รประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ความ หน่วยงาน หมายเหตุ ดคล้อง/ /ขอ้ เสนอแนะ มาะสม แต่เร่ิมปว่ ย =5 =2 ✓ ✓ กรมสขุ ภาพจติ ✓ กรมสขุ ภาพจติ ✓ กรมสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติ โครงการมคี วามสำคญั เกินกว่าจะอยใู่ นตัวช้ีวดั เปา้ ประสงค์ 2.1.1 นอกจากน้ัน การดำเนนิ งานด้านการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาการฆ่าตวั ตาย ไมค่ วรจำกดั อยูใ่ นเฉพาะประเด็น อัตราการเข้าถึงบริการของโรคท่ี สำคญั ทางจติ เวช - โรคออทิสตกิ โรคสมาธสิ ั้น โรคซึมเศร้า โรคจติ เภท แตค่ รอบคลุมถึงบคุ คลากรทวั่ ไปและ ภาคีเครือข่ายท่เี กย่ี วขอ้ ง จึงมผี ู้ เสนอวา่ ควรมองโครงการป้องกันและแก้ไขปญั หาการฆ่าตวั ตาย ไม่ให้ จำกดั อยูใ่ นประเดน็ การเข้าถงึ บริการเท่านัน้ แตใ่ ห้มองในมมุ มองการ ส่งเสริมปอ้ งกนั ปัญหาสุขภาพจิต ดว้ ย กรมสุขภาพจิต การขบั เคลื่อนเชิงนโยบาย หรอื ขับเคลอื่ นงานตาม พรบ. นา่ จะ สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ที่ 3 มากกวา่ 22
โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพจติ และจิตเวช ค สอด โครงการ รายละเอยี ด เหม ในการทำงานกับกลุม่ คนไร้บ้านหรือคนท่ีใช้ ชวี ิตในพื้นท่ีสาธารณะทีม่ ีปญั หาสขุ ภาพจิต และจติ เวชเพิ่มข้ึน 6. โครงการพฒั นารูปแบบงานส่งเสริมสุขภาพจติ ทีม่ ี ระบบบรกิ ารสุขภาพในพน้ื ท่เี พอ่ื การดูแล มิติทางเพศภาวะ และความเปน็ ธรรมทางเพศใน ผูป้ ว่ ยหญงิ ทเ่ี ปน็ โรคซมึ เศรา้ โดยบูรณาการ ชมุ ชน มิต,ิ เพศภาวะและความเปน็ ธรรมทางเพศ 7. โครงการเพ่ิมการเข้าถึงบรกิ ารโรคออทสิ ติก โดย ผู้ปว่ ยออทิสติกเข้าถงึ บริการสุขภาพจติ ที่ได้ การใช้เครอ่ื งมือวนิ ิจฉัยภาวะออทิซมึ ในระยะเรมิ่ แรก มาตรฐาน สำหรับเดก็ ไทย 2.1.2 ชว่ งเวลาของอาการโรคจิตเภทท่ีไมไ่ ด้รบั การรกั ษา ลดลงหลงั จากปเี รมิ่ ตน้ แผน ร้อยละ 2 1. โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการดแู ลผูป้ ่วยโรคจิต ผปู้ ว่ ยโรคจติ เภทเขา้ ถงึ บรกิ ารสุขภาพจติ ท่ไี ด้ เภท มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการเข้าถงึ บริการโรคจติ เภท 2.1.3 ร้อยละ 50 ของศนู ย์ แพทยเ์ วชศาสตร์ครอบครวั (Primary Care Cluster : PCC) ในชุมชนมีระบบในการดูแลสุขภาพจิตและจติ เวช 1. กิจกรรมการพฒั นาระบบสขุ ภาพจติ และจิตเวชใน คลินกิ หมอครอบครัว(primacy care Unit: คลนิ กิ หมอครอบครวั PCU ) มีระบบในการดูแลสขุ ภาพจิตและจติ เวชในชุมชน 2. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารวกิ ฤตสุขภาพจติ ของ ภาคีเครือขา่ ยดา้ นวกิ ฤตสุขภาพจิตและ ประเทศ สขุ ภาพจติ ฉกุ เฉินทัง้ ในและนอกระบบ สาธารณสุขทีเ่ ขม้ แขง็ ในการชว่ ยเหลอื ประชาชนผ้ปู ระสบภาวะวกิ ฤต ประสานและ พัฒนาภาคเี ครอื ข่ายดา้ นวกิ ฤตสุขภาพจติ ท่ี เป็นระบบ 12
รประเมินแผนปฏิบัตริ าชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหตุ ดคลอ้ ง/ /ขอ้ เสนอแนะ มาะสม ✓ สสส. สนบั สนนุ งบให้ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ✓ กรมสขุ ภาพจิต ✓ ✓ มี 1 โครงการ ✓ กรมสุขภาพจติ ✓ ✓ = 3 โครงการ ✓ กรมสุขภาพจติ ✓ กรมสขุ ภาพจิต 23
โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสขุ ภาพจติ และจิตเวช ค โครงการ รายละเอียด สอด เหม 3. โครงการพฒั นารูปแบบงานส่งเสริมสุขภาพจติ ท่มี ี หนว่ ยบรกิ ารสุขภาพมีศักยภาพเพมิ่ ขน้ึ ในการ มิติทางเพศภาวะและความเป็นธรรมทางเพศในชุมชน ดูแลผูห้ ญงิ ท่เี ปน็ โรคซึมเศรา้ บรู ณาการกับ ความเป็นธรรมทางเพศ 2.1.4 ร้อยละ 96 ของผปู้ ่วยจติ เวชทม่ี คี วามเส่ียงสงู ตอ่ การกอ่ ความรนุ แรง ไม่ก่อความรนุ แรงซ้ำ ภายใน 1 ปี 1. โครงการพัฒนาระบบดูแลผ้ปู ว่ ยจติ เวชทมี่ ีความ พัฒนาระบบบริการผู้ปว่ ยจิตเวชท่ีมีความ เส่ียงสงู ตอ่ การก่อความรนุ แรงในชุมชน เส่ียงสูงตอ่ การกอ่ ความรุนแรงใหม้ มี าตรฐาน มีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และดูแล 2. โครงการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาการฆ่าตวั ตายใน เป็นการปอ้ งกนั ในกลมุ่ ทีฆ่ า่ ตัวตายไมใ่ ห้ คนไทย กลับมาฆา่ ตวั ตายซำ้ 3. โครงการพฒั นาระบบการดูแลผปู้ ว่ ยจติ เวชทม่ี ี ผปู้ ่วยจติ เวชทมี่ ีความเสย่ี งสงู ต่อการกอ่ ความ ความเสี่ยงสูงตอ่ การกอ่ ความรนุ แรงทเ่ี ชื่อมโยงกับเขต รุนแรงยุง่ ยากซับซอ้ นทไ่ี ดร้ ับการดูแลตอ่ เนอ่ื ง สุขภาพ ในชมุ ชน 4. พฒั นา Application และระบบสารสนเทศ เปน็ โครงการการพฒั นา Application กับ โปรแกรม Care Transition เพื่อการติดตามผลการ โปรแกรม มีผลผลติ อยทู่ กี่ ารพัฒนา ดูแลตอ่ เน่ือง ผู้ป่วยจติ เรอ้ื รงั กลุ่มเสย่ี งในชมุ ชน นวตั กรรม สำหรบั รพ.สต. หรือ อสม. 1) บรกิ ารผปู้ ว่ ย 2) ฟื้นฟู สมรรถภาพผูป้ ่วย เปา้ ประสงค์ 2.2 ผู้ปว่ ยจติ เวชและผูม้ ปี ัญหาสขุ ภาพจติ และจิตเวชได้รบั บรกิ ารตามมาตรฐานจนหายทเุ ลา สา 2.2.1 ร้อยละ 94 ของผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดทหี่ ยุดเสพตอ่ เนอ่ื ง 3 เดือนหลังจำหนา่ ยจากการ บำบดั รักษา 1. กิจกรรมบำบดั รกั ษา และฟ้ืนฟูผู้ป่วยยาเสพติดมี ผู้ป่วยยาเสพตดิ กล่มุ เสย่ี งกอ่ ความรุนแรง ปัญหาสขุ ภาพจิต ไดร้ บั การประเมินบำบดั รกั ษาและติดตาม 12
รประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหตุ ดคล้อง/ /ขอ้ เสนอแนะ มาะสม สสส. สนับสนุนงบให้ คณะพยาบาลศาสตร์ ✓ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ✓ ✓=2 = 1 ✓ กรมสุขภาพจิต ✓ กรมสขุ ภาพจติ ✓ กรมสขุ ภาพจิต - เป็นโครงการทีส่ อดคลอ้ งกับยุทธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นากลไกทางวชิ าการ องค์ความรู้ นวตั กรรมทเี่ กย่ี วข้อง มากกว่า ามารถอยู่ในชมุ ชนได้อยา่ งปกตสิ ุข ✓ ✓ มี 5 โครงการ ✓ กรมสุขภาพจติ 24
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 พัฒนาระบบบริการสขุ ภาพจติ และจิตเวช ค สอด โครงการ รายละเอียด เหม 2. กิจกรรมติดตามดแู ลช่วยเหลอื ผูผ้ ่านการ ดูแลช่วยเหลอื ตามระดับความรนุ แรงอยา่ ง บำบดั รักษายาเสพติด ต่อเน่ือง 1 ปี 3. โครงการพัฒนาแนวทางการบำบัดฟนื้ ฟู ผปู้ ว่ ยจติ เวชยาเสพติดที่หยดุ เสพตอ่ เนอ่ื ง 3 สมรรถภาพผ้ปู ว่ ยจติ เวชยาเสพติดโดยการมสี ว่ นร่วม เดือนหลงั จำหนา่ ยจากการบำบดั รกั ษา ของชมุ ชน 4. โครงการพัฒนางานบำบดั รกั ษาและตดิ ตามผู้ปว่ ย ผ้ปู ว่ ยจติ เวชยาเสพตดิ ทเี่ ข้าสกู่ ระบวนการ จิตเวชยาเสพตดิ บำบัดได้รับการดแู ลอยา่ งมีคุณภาพต่อเน่ือง จนถึงการติดตาม 5. โครงการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบำบัดทางจิตสังคม ผปู้ ว่ ยโรคตดิ สุรากลับมารกั ษาในโรงพยาบาล สำหรบั ผูป้ ว่ ยโรคตดิ สรุ าทมี่ ีภาวะบกพรอ่ งการรู้คิด ซ้ำภายใน 90 วันหลังสิ้นสดุ โปรแกรม 2.2.2 รอ้ ยละ 70 ของผู้ป่วยจติ เวชท่ีรบั การรกั ษาแบบผู้ปว่ ยในมอี าการทางจติ หายทเุ ลา 1. โครงการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการดูแลผปู้ ่วยโรค ผ้ปู ่วยโรคซมึ เศรา้ หายทเุ ลา(full remission) ซมึ เศรา้ 2. โครงการพฒั นาคณุ ภาพระบบบรกิ ารสุขภาพจิต พัฒนาระบบบริการผูป้ ่วยจิตเวชรนุ แรง และจิตเวชระดบั เหนอื ตตยิ ภมู ิ ยงุ่ ยากซับซอ้ น ในสถาบนั /โรงพยาบาลจติ เวช ใหเ้ ช่ือมโยงและตอบสนองตอ่ ความต้องการ ในเขตสุขภาพ 3. งานราชทณั ฑป์ นั สุข เพ่อื พัฒนางานดา้ นสุขภาพจติ พฒั นาระบบบรกิ ารดา้ นสุขภาพจิตและจติ เวช และจิตเวช ในเรือนจำและสถานพนิ จิ และคุ้มครองเดก็ และเยาวชนทว่ั ประเทศใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทาง เดียวกันและยงั่ ยนื 2.2.3 ร้อยละ 40 ของผปู้ ่วยโรคท่สี ำคญั ทางจติ เวชทไ่ี ด้รบั การบำบดั รกั ษาแลว้ มคี ณุ ภาพชีวิตทีด่ ขี ึ้น 12
รประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหตุ ดคลอ้ ง/ กรมสุขภาพจิต /ข้อเสนอแนะ มาะสม ✓ ✓ กรมสุขภาพจติ ✓ กรมสขุ ภาพจติ ✓ กรมสุขภาพจติ ✓ ✓=2 =1 ✓ กรมสุขภาพจิต ✓ กรมสขุ ภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ เปน็ เร่อื งพฒั นาการเข้าถึงบริการ ในกลมุ่ ผูท้ ี่อยูใ่ นเรอื นจำและสถาน พนิ ิจ ดังน้นั จะสอดคลอ้ งกับเปา้ ประสงค์ 2.1 มากกว่า ✓ ✓=4 =2 25
โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 พัฒนาระบบบริการสขุ ภาพจติ และจติ เวช ค สอด โครงการ รายละเอยี ด เหม 1. โครงการพฒั นาระบบสนบั สนุนอาชพี บุคคล บคุ ลากรบกพร่องทางสตปิ ญั ญาและออทสิ ตกิ บกพร่องทางสตปิ ญั ญาและออทิสติกของหนว่ ยงานใน ทเ่ี ขา้ สูร่ ะบบสนบั สนุนอาชพี มคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดี สังกัดกรมสขุ ภาพจติ ขนึ้ 2. โครงการแก้ไขปญั หาวกิ ฤติสขุ ภาพจติ ในพ้ืนท่ี ศึกษาปญั หาสุขภาพจิตของประชาชนในพืน้ ท่ี จังหวัดชายแดนใต้ จังหวดั ชายแดนใต้ สง่ เสริม พฒั นาเชาวน์ ปัญญา และความฉลาดทางอารมณเ์ ด็กที่ 3. โครงการสร้างความเขม้ แข็งของเครือข่ายผู้พกิ าร ไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณค์ วามไมส่ งบ ทางจติ ใจหรือพฤตกิ รรม ในพ้ืนทจี่ ังหวัดชายแดนใต้ พัฒนาศกั ยภาพ 4. โครงการพฒั นาระบบการฟื้นฟูสมรรถภาพคน บุคลากรเครือข่ายให้สามารถดูแลเยยี วยา พกิ ารทางจติ ใจหรอื พฤตกิ รรมส่กู ารมงี านทำ จิตใจผูไ้ ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณค์ วาม 5. โครงการพฒั นาระบบการฟนื้ ฟูสมรรถภาพผูป้ ว่ ย ไม่สงบในพนื้ ทจ่ี งั หวัดชายแดนใต้ และลง โรคจิตเรือ้ รงั กลุม่ เส่ยี งในชมุ ชน ระดับปฐมภูมิ บนั ทกึ ขอ้ มูลในฐานข้อมลู CMS ได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ 6. โครงการฟ้นื ฟจู ิตใจหลงั ภาวะวกิ ฤติในสถานการณ์ ผพู้ ิการทางจติ ใจหรือพฤตกิ รรม ได้รับการ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ฟ้ืนฟจู นดขี น้ึ การอบรมบคุ ลากรระดับชุมชนให้มคี วามรู้ เรือ่ งการจดั บรกิ ารฟน้ื ฟสู มรรถภาพผ้ปู ว่ ยโรค จิตเร้อื รงั กลุ่มเส่ียงในชมุ ชน จดั ระบบการดำเนินงานสขุ ภาพจิตในระดบั เขตสุขภาพ ท้ังการเฝ้าระวังปญั หาสุขภาพจติ แก่ประชาชนทีต่ อ้ งเผชิญกับวิกฤตโควิด-19 12
รประเมนิ แผนปฏิบัติราชการ ความ หน่วยงาน หมายเหตุ ดคล้อง/ กรมสขุ ภาพจติ /ขอ้ เสนอแนะ มาะสม ✓ กรมสขุ ภาพจติ ไมส่ อดคล้องตรงประเด็นกับตัวช้ีวดั และเปา้ ประสงค์น้ี นา่ จะสอดคล้อง กับเป้าประสงค์ 2.1 ซงึ่ เก่ยี วกับการพฒั นาระบบทส่ี ง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ บริการ ซ่งึ เรม่ิ จากการคดั กรองกลุ่มเสย่ี ง มากกวา่ สว่ นเป้าประสงค์น้ี เกย่ี วขอ้ งกบั การฟนื้ ฟูคณุ ภาพชวี ติ หลังการบำบัดรักษาแล้ว ✓ กรมสุขภาพจติ ✓ กรมสุขภาพจิต ✓ กรมสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต มีกจิ กรรมเกย่ี วกบั การเพ่มิ การเข้าถึงบรกิ ารดว้ ยการคัดกรองสขุ ภาพจิต และมีกิจกรรมป้องกนั ปญั หาสขุ ภาพจติ ทีเ่ กิดขน้ึ ทำให้เกดิ กลุ่มเสี่ยงตอ่ การมปี ัญหา ดังน้ันจึงไมส่ อดคลอ้ งกับเป้าประสงค์ 2.2 ที่เน้นฟื้นฟูผู้ปว่ ย โรคทส่ี ำคัญทางจิตเวช 26
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ขบั เคลือ่ นและผลักดนั มาตรการทางกฎหมาย สงั คม และสวสั ดกิ าร ค โครงการ รายละเอียด สอด เหม เปา้ ประสงค์ 3.1 ผปู้ ่วยจติ เวชได้รับการคมุ้ ครองสทิ ธิ ส่งเสรมิ สขุ ภาพจิต ปอ้ งกนั ปญั หาสขุ ภาพจติ ไดร้ บั การบ 3.1.1 ร้อยละ 85 ของผปู้ ่วยจติ เวชที่ไดร้ บั การดแู ลตาม พ.ร.บ.สขุ ภาพจติ ได้รับการตดิ ตามอย่าง ตอ่ เน่ือง 1. โครงการส่งเสริมใหก้ ารศึกษา พ.ร.บ. สุขภาพจิต แก่ ผู้ปกครองและอาสาสมัครท่ีรับการอบรม องคก์ รและแกนนำ มีความรูค้ วามเขา้ ใจและสนับสนนุ ให้ เขา้ ถงึ สิทธิ 2. โครงการพัฒนาทกั ษะบุคคลออทสิ ตกิ และบกพร่อง บุคคลออทิสตกิ ทเ่ี ข้ารว่ มรับบรกิ ารทกั ษะ พัฒนาการสร้างคุณภาพชวี ิตทดี่ รี ะบบสขุ ภาพ ระบบ การศึกษา ระบบการสร้างเสริมอาชพี และการสรา้ งเสริม ศีลธรรม 3. โครงการเตรยี มความพรอ้ มให้ผ้บู กพร่องทางจิตเข้าถงึ คนพกิ ารทางจติ ได้พัฒนาศักยภาพในการ สทิ ธภิ าพการจา้ งงาน ทำงานและเรียนรูก้ ารปรับตวั เขา้ สู่สงั คม 4. โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพและการเขา้ ถึงบริการนิติ ผปู้ ่วยนติ ิจติ เวชไดร้ ับการติดตามอยา่ ง สขุ ภาพจิต ต่อเนือ่ ง *5. โครงการพฒั นาระบบการดแู ลสุขภาพจิตครบวงจร ผู้มีปญั หาสุขภาพจิตและผู้มีความผดิ ปกติ ดว้ ยกลไกทางกฎหมาย ทางจิต ท้งั ทอี่ ยูใ่ นชุมชน และทีไ่ ดร้ ับการ - การติดตามขอ้ มูลผปู้ ว่ ยจติ เวชทเ่ี ขา้ รบั การบำบดั รักษา นำส่งเข้าส่กู ารบำบดั รกั ษาทางสขุ ภาพจติ และจำหนา่ ยตามพระราชบญั ญตั ิสขุ ภาพจติ ไดร้ ับการ และจติ เวชในเขตสขุ ภาพ ตดิ ตามตอ่ เน่ืองครบ 1 ปี 6. บรู ณาการระบบการดูแลผ้ปู ว่ ยจิตเวชไร้บ้านในพนื้ ที่ เพ่ิมโอกาสในการได้รบั สวัสดิการในการ กรงุ เทพมหานคร ช่วยเหลือดูแลผปู้ ว่ ยจิตเวชไร้บา้ น หรอื 12
รประเมินแผนปฏิบัติราชการ ความ หน่วยงาน หมายเหตุ ดคล้อง/ /ขอ้ เสนอแนะ มาะสม บำบดั รกั ษาและฟ้นื ฟสู มรรถภาพอยา่ งถูกต้องเหมาะสม ✓ ✓= 5 อาจเพมิ่ ตวั ชีว้ ดั เนอื่ งจากเนื้อหาภายในตัวชวี้ ัดมบี างตัวที่เก่ยี วขอ้ ง =4 กบั การส่งเสรมิ ใหผ้ ู้ปว่ ยเขา้ ถึงสทิ ธิ และพฒั นาทกั ษะการใชช้ ีวติ มลู นธิ ิออทสิ ติกไทย โครงการสอดคล้องกบั เป้าประสงคท์ ่ี 3.1 แต่อาจเพิม่ ตวั ชี้วัดที่เกยี่ วกับ การใหไ้ ดร้ ับความคุม้ ครองส่งเสริมสุขภาพจติ ป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ตาม พรบ. ฉบบั แก้ไข 2562 ดว้ ย มลู นิธิออทิสติกไทย โครงการสอดคล้องกับเปา้ ประสงคท์ ่ี 3.1 แต่อาจเพิม่ ตวั ชว้ี ัดที่เกยี่ วกบั การใหไ้ ด้รบั ความคมุ้ ครองสง่ เสริมสขุ ภาพจิต ปอ้ งกันปัญหาสุขภาพจิต ตาม พรบ. ฉบับแกไ้ ข 2562 ด้วย สมาคมเพ่ือผบู้ กพรอ่ ง โครงการสอดคลอ้ งกบั เปา้ ประสงค์ท่ี 3.1 แต่อาจเพ่มิ ตวั ชี้วดั ทเ่ี กย่ี วกับ ทางจติ แห่งประเทศ การให้ไดร้ ับความคมุ้ ครองสง่ เสริมสุขภาพจิต ปอ้ งกนั ปัญหาสขุ ภาพจิต ไทย ตาม พรบ. ฉบับแกไ้ ข 2562 ด้วย ✓ กรมสขุ ภาพจิต ✓ กรมสขุ ภาพจติ สสส. สนบั สนนุ โครงการสอดคลอ้ งกบั เป้าประสงคท์ ่ี 3.1 แต่อาจเพ่มิ ตวั ชวี้ ดั ที่เกยี่ วกบั งบประมาณใหค้ ณะ การให้ได้รบั ความคมุ้ ครองส่งเสรมิ สขุ ภาพจิต ป้องกนั ปัญหาสขุ ภาพจิต ตาม พรบ. ฉบบั แก้ไข 2562 ดว้ ย 27
โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ขบั เคลื่อนและผลักดันมาตรการทางกฎหมาย สังคม และสวสั ดิการ ค สอด โครงการ รายละเอียด เหม ไดร้ ับการรักษาพยาบาลจากภาครัฐอยา่ ง เหมาะสม 7. โครงการพัฒนาระบบบรหิ ารสุขภาพจติ สำหรับเดก็ เด็กและเยาวชนต้องคดที ่มี ีปญั หาดา้ น และเยาวชนต้องคดีท่มี ีปญั หาดา้ นจติ เวช สขุ ภาพจติ ไดร้ บั การพัฒนาดูแลติดตาม เฝา้ ระวังและประเมินผลบำบดั รกั ษาแกไ้ ข และฟ้ืนฟูกอ่ นระหว่างและหลงั คำ พิพากษาของศาลวา่ ดว้ ยมาตรการและ มาตรฐานกระบวนการระบบนิตจิ ิตเวช เด็ก 8. โครงการ “การแก้ไข บำบัดฟืน้ ฟู สมรรถภาพเด็กและ เด็กและเยาวชนผูก้ ระทำความผิดตาม เยาวชนที่กระทำความผดิ ตามคำสง่ั ศาล” คำส่ังศาลได้รบั การตรวจวินิจฉยั บำบดั รกั ษาแก้ไขและฟื้นฟสู มรรถภาพ 3.1.2 ร้อยละ 70 ของผู้ปว่ ยจิตเวช ในชมุ ชนที่ได้รบั การดแู ลจากผรู้ บั ดแู ลผปู้ ว่ ยจติ เวช (Caregiver) อย่างถูกตอ้ งและมมี าตรฐาน 1. โครงการพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพจิตสำหรบั ผู้ตอ้ งขัง ผปู้ ่วยจติ เวชในชมุ ชนทไ่ี ดร้ บั การดูแลจาก จติ เวช ผรู้ ับดูแลผู้ป่วยจิตเวช (Caregiver) อยา่ ง ถูกต้องและมีมาตรฐาน 2. โครงการสุขภาพจติ ศกึ ษาหลกั สตู รสายใยครอบครวั ผูเ้ ขา้ อบรมทั้งผ้มู ปี ระสบการณต์ รงและ ผดู้ แู ลมีความเขา้ ใจโรคจิตเวชและ แนวทางในการคนื ส่สู ขุ ภาวะจากโรคจิต เวช 3. โครงการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะของผมู้ ี ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมที กั ษะในการ ประสบการณต์ รงให้เปน็ ผ้ใู หบ้ รกิ ารดา้ นการสง่ เสริมสขุ ให้บริการทม่ี มี าตรฐานตามเกณฑท์ ่ี ภาวะ กำหนด 12
รประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหตุ ดคลอ้ ง/ /ข้อเสนอแนะ มาะสม สังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ มธ. ✓ มูลนิธสิ ถาบนั พัฒนา นติ จิ ติ เวชเดก็ และ เยาวชน และ ครอบครัว ✓ สำนกั การแพทย์ สำนกั งานศาลยุตธิ รรม ✓ ✓=7 =1 ✓ กรมสุขภาพจิต ✓ สมาคมสายใย ครอบครวั ✓ สมาคมสายใย ครอบครวั 28
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ขบั เคลอื่ นและผลักดันมาตรการทางกฎหมาย สงั คม และสวสั ดิการ ค สอด โครงการ รายละเอยี ด เหม 4. โครงการหลกั สูตรพฒั นาสขุ ภาวะ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมคี ณุ ภาพชวี ิตดขี ้นึ 5. โครงการรณรงค์สัมมนาให้ความรูด้ า้ นการคืนส่สู ขุ ภาวะ ผู้มีประสบการณ์ตรงผูด้ ูแลและชุมชนเข้า และการเสรมิ พลัง ร่วมการสมั มนาเพือ่ สรา้ งการตระหนักรู้ เรื่องการคืนสู่สขุ ภาวะและการเสริมพลัง 6. โครงการตั้งองค์กรผดู้ ูแลและเสรมิ สร้างใหแ้ ขง็ แรง เครือขา่ ยจงั หวดั ผดู้ ูแลทว่ั ประเทศ 7. โครงการศนู ย์บรกิ ารส่งเสรมิ ทกั ษะชวี ติ บุคคลออทิสติก เด็กเยาวชนออทสิ ติกและบกพร่องทาง โดยครอบครัวและชมุ ชน 40 จังหวัด พฒั นาการไดร้ บั การฝกึ ทกั ษะชวี ิต 8. โครงการบา้ นสง่ เสริมสทิ ธใิ ห้ผู้บกพรอ่ งทางจิต คนพกิ ารทางจติ ไม่มกี ารกำเริบสามารถ ดแู ลช่วยเหลือตนเองไดด้ ียอมรบั ตนเอง พร้อมพัฒนาและเปลย่ี นแปลงได้รับการ ยอมรบั จากสงั คม 3.1.3 ร้อยละ 50 ของสถานบริการ ทไ่ี ดข้ นึ้ ทะเบียนเปน็ สถานบำบดั รักษาตาม พ.ร.บ. สขุ ภาพจติ 1. โครงการพฒั นาระบบการดูแลสุขภาพจิตครบวงจรด้วย ผู้มคี วามผดิ ปกติทางจติ ไดร้ บั การ กลไกทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิและไดร้ บั การดูแลอยา่ งครบ -การขึน้ ทะเบยี นสถานบรกิ ารเปน็ สถานบำบัดรักษาตาม วงจรเพือ่ ลดอาการความผิดปกติ ความ พระราชบญั ญัติสขุ ภาพจิต รนุ แรงทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อชวี ิต รา่ งกาย หรอื ทรัพยส์ นิ ของบคุ คลนนั้ และ ของผอู้ ่นื ในสงั คม 12
รประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ความ หนว่ ยงาน หมายเหตุ ดคลอ้ ง/ /ข้อเสนอแนะ มาะสม สมาคมสายใย ครอบครวั สอดคลอ้ งกับ ตวั ชีว้ ดั ในยุทธศาสตรท์ ี่ 2 คือ 2.2.3 ร้อยละ 40 ของ ผู้ป่วยโรคท่ีสำคัญทางจติ เวชท่ีได้รบั การบำบดั รักษาแลว้ มคี ณุ ภาพชวี ติ ที่ ✓ สมาคมสายใย ดีขน้ึ ครอบครวั ✓ สมาคมสมาพนั ธผ์ ู้ดแู ล ไทย ✓ มลู นธิ อิ อทสิ ติกไทย ✓ สมาคมเพื่อผ้บู กพร่อง ทางจติ แห่งประเทศ ไทย ✓ ✓ มี 1 โครงการ ✓ กรมสุขภาพจิต 29
โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 พฒั นาวิชาการและกลไกการดำเนินงานดา้ นสุขภาพจติ โครงการ รายละเอยี ด เปา้ ประสงค์ 4.1 หนว่ ยบริการดา้ นสขุ ภาพจติ มีการบรหิ ารจดั การองคก์ รที่มปี ระสิทธภิ าพและธรรมาภิบาล 4.1.1 รอ้ ยละค่าใชจ้ า่ ยด้านสุขภาพจติ ต่อคา่ ใช้จา่ ยดา้ นสขุ ภาพ (Proportion of Mental Health Expenditure per Health Expenditure) มากกวา่ หรือเทา่ กบั 3.5 1. โครงการศึกษาการกำหนดสดั สว่ นงบประมาณ รอ้ ยละค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพจติ ตอ่ คา่ ใชจ้ ่ายด้านสขุ ภาพ ดา้ นสุขภาพจิตเพอ่ื นำไปสกู่ ารตดิ ตามและ ประเมนิ ผลด้านสขุ ภาพจิตในระดบั ประเทศ 4.1.2 ร้อยละ 45 ของหนว่ ยบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพจติ ทม่ี ีผลการประเมินระดบั คณุ ธรรม และความโปรง่ ใสในการดำเนินงานผา่ นเกณฑ์ 1. โครงการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสใน หน่วยงานในสงั กดั กรมสุขภาพจิตผา่ นเกณฑ์ค่าคะแนนตาม การดำเนินงานของหนว่ ยงาน เกณฑ์การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำเนนิ งานของหนว่ ยงานในสังกดั กรมสขุ ภาพจิต (ITA)ใน ระดบั 5 4.1.3 สดั สว่ นบคุ ลากรสายงานหลกั ดา้ นสขุ ภาพจติ ต่อประชากรแสนคน - จติ แพทย์ทว่ั ไป 1.0 - พยาบาลจติ เวช 7.5 - นักจิตวทิ ยาคลินกิ 0.8 - นักสงั คมสงเคราะห์ 1.0 - นักกิจกรรมบำบดั 1.0 1. โครงการพฒั นาบคุ ลากรอยา่ งต่อเนอ่ื ง บคุ ลากรในหน่วยงานไดร้ ับการพัฒนาในหลกั สูตรทจ่ี ำเปน็ ต การปฏบิ ตั งิ าน ให้มีสมรรถนะทจ่ี ำเปน็ ในการปฏบิ ัตงิ านตามสายอาชีพ เปา้ ประสงค์ 4.2 หน่วยบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพจิตมีการพฒั นาองค์ความรู้และวชิ าการ 4.2.1 จำนวนนวัตกรรม/องคค์ วามรูท้ ส่ี ามารถปอ้ งกนั แกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพจติ และ จติ เวชของประเทศ (เปา้ หมายสะสม) 20 เรื่อง 1. การพัฒนาองคค์ วามรู้สขุ ภาพจิตดว้ ย จำนวนองคค์ วามรู้สขุ ภาพจติ ที่นำไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ งานดา้ น กระบวนการวจิ ยั สุขภาพจิต 13
รประเมนิ แผนปฏิบัติราชการ ความ หน่วยงาน หมายเหตุ สอดคล้อง/ /ขอ้ เสนอแนะ เหมาะสม 1 โครงการ ✓ กรม สขุ ภาพจิต 1 โครงการ ม ✓ กรม สขุ ภาพจติ 1 โครงการ ตอ่ ✓ กรม สุขภาพจิต ✓ 5 โครงการ เครอื ข่ายผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี เสนอวา่ ควรปรบั ตัวชว้ี ัดใหเ้ ป็นในเชิงคณุ ภาพมากยงิ่ ข้นึ เช่น การพัฒนาองคค์ วามรู้ทส่ี อดคล้องกบั ความตอ้ งการและความคาดหวังของผู้มี ส่วนไดส้ ่วนเสีย น✓ กรม สขุ ภาพจติ 30
โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นาวชิ าการและกลไกการดำเนินงานดา้ นสขุ ภาพจติ โครงการ รายละเอียด 2. โครงการพฒั นานวัตกรรม/เทคโนโลยเี พอ่ื การ จำนวนนวัตกรรม/เทคโนโลยที น่ี ำไปใชใ้ นการแก้ปญั หา แก้ปัญหาสุขภาพจติ ของคนไทยในพื้นที่ สขุ ภาพจิต 3. โครงการพฒั นาศักยภาพนกั วจิ ยั ดา้ น นักวิจยั ดา้ นสขุ ภาพจติ และจิตเวชท่ผี า่ นการฝึกอบรมสามาร สุขภาพจติ และจิตเวช ดำเนินโครงการวิจยั ได้ 4. การพฒั นาระบบเฝา้ ระวังสอบสวน และการ การวจิ ยั ทางระบาดวทิ ยาสขุ ภาพจิต วิจัยทางระบาดวิทยาสุขภาพจิต 5. โครงการพัฒนาระบบงานคลินกิ ใหก้ ารปรกึ ษา ความพึงพอใจหลังไดร้ บั บริการ สายดว่ นสขุ ภาพจติ 1323 ความเครียดลดลงหลังได้รับการปรึกษา 4.2.2 จำนวนประเดน็ ความรทู้ ่ใี ช้เป็นแหล่งอ้างอิงในระบบสารสนเทศสุขภาพจิต (เป้าหมายสะสม) 25 เรอ่ื ง 1. โครงการพัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศด้าน จำนวนสารสนเทศสขุ ภาพจิตท่ีใชเ้ ปน็ แหล่งอา้ งอิงในระดับเ สุขภาพจติ ให้มคี ุณภาพเพ่ือเปน็ แหล่งอา้ งอิงใน สขุ ภาพและหรือประเทศและหรือภมู ภิ าคอาเซยี น จำนวน ระดบั ภมู ภิ าคอาเซยี น นวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ งาน สขุ ภาพจิต 2. โครงการเชือ่ มโยงระบบสารสนเทศสุขภาพจิต พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ผ้ปู ว่ ยจิตเวชประเทศไทย เพอ่ื ให้รองรบั กบั ฐานขอ้ มลู ระดบั ประเทศ (Big Data) *3. โครงการพัฒนาระบบดจิ ทิ ัลเพอ่ื สนบั สนุนงาน พฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศสุขภาพจติ เพอ่ื สนบั สนนุ การ สขุ ภาพจิต ดำเนินงานดา้ นสขุ ภาพจิต ทัง้ ในระบบบริการสขุ ภาพจิต แล งานส่งเสริมปอ้ งกนั ปญั หาสขุ ภาพจิต ตลอดจนกลไกตา่ งๆ 13
รประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ความ หน่วยงาน หมายเหตุ สอดคล้อง/ /ข้อเสนอแนะ เหมาะสม ✓ กรม สุขภาพจติ รถ ✓ กรม สขุ ภาพจติ ✓ กรม สุขภาพจิต กรม หากย้าย โครงการที่เกยี่ วกบั การพฒั นาระบบกลไกการดำเนนิ งาน สขุ ภาพจติ ดา้ นการสง่ เสริมปอ้ งกันปัญหาสุขภาพจติ มาไวใ้ นยุทธศาสตร์ท่ี 4 จะ มีกลุ่มของโครงการในลักษณะเดียวกนั คือพัฒนากลไกในการสง่ เสริม สขุ ภาพจติ ✓ 3 โครงการ ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี เหน็ ว่าควรกระจายกระบวนการไปไวใ้ นแต่ละยทุ ธศาสตร์ เพ่อื ให้ มกี ารพฒั นาสารสนเทศสขุ ภาพจติ ใหค้ รอบคลุมประเดน็ สง่ เสรมิ ป้องกนั รกั ษา ฟนื้ ฟู แทนการนับจำนวน เขต ✓ กรม สขุ ภาพจิต กรม เป็นโครงการท่มี ปี ระโยชนต์ ่อ การพัฒนางานสุขภาพจิต ในแตล่ ะ สุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ โดยไมไ่ ด้มไี ว้เพียงการเปน็ แหลง่ อา้ งองิ ในระบบ สารสนเทศสุขภาพจิต กลา่ วคือ โครงการใหป้ ระโยชนม์ ากกว่า ตัวช้ีวดั ร กรม เป็นโครงการที่มปี ระโยชน์ตอ่ การพฒั นางานสุขภาพจิต ในแตล่ ะ ละ สุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ โดยไม่ได้มีไวเ้ พยี งการเปน็ แหลง่ อา้ งองิ ในระบบ สารสนเทศสุขภาพจติ กลา่ วคือ โครงการให้ประโยชนม์ ากกวา่ ตัวชวี้ ดั 31
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 5.6 การวเิ คราะห์ความเช่อื มโยงระหว่างแผนปฏิบตั ริ าชการกับแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ 5.6.1 ความเชอื่ มโยงระดบั ตัวช้วี ัด/ค่าเป้าหมายของแผน ความเชื่อมโยงในระดับตัวชี้วัดวิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ เป็นตัวชี้วัดเดียวกันกับ แผนปฏิบัติราชการฯ 3 ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดที่ 1 เด็กมีความฉลาดทางสติปัญญา ตัวชี้วัดที่ 2 เด็กมีความฉลาด ทางอารมณ์ และตัวชี้วัดที่ 3 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ส่วนตัวช้ีวัด ด้านอำเภอบูรณาการงานสุขภาพจิต สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่ 1.1.5 ของแผนปฏิบัติราชการคือการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกัน ปัญหาสขุ ภาพจิตเขา้ กบั ระบบสุขภาพปฐมภูมิ ดังภาพที่ 20 ภาพท่ี 20 ความเช่ือมโยงในระดบั ตวั ชว้ี ัดวสิ ยั ทศั น์ของแผน 5.6.2 ความเช่ือมโยงระดับเปา้ ประสงคแ์ ละกลยุทธ์ ความเชื่อมโยงตามแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เมื่อเปรียบเทียบในระดับตัวชี้วัด เปา้ ประสงค์จะเห็นได้ว่ามีความ สอดคล้องกบั แผนปฏิบัติราชการฯ ใน ทง้ั 4 ยทุ ธศาสตร์ จงึ อาจเป็นสาเหตุให้ น้ำหนักของโครงการตามตัวชี้วัดต่าง ๆ ที่ปรากฏ ในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ มากกว่าในประเด็น ยุทธศาสตร์อ่นื ๆ (ดภู าพท่ี 21) ความเชื่อมโยงตามแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 และ 3 ของแผนพัฒนาสุขภาพจิต แห่งชาติฯ มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ท่ี 2 ในแผนปฏิบัติราชการฯ หลายส่วน ซึ่งโดยหลักคือเรื่องการ พัฒนาระบบสุขภาพจิตและจิตเวช โดยเป้าประสงค์ 2.1 ประเด็นเน้นไปในด้านการเข้าถึงพยาบาลและการ รักษาผู้ปว่ ย ส่วน เป้าประสงค์ 2.2 เน้นการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้มปี ญั หาสุขภาพจติ จนกระท่ังมคี ุณภาพชีวติ ทดี่ ขี น้ึ มกี ลยุทธท์ ี่เชอ่ื มโยงกันดังภาพท่ี 22 132
โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพท่ี 21 ความเช่ือม ยงตามแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ยุทธศาสตรท่ี 1 13
รประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ 33
โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพท่ี 22 ความเชื่อม ยงตามแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ยทุ ธศาสตรท่ี 2 แ ะ 3 13
รประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ 34
โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพท่ี 23 ความเช่ือม ยงตามแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ยุทธศาสตรท่ี 4 13
รประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ 35
โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) จากภาพที่ 23 แสดงความเชื่อมโยงตามแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนา วชิ าการและกลไกการดำเนินงานด้านสขุ ภาพจิต มีความสอดคล้องกับแผนปฏิบัตริ าชการใน 2 ยทุ ธศาสตร์ โดย เปา้ ประสงค์ 4.1 หนว่ ยบริการด้านสุขภาพจิตมกี ารบริหารจดั การองคก์ รทมี่ ีประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล ใน แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ จะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มี ประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล ส่วนเป้าประสงค์ที่ 4.2 หน่วยบริการด้านสุขภาพจิตมีการพัฒนาองค์ความรู้ และวชิ าการ ในแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ จะสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ที่ 2 พฒั นาคุณภาพระบบบริการ และวชิ าการสขุ ภาพจิตและจิตเวช 5.6.3 ความเชื่อมโยงระดับตวั ชีว้ ดั และโครงการ จากตารางที่ 21 แสดงรายละเอยี ด ตวั ชว้ี ัดท่ีอยู่ในแผนปฏิบัตริ าชการฯ ทงั้ 57 ตวั ช้วี ัด ที่เชื่อมโยงกับ ตวั ช้ีวดั /ยุทธศาสตร์ ของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ตารางท่ี 21 ความเช่ือมโยงระหวา่ งตัวชว้ี ัดแผนปฏบิ ตั ิราชการฯกับแผนปฏบิ ตั ิการแผนพัฒนาสุขภาพจิต แห่งชาติ แผนปฏิบตั ริ าชการฯ กรมสขุ ภาพจติ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ วิสัยทัศนก์ รมสขุ ภาพจิต ตวั ชี้วัด/ค่าเปา้ หมายแผน หนว่ ยงานที่ ตวั ชี้วดั ที่ 1 เดก็ ไทยมีระดบั สติปัญญาเฉล่ยี ไม่ตำ่ กว่า 100 รับผดิ ชอบหลกั ตวั ช้ีวดั ท่ี 2 รอ้ ยละ 80 ของเด็กไทยมคี วามฉลาดทาง อารมณ์อยูใ่ นเกณฑ์ปกตขิ ึ้นไป ✓ กรมสุขภาพจติ ตวั ชี้วดั ที่ 3 อัตราการฆ่าตวั ตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ตอ่ ประชากรแสนคน ✓ กรมสุขภาพจติ ตวั ช้ีวดั ท่ี 4 รอ้ ยละ 85 ของคนไทยมีสุขภาพจติ ดี ✓ 6.0 ต่อประชากรแสนคน กรมสขุ ภาพจิต ตัวชีว้ ดั ที่ 5 บคุ ลากรในสงั กัดกรมสุขภาพจติ มีคา่ เฉลีย่ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ความสขุ ไมน่ ้อยกวา่ 67 ✓ ตัวช้วี ัด 1.2.3 ร้อยละ 85 ของคนไทยอายุ 15 ปีขึน้ ไปท่ีมีความสุขเท่ากบั หรือสูง ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 กวา่ ค่าเฉลีย่ ตัวชว้ี ดั ที่ 53 รอ้ ยละของหนว่ ยงานที่เปน็ องค์กรแหง่ ความสขุ (Happy Organization ตัวชี้วัด 1.2.3 โครงการ 3 HAPPY MOPH กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ สาธารณสุขแหง่ ความสขุ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ตัวชว้ี ดั ที่ 6 ร้อยละของเดก็ ปฐมวยั ทไ่ี ดร้ ับการคัดกรอง ยุทธศาสตร์ที่ 1 กรมสขุ ภาพจติ แล้วพบวา่ มีพัฒนาการลา่ ชา้ แลว้ ได้รับการกระตนุ้ ตัวชว้ี ัด 1.1.3 พัฒนาการดว้ ยเครื่องมอื มาตรฐาน จนมพี ัฒนาการ 1. โครงการเสรมิ สร้างพัฒนาการเดก็ ลา่ ชา้ สมวยั 136
โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) แผนปฏิบตั ริ าชการฯ กรมสุขภาพจติ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ตวั ช้วี ดั ที่ 11 รอ้ ยละของเด็กปฐมวยั กลมุ่ เสย่ี ง (Birth Asphyxia : BA , Low Birth Weight : LBW และแม่ ตวั ช้ีวัด 1.2.1 กรมสขุ ภาพจิต วยั รุ่น) ท่ไี ด้รบั การคดั กรองแลว้ พบว่าสงสัยลา่ ช้าแลว้ 3. โครงการสรา้ งเสรมิ สุขภาพจติ เดก็ ไทยวัยเรยี น ไดร้ บั การ กระตนุ้ จนมพี ัฒนาการสมวยั ตัวช้วี ดั ที่ 12 ร้อยละของเด็กปฐมวยั ทไ่ี ดร้ ับการคัด ตวั ชวี้ ัด 1.1.3 กรมสขุ ภาพจติ กรองแลว้ พบว่ามีพัฒนาการลา่ ช้าแลว้ ไดร้ ับการ 2.โครงการพัฒนาศกั ยภาพเครอื ขา่ ยการดแู ลเดก็ ตามกลุ่ม กรมสขุ ภาพจติ กระตนุ้ พฒั นาการดว้ ยเครื่องมอื มาตรฐาน วยั ปฐมวัย วยั เรยี น วยั รุ่น ตวั ชว้ี ดั ที่ 7 ร้อยละของเด็กวยั เรยี นกลมุ่ เส่ยี งต่อระดับ 6.โครงการเสริมสร้างทักษะชีวิตและป้องกันพฤติกรรม สติปัญญาต่ำกว่ามาตรฐาน ปญั หา การเรียนรู้ออทิสติก เสี่ยงของวยั รนุ่ และปญั หาพฤติกรรม -อารมณ์ ได้รบั การดแู ลช่วยเหลอื ตวั ช้ีวดั 1.1.3 จนดีข้ึน 15. โครงการเสริมสร้างสุขภาวะและสุขภาพจิตที่ดีแก่ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 13 รอ้ ยละของเดก็ วยั เรยี นกลมุ่ เส่ียงต่อระดับ ประชาชนวัยทำงาน สติปัญญาตำ่ กวา่ มาตรฐาน ปัญหา การเรียนรู้ ออทิ สติก และปญั หาพฤติกรรม-อารมณ์ ได้รบั การดแู ล ตัวชว้ี ัด 1.1.1 กรมอนามยั ชว่ ยเหลอื 8. โครงการชะลอชรา ชีวายนื ยาว ตัวชว้ี ดั ท่ี 15 ร้อยละของเดก็ และเยาวชนท่มี ีความเส่ียง 9. โครงการพัฒนาระบบการดูแลสง่ เสริมสุขภาพผ้สู งู อายุ สำนกั งานสง่ เสรมิ ตอ่ การเป็นผกู้ ลั่นแกล้งรงั แก ในโรงเรยี นคเู่ ครือขา่ ย ในชมุ ชนแบบบูรณาการ การศึกษานอกระบบ ได้รับการดแู ลชว่ ยเหลือจนดีขน้ึ 10. โครงการพัฒนาระบบดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และการศึกษาตาม ระยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน อธั ยาศัย ตวั ชีว้ ดั ที่ 8 ร้อยละของวยั รุน่ กลุ่มเสยี่ งที่มีปัญหา 11. โครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอด พฤตกิ รรม - อารมณ์ ไดร้ ับการดูแล ชว่ ยเหลอื จนดีขนึ้ ชีวิตเพ่อื คงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ตัวชี้วดั ท่ี 14 รอ้ ยละของเด็กและเยาวชนในอำเภอ ตน้ แบบทม่ี ีทักษะชวี ิตอยใู่ นเกณฑ์ดี ตวั ช้วี ัด 1.2.2 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 9 รอ้ ยละของประชาชนวยั ทำงานมี สขุ ภาพจิตดี ตัวชีว้ ดั ท่ี 16 ร้อยละของประชาชนวยั ทำงานไดร้ บั การ ส่งเสริมสขุ ภาพจิตและป้องกนั ปญั หา สขุ ภาพจิตผา่ น โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทำงานในชุมชนและในสถาน ประกอบการ มีความสขุ ตามเกณฑ์ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 17 รอ้ ยละของอำเภอทม่ี กี ารจัดโปรแกรม สร้างสุขวยั ทำงานในชมุ ชนและสถาน ประกอบการใน เขตสุขภาพ ตวั ชี้วดั ที่ 10 ร้อยละของผ้สู งู อายมุ ีสขุ ภาพจิตดี ตัวชวี้ ดั ที่ 18 รอ้ ยละของผู้สงู อายทุ ี่มีปญั หาสุขภาพจติ ไดร้ ับการดแู ลทางสงั คมจิตใจ 137
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) แผนปฏบิ ตั ิราชการฯ กรมสุขภาพจติ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ กรมสุขภาพจติ 1. โครงการสร้างสุขภาวะทางใจ เพ่อื เปน็ ผูส้ งู วยั ทีม่ ีคุณค่า สสส. สนับสนุนให้ รพ. ตวั ชว้ี ดั ท่ี 19 ร้อยละของอำเภอที่มกี ารบรู ณาการงาน และความสุข เทพธารนิ ทร์ สุขภาพจติ เขา้ กบั คณะกรรมการพฒั นา คุณภาพชวี ิต 2. โครงการพัฒนาสุขภาพจิตสำหรับผู้สงู อายุ กรมสุขภาพจติ ระดับอำเภอ 3. โครงการสรา้ งตัวแบบศนู ย์สรา้ งเสริมสขุ ภาพบูรณาการ ตวั ชว้ี ดั ที่ 20 รอ้ ยละของหนว่ ยบรกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิมี สำหรับผู้สูงวัย ให้มีสังคม มีความสุข และมีความรอบรู้ กรมสขุ ภาพจติ การจดั บรกิ ารสขุ ภาพจติ ทม่ี คี ณุ ภาพ ด้านสุขภาพ ตวั ชว้ี ดั ที่ 21 ร้อยละของอำเภอท่มี ตี ำบลจดั การสุขภาพ ตัวชว้ี ดั 1.1.3 กรมสขุ ภาพจิต มีการดแู ล เฝ้าระวงั และบรู ณาการ การดำเนินงาน 5. โครงการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัยใน กรมสขุ ภาพจติ สุขภาพจิตตามประเด็นสุขภาพท่สี ำคัญของกล่มุ วยั ระบบสุขภาพปฐมภมู ิ กรมสุขภาพจิต ร่วมกบั ภาคี เครอื ขา่ ยอยา่ งตอ่ เน่ือง ตัวชว้ี ดั ที่ 22 ร้อยละของพ้ืนที่ท่มี กี ารจดั บริการส่งเสริม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 สขุ ภาพจิตและป้องกันปัญหา สขุ ภาพจติ ตามเกณฑ์ ตวั ชีว้ ัด 2.1.2 มาตรฐานท่ีกำหนดในเขตสุขภาพ 1. โครงการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการดแู ลผู้ป่วยโรคจิตเภท - ระดบั ตำบล - ระดบั อำเภอ ตัวชี้วดั ท่ี 23 จำนวนขอ้ เสนอเชิงนโยบายดา้ น ตวั ชี้วดั 2.1.1 สขุ ภาพจิตท่ีสามารถผลักดันใหเ้ ปน็ นโยบาย สาธารณะ 1. โครงการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการดแู ลผู้ปว่ ยโรคซึมเศรา้ ในพื้นที่ ตวั ชว้ี ัด 2.1.1 7. โครงการเพ่ิมการเข้าถงึ บริการโรคออทิสตกิ โดยการใช้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 เครื่องมือวินิจฉัยภาวะออทิซึม ในระยะเริ่มแรกสำหรับ ตัวชีว้ ดั ท่ี 24 รอ้ ยละของผ้ปู ว่ ยจิตเวช เข้าถึงบรกิ าร เดก็ ไทย สุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน (โรคจิตเภท : ตัวชว้ี ดั 2.1.1 Schizophrenia) 3. โครงการพัฒนาดแู ลเด็กสมาธสิ ัน้ ตวั ช้วี ดั ท่ี 28 ร้อยละของผปู้ ว่ ยโรคจิตเภทได้รับการ รกั ษาตอ่ เน่อื งภายใน 6 เดอื น ตัวชี้วดั ที่ 33 รอ้ ยละของสถานบรกิ ารทกุ ระดับใน กระทรวงสาธารณสุข มบี รกิ ารสขุ ภาพจติ และจติ เวชท่ี มคี ณุ ภาพมาตรฐานในระดบั 1 ทกุ ดา้ น - รพศ./รพท. (A และ S ไมร่ วม M1) - รพช. (M1-F3) ตวั ชวี้ ดั ท่ี 25 ร้อยละของผปู้ ว่ ยจิตเวช เข้าถงึ บริการ สุขภาพจิตทีไ่ ดม้ าตรฐาน (โรคซึมเศรา้ : Depression) ตวั ชวี้ ดั ที่ 26 รอ้ ยละของผู้ปว่ ยจิตเวช เขา้ ถงึ บริการ สขุ ภาพจิตทไ่ี ดม้ าตรฐาน (โรคออทิสตกิ : Autistic Spectrum Disorder : ASD) ตัวชี้วดั ที่ 27 ร้อยละของผปู้ ว่ ยจิตเวช เข้าถึงบริการ สขุ ภาพจติ ที่ไดม้ าตรฐาน (โรคสมาธิสนั้ : Attention Deficit Hyperactive Disorder : ADHD) 138
