Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (61-80) ระยะที่1 (61-65) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (61-65) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (63-65)

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (61-80) ระยะที่1 (61-65) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (61-65) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (63-65)

Description: ฉบับสมบูรณ์ : โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561-2580) ระยะที่1 (พ.ศ. 2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563-2565)

Search

Read the Text Version

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ช้ีวดั ความคิดเห็น เหตุผล ว่าจะต้องถอนตัวชี้วัดออก แต่ควรต้องกำหนดกลยุทธ์ ค่า 5. ตวั ช้วี ดั อตั รา เป้าหมายตา่ ง ๆ ทจ่ี ะนำมาสคู่ วามสำเรจ็ ของตัวชว้ี ัด รวมท้ัง การฆา่ ตวั ตาย กำหนดบทบาทร่วมกันในหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อ สำเรจ็ 6.0 ต่อ ทำตัวชี้วัดให้บรรลุร่วมกัน เนื่องจากทุกหน่วยงานย่อม ประชากร 1 แสน ต้องการให้คนไทยมคี วามสุข คน ▪ เปน็ ตัวชีว้ ดั ท่ีท้าทาย ถา้ ทำไดก้ เ็ ปน็ สง่ิ ที่น่ายินดี หรือหากยัง ไม่บรรลุเปา้ หมายจะไดเ้ หน็ ว่าประเทศตอ้ งร่วมกนั พัฒนา ในส่วนที่ไม่เห็นด้วยกับการใช้ WHI มาวัดความสุข มีเหตุผล ดังต่อไปน้ี ▪ เป็นตัวชี้วัดที่ควบคุมไม่ได้ในหลายปัจจัย ทำให้ไม่สามารถ ควบคุมสมรรถนะในการบรรลไุ ด้เพียงเพราะกิจกรรมภายใน ยทุ ธศาสตร์ฉบับนี้ ▪ เป็นตัวชี้วัดที่ไกลเกินกว่า นิยาม ของคำว่า สุขภาพจิต เนื่องจากมีเหตุผลทางด้าน เศรษฐกิจ การคอร์รัปชัน และ เสรีภาพในการใช้ชีวิต ซึ่งอยู่นอกเหนืออำนาจของการ ดำเนินงานดา้ นสุขภาพจิต ▪ คิดว่าควรใช้เครื่องมือวัดความสุขที่เหมาะกับคนไทย สอดคล้องกับลักษณะบริบทแบบคนไทย อาจต้องสร้าง ตวั ชว้ี ัดความสขุ ข้ึนมาใชร้ ่วมกันในระดบั ประเทศ ▪ ควรมีการนิยามตัวชี้วัดความสุขในที่นี้ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เห็นรายละเอยี ดของการวัดในแผนดว้ ย ▪ ไม่แน่ใจว่า การมี WHI ที่สูงขึ้นจะตอบเป้าหมายและความ ตอ้ งการของการพฒั นาสุขภาพจติ ของประเทศไทยหรือไม่ ▪ การพัฒนาสุขภาพจิตเพียงอยา่ งเดยี วอาจไมส่ ่งผลกระทบตอ่ ค่าเป้าหมายความสขุ ให้สูงขึ้นไดเ้ นือ่ งจากยังมีอหี ลายปัจจัย ท่ีเกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส่วนใหญ่คิดว่าเป็นตัวชี้วัดที่มีความ เหมาะสมโดยให้เหตุผลดงั นี้ ▪ เป็นงานหลกั ท่ีกรมสขุ ภาพจิตตอ้ งรับผิดชอบ อย่างไรก็ตาม การขับเคลื่อนในประเด็นดังกล่าวไม่สามารถทำได้โดยกรม สุขภาพจิตเพียงหน่วยงานเดียว ต้องอาศัยความร่วมมือ จากหลายภาคส่วนซึ่งนอกเหนืออำนาจของกระทรวง สาธารณสุขด้วย ดังนั้นการนำขึ้นมาเป็นประเดน็ ตวั ช้ีวดั ใน แผนระดับชาติจึงเป็นผลดีต่อการที่จะเกิดความร่วมมือได้ ในลักษณะของ Join KPI 88

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตัวชี้วัด ความคดิ เหน็ เหตผุ ล ▪ เป็นตัวชี้วัดที่ตอบสนองต่อความหมายของความว่า ความสขุ ของคนในสงั คมในภาพรวม ▪ เป็นตัวชี้วัดที่กรมสขุ ภาพจิตได้รับมอบหมายจากกระทรวง สาธารณสุขซึ่งต้องดำเนินงานอยู่แล้ว โดยให้กรม สุขภาพจติ ติดตามผลการดำเนินงานดงั กล่าว ในส่วนผู้ที่คิดว่าตัวชี้วัดไม่มีความเหมาะสมได้ให้เหตุผล ดงั ต่อไปน้ี ▪ ไม่ควรมองท่อี ตั ราการฆา่ ตัวตายสำเรจ็ แตใ่ ห้มองยอ้ นกลับ ไปกอ่ นจะเกดิ เหตฆุ า่ ตวั ตาย โดยปรบั ใหเ้ ปน็ ตวั ช้ีวัดที่มุ่งไป ที่การป้องกันปัญหาฆ่าตัวตายมากกว่า เพราะหากมอง เฉพาะอัตราการฆา่ ตวั ตายสำเร็จ หมายความว่า เม่อื มคี นท่ี พยายามฆ่าตัวตายแล้วแต่ไม่สำเร็จ ก็จะไม่ถูกนับสำหรับ ตัวชว้ี ัดน้ี ▪ ต้องการให้มองมากกว่าการฆ่าตัวตาย แตใ่ หเ้ น้นไปที่ความ รุนแรง เช่น ฆ่าลูก ฆ่าภรรยา แล้วค่อยฆ่าตัวตาย กรณี อาชญากรรมรุนแรงที่เกิดจากปัญหาสุขภาพจิต จะทำให้ สังคมใหค้ วามสนใจและมีสว่ นรว่ มได้มากกว่า ▪ ควรเพิ่มตัวชี้วัดเกี่ยวกับความเครียดซึ่งเป็นปัจจัยป้องกัน ปัญหาฆา่ ตัวตายด้วย คา่ เป้าหมายของตวั ชว้ี ัดฆ่าตวั ตาย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคนที่เสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวชี้วดั ไม่เหมาะสมควรปรบั อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ กล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่าค่า เป้าหมายไมเ่ หมาะสม ไม่สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ และความ เปน็ จรงิ ▪ อาจต้องมีการปรับรูปแบบของการเก็บข้อมูลเพื่อให้ได้ ตวั เลขท่ใี กล้เคยี งกับความเป็นจรงิ มากที่สดุ โดยใชข้ ้อมูลจาก 3 ฐานข้อมูลด้วยกัน ซึ่งจะทำให้ตัวเลขที่กำหนดมาสู่ค่า เปา้ หมายสูงข้ึน ▪ อาจต้องระบุเกณฑ์ในการวดั ใหช้ ัดเจนเพือ่ ให้ผู้มีส่วนได้ส่วน เสียเกิดความเข้าใจที่ตรงกันว่า จะใช้ฐานใดในการวัด เนื่องจากปจั จบุ ันมีการพจิ ารณาจาก 3 ฐานข้อมูลด้วยกัน 89

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตัวช้ีวัด ความคดิ เห็น เหตุผล 6. ตวั ช้วี ัดอำเภอ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส่วนใหญ่คิดว่าตัวชี้วัดนี้ไม่เหมาะสม โดย ที่บูรณาการ ใหเ้ หตผุ ลที่หลากหลายดงั ต่อไปนี้ การดำเนินงาน ▪ เป็นตัวชี้วัดที่ตั้งขึ้นมาตามกระแสของกระทรวงสาธารณสขุ สุขภาพจติ ตาม มาตรฐานแล้ว ในเรื่องการแต่งตั้งคณะกรรมการารพัฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชนมี ระดับ อำเภอ (พชอ.) แต่คิดว่าเมื่อกระแสเปลี่ยนตัวชี้วัดก็ ความสุขและ ควรนำออก คณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี ▪ เป็นตัวชี้วัดที่วัดกระบวนการ และมีผลลัพธ์สุดท้ายคือ ความสขุ ดังนนั้ กส็ มควรที่จะไปวดั ตรงความสุขมากกว่า ▪ เปน็ ตัวชว้ี ัดทกี่ รมสขุ ภาพจิตทำไดแ้ ละไมท่ า้ ทาย ▪ ควรปรบั ไปเป็นตวั ชี้วัดย่อย ในแผน แทนทีจ่ ะเป็นตัวชี้วัดใน ภาพรวมของแผน ▪ ควรนำตัวช้วี ดั นีไ้ ปไว้ในแผนปฏิบัตริ าชการฯ กรมสุขภาพจติ มากกวา่ ท่ีจะนำมาไวใ้ นแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ▪ คำวา่ บูรณาการงานสุขภาพจิตมีขอบเขตความหมายนิยามท่ี กว้างเกินไป ขาดความชดั เจน ▪ ระดับอำเภออาจไม่ครอบคลุมหรือตอบสนองต่อความ ตอ้ งการของระดบั พนื้ ท่ี ทีต่ อ้ งการในระดบั ปฐมภมู ิ ควรปรบั ไปเป็นการวัดระบบปฐมภูมิเข้มแข็ง แทน ซึ่งอาจไม่ได้มอง หน่วยเป็นอำเภอ และยังเกี่ยวข้องกับหน่วยงานปกครอง สว่ นทอ้ งถ่ินดว้ ย เน่ืองจากมีการปฏริ ูประบบสาธารณสุข ให้ หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามาจัดการในเรื่อง สาธารณสขุ ดว้ ย มีความเกยี่ วข้องกับกองสาธารณสขุ ท้องถ่ิน ของกระทรวงมหาดไทย ทีร่ ิเร่ิมจัดตง้ั ขนึ้ มาใหม่ * หมายเหตุ: ในตารางนี้เป็นการนำเสนอร้อยละของจำนวนคำตอบสำหรับกลุ่มเปา้ หมายที่เสนอความคิดเห็นต่อประเด็นนี้ใน ลกั ษณะการวเิ คราะห์เชิงเนอื้ หา (Content Analysis) ในรปู แบบของการวจิ ัยเชิงคุณภาพ เพ่ือแสดงแนวโนม้ ของขอ้ มูลท่ไี ด้รับ เทา่ น้ันไมส่ ามารถนำไปอา้ งองิ เชิงสถิตไิ ด้ สำหรับความคิดเห็นต่อตัวชี้วัดในแผนปฏิบัติราชการฯ กรมสุขภาพจิต ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่คิดว่ามีความ เหมาะสม เนื่องจาก ในช่วงเวลาของการกำหนดตัวชี้วัด ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการและรับทราบแนวคิดในการ กำหนดตัวชี้วัดแลว้ อย่างไรกต็ ามมีขอ้ เสนอแนะของบางพืน้ ท่ี ท่ีต้องการให้เกิดการปรบั ปรงุ ดงั ต่อไปนี้ 1. ค่าเป้าหมายไม่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ หรือการบังคับตัวชี้วัดในตัวเลขเดียวเดียวกันทั่วประเทศนั้น ไม่ เหมาะสม เนื่องจาก บางพื้นที่มีปัญหามาก บางพื้นที่มีปัญหาน้อยไม่เท่ากัน แต่กระบวนการที่ต้องดำเนินงาน ทำเท่ากัน และท้ายที่สุด ไม่อยากให้ผูเ้ ก็บข้อมูลตัวชีว้ ัด สนใจที่กระบวนการ แต่ให้มุ่งเน้นไปที่ผลลพั ธ์ของงาน มากกว่า ยกตัวอย่างเช่น ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีอัตราการฆ่าตัวตายต่ำมาก การถูกควบคุมให้ ดำเนินงานตามกระบวนการเพ่ือตอบตัวชี้วัด อาจทำให้พื้นที่เสียเวลาที่จะพัฒนางานสุขภาพจิตที่เหมาะสมกบั บรบิ ทของพนื้ ท่ี ปญั หาในลกั ษณะเฉพาะเกดิ ข้นึ ในพ้ืนที่หลัก ๆ ไดแ้ ก่ 1) ในส่วนสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 2) 90

