โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) สุขภาพจิตที่ดีแก่คนวัยทำงาน 4) สร้างรูปแบบบริการสุขภาพจิตสำหรบั ผู้สงู อายตุ ิดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง 5) บูรณาการงานสง่ เสรมิ สุขภาพจิตและป้องกนั ปัญหาสขุ ภาพจิตเข้ากับระบบสุขภาพปฐมภูมิ และ 6) สร้างการมี สว่ นร่วมในงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพจิตและป้องกนั ปัญหาสขุ ภาพจติ ประชาชนทุกกล่มุ วยั ตารางท่ี 8 ตวั ชวี้ ดั เปา้ ประสงค์ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ของแผนปฏบิ ตั ริ าชการฯ กรมสขุ ภาพจิต ท่ีมา: แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561 - 2565) ของกรมสขุ ภาพจิตในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ยุทธศาสตร์น้ีมีกลยุทธ์ในการดำเนินงาน 6 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) พัฒนาเด็กและเยาวชนเพื่อเป็นคนไทย 4.0 (IQ/EQ/CPR) 2) ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของเด็กและเยาวชนในสังคมไทย 3) เสริมสร้าง สุขภาพจิตท่ีดีแก่คนวัยทำงาน 4) สร้างรูปแบบบริการสุขภาพจติ สำหรับผูส้ ูงอายุติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง 5) บรู ณาการงานส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเขา้ กับระบบสุขภาพปฐมภูมิ และ 6) สร้างการมี ส่วนรว่ มในงานส่งเสริมสุขภาพจติ และป้องกนั ปญั หาสุขภาพจิตประชาชนทุกกลุม่ วยั 2.5.2 ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพระบบบริการและวชิ าการสุขภาพจติ และจติ เวช ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 มีเป้าประสงค์ 2 ประการ คือ ประชาชนได้รับการดูแลและเข้าถึงบริการ สุขภาพจิตที่มีคุณภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต และ หน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต มีความ เชีย่ วชาญทางการบริการและวิชาการด้านสขุ ภาพจติ และจิตเวช โดยมีตวั ชว้ี ัดเปา้ ประสงคด์ ังตารางท่ี 9 สำหรับเป้าประสงค์ 2.1 มีกลยุทธ์ในการดำเนินงาน 2 กลยุทธ์ได้แก่ 1) บูรณาการระบบบริการ สุขภาพจิต เข้ากับระบบบริการสุขภาพในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ (Service Plan) และ 2) พัฒนา ระบบการฟนื้ ฟูสมรรถภาพผ้มู ปี ัญหาสุขภาพจิตและจติ เวช สว่ น เป้าประสงค์ 2.2 มี 3 กลยุทธ์ ไดแ้ ก่ 1) พฒั นา หน่วยบริการจิตเวชให้เป็น Smart Hospital 2) พัฒนาสู่ความเป็นเลิศเฉพาะทาง ด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 41
โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) และ 3) พัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และถ่ายทอดวิชาการด้านสุขภาพจิตให้ ก้าวหน้าเป็นสขุ ภาพจิต 4.0 ตารางท่ี 9 ตวั ชีว้ ดั เปา้ ประสงค์ตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ของแผนปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจติ ท่มี า: แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561 - 2565) ของกรมสุขภาพจิตในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) 2.5.3 ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 พฒั นาคณุ ภาพระบบบริการและวชิ าการสขุ ภาพจิตและจิตเวช ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มีเป้าประสงค์ คือ ประชาชนมีความตระหนักและมีความเข้าใจต่อปัญหา สุขภาพจิต มีตัวชี้วัดเป้าประสงค์ และค่าเป้าหมายปี 2565 คือ ร้อยละ 45 ของประชาชนที่มีความตระหนัก และเข้าใจต่อปัญหาสุขภาพจิต มีกลยุทธ์ในการดำเนินงาน 2 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) เสริมสร้างความรอบรู้ และ พฤติกรรมสุขภาพจิตที่พึงประสงค์แก่ประชาชน (Mental Health Literacy) และ 2) สนับสนุนให้ครอบครัว/ ชมุ ชน ยอมรบั และใหโ้ อกาสกับผทู้ ่อี ยู่กบั ปญั หาสขุ ภาพจติ 2.5.4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิ บาล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มีเป้าประสงค์ กรมสุขภาพจิตมีการบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล มีตัวชี้วัดเป้าประสงค์ และค่าเป้าหมายปี 2565 คือ ผลการประเมินระดับคุณธรรมและ 42
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของกรมสขุ ภาพจิต 90 คะแนน มีกลยุทธ์ในการดำเนินงาน 6 กลยุทธ์ได้แก่ (1) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพจิตให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล (Digital Transformation) (2) พัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีทักษะที่หลากหลาย (Multitasking) เพื่อรองรับระบบ ราชการ 4.0 และประเทศไทย 4.0 (3) พัฒนาระบบการสร้างความสุขของบุคลากรกรมสุขภาพจิต (4) พัฒนา ระบบการบริหารองค์การกรมสุขภาพจิตให้มีคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบ ราชการ 4.0 (5) พัฒนาคุณภาพระบบและกระบวนการการประเมินคุณธรรมความโปร่งใสในหน่วยงานกรม สุขภาพจิต และ (6) พฒั นาการบรหิ ารการเงนิ การคลงั ใหม้ ีประสิทธิภาพ 2.5.5 ความเชอ่ื มโยงระหว่างประเดน็ ยุทธศาสตรแ์ ละเป้าประสงค์ของแผนปฏบิ ตั ริ าชการฯ และ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติฯ โครงการวิจัยประเมินผลในครั้งนี้เป็นการประเมินตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแ ผนพัฒนาสุขภาพจิต แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2580) ระยะแรก (พ.ศ. 2561-2565) เป็นหลัก โดยในส่วนนี้จึงจะแสดงให้ เห็นถงึ ความเช่อื มโยงของแผนในเบื้องต้นระหวา่ ง 4 ประเด็นยุทธศาสตรข์ องแผนปฏบิ ัติราชการฯ วา่ สอดคลอ้ ง กับประเด็นยทุ ธศาสตร์ในบา้ งในแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาตฯิ ดังตารางที่ 9 ซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดกรอบ ในการประเมินทีค่ รอบคลมุ ทงั้ 2 แผน ในบทต่อไป ตารางท่ี 10 เชอ่ื มโยงระหว่างประเด็นยทุ ธศาสตร์และเปา้ ประสงค์ของแผนปฏิบัตริ าชการฯ และ แผนพฒั นา สขุ ภาพจติ แห่งชาตฯิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบับที่ 1 แผนปฏิบตั ริ าชการระยะ 5 ปี ระยะแรก (2561 – 2565) (พ.ศ.2561 - 2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 สง่ เสรมิ และปอ้ งกนั ปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอด 3 ปี (พ.ศ.2563 - 2565) ชว่ งชวี ติ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 สง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ ปอ้ งกนั และควบคมุ เป้าประสงค์ 1.1 คนไทยเข้าใจและใสใ่ จสขุ ภาพจติ ของ ปัจจัยท่ีก่อใหเ้ กดิ ปญั หาสขุ ภาพจิตตลอดชว่ งชีวติ ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน เปา้ ประสงค์ 1.1 ประชาชนทกุ กลมุ่ วัยได้รบั การส่งเสรมิ ตวั ชว้ี ดั 1.1.3 ร้อยละ 75 ของคนไทยไดร้ บั การพฒั นาทกั ษะ สขุ ภาพจติ ป้องกนั และควบคมุ ปจั จยั ทกี่ ่อให้เกดิ ปญั หา ชีวติ ตามชว่ งวยั สุขภาพจติ เป้าประสงค์ 1.2 ภาคเี ครือข่ายเสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มให้ ตวั ชว้ี ัดเป้าประสงค์ คนไทย มีปัญญา อารมณ์ดี และมีความสุข - ปฐมวัย: ร้อยละ ของเดก็ ปฐมวยั ทไ่ี ด้รบั การคดั กรองแล้ว ตวั ชีว้ ัดเป้าประสงค์ พบว่ามพี ฒั นาการลา่ ช้าแลว้ ไดร้ บั การกระตุ้นพัฒนาการ ด้วย 1.2.1 รอ้ ยละของเด็กท่มี ี IQ ตำ่ กวา่ 100 ได้รับการพฒั นา เครอ่ื งมือมาตรฐาน จนมพี ฒั นาการสมวยั (ร้อยละ 35) (ร้อยละ - วยั เรียน: ร้อยละของเด็กวยั เรียนกลุ่มเสีย่ งตอ่ ระดบั 1.2.2 รอ้ ยละของผสู้ งู อายุท่มี ารับบริการในคลนิ ิกผสู้ งู อายุ/ สติปญั ญาตำ่ กวา่ มาตรฐาน ปัญหาการเรยี นรู้ ออทสิ ติก คลินิกโรคไมต่ ิดต่อเร้อื รังไดร้ บั การคดั กรองภาวะซมึ เศร้า และปญั หาพฤตกิ รรม - อารมณ์ ไดร้ บั การดแู ลชว่ ยเหลือจนดี ขึ้น (ร้อยละ 90) 43
โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบับท่ี 1 แผนปฏบิ ตั ริ าชการระยะ 5 ปี ระยะแรก (2561 – 2565) (พ.ศ.2561 - 2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ เปา้ ประสงค์ 1.1 คนไทยเข้าใจและใส่ใจสขุ ภาพจติ ของ 3 ปี (พ.ศ.2563 - 2565) ตนเอง ครอบครวั และชุมชน - วยั รุ่น: ร้อยละของวยั รุ่นกลุม่ เส่ียงทีม่ ปี ญั หาพฤตกิ รรม – ตัวชว้ี ัดเป้าประสงค์ ร้อยละ 40 ของคนไทยทีม่ คี วามตระหนกั อารมณ์ ไดร้ บั การดูแลช่วยเหลือจนดีข้นึ (รอ้ ยละ 95) และเขา้ ใจเร่ืองสุขภาพจิต - วัยทำงาน: ร้อยละของประชาชนวยั ทำงานมสี ขุ ภาพจติ ดี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช รอ้ ยละ 85 เป้าประสงค์ 2.1 ผู้ป่วยจติ เวชและผ้มู ีปัญหาสขุ ภาพจติ และ - วยั สูงอาย:ุ ร้อยละของผสู้ ูงอายมุ สี ุขภาพจิตดี รอ้ ยละ 85 จติ เวชเข้าถึงบริการมาตรฐานตง้ั แตเ่ รมิ่ ป่วย ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 สร้างความตระหนักและความเข้าใจต่อ ปัญหาสุขภาพจติ ตวั ชว้ี ดั เปา้ ประสงค์ รอ้ ยละ 45 ของประชาชนทีม่ ีความ ตระหนักและเข้าใจตอ่ ปัญหาสขุ ภาพจติ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคณุ ภาพระบบบรกิ ารและวชิ าการ สขุ ภาพจติ และจติ เวช เปา้ ประสงค์ 2.1 ประชาชนไดร้ บั การดแู ลและเขา้ ถึงบรกิ าร สขุ ภาพจิตทมี่ ีคุณภาพ ทงั้ ในภาวะปกติและภาวะวกิ ฤต ตัวชี้วดั เปา้ ประสงค์ ตัวชีว้ ัดเปา้ ประสงค์ 2.1 2.1.1 อัตราการเขา้ ถงึ บริการของโรคทสี่ ำคญั ทางจติ เวช รอ้ ยละของผูป้ ่วยจิตเวช เข้าถงึ บรกิ ารสุขภาพจติ ท่ไี ด้มาตรฐาน - โรคออทิสตกิ (ร้อยละ 15) - โรคสมาธสิ น้ั (ร้อยละ 15) - โรคจิตเภท (Schizophrenia) รอ้ ยละ 85 - โรคซมึ เศรา้ (รอ้ ยละ 70) - โรคจติ เภท (รอ้ ยละ 74) - โรคซมึ เศร้า (Depression) ร้อยละ 74 - โรคออทสิ ติก (Autistic Spectrum Disorder : ASD) รอ้ ย ตัวชว้ี ดั เป้าประสงค์ 2.1.4 รอ้ ยละ 96 ของผู้ปว่ ยจิตเวชทีม่ ี ละ 65 ความเสยี่ งสงู ต่อการก่อความรุนแรง ไมก่ อ่ ความรุนแรงซา - โรคสมาธสิ ั้น (Attention Deficit Hyperactive Disorder : ภายใน 1 ปี ADHD) รอ้ ยละ 30 เปา้ ประสงค์ 2.2 ผปู้ ่วยจิตเวชและผมู้ ีปญั หาสขุ ภาพจิตและ ตัวชวี้ ัดเป้าประสงค์ 2.1 จิตเวชได้รบั บริการตามมาตรฐานจนหายทเุ ลา สามารถอยู่ - ร้อยละของผพู้ ยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำใน ในชุมชนไดอ้ ย่างปกตสิ ขุ ระยะเวลา 1 ปี รอ้ ยละ 90 ตัวชีว้ ัดเป้าประสงค์ 2.2.1 ร้อยละ 94 ของผู้ปว่ ย ตัวชว้ี ัดเป้าประสงค์ 2.1 จิตเวชยาเสพตดิ ทห่ี ยดุ เสพต่อเน่อื ง 3 เดอื นหลงั จาหนา่ ยจาก - ร้อยละของผ้ปู ่วยโรคจติ เภทไดร้ บั การรักษาต่อเน่ืองภายใน 6 การบาบดั รักษา เดอื น 2.2.2 ร้อยละ 70 ของผูป้ ว่ ยจิตเวชทร่ี บั การรกั ษาแบบผปู้ ว่ ย - ร้อยละของผู้ปว่ ยจติ เวชยาเสพตดิ ทบี่ ำบดั ครบตามเกณฑ์ของ ในมีอาการทางจติ หายทเุ ลา แตล่ ะระบบและไดร้ บั การตดิ ตามดูแลตอ่ เนื่อง 1 ปี (Retention Rate) 44
โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 แผนปฏิบัตริ าชการระยะ 5 ปี ระยะแรก (2561 – 2565) (พ.ศ.2561 - 2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 2.2.3 ร้อยละ 40 ของผู้ป่วยโรคทสี่ ำคญั ทางจิตเวชที่ไดร้ บั การ 3 ปี (พ.ศ.2563 - 2565) บำบัดรกั ษาแลว้ มีคณุ ภาพชีวิตที่ดขี ึ้น - รอ้ ยละของผูป้ ระสบภาวะวกิ ฤตที่มปี ญั หาสุขภาพจติ ไดร้ ับ ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาวิชาการและกลไกการดำเนินงาน การเยียวยาจิตใจตามมาตรฐานกรมสขุ ภาพจติ ร้อยละ 85 ดา้ นสุขภาพจิต ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พัฒนาระบบการบริหารจดั การใหม้ ี เปา้ ประสงค์ 4.1 หน่วยบรกิ ารด้านสขุ ภาพจิตมีการบริหาร ประสทิ ธภิ าพและมีธรรมาภบิ าล จัดการองค์กรท่มี ีประสิทธภิ าพและธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ 4.1 กรมสุขภาพจิตมกี ารบรหิ ารจดั การองค์กร ตวั ชวี้ ดั เป้าประสงค์ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพและมธี รรมาภบิ าล 4.1.2 ร้อยละของหนว่ ยบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพจติ ทมี่ ผี ลการ ตวั ชว้ี ัดเป้าประสงค์ ประเมนิ ระดับคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งาน ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการ ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 45 ดำเนนิ งานของกรมสุขภาพจติ 90 คะแนน 45
โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) บทท่ี 3 วธิ กี ารประเมนิ ผล การประเมินแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในครั้งนี้ได้ใช้ระเบียบวิธีการประเมินแบบผสม (Mixed method) ระหวา่ งระเบยี บวธิ ีเชงิ คณุ ภาพและเชงิ ปริมาณ มรี ายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี 3.1 กรอบแนวคดิ การประเมิน กรอบแนวคิดในการประเมินจำแนกออกเปน็ 2 กรอบแนวคิด รับใชว้ ัตถุประสงค์ในแต่ละข้อดงั ต่อไปน้ี กรอบแนวคิดที่ 1 กรอบแนวคิดท่ี 1 เป็นการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการแปลงแผน ยุทธศาสตร์ไปสูก่ ารปฏบิ ัตใิ นภาพรวม (ดงั ภาพท่ี 5) ซึ่งจะรบั ใช้วัตถปุ ระสงค์ขอ้ ที่ 1 และ 4 - วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการแปลงแผน ยุทธศาสตร์ไปสกู่ ารปฏิบตั ิ - วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 เพื่อศึกษาความเชื่อมโยง และความสอดคล้องของแผนพัฒนาสุขภาพจิต แหง่ ชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และแผนปฏบิ ตั ิราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิตในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) กรอบแนวคดิ ที่ 2 กรอบแนวคิดที่ 2 เป็นกรอบการประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ล ตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ของ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติฯ (ดงั ภาพที่ 6) ซ่งึ รับใช้วตั ถุประสงคข์ ้อท่ี 2 และ 3 - วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของยุทธศาสตร์ และความคุ้มค่าของ แผนงาน / โครงการสำคัญ - วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 เพื่อศึกษาความคาดหวัง ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วน เสียของกรมสขุ ภาพจิต 46
ภาพท่ี 5 กรอบแนวคดิ การประเมินประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลข
ของกระบวนการแปลงแผนยุทธศาสตรไ์ ปสู่การปฏิบตั ใิ นภาพรวม
ภาพที่ 6 กรอบแนวคดิ การประเมนิ ประสทิ ธภิ
ภาพ และประสิทธผิ ล ตามประเดน็ ยุทธศาสตร์
3.2 พนื้ ท่แี ละกลมุ่ เปา้ หมาย การวิจัยประเมินผลในครั้งน้ีมีการเก็บข้อมูลจากหน่วยงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรวมถึงประชาชนที่ เกี่ยวข้อง ใน 13 เขตสุขภาพทั่วประเทศ โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลจำแนกเป็น กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเชิงคุณภาพ และกลุ่ม ผูใ้ ห้ขอ้ มลู ในเชิงปริมาณ ดงั ตอ่ ไปนี้ 3.2.1 กลมุ่ เป้าหมายทใ่ี ชใ้ นการสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ เป้าหมายในการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 50 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ลักษณะของกลุ่มที่เลือกเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อให้ครอบคลุมผู้เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิตในทุกระดับ โดยสุ่มตัวอย่างแบบสโนว์บอลล์ (Snowball sampling) เพื่อค้นหาผู้ที่รับผิดชอบและสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับแผน ยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิต และโครงการที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยบุคคลจากภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในและ นอกระบบบริการสาธารณสุขดังตอ่ ไปน้ี 1) ผ้บู รหิ ารระดับสงู ของกรมสุขภาพจิต จำนวน 3 คน ประกอบดว้ ยรองอธิบดีท่ีได้รับมอบหมาย และ ท่ีปรกึ ษากรมสุขภาพจติ 2) ผู้บริหารระดับกลางท่ีเป็นแกนหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในสังกัดกรมสุขภาพจิต 15 คน ประกอบด้วย (1) ผู้อำนวยการศนู ย์สุขภาพจติ ทีเ่ ป็นคณะอนกุ รรมการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตรส์ ุขภาพจิต (2) ผู้อำนวยการกอง/สำนัก สว่ นกลางในกรมสุขภาพจิตทเ่ี ปน็ คณะอนุกรรมการฯ และรับผดิ ชอบโครงการตาม ยุทธศาสตร์ในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติฯ ไม่น้อยกว่า 3 โครงการ หรือ รับผิดชอบโครงการสำคัญตาม ยทุ ธศาสตร์ และ (3) ผู้อำนวยการจากหน่วยบริการสขุ ภาพจิต ทเ่ี ป็นคณะอนกุ รรมการฯ และ/หรือ รับผิดชอบ โครงการตามยุทธศาสตร์ไม่น้อยกวา่ 3 โครงการ และ/หรือ รบั ผิดชอบตัวชว้ี ัด/ค่าเป้าหมายหลักในแผนพัฒนา สขุ ภาพจติ แห่งชาติ และ/หรือ รบั ผิดชอบโครงการสำคัญตามยทุ ธศาสตร์ 3) ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับงานยุทธศาสตร์สุขภาพจิตจำนวน 15 คน ประกอบด้วย บุคลากรจาก กองส่วนกลาง ศนู ย์สขุ ภาพจติ และหนว่ ยบริการสขุ ภาพจติ มีเกณฑใ์ นการคดั เลือกดังภาพที่ 7 4) คณะอนุกรรมการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจติ จากหนว่ ยงานภายนอกกรมสุขภาพจติ จำนวน 5 คน เลือกหนว่ ยงานทีม่ โี ครงการตามยทุ ธศาสตรใ์ นแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ 3 โครงการข้ึนไป 5) ผู้บริหาร/ผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุข 12 คน เป็นหน่วยงานที่รับผดิ ชอบโครงการตามยทุ ธศาสตร์ 3 โครงการข้นึ ไป หรือ รับผดิ ชอบตัวช้ีวัด/คา่ เป้าหมาย หลกั ของแผน จำนวน 12 คน
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพท่ี 7 เกณฑ์ในการคัดเลือกหน่วยงานท่ีจะสมั ภาษณ์บุคลากรระดับปฏบิ ัติการ 3.2.2 กลุ่มเป้าหมายทใ่ี ชใ้ นการเก็บแบบสอบถาม กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการเก็บแบบสอบถามจำนวน 400 คน กำหนดขนาดโดยการกำหนด โควตา จำแนกเปน็ 2 กล่มุ กลุ่มละ 200 คน โดยแบง่ เป็น สองกลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุข 200 คน ประกอบด้วย บุคลากรในสังกัดกรมสุขภาพจิต เครือข่ายในระบบบริการสาธารณสุข และเครือข่ายภายนอกระบบบริการ สาธารณสุข กระจายการเกบ็ ข้อมลู ทงั้ 13 เขตสขุ ภาพ และ 2) กลุ่มประชาชน 200 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมายของโครงการสำคัญตามประเด็น ยุทธศาสตร์จำนวน 100 คน และกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับบริการในระบบบริการสุขภาพจิต 100 คน กระจาย การเกบ็ ข้อมลู ภาคละ 50 คน (เหนือ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ กลาง ใต)้ 3.3 เครอื่ งมอื ที่ใชแ้ ละวิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เครื่องมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ก่ึงมีโครงสร้างใช้ในการสัมภาษณ์ เชิงลึก แบบสอบถามทั้งที่ใช้สำหรับวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและ แบบวัดประเมินรวมค่าสำหรับวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงปรมิ าณ ใช้เก็บข้อมูลกับกลุ่มเปา้ หมายทแี่ ตกต่างกนั มรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี 3.3.1 แบบสมั ภาษณ์กง่ึ มีโครงสร้าง แบบสมั ภาษณก์ ่งึ มีโครงสร้างใชส้ ำหรับการสมั ภาษณ์เชงิ ลกึ จากกลมุ่ เปา้ หมายจำนวน 50 คน จำแนก เปน็ 3 ชดุ (เอกสารแนบ 1) ใช้กบั กล่มุ เป้าหมายแตล่ ะกล่มุ ดงั ต่อไปน้ี 50
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) A1 แบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้างสำหรับผู้บริหาร ใช้ในการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจาก กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง 3 คน ผู้บริหารระดับกลาง 15 คน และ คณะอนุกรรมการ ขับเคลอ่ื นแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาตฯิ (ภายนอกกรม) จำนวน 5 คน รวมเป็น 23 คน A2 แบบสัมภาษณก์ ่ึงมโี ครงสร้างสำหรับผู้ปฏิบัตงิ าน ใช้ในการเกบ็ ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจาก ผปู้ ฏิบตั งิ านตามยุทธศาสตร์ จำนวน 15 คน A3 แบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้างสำหรับหน่วยงานผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ใช้ในการเก็บข้อมูลโดยการ สัมภาษณเ์ ชิงลึกจากหนว่ ยงาน ทงั้ ในและนอกระบบบริการสาธารณสุขซง่ึ เป็นเครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตาม ประเด็นยทุ ธศาสตร์ จำนวน 12 คน 3.3.2 แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง เครื่องมือสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณมีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมีโครงสร้างใช้สำหรับการ วิเคราะห์ข้อมูลเชงิ ปรมิ าณ จำแนกออกเป็น 3 ชุด (เอกสารแนบ 3) แตล่ ะชดุ ใชก้ ับกลุ่มเปา้ หมายท่ีแตกต่างกัน ดงั ต่อไปนี้ C1 แบบสอบถามประชาชนกลุ่มเป้าหมายโครงการตามยุทธศาสตร์ กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัยคือ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์ที่ 1 จำนวน 100 คน ข้อคำถามประกอบด้วย 3 ส่วนหลกั ไดแ้ ก่ สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป สว่ นที่ 2 การยอมรับและการใหโ้ อกาสผ้มู ีปัญหาสขุ ภาพจิต สว่ นที่ 3 ความตระหนกั และความเข้าใจเรือ่ งสขุ ภาพจติ C2 แบบสอบถามประชาชนผู้รับบริการจากหน่วยบริการสุขภาพจิต กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัยคือ ประชาชนทเ่ี ข้ารับบริการในหน่วยบริการสขุ ภาพจิต 100 คน ขอ้ คำถามประกอบดว้ ย 4 สว่ นหลกั ไดแ้ ก่ สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่วั ไป สว่ นที่ 2 ความพึงพอใจต่อระบบบริการของกรมสขุ ภาพจติ สว่ นที่ 3 ความตอ้ งการและความคาดหวังของผ้รู ับบรกิ าร สว่ นท่ี 4 การตอบสนองตอ่ ความต้องการและความคาดหวงั ของผู้รับบริการ C3 แบบสอบถามเครือขา่ ยผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสยี ทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุข ประกอบด้วย 8 ส่วนหลัก ไดแ้ ก่ สว่ นที่ 1 ความเชื่อม่นั ตอ่ การบริหารจดั การของกรมสขุ ภาพจิต ส่วนท่ี 2 การรับรู้เรอ่ื ง พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 สว่ นที่ 3 ความเข้าใจเกย่ี วกับ พ.ร.บ. สขุ ภาพจติ 2551 สว่ นที่ 4 ความเชอื่ มนั่ ต่อประเด็นความเชยี่ วชาญดา้ นสุขภาพจิตและจิตเวช ส่วนที่ 5 ความต้องการและความคาดหวังเก่ียวกบั ระบบบริการสขุ ภาพจติ ส่วนท่ี 6 การตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการและความคาดหวงั ของกรมสขุ ภาพจิต 51
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ส่วนที่ 7 การรับรู้ศนู ย์ความเชี่ยวชาญดา้ นสขุ ภาพจติ ของกรมสุขภาพจิต สว่ นที่ 8 การยอมรบั ในความเช่ียวชาญ และองคค์ วามรู้ ของกรมสุขภาพจติ 3.4 ประเด็นและตัวชีว้ ดั ในการประเมิน ในการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561- 2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) มกี ารกำหนดเกณฑ์และตัวช้ีวัดในการประเมิน 45 ตัวชี้วัด ดังตอ่ ไปนี้ ตารางที่ 11 เกณฑ์และตัวช้วี ัดในการประเมนิ ประเด็น ตัวชี้วดั เกณฑ์ วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู กล่มุ เปา้ หมาย - สัมภาษณเ์ ชงิ ลกึ 1. บริบทการเกิดยทุ ธศาสตร์ - มีการวิเคราะห์และ - เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง - ระดบั ผบู้ รหิ าร นำมาเป็นประเดน็ ใน - ระดบั 1.1 สถานการณ์ (1) การวิเคราะห์ การวางแผน - สมั ภาษณ์เชงิ ลกึ ผปู้ ฏิบตั ิงาน - เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง - เครอื ขา่ ยผ้มู ีส่วน ปัญหาสขุ ภาพจิต สถานการณ์ปัญหา ได้ส่วนเสีย - สมั ภาษณเ์ ชิงลึก - ระดับผบู้ ริหาร สุขภาพจิต - เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง - ระดบั ปฏบิ ัติงาน - เครือข่ายผู้มีส่วน 1.2 การวเิ คราะห์ (2) การวิเคราะห์ - มกี ารวิเคราะหแ์ ละ - สัมภาษณ์เชิงลกึ ได้สว่ นเสีย ความต้องการและ ความตอ้ งการและ นำมาเปน็ ประเด็นใน - ระดบั ผูบ้ ริหาร - ระดบั ปฏิบัตงิ าน ความคาดหวังของ ความคาดหวงั ของ การวางแผน - เครอื ขา่ ยผู้มีสว่ น ได้ส่วนเสีย ผ้รู บั บริการและผู้ ผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ ี - ระดบั ผู้บริหาร - ระดบั ปฏบิ ัติงาน มีสว่ นได้สว่ นเสีย สว่ นได้สว่ นเสยี ท้งั - เครอื ขา่ ยผู้มสี ่วน ได้ส่วนเสีย ในและนอก เครือข่ายสขุ ภาพจติ 1.3 การวเิ คราะห์ (3) การวเิ คราะห์ - มีการวิเคราะห์และ นโยบายและแผน นโยบายและแผน นำมาเปน็ ประเด็นใน อ่ืนๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง อืน่ ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับ การวางแผน สุขภาพจิต 1.4 การสนับสนนุ (4) การสนับสนนุ - มีการวเิ คราะหแ์ ละ จากเครือขา่ ย จากเครือข่ายท้ัง นำมาเปน็ ประเด็นใน สุขภาพจติ ภายในและภายนอก การวางแผน ระบบบริการ สาธารณสุข 52
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ประเดน็ ตวั ชีว้ ัด เกณฑ์ วธิ กี ารเก็บข้อมลู กลุ่มเป้าหมาย 2. กระบวนการจัดทำและเน้ือหายุทธศาสตร์ 2.1 กระบวนการ (5) กระบวนการ - มีการจดั ทำแผน - สัมภาษณ์เชงิ ลึก - ระดบั ผู้บริหาร จดั ทำแผน จัดทำแผน ยุทธศาสตร์อยา่ งเปน็ - เอกสารที่เกย่ี วขอ้ ง - ระดับปฏบิ ตั งิ าน ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ระบบและครบตาม - เครือข่ายผมู้ ีสว่ น กระบวนการ ได้สว่ นเสีย 2.2 ความ (6) ความสอดคล้อง - มีความสอดคล้อง - สมั ภาษณ์เชิงลกึ - ระดับผบู้ ริหาร สอดคลอ้ งกบั กบั สภาพปญั หา - เอกสารที่เก่ยี วข้อง - ระดบั ปฏิบตั งิ าน สภาพปัญหา สุขภาพจติ - เครือข่ายผู้มีสว่ น สุขภาพจติ ไดส้ ่วนเสีย 2.3 ความ (7) ความสอดคล้อง - มีความสอดคล้อง - สัมภาษณ์เชงิ ลึก - ระดับผบู้ ริหาร สอดคล้องกับ กบั ความต้องการ - เอกสารที่เกี่ยวข้อง - ระดบั ปฏบิ ัติงาน ความตอ้ งการและ และความคาดหวงั - เครอื ข่ายผู้มสี ่วน ความคาดหวงั ของ ของผู้มีสว่ นไดส้ ่วน ไดส้ ว่ นเสีย ผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี เสยี 2.4 ความ (8) ความสอดคล้อง - มีความสอดคล้อง - สมั ภาษณเ์ ชิงลกึ - ระดับผู้บริหาร สอดคล้องกบั กับนโยบายและการ - เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง - ระดับปฏิบตั งิ าน นโยบายและการ วางแผนอ่ืนๆ - เครอื ขา่ ยผมู้ สี ว่ น วางแผนอน่ื ๆ ได้ส่วนเสยี 2.5 การเชื่อมโยง (9) การเชื่อมโยงกบั - มีการเชอื่ มโยง - สัมภาษณเ์ ชิงลึก - ระดบั ผู้บรหิ าร กบั เครือข่าย เครอื ข่ายทง้ั ในและ - เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง - ระดบั ปฏบิ ตั งิ าน สขุ ภาพจติ นอกระบบบริการ - เครอื ข่ายผมู้ ีส่วน สาธารณสขุ ไดส้ ่วนเสีย 2.6 ความ (10) ความ - มคี วามสอดคล้อง - เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง - สอดคลอ้ งระหว่าง สอดคลอ้ งระหวา่ ง แผนยุทธศาสตร์ แผนพฒั นา กรมสุขภาพจิต สุขภาพจติ แห่งชาติ ฯ และแผนปฏิบตั ิ ราชการฯ กรม สุขภาพจติ 53
โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ประเดน็ ตวั ชว้ี ัด เกณฑ์ วิธกี ารเกบ็ ขอ้ มูล กลุ่มเป้าหมาย 3. การแปลงแผนยุทธศาสตร์ไปปฏบิ ัติ 3.1 ภาวะผู้นำใน (11) ภาวะผ้นู ำใน - การมีภาวะผู้นำท่ี - สมั ภาษณ์เชิงลกึ - ระดบั ผู้บรหิ าร การบริหาร การบริหาร เอือ้ อำนวยต่อการ - ระดับปฏิบตั งิ าน ยุทธศาสตรส์ กู่ าร ยุทธศาสตรส์ ูก่ าร ขับเคลื่อน ปฏบิ ัติ ปฏบิ ตั ิ ยุทธศาสตร์ 3.2 กระบวนการ (12) กระบวนการ - มีการแปลง - สมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ - ระดบั ผู้บรหิ าร แปลงยทุ ธศาสตร์ แปลงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ไปส่กู าร - เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง - ระดบั ปฏิบัติงาน ไปสกู่ ารปฏบิ ัติ ไปสู่การปฏบิ ัติ ปฏิบตั ิ 3.3 การบรหิ าร (13) การจดั ตง้ั - มีการจัดตัง้ - สัมภาษณ์เชงิ ลกึ - ระดบั ผบู้ ริหาร แผนยทุ ธศาสตร์ องค์การขับเคลือ่ น - เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง - ระดบั ปฏิบตั ิงาน ยุทธศาสตร์ (14) การวางแผน - มีการวางแผน - สัมภาษณ์เชิงลึก - ระดบั ผบู้ ริหาร บริหารยทุ ธศาสตร์ - เอกสารที่เก่ยี วข้อง - ระดบั ปฏิบัติงาน (15) การควบคมุ - มกี ารควบคมุ - สัมภาษณเ์ ชิงลกึ - ระดบั ผู้บรหิ าร กำกบั การสือ่ สาร - เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง - ระดบั ปฏิบัตงิ าน ยุทธศาสตร์ - เครือข่ายผมู้ ีส่วน ไดส้ ่วนเสยี (16) การประเมินผล - มีการประเมินผล - สัมภาษณเ์ ชงิ ลกึ - ระดับผบู้ รหิ าร ยุทธศาสตร์ - เอกสารที่เกย่ี วขอ้ ง - ระดับปฏบิ ัตงิ าน - เครอื ข่ายผู้มสี ่วน ไดส้ ว่ นเสีย 4. ผลสำเร็จของการบรหิ ารยทุ ธศาสตร์ 4.1 สมรรถนะใน (17) เด็กไทยมี - บรรลตุ ามตัวชีว้ ัด - เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง - ขอข้อมลู จาก การบรรลตุ วั ช้วี ัด สติปัญญาเฉล่ียไม่ หนว่ ยงานที่ ตามเปา้ หมาย ตำ่ กว่า 100 รับผิดชอบ (18) เด็กไทย - บรรลุตามตวั ชี้วัด - เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง - ขอข้อมลู จาก มากกว่าร้อยละ 80 หน่วยงานที่ มีความฉลาดทาง รบั ผดิ ชอบ อารมณ์อยใู่ นเกณฑ์ ปกติ 54
โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ประเด็น ตัวชวี้ ดั เกณฑ์ วธิ ีการเก็บข้อมูล กลุม่ เปา้ หมาย (19) ครอบครัวมี - บรรลุตามตัวชี้วัด - เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง - ขอข้อมลู จาก ความเข้มแขง็ และ หนว่ ยงานท่ี ความอบอ่นุ ร้อยละ รับผิดชอบ 80 (20) ประเทศไทยมี - บรรลุตามตัวชี้วัด - เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง - ขอข้อมูลจาก หนว่ ยงานที่ คะแนนความสุข รบั ผดิ ชอบ (World Happiness - เอกสารท่ีเก่ียวข้อง - ขอข้อมลู จาก หน่วยงานท่ี Index) เพิม่ ขึน้ จากปี รับผิดชอบ 2560 ≥ 0.1 - เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง - ขอข้อมลู จาก หนว่ ยงานที่ (21) อตั ราการฆ่าตวั - บรรลตุ ามตวั ช้วี ดั รบั ผดิ ชอบ ตายสำเรจ็ ไม่เกิน 6.3 ตอ่ ประชากรแสน คน (22) ร้อยละของ - บรรลุตามตวั ชวี้ ดั อำเภอที่บรู ณาการ การดำเนนิ งาน สุขภาพจิต ตามมาตรฐานแลว้ ประชาชน มคี วามสขุ และ คุณภาพชวี ิตทด่ี ี (23) ร้อยละ 85 - บรรลตุ ามตวั ชว้ี ดั - เอกสารท่เี กี่ยวข้อง - ขอข้อมลู จาก - เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง หนว่ ยงานที่ ของคนไทยมี รบั ผดิ ชอบ - ขอข้อมูลจาก สุขภาพจติ ดี หนว่ ยงานที่ รับผดิ ชอบ (24) บคุ ลากรใน - บรรลตุ ามตัวชว้ี ัด สงั กัดกรมฯ มี ค่าเฉลยี่ ความสุขไม่ น้อยกวา่ 67 4.2 สมรรถนะใน (25) การบรรลุ - บรรลุตวั ชวี้ ัดได้ - เอกสารผลการ - ขอข้อมลู จาก การบรรลตุ ัวชีว้ ัด ดำเนนิ งานที่ หน่วยงานท่ี ตามเปา้ ประสงค์ ตัวชี้วดั ตาม รอ้ ยละ 80 ข้ึนไป เก่ยี วขอ้ ง รับผิดชอบ เป้าประสงค์ ของ 55
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ประเดน็ ตวั ช้ีวัด เกณฑ์ วิธกี ารเกบ็ ข้อมูล กลมุ่ เปา้ หมาย แผนพัฒนา สุขภาพจติ แหง่ ชาตฯิ (26) การบรรลุ - บรรลตุ วั ชว้ี ดั ได้ - เอกสารผลการ - ขอข้อมูลจาก ตัวชีว้ ดั ตาม ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป ดำเนินงานท่ี หน่วยงานที่ เปา้ ประสงค์ ของ เกย่ี วขอ้ ง รับผดิ ชอบ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ฯ 4.2 ผลสำเร็จของ (27) การวางแผน - มกี ารวางแผนและ - สมั ภาษณ์เชงิ ลกึ - ระดับผบู้ รหิ าร การบรหิ าร และการกำหนด การกำหนด - เอกสารการ - ระดับปฏบิ ัติงาน โครงการสำคญั โครงสร้างอยา่ งเป็น โครงสรา้ งอยา่ งเปน็ ดำเนนิ งานที่ ตามประเดน็ ระบบ ระบบ เก่ยี วข้อง ยทุ ธศาสตร์ (28) การกำกับ - มกี ารกำกับติดตาม - สัมภาษณ์เชงิ ลึก - ระดับผบู้ รหิ าร ติดตามงานอยา่ ง งานอยา่ งเป็นระบบ - เอกสารการ - ระดบั ปฏบิ ตั งิ าน เปน็ ระบบ ดำเนินงานท่ี เกยี่ วขอ้ ง (29) การ - มกี ารประเมินผล - สมั ภาษณเ์ ชิงลึก - ระดับผบู้ รหิ าร ประเมินผลอย่าง อยา่ งเป็นระบบ - เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง - ระดับปฏบิ ัติงาน เป็นระบบ (30) ความคุม้ คา่ - มคี วามคมุ้ ค่า - สัมภาษณเ์ ชงิ ลึก - ระดับผู้บรหิ าร ของโครงการตาม - เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง - ระดบั ปฏิบัตงิ าน แผนยทุ ธศาสตร์ 5. การประเมินประสทิ ธิผลตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ 5.1 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ (31) การยอมรับ - ร้อยละ 80 ของ - แบบสอบถามเชิง - ประชาชนทีเ่ ข้า 1 ส่งเสริมและ และการใหโ้ อกาสผู้ ประชาชนมีคะแนน ปริมาณ C1 รว่ มโครงการสำคญั ป้องกันปัญหา ทม่ี ปี ัญหาสุขภาพจติ เฉลย่ี ไมน่ ้อยกวา่ 3 ตามประเดน็ สุขภาพ จติ ตลอด คะแนน (เต็ม 5) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 = ช่วงชวี ติ 100 คน (32) ความตระหนัก - ร้อยละ 80 ของ - แบบสอบถามเชงิ - ประชาชนท่ีเข้า และความเขา้ ใจ ประชาชนมีคะแนน ปรมิ าณ C1 ร่วมโครงการสำคัญ เรื่องปญั หา เฉล่ียไมน่ ้อยกวา่ 3 ตามประเด็น สขุ ภาพจิต (คะแนนเต็ม 5) ยุทธศาสตร์ที่ 1 = 100 คน 56
โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ประเดน็ ตัวชว้ี ดั เกณฑ์ วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มูล กลมุ่ เปา้ หมาย (33) การจัดบริการ - มีการจัดบรกิ าร - สัมภาษณ์เชิงลึก - ระดับผูบ้ ริหาร สง่ เสรมิ สขุ ภาพจิต สง่ เสริมสขุ ภาพจติ กบั - เอกสารท่ีเกีย่ วข้อง - ระดบั ปฏบิ ัติงาน กับภาคเี ครือข่าย ภาคีเครือขา่ ย - เครือขา่ ยผู้มีสว่ น สุขภาพจิตท้งั ในและ ได้ส่วนเสีย นอกระบบบริการ สาธารณสุข 5.2 ยุทธศาสตร์ที่ (34) ทัศนคตดิ ้าน - รอ้ ยละ 80 ของ - แบบสอบถามเชงิ - ประชาชนทีเ่ ข้า 2 พฒั นาระบบ ความพงึ พอใจของ ประชาชนมคี ะแนน ปริมาณ C2 รับบริการจาก บริการสขุ ภาพจติ ผปู้ ่วยและญาติ ความพึงพอใจเฉลีย่ ระบบบริการ และจติ เวช เกี่ยวกับระบบ ไม่ตำ่ กวา่ 3.5 (เตม็ สขุ ภาพจติ 100 บรกิ ารสุขภาพจติ 5) คน (35) ความเชือ่ ม่ัน - รอ้ ยละ 80 ของ - แบบสอบถามเชิง - เครอื ขา่ ยในและ ของเครอื ขา่ ย เครือข่ายมคี ะแนน ปริมาณ C3 นอกระบบบริการ สุขภาพจิตทั้งในและ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3 (ส่วนท่ี 1) สาธารณสขุ รวม นอกระบบบรกิ าร (คะแนนเต็ม 5) 200 คน สาธารณสขุ ต่อการ บริหารจดั การของ กรมสุขภาพจิต (36) การพัฒนา - มกี ารพฒั นา - สมั ภาษณ์เชงิ ลึก - ระดับผูบ้ รหิ าร ระบบบรกิ าร - เอกสารท่ีเกีย่ วขอ้ ง - ระดับปฏบิ ตั งิ าน สุขภาพจติ กับ - เครือข่ายผู้มสี ่วน เครือข่ายสุขภาพจิต ไดส้ ว่ นเสีย ทัง้ ในและนอกระบบ บรกิ ารสาธารณสขุ 5.3 ยุทธศาสตรท์ ี่ (37) การรับรู้ ร้อยละ 80 ของ - แบบสอบถามเชิง - เครอื ข่ายในและ 3 ขับเคล่อื น และ พ.ร.บ.สุขภาพจติ เครอื ข่ายมคี ะแนน ปรมิ าณ C3 (ส่วนท่ี นอกระบบบริการ ผลกั ดันมาตรการ พ.ศ. 2551 ของ เฉลี่ยไมน่ ้อยกวา่ 3 2) สาธารณสขุ รวม ทางกฎหมาย เครอื ข่ายสุขภาพจติ คะแนน เต็ม 5 200 คน สงั คมและ ท้งั ในและนอกระบบ สวัสดกิ าร บรกิ ารสาธารณสขุ 57
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ประเด็น ตัวชว้ี ัด เกณฑ์ วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู กล่มุ เปา้ หมาย (38) ความเข้าใจ ร้อยละ 80 มีคะแนน - แบบทดสอบความ - เครอื ขา่ ยในและ พ.ร.บ. สุขภาพจติ ความเขา้ ใจ ไม่ต่ำ เข้าใจ พ.ร.บ. นอกระบบบรกิ าร 2551 กวา่ 8 คะแนน สขุ ภาพจติ 2551 สาธารณสุข รวม (เตม็ 10 ) (C3 สว่ นท่ี 3) 200 คน (39) การขบั เคล่ือน - มีแผนการ - การสัมภาษณ์ - ระดบั ผู้บริหาร ผลักดนั บังคบั ใช้ ขบั เคลอื่ นและ - เอกสารการ - ระดบั ปฏบิ ตั งิ าน กฎหมายสุขภาพจิต ดำเนินการตามแผน ดำเนนิ งานท่ี และมาตรการทาง เกย่ี วข้อง กฎหมายสขุ ภาพจติ 5.4 ยุทธศาสตร์ท่ี (40) การตอบสนอง - ร้อยละ 80 มี - แบบสอบถามเชงิ - ประชาชนทเ่ี ข้า 4 พัฒนาวิชาการ ความตอ้ งการและ คะแนนเฉล่ียไมน่ ้อย ปริมาณ C2 รับบริการจาก และกลไกการ ความคาดหวงั ของ กว่า 3 คะแนน (เต็ม ระบบบรกิ าร ดำเนนิ งานด้าน ประชาชน 5) สขุ ภาพจิต 100 สขุ ภาพจติ ผู้รับบริการ คน (41) ความเชือ่ มน่ั - รอ้ ยละ 80 มี - แบบสอบถามเชงิ - เครอื ข่ายในและ ต่อประเดน็ ความ คะแนนเฉลย่ี ไมน่ ้อย ปริมาณ นอกระบบบรกิ าร เชยี่ วชาญดา้ น กว่า 3 คะแนน (เตม็ (C3 สว่ นท่ี 4) สาธารณสขุ รวม สุขภาพจิตและ 5) 200 คน จิตเวช (42) การตอบสนอง - ร้อยละ 80 มี - แบบสอบถามเชิง - เครอื ข่ายในและ ต่อความต้องการ คะแนนเฉลีย่ ไม่น้อย ปริมาณ C3 (สว่ นท่ี นอกระบบบรกิ าร และความคาดหวงั กวา่ 3 คะแนน (เตม็ 6) สาธารณสุข รวม ของกรมสขุ ภาพจิต 5) 200 คน (43) การยอมรับใน - รอ้ ยละ 80 มี - แบบสอบถามเชิง - เครอื ขา่ ยในและ ศูนย์ความเช่ียวชาญ คะแนนเฉลย่ี ไมน่ ้อย ปรมิ าณ C3 (ส่วนท่ี นอกระบบบรกิ าร ของกรมสุขภาพจิต กวา่ 3 คะแนน (เตม็ 8) สาธารณสุข รวม 5) 200 คน (44) ความเชอ่ื ม่ันใน - รอ้ ยละ 80 มี - แบบสอบถามเชิง - เครือขา่ ยในและ องค์ความรแู้ ละ คะแนนเฉลย่ี ไม่น้อย ปริมาณ C3 (สว่ นที่ นอกระบบบริการ เทคโนโลยดี ้าน กวา่ 3 คะแนน (เต็ม 6 ข้อ 7-8) สาธารณสุข รวม สขุ ภาพจติ ทกี่ รม 5) 200 คน 58
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ประเด็น ตวั ช้ีวดั เกณฑ์ วิธีการเกบ็ ข้อมูล กลมุ่ เปา้ หมาย สขุ ภาพจติ ผลติ / พฒั นาขนึ้ (45) การยอมรับต่อ - รอ้ ยละ 80 มี - แบบสอบถามเชิง - เครือขา่ ยในและ องค์ความรู้และ คะแนนเฉล่ยี ไม่น้อย ปรมิ าณ C3 (สว่ นท่ี นอกระบบบรกิ าร เทคโนโลยดี ้าน กวา่ 3 คะแนน (เต็ม 8 ข้อ 5-6) สาธารณสขุ รวม สขุ ภาพจิตท่กี รม 5) 200 คน สขุ ภาพจิตผลติ / พฒั นาขึน้ 3.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาครั้งน้ี เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา โดยใช้การเปรียบเทียบ ระหว่างเป้าหมายกับผลการปฏิบัติจริง การวิเคราะห์และเชื่อมโยงโดยใช้ตรรกะ รวมทั้งการใช้สถิติพรรณนา และสถิติอนุมานในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ด้วยสถิติ สหสัมพันธ์ (Pearson’s Correlation) การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) และ การวเิ คราะห์ปจั จัยประกอบเชิงยนื ยนั (Confirmatory Factor Analysis) 3.5.1 การประเมินประสิทธิผลของแผนในภาพรวม มีตวั ช้วี ดั ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 81 - 100 หมายถงึ มีประสิทธิผลสงู มีตัวช้วี ัดผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 71 - 80 หมายถึง มปี ระสิทธผิ ลคอ่ นข้างสูง มตี ัวชี้วดั ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 61 - 70 หมายถงึ มีประสทิ ธผิ ลปานกลาง มีตวั ชี้วดั ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 51 – 60 หมายถึง ประสทิ ธิผลคอ่ นข้างตำ่ มีตัวชว้ี ดั ผา่ นเกณฑ์ ต่ำกวา่ ร้อยละ 50 หมายถงึ มีประสิทธิผลตำ่ 3.5.2 การให้คะแนนตามแบบประเมนิ มาตรวัดประเมินรวมค่า 6 ระดับ การให้คะแนนของแบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นมาตรวัดประเมินรวมค่า 6 ระดับ มีเกณฑ์ ในการให้ คะแนน ในสองลกั ษณะคอื คะแนนสำหรับข้อคำถามท่ีเปน็ เชิงบวก มีเกณฑก์ ารให้คะแนนคอื จรงิ ท่สี ดุ = 5 คะแนน จรงิ = 4 คะแนน คอ่ นขา้ งจริง = 3 คะแนน ค่อนขา้ งไมจ่ ริง = 2 คะแนน ไมจ่ ริง = 1 คะแนน ไม่จรงิ เลย = 0 คะแนน สว่ นถา้ เปน็ คำถามในเชงิ ลบ จะให้คะแนนในลกั ษณะตรงกันข้าม 59
โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 3.5.3 การประเมินความพึงพอใจ 5 ระดบั ในการประเมินทัศนคติด้านความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับระบบบริการสุขภาพจิต เป็น แบบใหเ้ ลอื กตอบระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ จาก มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย และน้อยท่สี ดุ โดยมีเกณฑ์ การใหค้ ะแนนจาก 5 4 3 2 1 ตามลำดับ 3.5.4 การประเมนิ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับ พ.ร.บ. สุขภาพจติ 2551 มีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบว่าประโยคที่ปรากฏบนแบบสอบถามนั้น ถูก หรือ ผิด โดยมีคะแนนข้อ ละ 1 คะแนน 3.5.5 การวเิ คราะห์ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการยอมรับและการให้โอกาสของผู้มปี ัญหาสุขภาพจิต เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้สถิติ Correlation และพลังในการทำนาย (Multiple Regression Analysis) และการวิเคราะห์ปัจจยั ประกอบเชงิ ยืนยัน (CFA) ระหว่างตวั แปรอิสระคือ ความเข้าใจ และความตระหนักเรื่องสุขภาพจิต และตัวแปรตามคือ การยอมรับและการให้โอกาสผู้ป่วยสุขภาพจิต นอกจากนั้นยังมีการวิเคราะห์โดยดูจากปัจจัยชีวสังคมและภูมิหลังของผู้ตอบแบบสอบถามที่ส่งผลต่อการ ยอมรับและการใหโ้ อกาสผู้ปว่ ยสุขภาพจิต (ANOVA) มีกรอบแนวคิดในการค้นหาความสัมพันธร์ ะหว่างตัวแปร โดยใช้โปรแกรมวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสถติ ิ SPSS และ LISREL ตามกรอบแนวคดิ ดงั ภาพท่ี 8 ตัวแปรอสิ ระ ตวั แปรตาม 1. ความเขา้ ใจเรื่องสุขภาพจิต 1. การยอมรบั ผ้ปู ่วยสุขภาพจิต 2. ความตระหนักเรื่องสุขภาพจิต 2. การใหโ้ อกาสผ้ปู ่วยสขุ ภาพจิต ปจั จยั ชีวสังคมและภูมิหลัง ภาพท่ี 8 กรอบการวิเคราะห์ปัจจยั ทม่ี ีผลตอ่ การยอมรับและให้โอกาสผู้ท่ีมีปัญหาสุขภาพจติ 60
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) บทที่ 4 บรบิ ทและเนอื้ หาของยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติฉบบั ที่ 1 (พ.ศ. 2561 – 2580) เกิดขน้ึ ภายใต้แนวคิดของการขับเคล่ือน ไปสู่ประเทศไทย 4.0 ในมิติของการเตรียมคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ในศตวรรษท่ี 21 โดยระยะเวลาของ แผนถูกออกแบบให้สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ขณะเดียวกันเจตนารมณ์ของการจัดทำแผนฉบับน้ี เกิดขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพจิตของคนไทย ผ่านการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานของรัฐหลาย ภาคส่วน ภายใต้ความตระหนักของรัฐบาลและผู้ที่ดำเนินงานด้านสุขภาพจิตที่เล็งเห็นความสำคัญของปัญหา สุขภาพจิตว่าเป็นปัญหาที่มีความเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย และมีขอบเขตในการดำเนินงานที่นอกเหนือ ความสามารถของกรมสุขภาพจิต จึงอาศัยอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยสุขภาพจิตของคณะกรรมการ พฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ในการจัดทำแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติขึ้น เพ่ือดำเนนิ การอย่างครอบคลุมทั้งใน ด้าน การสร้างเสริมสุขภาพจิต การป้องกันและการควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพจิต การคุ้มครองสิทธิของ บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพจิต และการอยู่ร่วมกันในสังคมโดยภายใต้ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ได้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561- 2565) วาระแรก (พ.ศ. 2563-2565) มีลักษณะเปน็ แผนในเชงิ ปฏบิ ัติ ซง่ึ มลี กั ษณะเปน็ ประเดน็ ร่วมบรู ณาการระหว่างหน่วยงาน ส่วนแผนปฏิบัติราชการ 5 ปี กรมสุขภาพจิต (พ.ศ. 2561 -2565) เดิมคือ แผนยุทธศาสตร์กรม สุขภาพจิต (2560 – 2564) ถูกปรับเพื่อให้สอดรับกับนโยบายการจัดทำแผนของประเทศไทยในปัจจุบัน ท่ีมี การกำหนดแผนเป็น 3 ระดับ ได้แก่ แผนระดับที่ 1 คือ ยุทธศาสตร์ชาติ ระดับที่ 2 ประกอบด้วย แผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติแผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผน ระดับชาตวิ ่าดว้ ยความม่นั คงแหง่ ชาติ นอกเหนอื จากแผนทั้งสองระดบั นั้นให้ถอื เป็นระดับท่ี 3 ซ่ึงหากเป็น แผน ของหน่วยงานตา่ ง ๆ เช่น แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจติ ให้ใช้ชื่อเปน็ แผนปฏิบัติราชการ จึงได้เกิดการปรับ แผนขึน้ เพอ่ื ให้สอดคล้องกับนโยบายดงั กลา่ ว ภายใต้ข้อกำหนดของการจัดทำแผน จึงทำให้ทั้งสองแผนข้างต้นจัดอยู่ในแผนระดับที่ 3 เป็นที่มาว่า แผนยุทธศาสตร์ทง้ั สองแผนที่ ไม่ไดบ้ รรจคุ ำว่า “แผนยทุ ธศาสตร”์ ไวใ้ นชื่อแผน 4.1 สถานการณส์ ำคัญที่เกีย่ วขอ้ งกบั การจัดทำแผน ส่วนนี้เป็นการประเมินบริบทการเกิดยุทธศาสตร์ในประเด็นที่ว่า ในช่วงของการจัดทำแผนมีการนำ สถานการณ์ปัญหาสุขภาพจิตมาวิเคราะห์เคราะห์และนำมาเป็นประเด็นในการวางแผนอย่างไร โดยพบว่า สถานการณท์ ีค่ ณะทำงานได้นำมาวิเคราะห์และนำมาสูจ่ ดั ทำแผนยทุ ธศาสตร์ มดี ังนี้ 4.1.1 ด้านเศรษฐกจิ ประเดน็ ปญั หาเศรษฐกิจที่ถูกนำมาสู่การวเิ คราะห์ และกำหนดประเด็นในการจัดทำแผน ได้แก่ อัตรา การว่างงาน ที่พบว่า มีผู้ว่างงานเพิ่มสูงขึ้น และปัญหาความยากจน ซึ่งนำมาสู่การกำหนดแผนปฏิบัติการใน 61
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ลักษณะของการส่งเสริมอาชีพและการจา้ งงานให้แก่ผูท้ ีม่ ีปัญหาทางจิต อันนำไปสู่การตอบสนองต่อตัวชีว้ ดั ใน แง่ของการยอมรับและให้โอกาสต่อผูม้ ีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย โรคที่สำคัญทางจิตเวชที่ได้รับการบำบัดรักษาแล้ว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งปรากฏในแผนปฏิบัติการของ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบับท่ี 1 ระยะท่ี 1 ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ 1.1.2 ร้อยละ 80 ของคนไทยยอมรับและให้โอกาสต่อผู้มี ปัญหาสุขภาพจติ และจิตเวช โครงการพฒั นาระบบสนับสนุนอาชีพสำหรบั ผพู้ กิ ารทางสติปัญญาและออทสิ ติก ยุทธศาสตร์ที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 2.2.3 ร้อยละ 40 ของผู้ป่วยโรคที่สำคัญทางจิตเวชที่ได้รับการ บำบัดรักษาแล้วมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โครงการพัฒนาระบบสนับสนุนอาชีพบุคคลบกพร่องทางสติปัญญาและ ออทิสติกของหนว่ ยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 ตัวชี้วัดที่ 3.1.1 ร้อยละ 85 ของผู้ป่วยจิตเวชที่ได้รับการดูแลตาม พ.ร.บ. สุขภาพจิต ได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง . โครงการพัฒนาทักษะบุคคลออทิสติกและบกพร่องพัฒนาการ สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีระบบสุขภาพ ระบบการศึกษา ระบบการสร้างเสริมอาชีพ และการสร้างเสริมศีลธรรม และโครงการเตรียมความพรอ้ มให้ผูบ้ กพร่องทางจติ เข้าถึงสิทธิภาพการจา้ งงาน ข้อเสนอแนะ ในแง่ของการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาทางเศรษฐกิจที่ปรากฏในแผนมีการวิเคราะห์ใน ภาพรวม ซึ่งเป็นภาพกว้างระดับประเทศ แต่ยังขาดข้อมูลการวิเคราะห์แบบเจาะจงไปที่กลุ่มผู้มีปัญหาด้าน สุขภาพจิต จึงทำให้หากมีการทบทวนสถานการณ์อย่างเฉพาะเจาะจง ยกตัวอย่างเช่น การนำเสนอให้เห็น ปัญหาของอัตราว่างงานในครอบครัวของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต โรคจิตเภท หรือ ผู้ที่เป็นแอลกอฮอลิซึม เป็น ต้น หากสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาสุขภาพจิตและครอบครัวใน ลกั ษณะน้ไี ด้ จะสามารถทำให้คดิ ยุทธศาสตรท์ เี่ ฉพาะเจาะจงเพื่อแก้ปัญหาไดด้ ีย่ิงข้นึ 4.1.2 ดา้ นสงั คม/สิง่ แวดลอ้ ม มีการนำประเด็นโครงสร้างประชากรที่กำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและอัตราการเกิดที่ลดลง ประเด็น ความสัมพันธ์ของครอบครัวที่พบว่ามคี รอบครัวท่อี บอ่นุ ลดลง เหตุการณค์ วามไมส่ งบในจงั หวดั ชายแดนใต้ ดา้ น การศกึ ษา ดา้ นสง่ิ แวดล้อม โดยมปี ระเดน็ ทีน่ ำมาสู่กำหนดประเดน็ ตัวช้ีวดั ท่สี ำคัญของแผนดงั ต่อไปน้ี โครงสรา้ งประชากร ท่กี ำลงั เข้าสสู่ ังคมผู้สงู อายแุ ละอตั ราการเกดิ ทลี่ ดลง ถกู นำมาใหค้ วามสำคัญ ในสองลักษณะคือ การพัฒนาจิตใจของผู้สูงอายุ และการพัฒนาประชากรเด็กที่มีอยู่จำนวนน้อยลงนั้นให้มี คุณภาพ ดังนั้นประเด็นนี้ถือเป็นประเด็นสำคัญที่ปรากฏอยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและป้องกันปัญหา สุขภาพจิตตลอดช่วงชีวิต ซึ่งมีตัวชี้วัดและโครงการเกี่ยวกับการพัฒนาสุขภาพจิตเด็ก และผู้สูงอายุ ในหลาย โครงการ ประเด็นความอบอุ่นในครอบครัว ถูกนำมากำหนดประเด็นตัวชี้วัดของแผนในภาพรวมคือ “ครอบครวั มีความเข้มแข็งและความอบอุ่น” โดยมคี ่าเปา้ หมายคือ ระยะแรก (2561-2565) รอ้ ยละ 80 ระยะ ที่ 2 (2566-2570) ร้อยละ 85 ระยะที่ 3 (2571-2575) ร้อยละ 90 และระยะที่ 4 (2576-2580) ร้อยละ 95 และประเด็นด้านครอบครวั ถกู นำมาเป็นกลไกผลักดันในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ในด้านการดูแลผูป้ ่วยจิตเวชในชุมชน 62
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ในโครงการ สุขภาพจิตศึกษาหลักสูตรสายใยครอบครัว และ โครงการศูนย์บริการส่งเสริมทักษะชีวิตบุคคล ออทสิ ติกโดยครอบครวั และชมุ ชน 40 จังหวดั ประเด็นความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ ปรากฏอยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการ สขุ ภาพจิตและจติ เวช โครงการแก้ไขปญั หาวกิ ฤติสขุ ภาพจติ ในพนื้ ท่จี ังหวดั ชายแดนใต้ ประเด็นด้านการศึกษา ที่ถูกนำวิเคราะหป์ ระกอบดว้ ย 1) ประเด็นโอกาสทางการศกึ ษาท่รี ัฐบาล ต้องเน้นให้เด็กและประชาชนทุกช่วงวัยสามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐานเพิ่มขึ้น 2) ประเด็นคุณภาพการศึกษาในแง่ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ และการใช้จ่ายงบประมาณทางการศกึ ษา ซึ่งเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างและระบบการจัดการ และ การก้าวกระโดดของเทคโนโลยีกับการเรียนการสอน ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างเฉียบพลัน (Disruptive Technology) ซึ่งประเด็นด้านการศึกษา เกย่ี วข้องโดยตรงกับยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสรมิ และป้องกนั ปัญหาสุขภาพจติ ตลอดชว่ งชีวิต โดยมตี ัวชีว้ ัด กลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับ เรื่อง IQ และ EQ อันจะนำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา การพัฒนาเด็กใน วัยเรียน ตลอดจนการมโี ครงการเกย่ี วกับการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ อีกด้วย ประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาติต่าง ๆ ซึ่งส่งผลต่อการเจ็บป่วย อุบตั ิเหตุ ความเครยี ด ความพกิ าร ตา่ ง ๆ อันเปน็ ปจั จยั แวดลอ้ มท่กี ่อให้เกดิ ปญั หาด้านสุขภาพจติ ไดท้ ้ังสิ้น เป็น การวิเคราะห์ในประเด็นกว้าง ๆ ที่เกิดขึ้นโดยทั่วไป และไม่ได้นำมาสู่การกำหนดเป็นตัวชี้วัดและแผนปฏิบัติ การโดยตรง แต่ส่งผลต่องานสุขภาพจิตในภาพรวม เช่น การใช้แนวทางสร้างความเข้มแข็งของคนไทยในการ ปรับเปลี่ยนมุมมองการดูแลสุขภาพจิต เพื่อพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพจิต (Mental Health Literacy) แนวทางเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ (Resilience) ให้กับคนไทยในการรับมือกับปัญหาสุขภาพจิตที่จะ เกดิ ขน้ึ ในอนาคต เป็นต้น ข้อเสนอแนะ เช่นเดียวกับประเด็นสถานการณ์ปัญหาด้านเศรษฐกิจ คือการนำเสนอสถานการณ์ ปัญหาในภาพกว้างที่ครอบคลุมทุกลุ่มประชากร จะเห็นได้ว่าการทบทวนสถานการณ์ในลักษณะนี้ยังขาดการ เชื่อมโยงกับปัญหาด้านสุขภาพจิต จึงทำให้การทบทวนสถานการณ์ในลักษณะดังกล่าวไม่นำมาสู่การกำหนด ประเด็นยุทธศาสตร์ในลักษณะที่เฉพาะเจาะจง ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนครั้งต่อไปอาจใช้วิธีการใน ลักษณะที่จะประเมินความสามารถของแผนต่อการตอบสนองต่อปัจจัยต่าง ๆ ซึ่งต้องดำเนินการประเมิน น้ำหนักตั้งแต่ช่วงของการจัดทำแผน ยกตัวอย่างเช่น เทคนิคการวิเคราะห์เมทริกซ์การประเมินปจั จัยภายนอก (External Factor Evaluation: EFE) หากรวมน้ำหนักคะแนนได้สงู แสดงวา่ ยทุ ธศาสตรต์ อบสนองสิ่งแวดล้อม ได้ดี หากคะแนนต่ำ แสดงว่ายุทธศาสตร์ตอบสนองไม่ดี จะช่วยให้เกิดการวางแผนและปรับแผนครอบคลุมไป ถงึ สถานการณ์ทางสังคมตา่ ง ๆ ได้ 4.1.3 ดา้ นพฤติกรรมสุขภาพ มีการนำสถานการณ์พฤติกรรมด้านสุขภาพมาส่กู ารวเิ คราะห์ ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมการด่ืมแอลกอฮอล์ สูบ บุหรี่และเสพสารเสพติด พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น พฤติกรรมรุนแรงในเด็กและเยาวชน พฤติกรรม 63
โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) รนุ แรงในเด็กและเยาวชน และ ปัญหาพฤตกิ รรมจากการติดเกม โดยทง้ั 5 ประเด็นมีความเกย่ี วข้องต่อการเกิด ปญั หาสขุ ภาพจติ และนำมาสกู่ ารกำหนดเป็นแผนปฏบิ ตั กิ ารตามตวั ชว้ี ัดในยุทธศาสตร์ทเ่ี กยี่ วขอ้ งดงั ต่อไปน้ี ยุทธศาสตร์ที่ 1 ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ 1.1.1 ร้อยละ 40 ของคนไทยที่มีความตระหนักและเข้าใจ เรื่องสุขภาพจิต มีการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรและพัฒนาภาคีเครือข่ายอนามัยเจริญพันธุ์ใน วัยรุ่นและเยาวชน และ โครงการศึกษาปัญหาเด็กติดเกม (ระยะที่ 1) ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ 1.1.3 ร้อยละ 75 ของคนไทยได้รับการพัฒนาทักษะชีวิตตามชว่ งวัย มีโครงการเสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวิตและป้องกันพฤติกรรมเส่ยี ง ของวัยรุ่น (โครงการป้องกันแก้ปัญหาตั้งครรภ์ในวัยรุ่น) การพัฒนาเยาวชน ด้วยทักษะการรับฟังด้วยใจ เพื่อ ปอ้ งกนั การฆ่าตวั ตาย โครงการรณรงคป์ ้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ยุทธศาสตร์ที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 2.2.1 ร้อยละ 94 ของผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือนหลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา ประกอบด้วย กิจกรรมบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดมีปัญหา สุขภาพจิต กิจกรรมติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดรักษายาเสพติด โครงการพัฒนาแนวทางการบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน โครงการพัฒนางานบำบัดรักษาและ ตดิ ตามผู้ป่วยจติ เวชยาเสพติด และ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดทางจิตสงั คมสำหรบั ผู้ป่วยโรคติดสุรา ทมี่ ีภาวะบกพรอ่ งการร้คู ิด 4.1.4 ด้านสขุ ภาพจิต สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตที่ถูกนำมาวิเคราะห์ประกอบด้วย ข้อมูลทางระบาดวิทยาสุขภาพจิตและ สถานะสุขภาพจิตของคนไทย ข้อมูลด้านส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตตามกลุ่มวัย ข้อมูล ด้านระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และ พระราชบัญญตั ิสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ประกอบด้วยสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ข้อมูลทางระบาดวิทยาสุขภาพจิตและสถานะสุขภาพจิตของคนไทย ในหลายประเด็น ได้แก่ (1) ผลการสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี 2556 พบว่า ความชุกตลอดชีพของโรคจิต เวชที่สูงสุด คือ Alcohol abuse (ร้อยละ 13.90) รองมาคือการมีประสบการณ์คล้ายโรคจิต (ประสาทหลอน และ/หรือหูแว่ว) ร้อยละ 5.90 ส่วน Major depressive episode พบร้อยละ 1.80 (2) การฆ่าตัวตาย จาก ฐานข้อมูลใบมรณบัตรโดยทีป่ ี 2550, 2554, 2555, 2556, 2557,2558, 2559 และ 2560 พบอัตราการฆ่าตัว ตาย 5.97, 6.03, 6.20, 6.08, 6.08, 6.47, 6.35 และ 6.03 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ (3) ความเครียด โดยมีการรายงานสาเหตุของปัญหาสุขภาพจิต มาจากปัญหาความไม่สงบทางการเมือง และปัญหา สภาพแวดล้อม ส่วนผลกระทบที่ได้รับ คือ มีความขัดแย้งกับคนในครอบครัว เพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงาน/ โรงเรียนและเกิดผลกระทบต่อตนเอง นอกจากนั้นยังมีการวิเคราะหป์ ัญหาในพื้นที่จงั หวัดชายแดนใต้พบว่า มี ความชกุ ของปัญหาสขุ ภาพจติ อย่างใดอย่างหน่ึง รอ้ ยละ 7.9 ภาวะซมึ เศร้า รอ้ ยละ 6.8 มีความเส่ียงต่อการฆ่า ตัวตาย ร้อยละ 1.5 ภาวะผิดปกติทางจิตใจหลังได้รับผลกระทบ ร้อยละ 0.4 (4) ความสุขคนไทย จากการ สำรวจสุขภาพจิต (ความสุข) คนไทย พ.ศ.2558 พบว่า คะแนนเฉลี่ยสุขภาพจิตคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป อยู่ท่ี 31.44 คะแนน ซงึ่ อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐานทกี่ ำหนดไว้สำหรับสุขภาพจิตของคนทวั่ ไป (27.01-34.00 คะแนน) (5) 64
โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) World Happiness Reportในปี 2017 องคก์ ารสหประชาชาติ จดั อันดบั ประเทศท่ีมีความสุข มากท่ีสุดในโลก World Happiness Report โดยประเทศไทยอยู่ลำดับที่ 32 (6.424 คะแนน) จากทั้งหมด 155 ประเทศ โดย ในเอเชียประเทศไทยถือเป็นลำดับที่ 3 รองจากประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย ซึ่งคะแนนดังกล่าวใช้การ วิเคราะห์ผ่านตัวแปรหลักๆ 6 ตัวแปร ได้แก่ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศ (GDP per capita) การ สนับสนุนทางสังคม (social support) อายุขัยเฉลี่ย (healthy life expectancy) เสรีภาพในการใช้ชีวิต (freedom to make life choices) การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ (generosity) และการรับรู้เรื่องคอร์รัปชัน (perceptions of corruption) ข้อมูลด้านส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตตามกลุ่มวัย มีการรวบรวม สถานการณ์สุขภาพจิต ตามกลุ่มวัยได้แก่ ปฐมวัย เป็นสถานการณ์ด้านพัฒนาการล่าช้า วัยเรียนเป็น สถานการณ์ความฉลาดทางสติปัญญา (Intelligence Quotient : IQ) และความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient : EQ) วัยรุ่น มปี ระเดน็ ที่สำคญั คือ การดมื่ เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ของเยาวชน อัตราการ คลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อม โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุน่ และเยาวชนอายุ 15 - 24 ปี วยั ทำงาน พบปัญหาเกี่ยวกับภาวะขาดแคลนกำลังแรงงานทมี่ ีคุณภาพ วัยสงู อายุ พบสถานการณ์ที่ มีผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดภาวะพึ่งพิง และปัญหาสุขภาพจิต ที่พบได้บ่อย คือ ความวิตกกังวล ซึมเศร้า นอนไมห่ ลบั ภาวะสมองเสื่อม และปญั หาเร่ืองเพศ นอกจากน้ี และ ผู้พิการ พบว่ามีคนพกิ ารทม่ี ีบตั รประจำตัว คนพิการ จำนวน 1,756,849 คน เป็นความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม จำนวน 129,081 คน ความพิการ ทางสติปัญญา จำนวน 121,950 คน ความพิการทางออทิสติก จำนวน 9,849 คนและความพิการทางการ เรียนรู้ จำนวน 8,058 คน ข้อมูลด้านระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช มีการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเข้าถึงบริการด้าน สุขภาพจิตและจิตเวช (Service Plan) จากข้อมูลของกรมสุขภาพจิต พบว่า การเข้าถึงบริการของโรคจิตเภท โรคซมึ เศรา้ โรคออทิสตกิ และโรคสมาธิส้ันเพ่มิ ขึน้ จากร้อยละ 43.75 ร้อยละ 36.76 รอ้ ยละ 6.75 และร้อยละ 1.44 ในปี 2557 เป็นร้อยละ 70.21 ร้อยละ 48.50 ร้อยละ 8.51 และร้อยละ 3.97 ในปี 2559 ตามลำดับ ผู้ป่วยจิตเวชสุรา/ยาเสพติด ในปี 2558 มีผู้ป่วยจิตเวชสุราที่เข้ามารับบริการในหน่วยบริการสังกัดกรม สุขภาพจิตจำนวนทังสิ้น 20,852 คน กรมสุขภาพจิตมีระบบจัดบริการดูแล ผู้ป่วยยุ่งยาก ซับซ้อน เรื้อรัง (Supra Specialist Service : 3S) สนับสนุนให้หน่วยงานจัดบริการจิตเวช ที่พื้นที่ไม่สามารถทำได้ โดยให้ ความสำคัญด้านระบบบริการต้นแบบ ได้แก่ บริการนิติจิตเวช บริการจิตเวชเด็กและวัยรุ่น โรคร่วมที่มีภาวะ ความรุนแรงสูง โรคร่วมสุรายาเสพติด จัดบริการจิตเวชที่ตอบสนองหรือเป็นไปตามบริบทของพื้นที่ เช่น บริการโรคจิตเภทยุง่ ยาก ซับซอ้ น บรกิ ารจิตเวชสงู อายุ รวมทง้ั จัดบรกิ ารดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มคี วามเสี่ยงสูง ต่อ การก่อความรุนแรง (Serious Mental Illness with High Risk to Violence : SMI-V) นอกจากนั้นยังมีการ พัฒนาหน่วยบริการจิตเวชสู่ความเป็นเลิศเฉพาะทางตามเกณฑ์ (Excellence Center) การพัฒนางานวิกฤต สุขภาพจิตโดยผลักดันให้เกิดทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team : MCATT) ทั้งประเทศ การพฒั นาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District 65
โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) Health System : DHS) การพัฒนาและสนับสนุนให้เกิดระบบการดูแลช่วยเหลือด้านสังคมจิตใจ (Psychosocial Care) ข้อเสนอแนะ ในแง่ของการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพจิต ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับงานของกรม สขุ ภาพจติ ตามแผนปฏบิ ตั ิราชการฯ ได้มีการวางแผนไว้อย่างครอบคลมุ ประเด็นปญั หาทีม่ ีการทบทวนดังกล่าว แล้ว ยกตัวอย่าง เช่น ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันและควบคุมปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหา สุขภาพจิตตลอดช่วงชีวิต ซึ่งสอดคล้องกับการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพจิตตามกลุ่มวัย ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพระบบบริการและวิชาการสุขภาพจิตและจิตเวช ซึ่งสอดคล้องกับเรื่องสถานการณ์การเข้าถึง บริการ และสถานการณ์การให้บริการด้านสุขภาพจิตของกรมสุขภาพจิต ส่วนยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความ ตระหนักและความเข้าใจต่อปัญหาสุขภาพจิต เกิดขึ้นภายใต้สมมติฐานที่ว่าหากคนไทยมีความรอบรู้ในด้าน สุขภาพจิตจะสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพจิตได้อย่างหลากหลายดังที่เสนอใน ข้อมูลทางระบาดวิทยา สุขภาพจิตและสถานะสุขภาพจิตของคนไทย ส่วนยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มี ประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล เป็นประเด็นที่สนับสนุนการดำเนินงานในส่วนของสามยุทธศาสตร์แรกให้มี ประสิทธิภาพ 4.2 การวเิ คราะหน์ โยบายและแผนอื่นๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในช่วงท่ีมกี ารจัดทำแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ. 2561 -2580) คณะทำงานได้มีการ วิเคราะห์สถานการณ์ทางนโยบายตา่ ง ๆ เพื่อนำมาสู่การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตั้งแต่นโยบายระดับนานาชาติ คอื เป้าหมายการพฒั นาท่ีย่งั ยนื ของสหประชาชาติ Sustainable Development Goals (SDG) เป้าหมายที่ 3 การมีสขุ ภาพและความเปน็ อยทู่ ่ดี ี ทำใหม้ ่ันใจว่าชวี ติ มสี ุขอนามยั และส่งเสริมการอยดู่ มี สี ขุ แกท่ ุกคนในทกุ วยั ลำดับถัดมาคือนโยบายระดับชาติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้ กำหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับงานสาธารณสุขทั้งด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต ประกอบด้วย หมวด 3 เก่ียวกับ สิทธิในการได้รบั บริการสาธารณสุขของรฐั หมวด 5 หนา้ ทีข่ องรฐั ท่ตี ้องดำเนินการใหเ้ ด็กเล็กไดร้ ับการ ดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารบั การศึกษา เพ่ือพัฒนารา่ งกาย จติ ใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาให้สมกับวัย การให้ประชาชนได้รับบรกิ ารสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง เสริมสร้างให้ประชาชนมีความรูพ้ ื้นฐาน เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค โดยต้องครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุม และ ป้องกนั โรค การรกั ษาพยาบาล และการฟื้นฟสู ขุ ภาพด้วย โดยรัฐตอ้ งพัฒนาการบรกิ ารสาธารณสขุ ให้มีคุณภาพ และมมี าตรฐานสงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เน่ือง หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐที่ใหเ้ สรมิ สร้างความเขม้ แข็งของครอบครัวอัน เป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญของสังคม และหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ โดยด้านสาธารณสุขคือ ปรับ ระบบหลักประกันสขุ ภาพให้ประชาชนไดร้ บั สิทธิและประโยชน์จากการบรหิ ารจัดการและการเขา้ ถึงบริการท่ี 66
โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) มีคุณภาพและสะดวกทัดเทียมกัน ตลอดจนให้มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแล ประชาชนในสัดส่วนทเ่ี หมาะสม ในส่วนคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2557 มีนโยบายด้านสาธารณสุขที่สำคัญคือ การลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึง บริการของรัฐ โดยเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในทุกด้าน การยกระดับคุณภาพการบริการ สาธารณสุขและสุขภาพของประชาชน โดยรัฐบาลจะวางรากฐาน พัฒนา และเสริมความเข้มแข็งให้แก่การ ใหบ้ ริการดา้ นสาธารณสุข ทม่ี ุ่งเนน้ ความทัว่ ถึง ความมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ระดับกระทรวง ได้มีการนำสถานการณ์แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข ซึ่งมี วิสยั ทัศนค์ ือ “เป็นองค์กรหลัก ดา้ นสขุ ภาพ ทรี่ วมพลงั สงั คม เพือ่ ประชาชนสุขภาพดี” และคา่ นยิ ม “MOPH : Mastery Originality People-centered approach Humility” โดยมีเปา้ หมายหลักคือ ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน ซึ่งมียุทธศาสตร์ที่จะพัฒนาความเป็นเลิศใน 4 ด้าน คือ ส่งเสริม สุขภาพและการป้องกันโรคเปน็ เลิศ บริการเปน็ เลิศ บุคลากรเป็นเลิศ และ บรหิ ารจดั การเปน็ เลศิ นอกจากนี้ยังมีการวิเคราะห์กฎหมายและแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ธรรมนูญวา่ ด้วยระบบสขุ ภาพ แหง่ ชาติ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2559 แผนพฒั นาสขุ ภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564 แผนพัฒนาเด็กและ เยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2564 พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 แผนพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2560 – 2564 อนุสัญญาวา่ ดว้ ยสิทธคิ นพกิ าร (Convention on the Right of Persons with Disabilities : CRPD) พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552 แผนการศึกษา แหง่ ชาติ พ.ศ.2560 – 2579 ผลการวเิ คราะห์ความเชือ่ มโยงกับนโยบายระดับชาติ จากการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561 – 2580) กับแผนระดับชาติอื่น ๆ พบว่า เชื่อมโยงกับเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ในด้าน “การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์” มีเป้าหมายเพื่อ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุก ชว่ งวัยใหเ้ ปน็ คนดี เก่ง และมคี ุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมท้ัง กาย ใจ สตปิ ัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย1 ในขณะเดียวกัน การวางแผนระยะยาวก็เป็นไปในทิศทางที่สอดรับกับแผน ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (พ.ศ. 2560 -2579) โดยบทบาทของกรมสุขภาพจิตเป็น หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักร่วมกับกรมอนามัย ตามแผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย 1 ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ 135 ตอนท่ี 82 ก. 13 ตุลาคม 2561. ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 -2580). 67
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) (ด้านสุขภาพ) และรับผิดชอบหลักในแผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ2 โดยมีตัวชี้วัดที่สำคัญ เกี่ยวกับงานสุขภาพจติ โดยตรง คือ IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าเกณฑม์ าตรฐาน 100 ภายใน 5 ปี และ ร้อยละ 70 ของ เด็กไทยมีคะแนน EQ ไม่ตำ่ กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน ภายใน 5 ปี ตามเป้าหมายการยกระดับคุณค่ามนุษย์ ด้วยการ พัฒนาคนใหเ้ ปน็ “มนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณใ์ นศตวรรษที่ 21” ควบคู่ ไปกบั การเปน็ “คนไทย 4.0 ในโลกท่ีหน่ึง”3 สำหรับความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นั้นงานสขุ ภาพจติ สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสร้างและ พัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม และ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกัน การทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาล โดย เป้าหมายที่สอดคล้องกับพันธกิจโดยตรงของกรมสุขภาพจิตคือ เป้าหมายที่ 2 : คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมี ทกั ษะ ความรู้ และความสามารถเพิ่มข้นึ ประกอบด้วยตัวชี้วัดในแต่ละช่วงวัยได้แก่ (1) เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีตัวชี้วัดคอื เดก็ มพี ฒั นาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 (2) เดก็ วยั เรียนและวยั รนุ่ มีสติปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์ เพิ่มขึ้น มีตัวชี้วัดคอื คะแนน IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และ เด็กร้อยละ 70 มีคะแนน EQ ไม่ต่ำกว่า เกณฑม์ าตรฐาน เปา้ หมายที่ 4: คนไทยมสี ขุ ภาวะท่ีดีขน้ึ ตัวชว้ี ัดที่ 4.4 อัตราการฆา่ ตวั ตายสำเร็จต่อประชากร แสนคนลดลง นอกจากนั้นยังมีเป้าหมายที่เก่ียวข้องอื่น ๆ ซึ่งต้องดำเนินงานรว่ มกับภาคีเครือข่าย เป้าหมายท่ี 5: สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนา ชุมชน สื่อมวลชน และภาคเอกชน ตัวชี้วัดที่ 5.1 ดัชนีครอบครัวอบอุ่น อย่ใู นระดบั ดขี น้ึ นอกจากนี้ในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติฉบับที่ 1 ยังมีการตั้งประเด็นตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย ท่ี นอกเหนือจากบทบาทหลักของกรมสุขภาพจิต ได้แก่ 1) ครอบครัวมีความเข้มแข็งและความอบอุ่น ซึ่ง สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติประเด็นด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ตัวชี้วัดท่ี 3.3 การพัฒนาสังคมและครอบครัวไทย สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพคน ครอบครัว ชุมชนให้มี ความเข้มแข็งและสร้างระบบที่เอื้อต่อการพัฒนาคน และ 2) ประเทศไทยมีคะแนนความสุข (World Happiness Index) เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตรช์ าติด้านความมั่นคง มีเป้าหมายคือ ประชาชนอยูด่ ี กนิ ดี และมคี วามสขุ มีตัวชวี้ ดั คือความสุขของประชากรไทย โดยภาพที่ 9 แสดงความเชอื่ มโยง ระหวา่ ง ตัวช้วี ัด/ค่าเป้าหมาย ของแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติฯ และแผนระดับชาติอ่นื ๆ 2 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข. 2561. แผนยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้าน สาธารณสขุ (พ.ศ. 2560 -2579) ฉบบั ปรับปรุง คร้ังที่ 2. 3 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมสุขภาพจติ . แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2580), น. 13 4 ยุทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) 68
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพท่ี 9 ความเช่ือมโยงระหว่างตวั ชวี้ ดั แผนพัฒนาส 6
รประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ุขภาพจิตแห่งชาติฉบบั ที่ 1 และแผนระดับชาติอ่นื ๆ 69
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 4.3 การวเิ คราะหค์ วามต้องการและความคาดหวงั ของผ้รู บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย สว่ นนี้เปน็ การประเมนิ ในประเด็นทีว่ ่า ในชว่ งก่อนท่จี ะเกิดแผนยุทธศาสตร์นั้น ได้มีการวเิ คราะห์ความ ตอ้ งการและความคาดหวงั ของผูร้ บั บริการและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี หรอื ไม่ อย่างไร 4.3.1 การวเิ คราะห์ความตอ้ งการและความคาดหวังในการจดั ทำแผนสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ในการวิเคราะห์ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสำหรับการจัดทำแผนพัฒนา สขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ มวี ิธกี ารดังตอ่ ไปนี้ 1) การนำข้อมูลเดิมมาวิเคราะห์ มีการนำชดุ ขอ้ มลู เดิมมาวิเคราะห์ ประกอบด้วยข้อมูล 2 ชุดหลัก ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ ชุดที่ 1 เป็นผลการสำรวจความคิดเห็นเก่ยี วกบั ประเด็นจุดแข็ง จดุ ออ่ น โอกาส ความทา้ ทาย (SWOT) ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในอนาคตที่จัดเก็บในช่วงเดือนตุลาคม 2558 จากกลุ่มเป้าหมาย 349 คน (เป็นกระบวนการวิเคราะห์เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต) โดยนำประเด็นจากการสำรวจ SWOT ทม่ี ีคะแนนสูงสุด 5 อนั ดบั แรก ในแต่ละด้าน มาพจิ ารณาได้แก่ - จุดแขง็ (Strengths) ไดแ้ ก่ การพัฒนาบคุ ลากรเช่ียวชาญครอบคลุมทุกกลุ่มวัย มีหน่วยบริการเป็นท่ี ยอมรับของสังคม มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางให้บริการได้ทั้งภาวะปกติและวิกฤต และหน่วยบริการในพื้นที่ จดั บรกิ ารสขุ ภาพจติ และจติ เวช - จุดอ่อน (Weakness) ได้แก่ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพจิตไม่ถูกกำหนดในระดับกระทรวง บุคลากร เปลี่ยนแปลงโยกย้ายบ่อย ศูนย์ข้อมูล (Data center) ของกรมสุขภาพจิตไม่มีประสิทธิภาพ การบริการ สุขภาพจติ ไมท่ ัว่ ถึง ไม่ครอบคลมุ พ้ืนท่ี และ พ.ร.บ.สุขภาพจติ ไม่สามารถบงั คับใชไ้ ด้จรงิ จัง - โอกาส (Opportunity) ได้แก่ การมีนโยบายด้านการบริการสาธารณสุข (Service Plan) เป็นการ เพิ่มโอกาสในการทำงาน สังคมต้องการบคุ ลากรทีใ่ ห้ความรู้ด้านสุขภาพจิต การเพิ่มการเข้าถงึ โดยการผลกั ดัน พ.ร.บ. สุขภาพจิต พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจ และสารสนเทศเอื้อต่อ การบูรณาการงานสุขภาพจิต - ภัยคกุ คาม (Threat) ไดแ้ ก่ ประชาชนขาดความรู้ เขา้ ใจเรือ่ งสุขภาพจติ โรคซมึ เศร้าและอัตราฆ่าตัว ตายมีแนวโน้มสูงขึ้น สังคมเมือง ครอบครัวเดี่ยวเพิ่มขึ้นส่งผลกระทบต่อด้านจิตใจ พฤติกรรม เลียนแบบในยุคสื่อสารไร้พรมแดน และขาดความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นในการพัฒนางาน สุขภาพจติ ชุดที่ 2 เป็นการนำผลการสัมมนาอนาคตศาสตร์กับการวางแผนยุทธศาสตร์สุขภาพจิต เมื่อวันท่ี 18- 19 มกราคม 2559 โดยเป็นการมองอดีตและเชื่อมโยงกับภาพปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป พร้อมทั้งหาปัจจัย สำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง จากนั้นเป็นการสร้างจินตนาการถึงภาพอนาคตที่พึงปรารถนาในงาน สุขภาพจิต (ที่เป็นไปได้) ในระยะ 5 ปี 10 ปี 15 ปี และ 20 ปี ตลอดจนปัจจัยสำคัญที่จะนำไปสู่ภาพฝันใน 70
โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) อนาคตผ่านกระบวนการ (World Café DMH Style) เพื่อเสริมข้อมูล/ความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมสัมมนาให้ ครอบคลุมมากย่ิงขึ้น ซงึ่ เปน็ กระบวนการท่ีเกดิ ขนึ้ ในช่วงทีจ่ ัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมสขุ ภาพจิต 2) การประชมุ มีการประชุมร่วมกบั เครือขา่ ยผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี มีการประชุมใน 3 ช่วงดังต่อไปนี้ ช่วงที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการของคณะทำงานจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจิตแหง่ ชาติ โดยคณะทำงานจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจิตแห่งชาติ 20 ปี เกิดขึ้นภายใต้ คำสั่ง กรมสุขภาพจิต ที่ 27/2560 โดยใช้วิธีการประชุมร่วมกับเครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณ สุข ตลอดจนภาคประชาสังคมต่าง ๆ ประกอบด้วย กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ สำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชนกรม สนับสนุนบริการสุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักสนับสนุน ระบบบริการปฐมภูมิ สปสช. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โรงพยาบาลตุลาการเฉลิมพระเกียรติ สำนักสนับสนุน การควบคุมปจั จัยเสีย่ งทางสุขภาพ (สำนัก๒) สสส. มูลนิธสิ ถาบันพัฒนานิติจิตเวชเดก็ เยาวชนและครอบครวั สมาคมสายใยครอบครัว สมาคมเครือข่ายนักสื่อสารชุมชน และบุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ ของกรม สุขภาพจิต จากการประชุมได้มีการนำเสนอข้อมูล ใน 2 ชุดดังกล่าวข้างต้น จากนั้น กำหนดให้มีการแบ่งกลุ่ม เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการ เป็น 3 กลุ่มตามประเด็น (ร่าง) ยุทธศาสตร์ ดังนี้ กลุ่ม 1 พิจารณาประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพจิตคนไทยตลอดช่วงชีวิต และ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและ การเจ็บป่วยทางจิต กลุ่มที่ 2 ให้พิจารณา ยุทธศาสตร์ที่ 3 ลดผลกระทบจากปัญหาสุขภาพจิตและภาระโรค จากการเจ็บป่วยทางจิต และ กลุ่มท่ี 3 ให้พิจารณาประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักและความ เขา้ ใจตอ่ ปัญหาสุขภาพจิตรวมท้งั ลดอคติต่อผู้มปี ัญหาสขุ ภาพจิต และยุทธศาสตร์ที่ 5 พฒั นาระบบการบริหาร จัดการสุขภาพจติ ผลจากการประชมุ ของคณะทำงานฯ ครั้งท่ี 1/2560 เมื่อวันท่ี 31 มกราคม พ.ศ. 2560 และ ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2560 ทำให้ได้ข้อสรุป เป็น 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 สง่ เสริมและป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชีวิต ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความตระหนักและความเข้าใจต่อปัญหาสุขภาพจิต รวมทั้งลดอคติต่อผู้มีปัญหา สขุ ภาพจิต และ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นากลไกการดำเนินงานด้านสขุ ภาพจติ ชว่ งท่ี 2 การประชุมคณะอนกุ รรมการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตรส์ ุขภาพจติ จากข้อสรุปของคณะทำงานฯ ได้ถูกนำสู่ที่ประชุมคณะอนุกรรมการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์ สขุ ภาพจติ ครง้ั ที่ 1/2560 วนั อังคารที่ 9 พฤษภาคม 2560 เวลา 09.00 – 15.30 น. ณ ห้องประชุมดอนเมือง 2 โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพมหานครเพื่อพิจารณาร่างยุทธศาสตรส์ ุขภาพจิตแห่งชาติ 20 ปี โดยคณะอนุกรรมการฯ ซึ่งประกอบด้วยหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุข และองค์การภาคประชาสังคมต่าง ๆ ได้พิจารณาปรับแก้ร่างยุทธศาสตร์ดังกล่าว ตลอดจนมีการกำหนด แนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติการภายใต้แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ และให้จัดทำเป็นหนังสือเวียน เพือ่ ให้หนว่ ยงานผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย เสนอโครงการเข้ามาเพื่อบรรจใุ นแผนปฏบิ ัตริ าชการ 71
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ช่วงที่ 3 การประชุมเพือ่ รับรองแผนโดยคณะกรรมการสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ในที่ประชุมคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับกระทรวง กรม ต่าง ๆ ได้มีการประชุมและเสนอแนะประเด็นและแนวทางเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการของแผนพัฒนา สุขภาพจิตแห่งชาติในระยะท่ี 1 ขึ้น และเมื่อดำเนินการเสร็จส้ินได้นำร่างแผนฯ เสนอต่อสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รับทราบ โดยไม่ต้องเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เนื่องจากเป็นแผนระดับ 3 ตามแนวทางการเสนอแผนเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี จากนั้นจึงให้ คณะกรรมการสุขภาพจิตแหง่ ชาติรบั รองแผน และนำไปใช้ในช่วงปี พ.ศ. 2563 – 2565 3) การใชห้ นงั สือเวยี น มกี ารจดั ทำหนงั สือเวียนเพ่ือใหห้ น่วยงานผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี รว่ มเสนอโครงการเขา้ บรรจุในแผนพัฒนา สขุ ภาพจติ แห่งชาติ จากการประชุมของคณะอนุกรรมการ ได้มีการปรับรา่ งแผนฯ แลว้ แจ้งเปน็ หนังสือเวียนไป ยงั หนว่ ยงานต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งเพ่อื ให้เสนอโครงการเข้ามาในแผนปฏิบัตกิ าร (Action Plan) ภายใต้แผนพฒั นา สขุ ภาพจิตแห่งชาติ ข้อเสนอแนะ การใช้ข้อมูลเดิมมาทบทวนด้วยกระบวนการที่เร่งรีบ เร่งรัดจนเกินไป อาจนำมาสู่ ความรู้สึกว่าไม่ได้มีส่วนร่วมของผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียในการกำหนดแผน ทำให้แผนออกมาไม่ครอบคลุมประเดน็ ความตอ้ งการและความคาดหวงั ของผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี เทา่ ที่ควร อาจเนื่องด้วยเวลาที่กระชั้นชิดของการจัดทำ แผนจึงเกิดข้อจำกัดในการระดมความคิดเห็นดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ในการจัดทำแผนระยะต่อไปจึงควรที่จะ เพ่มิ กระบวนการในการจัดทำแผนทีเ่ นน้ การมสี ว่ นรว่ มใหม้ ากขึน้ 4.3.2 การวิเคราะห์ความคาดหวังและความต้องการของ แผนปฏิบัติราชการ 5 ปี กรม สขุ ภาพจติ นอกจากการทบทวนสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตที่เกีย่ วข้องในช่วงก่อนการจดั ทำแผนยทุ ธศาสตร์แล้ว กรมสขุ ภาพจิตยงั ไดว้ เิ คราะหค์ วามตอ้ งการและความคาดหวงั ดว้ ย 3 วธิ กี ารได้แก่ 1) การสำรวจความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในหลายภาคส่วน ได้แก่ (1) ผู้บริหารและนักวิชาการจากหน่วยงานในกรมสุขภาพจิต (2) ผู้บริหารและนักวิชาการจากกรม ต่าง ๆ ใน กระทรวงสาธารณสุข (3) นักวิชาการในเขตสุขภาพ ทั้งจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล และ (4) นักวิชาการภายนอก กระทรวงสาธารณสุข ประกอบดว้ ยกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ แกนนำประชาชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ (สปสช.) โดยมีประเด็นในการสำรวจและวิเคราะห์ ทั้ง จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค วิสัยทัศน์ ตลอดจนประเด็นทศิ ทางในการพฒั นางานสุขภาพจติ ในระยะ 5 ปี 2) การจัดสัมมนาเชิงอนาคตศาสตร์ หรือ Future search ซึ่งมี การวิเคราะห์ ปัญหา/อุปสรรค/ ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการดำเนินงานสุขภาพจิตจากอดีตถึงปัจจุบัน ความคาดหวัง ความต้องการใน อนาคตของงานสุขภาพจติ และภาพฝนั ในอนาคตของงานสขุ ภาพจิต 72
โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 3) การทำประชาพจิ ารณ์ร่างแผน ซึ่งมีเครือข่ายผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียมาให้ข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ 3คร้ัง จากนน้ั จึงมาปรับปรุงและเรยี บเรียงเนอ้ื หาเป็นแผนฯ ฉบบั สมบรู ณ์ 4) การปรับแผน แผนยทุ ธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิตถูกจดั ทำขนึ้ และถูกใช้ก่อนที่จะเกิดแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายจึงได้มีการทบทวนปรับแผนใหม่ จากแผนยุทธศาสตร์กรม สุขภาพจิต ซึ่งจะใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เป็น แผนปฏิบตั ิราชการ 5 ปี กรมสุขภาพจิต (2561 – 2565) โดยเป็นวาระที่ใชใ้ นระยะ 3 ปีที่เหลือคือ พ.ศ.2563 - 2565 เพ่อื ใหส้ อดคล้องกับวาระแรกของแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ระยะท่ี 1 (2561-2565) โดยมีเนื้อหา สาระสำคัญทีถ่ ูกปรบั หลัก ๆ ดงั ต่อไปน้ี ก. วิสัยทัศน์ของกรมสุขภาพจิต การปรับวิสัยทัศน์ของกรมสุขภาพจิตเพื่อให้มีความสอดคล้องกับ แนวนโยบายของประเทศได้มีการเพิ่มในส่วนของการนำระบบสุขภาพจิตดิจิทัลเข้ามา และเพิ่มเรื่องความสุข ของเจา้ หน้าท่ี ใหส้ อดคลอ้ งตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ดา้ นสาธารณสุข ตารางท่ี 12 วิสยั ทัศนเ์ ดิมและวสิ ยั ทศั น์ทีป่ รับใหม่ของกรมสุขภาพจติ วิสยั ทศั นเ์ ดมิ วิสัยทศั นใ์ หม่ เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพจิต เพื่อประชาชนมี เปน็ องค์กรหลกั ดา้ นสุขภาพจิต ดว้ ยระบบสขุ ภาพจติ สขุ ภาพจิตดี มคี วามสขุ ดิจิทัล เพื่อประชาชนสุขภาพจิตดี และเจ้าหน้าที่มี ความสุข ข. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเมื่อสิ้นแผน มีทั้งตัวชี้วัดที่คงเดิมและตัวชีว้ ัดที่เปลี่ยนแปลงไปดังต่อไปน้ี ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายที่คงเดิม มี 1 ตัวชี้วัด คือ (1) เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า 100 (2) มี 2 ตัวชี้วัดที่คงเดิมแต่เปลี่ยนค่าเป้าหมาย คือ เด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป ปรับเพ่ิม จากรอ้ ยละ 70 เปน็ ร้อยละ 80 และอัตราการฆา่ ตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.0 เพ่ิมเป็น 6.3 ต่อประชากรแสนคน (3) ตัวชี้วัด ที่ยกเลิกไปคือ ผู้ป่วยด้วยโรคทางจิตเวชที่สำคัญเข้าถึงบริการสุขภาพจิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 (4) ตวั ชีว้ ัดทีเ่ พิม่ เข้ามา มี 2 ตัวชว้ี ัดคือ ร้อยละ 85 ของคนไทยมสี ขุ ภาพจิตดี และบคุ ลากรในสงั กดั กรมสุขภาพจิต มคี ่าเฉลี่ยความสขุ ไม่นอ้ ยกว่า 67 ค. ประเด็นยุทธศาสตร์ ยังคงเดิมคือ 4 ยุทธศาสตร์ มีประเด็นที่ปรับคือ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ปรบั จาก สง่ เสรมิ สุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ประชาชนทกุ กลุ่มวัย เป็น สง่ เสรมิ สุขภาพจิต ป้องกัน และควบคมุ ปจั จยั ทก่ี ่อใหเ้ กดิ ปญั หาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชีวติ ส่วนยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 พฒั นาคุณภาพระบบบริการ และวิชาการสุขภาพจิตและจิตเวช ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความตระหนักและความเข้าใจต่อปัญหาสุขภาพจิต และ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล ส่วนเป้าประสงค์ 73
โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตัวชว้ี ัด และกลยทุ ธ์ ในแผนฉบับใหมม่ ีการทบทวนและปรับคา่ เป้าหมาย ตัวช้ีวัดใหม่ในหลายจดุ แต่โดยรวมยัง ครอบคลุมการทำงานท่ีครบถว้ นตามยุทธศาสตรต์ ามเดิม ตารางท่ี 13 การปรับตัวชว้ี ัดและคา่ เป้าหมายของแผนกรมสขุ ภาพจติ / เดก ทยมรี ะดับสติป าเฉ ่ีย มต่ ่ากวา่ 100 เดก ทยมคี วามฉ าดทางอารม อย่ นเก ปกตขิ น ป รอ้ ย ะ 70 ร้อย ะ 80 อัตราการ ่าตัวตายสาเรจ ตอ่ ประชากรแสนคน มเ่ กิน 6.0 ม่เกนิ 6.3 ผป้ วยด้วย รคทางจิตเวชท่สี าคั เขา้ งบริการสขุ ภาพจิตเพม่ิ ขน ร้อย ะ 20 รอ้ ย ะ 85 ของคน ทยมีสขุ ภาพจติ ดี บุค ากร นสังกดั กรมสขุ ภาพจิตมคี า่ เฉ ่ยี ความสุข ม่นอ้ ยกว่า 67 ขอ้ เสนอ วธิ ีการจดั ทำแผนของแผนปฏิบัติราชการมีความครบถ้วนตามประบวนการของการจัดทำ แผน ทำให้เกิดการยอมรับมากกว่า โดยกระบวนการจัดทำแผนที่แตกต่างกันก็จะส่งผลต่อการยอมรับที่ แตกตา่ งกนั 4.4 การสนบั สนนุ จากเครือข่ายสุขภาพจติ การสนับสนุนของเครือข่ายประกอบด้วยเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกระบบบริการสาธารณสุข ตลอดจนหน่วยงานภาคประชาสังคม เข้ามามีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ รว่ มในการนำเสนอโครงการเข้าบรรจใุ นแผนปฏบิ ตั ิการภายใต้แผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ และรว่ มใหข้ ้อมูล เสนอความคดิ เห็น วเิ คราะห์แผนในชว่ งที่จัดทำแผนยทุ ธศาสตร์กรมสุขภาพจิตซง่ึ ภายหลงั ปรับเป็นแผนปฏิบัติ ราชการ 4.5 จดุ เด่นและจุดท่คี วรพฒั นาของแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ จากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน ตลอดจนผู้มีส่วนได้สวนเสียของแผนพัฒนาสุขภาพจิต แห่งชาตฯิ พบวา่ มจี ดุ เด่น และจดุ ทีค่ วรพัฒนาดังตอ่ ไปนี้ 74
โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 4.5.1 จุดเด่นของแผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ร รแร ร ส ร ง ร ร สุ ภ จ : ในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติมี ความพยายามที่ดีในด้านการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภายนอกกรมสุขภาพจิต ทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้ง หนว่ ยงานระดบั กระทรวงต่าง ๆ ในภาครฐั และหนว่ ยงานภาคเอกชนเข้ามาเสนอความคิดเหน็ ในกระบวนการ จัดทำแผนมีการตั้งคณะกรรมการที่หลากหลายประกอบด้วยผู้ทรวงคุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถเพื่อมา ระดมความคิดเหน็ กัน วางแผนรว่ มกนั มีระดบั ในวเิ คราะหป์ ระเดน็ ทีค่ อ่ นขา้ งมาก และจำนำไปสู่การบรู ณาการ การทำงานท่ีเก่ียวข้องในภาพของระบบราชการระดับนโยบายได้ ซ่งึ จะสง่ ผลดกี วา่ การบรู ณาการได้เพียงระดับ ปฏบิ ัตงิ านเท่านัน้ นอกจากน้นั ยังสามารถขยายมุมมองของงานสุขภาพจิตใหก้ ว้างขน้ึ ได้ ร ร ส ง จ ร ณ์ ง ร ำแผ : เจตนารมณข์ องการจดั ทำแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ที่ต้องการให้เป็นแผนในการดูแลสุขภาพจิตของคนไทย โดยเป็นแผนในระดับประเทศ ผ่านการมีส่วนร่วมของ หลายภาคส่วนทั้งในระดับกระทรวง และระดับกรม ไม่ใช่เป็นแผนของกรมสุขภาพจิตเพียงอย่างเดียว ในภาพ ของเจตนารมณ์นีจ้ ะก่อให้เกดิ การบูรณาการ ขับเคลื่อนแผนงานต่าง ๆ ไปด้วยกัน ซึ่งหากทำได้สมบูรณ์ จะทำ ให้มแี ผนที่ดูแลสุขภาพจติ ของคนไทยไปพร้อมกบั การขับเคลื่อนประชาชนทุกลุ่มวัย ให้พัฒนาไปได้พร้อมๆ กัน ทั้งด้านสติปัญญา การสร้างรายได้ สังคม อารมณ์ การสร้างความสมานฉันท์ ความปรองดอง เป็นต้น ซึ่งจะ สง่ ผลตอ่ ความสขุ ในทส่ี ดุ ร ร ส ร ำ ็ ร แ ง : แผนนี้ได้ขับเคลื่อนให้งานสุขภาพจิตกลายเป็นวาระ แห่งชาติ จะเห็นได้จากการมีรองนายกรัฐมนตรีมาเป็นประธานในการขับเคลื่อนงาน ส่วนผู้บริหารระดับสูงใน กรมสุขภาพจิตเองก็ให้ความสำคัญจึงช่วยขับเคลื่อน ผลักดันให้รัฐบาลยอมรับมาเป็นประธานกรรมการ สุขภาพจิตแห่งชาติถือเป็นความสำเร็จในขั้นเริ่มต้น จึงทำให้เกิดความร่วมมือกับหน่วยงานภาคส่วนอื่นๆ ได้ดี ขึ้นจากการมีส่วนร่วมในหลายภาคส่วนจึงทำให้สามารถขยายการทำงานให้กว้างไกลออกมาในภาพของ ประเทศได้ และขอ้ ดขี องการเป็นวาระแห่งชาติจะทำให้ประสานความเกย่ี วเน่ืองท่สี ง่ ผลต่อปัญหาสุขภาพจิตได้ ทั้งด้านความมั่นคง เศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ ฯลฯ ซึ่งอาศัยผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องจากหลายภาคส่วนที่จะทำให้ไปถึง จุดทต่ี อ้ งการได้ในทา้ ยทส่ี ุด ร ร ส ร บ ุ ง ร ็ ุ ธศ ส ร์: ยุทธศาสตรใ์ นแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ มีความครอบคลมุ ประเด็นสขุ ภาพจิตทั้งในดา้ นสง่ เสรมิ ป้องกนั รกั ษา และฟน้ื ฟู นอกจากนน้ั ยงั ให้ความสำคัญ กบั เรอ่ื งสวัสดิการด้วย 4.5.2 จดุ ท่คี วรพัฒนา ให้มีการปรับกระบวนการจดั ทำแผนในระยะต่อไป โดยจัดให้มีกระบวนการท่ีเครือข่ายผู้มสี ่วนได้ส่วน เสียทั้งภายในและภายนอกระบบบริการสาธารณสุข เข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอประเด็นปัญหาด้าน สุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกับแต่ละหน่วยงาน อันจะนำไปสู่การกำหนดประเดน็ ยทุ ธศาสตรต์ ามความต้องการและ ความคาดหวงั ตลอดจนมตี วั ชว้ี ดั ท่ีรบั ผิดชอบรว่ มกนั ในแต่ละหนว่ ยงาน 75
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 1) การขับเคลอ่ื นแผนสขุ ภาพจติ แห่งชาติตอ้ งมีการดำเนินการในบูรณาการร่วมกันระหวา่ งหน่วยงาน อน่ื ๆ และต้องมีงบประมาณในการสนับสนุนเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายได้สำเร็จ ปัจจุบนั แผนงานและงบประมาณ ยงั แยกตามกระทรวงตา่ ง ๆ ยังขาดงบประมาณท่ีนำแผนงานโครงการมาบูรณาการร่วมกัน เช่น ปัญหาเร่ืองยา เสพตดิ ต้องมีการบรู ณาการร่วมกันในการแก้ไขปัญหา เปน็ ต้น 2) ให้ทบทวนเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ในรายละเอียดอาจยังไม่สอดคล้องตอบเป้าประสงค์มาก นกั ควรมีการพัฒนาใหม้ ีรายละเอียดชดั เจนและสอดคลอ้ งมากกว่าน้ี 3) เสนอใหม้ กี ารปรับปรุงระยะเวลาของแผนเป็นแผนการทำงานระยะส้ันหรือปานกลางให้สอดคล้อง กบั สถานการณ์ และการขบั เคลอื่ นแผนสุขภาพจติ แห่งชาตจิ ากเดิมวางระยะเวลาไว้ 20 ปเี ป็นแผนระยะยาว 4) การรับฟังแนวคิดจากเวทีต่าง ๆ ไม่สามารถแปลงมาเป็นแผนได้ทั้งหมด และการรับฟังความ คิดเห็นกลุม่ เป้าหมายทเี่ กีย่ วข้องบางคร้งั ก็ไมท่ ั่วถึง เพราะผู้เขา้ ร่วมประชมุ จำนวนมาก 5) เสนอแนะให้ทบทวนตัวชี้วัดของแผนสุขภาพจิตแห่งชาติเป็นของกรมสุขภาพจิต ควรปรับปรุง ตัวชี้วัดที่ทำให้ประชาชนไทยมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น และควรดึงตัวชี้วัดของกลุ่มงานของกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องใน การชว่ ยแกป้ ญั หาเดยี วกันเขา้ มารว่ มพิจารณาด้วย 6) เสนอให้ทบทวนแนวทางทำให้คนไทยมีสุขภาพจิตที่ดีจริง ๆ ควรประกอบด้วยปัจจัยอะไรบ้าง ตัวชี้วัดในเชิงคุณภาพชีวิตของเขาคือการปรับพัฒนาชี้วัด Happiness index มันมีหลายมิติ รวมทั้งเรื่อง เศรษฐกิจเข้ามาเก่ียวข้องด้วย 7) เสนอให้มีการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนงาน ควรพิจารณาหน่วยงานที่สนับสนุนการ ดำเนินงานตามแผนพัฒนา เพราะบางแผนงานมเี ครือข่ายเยอะแต่ไม่เหน็ ความชัดเจนในการดำเนินการเพือ่ ให้ นำไปสู่เป้าประสงค์ และแนวทางพัฒนาควรพัฒนากระบวนการที่กระชับและตรวจสอบการทำงานเป็นระยะ มากขนึ้ 8) เสนอให้ทบทวนแผนสุขภาพจิตแห่งชาติในตัวชี้วัดบางตัวที่ตั้งสูงเกินไปในแผนพัฒนาแต่ละระยะ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2565-2575 ควรตั้งให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง การทำงานบางหน่วยงานทำเพื่อให้ สอดคล้องกับตัวชี้วัดเท่านั้น แต่ไม่ได้แก้ไขปัญหาสุขภาพจิตในพื้นที่จริง ๆ ทำเพื่อตอบตัวชี้วัดในเรื่องการ ปฏิบตั งิ าน 9) เสนอให้ปรับเนื้อหาในยุทธศาสตร์ท่ี 1 โดย ‘การส่งเสริม’ ไม่ควรแยกออกจาก ‘ความรอบรู้’ เพราะเป็นเรื่องเดียวกัน โดยยุทธศาสตร์ที่ 1 ควรกล่าวถึงเรื่องการส่งเสริม การป้องกันและรวมถึงการสร้าง ความรอบรู้ 10) เสนอให้ทบทวน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ชื่อของยุทธศาสตร์คือ “การขับเคลื่อน ผลักดัน และมาตรการ ทางกฎหมาย สังคม สวัสดิการ” คำว่า มาตรการทางกฎหมาย สังคมและสวัสดิการ เป็นเรื่องใหญ่มาก แต่ รายละเอียดเนื้อหามีเพียงเรื่องการรักษาผู้ป่วย สิทธิการรักษา ฯ ควรพิจารณาให้ครอบคลุมมากกว่านี้ไม่ใช่ เฉพาะการดแู ลผูป้ ว่ ยแต่ควรรวมถงึ กล่มุ เส่ียงต่อปญั หาสขุ ภาพจติ ดว้ ย 11) แผนสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติยงั ไม่มีความชดั เจนของหนา้ ท่ีและบทบาทในการขับเคล่ือนของแผนฯ แต่ แนวคิดของแผนดีที่ให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพจิตของคนไทยแต่ ควรสร้างความชัดเจนในการขับเคลื่อนแผน 76
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ร่วมกันในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่านี้ เพราะอาจจะทำงานซ้ำซ้อนกันเพราะเราไม่รู้บทบาทร่วมระหว่าง หนว่ ยงานท่ีแกป้ ญั หาเดียวกนั เชน่ ปัญหาครอบครัวอบอนุ่ หรือตัวช้วี ัดต่าง ๆ 12) แผนสุขภาพจิตแห่งชาติ ไม่เกิดการถ่ายทอดจากระดับนโยบายสู่ระดับปฏิบัติมากนักเพราะต่าง คนต่างไม่รู้บทบาทที่ชัดเจน ไม่มีการกำกับติดตามประเมินผลไม่รู้ว่าสุดท้ายแล้วเป้าหมายใหญ่จะได้ตรงกัน หรอื ไม่ 13) การเปลย่ี นแปลงของสังคมดิจทิ ลั ในช่วงโรคระบาด 19 สง่ ผลใหแ้ ผนสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ไม่ทันต่อ สถานการณ์ ควรปรบั ปรุงใหม่เพอื่ รองรับสถานการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ ดงั กลา่ ว 14) เสนอใหไ้ มเ่ นน้ กระบวนการควรมีความยืดหยุน่ ควรเนน้ ผลลัพธ์มากกว่าเพราะแต่ละพ้ืนที่มีบริบท ทีแ่ ตกต่างกัน และในบางพื้นที่ไม่สามารถทำตามกระบวนการไดส้ มบูรณ์ แต่การวดั ในเชิงผลลัพธ์บางพ้ืนท่ีอาจ ทำได้สำเร็จ 15) เสนอใหท้ ำแผนงานร่วมกนั ระหว่างเครือข่ายภายนอกกรมสุขภาพจติ เพ่ือให้เกดิ ผลลัพธ์ที่มีร่วมกัน นำไปสู่การทำงานรว่ มกัน 4.5.3 จุดที่ควรพฒั นา ร รแร ส แ ร บ รจ ำแผ ฒ สุ ภ จ แ ง : จากกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ท่ีใช้ข้อมูลจากกระบวนการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงปี พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นช่วงของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 แม้ว่าจะเป็นข้อมูลจากการวิเคราะห์อนาคตศาสตร์ (Future Search) เพื่อถามความต้องการ และความคาดหวัง ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ อย่างไรก็ตามกระบวนการดังกล่าว ไม่ไดเ้ กดิ ขน้ึ เพ่ือการจดั ทำแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติโดยตรง แมว้ ่าจะมีการแต่งตงั้ คณะอนุกรรมการจัดทำ นโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจิต ที่มาจากหลายภาคส่วนทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุขและมีการ จัดประชมุ ระดมความคดิ เห็นรว่ มกนั แต่เนอื่ งจากเคา้ โครงของแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติที่นำเสนอเป็นตัว แบบตั้งตน้ จากแผนปฏิบัติราชการ 5 ปี ของกรมสุขภาพจิต ขณะที่กระบวนการจดั ทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) มีปัญหาในส่วนของกระบวนการ ซึ่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเสนอโครงการเข้ามาในแผนที่เป็นรูปร่าง ชัดเจนแล้ว ซึ่งบางโครงการก็ไม่สอดรับกับตัวชี้วัดตามเป้าประสงค์ในแต่ละด้าน นอกจากนี้กระบวนการ ดังกล่าวทำให้หน่วยงานนอกสังกัดกรมสุขภาพจิตไม่รู้สึกว่ามีส่วนร่วมรับผิดชอบ (Commitment) ในแผน ดังกลา่ ว เนือ่ งจากไม่ไดม้ ีสว่ นร่วมในการกอ่ ร่างสรา้ งแผนต้งั แต่ต้น ประการทสี่ อง ข้อเสนอแนะต่อประเด็นและเนือ้ หาของยทุ ธศาสตร์: จากเนื้อหายุทธศาสตรท์ ี่ปรากฏในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ พบว่า เป็นยุทธศาสตร์ท่ีเหมือนกบั แผนปฏิบัติราชการ 5 ปี ของกรมสุขภาพจิต แต่ไม่สอดประสานไปตามภารกิจที่จะนำไปสู่ การบรรลุตัวชี้วัด/ ค่าเป้าหมายของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ทำให้เกิดความไม่ชัดเจนว่า หากดำเนินการบรรลุยุทธศาสตร์ แลว้ จะนำไปสกู่ ารบรรลตุ วั ชว้ี ัดใด เนอื่ งจากแตล่ ะยทุ ธศาสตรม์ ีแนวทางการดำเนินงานท่ีกวา้ ง จงึ มีข้อเสนอให้ มีการจำแนกประเด็นยุทธศาสตร์ตามขอบเขตของเนื้อหางานท่ีสอดคล้องไปตามตวั ช้ีวัด อนั จะทำให้หน่วยงาน 77
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถมีส่วนร่วมได้อย่างชัดเจนตามบทบาทความรับผิดชอบร่วมกันในแต่ละหน่วยงาน โดยมขี อ้ เสนอเกีย่ วกบั ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ไว้หลายแนวทาง ดังตอ่ ไปน้ี ก. เสนอใหจ้ ำแนกประเด็นยุทธศาสตรต์ ามตัวชว้ี ดั สำหรับข้อเสนอในการจำแนกประเด็นยทุ ธศาสตร์ตามตัวชีว้ ดั มีข้อดีคือ กระบวนการและแนวทางใน การดำเนินงานในแต่ละยุทธศาสตร์จะมีเป้าหมายและพันธกิจที่ชัดเจน โดยสามารถจำแนกเป็นยุทธศาสตร์ และแนวทางการดำเนินงานตา่ ง ๆ ดังต่อไปน้ี ภาพที่ 10 แสดงความเช่ือมโยงของแครือข่ายตามประเดน็ ยุทธศาสตรด์ ้านเด็ก ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน เป้าหมายของการดำเนินงานยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน จะนำไปสู่การบูรณาการงาน ท้ังหมดท่เี ก่ยี วข้องกับการบรรลตุ ัวชวี้ ดั ท้งั คะแนนสติปญั ญา (IQ) และ ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อันจะเป็น พื้นฐานของการเป็นคนไทยที่มีความสุข ในวันที่เติบโตเป็นผู้ใหญ่ในภายภาคหน้า หรืออาจหมายถึงการเพ่ิม ตวั ช้ีวดั อน่ื ๆ ด้วย เชน่ ความฉลาดทางศลี ธรรม (Moral Quotient: MQ) เร่อื ง IQ และ EQ กรมสขุ ภาพจติ ได้ ถูกมอบหมายจากระดับกระทรวง สธ. โดยกระทรวงมองว่ากรมสุขภาพจิตต้องมีหน้าที่ขับเคลื่อนเรื่องนี้และ บูรณาการงานกับกรมอนามัย โดยงานที่เกี่ยวขอ้ งกับ IQ และ EQ ของกรมสุขภาพจิตคือ เรื่องของการกระตนุ้ พฒั นาการเด็ก โดยเดก็ ที่มพี ฒั นาการลา่ ช้าจะเปน็ กลุ่มเสี่ยงทีจ่ ะมี IQ และ EQ ต่ำไดใ้ นวยั เรยี น ดังนั้นงานของ กรมสุขภาพจิตคือการกระตุ้นพัฒนาการเด็กทั้งกลุ่มเสี่ยพัฒนาการล่าช้า และกลุ่มเด็กพัฒนาการล่าช้าให้ กลับมาสมวยั ขอ้ ดีของการมียทุ ธศาสตรท์ ี่มุ่งประเด็นปัญหาสุขภาพจิตในลกั ษณะนี้ จะทำใหเ้ กิดความชัดเจนใน หน่วยงานท่ีร่วมกันรับผิดชอบร่วมกัน และอาจนำไปสู่การมีความรู้สึกร่วมที่จะผลักดันการบรรลุตัวชี้วัดให้ สำเร็จตามเปา้ หมายได้ ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการเสริมสร้างครอบครวั เข้มแขง็ และอบอนุ่ เป้าหมายของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดนี้มีเป้าหมายสำหรับการบรรลุตัวชี้วัดครอบครัวมีความ เข้มแข็งและอบอุ่น ซึ่งการดำเนินงานอาจเกี่ยวข้องกับแผนงานด้านการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต สามารถเป็น 78
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) พื้นฐานของการส่งเสริมความสุขของประชากรได้ทุกช่วงวัย รวมถึงความสุขของวัยทำงานด้วย ในขณะที่หาก ดำเนนิ งานอย่างมีเข็มม่งุ ในแง่ของการเสริมสร้างความเข้มแข็งใหก้ ับครอบครวั จะนำไปสู่ ปจั จัยท่ีเพ่ิมความสุข (World Happiness Index) ในด้าน ครอบครัว (social support) ข้อดีของการมียุทธศาสตร์ที่มุ่งประเด็น ครอบครัว จะทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถบูรณาการงานกันได้อย่างชัดเจน บนเป้าหมายและพันธกิจ เดยี วกัน ยกตัวอย่างหนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง เช่น - กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ - สมาคมสายใยครอบครัว - สมาคมวางแผนครอบครวั แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภฯ์ (สวท) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ด้านป้องกันการฆา่ ตวั ตาย ประเด็นการป้องกันฆ่าตัวตายถือเป็นประเด็นสำคัญในระดับยุทธศาสตร์ ซึ่งกรมสุขภาพจิตได้ให้ ความสำคัญกับการดำเนินงานในประเด็นนี้ จึงได้มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การป้องกันการฆ่าตัวตาย ระดับชาติขึ้นมา ในขณะเดียวกันก็มีหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักในด้านข้อมูลคือ ศูนย์ป้องกันการฆ่าตัวตาย ระดับชาติ กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข ข้อดีหากนำประเดน็ ยุทธศาสตร์การป้องกันการฆา่ ตวั ตาย มา ผนวกรวมอยู่ในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ และให้ประเด็นการป้องกันการฆ่าตัวตายเป็นยุทธศาสตร์หน่ึง เพื่อตอบสนองต่อตัวชี้วัดอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จโดยเฉพาะ จะก่อให้เกิดการทำงานที่บูรณาการกันโดยมี หน่วยงานอื่น ๆ ซึ่งเป็นระดับชาติมาช่วยรับผิดชอบด้วย ซึ่งหากแยกประเด็นเรื่องการฆ่าตัวตายออกมาเป็น ยุทธศาสตร์หนึ่ง มิติในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายอาจจากกว้างขึ้น จากเดิมที่มองว่างานฆ่าตัวตายอยู่ใน หมวดงานบริการสุขภาพจิต จะสามารถเพิ่มมุมมองต่อการฆ่าตัวตายในมิติการส่งเสริมป้องกันปัญหาไม่ให้คน ทั่วไปคิดฆ่าตัวตายได้ด้วย โดยกรมสุขภาพจิตจะต้องร่วมกับหน่วยงานระดับพื้นที่ โดยเฉพาะการร่วมมือกับ ระดับจังหวัด มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นแกนนำหลักในการขับเคลื่อน น่าจะช่วยให้สมรรถนะของการป้องกัน การฆ่าตัวตายขยายวงกว้างขึ้น นอกจากนั้นข้อดีของการผลักดันให้ยุทธศาสตรก์ ารฆ่าตัวตายเข้ามาอยู่ในแผน ระดับชาติ อาจทำให้ส่วนกลางได้ร่วมรับผิดชอบเป็นผู้ประสานงานและสามารถเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นได้ สะดวกกวา่ และช่วยลดภาระของหน่วยงานในโรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครินทร์ ซึง่ เป็นหนว่ ยงานหลัก ที่รับผดิ ชอบตัวช้วี ัดดา้ นการปอ้ งกนั การฆา่ ตัวตายน้ี ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการเสริมสร้างความสขุ และคณุ ภาพชีวติ ของคนไทย หากมุ่งเน้นไปที่ตัวชี้วัด ความสุขของคนไทย (World happiness index) และร้อยละของอำเภอที่ บูรณาการการดำเนินงานสุขภาพจิตตามมาตรฐานแล้วประชาชนมีความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดี ข้อดีของการ ตงั้ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรน์ ขี้ ึ้นมาจะชว่ ยให้สามารถดำเนินงานได้ตอบสนองในท้งั สองตวั ชวี้ ัด ในลักษณะของงานที่ มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริม ป้องกัน ซึ่งเป็นงานที่กรมสุขภาพจิตทำได้อย่างครอบคลุม และยังสอดคล้องกับ นโยบายของรัฐบาล ซึ่งมีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพนื้ ท่ี ใหม้ ีการแตง่ ตั้ง คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) โดยมีกระทรวงสาธารณสุขติดตามตัวชี้วัดดังกล่าวนี้ 79
โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) อย่างไรก็ตาม ในมิติของคะแนนความสุขของคนไทย ยังต้องอาศัยหน่วยงานในหลายภาคสว่ น ซึ่งต้องแสวงหา ผู้รับผิดชอบ และจัดการภาระงานให้ครบทั้ง 6 ปัจจัยของดัชนีความสุข World happiness index (มูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศ การสนับสนุนทางสังคม อายุขัยเฉลี่ย เสรีภาพในการใช้ชีวิต ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และ ระดับการคอรร์ ัปช่นั ) ข. การจำแนกประเดน็ ยุทธศาสตร์ให้ชดั เจน ตามช่วงวัย อีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยให้การดำเนินงานตามแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติสามารถเชื่อมโยง ประสานการดำเนินงานกับเครือข่ายได้อย่างร้อยเรียงเป็นเนื้อเดียวกับงานอื่น ๆ ด้วย มีผู้เสนอให้จำแนก ยุทธศาสตร์ออกเป็นตามช่วงวัย และให้กำหนดการดำเนินงานเป็นประเด็นสุขภาพจิตที่สำคัญ ตามข้อมูลเชิง ประจกั ษ์ สถานการณท์ เ่ี กิดข้ึนกบั แต่ละชว่ งวัย ยกตัวอยา่ งเชน่ - วยั เดก็ ดูแลปัญหาเรอ่ื ง IQ, EQ, พฒั นาการ, สวัสดกิ าร - วัยเรียน วัยรุ่น ดูแลปัญหาเรื่อง เด็กติดเกม ปัญหาพฤติกรรมและความรุนแรง ปัญหาตั้งครรภ์ไม่ พรอ้ ม ปัญหายาเสพติด - วัยทำงาน ดูแลเร่ือง สุขภาพจิตของคนวัยทำงาน สรุ าและยาเสพตดิ การปอ้ งกนั การฆา่ ตวั ตาย - วยั สูงอายุ ดูแลเรื่อง ความสุข และปอ้ งกันการฆา่ ตัวตาย - ผู้พิการ และผูป้ ่วยดา้ นสุขภาพจิต ดแู ลเรอื่ งสวัสดกิ าร การพทิ ักษส์ ทิ ธ์ิ การเขา้ ถงึ บริการตา่ ง ๆ ค. คงยุทธศาสตรไ์ วใ้ นลกั ษณะเดิมแตป่ รับเปล่ยี นรายละเอียดภายในแผน มีผู้เสนอให้คงยุทธศาสตร์ไว้เหมือนเดมิ แตใ่ ห้ปรบั เปลีย่ นรายละเอียดในแผน ให้มีกลยุทธ์ และตัวช้วี ัด ที่ชัดเจน วิธีการดำเนินงาน เป้าประสงค์ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของตัวชี้วัดในภาพรวมของแผน นอกจากนั้นโครงการตา่ ง ๆ ที่ดำเนินการ ต้องสามารถนำไปสู่การติดตามความก้าวหน้าในการบรรลุตวั ชีว้ ดั ได้ ในลักษณะความสำเร็จเป็นลำดับขั้นไปเรื่อย ๆ โดยต้องสามารถตอบได้ว่าหากดำเนินงานในโครงการใดบ้าง สำเร็จจะนำไปสู่ความก้าวหน้าในการบรรลุในแต่ละตวั ช้ีวัดได้อยา่ งไร 4.6 จดุ เด่นและจดุ ท่ีควรพัฒนาของแผนปฏิบตั ริ าชการ จากการสัมภาษณ์บุคลากรในกรมสุขภาพจิต ทั้งในระดับบริหารและระดับปฏิบัติ พบว่าแผนปฏิบัติ ราชการ 5 ปี กรมสขุ ภาพจิต มจี ุดเดน่ และจุดทคี่ วรพัฒนาดังตอ่ ไปนี้ 4.6.1 จุดเดน่ ของแผนปฏบิ ตั ิราชการกรมสุขภาพจิต 1) กรมสุขภาพจติ มกี ระบวนการมสี ่วนรว่ มของบุคลากรในการทำงานรว่ มกันภายในหนว่ ยงานท่ี เข้มแข็ง 80
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 2) การทำแผนปฏิบัตริ าชการกรมสขุ ภาพจติ ต้องอาศยั การมสี ่วนรว่ มจากหนว่ ยงานภายนอก ซงึ่ ทำ ขบวนการมีสว่ นรว่ มหนว่ ยงานภายนอกโดยการถา่ ยทอดตามระบบไดค้ ่อนขา้ งดี 3) แผนปฏบิ ตั ิราชการกรมสขุ ภาพจติ มกี ารเจาะลึกลงไปในปัญหาทีส่ ำคัญในแตล่ ะกลุม่ วัย เช่น กลมุ่ เดก็ ก่อนวัยเรยี น กลุ่มวยั แรงงาน กลุ่มผู้สงู อายุ เปน็ ต้น 4) แผนปฏิบตั ริ าชการกรมสขุ ภาพจิต ทำไดค้ รอบคลมุ ในเรือ่ งการสง่ เสริมและป้องกันปัญหา สขุ ภาพจติ ก่อนเข้าสู่ระบบบริการ 5) การจัดทำแผนปฏบิ ัติราชการกรมสขุ ภาพจิต มีการทบทวนสถานการณ์ และจัดการประชุมเชิง ปฏิบัติการของเครือข่ายทเ่ี กยี่ วขอ้ งมาชว่ ยกนั ระดมความคิดเห็นร่วมกันอยา่ งครบถว้ น และมกี ารจัดทำประชา พิจารณท์ ั้งภายใน และภายนอกร่วมกัน 6) แผนของกรมสุขภาพจิตมีความสมเหตสุ มผล ทำแลว้ มเี ปา้ หมายทชี่ ดั เจนมีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ลดี 7) แผนปฏบิ ัติราชการกรมสุขภาพจิต มเี นอ้ื หาครอบคลุม และมกี ระบวนการท่ชี ัดเจน และมีการ รวบรวมการดำเนนิ การในอดีตและทบทวนแผนเพื่อนำมาสู่การพฒั นาปรบั ปรุงให้มีความเหมาะสมต่อการ ดำเนนิ การ 4.6.2 จดุ ที่ควรพฒั นา 1) เรื่องงบประมาณ ทโ่ี ดนปรับลดลงเพือ่ ไปแก้ปญั หาการระบาดของโควดิ 19 และบางสว่ นนำไป เปน็ งบประมาณกองกลาง 2) การดำเนนิ การควรนำปัญหา อุปสรรคจากการดำเนนิ การท่ีผา่ นมาในแตล่ ะปี นำมาปรับปรุง แผนปฏิบตั ิราชการกรมสุขภาพจิต และกำหนดกลยทุ ธ์ แนวทางการทำงานใหม่พรอ้ มท้งั มกี ระบวนการตดิ ตาม ผลการดำเนนิ การและหาข้อสรปุ ร่วมกัน 3) การวดั ผลตวั ชว้ี ัดที่ผา่ นมาจากการสำรวจกลมุ่ ประชากรส่วนใหญ่วัดจากกลมุ่ ทไ่ี ด้มีการทำ โครงการส่งเสริมแลว้ ไม่ได้สำรวจกลมุ่ ประชากรท่ีไม่ไดเ้ ขา้ ร่วมโครงการ 4) ตัวชว้ี ดั ของแผนปฏิบตั ิราชการกรมสขุ ภาพจิต ยงั เป็นในลกั ษณะของกระบวนการ และผลผลิตแต่ ยังไม่ไดค้ ำนึงถงึ ผลลัพธ์ หรือ ผลกระทบอยา่ งแท้จรงิ 5) ควรพัฒนาในเร่ืองของ KPI ดัชนชี ว้ี ัดความสำเร็จบางตวั เพราะที่เขยี นบางตัวกผ็ ่านกันหมด เพราะกลมุ่ สว่ นใหญท่ ่ีวดั เปน็ กลมุ่ ทีผ่ า่ นโครงการสง่ เสรมิ มาแลว้ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ตัวแทนของประชากรทงั้ หมด 6) การบรู ณาการรว่ มกนั ในการเช่อื มโยงข้อมลู แผนงานโครงการจากส่วนผูบ้ รหิ ารนโยบายลงมาสู่ ผปู้ ฏบิ ัติงาน ยงั ติดปญั หา เช่น การขอขอ้ มูลในกระทรวงฯ เดียวกนั ยังใหข้ ้อมลู ไมไ่ ด้ หรือการแก้ปัญหาบาง ปญั หาต้องร่วมมือกนั แกป้ ัญหา 7) การเปลีย่ นแปลงในแผนปฏบิ ัตริ าชการกรมสุขภาพจิตท่ผี ่านมามกี ารเปลี่ยนแปลงเลก็ ๆ น้อย ๆ เสนอใหม้ ีการเปลี่ยนแปลงทชี่ ัดเจนมากข้นึ 81
โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) บทท่ี 5 ความสอดคล้องเหมาะสมและความเช่อื มโยงของ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ การวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของเนื้อหาสาระของแผนประกอบด้วย การพิจารณาใน 3 มิติ ได้แก่ 1) ความสอดคล้องเหมาะสม ระหว่างตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายของแผนกับสภาพปัญหาสุขภาพจติ ทีเ่ กดิ ข้นึ ในชว่ งเวลา ของการจัดทำแผน 2) ความสอดคล้องเหมาะสมระหว่างเป้าหมาย เป้าประสงค์ และตัวชี้วัด ที่ปรากฏใน แผนปฏิบัติการ และ 3) ความเชื่อมโยงระหว่างแผนปฏิบัติราชการ 5 ปี กับแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ 4) การวเิ คราะห์ความเชอ่ื มโยงระหว่างตัวชีว้ ัด กับเครือขา่ ยที่เกย่ี วขอ้ ง 5.1 วิสัยทศั น์ของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ จากการสัมภาษณ์ไปยังเครือข่ายผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียพบว่าผู้แสดงความคิดเห็นสว่ นใหญ่คิดว่าวิสัยทัศน์ ของแผนมีความเหมาะสม โดยให้เหตุผลว่า มีการใช้ถ้อยคำที่เป็นผลลัพธ์ (Outcome) ของการดำเนินงาน ท่ี เป็นภาพกว้างระดับประเทศ ซึ่งไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะในงานของกรมสุขภาพจิตเท่านั้น ยังสอดคล้องกับการ ดำเนินงานของหน่วยงานอื่น ๆ ด้วย ยกตัวอย่างเช่น การสร้างเด็กที่มีปัญญา อารมณ์ดี ท่ีต้องอาศัยความ ร่วมมือของกรมอนามัยและกรมกิจการเด็กและเยาวชน และยังเป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่อยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติ นอกจากนน้ั ยังใหเ้ หตผุ ลว่า เป็นวิสัยทัศนท์ ่ีมีความทะเยอทะยาน และความตั้งใจท่ีดี จึงคิด วา่ มีความเหมาะสมและ ท้าทาย โดยมขี ้อคดิ เห็นถึงประเด็นวิสยั ทัศน์แตล่ ะประเด็นดงั ต่อไปนี้ “มีปัญญา” ความคิดเห็นต่อประเด็นมีปัญญา ถูกนิยามในแง่ของตัวชี้วัด ความฉลาดทาง สติปัญญา (IQ) ของเด็กไทย ซึ่งจะหมายถึงการเป็นผู้ใหญ่ที่มีปัญญาในอนาคตของแผน 20 ปี ซึ่งมีผู้กล่าวถึง ประเด็นนี้ว่า “ ้าเราอยากจะพัฒนาประเทศ ห้พัฒนา ปส่ความเป็นประเทศอุตสาหกรรม หม่หรือ ทยแ นด 4.0 ด้ อคิวของคน นชาติตอ้ งมาก่อน” “อารมณด์ ”ี เปน็ ตวั ชี้วัดทก่ี รมสขุ ภาพจิตมีส่วนในการรบั ผิดชอบโดยตรง ซ่งึ ต้องอาศัยการบูร ณาการร่วมกับกรมอนามัย ซึ่งแนวทางที่จะนำไปสู่วิสัยทัศน์อารมณ์ดีได้ ต้องเริ่มจากการเสริมสารอาหาร กระตุน้ พฒั นาการเด็ก ดูแลเด็กใหส้ ามารถเจรญิ เติบโตไดอ้ ย่างสมวยั เพ่อื ใหเ้ ดก็ มี EQ อันจะเป็นเหตุไปสู่ความ เป็นคนเก่งในอนาคต ดงั นน้ั ตวั ชว้ี ดั EQ จะเปน็ ตวั ชีว้ ัดร่วมระหวา่ งกระทรวงต่าง ๆ ทงั้ ในกระทรวงสาธารณสุข เอง และที่ครอบคลุมไปถึง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน เพราะ การเสริมสร้าง EQ ที่ดีได้ ต้องเริ่ม ตง้ั แตก่ ารมีผูป้ กครอง มีเศรษฐานะทีด่ ี “มีความสุข” เป็นผลลัพธ์ที่เหมาะสมต่อการจัดทำแผน เพราะเป้าหมายของการทำงาน ส่งเสริมสุขภาพจิตระดับท้ายที่สุดแล้วก็เพื่อให้คนไทยมีความสุข จึงใช้การวัดความสุขของคนไทยที่เป็น มาตรฐานเดยี วกันกับระดับโลกคอื World happiness index 82
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) “อยใู่ นสังคมอย่างทรงคณุ ค่า” เป็นประเด็นวิสยั ทัศน์ที่คำนึงถึง บุคคลท่มี คี วามเสี่ยงทางด้าน จิตใจ เช่น ผู้สูงอายุ หรือ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ที่งานสุขภาพจิตมีหน้าที่ต้องส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้สึก ของความมีคณุ คา่ การยอมรบั และการให้โอกาสในสังคม จุดทคี่ วรปรับปรงุ ประเดน็ แรกคือ คิดว่า วิสัยทัศน์ มีความเหมาะสมแล้วแต่ควรปรับปรุงในดา้ นวิธีการวัด แนวทาง หรือ เส้นทางการดำเนินงานที่นำมาสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ โดยจะต้องกำหนดข้อบ่งชี้ให้ชัดเจนว่าลักษณะรูปธรรม ใดบา้ ง ทจี่ ะนำไปสู่การบรรลุวสิ ยั ทัศน์ ประเดน็ ท่สี อง คิดวา่ วิสัยทศั นม์ ปี ญั ญาไม่เหมาะสมกับแผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ เน่ืองจากคิดว่า แผนฉบับน้คี วรเนน้ ไปท่ี การพัฒนาอารมณด์ ีและมคี วามสขุ มากกว่า เพราะปญั ญาอาจต้องสร้างดว้ ยการศึกษา ซึ่งจะไม่เกี่ยวกับประเด็นด้านสุขภาพจิต กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ คำว่าปัญญาอาจไกลเกินกว่าคำว่าสุขภาพจิตจะ ครอบคลมุ ได้ ขอ้ สังเกต จากวสิ ัยทัศน์ท่วี า่ คนไทยมปี ญั ญา อารมณ์ดี มีความสุข อยู่ในสังคมอยา่ งทรงคุณค่า จะเห็นได้ว่าเป็น การเขียนวิสัยทัศน์ในภาพกว้าง โดยมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์เน้นไปที่กลุ่ม เด็กทั้งในด้าน มีปัญญา และ อารมณด์ ี ดว้ ยการต้งั คา่ เปา้ หมายและตวั ชี้วัดของแผนอยู่ที่ประเด็น ความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และ ความ ฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อีกกลุ่มยุทธศาสตรห์ นึ่งคือเน้นไปที่กลุ่มครอบครัว ในประเด็น ครอบครัวเข้มแข็งและ อบอุ่น ส่วนประเด็นความสุขและอัตราการฆ่าตัวตายเป็นประเด็นในภาพรวม ขณะที่การบูรณาการงาน สุขภาพจิตระดับอำเภอเป็นภาพของพื้นที่เชิงยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต อย่างไรก็ตาม หาก พิจารณาจากกลุ่มเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ยังขาดกลุ่มเป้าหมายอื่นทำให้เครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เสนอแนะว่า ต้องการให้ประเด็นเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย แม้ว่ากลุ่มครอบครัวจะ ประกอบด้วยบุคคลในหลายช่วงวัย อย่างไรก็ตาม ประเภทของครอบครัวไทยได้เปลี่ยนแปลงไปจากในอดีต เรมิ่ เกดิ ลักษณะของการอยู่คนเดียว หรือมีเพยี งหนง่ึ ชว่ งวัยในครอบครวั นน้ั ๆ 5.2 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง เหมาะสม ของตัวชี้วัด/คา่ เปา้ หมายของแผนพัฒนา สขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ จากตารางที่ 14 เป็นการเปรียบเทียบระหว่างสถานการณ์ปัญหากับตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายที่ปรากฏใน แผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ จะเหน็ ได้วา่ จากสถานการณม์ าสูค่ ่าเป้าหมายมกี ารยกระดบั ของค่าเป้าหมายขึ้น ทุกระยะ อย่างไรก็ตามในเป้าหมายด้านครอบครัวเข้มแข็งอาจจะต้องทบทวนค่าเป้าหมายซึ่งสำนักงาน ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้นำข้อมูลตัวชี้วัดนี้มาจากกรมกิจการสตรีและ สถาบนั ครอบครัว 83
โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางที่ 14 เปรยี บเทียบระหว่างสถานการณ์สุขภาพจิต กบั ค่าเปา้ หมาย สถานการณ์ ตวั ชี้วดั ตามแผนพัฒนา ค่าเป้าหมายในแผน 2570 2575 สขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ 2565 2580 101 103 105 - ใน ปี 2559 คะแนนสติปัญญาเฉล่ียของ คะแนนสติปัญญาเฉลี่ยของ 100 82 84 85 เด็กไทย อยูท่ ่ี 98.2 เด็กไทย 85 90 95 - ใน ปี 2559 ผลการสำรวจพบว่าเด็กมี เด็กมีความฉลาดทางอารมณ์อยู่ 80 ≥0.2 ≥0.3 ≥0.4 ความฉลาดทางอารมณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ ในเกณฑป์ กติ ไม่เกนิ ไม่เกิน ไม่เกนิ 5.6 5.3 5.1 ร้อยละ 77 ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ 55 60 65 - จากการทบทวนสถานการณ์ครอบครัว ครอบครัวมีความเข้มแข็งและ 80 อบอ่นุ ปี 2557 พบวา่ รอ้ ยละ 65.60 ความอบอุ่น - ส่วนใน ปี 2561 ดัชนีความเข้มแข็งของ ครอบครัวในภาพรวมของครอบครัวไทย เท่ากับ 85.04 คะแนน (กรมกิจการสตรี และสถาบันครอบครวั ) - ปี 2560 = 6.424 ประเทศไทยมีคะแนนความสุข ≥0.1 - ปี 2561 = 6.072 (World Happiness Index) เพ่มิ ขนึ้ จากปี 2560 - ในปี 2560 อตั ราการฆ่าตัวตายสำเร็จอยู่ อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ต่อ ไม่เกนิ ที่ 6.03 ตอ่ ประชากรแสนคน ประชากรแสนคน 6.0 - ในปี2558 มีพ้ืนที่เข้าร่วมดำเนินงาน ร้อยละของอำเภอทบ่ี ูรณาการ ร้อยละ เครือข่ายพัฒนาสุขภาพจิตระดับอำเภอ การดำเนนิ งานสุขภาพจิต 50 (DHS) 532 แหง่ ตามมาตรฐานแล้ว ประชาชน - ในปี 2560 มี การจัดตั้งคณะกรรมการ มคี วามสขุ และคณุ ภาพชีวิตท่ีดี พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) 200 แหง่ จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยพบว่ามีข้อเสนอเกี่ยวกับแต่ละประเด็นตัวชี้วัดของ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ดังตารางท่ี 15 ตารางท่ี 15 ความเหมาะสมของตัวชี้วัด/คา่ เป้าหมายของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ตวั ชี้วัด ความคดิ เห็น เหตุผล 1. คะแนน ความเหมาะสมของตัวชวี้ ดั IQ100 กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า ตัวชี้วัด IQ มีความ สติปัญญาเฉลยี่ เหมาะสมที่จะเป็นตัวชี้วัดในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ของเดก็ ไทย (IQ) ดว้ ยเหตุผลดังตอ่ ไปน้ี ไม่ต่ำกว่า 100 ▪ สอดคล้องกบั เป้าหมายยุทธศาสตรช์ าติ ประเทศไทย 4.0 84
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ชี้วัด ความคดิ เห็น เหตผุ ล ▪ เป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาเด็กเป็นตัวแทนตัวชี้วัดที่ ความเหมาะสมของค่า เป้าหมาย IQ 100 เป็นผลลัพธ์ของการส่งเสริมสุขภาพจิตในวัยปฐมภูมิ เรื่อง พฒั นาการ กล่าวคือก่อนจะมี IQ ท่ดี ไี ด้นน้ั ต้องมพี ฒั นาการ ท่ีดกี อ่ น ▪ เป็นตัวชว้ี ัดทค่ี รอบคลุมเครอื ขา่ ยการทำงานหลายภาคส่วน สามารถเป็น ตัวชี้วัดที่หลายหน่วยงานต้องร่วมกัน รับผิดชอบ (Joint KPI) สะท้อนถึงความเป็นแผนใน ระดับชาติ ไม่ได้มีขอบเขตการทำงานเพียงแค่ในกรม สขุ ภาพจิตเท่านนั้ ▪ เป็นตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของแผน ในประการ แรกทว่ี า่ ดว้ ยเรื่องของ คนไทยมีปญั ญา ▪ คิดว่า IQ เป็นพื้นฐานสำคัญที่จะทำให้เกิดสังคมที่มีความ ฉลาดทางอารมณ์ ▪ คิดวา่ เหมาะสมเนอ่ื งจากสามารถมีเครือ่ งมอื วดั ไดช้ ดั เจน ▪ เหมาะสมเนื่องจากเป็นตวั ช้ีวัดที่เกี่ยวข้องกับภาระงานของ เครือข่าย ในส่วนท่ีคิดว่าตวั ชวี้ ัดไมเ่ หมาะสม ได้ใหเ้ หตผุ ลวา่ ▪ ควรจะมองภาพท่ีขยายกว้างกว่าความฉลาดทางสตปิ ัญญา เพราะแผนพัฒนาสุขภาพจิตควรมีจุดเน้นที่ลึกกว่ามิติของ IQ นั่นหมายถึง สมาธิสั้น ด้วย หรือตัวชี้วัดอื่น ๆ ภายใต้ ตวั ชว้ี ดั ในกล่มุ เดก็ ดว้ ย เปน็ ต้น ▪ คิดว่าควรจะรวมตัวชี้วัด IQ กับ EQ เข้าด้วยกันแล้ววัดใน ลักษณะภาพรวมท่เี ปน็ ตัวช้วี ดั ดา้ นสุขภาพจิตเด็กขน้ึ มา ▪ ยังมองความเชื่อมโยงไม่ออกว่าตัวชี้วัดไอคิวสัมพันธ์กับ เรอ่ื งสุขภาพจติ เด็กอยา่ งไร ความคิดเห็นต่อค่าเป้าหมายในแต่ละพื้นที่หรือ ในแต่ละ หน่วยงานมีความแตกตา่ งกนั ▪ บางส่วนคิดว่าค่าเป้าหมายสูงเกินไปพื้นที่บรรลุได้ยาก อีก ทั้งยิ่งในสถานที่ดูแลเด็กด้อยโอกาส เช่น หน่วยงานใน กระทรวง พม. สามารถทำได้ยาก แต่ก็คิดว่าค่าเป้าหมาย สงู มคี วามทา้ ทายดแี ล้ว ▪ ขณะที่บางส่วน คิดว่าค่าเป้าหมายต่ำเกินไปต้องขยับความ ท้าทายเพิ่มขึ้น เป็น 103, 105, และ 108 ในระยะถัดไป อย่างไรก็ตามจุดแข็งของตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายในด้าน IQ คือความชัดเจนในรูปแบบของการวัด ที่มีเครื่องมือวัดได้ อย่างเปน็ มาตรฐานเดียวกัน 85
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ช้ีวัด ความคิดเหน็ เหตุผล 2. เด็กไทยมคี วาม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส่วนใหญ่คิดว่าตัวชี้วัด EQ มีความ ฉลาดทางอารมณ์ เหมาะสมดว้ ยเหตุผลตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี (EQ) เ ป ็ น ป ก ติ ▪ เป็นตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ร้อยละ 80 และสอดคล้องกับวสิ ัยทัศนด์ า้ นอารมณด์ ี ▪ เป็นตัวช้ีวัดทรี่ ว่ มกันระหวา่ งกระทรวงในการรบั ผดิ ชอบได้ ▪ เป็นตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสุขภาพจิตโดยตรง โดยมี กรมสุขภาพจิตรับผิดชอบในการเก็บตัวชี้วัดแต่ ต้องมี หน่วยงานอืน่ ๆ ช่วยในเรอื่ งการส่งเสริม ▪ เป็นตัวชี้วัดที่นำไปสู่ความสุข กล่าวคือ เมื่อเด็กมีความสุข จะส่งผลต่ออารมณ์ จิตใจ พฤติกรรมในด้านอื่นๆ จนเป็น ผใู้ หญ่ท่ีมคี วามสขุ ด้วย ▪ สามารถดำเนินการไปพร้อมกับตัวชี้วัด IQ ได้ในเวลา เดยี วกัน ให้ส่งเสรมิ ค่กู ันทง้ั IQ และ EQ สำหรับข้อเสนอแนะในกลุ่มผู้ที่เห็นว่าตัวชี้วัด EQ ยังไม่ เหมาะสม เสนอว่า ▪ ตวั ช้ีวดั EQ เพียงอย่างเดยี วคดิ วา่ ไม่ครอบคลุม ควรจะควบ รวมทกั ษะชีวิตเยาวชนในทศวรรษท่ี 21 ไปด้วย ▪ ควรเพิ่มเติมในส่วนของตัวชี้วัดความฉลาดทางจริยธรรม (MQ) ด้วย โดยให้มุ่งพัฒนาร่วมกันไปในหลาย ๆ ด้าน สำหรับกลุ่มเดก็ EQ เพียงอยา่ งเดยี วอาจไม่เพียงพอต่อการ ตอบสนองเปา้ หมายของสงั คม ▪ ตัวชี้วัด EQ มีความเป็นนามธรรม ยังมีหลักสูตรในการ ส่งเสริม EQ ค่อนข้างน้อย การใช้ตัวชี้วัดเพื่อคัดกรอง EQ อาจยังไม่ตอบโจทยข์ องการส่งเสรมิ ความฉลาดทางอารมณ์ ▪ อยากให้ตั้งตัวชี้วัดไปที่ผลลัพธ์ของการที่เด็กมี EQ ดี มากกว่า ให้ตอบให้ได้ว่า หากมี EQ ดีจะก่อให้เกิดอะไร แลว้ ใหต้ ัง้ ตวั ชี้วัดไปทตี่ รงนน้ั ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส่วนใหญ่คิดว่าค่าเป้าหมาย EQ มีความ เหมาะสม โดยให้เหตุผลว่า กรมสุขภาพจิตมีการเก็บข้อมูลตาม ตัวชี้วัดน้ี และทางพ้ืนท่ีมีสมรรถนะในการบรรลุไดต้ ามเป้าหมาย สว่ นในกลุ่มผทู้ ี่เห็นว่าไม่เหมาะสม เสนอวา่ ▪ ค่าเป้าหมายต่ำเกินไป ขณะนท้ี ำไดเ้ กนิ เป้าหมายไปมาก ▪ ค่าเป้าหมายที่วัด วัดเฉพาะในกลุ่มที่เติม Intervention แล้วเท่านั้น ไม่ได้วัดภาพรวมทั้งประเทศ คิดว่าหากวัดใน ภาพรวมท้ังประเทศ ร้อยละ 80 อาจทำได้ยากมาก 86
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตัวชี้วดั ความคิดเหน็ เหตผุ ล 3. ครอบครวั มี ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส่วนใหญ่คิดว่าตัวชี้วัดครอบครัวเข้มแข็ง ความเขม้ แขง็ และ และมคี วามอบอนุ่ เปน็ ตัวชีว้ ัดท่ีเหมาะสมโดยให้เหตผุ ลดงั นี้ ความอบอุ่น ▪ รากฐานของคนที่จะใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขก็คือ 4. ความสุขของ ครอบครวั ทเี่ ป็นรากฐานแรกของชวี ิต ประชากรใน ▪ เป็นตัวชี้วัดทีเ่ ปน็ รากฐานของการพัฒนาเด็ก ได้ นั่นคือจะ ประเทศ (World Happiness สง่ ผลไปถงึ ตวั ชว้ี ัดดา้ น IQ และ EQ Index) ▪ เป็นตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของกระทรวง พม. โดยกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวจะเป็น ผู้รับผิดชอบ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าแผนฉบับนี้เป็นแผน ระดบั ชาติ ▪ คุณลักษณะของตัวชี้วัดที่มีความเป็น Join KPI จะเหมาะ แกก่ ารนำมาตั้งเปน็ ตัวช้วี ัดในแผนระดบั ชาติ ตัวชี้วัดมีความเหมาะสมแต่ควรปรับปรุงในรายละเอียดท่ี ปรากฏในแผนดงั ต่อไปนี้ ▪ ควรต้องมีการนิยามและกำหนดตัวชี้วัดในแผนให้ชัดเจน เนื่องจากผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียไม่ทราบวา่ มแี นวทางในการเก็บ ขอ้ มลู ตามตวั ช้ีวดั อยา่ งไร รวมถึงควรชี้ใหเ้ ห็นถึงตัวชี้วัดย่อย ทที่ ำมาสตู่ ัวชีว้ ดั ในภาพรวมของแผนดว้ ย ▪ ส่วนใหญ่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไม่สามารถตอบได้ว่า ตัวชี้วัด ครอบครัวเข้มแข็งมีที่มาอย่างไร ไม่ทราบผู้รับผิดชอบหลัก ไม่ทราบรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง มีเพียงเครือข่ายจากกรม กจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครวั เทา่ นั้นทร่ี ้จู กั ตัวชวี้ ดั น้ี ยังเป็นที่ถกเถียงกันเกี่ยวกับตัวชี้วัดความสุขที่ใช้ (World Happiness Index) มาเป็นตัวชี้วัดในแผนนี้ โดยผู้มีส่วนได้ ส่วนเสยี ในกลุ่มทคี่ ิดวา่ ควรวดั ด้วย WHI ใหเ้ หตผุ ลดงั ตอ่ ไปน้ี ▪ แผนฉบับนี้เป็นแผนระดับชาติ ดังนั้นจึงควรมีตัวชี้วัดที่เป็น ค่ากลางระดับสากลที่สามารถเปรียบเทียบกับนานาชาติได้ อีกทง้ั ยังเปน็ ตวั ช้วี ดั ที่ตอบเป้าหมายของ UN ด้วย ▪ เป็นตัวชี้วัดที่เป็น Join KPI ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจาก หลายภาคส่วน ไม่ใช่เฉพาะเป็นงานของกรมสุขภาพจิต เท่านั้น และยังไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบที่จะดำเนินการ จึงคิดว่าให้ คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ รับผิดชอบ เนื่องจากประกอบด้วยความร่วมมือจากหลาย กระทรวง ▪ เป็นตัวชวี้ ดั ที่ประกอบด้วยหลายองค์ประกอบท่ีทั้งเกี่ยวข้อง และไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นสุขภาพจิต ซึ่งไม่ได้หมายความ 87
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294