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) แผนปฏิบตั ริ าชการฯ กรมสขุ ภาพจติ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ กรมสขุ ภาพจิต ตวั ชวี้ ดั ท่ี 29 ร้อยละของผูป้ ว่ ยจิตเวชยาเสพตดิ ท่ีบำบดั ตวั ชี้วัด 2.2.1 ครบตามเกณฑ์ของแตล่ ะระบบและ ไดร้ ับการตดิ ตาม 1. กจิ กรรมบำบัดรกั ษา และฟน้ื ฟผู ปู้ ว่ ยยาเสพตดิ มปี ญั หา กรมสุขภาพจิต ดแู ลต่อเน่ือง 1 ปี (Retention Rate) สุขภาพจติ กรมสุขภาพจติ 2. กจิ กรรมติดตามดแู ลช่วยเหลือผ้ผู า่ นการบำบดั รักษายา กรมสขุ ภาพจิต ตัวชี้วดั ที่ 30 ร้อยละของผพู้ ยายามฆา่ ตัวตายไม่กลับมา เสพติด กรมสุขภาพจติ ทำร้ายตัวเองซำ้ ในระยะเวลา 1 ปี 3. โครงการพัฒนาแนวทางการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ ผปู้ ว่ ยจติ เวชยาเสพตดิ โดยการมสี ่วนรว่ มของชุมชน กรมสขุ ภาพจติ ตัวชีว้ ดั ที่ 31 รอ้ ยละของผูป้ ระสบภาวะวกิ ฤตทมี่ ีปญั หา 4. โครงการพัฒนางานบำบัดรักษาและติดตามผู้ป่วยจิต กรมสขุ ภาพจิต สุขภาพจิตไดร้ ับการเยียวยาจิตใจ ตามมาตรฐานกรม เวชยาเสพตดิ สขุ ภาพจิต ตวั ช้ีวัด 2.1.4 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 32 รอ้ ยละของสถานบรกิ ารทกุ ระดบั ใน 2. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายในคน กระทรวงสาธารณสุขสามารถดูแลผ้ปู ว่ ยจิตเวช ฉกุ เฉนิ ไทย (Acute care) ได้ตามมาตรฐาน ตวั ชี้วดั 2.1.3 ตัวชี้วดั ท่ี 34 ร้อยละของศูนยแ์ พทย์เวชศาสตร์ 2. โครงการพัฒนาระบบบริการวิกฤตสุขภาพจิตของ ครอบครวั (Primary Care Cluster : PCC) ในชมุ ชน ประเทศ มรี ะบบการดแู ลสุขภาพจิตและจิตเวช ตัวชวี้ ดั ท่ี 37 ร้อยละของคนพิการทางจติ ใจหรือ ตวั ชี้วดั 2.1.3 พฤติกรรม ไดร้ บั การดูแลฟื้นฟูจนมคี ุณภาพ ชีวิตที่ดีข้ึน 1. กิจกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพจิตและจิตเวชใน คลินิก หมอครอบครวั ตวั ชว้ี ดั ท่ี 40 จำนวนหนว่ ยบริการจิตเวชมบี รกิ าร ตัวช้ีวัด 2.2.3 เฉพาะทางสขุ ภาพจิตและจิตเวช (Super Specialist 3. โครงการสร้างความเขม้ แข็งของเครือขา่ ยผู้พกิ ารทาง Service) ทม่ี ีคุณภาพมาตรฐาน จิตใจหรือพฤตกิ รรม ตวั ช้วี ดั ท่ี 41 จำนวนหน่วยบริการจติ เวชทีพ่ ัฒนาไปสู่ 4. โครงการพัฒนาระบบการฟ้นื ฟสู มรรถภาพคนพกิ าร การเปน็ Smart Hospital ทางจติ ใจหรอื พฤตกิ รรมสู่การมงี านทำ ตัวชว้ี ดั ที่ 43 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยจติ เวชทมี่ คี วามเสย่ี งสงู 5. โครงการพฒั นาระบบการฟื้นฟสู มรรถภาพผู้ปว่ ยโรค ต่อการกอ่ ความรุนแรง ไมก่ อ่ ความ รนุ แรงซำ้ ภายใน 1 จติ เร้ือรงั กลมุ่ เสย่ี งในชุมชน ระดับปฐมภมู ิ ปี ตวั ชว้ี ดั 2.2.2 2. โครงการพฒั นาคุณภาพระบบบริการสขุ ภาพจติ และจติ เวชระดับเหนือตติยภูมิ ตัวชี้วัด 2.1.4 1. โครงการพัฒนาระบบดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยง สูงต่อการกอ่ ความรนุ แรงในชมุ ชน 2. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายในคน ไทย 3. โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความ เสยี งสงู ตอ่ การกอ่ ความรุนแรงทเ่ี ช่อื มโยงกับเขตสขุ ภาพ 4. พัฒนา Application และระบบสารสนเทศโปรแกรม Care Transition เพื่อการติดตามผลการดูแลต่อเนื่อง 139
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) แผนปฏิบตั ริ าชการฯ กรมสุขภาพจติ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ตวั ชวี้ ดั ที่ 42 รอ้ ยละของผู้ปว่ ยทเี่ ขา้ รับบริการจติ เวช ผู้ป่วยจิตเรื้อรังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน สำหรับ รพ.สต. หรือ เฉพาะทางมกี ารเปลยี่ นแปลงทด่ี ขี ึน้ อสม. 1) บริการผปู้ ว่ ย 2) ฟน้ื ฟสู มรรถภาพผู้ป่วย ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ตัวชวี้ ดั ที่ 35 รอ้ ยละของสถานบริการทไี่ ด้ขน้ึ ทะเบียน เป้าประสงค์ 2.2 ผู้ป่วยจิตเวชและผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชได้รับบริการ เป็นสถานบำบัดรกั ษาตาม พระราชบญั ญัติสขุ ภาพจิต ตามมาตรฐานจนหายทุเลา สามารถอย่ใู นชมุ ชนไดอ้ ย่างปกตสิ ขุ ตัวชว้ี ดั ท่ี 36 ร้อยละของผู้ปว่ ยจิตเวชทเ่ี ขา้ รบั การ บำบดั รักษา และจำหนา่ ยตาม พระราชบญั ญตั ิ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 สขุ ภาพจติ ได้รับการตดิ ตามต่อเนอื่ งครบ 1 ปี ตัวชว้ี ัด 3.1.3 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 38 รอ้ ยละของหนว่ ยบรกิ ารในสงั กดั กรม 1. โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตครบวงจรดว้ ย กรมสุขภาพจิต สุขภาพจติ มีระบบสนับสนุนอาชีพสำหรับ บุคคล บกพร่องทางสตปิ ัญญา และออทิสติก กลไกทางกฎหมาย ตัวชว้ี ดั ที่ 39 รอ้ ยละของบคุ คลบกพรอ่ งทางสติปัญญา และออทิสติกท่ีผา่ นระบบเตรยี มความ พรอ้ มไดร้ ับการ -การขึ้นทะเบยี นสถานบริการเป็นสถานบำบัดรักษาตาม จ้างงาน พระราชบัญญัตสิ ขุ ภาพจติ ตัวชว้ี ดั ที่ 44 จำนวนเรื่อง/ประเด็น/นวตั กรรมด้าน สขุ ภาพจิตทไี่ ด้รับการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และถ่ายทอด ตวั ชว้ี ัด 3.1.1 วชิ าการรว่ มกบั เครือข่ายสุขภาพจติ ระดบั ประเทศ หรอื ระดับ นานาชาติ 5. โครงการพัฒนาระบบการดแู ลสขุ ภาพจติ ครบวงจรด้วย กรมสขุ ภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 กลไกทางกฎหมาย ตวั ชว้ี ดั ท่ี 45 ร้อยละของประชาชนทม่ี คี วามตระหนัก และเขา้ ใจตอ่ ปญั หาสขุ ภาพจิต - การติดตามข้อมูลผปู้ ว่ ยจติ เวชทเ่ี ขา้ รับการบำบัดรักษา ตัวชี้วดั ที่ 46 รอ้ ยละของประชาชนมีความรอบรู้ สุขภาพจติ และมพี ฤตกิ รรมสุขภาพจติ ทพี่ งึ ประสงค์ และจำหนา่ ยตามพระราชบญั ญัตสิ ขุ ภาพจิต ได้รับการ - ความรอบรสู้ ุขภาพจิต ตดิ ตามตอ่ เน่อื งครบ 1 ปี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ตวั ชว้ี ดั 1.1.2 1. โครงการพฒั นาระบบสนบั สนนุ อาชพี สำหรบั ผ้พู กิ าร กรมสุขภาพจติ ทางสติปัญญาและออทิสตกิ ตัวชว้ี ัด 3.1.1 2. โครงการพัฒนาทกั ษะบุคคลออทสิ ติกและบกพร่อง มูลนิธอิ อทสิ ตกิ ไทย พฒั นาการสร้างคณุ ภาพชวี ิตทีด่ รี ะบบสขุ ภาพ ระบบ การศกึ ษา ระบบการสรา้ งเสริมอาชพี และการสรา้ งเสรมิ ศลี ธรรม 3. โครงการเตรยี มความพรอ้ มใหผ้ ู้บกพร่องทางจิตเขา้ ถงึ สมาคมเพอื่ ผู้บกพร่อง สทิ ธภิ าพการจา้ งงาน ทางจิตแหง่ ประเทศ ไทย ตัวช้ีวดั 4.2.1 กรมสุขภาพจติ 1. การพฒั นาองคค์ วามรู้สขุ ภาพจติ ดว้ ยกระบวนการวจิ ยั 2. โครงการพัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีเพอ่ื การ แกป้ ัญหาสขุ ภาพจติ ของคนไทยในพนื้ ที่ 3. โครงการพฒั นาศักยภาพนกั วจิ ยั ด้านสขุ ภาพจติ และจิต เวช 4. การพฒั นาระบบเฝา้ ระวังสอบสวน และการวจิ ยั ทาง ระบาดวทิ ยาสุขภาพจติ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ตัวชว้ี ดั เปา้ ประสงค์ 1.1.1 ร้อยละ 40 ของคนไทยที่มคี วามตระหนักและเข้าใจ เรอื่ งสขุ ภาพจิต ตัวชว้ี ัด 1.1.1 กรมสุขภาพจิต 6. โครงการเสรมิ สร้างความรอบรู้และพฒั นาพฤตกิ รรม สุขภาพจิตที่พงึ ประสงค์แกป่ ระชาชน 140
โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) แผนปฏิบตั ิราชการฯ กรมสขุ ภาพจติ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ - พฤตกิ รรมสขุ ภาพจิตทีพ่ ึงประสงค์ ตัวชี้วดั ท่ี 47 รอ้ ยละของประชาชนกลมุ่ เปา้ หมาย ตัวชี้วัด 1.1.2 ยอมรับและใหโ้ อกาสต่อผู้ทีอ่ ยูก่ ับปญั หาสุขภาพจิต ร้อยละ 80 ของคนไทยยอมรับและใหโ้ อกาสต่อผ้มู ีปญั หาสุขภาพจติ และจติ เวช ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ตัวชว้ี ดั ท่ี 48 ผลการประเมินระดบั คุณธรรมและความ ยุทธศาสตร์ที่ 4 โปรง่ ใสในการดำเนินงานของกรม สุขภาพจติ ตัวชวี้ ดั ท่ี 56 รอ้ ยละของหน่วยงานในสังกัดกรม ตวั ชี้วดั 4.1.2 กรมสุขภาพจติ สุขภาพจิตผา่ นเกณฑค์ ่าคะแนนตามเกณฑ์ การ ประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงาน 1. โครงการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการ ของหนว่ ยงาน ในสังกัดกรมสขุ ภาพจติ (ITA) ในระดับ 5 ดำเนินงานของหน่วยงาน ตวั ชว้ี ดั ที่ 57 ร้อยละของหนว่ ยงานในสงั กดั กรม สขุ ภาพจติ (หนว่ ยเบิกจ่าย) มีการดำเนนิ การ ตาม ตัวชีว้ ดั 4.2.2 กรมสขุ ภาพจติ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านดา้ นบัญชีของสว่ น 3.โครงการพัฒนาระบบดจิ ทิ ลั เพอ่ื สนับสนุนงาน กรมสุขภาพจติ ราชการ สุขภาพจติ ตัวชี้วดั ท่ี 49 รอ้ ยละของหน่วยงานในสงั กดั กรม ตวั ชว้ี ัด 4.2.2 สุขภาพจิตมีการดำเนินงานตามแผนพัฒนา ดิจทิ ลั กรม 2. โครงการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศสขุ ภาพจติ เพอ่ื ให้ สขุ ภาพจิต รองรับกบั ฐานขอ้ มูล ระดบั ประเทศ (Big Data) ตัวชว้ี ัด 4.1.3 ตวั ชี้วดั ท่ี50 ร้อยละของหนว่ ยงานในสังกัดกรม 1. โครงการพฒั นาบคุ ลากรอย่างตอ่ เนอื่ ง สุขภาพจิตมีชดุ ขอ้ มูลมาตรฐาน แลกเปล่ยี นกนั ได้ อย่างไร้รอยต่อ ตวั ช้ีวดั ท่ี 51 ร้อยละของบคุ ลากรในสังกดั กรม สุขภาพจติ ได้รบั การพฒั นาให้มีความรู้ และ ทกั ษะดา้ น การใช้ข้อมลู สื่อ และเทคโนโลยดี ิจิทัล ตัวชีว้ ดั ท่ี 52 ร้อยละของบุคลากรในสงั กัดกรม สุขภาพจติ ได้รบั การพัฒนาทักษะ และ สมรรถนะใน หลักสตู รที่จำเป็นในการปฏบิ ัตงิ านในแต่ละระดับ ตัวช้วี ดั ท่ี 54 กรมสขุ ภาพจิตผ่านการประเมนิ ตาม เกณฑ์รางวัลคุณภาพการบรหิ ารจดั การ ภาครัฐ (PMQA) ตัวชว้ี ดั ที่ 55 กรมสุขภาพจิตผา่ นการประเมิน สถานะการเปน็ ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) โดยสรุปพบว่า ตัวชี้วัดในแผนปฏิบัติราชการมีความสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด เปา้ ประสงค์ หรอื โครงการ ในแผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติได้ทั้งหมด แตใ่ นแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติจะ มีขอบเขตการดำเนินงานทก่ี วา้ งกวา่ ดงั ภาพที่ 24 141
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพท่ี 24 ความสอดคล้องระหว่างแผนปฏบิ ตั ิราชการกบั แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชา 14
รประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ าติ 42
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) บทที่ 6 การแปลงยทุ ธศาสตรแ์ ละการบริหารแผนยทุ ธศาสตร์ ในบทนจ้ี ะเปน็ การประเมินในสว่ นของกระบวนการ (Process) แปลงแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ ซึ่งจะนำไปสู่ การตอบ วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการแปลงแผน ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วยประเด็น ภาวะผู้นำ กระบวนการแปลงแผนยทุ ธศาสตร์ กระบวนการ บริหารยุทธศาสตร์ ตลอดจนปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานตามประเด็น ยทุ ธศาสตร์ ดังต่อไปน้ี 6.1 ภาวะผู้นำในการบริหารแผนยทุ ธศาสตร์ ภาวะผู้นำเป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ว่าจะดำเนินการไปได้อย่างมีประสิทธิผล หรือไม่ ทง้ั ในแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ และแผนปฏิบัตริ าชการกรมสุขภาพจิต จากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องจะกล่าวถึงภาวะผู้นำในสองระดับ โดยในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติหมายถึงภาวะ ผู้นำในภาพรวมระดับนโยบาย ส่วนแผนปฏบิ ัตริ าชการจะกล่าวถึงภาวะผูน้ ำของผู้บรหิ ารในกรมสุขภาพจิตทง้ั ระดบั ผอู้ ำนวยการจนถงึ ผู้บรหิ ารระดบั สูง ซึ่งมีผลอย่างมากต่อการบรรลปุ ระสิทธิผลท้ังสองแผน 6.1.1 ภาวะผู้นำในการบริหารแผนปฏบิ ัติราชการฯ กรมสขุ ภาพจติ พบว่าผู้บริหารในกรมสุขภาพจิตมีการใช้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงซึ่ง กระตุ้นให้ผู้ตามมองสิ่งต่างๆ อย่างรอบด้านและเช่ือมโยงเพ่ือให้เห็นประโยชน์และความสำเร็จขององค์การอยู่เหนือผลประโยชน์สว่ นบคุ คล รวมทั้งตระหนักถึงความสามารถและสวัสดิการของผู้ตามด้วย โดยจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารประกอบกับ ขอ้ สงั เกตของผ้ปู ฏิบตั งิ านในกรมสุขภาพจิตพบว่าผนู้ ำในกรมสขุ ภาพจติ มีภาวะผนู้ ำดังต่อไปนี้ ก. ผนู้ ำท่ีใชอ้ ทิ ธพิ ลเชงิ อุดมคติ ผู้นำประเภทนี้จะตอบสนองทางอารมณ์ของสมาชิกในองค์การภายใต้บรรยากาศหรือสถานการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับการทำงาน และความเชื่อถือศรัทธาและความเชื่อมั่นต่อสมาชิกต่อค่านิยม หลักการ และอุดมคติ ของผู้นำ ซึ่งจะส่งผลให้สมาชิกมีแรงจูงใจในการปฏบิ ัติงานได้มากกว่าเป้าหมายท่ีต้ังเอาไว้ ซึ่งสมาชิกจะชื่นชม และศรัทธาพฤติกรรมบางอย่างของผู้นำในฐานะที่เป็นแบบอย่างที่ผู้ตามปรารถนาปฏิบัติตาม ทำให้ผู้ตามเกิด ความภาคภูมใิ จที่อยู่ภายใต้การนำของผนู้ ำ เกิดความจงรักภกั ดีต่อตัวผนู้ ำ มีความเชอ่ื มั่นในตวั ผู้นำและทิศทาง ที่ผู้นำได้ชี้นำพวกเขา และผู้ตามจะปฏิบัติงานในแนวทางที่จะนำไปสู่การบรรลุเป้าประสงค์ร่วมขององค์การ พบวา่ ผู้บริหารหนว่ ยงานในกรมสุขภาพจิต มีปรัชญาและค่านยิ มในการทำงานท่ีนำไปสู่ความเชื่อถอื ศรัทธาของ ผใู้ ตบ้ งั คับบญั ชา ยกตวั อย่างไดจ้ ากคำกลา่ วของผู้บริหาร ดงั ต่อไปนี้ 143
โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) “ค่านิยมที่สำคั นการทำงานกคือเป็นผ้นำที่ดีแ ้วกทำเพื่อประชาชนจริง ๆ นก ง ประชาชนมาก่อนเรามาอย่ตรงนีกเพื่อการนีแ ้วกห ักธรรมาภิบา หากยดประชาชนเป็น ศนยก างแ ะ ช้ห ักธรรมาภิบา มันจะ ช้แก้ป หา ด้ทุกป หาอย่างง่ายดาย” (A22, ผอ. หนว่ ยบรกิ ารกรมสขุ ภาพจติ , 2565) “ต้องทำงาน ห้ดีที่สุดเพราะเรามาเป็นข้าราชการแ ้ว ต้องพยายามนก งประชาชน ห้มาก ที่สุด เมื่อจะ ช้งบประมา กต้องคิดว่านี่คือภาษีประชาชน เรากต้อง ช้ ห้มันคุ้มค่าที่สุด ห้ เกิดประ ยชนมากทีส่ ดุ ” (A14, ผอ.หนว่ ยบรกิ ารกรมสุขภาพจติ , 2565) “ ห้วางผ ประ ยชนของประชาชน ว้ก่อนผ ประ ยชนของหน่วยงานหรือประ ยชนของตน ้าวางเป้าหมาย ว้แบบนีกจะ ม่ต้องก ัวว่าจะตกตัวชีวัด เพราะห ักการของตัวชีวัดจะต้อง เปน็ ป นทศิ ทางเดียวกบั ประ ยชนของประชาชน การทำงานด้วยกันมันจะเหนื่อยแตว่ า่ จะ ม่ มี ครต้องเหนื่อยคนเดียว สิ่งสำคั ที่เน้นสอนแก่ผ้บังคบั บั ชาคือ ห้ประ ยชนแก่ผ้มสี ่วน ด้ ส่วนเสีย สำหรับเขาทำ ห้เขา ด้ผ งาน เรา ด้เนืองาน ประชาชน ด้ประ ยชน ือว่าสำเรจ” (A44, ผอ.หน่วยบรกิ ารกรมสุขภาพจติ , 2565) ข. ผนู้ ำสรา้ งแรงดลใจ พฤติกรรมที่แสดงออกถึงการนำโดยใช้ภาวะผู้นำแบบจูงใจเพื่อสร้างแรงดลใจได้แก่ การถ่ายทอด วิสัยทัศน์ขององค์การหรือชุมชนให้ผู้ตามเห็นได้อย่างกระจ่างว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต ผู้นำจะกำหนด วตั ถปุ ระสงค์และมาตรฐานระดับสูงในการปฏิบตั ิงาน ซ่งึ เป็นการท้าทายความสามารถของสมาชิก และผู้นำจะ สร้างจิตสำนึกที่แข็งแกร่งแก่ผู้ตามในการยึดกุมเป้าประสงค์ให้มั่นคง ใช้ภาษาอย่างชาญฉลาดเพื่อถ่ายทอด ความคดิ และปลกุ เร้าอารมณ์ความรู้สึกของผตู้ าม สามารถรักษาความสงบเยือกเยน็ ของจิตใจยามเผชิญหน้ากับ วิกฤติการณโ์ ดยการแสดงออกถงึ การมองโลกในแง่ดแี ละความกระตือรือร้นในการรบั มือต่อการจดั การปญั หา “ภาวะผ้นำที่แสดง ห้ผ้ตามเหนเป็นแบบอย่างอย่เสมอคือความพยายามมุ่งมั่นตัง จทำอย่าง เตมท่ี เราจะ า่ ยทอดแรงด จผา่ นการกระทำ ดยพยายาม ห้เกดิ ภาพท่ี กน้องเหนวา่ า้ เรา ทำ ด้ คุ กทำ ด้ ชว้ ธิ ีสรา้ งการมีสว่ นรว่ มอย่างห ากห าย เชน่ กระบวนการก ุม่ ย่อยเพ่ือ ห้ บุค ากรเกิดความมั่น จ เน้นการเคารพแ ะรับฟงซ่งกันแ ะกัน เพื่อเปิด อกาส ห้ทุกคน แสดงความสามาร ด้อย่างเตมที่ ้าหากทำเตมที่แ ้ว ม่สำเรจก ม่เป็น ร จะ ม่มีการต่อว่า เรากจะหาทางแก้ ขร่วมกนั เพราะฉะนันส่ิงท่ีจะ ม่พอ จเป็นอยา่ งมากคือทำ ด้แต่ ม่ทำ ดย จะ ห้คตแิ กผ่ ้ตามว่า า้ แพจ้ งยอม แตอ่ ย่ายอมแพ้” (A36, ผอ.ศนยสุขภาพจิต, 2565) 144
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ผู้นำในลกั ษณะนี้จะอธบิ ายความหมายและความสำคัญของการกระทำทีก่ ำหนดไว้ โดยระบุเหตุผลว่า ทำไมผู้ตามจะต้องทำให้ประสบความสำเรจ็ “ขออ้างอิงคำก ่าวของ อส ตน Every Problem have Solution เราคิดว่าทุกอย่างมี ทางออก เราตอ้ งคดิ หาวธิ ีการ หม่ๆ นการแก้ ขป หา ้าเรา ม้ เห ว 99 ครัง ม่ ช่ว่าครังที่ 100 เราจะ ้มเห ว อย่างน้อยเรากร้ว่า 99 Solutions ที่ผ่านมาเรา มค่ วรทำ ดังนันเราต้อง ห้ อกาสบุค ากร นการทำงาน นการ ด้เรียนร้คิดว่า มนุษยทุกคนอยากเป็นคนดี คนเก่ง แต่เขา ม่มีความร้ กต้อง ห้ความร้เขา ผมกพยายามนำห ักสตรเกี่ยวกับการพัฒนาวิธีคิดมา หเ้ ขา พรอ้ มกันนันก ช้ Job Training นอกจากนนั ผมมักจะ ชค้ ำพดกบั เจ้าหน้าที่ว่าเราต้อง เหนคุ ค่า นสิ่งที่ทำ เช่น อธิบาย ห้เขาเข้า จว่าแต่ ะตัวชีวัด เราเกบ ปทำ ม เพื่อ ห้เกิด แรงจง จ นการทำงาน” (A12, ผอ.หนว่ ยบรกิ ารกรมสขุ ภาพจติ , 2565) ค. ผนู้ ำทก่ี ระตนุ้ ทางปญั ญา การกระตุ้นทางปัญญาเป็นการที่ผู้นำแสดงพฤติกรรมโดยการตั้งคำถามกับฐานคติ ความเชื่อ และ แนวทางวิธีการปฏิบัติเดิมกับผู้ตาม พร้อมทั้งกระตุ้นและสนับสนุนการใช้มุมมองและวิธีการใหม่ๆ ในการ ดำเนินงานและแก้ปัญหา สนับสนุนการแสดงความคิดเห็นและเหตุผลอย่างเป็นระบบ และสนับสนุนให้แสดง ความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างจากผูน้ ำ การกระตุ้นทางปญั ญาเป็นการสรา้ งความเปน็ อิสระและอำนาจแก่ผู้ตาม และ เป็นการป้องกันไม่ใหผ้ ู้ตามเกดิ การเชื่อฟัง ศรัทธาและคล่ังไคล้ผู้นำอย่างมืดบอด ยกตัวอย่างผูน้ ำที่กระตุ้นทาง ปัญญาจะมีแนวทางการใช้ภาวะผนู้ ำดงั ต่อไปนี้ “เราเนน้ ห้เ ยี งกนั คือองคกรทีส่ ามาร กเ ียงกัน ด้ เพราะคิดว่าการเ ียงคือการทำ ห้งาน ตขน ด้ แ ้วเค้า ม่จำเป็นต้องฟงผมทุกเรื่อง แต่ ้าที่ประชุมตก งกันเรื่อง ดกเอาตามนัน นอกจากนนั ยงั มีการ ชร้ ะบบ design thinking กคอื อยากทำอะ ร ปเ ย ทำเสรจแ ้วมาเ ่า ห้ฟงว่ามันเป็นอย่าง ร จะปรับตรง หน แ ้วเรากทด องกัน ผ ทด องออกมาเรากจะเหน กันแ ้วกมาดกันว่าดีหรือ ม่ดี กเรียนร้กัน ป ส่วนเมื่อมีป หาจะ ช้วิธีการ feedback แ ะ บงั คบั ห้นอ้ ยทส่ี ดุ ” (A08, ผอ.หน่วยบรหิ ารกรมสุขภาพจิต, 2565) “จะ ช้การบังคับ ห้น้อยที่สุด ช้วิธีการสอนด้วยการสื่อสาร ดยเปิดช่องทางแสดงความ คิดเหน นส่วนที่เหนว่าเป็นสิ่งที่ดกี ต้องพร้อมที่จะรับฟง ห้อำนาจแ ะอิสระ เมื่อจะสั่งงาน อะ ร ห้กับผ้ ต้บังคับบั ชากจะต้อง ห้อำนาจแ ะ ห้อิสระ ดย ห้เชื่อว่า สิ่ง ดเกิดขนแ ้ว สิ่งนัน ว้ นดเี สมอ นข ะเดยี วกนั กต้องมแี กมบังคับด้วยว่าจะตอ้ งทำ ม่ทำ ม่ ด”้ (A37, ผอ. หน่วยบริการกรมสุขภาพจิต, 2565) 145
โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) “ผอ. จะพยายาม ห้ทุกคนทำงานออกมา จากนัน ผอ. จะชีแนะ พดคุย ห้คำปรกษา เปิด อกาส ห้แสดงความคดิ เหนต อด ดย ห้บคุ ากรผ ักดันผ งานออกมา ห้ ด้ก่อนแ ้วจงมา ปรกษา” (B02, บุค ากรจากสว่ นก างกรมสุขภาพจติ , 2565) ง. ผู้นำคำนงึ ถึงปจั เจกบุคคล ผู้นำจะให้การสนับสนุนทางสังคมและอารมณ์ของผู้ตาม แสดงออกถึงความห่วงใยในสวัสดิการและ สวสั ดภิ าพของผตู้ ามโดยพิจารณาวา่ ผ้ตู ามมีความต้องการอะไรบ้าง และสามารถตอบสนองได้อย่างไร การใส่ใจ กับความสามารถในการทำงานของผู้ตามส่งผลให้พวกเขาปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพที่มีอยู่ ผู้นำจะไม่กีด กันความก้าวหน้าของผู้ตาม และบั่นทอนความเชื่อมั่นในการทำงานของผูต้ ามโดยการสั่งให้ผู้ตามปฏิบัติงานท่ี ยากและเกินความสามารถของตนเอง มีการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาภายในหน่วยงานและปัญหา ส่วนตวั ท่มี ีผลกระทบต่อจิตใจของผูต้ ามอยา่ งตั้งใจ “ที่ตัวเองยดเป็นห ักกคือเอา จเขามา ส่ จเรา ้าเป็นเราจะร้สกอย่าง ร เมื่อเกิดสิ่งที่ ม่ ด้ ดั่ง จ เราอาจจะเยน ง ด้ แ ะทำ ห้การบริหารจัดการง่ายขน นอกจากนันยัง ชห้ ักนี นการ รับผิดชอบตอ่ หน้าที่ ดยดแ คน ข้ทกุ คน เหมือนเป็น าติการบริการดุจ าติมิตรเหมือนจะ เปน็ คำสวยหร ้าเราทำอย่างนันจริง นสว่ น กนอ้ ง า้ มผี งานอะ รท่ี ดดเดน่ จน ด้รางวั ก จะ ห้ค่าตอบแทนตรงนีเพิ่มขนซ่งเป็น นเชิงรปธรรม กนอกจากนันยังตอบแทน นเชิง นามธรรมคือมีเวที ห้ ด้แบ่งปนผ สำเรจเพื่อ ห้คนที่ยังทำ ม่ ด้เขากเหนตัวอย่าง เขากเกิด แรงบันดา จ ชื่นชมเขาดว้ ยความจริง จ อีกประการหน่งคือ ้ามีป หาอะ รสามาร มาหา เรา ด้ต อด แ ะ ้ามีอะ รพ าดมาเราจะ ม่ก ่าว ทษเขา เราเชื่อว่าทุกคนตัง จอย่แ ้ว ซ่ง า้ มนั พ าดเราจะร่วมกนั หาวิธกี ารแก้ ข” (A10, ผอ.หนว่ ยบริการกรมสขุ ภาพจิต, 2565) ให้การสนับสนุนผู้ตามเพื่อพัฒนาทักษะและความสามารถของตนเอง และให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจเกี่ยวกับระบบมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ตลอดจนกระบวนการให้รางวัลและการประเมินความดี ความชอบ “หมอเป็นคนที่ชอบคุยกับคน แ ้วกรับฟงผ้คน เชื่อว่าทุกอย่างมันมีการเป ี่ยนแป ง ด้ กฎ วันนี ม่ดี วันพรุ่งนีเราเป ี่ยน ด้ คน ม่ควรยดติดมากเกิน ปแต่ว่ามันต้องมีห ักการ ้า อะ ร ม่ดีกเป ี่ยน การทำงานต้องมีความยืดหยุ่นแ ้วกมีความสุข ส่วนตัว นฐานะที่เป็นผ้บริหาร อะ รขาดเรากต้องหา ห้ แ ะ ้าหามา ห้ก่อนทเ่ี ขาจะ าม ด้กจะดีมาก นข ะเดียวกันคิดว่า ้าเรา หม้ ากเขากจะ หเ้ รามากเหมือนกนั แ ว้ กจะจง จซ่งกันแ ะกัน เรียกวา่ เป็นทฤษฎีสอง 146
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) สง อกี ประการคือเรากต้องสรา้ งทางเ ือกห ายห ายทาง หก้ ับ กน้อง ้าขยนั ก ด้มาก ้า ม่ ขยันก ด้น้อย” (A06, ผอ.หนว่ ยบริการกรมสุขภาพจิต, 2565) นอกจากนั้นแล้วการรักษาความสัมพันธ์กับผู้ตามอยา่ งสม่ำเสมอเปน็ พฤติกรรมสำคัญอีกประการหนึ่ง ของผนู้ ำ โดยผนู้ ำจะสนบั สนุนการจดั กิจกรรมสร้างความสมั พันธใ์ นหน่วยงานเพื่อใหส้ มาชกิ ในองค์การได้มีการ สังสรรค์แลกเปลี่ยนความคิดและความรู้สึกซึ่งกันและกัน อันจะนำไปสู่การลดความเหินห่างของสมาชิกใน องค์การ ซึ่งจะทำให้บรรยากาศขององค์การเป็นเสมือนครอบครัวขยายที่สมาชิกในองค์การมีความห่วงใย เออ้ื เฟอ้ื ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั “อย่างแรกเ ยวิธกี ารทำงานเราตอ้ งเป็นตัวอยา่ งของผ้มสี ขุ ภาพจิตดีก่อน ปที่ หนกบั เครือขา่ ย ปพบปะหรือการทำงานการประสานงาน การเชื่อมต่อบุค ิกที่ต้องยิม ต้องเป็นคนฟงด้วย ความเข้า จ ้า ครทำ ด้ดีกต้องชื่นชมด้วยคำพดที่ดี แ ้วกเป็นคนที่ ม่ดุ ม่ว่า ้าเรานำ ปแต่ งานวิชาการ แต่ท่าทาง ม่เป็นมิตร งานกอาจ ม่ประสบผ สำเรจ เว าสั่งงานอะ ร ปกตาม มอบหมาย ห้จะยัง ม่บอกว่าต้องทำอย่าง ร แต่จะ ห้การบ้าน ปทำ ห้เขาสร้างสรรคขนมาจะ ด้มีการพัฒนาตนเองก่อน แ ้ว ห้เขามานำเสนอ นสิ่งที่ กต้อง แ ้วกคอยสอนคอยบอกคอย ชแี นะ ป” (A09, ผอ.หนว่ ยบรหิ ารกรมสุขภาพจติ , 2565) จ. ผูน้ ำวิสัยทัศน์ ลักษณะที่สำคัญคือสามารถอธิบายวิสัยทัศน์ต่อผู้อื่น โดยการแปลงวิสัยทัศน์มาสู่การกระทำและ เป้าหมายที่ต้องปฏิบัติ มีการสื่อสารด้วยคำพูด และเขียนอย่างชัดเจน โดยผู้นำจะต้องแสดงพฤติกรรมใน ทิศทางที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับผู้ตามได้ปฏิบัติตาม เมื่อเกิดการประสานพลังในการ ปฏิบัติระหว่างผู้นำและผู้ตามที่ดำเนินไปในทิศทางเดียวกันก็จะส่งผลต่อพลังในการบรรลุประสิทธิผลตาม วิสัยทัศน์ได้ในที่สุด นอกจากนั้นยังมีทักษะที่สามารถขยายวิสัยทัศน์ในบริบทที่แตกต่างกัน โดยพบว่าผู้นำ ถ่ายทอดวิสัยทัศน์ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ ยกตัวอย่างได้ดังต่อไปน้ี “เราจะทำอยา่ ง ร ห้ผ้ตามเหมือนกับ ด้ฟงกับต้นฉบบั ดยตรง นฐานะผ้นำกเ ยต้องมาฟงแ ้ว องเอามาแป งแ ะมาอธิบายต่อผ้ปฏิบัติจริง ๆ แ ้วกดผ ตอบรับ แ ้วพยายามแป ง ยุทธศาสตรต่าง ๆ ห้มาเป็นกิจกรรมที่เราเข้า จง่ายแ ะเข้า งง่ายแ ะตรงกับประเดน ห้ ผ้ปฏิบัติงานเข้า จแ ะรับทราบจริง ๆ ดยเน้นการสื่อสารสองทาง ้าเกิดว่ามีความ ม่เข้า จ ตรง หนเรากจะร่วมกันวิเคราะหกับผ้รับผิดชอบงาน ดยตรง” (A38, ผอ.ศนยสุขภาพจิต, 2565) 147
โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) “การสื่อสารมีความสำคั เราต้องสื่อสาร ห้ผ้ ต้บังคับบั ชาเข้า จว่าทำ มจงต้องทำงานนี หากน ยบายส่งผ กระทบต่อความเป ี่ยนแป งขององคการมาก จะต้องหาวิธีการพดคุยแบบ 100% กคือเรียกมาคุยทุกหนว่ ย นองคการ ดยอาจ ช้การประชุม นอกจากนันการดหนา้ งานก สำคั ก ่าวคือ ตาม ปดว่าสิ่งที่เรา ห้น ยบาย ง ปผ้ตามสามาร ปฏิบัติ ด้มากน้อยเพียง ด แ ะหากทำ ม่ ด้กต้องคิด ว้ก่อนว่ามีป หากจะต้องดำเนินการหาวิธีการแก้ ข” (S07, ผบ้ รหิ ารระดบั สงกรมสุขภาพจติ , 2565) “ผอ.จะรับน ยบายจากผ้บริหารสุขภาพจิตแ ะนำมาทำความเข้า จผ่านเวทีการประชุม ห้เรา อย่างต่อเนื่อง มีผ้แทนที่จะรับ ่ายทอดต่อ นส่วนของราย ะเอียดแ ะแบบแผน ห้เข้ากับ ยุทธศาสตรหน่วยงานแ ะสามาร ที่จะนำตัวชีวัด งส่การปฏิบัติ ด้ ดย ผอ.มีค่านิยม นเรื่อง การสอ่ื สารวิสัยทัศนยกตัวอยา่ งเรื่องแผนฯ เว ามปี ระชุมท่าน ผอ.จะคอย า่ ยทอดต่อบุค ากร ทุกคนว่าทำอย่าง ร ด้บ้าง แ ้วจะนำประเดนยุทธศาสตรมาพดคุยอย่เสมอ ๆ นเวทีต่าง ๆ เพื่อดุว่ามีการติดตามหรือเป ี่ยนแป งหรือ ม่ ดยเน้นการสื่อสารเป็นปจจัยสำคั ” (B33, บคุ ากรศนยสขุ ภาพจติ ม, 2565) ภาพท่ี 25 การใช้ภาวะผู้นำของผู้บริหารในกรมสุขภาพจิต 148