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) กรุงเทพมหานคร ทม่ี ีเครอื ข่ายแตกตา่ งจากจังหวดั อื่น การดำเนินงานทำได้ยากและมกี ระบวนการทแ่ี ตกตา่ งกัน 3) จงั หวดั ตาก ทม่ี ีเรื่องของชนเผ่า ชาวตา่ งชาติ และการใช้ภาษาทแ่ี ตกต่าง พน้ื ท่ที ีห่ ่างไกล เข้าถึงยาก เป็นตน้ 2. การมีตัวชี้วัดที่สามารถวัดความเป็นจริงได้ แต่ต้องไม่ผูกมัดกับการประเมินผลงาน ไม่เช่นนั้น จะทำให้กรม สุขภาพจิต เน้นวัดตัวชี้วัดเฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่เข้าไปดำเนินการ (เติม Intervention) แล้วเท่านั้น ทำให้ ตัวเลขสถติ ิ ทีส่ ะท้อนออกมา สูงกว่าความเป็นจริง และเม่อื ตัวเลขเหลา่ นน้ั ถูกนำเสนอออกมาในภาพของสังคม จะทำให้รู้สึกว่า ค้านต่อสภาพความเป็นจริงที่ยังพบปัญหาอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นควรมีตัวชี้วัด ในสองรูปแบบ ทั้งที่เกี่ยวกับการประเมินผลงาน และที่เป็นตัวชี้วัดสะท้อนสถานการณ์โดยไม่ต้องนำไปผูกมัดกับผลการ ดำเนินงาน จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานมีกำลังใจในการดำเนินงานที่เน้นแก้ไขปัญหา มากกว่าการดำเนินงานเพื่อ เพียงใหผ้ ่านตัวช้วี ัด ลกั ษณะของการดำเนนิ งานจะออกมาแตกตา่ งกัน 5.3 การวเิ คราะห์ความเชอื่ มโยงระหวา่ งตวั ชี้วัด กบั เครอื ขา่ ยท่เี ก่ียวขอ้ ง ตัวชี้วัดเดก็ มีความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) ไมต่ ่ำกวา่ 100 ตัวชี้วัดความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) ถูกใช้ทั้งในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ และแผนปฏิบัติ ราชการกรมสุขภาพจิต มีความสอดคล้องกับแผนหลายแผนได้แก่ เป้าหมาย Thailand 4.0 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีด้านสาธารณสุข และแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตฉิ บับท่ี 12 แม้ว่ากรมสุขภาพจิตจะมีจุดแข็ง ในด้านนโยบายการดำเนินงานด้านส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตที่ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ทำให้สามารถ เช่ือมโยงกบั นโยบายระดับกระทรวงและการดำเนินงานในพ้ืนที่ ทมี่ ุง่ เน้นการส่งเสริมสุขภาพคนตลอดช่วงชีวิต ไดง้ ่ายขึน้ และ มีบุคลากรสขุ ภาพจิตท่ีมคี วามร/ู้ ความเชีย่ วชาญเฉพาะทาง สามารถใหบ้ รกิ ารด้านสุขภาพจิตทั้ง ในภาวะปกติ และภาวะวิกฤต ซึ่งในที่นี้หมายถึงภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างพัฒนาการในเด็กปฐมวัย โดยเฉพาะในเด็กลุ่มเสี่ยง เนื่องจากปัญหาด้านพัฒนาการของเด็กปฐมวัยจะนำไปสู่การมีสติปัญญาต่ำในวัย เรยี นได้ แต่ความท้าทายของการดำเนนิ งานตามตัวชี้วดั น้ีคือ กรมสขุ ภาพจิตไม่สามารถดำเนนิ การโดยลำพังได้ เนื่องจากปัจจัยที่จะนำไปสู่ความฉลาดทางสติปัญญา เริ่มมาตั้งแต่ช่วงตั้งครรภ์ ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน กระบวนการเสริมสร้าง IQ ตั้งแต่แรกเกิดคือ กรมอนามัย ท่ีดูแลด้านสุขภาพมารดาและเด็ก กรมกิจการเด็ก และเยาวชนเกี่ยวข้องในเรือ่ งสวัสดิการแม่และเด็ก ส่วนกรมสุขภาพจิตจะเขา้ ไปแกไ้ ขปัญหาในเด็กกลุ่มเสี่ยงที่ พัฒนาการล่าช้า ตลอดจนกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวข้องในการให้การศึกษาพัฒนาสติปัญญาให้แก่เด็กในวัย เรียน ดังนั้นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงหลายภาคส่วนในลักษณะภาคเี ครือข่าย จึงเป็นความท้าทายที่สำคัญ จึง จะนำไปสู่ระดับความสำเร็จในด้านสติปัญญาได้ โดยโครงการที่ปรากฏอยู่ในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติที่ เกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทั้งทางที่เป็นปัจจัยแวดล้อมกับการพัฒนาสติปัญญาของเด็กไทยมี 7 โครงการตาม ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสรมิ และป้องกันปญั หาสขุ ภาพจิตตลอดช่วงชวี ติ ดังตาราง ตารางท่ี 16 การสนบั สนุนจากเครอื ข่ายสุขภาพจิตตอ่ ตวั ชี้วดั เดก็ มคี วามฉลาดทางสตปิ ัญญา ไม่ต่ำกวา่ 100 เปา้ ประสงค์ ตวั ชี้วัดเปา้ ประสงค์ โครงการ หนว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบ 1. โครงการเสริมสรา้ งพฒั นาการเด็กล่าชา้ สถาบันราชานกุ ูล กรมสุขภาพจิต 91

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ดั เป้าประสงค์ โครงการ หนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบ 1.1 คนไทยเข้าใจและใส่ 1.1.3 ร้อยละ 75 ของคน 2. โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการ สถาบันพัฒนาการเด็กราช ใจสุขภาพจิตของตนเอง ไทยได้รับการพัฒนาทักษะ ดูแลเด็กตามกลุ่มวัย ปฐมวัย วัยเรียน นครินทร์ ครอบครัว และชมุ ชน ชวี ติ ตามช่วงวัย วัยรุ่น 3. โครงการสง่ เสริมการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต กรมกิจการเดก็ และเยาวชน 1.2 ภาคเี ครอื ข่าย 1.2.1 ร้อยละของเดก็ ท่มี ี เด็กปฐมวยั เสรมิ สรา้ งการมีส่วนรว่ ม คะแนน IQ ต่ำกว่า 100 4. โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและ สำนักส่งเสรมิ สุขภาพ กรมอนามัย ให้คนไทยมีปญั ญา ได้รบั การพฒั นา พัฒนาการเด็กปฐมวัยอยา่ งมีคณุ ภาพฯ อารมณ์ดี และมคี วามสุข 5. โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของ สำนกั โภชนาการ กรมอนามัย ชีวติ 6. โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ก กรมกจิ การเด็กและเยาวชน แรกเกดิ 7. โครงการสร้างเสริมสุขภาพจิตเด็กไทย สถาบนั ราชานกุ ูล กรมสขุ ภาพจติ , วยั เรียน สำนกั งานกิจการนักเรียน สำนัก บรหิ ารการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธกิ าร ภาพท่ี 11 การเช่ือมโยงเชิงสาเหตรุ ะหว่างโครงการท่นี ำไปตอบตวั ช้ีวัดเปา้ ประสงค์ด้านปัญญา จากการเชอื่ มโยงเชิงสาเหตุของโครงการท่เี กี่ยวข้องในตวั ชว้ี ัดด้าน IQ จะเห็นประเด็นที่ขาดหายไปคือ การเชื่อมโยงเครือข่ายกับเด็กในวัยเรียนสำหรับเด็กที่อยู่ในกระทรวงศึกษาธิการ และโครงการที่เกี่ยวข้องกับ การส่งเสริม IQ โดยตรง เนอื่ งจากหน่วยงานด้านสาธารณสุข มบี ทบาทในการประเมิน แตเ่ ด็กได้รับการพัฒนา ในโรงเรยี นสถาบันการศึกษา ตวั ช้วี ัด เด็กมคี วามฉลาดทางอารมณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ รอ้ ยละ 85 ตัวชี้วัดความฉลาดทางอารมณ์มีความสอดคล้องกับแผนต่าง ๆ ได้แก่ เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 ระบไุ วว้ ่าเดก็ ร้อยละ 70 มีคะแนน EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ 92

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) มาตรฐาน สว่ นยทุ ธศาสตรช์ าติด้านสาธารณสุขกำหนดไว้ทร่ี ้อยละ 80 ข้อสังเกตในการดำเนินงานตามตัวชี้วัด น้ีคือตามแผนมีการตั้งเป้าหมายเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ร้อยละ 80 โดยมีเป้าประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานดา้ นความฉลาดทางอารมณ์ คือ 1.2 ภาคีเครือข่ายเสริมสร้างการมสี ว่ นรว่ มใหค้ นไทย มีปัญญา อารมณ์ดี และมีความสุข มีแนวทางคือส่งเสริม EQ โดยพัฒนาโปรแกรม/เครือ่ งมือ เสริมสร้างความฉลาดทาง อารมณ์ในทุกกลุ่มวัย ขณะทไ่ี มม่ ีตวั ช้ีวัดย่อยที่เกีย่ วข้องกับด้าน EQ โดยตรง และยังไม่พบโครงการท่ีมุ่งพัฒนา EQ เด็กปฐมวัยโดยตรง แต่เป็นโครงการที่ต้องดำเนนิ งานร่วมไปกับงานด้าน IQ คอื การเสรมิ สรา้ งไปที่ประเด็น สุขภาพจิตเดก็ โดยตรงและปัจจัยสภาพแวดล้อม และดำเนินการไปพร้อม ๆ กันกับตัวชีว้ ัดด้าน IQ 7 โครงการ ดังที่ได้กล่าวไปในตารางที่ 4.4 ส่วนโครงการอื่น ๆ ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่วนใหญ่จะเป็นโครงการที่เกี่ยวข้องกับ สุขภาพจิตโดยรวมของทุกช่วงวัย และวัยอื่น ๆ เช่น วัยสูงอายุทำให้ยังขาดการปฏิบตั ิการเพื่อมุ่งบรรลุตัวช้วี ดั EQ เด็กโดยตรง ส่วนเครอื ขา่ ยในการขับเคลื่อน EQ ของเด็กปฐมวยั มกั จะถูกสง่ เสรมิ ไปพรอ้ มกับการขับเคล่ือน IQ ดังนั้นจึงควรบูรณาการตัวชี้วัดท่ีเกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยเข้าด้วยกัน เนื่องจากเครือข่ายที่ขับเคลื่อนเป็น เครือข่ายเดยี วกันกบั เครอื ข่ายของตัวชีว้ ดั ด้าน IQ ตัวชว้ี ัด ครอบครัวมีความเขม้ แข็งและความอบอนุ่ รอ้ ยละ 80 ตัวช้วี ดั นี้มีความสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ตวั ชีว้ ดั ที่ 3.3 การพัฒนาสงั คมและครอบครัวไทย แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ท่ี 12 ตัวช้วี ดั 5.1 ดัชนีครอบครวั อบอนุ่ อยใู่ นระดับดีขึ้น และแผน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 คือ พัฒนา ศักยภาพคน ครอบครัว ชุมชนให้มีความเข้มแข็งและสร้างระบบที่เอื้อต่อการพัฒนาคน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีตัวชี้วัดคือ ดัชนีความเข้มแข็งของครอบครัวไทยเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามเรื่องการติดตามตัวชี้วัดว่าร้อยละ 80 ของครอบครัวมีความเข้มแข็งและความอบอุ่น ยังไม่ได้ถูกนิยามและจำกัดความขึ้นในแผนนี้ ว่าวัดได้จาก อะไรบ้าง แต่อ้างอิงว่าเป็นตัวชี้วัดที่มาจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ต้องวัด มี โครงการที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างครอบครัวเข้มแข็งของครอบครัวอบอุ่น ทั้งทางตรงและทางอ้อมอยู่ 6 โครงการ ดังตารางท่ี 16 อย่างไรก็ตามดูเหมือนว่าในแผนจะยังเก่ยี วข้องกับครอบครัวของผู้มีปัญหาสุขภาพจิต เป็นหลัก มีเพียง 3 โครงการตามยุทธศาสตร์ที่ 1 เท่านั้นที่เกี่ยวข้องกับประชาชนทั่วไป ส่วนยุทธศาสตร์ที่ 2 และ 3 จะเกย่ี วขอ้ งกับผูป้ ่วยจิตเวช ตารางที่ 17 ความเชื่อมโยงของเครอื ข่ายต่อตวั ชี้วดั ครอบครวั มคี วามเขม้ แขง็ และความอบอุ่น เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ดั เปา้ ประสงค์ โครงการ หนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 1.1 คนไทยเข้าใจและใส่ใจ 1.1.3 ร้อยละ 75 ของคน 1. เงินอุดหนุนทุนกิจกรรมศูนย์พัฒนา กรมกิจการสตรีและสถาบนั สุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัว ไทยได้รับการพัฒนา ครอบครัวในชุมชนภายใต้โครงการบริหาร ครอบครัว และชมุ ชน ทกั ษะชีวติ ตามช่วงวัย พัฒนากำลังคนของประเทศดา้ นครอบครวั 1.2.3 ร้อยละ 85 ของคน 2. โครงการพัฒนารปู แบบกลไกภายในสถาน สสส. สนับสนุนให้ มูลนิธิ ไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มี ประกอบการเพ่ือส่งเสริมการสื่อสารเชิงบวก แพธทเู ฮลท์ 93

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) เป้าประสงค์ ตัวชว้ี ัดเปา้ ประสงค์ โครงการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ความสุขเท่ากับหรือสูง ใ น ค ร อ บ ค ร ั ว ก ั บ พ น ั ก ง า น ท ี ่ เ ป ็ น พ ่ อ แ ม่ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 กว่าคา่ เฉลี่ย ผ้ปู กครองและเด็กวัยรุน่ สสส. สนับสนุนงบประมาณ 2.1 ผู้ป่วยจิตเวชและผู้มีปัญหา 3. โครงการการศึกษาความคุ้มค่าของ ให้สถาบันพัฒนาการเด็ก สุขภาพจิตและจิตเวชเข้าถึง 2.1.3 ร้อยละ 50 ของ โปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการสร้างวินัยเชิง ราชนครินทร์ บริการมาตรฐานตั้งแต่เร่มิ ปว่ ย ศนู ย์แพทยเ์ วชศาสตร์ บวกโดยครอบครวั มีส่วนรว่ ม กองบริหารระบบบริการ ครอบครวั (Primary Care สขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจิต ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 Cluster : PCC) 4. กิจกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพจิตและ 3.1 ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการ จิตเวชในคลนิ กิ หมอครอบครวั สมาคมสายใยครอบครวั คุ้มครองสิทธิ ส่งเสริมสุขภาพจิต 3.1.2 ร ้ อ ย ล ะ 70 ข อ ง มลู นิธอิ อทสิ ตกิ ไทย ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตได้รับ ผู้ป่วยจิตเวช ในชุมชนท่ี 5. โครงการสุขภาพจิตศึกษาหลักสูตรสายใย ก า ร บ ำ บ ั ด ร ั ก ษ า แ ล ะ ฟ ื ้ น ฟู ได้รับการดูแลจากผู้รับ ครอบครวั สมรรถภาพอย่างถูกต้อง ดูแลผู้ป่วยจิตเวช 6. โครงการศูนย์บริการส่งเสริมทักษะชีวิต เหมาะสม (Caregiver) อย่างถูกต้อง บุคคลออทิสติกโดยครอบครัวและชุมชน 40 และมมี าตรฐาน จังหวัด ตัวชี้วัดประเทศไทยมีคะแนนความสุข (World Happiness Index) เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ไม่น้อย กว่า 0.1 ความสุขของประชาชนถือเป็นเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และ เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ซึ่งแนวทางในการวัดความสุข ตาม หลักเกณฑ์ของ World Happiness Index ขององค์การสหประชาชาติ โดยข้อมูลจาก Gallup World Poll (GWP)5 มีการให้คะแนนจาก 0 ถึง 10 โดยใหน้ ้ำหนกั ในการคำนวณคะแนนความสขุ จาก 6 ปจั จยั ด้วยกันไดแ้ ก่ (1) ครอบครวั หรือ การสนบั สนุนทางสังคม (social support) ซงึ่ คาดประมาณจากค่าเฉลี่ยระดับชาติ ของการตอบคำถามของ GWP ท่วี า่ “หากทา่ นประสบปญั หา ท่านมญี าติหรอื เพ่ือนท่ไี วว้ างใจได้ว่าจะช่วยเหลือ ทา่ นทกุ เมอื่ ทต่ี อ้ งการหรือไม่” (2) มลู ค่าผลติ ภัณฑม์ วลรวมประเทศ (GDP) (3) อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life Expectancy at Birth) หมายถึง อายุที่คาดว่าประชากรแรกเกิด จะมอี ายอุ กี กีป่ กี ่อนเสียชีวติ (4) เสรีภาพในการใช้ชีวิต (freedom) คาดประมาณจากค่าเฉลี่ยระดับชาติของการตอบคำถาม ของ GWP ที่วา่ “ทา่ นพอใจหรอื ไม่พอใจกบั อสิ ระในการเลือกสิง่ ทค่ี ุณทำกับชีวิตของท่าน” (5) ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ (generosity) คาดประมาณจากค่าเฉลี่ยระดับชาติของการตอบคำถาม ของ GWP ทว่ี ่า “คุณบริจาคเงนิ ใหก้ บั องคก์ รการกุศลในเดือนท่ีผ่านมาหรือไม”่ และ 5 https://apatronl.github.io/WorldHappiness/ 94

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) (6) การรับรู้ต่อการคอร์รัปชัน (Trust) คาดประมาณจากค่าเฉลี่ยระดับชาติของการตอบคำถาม ของ GWP ใน 2 ข้อ ที่ว่า “การทุจริตแพร่หลายไปทั่วท้ังรัฐบาลหรือไม่\" และ “คอร์รัปชันแพร่หลายในธุรกิจ หรือไม”่ 6 เมื่อพิจารณาในระดับตัวชี้วัดที่สนับสนุนในเรื่องของความสุขแล้วพบว่า มีการกำหนดตัวชี้วัด เป้าประสงค์ไว้ใน ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 สง่ เสรมิ และป้องกันปัญหาสุขภาพจิตตลอดช่วงชีวิต เปา้ ประสงคท์ ี่ 1.2 ภาคี เครือข่ายเสริมสร้างการมีส่วนร่วมให้คนไทยมีปัญญา อารมณ์ดี และมีความสุข ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ที่ 1.2.3 ร้อยละของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีความสุขเท่ากับหรือสูงกว่าค่าเฉลี่ย เมื่อวิเคราะห์ลักษณะของโครงการ ภายใต้ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับการส่งเสริมความสุขของคนไทย พบว่ามีหลายหน่วยงานที่ร่วมดำเนินการทั้งใน และนอกระบบบรกิ ารสาธารณสุข ดงั ตอ่ ไปน้ี ตารางที่ 18 ความเชื่อมโยงของหน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั ตัวชว้ี ดั ความสขุ ของคนไทย ช่ือโครงการ หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบหลกั การสำรวจสถานการณค์ นไทยมีสขุ ภาพจิตดี กองส่งเสริมและพฒั นาสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต โครงการ HAPPY MOPH กระทรวงสาธารณสขุ แห่งความสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และกองยุทธศาสตร์ และแผนงาน กรมสุขภาพจิต โครงการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสุขภาพจิตสำหรับคน สสส. สนบั สนนุ งบให้ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล จนเมือง การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2561-2573 สสส รว่ มกับ กรมอนามยั และภาคีเครือขา่ ย โครงการพัฒนารูปแบบกลไกภายในสถานประกอบการเพ่ือ สสส. สนับสนนุ ให้ มูลนธิ แิ พธทเู ฮลท์ ส่งเสริมการสื่อสารเชงิ บวกในครอบครัวกับพนกั งานท่ีเปน็ พ่อ แม่ ผูป้ กครองและเดก็ วยั รุ่น โครงการการศึกษาความคุ้มค่าของโปรแกรมส่งเสริม สสส. สนับสนุนงบประมาณให้สถาบันพัฒนาการเด็กราช พฒั นาการสรา้ งวนิ ยั เชงิ บวกโดยครอบครัวมีส่วนรว่ ม นครินทร์ โครงการพัฒนาสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อการดูแลสุขภาพจิต สสส.สนับสนุนงบประมาณให้สถาบันสุขภาพจิตเด็กและ ประชาชน ผา่ น digital platform บ้าน-พลังใจ วยั ร่นุ ราชนครนิ ทร์ อย่างไรก็ตามจากเกณฑ์ในการวัดความสุข ของ World Happiness Index ดังกล่าวจะเห็นได้ว่ามี ขอบเขตที่ไกลเกินกว่าภาระงานหรือโครงการที่ปรากฏในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ หรืออาจกล่าวได้ว่า งานในด้านการพัฒนาสุขภาพจิตเพียงอย่างเดียว ทำให้ไม่สามารถตอบสนองต่อตัวชี้วัด World Happiness Index ได้ เนอ่ื งจากเกยี่ วข้องกบั ภาคสว่ นอ่นื ๆ ในสังคม เชน่ มูลคา่ ผลติ ภณั ฑ์มวลรวม ซ่งึ เป็นเรือ่ งการพัฒนา เศรษฐกิจ ความรู้สึกเรื่องเสรีภาพในการใช้ชีวิตอันเป็นเรื่องของระบบสังคมการเมืองหลายมิติ ตลอดจนการ 6 https://apatronl.github.io/WorldHappiness/ 95

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) รบั ร้ตู อ่ การคอรร์ ัปชนั ซ่งึ เกีย่ วข้องกบั การเมืองการปกครองในส่วนภาครัฐและการบริหารอย่างมธี รรมภิบาลใน ภาคเอกชน ดังนั้น การพัฒนาสุขภาพจิตเพียงอย่างเดียวจึงไม่อาจตอบตัวชี้วัดในสว่ นน้ีได้ จึงไม่เหมาะแก่การ นำมาเป็นตัวชี้วัดในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ อย่างไรก็ตามหากประเทศไทยมีวิสัยทัศน์ต่อการพัฒนา ความสุขของประชากรในประเทศโดยใช้ตัวชี้วัด World Happiness Index นี้เป็นฐาน อาจนำไปใช้เป็น เป้าหมายสำหรับแผนพัฒนาในระดับที่สูงกว่าแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ และขับเคลื่อนความร่วมมือ ระหว่างกระทรวงต่าง ๆ ไปในทิศทางเดียวกันได้ทั้งประเทศ โดยการบูรณาการแบบองค์รวม อาทิ การพัฒนา ระบบเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม การพัฒนาด้านสุขภาพกาย การพัฒนาสุขภาพจิต การเมืองการปกครอง ตลอดจนการพัฒนามนุษย์ในแตล่ ะด้าน ตัวชี้วดั อตั ราการฆา่ ตวั ตายสำเรจ็ ไมเ่ กิน 6.0 ตอ่ ประชากรแสนคน ตัวชี้วัดนี้มีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน Sustainable Development Goals (SDG) คือลดอัตราการฆ่าตัวตาย เป้าหมายท่ี 4 ของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 ตัวชี้วัด ที่ 4.4 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จต่อประชากรแสนคนลดลง และยังเป็นตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของวิสัยทัศน์ กรมสุขภาพจิตเมื่อสิ้นแผนฯ 12 โดยในแผนปฏิบัติราชการ 5 ปี กรมสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา คุณภาพระบบบริการและวิชาการสขุ ภาพจิตและจิตเวช เป้าประสงค์: 2.1 ประชาชนได้รับการดแู ลและเข้าถงึ บริการสุขภาพจิตท่ีมีคุณภาพ ทั้งในภาวะปกตแิ ละภาวะวิกฤต ตัวชี้วัด ร้อยละ 90 ของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่ กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี มีกลยุทธ์คือ บูรณาการระบบบริการสุขภาพจิตเข้ากับระบบบริการ สุขภาพในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ (Service Plan) แนวทางการดำเนินงานของกรมสุขภาพจิตคือ การดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายสุขภาพ พัฒนาขีดความสามารถและมาตรฐานบริการสุขภาพจิต และจิตเวช ในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ ให้มี “การจัดบริการตามมาตรฐาน” ในโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาล ทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล ตามลำดับ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ ที่ เหมาะสม การดูแลตอ่ เนือ่ ง และลดอัตราการกลับมา ป่วยซ้ำในกลุ่มโรคและปญั หาทางจิตเวชทส่ี ำคัญ (โรคจิต เภท/ โรคซึมเศร้า/ออทิสติก/สมาธิสั้น/ โรคติดสุรา/ ผู้พยายามฆ่าตัวตาย/ ผู้ติดยาเสพติดที่มีปัญหา สุขภาพจติ / ผปู้ ระสบภาวะวิกฤตทมี่ ีปัญหาสขุ ภาพจติ ) สำหรับโครงการท่ีปรากฏในแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติพบว่ามีโครงการท่ีเกีย่ วข้องกับการลดการ ฆ่าตวั ตายและหน่วยงานท่ีร่วมรับผิดชอบหลกั ดังตารางท่ี 19 ตารางท่ี 19 ความเชอื่ มโยงเครือขา่ ยทเี่ ช่ือมโยงตัวช้วี ัดอตั ราการฆา่ ตวั ตายสำเรจ็ ยทุ ธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ดั โครงการ หนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 1.1 คนไทยเข้าใจและใส่ใจ 1.1.3 การพัฒนาเยาวชน ด้วย สสส. สนับสนุนงบให้สมาคม สุขภาพจิตของตนเอง ร้อยละ 75 ของคนไทย ทักษะการรับฟังด้วยใจ สะมาริตันส์แห่งประเทศไทยใน ครอบครัว และชมุ ชน ได้รับการพัฒนาทักษะ เพ่ือปอ้ งกนั การฆ่าตัวตาย การดำเนนิ งาน ชวี ติ ตามช่วงวัย 96

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ ตัวช้ีวัด โครงการ หนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 2.1 ผู้ป่วยจิตเวชและผู้มี 2.1.1 อัตราการเข้าถึง 4. โครงการป้องกันและ โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช บริการของโรคที่สำคัญ แกไ้ ขปัญหาการฆา่ ตวั ตาย ราชนครนิ ทร์ กรมสุขภาพจิต เข้าถึงบริการมาตรฐานตั้งแต่ ทางจติ เวช ในคนไทย เร่ิมป่วย 2.1.4 ร ้ อ ย ล ะ 96 ข อ ง - พัฒนาศักยภาพบคุ ลากร ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความ ด้านการวิเคราะห์ สอบ เสี่ยงสูงต่อการก่อความ สวนฯ และเยยี วยา รนุ แรง ไม่กอ่ ความรนุ แรง - เสริมสร้างศักยภาพ ซ้ำ ภายใน 1 ปี บุคลากรด้านการดูแล ชว่ ยเหลือ ตัวชี้วัดร้อยละของอำเภอที่บูรณาการการดำเนินงานสุขภาพจิตตามมาตรฐานแล้ว ประชาชนมี ความสุขและคุณภาพชวี ิตทดี่ ี กรมสุขภาพจิตได้ดำเนินการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพจิตชุมชนที่ยั่งยนื โดยบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้ากับประเด็นสุขภาพที่สำคัญของแต่ละพ้ืนที่ ซึ่งเป็นแนวทางการดำเนินงานท่ี สอดคล้องกับมติของนายกรัฐมนตรี และที่ประชุมคณะกรรมการบริหารราชการแผนดินเชิงยุทธศาสตรเห็น ชอบขอเสนอของกระทรวงสาธารณสุข ในการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบสาธารณสุขประกอบด วยการออก ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ในการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) เพื่อสงเสรมิ การทำงานแบบประชารฐั ดงั นนั้ ตัวช้วี ดั นจี้ งึ เก่ียวข้องกับการดำเนินงานในหลายภาคส่วนในระดับพื้นท่ี โดยใน ส่วนของแผนปฏิบัติราชการ 5 ปี กรมสุขภาพจิตได้มีการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการสุขภาพจิต ระดับอำเภอในหลายกลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์ 1.1.3 เสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีแก่คนวัยทำงาน มีแนวทางคือ ส่งเสริมให้ประชาชนวัยทำงานมีความสุขผ่านการดำเนินงานภายใต้โปรแกรมสร้างสุขวัยทำงานในชุมชนและ โปรแกรมสร้างสุขวัยทำงานในสถานประกอบการ กลยุทธ์ที่ 1.1.5 บูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพจิตและ ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเข้ากับระบบสุขภาพปฐมภูมิ มีแนวทางคือ บูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพจิตและ ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเข้ากับแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)/คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวติ ระดบั เขต (พชข.) กลยทุ ธ์ท่ี 1.1.6 สร้างการมสี ว่ นร่วมในงานส่งเสริม สขุ ภาพจติ และป้องกนั ปญั หาสขุ ภาพจิตประชาชนทกุ กลมุ่ วยั โดยมีแนวทางในการดำเนนิ งาน โดยมแี นวทางใน การดำเนินงานคือ สนบั สนุนใหเ้ ครือขา่ ยทีเ่ กยี่ วข้องทกุ ภาคสว่ นมกี ารเฝา้ ระวงั และป้องกนั ปัญหาสขุ ภาพจิต สำหรับโครงการที่ปรากฏในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ พบว่ามีโครงการที่ดำเนินงานในลักษณะ ดังกล่าว 2 โครงการคือ โครงการตามยุทธศาสตร์ท่ี 1 ตัวชี้วดั เป้าประสงค์ 1.1.3 ร้อยละ 75 ของคนไทยได้รบั การพัฒนาทักษะชีวิตตามช่วงวัย มีโครงการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัยในระบบสุขภาพปฐมภูมิ หนว่ ยงานทีร่ ับผดิ ชอบหลกั คอื กองส่งเสริมและพฒั นาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจติ และโครงการตามยทุ ธศาสตร์ ที่ 2 ตัวชี้วัด 2.2.3 ร้อยละ 40 ของผู้ป่วยโรคที่สำคัญทางจิตเวชที่ได้รับการบำบัดรักษาแล้วมีคุณภาพชีวิตที่ดี ข้ึน มโี ครงการพัฒนาระบบการฟ้ืนฟสู มรรถภาพผู้ปว่ ยโรคจิตเร้ือรังกลุ่มเสยี่ งในชมุ ชนระดับปฐมภมู ิ หน่วยงาน ท่รี บั ผดิ ชอบหลักคือ โรงพยาบาลจติ เวชราชสีมาราชนครินทร์ 97

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ดังนั้นตัวชี้วัดน้ีต้องอาศัยความร่วมมือของหน่วยงานระดับพื้นที่หลายหนว่ ยงานในการบูรณาการงาน สขุ ภาพจิตเขา้ ไปในระดับอำเภอ โดยมกี รมสุขภาพจติ ให้การส่งเสรมิ สนับสนุนทางวชิ าการใหผ้ ู้ปฏิบัติงานระดับ พื้นที่จากหลายภาคส่วน ได้แก่ ผู้นำชุมชน อาสาสมัคร โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับ ตำบล หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิน่ เป็นตน้ 5.4 ความสอดคล้องระหว่างโครงการและตวั ช้วี ัดในแต่ละเป้าประสงค์ กบั สถานการณท์ าง สขุ ภาพจิตและตวั ชีว้ ดั ของแผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ในส่วนนี้จะนำเสนอให้เห็นถึงความสอดคล้องระหว่างตัวชี้วัด เป้าประสงค์ โครงการ ในแผนพัฒนา สขุ ภาพจิตแห่งชาติ อธิบายตามประเด็นยุทธศาสตรด์ งั ตอ่ ไปนี้ 1) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสรมิ และปอ้ งกนั ปัญหาสุขภาพจติ ตลอดชว่ งชีวิต จะเห็นได้ว่าประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ของทั้งแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติและแผนปฏิบัตริ าชการ มี จดุ เน้นหลัก ๆ อยู่ที่ ประเดน็ “ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจติ ” ส่วนกลมุ่ เปา้ หมายท่ีปรากฏในข้อความ เชงิ ยุทธศาสตร์ คอื “ตลอดช่วงชวี ติ ” ซึง่ มคี วามสอดคล้องกับสถานการณ์ทางสุขภาพจติ ที่กลา่ วถึงสถานการณ์ และประเด็นปัญหาสุขภาพจิตตามกลุ่มวัย เมื่อวิเคราะห์ความเชื่อมโยงและความครอบคลุมของแผนตาม ประเด็นแตล่ ะช่วงวยั มีทง้ั ประเด็นท่ีสอดคลอ้ งและไมส่ อดคล้องกัน รายละเอยี ดดังตารางท่ี 20 ตารางที่ 20 ความเช่ือมโยงประเด็นสขุ ภาพจติ ตามชว่ งวัย ตัวช้ีวดั สถานการณท์ ่ีเกีย่ วข้อง ตวั ช้ีวดั เปา้ หมาย สถานการณ์ทาง ตัวชว้ี ดั ผช. จำนวน ตวั ชว้ี ดั / หมายเหต/ุ ขอ้ เสนอแนะ แผนที่ตอบสนอง สขุ ภาพจติ โครงการ ผช. กลยุทธ์ ผก. กลมุ่ เดก็ ปฐมวยั : รวมมี 7 โครงการ 1.1.3 รอ้ ยละ 75 ☺ มีความสอดคล้อง เนื่องจาก ของคนไทยได้รับ มี 4 โครงการ 1.1.1.1 ส่งเสริม มขี อ้ มูลวา่ เด็กปฐมวันพฒั นาการ เด็กไทย มี พฒั นาการลา่ ชา้ ใน การพฒั นาทักษะ กลมุ่ เสี่ยง ล่าช้า จะส่งผลต่อ IQ ต่ำ ในวัย สตปิ ญั ญา ปฐมวัย จะสง่ ผล ชวี ิตตามชว่ งวยั 1.1.1.2 กระต้นุ เรียน ดังนั้นการพัฒนา IQ ต้อง IO ≥ 100 ตอ่ IQ ในวยั เรียน กลมุ่ ลา่ ชา้ เริ่มตั้งแต่ ปฐมวัย ที่ได้รับท้ัง (สอดคลอ้ งกบั สารอาหาร การเลี้ยงดู และการ 1.2.1 ร้อยละ 85 มี 2 โครงการ สถานการณ์ และ กระตุ้น ส่งเสริม คัดกรอง ของเด็กที่มี IQ ต่ำ 1. โครงการ ตวั ชีว้ ัด) พฒั นาการ กว่า 100 ได้รับ มหศั จรรย์ 1000  ใน ผช. มี 2 โครงการท่ี การพฒั นา วันแรกของชวี ิต - เกี่ยวข้องกับกลุ่มปฐมวัย ท่ี (โครงการกบั 2. โครงการเงิน ปรากฏในตัวชี้วัด เป้าประสงค์ ตัวชวี้ ัดไม่ อุดหนนุ เพ่อื การ “เด็ก IQ ต่ำกว่าร้อย ได้รับการ สอดคล้องกนั ใน เลีย้ งดเู ด็กแรกเกิด พัฒนา” และจะเห็นได้อย่าง ชัดเจนว่า ความสำเร็จใน 2 โครงการดังกล่าว ไม่สอดคล้อง กับตัวชี้วัด ตามเป้าประสงค์ 1.2 98

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ชี้วดั เปา้ หมาย สถานการณ์ทาง ตัวชว้ี ดั ผช. จำนวน ตวั ช้วี ดั / หมายเหต/ุ ข้อเสนอแนะ แผนท่ตี อบสนอง สุขภาพจติ โครงการ ผช. กลยุทธ์ ผก. ดา้ น กลมุ่ เปา้ หมาย) เด็กมีความฉลาด พฒั นาการลา่ ชา้ 1.2.3 ร้อยละ 85 มี 1 โครงการ -  ผลของโครงการคือได้ตัว ทางอารมณ์ (ด้านอารมณ)์ ของคนไทยอายุ 15 การศกึ ษาความ แ บ บ ผลิตภ ัณฑ์ที่ส่งเสริม EQ ปกติ ปีขึ้นไปที่มีความสุข คมุ้ คา่ ของ 1.1.1.เด็กวัยเรยี น พัฒนาการเด็กปฐมวัย จึงไม่ รอ้ ยละ 85 เท่ากับหรือสูงกว่า โปรแกรมส่งเสริม กลมุ่ เสี่ยงตอ่ ระดับ สอดคล้องกับตัวชี้วัด 1.2.3 คน คา่ เฉล่ยี พฒั นาการสร้าง สติปัญญาตำ่ กวา่ ไทย อายุ 15 ปขี ึน้ ไปมคี วามสขุ วัยเรยี น: รวมมี 4 โครงการ วินยั เชงิ บวกโดย มาตรฐาน /ปญั หา 1.2.1 ร้อยละ 85 ครอบครัวมีส่วน พฤติกรรม-  โครงการเกี่ยวกับการ เดก็ ไทย มี สถานการณเ์ ด็กวยั ของเด็กทม่ี ี IQ ตำ่ รว่ ม อารมณ์ได้รับการ ส่งเสริม IQ มีเพียง 2 โครงการ กว่า 100 ได้รับ ดูแลชว่ ยเหลอื ที่ผู้รับผิดชอบโครงการคือ กรม สตปิ ญั ญา เรียนมี IQ ตำ่ กวา่ การพัฒนา มี 2 โครงการ (สอดคลอ้ งตาม สุขภาพจิต ยังขาดแผนปฏิบัติ (ควบประเดน็ IQ สถานการณ์ และ ก า รที่มา จ า ก ห น่ว ย งานที่ IO ≥ 100 100 1.2.1 รอ้ ยละ 85 ตัวชวี้ ดั ) เ ก ี ่ ย ว ข ้ อ ง โ ด ย ต ร ง คื อ ของเดก็ ที่มี IQ ตำ่ EQ และ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เด็กมีความฉลาด EQ เด็กวยั เรียน กว่า 100 ได้รบั สขุ ภาพจติ ) -  ใ น ผ ช . ไ ม ่ ม ี ต ั ว ช ี ้ วั ด ทางอารมณ์ ปกติ (อายุ 6-11 การพัฒนา เป้าประสงค์ ด้าน EQ โดยตรง EQ ปกติ ปี) พ.ศ. 2561 อยู่ (ตัวช้ีวัด ไมม่ คี ำวา่ มี 1.โครงการ คอื 1.1.2.1 เดก็ และ ขณะทม่ี ีโครงการสง่ เสริม EQ ใน ร้อยละ 85 ที่ ร้อยละ 83 EQ แต่ภายใต้ สร้างเสริม เยาวชนในอำเภอ กลุ่มเด็กวัยเรียน น้อยมาก ทั้งท่ี ตวั ชว้ี ดั มีโครงการ สขุ ภาพจติ เดก็ ไทย ตน้ แบบ ทมี่ ีทกั ษะ เปน็ ตัวช้วี ัดของแผนยุทธศาสตร์ มีท้ัง IQ และ EQ) วยั เรียน ชวี ิตอยใู่ นเกณฑด์ ี 1.1.1 ร้อยละ 40 (ดำเนินงานควบ (สอดคล้องตาม ☺สอดคล้อง - โดยมีเกย่ี วขอ้ ง ของคนไทยที่มี ทัง้ IQ และ EQ) สถานการณ)์ กบั กลุ่มวยั เรยี น 2 โครงการ ความตระหนกั และ เขา้ ใจเรอื่ ง มี 2 โครงการ ☺สอดคล้อง- โดยมเี กีย่ วขอ้ ง สุขภาพจติ กับกลมุ่ วยั เรียน 1 โครงการ 1.1.3 รอ้ ยละ 75 มี 1 โครงการ วัยรุน่ และเยาวชน: รวมมี 11 โครงการ ของคนไทยได้รบั ตัวชวี้ ดั ความสขุ การพฒั นาทกั ษะ มี 5 โครงการ ชวี ิตตามชว่ งวยั 1.1.1 ร้อยละ 40 ของคนไทยทม่ี ีความ 99

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ชีว้ ดั เปา้ หมาย สถานการณท์ าง ตัวช้วี ดั ผช. จำนวน ตัวชวี้ ดั / หมายเหต/ุ ข้อเสนอแนะ แผนท่ีตอบสนอง สขุ ภาพจติ ตระหนกั และเขา้ ใจ โครงการ ผช. กลยุทธ์ ผก. เร่ืองสุขภาพจิต มี 6 โครงการ 1.1.2.1 รอ้ ยละ ☺ ค ว า ม ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ (World วัยร่นุ มีประเด็นที่ 1.1.3 รอ้ ยละ 75 ของเด็กและ ส ถ า น ก า ร ณ ์ ด ้ า น ส ุ ข ภ า พ จิ ต Happiness สำคญั คอื การด่มื ของคนไทยได้รบั การ 1 โครงการ เยาวชนในอำเภอ ประเด็นปัญหาของเยาวชน เครือ่ งดืม่ พัฒนาทกั ษะชวี ติ เสรมิ สรา้ งสุขภาวะ ตน้ แบบ ทมี่ ที กั ษะ ค่อนข้างมีความหลากหลาย Index) แอลกอฮอลข์ อง ตามชว่ งวยั และสุขภาพจติ ทดี่ ี ชวี ิตอยู่ในเกณฑด์ ี ส ่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ไ ด ้ ท ั ้ ง ป ร ะ เ ด็ น และ เยาวชน อัตราการ แกป่ ระชาชนวัย (สอดคลอ้ งตาม ความสุข และการฆ่าตัวตาย ตัวชว้ี ดั อตั ราการ คลอดมชี พี ในหญิง 1.1.3 รอ้ ยละ 75 ทำงาน สถานการณ์) และเกี่ยวข้องกับเครือข่ายใน ฆ่าตัวตายสำเร็จ อายุ 15-19 ปี ของคนไทยได้รบั หลายภาคสว่ น ปญั หาต้งั ครรภไ์ ม่ การพฒั นาทักษะ 1 โครงการ 1.1.3 กลยทุ ธ์  ในแผนพัฒนาสุขภาพจิต พรอ้ ม โรคติดตอ่ ชวี ิตตามชว่ งวยั HAPPY MOPH เสรมิ สร้าง แห่งชาติไม่ได้มีตัวชี้วัดโดยตรง ทางเพศสมั พนั ธ์ใน กระทรวง สขุ ภาพจิต ทีด่ แี ก่ เกี่ยวกับช่วงวัยนี้ มีเพียง วยั ร่นุ และเยาวชน 1.2.3 ร้อยละ 85 สาธารณสขุ แหง่ คนวยั ทำงาน ภาพรวมในกลุ่มคนไทยทุกช่วง ของคนไทยอายุ 15 ความสุข (สอดคล้องกบั วัย เมื่อดำเนินการครบทุก วัยทำงาน (25 - 59 ป)ี : มี 20 โครงการ ปขี ้ึนไปทม่ี ีความสุข ตวั ชว้ี ดั ผก. คน โครงการแล้วก็เปน็ ไปได้ว่า อาจ ตัวชวี้ ดั ความสขุ กลุ่มคนทำงาน เท่ากบั หรือสูงกวา่ มี 4 โครงการ ไทยสุขภาพจติ ด)ี ยงั ไม่กระทบตอ่ คะแนน WHI คา่ เฉลยี่  ไม่มีการกำหนดประเด็นเชงิ (World รูปแบบการดำเนนิ มี 1 โครงการ . 4.1.3 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่เกีย่ วขอ้ งในช่วงวัย Happiness ชีวติ และพฤตกิ รรม 1.1.1 ร้อยละ 40 โครงการขับเคลอื่ น พัฒนาระบบการ เรียน วัยร่นุ ของคนไทยทมี่ คี วาม การดแู ลสขุ ภาพจติ สร้างความสขุ ของ Index) ทางสขุ ภาพที่ไม่ ตระหนกั และเข้าใจ บุคลากรกรม  ผช. การทบทวนสถานการณ์ เหมาะสม อว้ น ดม่ื เร่ืองสขุ ภาพจิต สขุ ภาพจิต ทางสุขภาพจิตกับประเด็นทาง สรุ า สบู บุหรี่ 1.1.3 ร้อยละ 75 (สอดรบั นโยบาย ส ุ ข ภ า พ จ ิ ต ข อ ง ว ั ย ท ำ ง า น ท่ี ของคนไทยไดร้ ับ กระทรวง) มุ่งเน้นจริงมีความไม่สอดคล้อง กลมุ่ ประชาชน การพฒั นาทักษะ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 กันในประเด็นสุขภาพจิตวัย ทวั่ ไป ชวี ติ ตามช่วงวยั กลยุทธ์ 3.1.1 ทำงาน Mental Health  ผช. เกณฑ์การวัดคะแนน Literacy ความสุข / สุขภาพจติ ดี มีหลาย 1.1.5 กลยทุ ธ์ รูปแบบ ยังไม่มีรูปแบบกลางท่ี บูรณาการงาน แท้จริงที่เหมาะกับคนไทย การ ส่งเสริมสขุ ภาพจิต นยิ ามการเกบ็ ขอ้ มูลยังไม่ชัดเจน และ ป้องกัน WHI เปน็ มาตรฐาน แตโ่ ครงการ ไม่สามารถตอบสนองได้ครบทุก มติ ิ ☺ สอดคลอ้ งตามประเดน็ ตวั ชว้ี ัด ☺ สอดคลอ้ งตามประเดน็ ตวั ช้วี ดั และยทุ ธศาสตร์ 100

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ช้ีวดั เปา้ หมาย สถานการณท์ าง ตวั ชวี้ ดั ผช. จำนวน ตวั ชวี้ ดั / หมายเหต/ุ ข้อเสนอแนะ แผนที่ตอบสนอง สขุ ภาพจติ โครงการ ผช. กลยทุ ธ์ ผก. ทุกกลุ่มวัยในระบบ ปัญหาสขุ ภาพจิต ☺ สอดคลอ้ งตามประเดน็ ท้ัง การ 1.2.3 รอ้ ยละ 85 สุขภาพปฐมภมู ิ เขา้ กับระบบ สำรวจสถานการณ์คนไทยมี ของคนไทยอายุ 15 สขุ ภาพปฐมภูมิ สุขภาพจิตดี และ การสง่ เสรมิ ปขี นึ้ ไปที่มีความสุข มี 2 โครงการ กจิ กรรมทางกาย 2561-2573 เท่ากบั หรอื สูงกว่า - คา่ เฉลยี่ ☺ โครงการมีความสอดคล้อง ตัวช้วี ดั ครอบครัว กลุ่มครอบครัว 1.2.3 ร้อยละ 85 มี 2 โครงการ - กับประเด็นสุขภาพจิตใน เข้มแข็งและมี ความสมั พนั ธข์ อง ของคนไทยอายุ 15 ครอบครวั ความอบอุ่น โครงสร้าง ปขี ึน้ ไปท่มี ีความสขุ  มีโครงการที่เกี่ยวข้อง และ ครอบครัว เท่ากบั หรือสูงกว่า โดยตรงน้อย ควรเชื่อมโยงการ ตัวชีว้ ดั WHI ใน ครอบครวั ขยาย คา่ เฉลยี่ ดำเนินงานกับกรมกิจการสตรี ประเดน็ ลดลง อัตราการ และสถาบันครอบครัว ซึ่งดูแล ครอบครัว หย่ารา้ ง ความ ต ั ว ช ี ้ ว ั ด น ี ้ ค ร อ บ ค ร ั ว เ ข ้ ม แ ข็ ง รุนแรงในครอบครวั โดยตรง และเป็นองค์การท่ี การละเมิดทางเพศ ข ั บ เ ค ล ื ่ อ น แ ผ น ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ครอบครวั เขม้ แขง็ 1.1.3 ร้อยละ 75 1 โครงการ -  ขาดความเชื่อมโยงและ ของคนไทยไดร้ ับ เงนิ อดุ หนนุ ทุน จุดเน้น ระหว่าง ตัวชี้วัดตาม การพัฒนาทักษะ กิจกรรมศูนย์ เป้าประสงค์ ไปสู่การบรรลุ ชีวิตตามช่วงวยั พฒั นาครอบครวั ตวั ชว้ี ัดครอบครัวเขม้ แข็ง ในชุมชนภายใต้  มีโครงการที่เชื่อมโยงไปสู่ โครงการบริหาร ค ว า ม ส ำ เ ร ็ จ ข อ ง ต ั ว ช ี ้ วั ด พัฒนากำลังคน ครอบครัวเข้มแข็งน้อย และมี ของประเทศด้าน โครงการจากกรมกิจการสตรี ครอบครวั และสถาบันครอบครัวเพียง 1 โครงการเท่านั้น ที่ปรากฏใน ตวั ชว้ี ดั อัตราการ กลุ่มเสีย่ ง 1.1.2 รอ้ ยละ 80 มี 7 โครงการ 3.1.2 กลยุทธ์ ผช. ฆ่าตัวตายสำเรจ็ ผู้พิการ ผูบ้ กพรอ่ ง ของคนไทยยอมรบั สนบั สนุนให้ ☺ สอดคลอ้ งตามประเดน็ และตวั ชวี้ ัด ทางจติ และให้โอกาสตอ่ ผู้มี 1 โครงการ ครอบครวั /ชมุ ชน ความสุข ผดู้ อ้ ยโอกาส ปญั หาสุขภาพจิต เรอื นจำสขุ ภาวะ ยอมรับ และให้ ☺ สอดคล้องตามประเดน็ และจิตเวช โอกาสกับผทู้ ี่อยู่ กบั ปัญหา 1.1.3 รอ้ ยละ 75 สขุ ภาพจิต ของคนไทยไดร้ ับการ พฒั นาทกั ษะชวี ิต - ตามชว่ งวยั วยั สูงอายุ: มี 10 โครงการ 101

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ชวี้ ดั เปา้ หมาย สถานการณ์ทาง ตัวชี้วดั ผช. จำนวน ตัวช้ีวดั / หมายเหต/ุ ขอ้ เสนอแนะ กลยทุ ธ์ ผก. ☺ สอดคล้องตามประเด็น แผนทตี่ อบสนอง สุขภาพจติ โครงการ ผช. - ตัวชี้วดั ความสขุ ปญั หาด้านสุขภาพ 1.1.1 รอ้ ยละ 40 มี 4 โครงการ (World โรคซึมเศรา้ วติ ก ของคนไทยทีม่ ีความ Happiness กังวล มคี วาม ตระหนกั และเขา้ ใจ Index) ความรู้สกึ มคี ุณค่า เรอื่ งสขุ ภาพจิต และ ตวั ชีว้ ดั ในตัวเองลดลง อัตราการฆ่าตวั ตายสำเร็จ 1.1.3 รอ้ ยละ 75 มี 3 โครงการ - ☺ สอดคล้องตามประเด็น ของคนไทยไดร้ บั การ พฒั นาทกั ษะชวี ิต ตามชว่ งวยั 1.2.2 รอ้ ยละ 70 มี 3 โครงการ 1.1.4.1 ผู้สูงอายุ ☺ สอดคลอ้ งตามประเด็น ที่มีปญั หา ของผสู้ งู อายทุ ม่ี ารบั สขุ ภาพจิต ไดร้ ับ บริการในคลนิ กิ การดูแลทางสงั คม ผูส้ ูงอาย/ุ คลนิ กิ โรค จิตใจ ไม่ตดิ ต่อเรอื้ รงั ไดร้ บั การคัดกรองภาวะ ซมึ เศรา้ * ผช. = แผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ผก. แผนปฏบิ ตั ริ าชการกรมสุขภาพจิต 2) ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พฒั นาระบบบริการสุขภาพจิตและจติ เวช ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพจติ และจติ เวช ของแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ มีใกล้เคียงกับแผนปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิตในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพระบบบริการและ วิชาการสุขภาพจิตและจิตเวช ซึ่งมีจุดเน้นไปที่การเข้าถึงบริการของแต่ละกลุ่มเป้าหมายในการให้บริการเป็น หลกั โดยเนือ้ หาจะเชอ่ื มโยงกบั หน่วยงานนอกระบบสาธารณสขุ ค่อนข้างยาก เพราะเป็นประเด็นการให้บริการ ผู้ที่จำเป็นต้องเข้าถึงระบบบริการสุขภาพจิตแล้ว อย่างไรก็ตามผลกระทบของเป้าประสงค์และโครงการตาม ยุทธศาสตร์นี้ แมว้ ่าจะเชอ่ื มตอ่ กับวิสัยทัศนท์ วี่ ่า อย่ใู นสังคมอย่างทรงคณุ คา่ แตส่ ามารถสง่ ผลตอ่ เป้าหมายตาม ตวั ช้ีวัดของแผนไดน้ ้อยเม่ือเทยี บกับรายละเอยี ดตามยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 พบตัวชีว้ ัดเปา้ ประสงค์ท่สี ง่ ไปยัง ตัวชีว้ ัดรอ้ ยละของอำเภอทีบ่ รู ณาการงานสุขภาพจติ แลว้ ประชาชนมี ความสุขและตัวชี้วัดความสุข (WHI) คือ ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ที่ 2.1.3 ร้อยละของศูนย์แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัว (Primary Care Cluster : PCC) ในชุมชนมีระบบในการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวช ซึ่งเป็นตัวชี้วัด ในกลยุทธ์ที่ 2.1.1.3 ของแผนปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิตด้วย โดยเป็นตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทางนโยบายที่ให้ระบบบริการสุขภาพจิตขยายสู่ระบบสุขภาพปฐมภูมิ ส่วนตัวชี้วัดอื่น ๆ ไม่พบการส่งผล ทางตรงไปยงั ตัวชี้วดั และเป้าหมายของแผน 102

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 3) ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ขับเคลอ่ื นและผลักดนั มาตรการทางกฎหมาย สังคม และสวัสดิการ เป้าหมายของยทุ ธศาสตร์นจี้ ะนำไปสวู่ ิสยั ทัศนท์ ีว่ ่า อยใู่ นสังคมอย่างทรงคุณคา่ แต่ในตวั ชีว้ ดั แผนไม่ได้ มีตัวชี้วัดที่ส่งผลโดยตรงมายังวิสัยทัศน์นี้ ข้อสังเกตคือ ทั้ง 3 ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ยังคงเน้นในเรื่อง การพัฒนา ระบบดูแลผเู้ ขา้ ถึงบรกิ าร ซ่ึงเปน็ กลยทุ ธ์ภายใต้เป้าประสงค์ที่ 2.1 ในแผนปฏบิ ัติราชการฯ คอื ประชาชนได้รับ การดูแลและเข้าถึงบริการสุขภาพจิตที่มีคุณภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต ซึ่งหากตีความตามประเด็น แลว้ น่าจะมุง่ เน้นไปทก่ี ารขับเคลื่อนผลักดนั มาตรการทางกฎหมาย สงั คม สวัสดิการ ซ่ึงตอ้ งอาศัยความร่วมมือ จากหลายภาคส่วน แต่แนวทางยงั คงเน้นไปท่กี ารพัฒนาระบบบรกิ ารท่ีเกี่ยวข้องกบั ผ้ปู ว่ ยจิตเวชเป็นหลกั 4) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นาวชิ าการและกลไกการดำเนินงานดา้ นสุขภาพจติ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ยังคงมจี ดุ เน้นเก่ียวกบั การดำเนินงานในกรมสุขภาพจิตเป็นหลัก มีตวั ชี้วดั เป้าประสงค์ ที่ 4.1.2 รอ้ ยละ 45 ของหน่วยบริการดา้ นสขุ ภาพจติ ท่มี ผี ลการประเมินระดบั คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการ ดำเนินงานผ่านเกณฑ์ เท่านั้น ที่น่าจะส่งผลต่อ ตัวชี้วัดความสุข WHI ในด้านความโปร่งใสได้ ส่วนตัวชี้วัด เปา้ ประสงค์อนื่ ๆ เช่น 4.2.1 จำนวนนวตั กรรม/องค์ความรทู้ สี่ ามารถป้องกันแก้ไขปัญหาสุขภาพจติ และ 4.2.2 จำนวนประเด็นความรู้ที่ใช้เป็นแหล่งอ้างอิงในระบบสารสนเทศสุขภาพจิต น่าจะนำไปสู่ความสำเร็จตาม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 มากกว่า สำหรบั ตวั ชีว้ ดั ท่ี 4.1.3 สดั ส่วนบคุ ลากรสายงานหลักดา้ นสุขภาพจติ ต่อประชากรแสน คน ถือเปน็ ส่งิ ทีเ่ ครือขา่ ยมคี วามตอ้ งการมากจะนำไปสู่การขับเคล่ือนงานในภาพรวมได้ ภาพที่ 12 การไหลของข้อมลู จำแนกตามประเภทของหน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบโครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์ 103

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) จากการวิเคราะห์โดยตั้งจุดสังเกตจากตัวชี้วัดเป้าประสงค์ของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติเป็นตัว หลัก พบว่ามีหลายตัวชี้วัดที่ไม่ได้นำไปสู่ค่าเป้าหมายภาพรวมของแผนโดยตรง และยังเป็นสัดส่วนของงาน ภายในกรมสุขภาพจิตเป็นส่วนใหญ่ ทำให้ภาพลักษณ์ของการเป็นแผนความร่วมระหว่างหน่วยงานตาม เจตนารมณ์ของแผนยังไม่เกิดขึ้นอย่างเต็มที่ เมื่อพิจารณารายละเอียดตามตัวชี้วัดเป้าประสงค์พบว่า มีเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 1 ที่เน้นตอบเป้าประสงค์ของแผนโดยตรง ส่วนตัวชี้วัดในยุทธศาสตร์อื่นยังคงเป็นกลไกการ ดำเนินงานด้านการเข้าถึงบริการสขุ ภาพจิตเป็นสว่ นใหญ่ เมื่อทำการจำแนกหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และจำนวน โครงการทีร่ ับผิดชอบดังภาพที่ 13 จะเหน็ ได้ตามสดั ส่วนขอความรบั ผดิ ชอบยังอยู่ในกรมสขุ ภาพจิตกว่าก่ึงหน่ึง มหี น่วยงานสาธารณสขุ ร้อยละ 20 หนว่ ยงานภาครัฐนอกระบบบริการสุขภาพจิตรอ้ ยละ 14 และเครอื ข่ายภาค ประชาสังคมรอ้ ยละ 14 โดยสัดสว่ นของความเก่ียวข้องในหนว่ ยงานนอกกรมสุขภาพจิตมีมากในยุทธศาสตร์ท่ี 1 และยุทธศาสตรท์ ี่ 3 จากภาพที่ 13 แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงในภาพรวมแล้วพบความเชื่อมโยงสนับสนุนกันในระดับ เป้าประสงค์ มาสู่ตัวชี้วัดภาพรวมแผน จนถึงวิสัยทัศน์ แต่เนื้อหาภายในและสัดส่วนของความรับผิดชอบของ หน่วยงานตามแผนยังไม่สมดุล มีตัวชี้วัดเป้าประสงค์บางส่วนที่ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จของวิสัยทัศน์นอ้ ย ขณะที่ โครงการที่มุ่งเป้าต่อความสำเร็จของตัวชี้วัดโดยตรงยังมีน้อย เมื่อเทียบกับโครงการที่เน้น กระบวนการพัฒนาเชิงระบบ ซึ่งการวิเคราะห์รายละเอียดของโครงการ และข้อเสนอแนะจากเครือข่าย จะ นำเสนอในหวั ข้อถัดไป ภาพที่ 13 แสดงความเชอ่ื มโยงของเป้าประสงค์ ตวั ชีว้ ดั วิสยั ทศั น์ของแผน 104

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 5.5 ความสอดคลอ้ งเชื่อมโยงระหว่าง วสิ ยั ทัศน์ ตวั ชี้วัด ยทุ ธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ในส่วนนจี้ ะนำเสนอให้เหน็ ถึงความเชื่อมโยงระหว่าง วิสัยทัศน์ ตวั ชี้วัด ยทุ ธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ของแผน ซึ่งได้มาจากการประมวลข้อสังเกตของกลุม่ เป้าหมายในการสัมภาษณ์ รายละเอียดเนื้อหลักการของ แผน ประกอบการวิเคราะห์เชื่อมโยงโดยใช้ตรรกะของผู้วิจัย พบว่า ในระดับภาพรวมของแผน จาก เป้าประสงค์ที่ปรากฏในแต่ละยุทธศาสตร์ เชื่อมโยงมาสู่ตัวชี้วัดของแผน และการบรรลุวิสัยทัศน์ ดูมีความ เช่อื มโยงสนบั สนนุ กนั ดังภาพท่ี 13 5.5.1 การวิเคราะห์สดั สว่ นของเนอื้ หาภายในแผนตามกล่มุ เป้าหมาย จากการวิเคราะห์สัดส่วนของเนื้อหาภายในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ตามกลุ่มเป้าหมาย โดย จำแนกเป็น 6 กลมุ่ ได้แก่ ปฐมวยั และวยั เรยี น กลุ่มวยั รุ่นและเยาวชน กลมุ่ วยั ทำงาน กลุม่ วยั สูงอายุ และกลุ่มผู้ มีปัญหาทางจิต พบว่า โครงการในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ มีโครงการท่ีเกีย่ วข้องกับผูพ้ ิการ/ผู้บกพร่อง ทางจิตประมาณกึ่งหนึ่ง ในขณะที่กลุ่มวัยที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ กลับมีโครงการที่สามารถ ขบั เคลื่อนเปา้ หมายได้น้อย ดงั จะเห็นได้จากภาพที่ ภาพที่ 14 โครงการท่เี ก่ยี วข้องกับ ปฐมวัยและวยั เรยี น ซ่ึง ขับเคลื่อนตัวชี้วัดด้าน สติปัญญา และอารมณ์เด็กไทย มีรวมกันอยู่เพียง 11 โครงการ ส่วนตัวชี้วัดด้าน ครอบครัวเข้มแข็งและมีความอบอุ่น มี 6 โครงการ โดยสามารถดูรายละเอียด แต่ละกลุ่มได้ดังภาพที่ 15-19 ซง่ึ เปรยี บเทียบให้เห็นตวั ช้วี ดั ในแผนปฏบิ ัตริ าชการทเี่ ช่อื มโยงกนั ด้วย ข้อสังเกตที่พบ คือ ในกลุ่มวัยรุ่น/เยาวชน มีโครงการตามยุทธศาสตร์ 17 โครงการ ซึ่งเกี่ยวข้องและ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหาสุขภาพจิตที่ได้ทบทวนไปช่วงต้นแผน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตั้งข้อสังเกต ว่า ตัวชี้วัดที่ปรากฏในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ยังขาดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะ ชีวิตในกลุ่มวัยรุ่น/เยาวชน ซึ่งเป็นช่วงวัยที่สำคัญอันจะเชื่อมโยงไปสู่วัยผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและมีความสุขใน ช่วงเวลาอีกไม่นาน จึงควรเพิ่มเป้าหมายของกลุ่มวัยรุ่น/เยาวชนเข้ามา ในขณะที่ เป้าหมายด้าน IQ และ EQ เป็นประเด็นที่ต้องดำเนินการไปพร้อมกันเสมอจึงควรควบรวมเป้าหมายเข้าด้วยกัน อีกทั้งยังสามารถเพ่ิม ประเดน็ อืน่ ๆ เช่น MQ (ความฉลาดทางจริยธรรม) ไดด้ ว้ ย 105

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพท่ี 14 สดั สว่ นของโครงการตามกลมุ่ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 10

รประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ 06

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพที่ 15 การเช่ือมโยงโครงการตามตัวชีว้ ัดเป้าประสงคใ์ นกลุ่มปฐมวยั วยั เรียน 10

รประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ 07

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพที่ 16 การเชื่อมโยงโครงการตามตวั ชว้ี ัดเป้าประสงค์ในกล่มุ วัยร่นุ /เยาวชน 108

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพที่ 17 การเช่ือมโยงโครงการตามตวั ช้ีวดั เปา้ ประสงคใ์ นกลุม่ วยั ทำงาน 10

รประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ 09

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพที่ 18 การเชื่อมโยงโครงการตามตวั ช้วี ดั เป้าประสงคใ์ นกลมุ่ วยั สูงอายุ 11

รประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ 10

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพที่ 19 การเชื่อมโยงโครงการตามตวั ช้วี ดั เป้าประสงคใ์ นกลมุ่ วยั สูงอายุ 11

รประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ 11

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 5.5.2 การวิเคราะห์ความสอดคล้องเหมาะสมของโครงการตามยุทธศาสตร ในสว่ นนเ้ี ป็นการรวบรวมข้อมลู จากข้อสงั เกต และขอ้ เสนอแนะของกลมุ่ เป้าห ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ส่งเสรมิ และป้องกนั ปัญหาสขุ ภาพจิตตลอดช่วงชวี ติ ค สอด โครงการ รายละเอียด เหม เปา้ ประสงค์ 1.1 คนไทยเขา้ ใจและใสใ่ จสขุ ภาพจติ ของตนเอง ครอบครวั และชุมชน ตัวชว้ี ัดเปา้ ประสงค์ 1.1.1 รอ้ ยละ 40 ของคนไทยท่ีมีความตระหนกั และเขา้ ใจเร่ือง สขุ ภาพจติ 1. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหลักสูตรการ นกั เรียนนกั ศกึ ษาและผปู้ กครองทม่ี ี เสรมิ สรา้ งทกั ษะครูอาชวี ศกึ ษา เพอื่ ปอ้ งกนั ปญั หาทางพฤตกิ รรม/อารมณ์ไดร้ บั และแกไ้ ขปญั หาสุขภาพจติ ผ้เู รยี น การดูแลช่วยเหลอื ตามสภาพปัญหา อยา่ งเหมาะสม 2. การส่งเสริมการจัดบรกิ ารสุขภาพทีเ่ ปน็ วยั รุ่นและเยาวชนเข้าถงึ บริการสขุ ภาพ มิตรและพัฒนาภาคเี ครอื ขา่ ยอนามยั เจริญ เพ่ิมขึน้ ทั้งเชิงรบั /เชงิ รกุ และมี พนั ธ์ใุ นวัยร่นุ และเยาวชน พฤตกิ รรมอนามัยการเจรญิ พันธุ์ที่ เหมาะสมการตัง้ ครรภใ์ นวยั ร่นุ การ ป่วยด้วยโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธแ์ ละ เอดส์ในวัยรนุ่ และเยาวชนลดลง 3. การขบั เคลอ่ื นการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะให้ สรรถนะนักเรยี นเพือ่ น ท่ีปรกึ ษาดา้ น นกั เรยี นผ่านการแนะแนวขอบขา่ ยส่วนตัวและ ความรู้ ด้านเจตคติ ด้านทกั ษะการให้ สงั คมและกจิ กรรมนักเรียนเพ่ือนทป่ี รึกษา คำปรึกษา 11

รประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ร์ หมายตอ่ การจัดโครงการตามยุทธศาสตร์ ความ หนว่ ยงาน หมายเหต/ุ ขอ้ เสนอแนะ ดคล้อง/ มาะสม ✓  = 10  = 6 ✓ ศึกษาธกิ าร ✓ ศกึ ษาธิการ ✓ กรมอนามัย 12

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสริมและป้องกนั ปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชวี ิต ค สอด โครงการ รายละเอียด เหม 4. โครงการสร้างความตระหนกั รดู้ ้านสุขภาพ ความตระหนักรดู้ า้ นสุขภาพ และการ เพื่อเตรยี มความพรอ้ มเขา้ สู่สงั คมสูงวยั สุขภาพ เตรียมความพรอ้ มเขา้ สู่สังคมสงู วยั ดีในกลุม่ เดก็ และเยาวชน ของนกั เรยี น ม.ปลาย 5. โครงการศึกษาปัญหาเดก็ ติดเกม (ระยะท่ี เปน็ การศึกษาวิจยั เพ่ือ พฒั นา 1) เครื่องมอื ประเมนิ ความรุนแรงของ ภาวะตดิ เกมในเด็กและวยั รุ่น 6. โครงการเสริมสรา้ งความรอบรแู้ ละพัฒนา -ประชาชนมีความตระหนักและมคี วาม พฤติกรรมสขุ ภาพจติ ท่พี ึงประสงคแ์ ก่ เข้าใจต่อปญั หาสุขภาพจติ ประชาชน -ประชาชนกล่มุ เป้าหมายยอมรับและ ใหโ้ อกาสตอ่ ผู้ท่ีอย่กู ับ -ประชาชนมีความรอบรูส้ ุขภาพจติ 7. การสอื่ สารสังคมประเด็นสขุ ภาพจิต -พฒั นาส่ือ/หลกั สูตร -จดั ซ้ือจัดจ้าง -ผลิตและเผยแพร่ 8. โครงการชะลอชรา ชวี ายืนยาว ผสู้ ูงอายุ มีความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ “สุขเพยี งพอ ชะลอชรา ชีวายืนยาว” และพฤตกิ รรมสขุ ภาพที่พงึ ประสงค์ 9. โครงการพฒั นาระบบการดูแลสง่ เสรมิ ส่งเสรมิ ผสู้ ูงอายุใหม้ ีพฤตกิ รรมสขุ ภาพ สุขภาพผสู้ ูงอายใุ นชุมชนแบบบูรณาการ ท่ีพึงประสงค์ผ่านกลไกในพน้ื ท่ี 10. โครงการพัฒนาระบบดแู ลสง่ เสริมสุขภาพ ผู้สูงอายไุ ด้รับการคัดกรอง ส่งเสรมิ ผู้สงู อายุ ระยะยาวเชิงปอ้ งกัน ดูแล จนถึงพฒั นาระบบดูแล 11

รประเมินแผนปฏิบตั ริ าชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหตุ/ข้อเสนอแนะ ดคลอ้ ง/ ศกึ ษาธิการ มาะสม ✓  กรมสุขภาพจิต เปน็ การวิจยั พฒั นาองคค์ วามรู้และวิชาการด้านสขุ ภาพจิต จงึ จะสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ ท่ี 4 พัฒนาวชิ าการฯ มากกว่า ✓ กรมสุขภาพจติ *เปน็ โครงการสำคญั ตามยุทธศาสตรท์ ตี่ อบตัวช้ีวัด เปา้ ประสงค์ได้ในโครงการเดยี ว ตามภาพ ท่ี 15 จะเหน็ ได้วา่ เปน็ โครงการที่เชอ่ื มโยงไปส่วู ิสยั ทศั น์ คนไทยอารมณด์ ี ท่ี ปรากฏในแผนได้ ถือว่าเป็นโครงการท่สี ำคญั และมีความค้มุ ค่า  สสส เป็นการพฒั นาองค์ความรแู้ ละวชิ าการท่ีจะใช้เผยแพร่ จึง สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ ที่ 4 พัฒนาวิชาการฯ มากกวา่ ✓ กรมอนามยั ✓ กรมอนามัย ✓ กรมอนามัย 13

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชวี ติ ค สอด โครงการ รายละเอยี ด เหม 11. โครงการการจดั และสง่ เสริมการจัด ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการศึกษา การศกึ ษาตลอดชวี ิตเพื่อคงพฒั นาการทางกาย ตลอดชวี ติ เพือ่ คงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ ูงอายุ จิต และสมองให้แก่ ผสู้ ูงอายุกลุ่มตดิ สังคม 12. โครงการสร้างหลักประกันรายได้แก่ กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่นิ ผู้สูงอายุ กระทรวงมหาดไทย 13. โครงการส่งเสรมิ อาสาสมัครสาธารณสขุ การใหเ้ งนิ สนบั สนนุ อาสาสมัคร ประจำหม่บู ้าน (อสม.) เชงิ รกุ สาธารณสขุ เรือ่ งคา่ การเจ็บปว่ ย 14. โครงการขบั เคล่ือนนโยบายของรฐั ผา่ น การขบั เคล่ือนการสร้างความปรองดอง กลไกหม่บู า้ น สมานฉันท์ประจำตำบลโดยผ่านกลไก คณะกรรมการหมบู่ า้ น 15. โครงการพฒั นาหม่บู า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง หมู่บ้านที่ไดร้ ับการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมี ความสขุ มวลรวมเพม่ิ ข้ึน 11

รประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ความ หน่วยงาน หมายเหต/ุ ขอ้ เสนอแนะ ดคล้อง/ กศน. มาะสม ✓  กรมส่งเสรมิ การ ไมส่ อดคล้องกับตัวชีว้ ดั ตามเปา้ ประสงค์ เนอ่ื งจากเป็นการให้ ปกครองส่วน เบยี้ ยังชพี ผู้สงู อายุโดยการนำเงนิ เขา้ บญั ชี ไม่ไดม้ สี ว่ น ท้องถน่ิ เก่ียวข้องกับการทำใหต้ ระหนกั และเข้าใจประเดน็ ปญั หา สขุ ภาพจติ จงึ นา่ จะเป็นโครงการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ ท่ี 3 มากกวา่ เพราะเก่ยี วกบั เรื่องสวสั ดิการสงั คม  กรมสง่ เสรมิ การ ไมส่ อดคล้องกับตัวชว้ี ดั ตามเปา้ ประสงค์ ไมไ่ ดม้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ปกครองส่วน กับการทำให้ตระหนักและเขา้ ใจประเด็นปัญหาสุขภาพจติ จงึ ทอ้ งถ่ิน น่าจะเป็นโครงการท่ีเก่ียวข้องกบั ยุทธศาสตร์ที่ 3 มากกวา่ เพราะเกยี่ วกับเรอื่ งสวสั ดิการสงั คม  กรมส่งเสรมิ การ ควรอยใู่ นเป้าประสงค์ท่ี 1.2 มากกวา่ เพราะเปน็ เรอื่ ง ภาคี ปกครองสว่ น เครอื ข่ายในพ้นื ท่ี ท้องถนิ่  กรมส่งเสรมิ การ ควรอยู่ใน ตวั ช้วี ดั 1.2.3 ร้อยละ 85 ของคนไทยอายุ 15 ปขี ึ้น ปกครองสว่ น ไปทม่ี คี วามสขุ เท่ากบั หรอื สงู กว่าคา่ เฉลย่ี มากกว่า ท้องถิน่ 14

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสรมิ และป้องกันปัญหาสขุ ภาพจิตตลอดช่วงชวี ิต ค สอด โครงการ รายละเอียด เหม 16. โครงการส่อื สารประชาสมั พันธ์ด้าน ประชาชนรับรู้ขา่ วสารเข้าใจเชือ่ มนั่ 7 โค สขุ ภาพจิต และใหค้ วามรว่ มมอื กบั ภาครฐั ในการ เสรมิ สร้างสุขภาพจติ ทีด่ ี ตัวช้วี ัดเป้าประสงค์ 1.1.2 รอ้ ยละ 80 ของคนไทยยอมรบั และใหโ้ อกาสต่อผู้มีปัญหา สุขภาพจิตและจิตเวช 1. โครงการพัฒนาระบบสนับสนนุ อาชีพ หน่วยรับบริการในสังกัดกรมสขุ ภาพจติ สำหรบั ผ้พู กิ ารทางสติปญั ญาและออทสิ ตกิ มรี ะบบสนบั สนุนอาชพี สำหรับบคุ คล บกพรอ่ งทางสติปญั ญาและออทสิ ตกิ 2. โครงการรณรงคส์ รา้ งเจตคตเิ ชิงสร้างสรรค์ ผู้เข้าร่วมโครงการมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ตอ่ ผ้บู กพรอ่ งทางจิต เกี่ยวกับปัญหาสขุ ภาพจติ ในเชงิ สรา้ งสรรคต์ อ่ คนพิการทางจิต 3. โครงการอบรมใหค้ วามรผู้ ูบ้ กพรอ่ งทางจิต ผู้เขา้ รว่ มอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจ เข้าถึงสิทธติ ามกฎหมาย โดยไม่ถกู เลอื กปฏบิ ตั ิ เกย่ี วกบั กฎหมายคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละไม่ อย่างไม่เป็นธรรม ถูกเลือกปฏบิ ัติอย่างไมเ่ ปน็ ธรรม 4. โครงการพัฒนาศักยภาพผูบ้ กพรอ่ งทางจติ ผู้มีความบกพร่องทางจิตไดร้ ับการ เข้าถงึ กีฬาด้านคนพิการ พฒั นาทักษะกฬี าตามทส่ี นใจ 5. โครงการสนับสนนุ การเสริมสรา้ งสวสั ดิการ การให้เงินค่าใช้จ่ายเบ้ยี ยังชีพคนพกิ าร ทางสังคมให้แกผ่ ้พู ิการหรือทพุ พลภาพ ทุกประเภท 11

รประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหต/ุ ขอ้ เสนอแนะ ดคล้อง/ กรมสขุ ภาพจติ มาะสม ✓  กรมสุขภาพจิต เนอ้ื หาภายในตวั ช้ีวดั สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ที่ 3 ครงการ มากกว่า เพราะเป็นเร่ืองการสง่ เสรมิ สนับสนนุ ความเทา่ เทียม สทิ ธิ ทางสังคมสวัสดกิ าร แกผ่ ้มู ปี ญั หาสุขภาพจติ  ส่งเสริม ความเทา่ เทยี มในการประกอบอาชีพ  สมาคมเพอ่ื ผู้ ส่งเสรมิ สิทธิ ศักด์ิศรคี วามเปน็ มนษุ ย์ บกพรอ่ งทางจิตฯ  สมาคมเพือ่ ผู้ สิทธติ ามกฎหมายท่พี ึงไดร้ ับ บกพรอ่ งทางจิตฯ  สมาคมเพอื่ ผู้ ส่งเสรมิ สิทธิในการเขา้ ถึง ไดร้ ับกจิ กรรมนนั ทนาการ บกพร่องทางจติ ฯ  กรมส่งเสรมิ การ สิทธิการเข้าถงึ สวสั ดิการทางสงั คม ปกครองสว่ น ท้องถ่ิน 15

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสรมิ และป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชวี ติ ค สอด โครงการ รายละเอียด เหม 6. โครงการสนับสนนุ การจัดสวสั ดกิ ารทาง การสนับสนนุ สวสั ดิการทางสังคม สังคมแก่ผดู้ ้อยโอกาสทางสงั คม 7. โครงการขบั เคลื่อนเชงิ นโยบายระบบการ ผลักดันนโยบายระบบการดแู ล ดแู ลใหบ้ ริการสขุ ภาพจติ แกผ่ ้ปู ่วยจิตเวชไร้ ใหบ้ ริการด้านสขุ ภาพจติ แก่ผู้ปว่ ยจิต บา้ น เวชไร้บา้ นในพนื้ ที่ ตวั ชี้วดั เปา้ ประสงค์ 1.1.3 ร้อยละ 75 ของคนไทยไดร้ บั การพฒั นาทักษะชีวิตตาม ช่วงวยั 1. โครงการเสรมิ สรา้ งพฒั นาการเด็กล่าชา้ เด็กปฐมวัยกลมุ่ เสยี่ งไดร้ บั การตดิ ตาม กระตุ้นพัฒนาการและดแู ลต่อเนือ่ ง 2.โครงการพัฒนาศกั ยภาพเครอื ข่ายการดูแล -บุคลากรในเขตสขุ ภาพทรี่ บั ผดิ ชอบที่ เด็กตามกลุม่ วยั ปฐมวัย วัยเรียน วัยรุ่น ได้รับการพัฒนา -รพช. ระดบั m ข้นึ ไปทีส่ ามารถ จัดบริการด้านพฒั นาการและ พฤติกรรมได้ 3. โครงการสง่ เสรมิ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ สถานรับเล้ียงเดก็ เอกชนทจี่ ดทะเบียน เด็กปฐมวัย แลว้ มีการส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ แกเ่ ดก็ ใหม้ คี ณุ ภาพมาตรฐาน 4. โครงการสง่ เสรมิ การเจรญิ เติบโตและ การคัดกรอง ส่งเสรมิ ค้นหา ตดิ ตาม พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั อย่างมีคณุ ภาพฯ ดแู ลเดก็ ปฐมวยั ใหไ้ ด้รับการดแู ลแบบ ครบวงจร ต้งั แตผ่ ู้ปกครอง เจ้าหนา้ ที่ ระบบ 11

รประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหต/ุ ขอ้ เสนอแนะ ดคลอ้ ง/ มาะสม กรมสง่ เสรมิ การ สิทธิการเข้าถงึ สวสั ดิการทางสงั คม ปกครองท้องถ่ิน การขบั เคลือ่ นกฎหมายและนโยบาย  คณะสงั คม สงเคราะห์ มธ  ✓  = 13  = 3 ✓ กรมสขุ ภาพจิต  กรมสขุ ภาพจิต ควรอยใู่ นเปา้ ประสงค์ที่ 1.2 ภาคเี ครอื ข่ายเสริมสร้างการมี ส่วนรว่ มให้คนไทย มีปัญญา อารมณ์ดี และมคี วามสขุ  กรมกจิ การเด็ก ควรอยู่ในเป้าประสงค์ท่ี 1.2 ภาคีเครือขา่ ยเสริมสรา้ งการมี และเยาวชน สว่ นร่วมให้คนไทย มีปัญญา อารมณ์ดี และมคี วามสุข ✓ กรมอนามัย 16

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชวี ิต ค สอด โครงการ รายละเอยี ด เหม 5. โครงการขบั เคล่ือนการดแู ลสขุ ภาพจิตทุก การบรู ณาการงานสุขภาพจติ เข้ากบั กล่มุ วยั ในระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ 6.โครงการเสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวติ และป้องกนั เสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวติ ปอ้ งกนั ปญั หา พฤตกิ รรมเส่ยี งของวยั รนุ่ สขุ ภาพจิตและพฤติกรรมเสยี่ งของ วัยรนุ่ 7. โครงการเสริมสรา้ งทักษะชีวติ และปอ้ งกัน มคี วามรดู้ ้านสุขภาวะทางเพศ และ พฤติกรรมเสีย่ งของวัยรุ่น (โครงการปอ้ งกัน วยั รุ่นผตู้ ั้งครรภ์ไดร้ บั การจัดสวัสดกิ าร แกป้ ัญหาตั้งครรภใ์ นวัยรุน่ ) สังคมอย่างเหมาะสม 8. โครงการเตรยี มความพรอ้ มเดก็ และ เดก็ จากสถานสงเคราะหไ์ ดร้ บั การ เยาวชนออกสู่สงั คมอย่างเป็นสุข พฒั นาทกั ษะ ก่อนออกไปสสู่ ังคม เม่ือ มีอายุ 18 ปี 9. การพฒั นาเยาวชน ด้วยทักษะการรบั ฟงั โครงการฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ัติการ ทกั ษะ ดว้ ยใจ เพ่อื ปอ้ งกันการฆ่าตวั ตาย การฟงั ด้วยใจ เพอ่ื ปอ้ งกันการฆา่ ตัว ตายสำหรบั เยาวช 10. เงินอดุ หนุนทุนกจิ กรรมศูนย์พฒั นา การใหเ้ งินอดุ หนนุ เพือ่ ส่งเสรมิ กจิ กรรม ครอบครัวในชุมชนภายใตโ้ ครงการบริหาร ด้านความเขม้ แข็งของครอบครวั พฒั นากำลังคนของประเทศด้านครอบครัว 11. โครงการพัฒนาทักษะความรแู้ ละ ผ้สู ูงอายไุ ดร้ บั การพัฒนาศักยภาพ ความสามารถการทำงานและการเป็นผสู้ งู อายุ ทักษะทางกาย จิต สังคม ทมี่ พี ลัง 11

รประเมินแผนปฏิบัติราชการ ความ หน่วยงาน หมายเหตุ/ข้อเสนอแนะ ดคล้อง/ กรมสขุ ภาพจิต มาะสม ✓ ✓ กรมสุขภาพจติ ✓ กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน ✓ สมาคมวางแผน ครอบครวั แหง่ ประเทศไทยฯ ✓ สมาคมสะมารติ นั ส์ แห่งประเทศไทย  กรมกจิ การสตรีฯ เกี่ยวขอ้ งกับการให้เงินทุนสนับสนนุ เครือข่าย เพ่ือไปจัด กิจกรรมพัฒนาครอบครัวในชุมชน จึงสอดคลอ้ งกับ เป้าประสงค์ 1.2 ภาคีเครือข่ายฯ มากกว่า ✓ กรมกิจการ ผ้สู งู อายุ 17

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ส่งเสรมิ และป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชวี ิต ค โครงการ รายละเอียด สอด เหม 12. โครงการสานเสรมิ พลงั ผู้สงู อายแุ ละภาคี คนไทยท่ไี ดร้ ับการส่งเสริมความรแู้ ละ ขบั เคล่ือนดำเนินงานก้าวสสู่ ังคมผสู้ งู อายุอยา่ ง สร้างความเข้าใจให้มีการเตรยี มความ มีคณุ ภาพ พรอ้ มประชากรใหเ้ ปน็ ผสู้ งู อายทุ มี่ ี คุณภาพตามความเหมาะสมในวยั ทำงานและผสู้ งู อายุ 13. โครงการเสริมสร้างความร้คู วามเขา้ ใจ ผสู้ ูงอายุทม่ี ีศักยภาพมีความเขา้ ใจและ ด้านเทคโนโลยสี ำหรบั ผสู้ งู อายใุ นชุมชนเมือง ร้เู ท่าทนั เทคโนโลยรี วมถงึ สามารถ เข้าถงึ เทคโนโลยีได้มากข้ึนอยา่ ง เหมาะสม 14. โครงการเรือนจำสุขภาวะ การดแู ลตนเองและลดความเสี่ยงของ โรคท่ีมักมีในเรอื นจำรวมท้งั เสริมสรา้ ง พลังสร้างสรรค์พลงั ชีวิตและคิดบวก สำหรับผ้ตู อ้ งขัง 15. โครงการเสริมสรา้ งสขุ ภาวะและ พัฒนาและสนบั สนนุ ให้เกดิ การ สขุ ภาพจติ ทดี่ แี กป่ ระชาชนวัยทำงาน จัดบริการสง่ เสริมสขุ ภาพจติ และ ปอ้ งกนั ปญั หาสุขภาพจติ วยั ทำงาน 16. โครงการรณรงคป์ ้องกนั และแกไ้ ขปญั หา สรา้ งกระแส “การเป็นหนง่ึ โดยไมพ่ ึ่งยา ยาเสพตดิ เสพติด”ในกล่มุ วัยร่นุ และเยาวชนอยา่ ง ตอ่ เนือ่ ง เปา้ ประสงค์ 1.2 ภาคเี ครอื ขา่ ยเสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นร่วมให้คนไทย มีปญั ญา อารมณด์ ี และมคี 11

รประเมินแผนปฏิบัติราชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหตุ/ขอ้ เสนอแนะ ดคล้อง/ มาะสม สภาผสู้ งู อายแุ ห่ง ประเทศไทยใน ✓ พระบรมราชปู ถัมภ์ ✓ สสส. สนบั สนนุ ไอ เพย์ อทิ ฟอรเ์ วริ ด์ จำกัด ✓ สมาคมนักวจิ ัย ประชากรและ สังคม ✓ กรมสุขภาพจิต ✓ กรมสขุ ภาพจิต ความสุข ชอ่ื เป้าประสงค์ กบั ตัวช้ีวดั เปา้ ประสงค์ทง้ั 3 ตวั ชี้วดั ไม่ สอดคล้องกัน โดยตวั ช้วี ัดเนน้ การเสริมร้างใหค้ นไทยมี 18

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสริมและป้องกนั ปัญหาสขุ ภาพจิตตลอดช่วงชวี ิต ค สอด โครงการ รายละเอยี ด เหม ตวั ช้ีวดั เปา้ ประสงค์ 1.2.1 รอ้ ยละ 85 ของเดก็ ที่มี IQ ต่ำกว่า 100 ได้รับการพัฒนา 1. โครงการมหัศจรรย์ 1000 วนั แรกของชีวิต เนน้ การสง่ เสรมิ สุขภาพและปอ้ งกันโรค เพื่อให้เกดิ ผลลพั ธ์ ทพ่ี งึ ประสงค์ คือ เด็กอายุ 0-2 ปี สงู ดีสมสว่ น ฟนั ไมผ่ ุ พฒั นาการสมวยั 2. โครงการเงินอดุ หนนุ เพื่อการเลย้ี งดูเดก็ แรก ให้เงินสนบั สนุน โดยโอนเงินเข้าบญั ชี เกดิ รายบคุ คล 3. โครงการสรา้ งเสรมิ สุขภาพจติ เดก็ ไทยวยั เนน้ การพฒั นาบุคลากรท้งั ในและนอกระบบ เรยี น สาธารณสขุ ให้สง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ -ทักษะการ ควบคุมตนเอง ป้องกนั โรคสมาธิส้ัน -การสง่ เสริมปอ้ งกนั สุขภาพจติ เดก็ วยั เรยี น/ การเพม่ิ ไอควิ /พฒั นาทกั ษะดา้ นอารมณ์และ สงั คม (EQ) /พัฒนาเด็กไทยคิดเปน็ คิดดี คิด ให้ ตัวชวี้ ดั เปา้ ประสงค์ 1.2.2 รอ้ ยละ 70 ของผ้สู งู อายทุ ี่มารบั บริการในคลินิกผสู้ ูงอาย/ุ คลนิ กิ โรคไม่ตดิ ต่อเร้ือรังไดร้ ับการคัดกรองภาวะซมึ เศร้า 11

รประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ความ หน่วยงาน หมายเหต/ุ ขอ้ เสนอแนะ ดคล้อง/ มาะสม ปญั ญา อารมณ์ดี และมีความสขุ แต่ไมส่ อดคล้องกบั คำว่า ภาคีเครือข่ายเสรมิ สร้างการมีสว่ นรว่ ม กรมอนามยั ปฐมวยั  กรมกิจการเด็ก ไมส่ อดคลอ้ งกบั การเสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นร่วม แตเ่ ป็นเร่ือง และเยาวชน สวัสดิการสงั คม นา่ จะเกยี่ วข้องกับ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การเข้าถงึ บรกิ าร (มีงบประมาณเดินทางไปพบแพทย)์ หรือยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การเข้าถงึ สวสั ดิการสงั คม เพ่ือสรา้ งความเท่าเทียม มากกวา่ ✓ กรมสขุ ภาพจิต , เก่ียวขอ้ งกับการพฒั นาเครือขา่ ยใหม้ ศี กั ยภาพในการ สำนกั บริหาร เสรมิ สร้างให้คนไทย มปี ญั ญา อารมณด์ ี การศึกษาพเิ ศษ ✓ ✓=4 19

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสขุ ภาพจิตตลอดช่วงชวี ิต ค สอด โครงการ รายละเอียด เหม *1. โครงการสรา้ งสขุ ภาวะทางใจ เพื่อเป็นผูส้ ูง เพอ่ื ให้ผู้สงู อายกุ ลมุ่ ตดิ สังคม มคี วาม วยั ท่ีมคี ณุ ค่าและความสขุ รอบรู้และมที กั ษะในการสรา้ งสขุ การ สรา้ งคณุ คา่ ในตนเอง 2. โครงการพัฒนาสขุ ภาพจิตสำหรบั ผสู้ งู อายุ ผสู้ ูงอายไุ ดร้ บั การดูแล ให้มคี วามสุข/มี ความพงึ พอใจในชีวิต 3. โครงการสร้างตัวแบบศนู ยส์ รา้ งเสรมิ สรา้ งตวั แบบศนู ย์สร้างเสริมสขุ ภาพ สขุ ภาพบูรณาการสำหรับผู้สูงวยั ใหม้ ีสงั คม มี บรู ณาการสำหรับผู้สูงวัย ให้มสี ังคม มี ความสขุ และมีความรอบรดู้ ้านสุขภาพ ความสุข และมีความรอบรดู้ ้านสุขภาพ 1.2.3 รอ้ ยละ 85 ของคนไทยอายุ 15 ปขี ึ้นไปท่ีมีความสุขเท่ากบั หรือสงู กว่าคา่ เฉลย่ี 1. การสำรวจสถานการณค์ นไทยมสี ุขภาพจติ เป็นการสำรวจ สถานการณค์ นไทยมี ดี สขุ ภาพจิตดี 2. โครงการเชือ่ มโยงการทำงานดา้ นจติ เวช เครือขา่ ยมีแนวทางการขับเคลือ่ น กับหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง งานและมกี ารบูรณาการการทำงาน ระหว่างหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง 3. โครงการ HAPPY MOPH กระทรวง พฒั นาระบบสาธารณสุข การบริหาร สาธารณสุขแห่งความสุข จดั การขอ้ มลู กำลงั คนดา้ น สขุ ภาพ มี Model การจัดทำแผนกำลงั คน 12

รประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหต/ุ ข้อเสนอแนะ ดคลอ้ ง/ กรมสุขภาพจติ มาะสม ✓ ✓ กรมสุขภาพ สขุ ภาพจิต ✓ สสส. สนบั สนุนให้ รพ. เทพธารินทร์   = 4 ตัวช้วี ดั มคี วามเปน็ ผลทีเ่ กิดจากหลายเปา้ ประสงคร์ วมกนั จงึ  = 4 ดมู ีความสำคญั น้อยเกนิ ไปหากอยู่เพยี ง ในระดับตวั ชวี้ ดั เป้าประสงค์ ที่ 1.2 ซ่งึ เนน้ เร่อื งภาคเี ครอื ข่าย ควรยกระดบั ตวั ชว้ี ัด  กรมสขุ ภาพจิต ไมส่ อดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์สง่ เสรมิ ป้องกนั แต่เกย่ี วขอ้ งกับ การพัฒนาวิชาการมากกวา่ โดยจะทำให้ได้ Evidence Base ใน การพัฒนาการดำเนนิ งานสขุ ภาพจิตต่อไป ✓ สมาคมเพอื่ ผู้ สอดคลอ้ งกับเปา้ ประสงค์ท่ี 1.2 บกพรอ่ งทางจิต แหง่ ประเทศไทย  สำนักงาน นา่ จะมีความสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ ท่ี 4 พัฒนากลไกการ ปลดั กระทรวง ดำเนินงานด้านสุขภาพจติ มากกวา่ สาธารณสุข 20

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชวี ติ ค สอด โครงการ รายละเอยี ด เหม 4. โครงการพฒั นารูปแบบการเสรมิ สรา้ ง ดา้ นสุขภาพฯ สุขภาพจิตสำหรับคนจนเมือง คนจนเมอื งทไี่ ดร้ ับการสง่ เสรมิ 5. การสง่ เสริมกจิ กรรมทางกาย 2561- สขุ ภาพจติ และป้องกนั ปัญหา 2573 สุขภาพจติ ทส่ี อดคล้องกับบริบททาง สงั คมวัฒนธรรมของกลุ่มคนจนเมอื ง 6. โครงการพฒั นารปู แบบกลไกภายใน (ชมุ ชนแออัด)ในวัยเดก็ วยั ทำงานและ สถานประกอบการเพ่อื ส่งเสริมการส่อื สาร ผ้สู งู อายุ เชิงบวกในครอบครัวกบั พนักงานทเี่ ปน็ พอ่ ภาคีเครอื ขา่ ยจัดทำนโยบายส่งเสริม แม่ ผปู้ กครองและเดก็ วยั รุน่ กจิ กรรมทางกายในพ้นื ท่ี สนบั สนนุ ให้ คนไทยออกกำลงั กายมากขน้ึ 7. โครงการการศกึ ษาความคุ้มค่าของ การขบั เคลือ่ นกิจกรรมกับสถาน โปรแกรมสง่ เสริมพัฒนาการสร้างวนิ ัยเชิงบวก ประกอบการ สรา้ งทักษะสื่อสารเชงิ โดยครอบครวั มสี ว่ นรว่ ม บวก และ พฒั นาเครอื ข่ายความ 8. โครงการพัฒนาส่ือสังคมออนไลน์ เพ่ือการ ร่วมมอื เพ่ือสนับสนุนให้เกดิ การ ดแู ลสุขภาพจิตประชาชน ผา่ น digital platform ดำเนนิ งานตามเป้าหมาย บา้ น-พลังใจ ตน้ แบบผลติ ภณั ฑร์ ะดับอตุ สาหกรรม โปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการและสร้าง วินัยเชงิ บวกโดยครอบครัวมสี ่วนรว่ ม เครือข่ายรว่ มกนั เสริมสร้างพลังใจ ในช่วงโควิด ในช่องทาง digital platform 12

รประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหตุ/ขอ้ เสนอแนะ ดคลอ้ ง/ มาะสม  สสส. สนับสนนุ สอดคล้องกับ ตัวช้ีวัดเปา้ ประสงค์ 1.1.3 ร้อยละ 75 ของคน งบประมาณให้ ไทยได้รบั การพัฒนาทักษะชีวติ ตามชว่ งวัย มากกวา่ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ✓ สสส ร่วมกับ กรม สอดคลอ้ งกบั เป้าประสงคท์ ่ี 1.2 อนามัย และภาคี เครอื ข่าย ✓ สสส. สนับสนุนให้ สอดคลอ้ งกับเป้าประสงคท์ ี่ 1.2 มูลนธิ แิ พธทูเฮลท์  กรมสขุ ภาพจติ แผนงานพัฒนานวตั กรรมเชงิ ระบบเพื่อสร้างเสรมิ สขุ ภาพจิต เป็นการพัฒนาองคค์ วามรูแ้ ละนวตั กรรมดา้ นสขุ ภาพจติ ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 มากกว่า ✓ กรมสุขภาพจิต สอดคล้องกบั เป้าประสงค์ที่ 1.2 21

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสขุ ภาพจติ และจติ เวช ค โครงการ รายละเอียด สอด เหม เป้าประสงค์ 2.1 ผู้ปว่ ยจิตเวชและผมู้ ปี ัญหาสขุ ภาพจติ และจิตเวชเขา้ ถึงบรกิ ารมาตรฐานตงั้ แ 2.1.1 อัตราการเขา้ ถึงบริการของโรคท่ีสำคญั ทางจติ เวช - โรคออทสิ ตกิ โรคสมาธิสัน้ โรคซึมเศร้า โรคจติ เภท 1. โครงการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการดแู ลผปู้ ่วยโรค ประชาชนอายุ 15 ปขี น้ึ ไป ไดร้ บั การ ซึมเศร้า พฒั นาเครอื ขา่ ยเพ่ือเพ่ิมการเขา้ ถงึ บริการ คัดกรอง และถูกส่งตอ่ เมื่อพบความ ของผูป้ ่วยโรคซมึ เศร้า เสีย่ ง 2. โครงการแก้ไขปัญหาสขุ ภาพจิตและจติ เวชเด็กและ พฒั นาระบบบริการสุขภาพจิตและจติ วยั ร่นุ เวชเดก็ และวยั รุ่นในเครอื ข่ายบรกิ าร สุขภาพใหม้ ีคณุ ภาพในการจดั บรกิ ารท่ี เหมาะสมในเขตสุขภาพของตน 3. โครงการพัฒนาดแู ลเดก็ สมาธสิ ั้น เด็กสมาธสิ ั้นเข้าถงึ บริการดา้ นสุขภาพจติ 4. โครงการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาการฆา่ ตวั ตายใน ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และเขา้ ใจถงึ คนไทย ปัจจัยที่เกยี่ วข้องกบั การเกิดปญั หาการฆา่ ตวั - พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการวิเคราะห์ สอบสวน ตาย การปรับตัวเผชญิ ปญั หาสขุ ภาพจิต และ ฯ และเยียวยาเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพบุคลากรดา้ นการ มที ักษะในการประเมินตนเอง ดแู ลชว่ ยเหลอื 5. โครงการขับเคล่ือนเชงิ นโยบายระบบการดูแล จำนวนเจา้ หนา้ ท่ีทีเ่ กย่ี วขอ้ งภายใต้พรบ. ใหบ้ รกิ ารด้านสขุ ภาพจิตแกผ่ ู้ปว่ ยจติ เวชไรบ้ า้ น สุขภาพจิตให้มีความรู้ความเขา้ ใจมีศกั ยภาพ 12