลสมิ ารกั ษ์ (เจยี ม จารจุ นิ ดา) นายอำ� เภอเมอื งสรุ าษฎร์ หลวงสฤษดิ์สารารักษ์ (เปรม ลางคุลเสน) ข้าหลวงประจ�ำ ธานี จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี พระยานราธรหิรัญรัตน์ (เย้ือน ทัพพะรังสี) นายกเทศมนตรี พระสาครบุรานุรักษ์ (ปริก สุวรรณานนท์) ข้าหลวงประจ�ำ เมอื งสงขลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ขนุ อนกุ จิ สรุ ทณั ฑ์ (เนยี น ชนู ยิ ม) นายกเทศมนตรเี มอื งปตั ตานี พระยารามราชภักดี (หม่อมหลวงสวัสดิ์ อิศรางกูร) ข้าหลวง พระยาคณาศัยสุนทร (สา สุวรรณสาร) นายกเทศมนตรีเมือง ประจำ� จงั หวัดสงขลา นครศรีธรรมราช พนั ตรหี ลวงสวสั ดกิ์ ลยทุ ธ์ (สวสั ด์ิ ไกรฤกษ)์ กรมยทุ ธการทหารบก นายประเสริฐ กาญจนดุล นายอ�ำเภอหาดใหญ่ นายเธียร อวิ้ พฤกษา พนกั งานชวเลข ผู้บรรยาย นายบรรลือ บุณยสงิ หานนท์ นายกเทศมนตรเี มืองพทั ลงุ หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) ข้าหลวงประจ�ำ แถวบน นายอาภรณ์ มุตตามร นายอ�ำเภอเมืองสงขลา จงั หวัดปัตตานี นายแจ้ง โรจนกจิ นายกเทศมนตรเี มืองปากพนัง หมอ่ มทววี งศถ์ วัลยศกั ดิ์ ข้าหลวงประจ�ำจังหวดั นราธวิ าส นายวฒุ ิ สวุ รรณรกั ษ์ ผู้แทนราษฎรจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี หลวงปราณปี ระชาชน (ลาภ หงสเวส) ข้าหลวงประจำ� จงั หวดั นายเผก็ เซีย่ ง โค่ยปราการ นายกเทศมนตรีตำ� บลหาดใหญ่ ขนุ บรู ณวฒุ ิ (มี สารเกษตรนิ ) นายกเทศมนตรเี มอื งสรุ าษฎรธ์ านี พทั ลงุ ร้อยเอก ชิต พงษ์ทรง ผู้บรรยาย หลวงจรญู บูรกจิ (จรูญ ณ สงขลา) ขา้ หลวงประจ�ำจังหวดั สตลู พันต�ำรวจตรี หลวงนาถศริ วิ ัฒ (สนน่ั นาทะศริ )ิ ผกู้ ำ� กบั การต�ำรวจจังหวดั สงขลา นายชาติ บุณยรัตพนั ธ์ุ นายอ�ำเภอสะเดา นายอนนั ต์ พยคั ฆันตร นายอ�ำเภอละงู นายผาด นาคพิน นายอำ� เภอระโนด รอ้ ยต�ำรวจเอก หลวงจติ รการุณราษฎร์ (จติ ร จิตตคั คานนท์) ผบู้ ังคบั กองต�ำรวจภูธรจงั หวดั สตูล 248 I 248


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook