Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (61-80) ระยะที่1 (61-65) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (61-65) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (63-65)

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (61-80) ระยะที่1 (61-65) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (61-65) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (63-65)

Description: ฉบับสมบูรณ์ : โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561-2580) ระยะที่1 (พ.ศ. 2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563-2565)

Search

Read the Text Version

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางท่ี 64 การบรรลุประสิทธผิ ลตามตวั ชีว้ ัดของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ยทุ ธศาสตร์ จำนวนตวั ชีว้ ดั จำนวนตัวชวี้ ัด ผลการบรรลุ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ทัง้ หมด ทบ่ี รรลุ (รอ้ ยละ) 1. ส่งเสรมิ และปอ้ งกนั ปัญหาสุขภาพจติ ตลอดช่วงชีวติ 2. พฒั นาระบบบริการสขุ ภาพจิตและจติ เวช 6 5 83.33 3. ขบั เคลื่อนและผลกั ดนั มาตรการทางกฎหมาย สังคม และ 7 3 42.86 สวัสดกิ าร 3 2 66.67 4. พัฒนาวชิ าการและกลไกการดำเนนิ งานดา้ นสุขภาพจติ 5 1 20.00 รวม 21 11 52.38 ดผู ลการดำเนนิ งานในแตล่ ะตัวชีว้ ัดของแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ดังตารางที่ 65 ตารางท่ี 65 การบรรลปุ ระสิทธิผลในแตล่ ะตัวชี้วดั ของแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ตวั ช้วี ัด เปา้ หมาย ผลงานจริง รอ้ ยละ 40 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 รอ้ ยละ 97 (ผลจากการวจิ ยั ประเมนิ ฉบบั น)้ี ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ที่ 1.1.1 ร้อยละของคน รอ้ ยละ 80 ไทยที่มีความตระหนักและเข้าใจเรื่อง ร้อยละ 88 สุขภาพจติ รอ้ ยละ 75 ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 70.12 ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ที่ 1.1.2 ร้อยละของคน ไทยยอมรับและให้โอกาสต่อผู้มีปัญหา รอ้ ยละ 94.73 ของเดก็ วยั เรียนกลมุ่ เส่ียงตอ่ ระดับ สขุ ภาพจติ และจิตเวช สติปัญญาตำ่ กวา่ มาตรฐาน ปญั หาการเรยี นรู้ ออทสิ ตกิ และปญั หาพฤติกรรม อารมณ์ ไดร้ บั การ ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ที่ 1.1.3 ร้อยละของคน ดแู ลช่วยเหลือจนดขี ้ึน ไทยไดร้ บั การพัฒนาทกั ษะชีวิตตามช่วงวยั ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ท่ี 1.2.1 ร้อยละของเด็กท่ี มคี ะแนน IQ ต่ำกว่า 100 ได้รบั การพฒั นา 209

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงานจริง ร้อยละ 70 ร้อยละ 87.74 ร้อยละของผ้สู ูงอายุที่มปี ัญหา ตวั ชว้ี ดั เป้าประสงคท์ ี่ 1.2.2 รอ้ ยละของ สุขภาพจติ ไดร้ บั การดูแลทางสังคม จติ ใจ ผสู้ ูงอายทุ ี่มารบั บริการในคลนิ กิ ผสู้ ูงอายุ/ ร้อยละ 85 คลนิ กิ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เร้ือรัง ไดร้ บั การคัดกรอง ไมม่ รี ายงานผลการดำเนนิ งาน ภาวะซึมเศร้า ตามเปา้ หมาย รอ้ ยละ 15 บรรลุ ตวั ชี้วัดเป้าประสงคท์ ี่ 1.2.3 ร้อยละของคน ร้อยละ 15 รอ้ ยละ 46.72 ไทยอายุ 15 ปีขนึ้ ไปที่มีความสุขเท่ากบั หรือ ร้อยละ 70 ร้อยละ 32.36 สงู กว่าคา่ เฉลยี่ ร้อยละ 74 รอ้ ยละ 83.54 รอ้ ยละ 2 รอ้ ยละ102.23 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ไม่มรี ายงานผลการดำเนนิ งาน ตวั ชวี้ ดั เป้าประสงค์ที่ 2.1.1 อัตราการเขา้ ถึง ร้อยละ 50 บริการของโรคทสี่ ำคัญทางจติ เวช รอ้ ยละ 64.3 รอ้ ยละ 96 - โรคออทิสตกิ (Autistic) ร้อยละ 99.12 รอ้ ยละ 94 - โรคสมาธสิ นั้ (ADHD) ยกเลกิ ตวั ช้ีวดั รอ้ ยละ 70 - โรคซึมเศรา้ (Depressive disorder) ไม่มรี ายงานผลการดำเนนิ งาน - โรคจิตเภท (Schizophrenia) ตัวชี้วัดเปา้ ประสงค์ท่ี 2.1.2 ชว่ งเวลาของ อาการโรคจิตเภทท่ไี มไ่ ดร้ ับการรกั ษา (Duration of Untreated Psychosis: DUP) ลดลงจากปเี รมิ่ ต้นแผน ตวั ชวี้ ดั เปา้ ประสงคท์ ่ี 2.1.3 ร้อยละของศนู ย์ แพทย์เวชศาสตรค์ รอบครวั (Primary Care Cluster : PCC) ในชุมชนมรี ะบบในการดูแล สขุ ภาพจิตและจติ เวช ตวั ช้ีวัดเป้าประสงคท์ ่ี 2.1.4 ร้อยละของผูป้ ว่ ย จติ เวชทีม่ คี วามเสี่ยงสงู ต่อการก่อความรนุ แรง ไม่กอ่ ความรุนแรงซ้ำ ภายใน 1 ปี ตัวชวี้ ดั เป้าประสงค์ท่ี 2.2.1 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ย จิตเวชยาเสพตดิ ทีห่ ยุดเสพตอ่ เนอ่ื ง 3 เดอื น หลังจำหน่ายจากการบำบดั รักษา ตวั ชว้ี ดั เปา้ ประสงค์ที่ 2.2.2 ร้อยละของผ้ปู ว่ ย จติ เวชที่รบั การรักษาแบบผปู้ ่วยในมอี าการ ทางจิตหายทเุ ลา 210

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ช้ีวดั เปา้ หมาย ผลงานจริง ร้อยละ 40 ไมไ่ ด้ดำเนินโครงการ (ไมไ่ ดร้ บั งบประมาณ) ตวั ช้วี ดั เปา้ ประสงคท์ ่ี 2.2.3 รอ้ ยละของผู้ปว่ ย โรคทีส่ ำคญั ทางจติ เวชท่ีไดร้ บั การบำบัดรักษา ร้อยละ 85 ร้อยละ 87.62 แลว้ มคี ุณภาพชีวติ ท่ีดีขึ้น รอ้ ยละ 70 ไม่มรี ายงานผลการดำเนินงาน ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ร้อยละ 50 ร้อยละ 70.25 ตวั ชี้วัดเปา้ ประสงคท์ ่ี 3.1.1 รอ้ ยละของผู้ปว่ ย จิตเวชท่ไี ดร้ บั การดแู ลตาม พ.ร.บ. สขุ ภาพจิต มากกวา่ หรือ ไม่มรี ายงานผลการดำเนินงาน ไดร้ บั การตดิ ตามอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เท่ากบั 3.5 ร้อยละ 92.39 ตัวชว้ี ดั เปา้ ประสงค์ที่ 3.1.2 ร้อยละของผู้ป่วย ร้อยละ 45 จติ เวชในชุมชนท่ีไดร้ ับการดแู ลจาก ผู้รบั ดแู ล ไม่มีข้อมลู ในสว่ นของสัดสว่ นบุคลากรสายงานหลัก ผู้ปว่ ยจิตเวช (Caregiver) อยา่ งถกู ตอ้ งและมี ตามเป้าหมาย ดา้ นสุขภาพจิตตอ่ ประชากรแสนคนมแี ตโ่ ครงการ มาตรฐาน พฒั นาบคุ ลากรอย่างตอ่ เนอื่ ง (Continuous 20 เรอ่ื ง Training) ตัวชว้ี ดั เป้าประสงคท์ ่ี 3.1.3 รอ้ ยละของสถาน บริการท่ไี ดข้ ้นึ ทะเบยี นเปน็ สถานบำบัดรกั ษา 7 เรื่อง ตาม พ.ร.บ.สขุ ภาพจติ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ตวั ชี้วัดเป้าประสงคท์ ี่ 4.1.1 รอ้ ยละค่าใช้จา่ ย ด้านสขุ ภาพจิต ตอ่ ค่าใชจ้ า่ ยด้านสขุ ภาพ (Proportion of Mental Health Expenditure per Health Expenditure) ตวั ชี้วัดเป้าประสงค์ท่ี 4.1.2 รอ้ ยละของหน่วย บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพจติ ทีม่ ผี ลการประเมิน ระดับคณุ ธรรม และความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานผ่านเกณฑ์ ตวั ชี้วดั เปา้ ประสงคท์ ่ี 4.1.3 สดั สว่ นบุคลากร สายงานหลักด้านสุขภาพจติ ต่อประชากรแสน คน - จติ แพทย์ทั่วไป 1.0 - พยาบาลจติ เวช 7.5 - นักจติ วิทยาคลนิ ิก 0.8 - นักสังคมสงเคราะห์ 1.0 - นักกจิ กรรมบำบดั 1.0 ตวั ชีว้ ัดเปา้ ประสงค์ท่ี 4.2.1 จำนวน นวตั กรรม/องค์ความร้ทู ีส่ ามารถปอ้ งกันแก้ไข 211

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ชวี้ ัด เปา้ หมาย ผลงานจรงิ 25 เรื่อง 2 เร่อื ง ปัญหาสุขภาพจิตและจติ เวชของประเทศ (เป้าหมายสะสม) ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ท่ี 4.2.2 จำนวนประเด็น ความรู้ท่ีใชเ้ ป็นแหล่งอา้ งอิงในระบบ สารสนเทศสขุ ภาพจิต (เป้าหมายสะสม) 2) แผนปฏิบตั ริ าชการกรมสขุ ภาพจิต จากตารางที่ 66 จะเห็นรายละเอียดของผลการดำเนินงานตามตัวชวี้ ัดในแตล่ ะเปา้ ประสงค์ ของแผนปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิต จำแนกตามยุทธศาสตร์ พบว่า ยุทธศาสตร์ที่ 4 มี ประสิทธิผลในการบรรลุตัวชี้วัดสูง คือ จากทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด บรรลุตัวชี้วัด 9 ตัวชี้วัด คิดเป็น รอ้ ยละ 90 รองลงมาคือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 บรรลุ 14 ตวั ช้วี ัด จาก 18 ตัวชวี้ ัด คดิ เป็นร้อยละ 77.78 และยุทธศาสตร์ที่ 2 บรรลุ 16 ตัวชี้วัดจาก 21 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 76.19 ถือว่า บรรลุ ประสทิ ธผิ ล ค่อนข้างสงู ส่วนยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 บรรลตุ ัวช้ีวัดในระดับปานกลาง โดยบรรลุ 2 ตัวช้ีวัด จาก 3 ตัวช้วี ัด คิดเป็นร้อยละ 66.67 ตารางท่ี 66 การบรรลตุ วั ชี้วัดจำแนกตามประเดน็ เป้าประสงค์ของแผนปฏิบตั ริ าชการ แผนปฏิบตั ริ าชการกรมสขุ ภาพจติ 18 14 77.78 21 16 76.19 1. ส่งเสรมิ สุขภาพจติ ปอ้ งกนั และควบคุมปจั จัยทีก่ อ่ ให้เกดิ 3 2 66.67 ปัญหาสุขภาพจิตตลอดช่วงชวี ิต 10 9 90.00 2. พฒั นาคุณภาพระบบบริการและวชิ าการสุขภาพจิตและจติ 52 41 78.84 เวช 3. สรา้ งความตระหนักและความเข้าใจตอ่ ปญั หาสุขภาพจติ 4. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและมี ธรรมาภบิ าล รวม สรุปผลการดำเนนิ งานในแต่ละตวั ช้วี ัดตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ของแผนปฏบิ ัตริ าชการดังตารางท่ี 67 212

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางท่ี 67 ผลการดำเนินงานตามตัวชว้ี ดั ตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนปฏบิ ตั ิราชการ ช่ือตัวชีว้ ดั เปา้ หมาย ผลงานจรงิ (ปี 2565) (ปี 2563-2564) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 รอ้ ยละ 35 เขตสุขภาพที่ 1-12 รอ้ ยละ 33.02 ตวั ชี้วดั ที่ 6 รอ้ ยละของเด็กปฐมวยั ทไี่ ดร้ บั การ เขตสขุ ภาพท่ี 13 ร้อยละ 53.85 คดั กรองแลว้ พบว่ามีพัฒนาการลา่ ช้าแล้ว รอ้ ยละ 90 ได้รับการกระตนุ้ พฒั นาการดว้ ย TEDA4I หรอื รอ้ ยละ 94.73 เคร่ืองมือมาตรฐานอืน่ จนมพี ฒั นาการสมวัย ร้อยละ 80 (ปี 2564) รอ้ ยละ 93.75 ตัวชว้ี ัดท่ี 7 ร้อยละของเด็กวัยเรียนกลุ่มเส่ยี ง รอ้ ยละ 85 ตอ่ ระดับสติปญั ญาตำ่ กว่ามาตรฐาน ปญั หา รอ้ ยละ 85 85.49 การเรยี นรู้ ออทิสติกและปญั หาพฤติกรรม - รอ้ ยละ 85 ยกเลิกตัวช้วี ัด อารมณ์ ไดร้ ับการดูแลช่วยเหลือจนดขี ึ้น ร้อยละ 99.16 รอ้ ยละ 70 ตวั ชีว้ ดั ท่ี 8 รอ้ ยละของวัยรนุ่ กลมุ่ เส่ยี งท่ีมี (ปี 2564) เขตสขุ ภาพที่ 1-12 รอ้ ยละ 70.12 ปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ได้รบั การดูแล เขตสขุ ภาพท่ี 13 รอ้ ยละ 37.16 ช่วยเหลือจนดขี ึ้น ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 92.94 ตวั ชี้วัดที่ 9 รอ้ ยละของประชาชนวยั ทำงานที่ มีสุขภาพจติ ดี ตัวชี้วดั ท่ี 10 รอ้ ยละของผูส้ ูงอายมุ สี ุขภาพจติ ดี ตวั ชว้ี ดั ท่ี 11 ร้อยละของเดก็ ปฐมวัยกลมุ่ เสย่ี ง (Birth Asphyxia : BA, Low Birth Weight : LBW และแมว่ ัยร่นุ ) ทไ่ี ดร้ บั การคดั กรองแลว้ พบวา่ สงสัยลา่ ช้าแล้วไดร้ บั การกระตุ้นจนมี พัฒนาการสมวัย ตวั ชว้ี ดั ท่ี 12 ร้อยละของเดก็ ปฐมวยั ที่ไดร้ ับ การคัดกรองแลว้ พบวา่ มีพฒั นาการลา่ ช้าแล้ว ได้รบั การกระตนุ้ พัฒนาการดว้ ย TEDA4I หรือ เครอ่ื งมือมาตรฐานอน่ื ตวั ชีว้ ดั ท่ี 13 ร้อยละของเด็กวัยเรยี นกลมุ่ เสย่ี ง ต่อระดบั สติปญั ญาตำ่ กวา่ มาตรฐาน ปญั หา การเรยี นรอู้ อทิสตกิ และปญั หาพฤตกิ รรม - อารมณ์ ไดร้ บั การดแู ลชว่ ยเหลอื 213

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ชอื่ ตัวชวี้ ัด เปา้ หมาย ผลงานจรงิ (ปี 2565) (ปี 2563-2564) ตัวชีว้ ัดท่ี 14 รอ้ ยละเด็กและเยาวชนในอำเภอ ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 91.36 ต้นแบบมที ักษะชวี ิตอยู่ในเกณฑด์ ี รอ้ ยละ 80 ร้อยละ 87.74 ร้อยละ 85 ตวั ชี้วดั ที่ 15 ร้อยละเด็กและเยาวชนทม่ี ีความ 85.49 เส่ียงตอ่ การเป็นผู้กลัน่ แกล้งรงั แกในโรงเรียนคู่ รอ้ ยละ 45 เครือข่ายได้รับการดูแลชว่ ยเหลอื จนดีขนึ้ 45.58 ร้อยละ 60 ตวั ช้ีวัดท่ี 16 ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 87.74 ได้รบั การสง่ เสรมิ สุขภาพจติ และปอ้ งกนั รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100 ปญั หาสุขภาพจิต ผา่ นโปรแกรมสร้างสขุ วัย ร้อยละ 100 รอ้ ยละ 100 ทำงานในชุมชนและสถานประกอบการมี รอ้ ยละ 100 ความสขุ ตามเกณฑ์ ร้อยละ 60 รอ้ ยละ 74.72 ตวั ชี้วัดที่ 17 ร้อยละของอำเภอท่มี กี ารจดั โปรแกรมสร้างสขุ วัยทำงานในชมุ ชนและ สถานประกอบการ ในเขตสขุ ภาพ ตวั ชี้วัดที่ 18 ร้อยละของผสู้ ูงอายทุ ม่ี ปี ัญหา สขุ ภาพจติ ไดร้ ับการดแู ลทางสงั คมจิตใจ ตวั ชวี้ ดั ท่ี 19 รอ้ ยละของอำเภอที่มกี ารบูรณา การงานสขุ ภาพจติ เขา้ กบั คณะกรรมการ พฒั นาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตัวช้วี ดั ท่ี 20 ร้อยละของหน่วยบรกิ ารสขุ ภาพ ปฐมภมู ิมกี ารจดั บริการสุขภาพจติ ที่มคี ุณภาพ ตวั ช้ีวดั ที่ 21 ร้อยละของอำเภอท่มี ตี ำบล จัดการสขุ ภาพมกี ารดแู ล เฝา้ ระวงั และบรู ณา การการดำเนนิ งานสุขภาพจิตตามประเดน็ สขุ ภาพทส่ี ำคญั ของกลุ่มวัยรว่ มกบั ภาคี เครอื ข่ายอยา่ งตอ่ เน่ือง ตัวช้วี ัดท่ี 22 รอ้ ยละของพ้ืนที่ทมี่ ีการ จัดบรกิ ารสง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ และปอ้ งกนั ปญั หาสขุ ภาพจติ ตามเกณฑม์ าตรฐานที่ กำหนดในเขตสขุ ภาพ - ระดบั ตำบล 214

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ชอื่ ตวั ช้วี ัด เปา้ หมาย ผลงานจรงิ (ปี 2565) (ปี 2563-2564) - ระดับอำเภอ ร้อยละ 45 ร้อยละ 83.59 2 เร่ือง ตัวชี้วัดท่ี 23 จำนวนข้อเสนอเชิงนโยบายด้าน (ปี 2564) 2 เรอ่ื ง สุขภาพจิตที่สามารถผลักดันให้เป็นนโยบาย สาธารณะในพนื้ ท่ี ร้อยละ 85 101.63 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ร้อยละ 74 ร้อยละ 83.54 ตัวชี้วัดที่ 24 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึง บริการสุขภาพจิตทไี่ ด้มาตรฐาน (โรคจติ เภท : รอ้ ยละ 55 46.72 Schizophrenia) (ปี 2564) ร้อยละ 30 32.36 ตัวชี้วัดท่ี 25 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึง บริการสุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน (โรคซึมเศรา้ รอ้ ยละ 70 รอ้ ยละ 91.12 : Depression) ร้อยละ 60 ร้อยละ 88.80 ตัวชี้วัดท่ี 26 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึง รอ้ ยละ 95 97.65 บรกิ ารสุขภาพจิตทไ่ี ด้มาตรฐาน (โรคออทสิ ตกิ รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 99.14 : Autistic Spectrum Disorder : ASD) ร้อยละ 90 ร้อยละ 98.42 ตัวชี้วัดที่ 27 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึง บรกิ ารสขุ ภาพจิตท่ไี ด้มาตรฐาน (โรคสมาธิสั้น : Attention Deficit Hyperactive Disorder : ADHD) ตัวชี้วัดท่ี 28 ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเภท ได้รบั การรักษาตอ่ เน่อื งภายใน 6 เดือน ตัวชี้วัดที่ 29 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชยาเสพ ติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ของแต่ละระบบ และได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate) ตัวชี้วัดที่ 30 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตาย ไมก่ ลับมาทำรา้ ยตวั เองซำ้ ในระยะเวลา 1 ปี ตัวชี้วัดท่ี 31 ร้อยละของผูป้ ระสบภาวะวกิ ฤต ที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการเยียวยาจิตใจ ตามมาตรฐานกรมสขุ ภาพจติ ตัวชี้วัดที่ 32 ร้อยละของสถานบริการทุก ระดับในกระทรวงสาธารณสุขสามารถดูแล 215

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ช่ือตวั ช้ีวัด เปา้ หมาย ผลงานจริง (ปี 2565) (ปี 2563-2564) ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน (Acute care) ได้ตาม มาตรฐาน รอ้ ยละ 70 รอ้ ยละ 65.52 รอ้ ยละ 35 ร้อยละ 47.18 ตัวชี้วัดที่ 33 ร้อยละของสถานบริการทุก ร้อยละ 50 ร้อยละ 64.30 ระดับในกระทรวงสาธารณสุข มีบริการ สุขภาพจิตและจิตเวชที่มี คุณภาพมาตรฐาน รอ้ ยละ 70 ร้อยละ 70.25 ในระดบั 1 ทุกด้าน (ปี 2564) 87.62 - รพศ./รพท. (A และ S ไม่รวม M1) รอ้ ยละ 70 - รพช. (M1-F3) 96.97 ร้อยละ 94 ไม่ได้รบั งบประมาณในการดำเนินงาน ตัวชี้วัดท่ี 34 ร้อยละของศูนย์แพทย์เวช ร้อยละ 70 ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ ค ร อ บ ค ร ั ว ( Primary Care ร้อยละ 95 ไม่ได้รบั งบประมาณ Cluster : PCC) ในชุมชนมีระบบการดูแล 19 แห่ง 20 แห่ง สุขภาพจิตและจติ เวช ตัวชี้วัดที่ 35 ร้อยละของสถานบริการที่ได้ขน้ึ ทะเบียนเป็นสถานบำบัดรักษาตาม พระราชบญั ญตั ิสขุ ภาพจิต ตัวชว้ี ัดที่ 36 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชท่ีเข้ารบั การบำบัดรักษา และจำหน่ายตาม พระราชบญั ญตั สิ ุขภาพจติ ไดร้ ับการตดิ ตาม ต่อเน่อื งครบ 1 ปี ตวั ชว้ี ัดท่ี 37 ร้อยละคนพกิ ารทางจิตใจหรอื พฤตกิ รรม ได้รับการดแู ลฟน้ื ฟูจนมีคณุ ภาพ ชวี ติ ทีด่ ขี ้ึน ตวั ชว้ี ัดท่ี 38 รอ้ ยละของหนว่ ยบรกิ ารในสงั กดั กรมสขุ ภาพจติ มรี ะบบสนบั สนนุ อาชีพสำหรบั บุคคลบกพร่องทางสติปญั ญาและออทิสตกิ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 39 รอ้ ยละของบคุ คลบกพร่องทาง สติปญั ญาและออทสิ ติกทผ่ี า่ นระบบเตรียม ความพรอ้ มไดร้ บั การจ้างงาน ตวั ชี้วดั ที่ 40 จำนวนหนว่ ยบรกิ ารจติ เวช มี บรกิ ารเฉพาะทางสขุ ภาพจติ และจติ เวช (Super Specialist Service) ท่มี ีคณุ ภาพ มาตรฐาน 216

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ชอ่ื ตัวชีว้ ดั เปา้ หมาย ผลงานจริง (ปี 2565) (ปี 2563-2564) ตัวชวี้ ดั ที่ 41 จำนวนหนว่ ยบรกิ ารจิตเวชท่ี 20 แห่ง 20 แหง่ พฒั นาไปสู่การเปน็ Smart Hospital รอ้ ยละ 88.83 ตวั ชว้ี ัดท่ี 42 รอ้ ยละของผ้ปู ว่ ยทเี่ ข้ารับบรกิ าร รอ้ ยละ 75 99.20 จติ เวชเฉพาะทางมกี ารเปลย่ี นแปลงที่ดีข้นึ 3 เร่อื ง ตัวชว้ี ดั ที่ 43 รอ้ ยละของผู้ปว่ ยจติ เวชทมี่ ี รอ้ ยละ 96 ความเสยี่ งสูงต่อการกอ่ ความรนุ แรง (SMI-V) ไมไ่ ด้มีการวดั ผล เนือ่ งจากกำหนดวัดผล ปี 2565 ทไ่ี ด้รบั การตดิ ตามเฝ้าระวงั จากหนว่ ยบริการ จิตเวชในสงั กัดกรมสุขภาพจิตและเครอื ข่ายใน 74.80 เขตสุขภาพไมก่ อ่ ความรุนแรงซ้ำ ภายใน 1 ปี ร้อยละ 99.38 รอ้ ยละ 88 ตวั ชีว้ ัดที่ 44 จำนวนเร่อื ง/ประเดน็ /นวตั กรรม 3 เรื่อง/ประเดน็ / ดา้ นสขุ ภาพจติ ท่ีไดร้ ับการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ นวตั กรรม 92.39 คะแนน และถา่ ยทอดวชิ าการร่วมกบั เครอื ข่าย รอ้ ยละ 100 สขุ ภาพจติ ระดับประเทศ หรอื ระดบั นานาชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ร้อยละ 45 ตัวชี้วดั ที่ 45 รอ้ ยละของประชาชนท่มี คี วาม ตระหนกั และเขา้ ใจต่อปัญหาสขุ ภาพจิต ตัวชว้ี ดั ที่ 46 รอ้ ยละของประชาชนมีความ รอ้ ยละ 59 รอบรดู้ ้านสุขภาพจติ และมพี ฤติกรรม รอ้ ยละ 69 สุขภาพจิตที่พึงประสงค์ - ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพจติ - พฤติกรรมสขุ ภาพจิตท่พี ึงประสงค์ ตวั ช้วี ัดที่ 47 ร้อยละของประชาชน ร้อยละ 85 กลมุ่ เปา้ หมายยอมรบั และใหโ้ อกาสตอ่ ผ้ทู ี่อยู่ กับปัญหาสุขภาพจติ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 90 คะแนน ตวั ชว้ี ดั ที่ 48 ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ธรรม และความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของกรม สขุ ภาพจติ ตัวชว้ี ดั ที่ 49 รอ้ ยละของหนว่ ยงานในสังกัด รอ้ ยละ 90 กรมสขุ ภาพจติ มีการดำเนินงานตาม แผนพฒั นาดิจิทัลกรมสขุ ภาพจติ 217

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ชอื่ ตัวช้วี ัด เป้าหมาย ผลงานจริง (ปี 2565) (ปี 2563-2564) ตวั ช้วี ัดท่ี 50 รอ้ ยละหนว่ ยงานในสงั กัดกรม รอ้ ยละ 90 สุขภาพจติ มีชดุ ขอ้ มูลมาตรฐานแลกเปลี่ยนกัน รอ้ ยละ 100 ได้อยา่ งไรร้ อยตอ่ รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 100 ตวั ช้วี ดั ที่ 51 รอ้ ยละของบุคลากรในสังกัดกรม รอ้ ยละ 95 97.59 สุขภาพจิตได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ และ ทักษะ ด้านการใช้ข้อมูล สื่อ และเทคโนโลยี รอ้ ยละ 95 รอ้ ย 100 ดิจทิ ลั รางวัลดเี ดน่ ไม่ไดด้ ำเนินการ รางวัล PMQA 4.0 ระดบั กา้ วหน้า ตัวชว้ี ดั ท่ี 52 ร้อยละของบุคลากรในสังกดั กรม ระดับพัฒนาจน 93.30 คะแนน สุขภาพจิตได้รับการพัฒนาทักษะและ เกดิ ผล สมรรถนะในหลักสูตรที่จำเป็นในการ 100 ปฏบิ ตั งิ านในแต่ละระดับ 90 คะแนน (ปี 2564) ตัวชี้วัดที่ 53 ร้อยละของหน่วยงานที่เป็น องคก์ รแหง่ ความสขุ รอ้ ยละ 90 ตัวชี้วัดที่ 54 กรมสุขภาพจิตผ่านการประเมนิ ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) ตัวชี้วัดท่ี 55 กรมสุขภาพจิตผ่านการประเมนิ สถานะ การเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ตัวชี้วัดท่ี 56 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัด กรมสุขภาพจิตผ่านเกณฑ์ค่าคะแนนตาม เกณฑก์ ารประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรม สขุ ภาพจติ (ITA) ในระดับ 5 ตัวชี้วัดท่ี 57 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัด กรมสุขภาพจิต (หน่วยเบิกจ่าย) มีการ ดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการ ปฏบิ ตั งิ านด้านบัญชีของสว่ นราชการ 218

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 8.3.2 ผลการประเมินความค้มุ คา่ ของโครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์ การประเมนิ ผลโครงการโดยใช้การประเมินความคุ้มค่าทางสังคม แบบอตั วสิ ัยรว่ มของผู้ที่เกี่ยวข้องใน 4 ประเด็น ได้แก่ ความสำเร็จของโครงการ ความคุ้มค่าของโครงการและ โครงการที่ควรปรับปรุง และ โครงการที่ควรยุติ ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วยบุคลากรระดับผู้บริหาร และระดับปฏิบัติงานในกรมสุขภาพจิต ทั้ง จากหน่วยบรหิ ารส่วนกลางของกรมสุขภาพจิต หนว่ ยบรกิ ารสุขภาพจิต และศูนย์สขุ ภาพจติ จากการวิเคราะห์ ข้อมูลจากฐานราก (Grounded) โดยใช้โปรแกรมวิเคราะหข์ ้อมลู เชิงคณุ ภาพ ATLAS พบว่า เมื่อนึกถึงโครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูง อันดับแรก ผู้ตอบคำถาม ส่วนใหญ่ นึกถึง “โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้า” และ มากที่สุด รองลงมา คือ “โครงการเพ่ิมประสิทธภิ าพการดแู ลผูป้ ว่ ยโรคจิตเภท” เมื่อนึกถึงโครงการที่คุ้มค่าในเชิงประโยชน์ต่อสังคม อันดับแรก ผู้ตอบคำถามส่วนใหญ่ นึกถึง 3 โครงการ เท่า ๆ กัน คือ โครงการเสริมสร้างความรอบรู้และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพจิตที่พึงประสงค์แก่ ประชาชน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ปว่ ยโรคจิตเภทและ โครงการเพ่ิมประสิทธภิ าพการดูแลผู้ป่วย โรคซึมเศรา้ เมอ่ื นกึ ถงึ โครงการทค่ี วรปรบั ปรงุ อันดบั แรก ผู้ตอบคำถามส่วนใหญ่ นึกถงึ “โครงการเสรมิ สร้างความ รอบรู้และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพจิตที่พึงประสงค์แก่ประชาชน” รองลงมามีโครงโครงการคือ “โครงการ พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตครบวงจรด้วยกลไกทางกฎหมาย” และ “โครงการพัฒนาระบบดิจิทัลเพ่ือ สนบั สนุนงานสขุ ภาพจติ ” เม่ือนึกถงึ โครงการที่ควรยุติ ผู้ตอบคำถามส่วนใหญ่คิดวา่ ไม่มโี ครงการใดทส่ี มควรจะยุติ อย่างไรก็ตาม มีผู้ตอบแบบสอบถามบางส่วน เสนอมุมมอง ของคำว่า ยุติ ในที่นี้ว่า ไม่ได้หมายความว่าโครงการไม่ดี แต่บาง โครงการมีระดับความสำเร็จที่สูงเพียงพอแล้ว หรือบางโครงการอาจไม่จำเป็นต้องอยู่ในรูปแบบของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ เพราะผนวกเข้าไปกับงานประจำได้แล้ว ยกตัวอย่างเช่น โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแล ผู้ป่วยโรคจิตเภท โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้า และโครงการประเมินคุณธรรมและ ความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของหน่วยงาน 8.3.3 การบรรลปุ ระสทิ ธผิ ลตามกรอบการประเมินภาพรวมในรปู แบบ CIPP จำแนกการประเมนิ เปน็ 5 ดา้ น 45 ตวั ชวี้ ัด โดยเปน็ ตัวชว้ี ดั ของแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ จำนวน ตัวชี้วดั 42 บรรลุตัวชี้วัด 29 ตัวชี้วัด คิดเป็น ร้อยละ 69.05 มีประสิทธิผลในระดบั ปานกลาง ส่วนแผนปฏิบัติ ราชการกรมสุขภาพจิต มี 41 ตัวชี้วัด บรรลุแล้ว 33 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 80.49 มีประสิทธิผลในระดับสูง รายละเอียดดังตารางที่ 68 219

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางท่ี 68 สรปุ ผลการประเมนิ ประสิทธผิ ลของแผนอธบิ ายรายตัวชว้ี ัด ประเดน็ ตวั ชีว้ ัด เกณฑ์ 1. บริบทการเกิดยุทธศาสตร์ 1.1 ส ถ า น ก า ร ณ์ (1) การวิเคราะห์สถานการณ์ - มีการวิเคราะห์แล ปญั หาสขุ ภาพจิต ปญั หาสุขภาพจิต นำมาเปน็ ประเด็นในกา วางแผน 1.2 การวิเคราะห์ (2) การวิเคราะห์ความต้องการ - มีการวิเคราะห์แล ความต้องการและ และความคาดหวังของผู้รับบริการ นำมาเปน็ ประเด็นในกา ความคาดหวังของ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในและ วางแผน ผู้รับบริการและผู้มี นอกเครือขา่ ยสุขภาพจติ ส่วนไดส้ ่วนเสีย 1.3 การวิเคราะห์ (3) การวิเคราะห์นโยบายและแผน - มีการวิเคราะห์แล นโ ยบายและแผน อื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องกบั สขุ ภาพจิต นำมาเปน็ ประเด็นในกา อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง วางแผน 22

รประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ แผนปฏบิ ตั ิราชการกรมฯ ละ  มีการทบทวนสถานการณ์ปัญหา  มีการทบทวนสถานการณ์ าร ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ปัญหาทเี่ กีย่ วข้อง ละ  เป็นการทบทวนจากผลการ  มีการวิเคราะห์อนาคตศาสตร์ าร วิเคราะห์ในช่วงการจัดทำแผนของ จัดสัมมนา และการจัดทำประชา กรมสุขภาพจิต ไม่ได้ทำประชา พิจารณ์หลายครั้ง โดยมีเครือข่าย พิจารณ์ และทำการสำรวจการมีส่วน สขุ ภาพจติ มสี ว่ นร่วม ร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติเป็น การเฉพาะ ละ  มีการทบทวนแผนระดับชาติ  การทบทวนแผนระดับชาติ าร หลายแผน เช่น แผนยุทธศาสตร์ชาติ หลายแผน เช่น แผนยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ชาติ แผนยุทธศาสตร์กระทรวง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สาธารณสุข แผนพัฒนาเศรษฐกิจ แห่งชาติฉบับที่ 12 และวางแผนให้ และสังคมแห่งชาตฉิ บับที่ 12 สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรม สขุ ภาพจิต 20

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางท่ี 68 สรุปผลการประเมินประสิทธิผลของแผนอธบิ ายรายตวั ช้ีวดั ประเด็น ตวั ชีว้ ดั เกณฑ์ 1.4 การสนบั สนุน (4) การสนับสนุนจากเครือข่ายทั้ง - มีการวิเคราะห์แล จากเครือข่าย ภายในและภายนอกระบบบริการ นำมาเปน็ ประเด็นในกา สุขภาพจติ สาธารณสขุ วางแผน 2. กระบวนการจดั ทำและเน้อื หายุทธศาสตร์ 2.1 กระบวน การ (5) กระบวนการจดั ทำแผน - มกี ารจดั ทำแผน จัดทำแผน ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์อยา่ งเปน็ ยุทธศาสตร์ ระบบและครบตาม กระบวนการ 2.2 ความสอดคล้อง (6) ความสอดคล้องกับสภาพ - มีความสอดคลอ้ ง กับสภาพปญั หา ปัญหาสุขภาพจิต สขุ ภาพจิต 2.3 ความสอดคล้อง (7) ความสอดคล้องกับความ - มีความสอดคล้อง กับความตอ้ งการและ ต้องการและความคาดหวังของผู้มี ความคาดหวังของผู้มี สว่ นได้สว่ นเสยี สว่ นได้ส่วนเสีย 2.4 ความสอดคล้อง (8) ความสอดคล้องกับนโยบาย - มคี วามสอดคลอ้ ง กับนโยบายและการ และการวางแผนอ่นื ๆ วางแผนอนื่ ๆ 22

รประเมินแผนปฏิบัตริ าชการ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ แผนปฏิบัติราชการกรมฯ ละ  มีการสนับสนุนขอ้ มลู ตวั ชว้ี ดั และ  มีการบูรณาการงานร่วมกับ าร โครงการของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องมา เครือข่าย ทั้งภายในและภายนอก ไวใ้ นแผน ระบบบริการสาธารณสุขในระดับ ปฏิบัตงิ าน ไดเ้ ป็นอย่างดี  การจัดทำแผนไม่ครบถ้วนตาม  มีการวิเคราะห์อนาคตศาสตร์ กระบวนการจัดทำแผน จัดสัมมนา และการจัดทำประชา พิจารณ์หลายคร้งั  สอดคล้อง  สอดคล้อง ½ สอดคล้องในด้านประเด็น  สอดคล้อง สขุ ภาพจติ บางประเด็น แตย่ ังไม่ สอดคลอ้ งในมติ ิของการร่วม ดำเนินงาน  สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ท้ัง  สอดคล้องสอดคล้องกับแผน ในระดับประเทศ ระดับกระทรวงท่ี ยุทธศาสตร์ทั้งในระดับประเทศ เกย่ี วข้อง และระดับกรมสุขภาพจิต 21

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางท่ี 68 สรปุ ผลการประเมนิ ประสิทธิผลของแผนอธิบายรายตัวช้วี ดั ประเด็น ตัวช้ีวดั เกณฑ์ 2.5 การเชื่อมโยงกับ (9) การเชือ่ มโยงกบั เครือข่ายทั้งใน - มกี ารเช่อื มโยง เครือขา่ ยสุขภาพจติ และนอกระบบบรกิ ารสาธารณสุข 2.6 ความสอดคล้อง (10) ความสอดคล้องระหว่าง - มีความสอดคลอ้ ง ระหว่างแผน แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติฯ ยุทธศาสตรก์ รม และแผนปฏบิ ัติราชการฯ กรม สขุ ภาพจติ สุขภาพจติ 3. การแปลงแผนยทุ ธศาสตร์ไปปฏบิ ัติ 3.1 ภาวะผู้นำในการ (11) ภาวะผู้นำในการบริหาร - การมีภาวะผ้นู ำที่ บริหารยุทธศาสตร์สู่ ยทุ ธศาสตรส์ ูก่ ารปฏบิ ัติ เอื้ออำนวยตอ่ การ การปฏบิ ัติ ขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์ 3.2 กระบว น การ (12) ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ป ล ง - มีการแปลงยุทธศาสต แปลงยุทธศาสตร์ไปสู่ ยุทธศาสตรไ์ ปสู่การปฏบิ ัติ ไปสูก่ ารปฏบิ ัติ การปฏิบัติ 22

รประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ แผนปฏิบตั ิราชการกรมฯ  เชือ่ มโยง ระดับกระทรวงสาธารณสุข และ นโยบายกรมสขุ ภาพจติ  เช่อื มโยง  สอดคลอ้ ง  สอดคลอ้ ง ½ มีภาวะผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง แต่ยัง  มีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีความไม่เพียงพอในด้าน ความ ซึ่งเป็นภาวะผู้นำที่เอื้ออำนวยต่อ ชดั เจน การสอื่ สาร และการมสี ว่ นร่วม การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติราชการ ของกรมสุขภาพจิต ตร์ ½ มีจุดที่ขาดหายไปของกระบวนการ  มีการแปลงแผนสู่การปฏิบัติ แปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ ที่เชื่อมโยง ในรูปแบบ แปลงจากตัวชี้วัดของ ระหว่างโครงการ ไปสู่กลยุทธ์ และ กลยุทธ์ไปสู่ระดับโครงการ/ จากตัวชี้วัดเป้าประสงค์ไปสู่เป้าหมาย กิจกรรม และบรู ณาการเข้ากบั งาน ของยุทธศาสตรย์ ังทำไดไ้ มค่ รอบคลมุ ประจำบางสว่ น 22

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางที่ 68 สรปุ ผลการประเมนิ ประสิทธิผลของแผนอธบิ ายรายตัวชว้ี ดั ประเด็น ตวั ช้ีวัด เกณฑ์ 3.3 การบริหารแผน (13) การจัดตั้งองค์การขับเคลื่อน - มีการจัดตั้ง ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ (14) การวางแผนบริหาร - มีการวางแผน ยทุ ธศาสตร์ (15) การควบคมุ กำกับ การสื่อสาร - มีการควบคมุ ยุทธศาสตร์ (16) การประเมนิ ผลยุทธศาสตร์ - มีการประเมินผล 4. ผลสำเรจ็ ของการบริหารยุทธศาสตร์ (17) เด็กไทยมีสติปัญญาเฉลี่ยไม่ - บรรลตุ ามตัวชว้ี ัด ตำ่ กวา่ 100 22

รประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ แผนปฏิบตั ริ าชการกรมฯ  มีการจัดต้ังคณะอนุกรรมการฯ  มีการจัดตั้งคณะกรรมการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และ หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวชี้วัด (PM)  มีการวางแผนดำเนินงานเป็น  มีการวางแผนบริหารงานตาม โครงการ ปีงบประมาณตามแต่ละ ยุทธศาสตรแ์ ละตวั ช้ีวัดชดั เจน เปา้ ประสงค์ และผู้รับผิดชอบ  ขาดระบบการควบคุม กำกับ  มรี ะบบควบคมุ กำกบั ติดตาม ติดตามงานตามตัวชี้วัด การสื่อสารไม่ งาน มีระบบการสื่อสารชัดเจน เพียงพอ แผนการติดตามไม่ชัดเจนผู้ และเชื่อมโยงเข้ากับการประเมิน ปฏิบัติส่วนใหญ่ไม่รับรู้ถึงระบบการ คุณภาพมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน ตดิ ตาม  มโี ครงการวจิ ัยประเมินผล  มีระบบประเมินผลตามตัวชี้วัด และการวจิ ยั ประเมนิ ผล ไม่มขี ้อมูลท่ตี รงตามตัวชี้วัด ไมม่ ีขอ้ มลู ท่ีตรงตามตวั ชีว้ ัด 23

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางที่ 68 สรปุ ผลการประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของแผนอธบิ ายรายตัวชวี้ ัด ประเด็น ตัวช้ีวัด เกณฑ์ 4.1 สมรรถนะในการ (18) เดก็ ไทยมากกว่ารอ้ ยละ 80 มี - บรรลุตามตัวช้ีวดั บรรลุตัวชี้วัดตาม ความฉลาดทางอารมณ์อยู่ใน เปา้ หมาย เกณฑป์ กติ (19) ครอบครวั มคี วามเขม้ แขง็ และ - บรรลตุ ามตัวชี้วดั ความอบอุ่น ร้อยละ 80 (20) ประเทศไทยมีคะแนนความสุข - บรรลตุ ามตวั ชวี้ ดั (World Happiness Index) เพิ่มข้ึน จากปี 2560 ≥ 0.1 (21) อัตราการฆา่ ตวั ตายสำเร็จ - บรรลุตามตัวชว้ี ัด (22) ร้อยละของอำเภอที่บูรณา - บรรลตุ ามตวั ชว้ี ดั การการดำเนินงานสุขภาพจติ ตามมาตรฐานแลว้ ประชาชน มคี วามสุขและคณุ ภาพชีวติ ท่ีดี (23) ร้อยละ 85 ของคนไทยมี - บรรลุตามตวั ชว้ี ัด สขุ ภาพจิตดี (ปี 2565) 22

รประเมินแผนปฏิบัติราชการ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ แผนปฏิบัติราชการกรมฯ ไม่มีข้อมลู ทีต่ รงตามตัวช้ีวัด ไม่มีขอ้ มลู ท่ีตรงตามตัวชว้ี ดั  ร้อยละ 91.99  ไม่บรรลุ  ไม่บรรลุ  ไมบ่ รรลุ  บรรลุ  84.12 ในปี 2564 24

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางท่ี 68 สรุปผลการประเมนิ ประสิทธิผลของแผนอธิบายรายตัวช้วี ัด ประเด็น ตวั ช้ีวดั เกณฑ์ (24) บุคลากรในสังกัดกรมฯ มี - บรรลุตามตัวชีว้ ดั ค่าเฉล่ยี ความสขุ ไม่นอ้ ยกวา่ 67 4.2 สมรรถนะในการ ( 25) ก า ร บ ร ร ลุ ต ั ว ช ี ้ ว ั ด ต า ม - บรรลตุ วั ชวี้ ัดได้ บรรลุตัวชี้วัดตาม เป ้า ป ระ ส ง ค์ ของ แผ น พ ัฒ นา ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป เป้าประสงค์ สุขภาพจติ แหง่ ชาตฯิ (26) การบรรลุตัวชวี้ ดั ตาม - บรรลุตวั ชว้ี ัดได้ เปา้ ประสงค์ ของแผนปฏบิ ัติราชการ รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป ฯ 4.2 ผลสำเรจ็ ของ (27) การวางแผนและการกำหนด - มีการวางแผนและกา การบริหารโครงการ ตามประเดน็ โครงสร้างอยา่ งเป็นระบบ กำหนดโครงสร้างอย่า ยุทธศาสตร์ เปน็ ระบบ 22

รประเมินแผนปฏิบัตริ าชการ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ แผนปฏิบัติราชการกรมฯ  ยกเลกิ ตัวชว้ี ัดแล้ว  รอ้ ยละ 47.62  บรรลุแล้ว ร้อยละ 70 มี แนวโน้มบรรลุ ร้อยละ 5 ไม่มี ข้อมูลตามตัวชี้วัด ร้อยละ 13 ไม่ บรรล+ุ ยกเลกิ ตัวช้วี ัด ร้อยละ 12 าร ½ มีการวางแผน โดยนำโครงการเข้า  มีการวางแผน และกำหนด าง สูโ่ ครงสร้างของแผนงานตาม โครงสรา้ งในการดำเนนิ งาน เปา้ ประสงคต์ ่าง ๆ แต่ความเช่ือมโยง เชงิ ระบบระหว่างผู้ดำเนนิ งาน โครงการ กับผกู้ ำกบั ตดิ ตามยังไม่ ชดั เจน ไม่มีผู้รวบรวมรายละเอยี ดของ โครงการตามแผน และระบบรายงาน ความกา้ วหนา้ ตามตวั ชีว้ ดั ของ โครงการ ทำใหต้ ้องมาเรง่ จดั การตอน สนิ้ แผน 25

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางท่ี 68 สรปุ ผลการประเมินประสทิ ธิผลของแผนอธบิ ายรายตวั ชีว้ ดั ประเดน็ ตัวชวี้ ัด เกณฑ์ (28) การกำกับติดตามงานอย่าง - มกี ารกำกับติดตามงา เป็นระบบ อย่างเปน็ ระบบ (29) การประเมินผลอย่างเป็น - มีการประเมินผลอย ระบบ เป็นระบบ (30) ความคุ้มค่าของโครงการ - มคี วามคุม้ คา่ สำคญั ตามแผนยุทธศาสตร์ 5. การประเมินประสทิ ธผิ ลตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ 5.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 (31) การยอมรับและการให้โอกาส - รอ้ ยละ 80 ของ ส่งเสริมและป้องกัน ผ้ทู ่ีมีปัญหาสขุ ภาพจติ ประชาชนมคี ะแนนเฉล ปัญหาสุขภาพ จิต ไม่นอ้ ยกว่า 3 คะแนน ตลอดช่วงชีวติ (เต็ม 5) (32) ความตระหนักและความ - ร ้ อ ย ล ะ 80 ข อ เขา้ ใจเรือ่ งปัญหาสขุ ภาพจติ ประชาชนมีคะแนนเฉล 22

รประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ แผนปฏบิ ตั ริ าชการกรมฯ าน ½ มีการติดตามงานตามระบบของ  มีการกำกับติดตามงานอย่าง หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ และ เป็นระบบ แหล่งทุน แต่ไม่มีระบบติดตามอย่าง เปน็ ระบบ ่าง ½ มีการวิจัยประเมินผลเมื่อสิ้นแผน  มีการประเมินผลโครงการตาม แต่ยังไม่มีการวางระบบประเมินผล แผน อย่างชัดเจนในแต่ละโครงการ ระบบ การประเมินขึ้นอยู่กับผู้รับผิดชอบ โครงการวา่ มีหรือไมม่ ี  โครงการสำคัญตามแผน  โครงการสำคัญตามแผน ยทุ ธศาสตร์ มีความค้มุ คา่ ยทุ ธศาสตร์ มคี วามคุ้มค่า  รอ้ ยละ 92.0  ร้อยละ 92.0 ลยี่ อ ง  รอ้ ยละ 97  ร้อยละ 97 ลี่ย 26

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางที่ 68 สรปุ ผลการประเมนิ ประสิทธิผลของแผนอธบิ ายรายตัวช้ีวัด ประเดน็ ตวั ชี้วดั เกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 3 (คะแน เต็ม 5) (33) การจัดบริการส่งเสริม - มีการจัดบริการสง่ เสร สุขภาพจิตกับภาคีเครือข่าย สุขภาพจิตกับภา สุขภาพจิตทั้งในและนอกระบบ เครือข่าย บริการสาธารณสุข 5.2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 (34) ทัศนคติด้านความพึงพอใจ - ร ้ อ ย ล ะ 80 ข อ พัฒนาระบบบริการ ของผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับระบบ ป ร ะช า ช น ม ี คะ แ น สขุ ภาพจติ และจิตเวช บรกิ ารสขุ ภาพจติ ความพึงพอใจเฉล่ียไม่ต กว่า 3.5 (35) ความเชื่อมั่นของเครือข่าย - ร้อยละ 80 ของ สุขภาพจิตทั้งในและนอกระบบ เครือข่ายมคี ะแนนเฉลี่ย บริการสาธารณสุขต่อการบริหาร ไม่นอ้ ยกวา่ 3 (คะแนน จดั การของกรมสุขภาพจิต เตม็ 5) (36) การพฒั นาระบบบริการ - มกี ารพฒั นา สขุ ภาพจติ กับเครอื ข่ายสุขภาพจติ ทง้ั ในและนอกระบบบริการ สาธารณสุข 22

รประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ แผนปฏบิ ตั ริ าชการกรมฯ นน รมิ  มกี ารจัดบรกิ ารสง่ เสริมสขุ ภาพจิต  มีการจัดบริการส่งเสริม คี กับภาคีเครือข่าย ในหลายระดับ ท้ัง สุขภาพจิตกับภาคีเครือข่าย ใน ภาครัฐและภาคประชาส ังคม หลายระดับ ทั้งภาครัฐและภาค ภาคเอกชน ประชาสงั คม ภาคเอกชน อ ง  รอ้ ยละ 96.0  รอ้ ยละ 96.0 นน ต่ำ  ร้อยละ 86.6  ร้อยละ 86.6 ย น  มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และ  มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เครือขา่ ยตอบรับว่ามีความก้าวหน้า แ ล ะ เ ค ร ื อ ข ่ า ย ต อ บ ร ั บ ว ่ า มี ความกา้ วหนา้ 27

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางท่ี 68 สรปุ ผลการประเมินประสิทธิผลของแผนอธบิ ายรายตัวชว้ี ัด ประเด็น ตัวชีว้ ดั เกณฑ์ 5.3 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 (37) การรับรู้ พ.ร.บ.สขุ ภาพจิต รอ้ ยละ 80 ของเครือข่า ข ั บ เ ค ล ื ่ อ น แ ล ะ พ.ศ. 2551 ของเครอื ขา่ ย มีคะแนนเฉลี่ยไม่น้อ ผลักดนั มาตรการทาง สุขภาพจติ ทัง้ ในและนอกระบบ กว่า 3 คะแนน เต็ม 5 กฎหมาย สังคมและ บริการสาธารณสุข สวสั ดกิ าร (38) ความเขา้ ใจ พ.ร.บ. รอ้ ยละ 80 ของผตู้ อบ สขุ ภาพจติ 2551 และฉบบั แกไ้ ข ได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อ เพิ่มเติม 2562 ละ 80 (39) การขับเคล่ือน ผลักดนั บังคบั - มีแผนการขับเคลื่อ ใช้กฎหมายสุขภาพจิตและ และดำเนนิ การตามแผ มาตรการทางกฎหมายสุขภาพจิต 5.4 ยุทธศาสตร์ท่ี 4 (40) การตอบสนองความต้องการ - ร้อยละ 80 มีคะแน พัฒนาวิชาการและ และความคาดหวังของประชาชน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า กลไกการดำเนินงาน ผรู้ ับบรกิ าร คะแนน (เตม็ 5) ดา้ นสขุ ภาพจติ (41) ความเช่ือมั่นตอ่ ประเด็นความ - ร้อยละ 80 มีคะแน เช่ยี วชาญดา้ นสขุ ภาพจิตและ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3 จติ เวช คะแนน (เตม็ 5) (42) การตอบสนองต่อความ - ร้อยละ 80 มีคะแน ต้องการและความคาดหวังของผู้มี เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ส่วนได้สว่ นเสียของกรมสุขภาพจติ คะแนน (เตม็ 5) 22

รประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ แผนปฏิบตั ริ าชการกรมฯ  รอ้ ยละ 86.5 าย  ร้อยละ 86.5 อย  ร้อยละ 72.5  ร้อยละ 72.5 อย อน  มีการขับเคลื่อนในท่ีประชุม  มีการขับเคลื่อนในที่ประชุม ผน ระดับชาติ และเริ่มดำเนินการในบาง ระดับชาติ และเริ่มดำเนินการใน จงั หวดั บางจังหวัด นน  รอ้ ยละ 96.9  ร้อยละ 96.9 3 นน  ร้อยละ 88.5  รอ้ ยละ 88.5 3.5 นน  รอ้ ยละ 73.5  รอ้ ยละ 73.5 3 28

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางที่ 68 สรปุ ผลการประเมินประสิทธิผลของแผนอธบิ ายรายตัวช้ีวดั ประเด็น ตวั ชวี้ ดั เกณฑ์ (43) การยอมรับในความเชยี่ วชาญ - ร้อยละ 80 มีคะแน ของกรมสุขภาพจติ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า คะแนน (เต็ม 5) (44) ความเชื่อมั่นในองค์ความรู้ - ร้อยละ 80 มีคะแน และเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตท่ี เฉลี่ยไม่น้อยกว่า กรมสุขภาพจิตผลิต/พฒั นาขนึ้ คะแนน (เต็ม 5) (45) การยอมรับต่อองค์ความรู้ - ร้อยละ 80 มีคะแน และเทคโนโลยีที่กรมสุขภาพจิต เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ผลิต/พฒั นาข้นึ คะแนน (เตม็ 5) รวมจำนวนตวั ช้วี ดั บรรลตุ วั ช้ีวดั คดิ เปน็ ร้อยละ มตี วั ชี้วดั ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 81 - 100 หมายถงึ มีประสทิ ธผิ ลส มีตวั ชว้ี ัดผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 71 - 80 หมายถงึ มีประสทิ ธผิ ล มตี ัวชี้วดั ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 61 - 70 หมายถงึ มปี ระสทิ ธิผล มีตวั ชว้ี ัดผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 51 – 60 หมายถึง ประสทิ ธิผลค มีตัวช้วี ดั ผ่านเกณฑ์ ต่ำกว่าร้อยละ 50 หมายถงึ มปี ระสิทธผิ ล 22

รประเมินแผนปฏิบตั ริ าชการ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ แผนปฏบิ ัตริ าชการกรมฯ  ร้อยละ 92.0 นน  ร้อยละ 92.0 3 นน  ร้อยละ 95.5  รอ้ ยละ 95.5 3 นน  ร้อยละ 96.0  ร้อยละ 96.0 3 42 ตัวช้วี ัด 41 ตัวช้วี ดั 29 ตัวชี้วัด 33 69.05 80.49 สูง ลค่อนข้างสูง ลปานกลาง ค่อนข้างต่ำ ลต่ำ 29

8.4 ความต้องการและความคาดหวังต่อแผนยทุ ธศาสตรใ์ นระยะต่อไป ผูม้ ีส่วนเสยี มีความตอ้ งการและความคาดหวังต่อแผนยทุ ธศาสตร์ในระยะต่อไปดังนี้ 8.4.1 แผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ 1) ความสำคัญของแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ ในฐานะที่เปน็ แผนของชาติ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการเห็นแผนพัฒนาสุขภาพจิต เป็นแผนที่ไม่ใช่ถือโดยกรมสุขภาพจิต แต่เป็น แผนร่วมของคนในชาติ โดยรัฐบาลสามารถนำแผนฉบับนี้เป็นฐานในการ กำหนดประเด็นเชิงนโยบาย เพื่อ ส่งเสรมิ ความสุข ลดความขดั แย้ง สร้างความสมานฉนั ท์ ของคนในสังคมดว้ ยสขุ ภาพจติ ท่ดี ี หากทุกภาคส่วนให้ ความสนใจในประเด็นดา้ นสุขภาพจิต และรับรูไ้ ด้วา่ ปัญหาสังคมมากมายท่ีเกดิ ข้ึนเกิดจากปัญหาสุขภาพจิตที่ ไม่ดี เช่น ปัญหาความขัดแย้ง ความรุนแรง ผู้คนทะเลาะกันด้วยความคิดที่แตกต่าง อย่างไรก็ตาม หากคนมี สุขภาพจิตดี จะสามารถจัดการกับอารมณ์และความคิดที่แตกต่างได้ ดังนั้นให้มองว่าแผนพัฒนาสุขภาพจิต แห่งชาตจิ ะเปน็ เครื่องมือในการพัฒนาประเทศท่ีสำคัญอย่างหนงึ่ ท่ตี อ้ งอาศัยการดำเนนิ งานร่วมกันจากหลาก ภาคส่วน หากรัฐบาลรัฐบาลเขา้ มาหยิบยกประเดน็ ด้านสุขภาพจิตอยา่ งจริงจังและดำเนนิ การใหเ้ ป็นแบบอย่าง จะช่วยให้ลดความขัดแย้งของผู้คนในสังคม เกิดเป็นสังคมที่สงบสุขแล้วเดินหน้าพัฒนาประเทศต่อไปอย่าง ย่งั ยืนได้ 2) ความเป็นเจา้ ของร่วมของหลากหลายหน่วยงาน เนื้อหาภายในแผนต้องมีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของทุกภาคส่วน ทั้งจากภาครัฐหลาย หนว่ ยงานและรวมถึงภาคเอกชน ประชาสังคมดว้ ย เนื้อหาภายในแผนต้องประกอบดว้ ยเนื้องานท่ีทุกภาคส่วน สามารถเป็นเจ้าของร่วมกัน สามารถเชื่อมโยงกับเครือข่ายได้มากขึ้น มีการนิยามความสุขที่ทุกภาคส่วนมอง ร่วมกัน ไม่ใช่เพียงความสขุ ในมิติที่คนไข้สุขภาพจติ ลดลง แต่เป็นความสุขที่คนไทยคาดหวังเพื่อให้เกิดแผนทีม่ ี เป้าหมายเดยี วกัน ดงั น้ันระดับของการมสี ว่ นรว่ มจึงต้องเขม้ ข้นมากขน้ึ 3) สรา้ งการมสี ว่ นร่วมให้มากข้ึน สร้างการมีส่วนร่วมให้มากขึ้นทั้งในระดับกรมสุขภาพจิต และกับเครือข่ายภายนอกกรมสุขภาพจิต เพื่อไม่ให้เกิดภาพที่เรียกว่า “คนเขียนไม่ได้ทำ คนทำไม่ได้เขียน” โดยหากเป็นหน่วยงานภายนอกกรม สุขภาพจิต จำเป็นต้องมีการระบุชื่อหน่วยงานที่มีส่วนร่วมให้ชัดเจนถึงหน่วยงานที่ปฏิบัติจริง เนื่องจากหาก ระบุไว้เพียงชื่อกระทรวงหน่วยงานที่ปฏิบัติจริงจะไม่ทราบว่าแผนปฏิบัติการ แนวทางดำเนินงานเหล่านั้นมี ความเกี่ยวข้องโดยตรงกับหน่วยงานของตนเองหรือไม่ ในระยะต่อไป ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจึงต้องการให้ คณะกรรมการสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ระบบุ ทบาทถึงระดับหนว่ ยปฏบิ ตั งิ านดว้ ย

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 4) ความชัดเจนของประเด็นเชงิ ยุทธศาสตร์ สขุ ภาพจติ หากส่ือสารน้อยอาจนำไปสูก่ ารเชื่อมโยงงานไดย้ าก ตอ้ งเพ่ิมการส่ือสารจุดเน้นของงานด้าน สุขภาพจิตเกีย่ วข้องกับกลุ่มคนที่หลากหลาย ควรมีการสื่อสารประเด็นเชงิ ยทุ ธศาสตร์ กับหน่วยงานต่าง ๆ ให้ มากขึน้ เพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจรว่ มกนั การสอ่ื สารเชงิ ประเด็น เชน่ การพฒั นาเด็ก ครอบครัว การป้องกันและ แกไ้ ขปญั หาการฆา่ ตัวตาย ปัญหายาเสพติด ปัญหาความรนุ แรงในสังคม ทกุ ประเด็นล้วนแต่เป็นปัญหาท่ีหลาย ภาคส่วนให้ความสนใจ ดังนั้น แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติต้องสื่อสารให้ได้ว่างานสุขภาพจิตเกี่ยวข้องกับ ประเด็นเหล่านี้ โดยอาจจะปรับวิธีการเขียนยุทธศาสตร์ให้เป็นเชิงประเด็น เพื่อให้เกิดการสื่อสารที่หน่วยงาน เครอื ข่ายอ่นื ๆ สามารถเขา้ ใจงา่ ยย่ิงข้นึ และกรมสุขภาพจิตเองก็จะบรู ณาการกับพนื้ ทไี่ ด้งา่ ยขน้ึ ด้วย 5) ปรบั โครงสร้างการดำเนนิ งานภายในแผนใหม่ ปรบั โครงสร้างการดำเนินงานภายในแผนเพอ่ื มุ่งไปสกู่ ารบรรลวุ สิ ยั ทศั น์ใหม้ ากขึ้น โดยไม่ยึดตดิ กบั พันธกจิ ของกรมสุขภาพจติ จัดลำดับความสำคัญของโครงการในแผน และปรบั ค่าเปา้ หมายให้สอดคล้องกับ สถานการณ์จากฐานข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์มากขึน้ เนือ้ หาในแผนจะตอ้ งมีจุดเน้นทีเ่ กยี่ วข้องกับพัฒนาสุขภาพจิต ของประชาชนในชาติ ไมใ่ ชแ่ ผนทีเ่ น้นรกั ษาอาการเจบ็ ป่วย ดังน้ันประเดน็ รักษาอาการเจ็บปว่ ยตอ้ งนำไปไวใ้ น แผนของกรมฯ เป็นหลัก 6) คาดหวงั ให้เปน็ แผนท่ีมีทรพั ยากรสนบั สนุน การขับเคลื่อนแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติต้องประสานหน่วยงานในระดับพื้นที่หลายภาคส่วน โดยเฉพาะงบประมาณสำหรับการประชุมเป็นปัจจัยสำคัญ ลักษณะของการบูรณาการงานกับพื้นที่ส่วนใหญ่ มักจะขาดเจ้าภาพ จึงจำเป็นต้องมีงบประมาณสนับสนุนเพื่อให้เกิดการประชุมอันเป็นจุดเริ่มต้นของความ ร่วมมือ ส่วนในระดับปฏิบัติพื้นที่สามารถไปบูรณาการกับงานตามพันธกิจได้ นอกจากนั้นหลายหน่วยงานยัง ต้องการบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต ซึ่งมีสองประเด็นในส่วนของบุคลากรคือ เพิ่มอัตรากำลัง ของบุคลากรด้านสุขภาพจิต และ เพิ่มศักยภาพของบุคลากรในด้านสุขภาพจิตให้บคุ ลากรจากภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีดำเนนิ งานเกีย่ วขอ้ ง มคี วามรู้ในด้านสุขภาพจิตด้วย 8.4.2 แผนปฏบิ ัตริ าชการกรมสุขภาพจิต 1) ยทุ ธศาสตรท์ ่กี ระชับและมจี ุดเน้น เนื้อหาภายในแผนปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิตมีลักษณะที่เข้าใกล้งานประจำ มีการทำงานท่ี ครอบคลมุ แตข่ าดจุดเน้นและไมส่ ั้นกระชับ ประกอบกบั ตวั ช้ีวดั และค่าเป้าหมายทยี่ ังคงลักษณะเดิมมาจำนวน หนงึ่ อาจตอ้ งทบทวนเพอื่ เปล่ยี นแปลงให้มีทิศทางที่ชัดเจนมากขนึ้ เชน่ การเนน้ ไปท่ีกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ที่ยัง เป็นปญั หา และการสร้างนวตั กรรมเพ่อื ตอบสนองตอ่ ปัญหาท่เี กิดขน้ึ เหล่านนั้ 2) ปรับระดับของตัวช้ีวดั ปัจจุบนั ตัวชว้ี ดั ของกรมสุขภาพจติ อยู่ที่ระดับ ผลผลิต (Output) ทำให้เกิดตวั ชว้ี ดั จำนวนมาก แผนจึง ขาดความสั้นกระชับ และหลายตัวชี้วัดที่ตอบไม่ได้วา่ เมื่อทำสำเร็จแล้วนำไปสู่ผลลัพธ์อย่างไร จึงต้องการเห็น 231

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตัวชี้วัดของกรมสุขภาพจิต ที่ไปสู่ระดับ ผลลัพธ์ (Outcome) มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ตัวชี้วัดน้อยลง และแผนมี ความกระชับมากขึ้นได้ ส่วนเป้าหมายที่ผู้ปฏิบัติจำนวนหนึ่งไม่ต้องการให้มีคือการวัดในระดับกระบวนการ เพราะทรัพยากร และบริบทแต่ละพื้นที่มีความต่างกัน อาจจะใช้การบรรลุเป้าหมายโดยกระบวนการอื่นได้ นอกเหนอื จากทส่ี ่วนกลางกำหนด 3) คา่ เป้าหมายทส่ี อดคล้องกบั พ้นื ท่ี เครือข่ายผู้ปฏิบัติงานคาดหวังว่าแผนระยะต่อไป จะมีการกำหนดค่าเป้าหมายที่แตกต่างกันในระดับ พื้นที่ แล้วให้ผู้จัดการตัวชี้วัด เฉลี่ยเป็นภาพรวมระดับประเทศแทนที่จะกำหนดให้ทุกพื้นที่ดำเนินงานตาม เป้าหมายเดียวกัน เพราะปญั หาแต่ละพน้ื ที่มีความแตกตา่ งกนั บางพนื้ ทไ่ี ม่สามารถบรรลุตวั ชี้วัดบางประการได้ แมจ้ ะพยายามอยา่ งเตม็ ที่แล้ว ขณะที่มบี างพื้นท่ีผา่ นตัวช้วี ัดบางประการตงั้ แตย่ งั ไมไ่ ด้ขับเคลื่อนงาน 8.4.3 ภาพรวมทง้ั สองแผน 1) ความทา้ ทายทสี่ ามารถบรรลไุ ด้จรงิ ต้องการเห็นเป้าหมายที่ท้าทายแต่ยังสามารถบรรลุได้จริง บางเป้าหมายที่ไกลเกินไปอาจต้องปรับ ลดลง แต่เป้าหมายบางประเดน็ ก็ต้ังน้อยกว่าทสี่ ามารถทำได้แล้ว ดงั นนั้ จงึ ควรต้องพจิ ารณาเปา้ หมายในแต่ละ ตัวชี้วัดให้ยังคงความท้าทาย แต่ไม่ไกลเกินกว่าที่จะบรรลุได้ในระยะต่อไป โดยอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีอยู่ เปน็ ปจั จยั สำคญั ในการกำหนดแผน อกี ท้งั ยังต้องทันสมัยสอดคล้องกบั สถานการณ์ทเ่ี ปลี่ยนแปลงไปได้อกี ด้วย 2) ตดิ ตามความสำเรจ็ ได้ นอกจากจะต้องมีกระบวนการกำกับติดตามงานที่ชัดเจนแล้ว ควรมีระบบติดตามความสำเร็จของ ยุทธศาสตร์ด้วยว่า ณ ขณะปัจจุบันมีเรื่องใดดำเนินการไปถึงระดับใดแล้ว มีเรื่องใดที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ประเมินสถานการณ์ได้ว่าเมื่อดำเนินงานตามแผนมาระยะหนึ่งแล้ว การดำเนินการเหล่านั้นถูกทิศทางหรือไม่ เข้าใกล้เปา้ หมายแล้วมากน้อยเพยี งใด เป็นตน้ 3) ความชัดเจนของความเช่ือมโยงไปสคู่ วามสำเรจ็ ตามเปา้ ประสงค์และวสิ ัยทัศน์ได้ บุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการแผนที่สามารถชี้แจงรายละเอียดให้เห็นถึงความเชื่อมโยง ระหวา่ ง ส่งิ ท่ที ำไปสู่ วิสัยทัศน์ทีจ่ ะบรรลไุ ดอ้ ย่างชดั เจนว่ามคี วามเชื่อมโยงอยา่ งไร เม่ือทำประเดน็ ใดสำเรจ็ แล้ว จะนำไปสู่เป้าประสงค์ และวิสัยทัศน์ในเรื่องใดบ้าง เป็นต้น โดยคาดหวังให้แผนยุทธศาสตร์จะต้องมีความ ชัดเจนในทุกรายละเอียด ตั้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด ดังที่ผู้ปฏิบัติงานจากเครือข่ายนอกกรม สุขภาพจิตกล่าวสั้นๆว่า “แผนที่วางออกมาจะต้องวัดง่าย ไม่เพิ่มภาระงาน มีความเป็นหมวดหมู่เดียวกัน ไม่ ซำ้ ซอ้ นและสอดคล้องกับงานของกระทรวงอื่นดว้ ย” 4) สร้างการมีส่วนร่วมกบั ภาคสว่ นอื่นในสงั คมมากขึ้น การมีส่วนร่วมต่อแผนในระยะเวลาที่ผ่านมา ยังเน้นในระบบบริการสาธารณสุขเป็นส่วนใหญ่ แผนใน ระยะถัดไปอาจต้องพยายามปรับมุมมองต่อปัญหาสุขภาพจิตในเชิงสังคมมากยิ่งขึ้น ขยายการมีส่วนร่วมจาก 232

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) หลายภาคส่วนมากขนึ้ โดยคาดหวังวา่ เครือข่ายหน่วยงานทางสังคม และภาคประสงั คมอาจจะช่วยปรับมุมมอง ของประเด็นสุขภาพจิต ให้มีความเป็นสุขภาพจิตสังคมได้มากยิ่งขึ้น นอกจากนั้น ยังสอดรับกับมุมมองที่ต้อง ขยายงานสุขภาพจิตให้มีขอบเขตที่กว้างไปสู่ระดับชุมชน ระบบบริการสุขภาพปฐมภมู ิที่ประกอบด้วยองค์การ สว่ นท้องถน่ิ ชมรม มลู นธิ ิ สถาบันการศึกษา ศาสนา หนว่ ยงานพัฒนาสังคม หน่วยงานภาคประชาสังคมอ่ืน ๆ ดว้ ย 8.5 ขอ้ เสนอแนะตอ่ การจัดทำแผนยทุ ธศาสตร์ในระยะตอ่ ไป 8.5.1 ข้อเสนอแนะตอ่ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ดา้ นกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ ควรมีการดำเนินงานจัดทำแผนให้ครบถ้วนตามกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ และ ใช้กระบวนการ จัดทำแผนปฏิบัติการแบบองค์รวมแทนกระบวนการจัดทำแผนแบบตัดต่อผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมที่ ครอบคลุมผู้แทนจากหน่วยงานท่เี ก่ียวข้อง โดยเฉพาะหน่วยงานที่เคยเสนอโครงการเขา้ มาบรรจุในแผนพัฒนา สุขภาพจิตแห่งชาตฉิ บบั ท่ี 1 ระยะที่ 1 และให้มบี คุ ลากรจากระดบั กรม กอง หรือระดบั สำนกั งาน ท่ีดำเนนิ งาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการจัดทำแผนด้วย โดยมีกระบวนการ 7 ขั้นตอน สำคัญที่ต้องทำ ได้แก่ 1) การริเริ่มและตกลงในการวางแผนยุทธศาสตร์ ในขั้นนี้ผู้ริเริ่มในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ต้องมี ความชัดเจนถึงเป้าประสงค์ของการจดั ทำแผนยุทธศาสตร์ นอกจากจะมีการจดั ต้ังคณะกรรมการชุดตา่ ง ๆ แลว้ นั้นแล้วควรได้มีการเจรจาและตกลงให้ชัดเจนระหว่างคณะกรรมการ เพื่อกำหนดขั้นตอนและกระบวนการ วางแผนยทุ ธศาสตร์รวมท้ังรูปแบบและเวลาในการทำรายงาน 2) การระบุอาณัติพนั ธกิจ และค่านิยม โดยควรระบุความจำเป็นด้านสังคมและการเมอื งทีต่ ้องบรรลุ เพ่ือนำไปสู่การอภิปรายถึงกจิ กรรมที่ต้องทำ และยงั เป็นแหล่งสร้างแรงดลใจให้กับแกนหลักของกลุ่มเครือข่าย ผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี การมวี ิสยั ทัศน์รว่ มเพื่อเป็นการตอบคำถามว่า “อะไรคือสิ่งท่ีแผนต้องการสร้าง” จะช่วยให้ เกิดแรงจูงใจในการวางแผนยุทธศาสตร์ร่วมกัน ค้นหาพันธกิจยุทธศาสตร์พื้นฐาน เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน แนวทางและหลักการในการตัดสินใจ และมาตรฐานทางจริยธรรมที่คาดหวังของเครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นอกจากน้นั วสิ ัยทศั น์ควรไดร้ บั การถา่ ยทอดไปยงั สมาชิกและกลุ่มผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี สำคัญขององค์การทั้งหมด ดว้ ย 3) การประเมินสถานการณ์ในการตอบสนองอย่างมีประสทิ ธผิ ลต่อการเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อม โดยเครือข่ายจะต้องเข้ามาร่วมประเมินสถานการณ์ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับจุดแข็งและ จุดอ่อน ขององค์การและคณะกรรมการทีจ่ ะร่วมในการจัดทำแผน รวมทั้งโอกาสและการคุกคามจากภายนอก องค์การด้วย 233

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 4) การระบปุ ระเดน็ ยทุ ธศาสตร์และทางเลือกยุทธศาสตร์ กำหนดบทบาทหนา้ ท่ีของเครอื ขา่ ยจากแต่ ละหนว่ ยงานที่เขา้ มามสี ว่ นร่วม องคป์ ระกอบของประเดน็ ยุทธศาสตร์ ควรมี 3 ประการ ประการแรก ประเด็น ควรได้รับการอธิบายให้กะทัดรัด กระชบั ภายในหนึง่ ย่อหนา้ และไม่ควรเป็นประเดน็ ท่ีไม่อาจสำเร็จได้ ประการ ท่สี องควรเขียนปัจจัยหรือสาเหตุท่ีทำให้ประเดน็ เหล่านั้นเป็นประเด็นที่มีความท้ายทาย โดยเฉพาะการระบุให้ เหน็ ถงึ การเชือ่ มโยงสัมพันธร์ ะหว่างตวั ประเดน็ กับอาณัติ พนั ธกิจ และคา่ นยิ ม จดุ แข็งจดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค และ ประการที่สาม คณะทำงานวางแผนควรระบุผลสืบเนื่องที่เกิดขึ้น หากประเด็นดังกล่าวไม่ได้รับการหยิบ ยกขึ้นมาพิจารณาเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ ส่ิงนี้จะช่วยให้ผู้นำองค์การตัดสินใจเกี่ยวกับความสำคัญของ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ในแตล่ ะประเด็น 5) การพัฒนาทางเลือกและการเขียนแผนยุทธศาสตร์ เมื่อได้ประเด็นยุทธศาสตร์แล้วขั้นต่อมาคือ การพัฒนาทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์หรอื แนวทางที่ใช้ในการจัดการกับประเด็นยุทธศาสตร์ โดยระบุว่าประเดน็ ยุทธศาสตร์แต่ละประเด็นมีทางเลือกหรือแนวทางในการดำเนินการอย่างไรบ้าง จากนั้นนำมาจัดกลุ่มว่ามี แนวทางใดบ้างที่เคยดำเนินการมาก่อน มีแนวทางใดบ้างเป็นแนวทางใหม่ เมื่อจัดกลุ่มเสร็จก็นำมาวิเคราะห์ และประเมิน ระดับความยอมรับของทางเลือกในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเกี่ยวข้องสัมพันธข์ องทางเลอื ก ประเด็นยุทธศาสตร์ ความสอดคลอ้ งต้องกันของทางเลือกกับพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยมปรัชญาและวัฒนธรรม องค์การ สมรรถภาพของแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเด็นยทุ ธศาสตร์ ความเป็นไปไดท้ างเทคนิค และงบประมาณ ความต้องกรในการอบรมบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ และผลกระทบของ ทางเลอื กในระยะยาว เป็นตน้ 6) การนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ เป็นขั้นตอนการเปลี่ยนผ่านระหว่างแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การ จดั การเชิงยุทธศาสตร์ โดยนำยุทธศาสตร์ที่องค์การกำหนดในแผนปฏิบัตผิ ่านระบบขององค์การ ยุทธศาสตร์ท่ี นำไปปฏิบัติจะอยู่ในรูปของแผนงาน โครงการและแผนปฏิบัติการ ภายใต้การมีงบประมาณที่เหมาะสม กระบวนการปฏิบัติควรมีความยืดหยุ่นเพื่อเปิดโอกาสให้เกิดการเรียนรู้และปรับตัวเมื่อสถานการณ์ในการ ปฏิบัติแตกต่างจากการคาดการณ์แผนยุทธศาสตร์ การเรียนรู้ระหวา่ งการปฏิบัติ จะช่วยให้การนำยทุ ธศาสตร์ ไปปฏิบตั มิ ปี ระสทิ ธผิ ลยง่ิ ขนึ้ และยังอาจก่อใหเ้ กิดยทุ ธศาสตร์ใหม่ท่สี อดคล้องกบั สถานการณ์ใหม่อีกดว้ ย 7) การกำกับติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ การวางแผนยุทธศาสตร์เป็นกระบวนการที่มีความ เป็นพลวัต ดังนั้นจึงเป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการวางแผนกระบวนการกำกับติดตาม แผนยุทธศาสตร์เพื่อประเมินว่ากระบวนการปฏิบัติบรรลุวัตถุประสงค์เป้าหมายมากน้อยเพียงใด และเพ่ือ ปรบั ปรงุ ในกรณที มี่ คี วามจำเป็น (Bryson, 1995 อ้างใน พิชาย รัตนดลิ ก ณ ภูเก็ต, 2552: 115-135) ดา้ นเนื้อหายทุ ธศาสตร์ สำหรับกระบวนการจัดทำแผนในระยะต่อไปมีประเด็นเนื้อหายุทธศาสตร์ที่ควรนำมาพิจารณา ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ประเด็นเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic goal): จากเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติซึ่งมี 6 ตัวชี้วัด ได้แก่ ด้านความฉลาดทางสติปัญญาเด็ก (IQ) ด้านความฉลาด 234

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ทางอารมณ์เด็ก (EQ) ด้านครอบครัวเข้มแข็งและมีความอบอุ่น ด้านความสุขของคนไทย (World Happiness Index) ด้านอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ และด้านร้อยละของอำเภอที่บูรณาการงานสุขภาพจิตแล้วประชาชนมี ความสขุ มคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี แต่ละตัวชวี้ ัดมปี ระเดน็ ที่เสนอใหพ้ จิ ารณาดังตอ่ ไปน้ี - ตัวชี้วัด IQ และ EQ: เป็นตัวชี้วัดที่กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส่วนใหญ่คิดว่ามีความเหมาะสมและ สำคัญ โดยเสนอให้ควบรวมตัวชี้วัดทั้งสองตัวชี้วัดดังกล่าวเข้าด้วยกัน เป็นหนึ่งตัวชี้วัดเพื่อที่จะ สอดคลอ้ งกับแนวทางปฏบิ ัตงิ านจริงท่ีเปน็ การดำเนินงานในด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัยเพ่ือให้เกิด IQ และ EQ ทด่ี ีในวัยเรียน - ตวั ชีว้ ดั ครอบครัวเขม้ แขง็ : ตัวชีว้ ดั ครอบครัวเข้มแข้งและมีความอบอุ่นมีขอบเขตของความหมายที่ กวา้ งเกนิ ไป จึงควรกำหนดตัวช้ีวัดให้เจาะจง โดยกรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครัวเสนอให้ใช้ ตัวชี้วัดด้านสัมพันธภาพของครอบครัว ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่เหมาะสมต่อแผนพัฒนาสุขภาพจิต แหง่ ชาติ และยังสมั พนั กับปญั หาการฆ่าตวั ตายดว้ ย - ตัวชวี้ ัดดา้ นความสขุ (World Happiness Index) ควรเปลี่ยนไปใช้ใช้ตวั ชว้ี ัดความสุขท่ีเหมาะสม กบั แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ โดยมีทางเลือกคือ อาจใชต้ วั ช้วี ดั คนไทยมสี ุขภาพจิตดีของกรม สุขภาพจิต หรือ สร้างแบบประเมินความสุขที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติเป็น การเฉพาะข้ึนมาใหม่ - ตัวชี้วัดด้านอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ: ประเด็นที่ต้องนำมาพิจารณาคือ ควรจะนำแผน ยุทธศาสตร์ป้องกันการฆ่าตัวตายมาผนวกไว้เป็นยุทธศาสตร์ในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ หรือไม่ ข้อดีของการนำยุทธศาสตร์การฆ่าตัวตายมารวมไว้ โดยให้เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งใน แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ จะทำให้แผนทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกรมสุขภาพจิตไม่หลายแผน จนเกินไป แต่มีข้อควรระวังคอื ต้องบูรณาการกลยุทธ์ต่าง ๆ ให้มีความกระชับ มิเช่น นั้นจะทำให้ แผนมีรายละเอียดเทอะทะมากเกินไป ส่วน ข้อดีของการแยกออกไปเป็นยุทธศาสตร์เฉพาะทำให้ เกิดความชัดเจนของยุทธศาสตร์ แต่ข้อเสียคือ หน่วยงานที่รับผิดชอบแผนอาจแบกรับงานที่ต้อง ประสานความร่วมมอื จากต่างกระทรวงได้ยากกว่า การขบั เคลอ่ื นโดยคณะกรรมการระดบั ชาติ - ตัวชี้วัดร้อยละของอำเภอที่บูรณาการงานสุขภาพจิตแล้วคนไทยมีความสุขมีคุณภาพชีวิตที่ดี: มี ขอ้ พจิ ารณาสามประการสำหรบั ตัวช้วี ดั นี้ ประแรก คอื พจิ ารณานำออกจากแผนเนื่องจากประสบ ความสำเร็จในระดับสูงแล้ว ประการที่สอง เปลี่ยนระดับจากตัวชี้วัดในระดับวิสัยทัศน์ ไปเป็น ตวั ชีว้ ัดในระดบั เป้าประสงค์ และประการที่สาม ควรปรับตัวชวี้ ัดไปเปน็ ระบบการบรู ณาการระบบ บรกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ - กำหนดประเด็นตัวชี้วัดใหม่เพิ่มเติม ที่เน้นการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตให้ครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ทุกช่วงวยั ยกตัวอย่าง เช่น คนไทยได้รับการพัฒนาทักษะชีวิตตาม ช่วงวัย หรือ คนไทยมคี วามรอบรูด้ ้านสุขภาพจิต 235

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 2) ประเดน็ ความสอดคล้องกลมกลนื ของแผนปฏบิ ัติการ: มีรายละเอียดบางประเด็นในแผนพัฒนา สุขภาพจิตแห่งชาตทิ ี่สมควรพิจารณาปรับแกเ้ พื่อใหเ้ กดิ ความสอดคล้องกลมกลืนกัน โดยหลักมดี งั ตอ่ ไปน้ี - ชื่อเป้าประสงค์ที่ 1.2 ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ระบุว่า “ภาคีเครือข่ายเสริมสร้างการมีส่วนร่วมให้คน ไทยมีปัญญาอารมณ์ดี และมีความสุข” แต่ตัวชี้วัดภายในเป้าประสงค์ สอดคล้องกับคำว่า “คน ไทยมีปัญญาอารมณ์ดี และมีความสุข” แต่ไม่สอดคล้องกับประเด็น “ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม” จึงอาจต้องเปลี่ยนชื่อเป้าประสงค์ให้สอดคล้องกับลักษณะของตัวชี้วัดและโครงการภายใน เป้าประสงค์น้ี - โครงการในตัวชี้วดั ที่ 1.1.2 จากประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 ควรพิจารณานำโครงการที่เกี่ยวข้องกบั การสนับสนุนให้ครอบครัว/ชุมชน ยอมรับและให้โอกาสกับผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตมาไว้ตาม ตัวชวี้ ัดนี้ แล้วยา้ ยโครงการท่ีเกีย่ วกับการฟื้นฟสู มรรถนะของผู้ปว่ ยสขุ ภาพจติ ไปไว้ในยุทธศาสตร์ ที่ 2 - ประสงค์ที่ 3.1 ในยุทธศาสตร์ที่ 3 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิ การติดตามดูแลรักษาฟื้นฟู ผู้ป่วยจิตเวช แต่ยังไม่ครอบคลุมประเด็นในเชิงขับเคลื่อนการดำเนินงาน จึงอาจพิจารณาเพ่ิม ประเดน็ ตัวช้ีวัด หรอื เป้าประสงค์ทีส่ นบั สนนุ การขับเคลือ่ นงานตาม พรบ. สุขภาพจิต ท่ปี รับปรุง ใน พ.ศ. 2562 เพื่อให้ครอบคลุมการขับเคลื่อนและผลักดันแผนสุขภาพจิตระดับชาติด้วย ยกตัวอย่างการกำหนดตัวชี้วัด เช่น ร้อยละ 90 ของอนุกรรมการประสานงานเพื่อการบังคับใช้ กฎหมายว่าด้วยสุขภาพจิตระดับจังหวัดมีการประชุม (อาจกำหนดปีละ 2 ครั้ง) ทั้งนี้ส่วนกลาง จำเป็นต้องมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าวแก่ระดับพื้นท่ี ดว้ ย 3) การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์: ในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนพัฒนาสุขภาพจิต แห่งชาติ มีทางเลือกในการเขียนแผนว่าจะกำหนดแบบเดิมรายพันธกิจ หรือจะปรับใหม่เป็นรายประเด็น มี รายละเอยี ดดังน้ี การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป็นรายพันธกิจ (แบบเดิม) มีข้อดีคือ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของกรมสขุ ภาพจิต ทำใหผ้ ูป้ ฏิบตั ิงานในสงั กัดของกรมสุขภาพจิตมีความคนุ้ เคย และขบั เคลอ่ื นไป พร้อมกบั แผนปฏบิ ัตริ าชการของกรมสขุ ภาพจติ ได้ ส่วนจุดอ่อนของการเขยี นในลักษณะตามพันธ กิจของกรมสุขภาพจิต คือ หน่วยงานผู้มีส่วนได้ส่วนเสียนอกกรมสุขภาพจิตจะมีส่วนร่วมได้น้อย ในฐานะผู้ใช้บริการจากกรมสขุ ภาพจิต (User) เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นพันธกิจของกรมสุขภาพจิต เป็นหลักในทั้ง 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ แล้วมีหน่วยงานอื่น ๆ เข้ามามีส่วนเสริม ในบางประเด็น เช่น การส่งเสริมสุขภาพจิตตามกลุ่มวัยในยุทธศาสตร์ที่ 1 การร่วมฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยในชุมชนตาม ยุทธศาสตร์ที่ 2 และการส่งเสริมสวัสดิการการเข้าถึงสิทธิในการฟื้นฟูดูแลกลุ่มผู้บกพร่องทางจติ ในยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 เปน็ ตน้ 236

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) การกำหนดประเด็นยุทธศาสตรเ์ ปน็ รายประเด็น (แบบใหม่) มขี อ้ ดีคือ ความชัดเจนในการแสวงหา ผ้มู สี ว่ นรว่ มในประเด็นด้านสุขภาพจิตซ่ึงมีความเป็นรูปธรรม หนว่ ยงานผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียจะมอง บทบาทของตนเองได้ชัดเจน ในฐานะเจา้ ของร่วม (Co-owner) ยกตัวอย่างประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ มีผู้เสนอวา่ สามารถกำหนดได้ภายใต้แนวคิดนี้ เช่น ยุทธศาสตร์ป้องกนั และแก้ไขปัญหาการฆา่ ตวั ตาย ยุทธศาสตร์การพัฒนาเด็กปฐมวัย ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตและจิต เวช ยุทธศาสตร์พัฒนาทักษะชีวิตของคนไทยทุกช่วงวัย ด้านการกำหนดตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับ สมรรถนะในการบรรลุ 4) การถา่ ยทอดประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ สำหรับแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติควรมีการเพิ่มความถี่ และความครอบคลุมในการถ่ายทอด ยุทธศาสตร์ โดยอาจเพิ่มเติมผู้มีส่วนร่วมในเชิงประเด็นมากขึ้นเพื่อให้ระดับปฏิบัติงาน ได้มีโอกาสทำความ เข้าใจแลกเปลี่ยนประเด็นด้านสุขภาพได้ ยกตัวอย่างเช่น ผู้บริหารของกองยุทธศาสตร์ ของกรมการปกครอง ส่วนท้องถ่ิน เสนอว่าควรมีบุคลากรจากกองสาธารณสุขท้องถิ่นเข้ามามีสว่ นร่วมในการประชมุ ด้วย ในลักษณะ เดียวกัน ผู้บริการจากกองยุทธศาสตร์และแผนงานของสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ม่นั คงของมนุษย์ เสนอว่า ควรมหี น่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในเชิงประเด็น เขา้ มามีสว่ นรว่ มได้แก่ ดา้ นการพัฒนาเด็ก ให้มีตัวแทนมาจากกรมกิจการเด็กและเยาวชน ด้านครอบครัว ให้มีตัวแทนจากกรมกิจการสตรีและสถาบัน ครอบครัว ด้านผู้สูงวัย ให้มีตัวแทนจากกรมกิจการผู้สูงอายุ ด้านสวัสดิการผู้ด้อยโอกาส ให้มีตัวแทนจากกรม พัฒนาสังคมและสวัสดิการ เข้ามามีส่วนร่วม จะก่อให้เกิดการวางแผน แลกเปลี่ยน และการแปลงยุทธศาสตร์ ทน่ี ำไปสู่เป้าหมายร่วมของตา่ งกระทรวงได้ ดา้ นการแปลงประเด็นยุทธศาสตรไ์ ปสแู่ ผนปฏิบัติ จากโครงสร้างในการเขียนแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ซึ่งเชื่อมโยงจากประเด็นเป้าประสงค์ ไปสู่ ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ แล้วข้ามไปเป็นโครงการ ทำให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างโครงการที่จะนำไปตอบตัวชี้วัด ตามเป้าประสงค์ และขาดภาพของความเชื่อมโยงว่า โครงการที่ปรากฏในแผน ได้ตอบความต้องการของ เป้าประสงค์นั้นมากน้อยเพยี งใด ในการเขียนแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติระยะต่อไปจึงควรเพิม่ ระดบั ความ เชื่อมโยง ให้ครบถ้วนตามองค์ประกอบของการเขียนแผนยุทธศาสตร์ และวางแผนความเชื่อมโยงตามแผนที่ ยุทธศาสตร์เพื่อให้สามารถประเมินความเป็นไปได้ของแผนในเบื้องต้นว่ากลยุทธ์ที่วางไวเ้ พียงพอต่อการบรรลุ เป้าประสงค์ และเปา้ หมายเชงิ ยทุ ธศาสตรข์ องแผนแลว้ หรือไม่ 8.4.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติและแผนปฏบิ ตั ริ าชการกรมสขุ ภาพจติ ทั้งแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาตแิ ละแผนปฏบิ ตั ิราชการกรมสขุ ภาพจติ มปี ระเดน็ สำคัญท่คี วรนำไป พจิ ารณาดงั ต่อไปน้ี 237

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) เน้ือหายทุ ธศาสตร์ 1) ด้านโครงการตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ พิจารณาปรับรายละเอียดของโครงการตามแต่ละประเด็นเป้าหมายเชงิ ยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้อง กับความสามารถในการบรรลุเป้าหมายได้จริง โดยมีแนวทางคือ การจัดโครงการให้สมดุลและจำเป็นเป็น เพียงพอตอ่ การบรรลุเป้าประสงค์ของแผน โดยมแี นวทางคือ อาจจำแนกตามกลมุ่ เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์เป็น กลุ่มวัย ตามตัวชี้วัดเป้าประสงค์ หรือจำแนกตามหน่วยงานที่รับผิดชอบ นอกจากนั้นยังควรมีการจัดลำดับ ความสำคัญของโครงการที่ขบั เคลื่อนไปส่กู ารบรรลุเป้าหมายเชิงยทุ ธศาสตร์ เพื่อให้เกิดทิศทางการดำเนินงานที่ ชัดเจน 2) ดา้ นตวั ช้วี ดั คา่ เป้าหมายตา่ ง ๆ ในแผน ทบทวนตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่ปรากฏในแผน ปรับค่าเป้าหมายบางตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ ยกตัวอย่าง เช่น ตัวชี้วัดอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จที่ตัวเลขต่ำเกินสมรรถนะ ตัวชี้วัดร้อยละของ อำเภอบูรณาการงานสขุ ภาพจติ หรือ ร้อยละของเด็กลุ่มเสีย่ งได้รบั การพัฒนา ที่บรรลุคา่ เป้าหมายไปมากแลว้ เป็นตน้ 3) ด้านเนือ้ หาในการพฒั นางานสุขภาพจติ ประเด็นการยอมรับและการให้โอกาสต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิต เป็นประเด็นที่กรมสุขภาพจิตได้ ดำเนินการอยา่ งต่อเนือ่ งมาโดยตลอด ซึ่งผลการดำเนินงานทีผ่ า่ นมา เครือข่ายผู้ปฏิบัติงานดา้ นสขุ ภาพจิตรบั รู้ ได้ว่ามีความก้าวหน้ากว่าในอดีตมาก อย่างไรก็ตาม ประเด็นความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักต่อผู้มี ปัญหาสุขภาพจิต ยังคงเป็นประเด็นสำคัญที่ยังต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะคือให้มีการขยาย โครงการสู่เครือข่ายกลุ่มใหม่ ๆ ท้งั ทีเ่ ปน็ การพฒั นาประชาชนท่วั ไป และพฒั นาแกนนำเครือข่ายท่ีจะทำหน้าท่ี ขยายความรู้ต่อในระดับพื้นที่ โดยเฉพาะพ้ืนที่ในเขตเมืองซึ่งยังเป็นจุดอ่อนของการพัฒนางานสุขภาพจิต ยกตัวอย่างแนวทางในการดำเนินงานคือ การเข้าไปเสริมสร้างภาคีเครือข่ายในสถานที่อยู่อาศัยเขตเมือง เช่น หอพัก คอนโด หมู่บ้าน ผ่านคณะกรรมการหมู่บ้าน/นิติบุคคลหมู่บ้าน สมาคมอาชีพต่าง ๆ ชมรมต่าง ๆ เป็น ตน้ กระบวนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ 1) ด้านภาวะผ้นู ำทขี่ ับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ใหป้ ระสบความสำเร็จ ควรมกี ารพฒั นาภาวะผูน้ ำเชิงยุทธศาสตร์แกภ่ าคีเครือข่ายและบุคลากรผู้ท่ีนำยทุ ธศาสตร์ไปสู่การ ปฏบิ ัตเิ ปน็ หลัก ยกตวั อย่างเช่น จัดทำโครงการพัฒนาภาวะผนู้ ำในการขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์ 2) ด้านการถ่ายทอดวสิ ัยทัศน์ เสนอให้มีโครงการในการถ่ายทอดวิสัยทัศน์และเนื้อหายุทธศาสตรใ์ ห้แก่องคก์ าร เครือข่ายที่ต้อง นำยทุ ธศาสตร์ไปปฏิบตั ิ โดยจดั ใหม้ ีการสัมมนาเป็นการเฉพาะในแตล่ ะปี 238

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 3) ด้านการแปลงค่าเป้าหมายเชงิ ยุทธศาสตร์ นอกจากจะมีการแปลงคา่ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตรส์ รู่ ะดบั ภาพรวมแลว้ ควรแปลงค่าเป้าหมายใน ระดับพ้นื ทีด่ ว้ ย ยกตัวอย่างเช่น พื้นทีท่ีมีปัญหามาก กับพ้นื ท่ีท่มี ีปญั หาน้อย ให้กระจายค่าเปา้ หมายตัวช้ีวดั ไว้ ให้เหมาะสมกบั บรบิ ทของพน้ื ท่ี แลว้ ใชค้ ะแนนเฉล่ียในภาพรวมระดบั ประเทศ การบริหารแผนยทุ ธศาสตร์ 1) ด้านการสื่อสาร การสื่อสารประเด็นสุขภาพจิตให้มีความเป็นรูปธรรมเพื่อเพิ่มความรู้สึกร่วมถึงความเกี่ยวข้องใน แต่ละประเด็นสุขภาพจิต เนื่องจากการมีส่วนร่วมของแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ต้องใช้สรรพกำลงั ในการ ขับเคลื่อนทางสังคมจากหลายด้าน ดังนั้น บุคลากรที่เกี่ยวข้องซึ่งอยู่นอกเหนือจากสายงานด้านสุขภาพจิต จำนวนมากมองรูปธรรมของงานสุขภาพจติ ไม่ออก อาจคดิ ว่าเป็นงานทเ่ี ก่ยี วข้องกับผปู้ ่วยสุขภาพจิตเพียงอย่าง เดียว จึงทำ ให้ความรู้สึกร่วมในแผนน้อย และคิดว่าตนเองไม่ชำนาญเท่ากับแพทย์ที่อยู่ในกรมสุขภาพจิต จึง ควรมีการพัฒนาศักภาพบุคลากรด้านสขภาพจิตให้หน่วยงานเครือข่าย ด้วย เพื่อให้เกิดความร่วมมือและการ ส่ือสาร ตลอดจนการบรหิ ารงานรว่ มกนั แบบบูรณาการ 2) ดา้ นการประสานงาน การทำงานในรูปแบบคณะกรรมการจะต้องมีสำนักเลขาธิการที่เข้มแข็ง ในการทำหน้าที่ประสาน หน่วยงานที่หลากหลาย ปัญหาคือ สำนักงานเลขาฯ เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ มีบุคลาน้อย หมุนเวียนบ่อย และส่วน ใหญ่เป็นบุคลากรใหม่ที่ได้รับการถ่ายโอนมาจากภาคส่วนอื่น ๆ ซึ่งยังไม่ชำนาญงาน การบริหารบางอย่างจึง ขาดความต่อเนอ่ื ง ดังน้ัน การพัฒนาศกั ยภาพของบุคลากร หรือการเพิ่มอตั รากำลังใหม้ ตี ำแหน่งของบุคลากรท่ี ชำนาญการ ให้แก่สำนักงานเลขาธิการคณะกรรมการฯ จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น โดยโครงสร้างอัตรากำลังที่สำคัญ ของสำนักงานเลขาธิการ ควรประกอบด้วย ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายสุขภาพจิต ด้านยุทธศาสตร์และ แผนงาน และดา้ นการบรหิ ารองคก์ าร เปน็ หลัก 3) ดา้ นการกำกับติดตามประเมนิ ผล ควรมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานกำกับติดตามการดำเนินงานของยุทธศาสตร์ สุขภาพจิตแห่งชาติและควรมีการจัดทำแผนการกำกับติดตามอย่างเป็นระบบ เช่น การจัดโครงการสัมมนา ประเมินผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่ายระหว่างคณะทำงานที่อยู่ในคณะอนุกรรมการจัด นโยบายและยทุ ธศาสตร์สุขภาพจติ โดยมีลกั ษณะเปน็ วาระเฉพาะไมใ่ ช่การประชุมคณะกรรมการทีเ่ ป็นทางการ แต่เป็นเวทีให้มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนมุมมองระหว่างกระทรวง ซึ่งโครงการนี้ นอกจากจะเป็นการทบทวนแผน และประเมินสถานการณ์หลังนำแผนไปปฏิบัติแล้ว ยังช่วยสร้างความเข้าใจและสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง คณะกรรมการจัดทำยทุ ธศาสตร์สุขภาพจติ แห่งชาติ และบุคลากรผปู้ ฏบิ ัตงิ านของแต่ละหน่วยงานได้ด้วย 4) ด้านงบประมาณและบคุ ลากร การขับเคลื่อนแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาตติ ้องประสานหน่วยงานในระดับพื้นทีห่ ลายภาคส่วน โดยเฉพาะงบประมาณสำหรบั การประชุมเปน็ ปจั จัยสำคัญ ลกั ษณะของการบูรณาการงานกับพื้นที่ซ่ึงส่วนใหญ่ 239

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) มักขาดแคลนงบประมาณในการจัดประชุมเป็นการเฉพาะ นอกจากนั้นหลายหน่วยงานยังต้องการบุคลากรทีม่ ี ความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต ซึ่งมีสองประเด็นในด้านการผลักดันให้เกิดการพัฒนาบุคลากรคือ (1) คณะกรรมการควรมีมาตรการในการผลักดันเพื่อเพิ่มจำนวนบุคลากรด้านสุขภาพจิต ให้ครอบคลุมในระบบ บริการสุขภาพปฐมภูมิ โดยใชห้ ลกั อา้ งอิงเหตผุ ลทีว่ า่ สถานการณ์สขุ ภาพจิตหลงั การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า 2019 จะยงั ทวคี วามรนุ แรงขึ้นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จากผลการทรุดตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว กอ่ ให้เกิด กลุ่มเสี่ยงต่อการมีปัญหาสุขภาพจิตมากยิ่งขึ้น และ (2) เพิ่มศักยภาพของบุคลากรในด้านสุขภาพจิตให้ เครือขา่ ยจากภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกระบบบริการสาธารณสขุ ทีด่ ำเนนิ งานในพน้ื ท่ี ให้มีความรู้ ความสามารถในด้านสง่ เสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต โดยเนน้ ขยายไปยงั กลุ่มเครือขา่ ยกลุ่มใหม่ ซ่ึงเป็นระดับ ปฏิบัติการในหน่วยงานที่มีรายชื่อเป็นคณะกรรมการพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ และคณะอนุกรรมการจัดทำ นโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจิต เช่น จัดทำโครงการพัฒนาบุคลากรจากเครือข่ายของกระทรวงการพัฒนา สังคมและความม่นั คงของมนุษย์ทีท่ ำงานเกีย่ วข้องกบั กล่มุ เส่ยี งทจ่ี ะมปี ญั หาสขุ ภาพจิต เปน็ ตน้ 240

คณะทำงาน 1. นางสาวพันทวิ า แก้วสวัสดิ์ เจ้าหน้าที่บรหิ ารงานทั่วไปปฏบิ ัตกิ าร คณะพัฒนาสงั คมและยุทธศาสตร์การบริหาร สถาบันบณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร์ 2. นางสาวชญานิศ อนุสกุลโรจน์ ผชู้ ว่ ยนกั วจิ ัย คณะพฒั นาสังคมและยุทธศาสตรก์ ารบริหาร สถาบันบณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ 3. ธณฐั ฐา คำบุญ ผชู้ ว่ ยนักวิจัย 4. นางชนันรัตน์ นวพลพัฒน์ นกั วชิ าการสถติ ชิ ำนาญการพเิ ศษ สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสขุ ภาพจิตแห่งชาติ 5. นายธนกร เทาศริ ิ นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบตั ิการ สำนกั งานเลขานุการคณะกรรมการสขุ ภาพจิตแห่งชาติ 6. อาจารย์ ดร.ณัฐพงษ์ เพชรละออ สถาบนั สหสรรพศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราช มงคลอสี าน 7. ดร.ทพิ ย์ปรญิ ญ์ ปญั ญามี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน (ขอนแกน่ ) 8. ดร.ศราวุฒิ อนิ ทพนม บริษัท สยาม วนั คอนซัลต้ิง จำกัด