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) โดยสรปุ ในภาพรวมแล้วผบู้ รหิ ารในกรมสขุ ภาพจิตสว่ นใหญม่ ีการใชภ้ าวะผ้นู ำการเปลี่ยนแปลง ในลกั ษณะผนู้ ำกระตุ้นทางปัญญามากทส่ี ดุ รองลงมาคอื ภาวะผ้นู ำบารมหี รอื ผ้นู ำท่ีใชอ้ ทิ ธิพลเชงิ อุดมคติ ส่วนภาวะผู้นำในลักษณะอื่น เช่น ผู้นำวิสัยทัศน์ และผู้นำคำนึงถึงปัจเจก ก็มีปรากฏอยู่ในหลาย หนว่ ยงานซ่ึงผ้ปู ฏบิ ัตสิ ามารถรับรู้ได้ สว่ นทพี่ บน้อยทีส่ ดุ คือ ภาวะผนู้ ำสร้างแรงดลใจ เน่ืองจากผู้บริหาร จำนวนหน่ึงมักถา่ ยทอดขอ้ มูลเฉพาะเทา่ ที่คดิ ว่าผปู้ ฏิบตั ิรับได้ จงึ อาจไมไ่ ดแ้ สดงออกในลกั ษณะการปลุก เร้าอารมณ์หรือการใช้คำกล่าวทีก่ ระตุ้นแรงจูงใจแก่ผู้ปฏิบัติต่อวิสัยทัศน์ เป้าหมายขององค์การในภาพ กวา้ งทั้งหมด หรอื บางคร้ังกลมุ่ ผู้บริหารอาจแสดงออกในลักษณะเชน่ นัน้ แต่ผูป้ ฏบิ ตั ิอาจยังไม่รับรู้ 6.1.2 ภาวะผ้นู ำในการขับเคลื่อนแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ในภาพรวมภาวะผู้นำของผู้บริหารในกรมสุขภาพจิตสำหรับการปฏิบัติราชการตามแผนของกรม มี ลักษณะของภาวะผู้นำที่จะสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้ประสบผลสำเร็จ อย่างไรก็ตามมีข้อเสนอแนะต่อ ผู้นำในการขับเคลอ่ื นแผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติว่า ควรมลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี อันดับแรกคือ ภาวะผู้นำที่มีความชัดเจน (ร้อยละ 28) อันดับที่สองคือ ผู้นำที่ให้ความสำคัญกับการ สื่อสาร (ร้อยละ 24) และอันดับที่สามคือ ผู้นำที่ให้ความสำคัญกับเครือข่าย (ร้อยละ 14) และใกล้เคียงกันคือ ผนู้ ำที่มีวิสัยทัศน์ (รายละเอยี ดดังภาพท่ี 26) ภาพท่ี 26 ภาวะผนู้ ำที่ขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์ให้ประสบผลสำเรจ็ 149
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) อย่างไรกต็ าม ผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี มคี วามคดิ เห็นวา่ การใช้ภาวะผู้นำในการบรหิ ารแผนพัฒนาสุขภาพจิต แห่งชาติยังไม่เพยี งพอใน 3 ประเดน็ สำคญั ไดแ้ ก่ ด้านความชัดเจน กล่าวคือ ผู้ที่เกี่ยวข้องในกรมสุขภาพจิตยังไม่เห็นความแตกต่างระหว่าง ภาวะการนำในแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ กับภาวะการนำในแผนปฏิบัติราชการของกรมสุขภาพจิต ว่าจะ นำไปสู่ความแตกต่างในการปฏิบัติงานอย่างไร และมีงานใดบ้างที่เป็นหน้าที่ของหน่วยงานอื่น ๆ ที่ไม่ใช่กรม สขุ ภาพจิต เพราะหากพิจารณาตามยุทธศาสตร์ทงั้ 4 ยุทธศาสตร์แล้ว ก็เป็นไปตามพันธกิจของกรมสุขภาพจิต ทั้งหมด จึงทำให้ทั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ในหน่วยปฏิบัติต่าง ๆ ให้ความสำคัญกับการดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิตมากกว่า เนื่องจากได้มีการเปรียบเทียบแล้วพบว่ามีความคล้ายคลึงกัน ดงั นน้ั จึงเสนอให้ผนู้ ำทจ่ี ะขับเคลื่อนงานตามแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติระบุประเด็นทีต่ ้องการขับเคล่ือนให้ ชดั เจน ด้านการสื่อสาร พบว่าผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานจากหลายภาคส่วนโดยเฉพาะหน่วยบริการ สขุ ภาพจิตท่ีอยูใ่ นจังหวดั ตามภูมภิ าคต่าง ๆ มีความคิดเห็นวา่ กลไกในการส่ือสารจากผู้ที่ขับเคลื่อนแผนพัฒนา สุขภาพจติ แหง่ ชาติอาจยังไม่เพียงพอ จงึ ทำใหผ้ ู้บรหิ ารท่ีเป็นคณะอนุกรรมการฯ บางส่วนไมแ่ น่ใจว่าเป็นความ บกพร่องส่วนบุคคลของตนเอง หรือเป็นความบกพร่องของกลไกในการสื่อสารตามแผนพัฒนาสุขภาพจิต แหง่ ชาติ ด้านการมีส่วนร่วม พบว่า ยังมีปัญหาในด้านการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนา สุขภาพจติ แห่งชาติ ทัง้ เครอื ข่ายในกรมสุขภาพจติ และผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียนอกกรมสุขภาพจิตเห็นว่ายังไม่ได้เข้า ไปมีส่วนร่วมในการออกแบบแผนดังกล่าวเท่าที่ควร บางหน่วยงานทราบเมื่อแผนถูกร่างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ส่วนหน่วยงานภายนอกกรมสุขภาพจิตบางหน่วยงาน ยังไม่รู้สึกถึงความเป็นเจ้าของร่วมในแผนดังกล่าว ตลอดจนยังไม่เข้าใจถึงบทบาทที่จะดำเนินงานร่วมกันเท่าที่ควร จึงอาจยังไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการเสนอ ความคดิ เห็น เพียงแต่รับทราบและใหข้ อ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมเทา่ น้ัน อยา่ งไรก็ตาม หน่วยงานเครอื ข่ายผมู้ ีส่วนได้ ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องคาดหวังว่าในแผนระยะต่อไปจะได้มีส่วนร่วมในการเสนอแนะ ตามบทบาทที่เกี่ยวข้องกับ ตนเองมากยิ่งขึ้น เพียงแต่ คณะทำงานจะต้องประสานการมีส่วนร่วม ไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบงานจริง ยกตัวอย่างเช่น กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพั ฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย มีโครงสร้างการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับงานสุขภาพจิต ประกอบด้วยหลาย กรม/กอง/ สำนัก ดังนั้นระดับการมีส่วนร่วมจะต้องเชื่อมโยงต่อเนื่องกันตั้งแต่ระดับสูงของกระทรวง จนถึงระดับ ปฏิบัติการของแต่ละกรม จึงจะเกิดการมีส่วนร่วมในการปฏบิ ัติงานได้จรงิ เพราะหากระบุการมีส่วนร่วมแค่ใน ระดับกระทรวงแล้ว จะทำให้ได้ตัวแทนจากสำนักงานปลัดกระทรวงมารับทราบเรื่อง แต่จะไม่ทราบ รายละเอียดของการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับงานสุขภาพจิตอย่างแท้จริง และให้ข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมได้ น้อย 150
โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 6.2 กระบวนการแปลงยุทธศาสตร์ไปสกู่ ารปฏิบตั ิ 6.2.1 การถ่ายทอดวสิ ัยทศั น์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ สู่ผ้ปู ฏิบตั ิ กระบวนการแปลงแผนยทุ ธศาสตร์สู่การปฏบิ ตั เิ ป็นการถ่ายทอดเปา้ ประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ตวั ช้วี ัด และเป้าหมายไปสู่หนว่ ยงานในระดบั ปฏิบัติ เพ่อื ใหห้ น่วยงานในระดับปฏบิ ัตเิ กิดความเขา้ ใจ และสามารถนำกลยทุ ธไ์ ปดำเนนิ การได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม การถ่ายทอดยทุ ธศาสตร์ ในกรมสุขภาพจติ สำหรับกรมสุขภาพจิตผู้บริหารจะดำเนินการทั้งในส่วนของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติและ แผนปฏิบัตริ าชการไปพร้อมกนั โดยมีกระบวนการดังตอ่ ไปนี้ 1) การประชุมชี้แจงระดบั กรมฯ มีการประชุมชี้แจงถ่ายทอดเพื่อให้ความรู้และชี้แจงรายละเอียดค่าเป้าหมายกลยุทธ์ลงไปสู่ผู้ปฏิบัติ โดยผู้บริหารระดับกรมฯ และผู้บริหารจากสำนักงานส่วนกลางจะดำเนินการถ่ายทอดต่อผู้บริหารในหน่วย บริการตา่ ง ๆ และกลุ่มศูนย์สขุ ภาพจิต หากเปน็ แผนปฏิบัติราชการฯ กรมสขุ ภาพจิตจะมคี ณะกรรมการบริหาร จำแนกตามยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ครบทั้ง 4 ยุทธศาสตร์ และมีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบในแต่ละตัวชี้วัด (PM) ที่ ปรากฏในแผน ดังนัน้ การถา่ ยทอดวิสัยทศั น์ เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ สู่ผู้ปฏบิ ตั ิในแผนปฏบิ ตั ริ าชการฯ จะมีความ ชดั เจนและเป็นระบบระเบยี บแบบแผนมากกว่า ในแผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติทมี่ ีลักษณะโครงสร้างในการ บรหิ ารเป็นระดบั กรรมการและอนกุ รรมการขบั เคลื่อนแผนในภาพรวม 2) เอกสารเผยแพร่ สำหรับแผนปฏิบัติราชการ ประกอบด้วย เอกสารแผนทั้งแบบฉบับเต็ม และฉบับ สรุป ประกอบกับมีคู่มือการดำเนินงานตามตัวชี้วัดต่าง ๆ ส่วนแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ มีแผนฉบับเต็ม ฉบับย่อ และแผนปฏิบัติการ พร้อมกับคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการในด้านต่าง ๆ ซึ่งเอกสารมีทั้งจัดพิมพ์ส่งให้ หน่วยงาน และเผยแพรใ่ ห้เข้าถงึ ไดท้ างเวบ็ ไซตข์ องกรมสุขภาพจติ 3) การส่อื สารตามลำดับขัน้ หลังจากมีการช้ีแจงในภาพรวมระดับกรมฯ ผูบ้ รหิ ารระดับสงู จะไดร้ ับทราบรายละเอยี ด แนวทางและ สื่อที่ใช้ในการบริหารจัดการ ขณะเดียวกันผู้บริหารของบางหน่วยงานก็เป็นคณะกรรมการที่ดแู ลรับผิดชอบใน แต่ละยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัดที่ปรากฏในแผนปฏิบัติราชการด้วย ระดับต่อไปคือผู้บริหารต้องถ่ายทอดต่อ บุคลากรในหน่วยงานของตนเองต่อไป ซึ่งกลยุทธ์ในการดำเนินงานของผู้บริหารหน่วยงานบางท่านอาจให้ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานระดับหัวหนา้ เข้าร่วมประชมุ ถา่ ยทอดยุทธศาสตร์จากสว่ นกลางด้วย เพ่ือใหส้ ามารถชว่ ยกันคิดและ แปลงแผนสู่การปฏิบัติในระดับหน่วยปฏิบัติร่วมกัน บางหน่วยงาน ใช้การถ่ายทอดเป็นลำดับชั้นจาก ผูอ้ ำนวยการ ส่หู วั หนา้ จากหัวหนา้ สผู่ ู้ปฏิบตั ิ เปน็ กลมุ่ แยกยอ่ ยตามเนื้องานออกไป ไปรับยุทธศาสตรม์ าจากกรม แปลงเป็นภาษา และการปฏิบตั ทิ ่บี ุคลากรของเราเข้าใจ และเขา้ กบั เนื้องานและบรบิ ทของเขา ถา่ ยทอดโดยการเลอื กเนือ้ หาทเ่ี หมาะสมกบั แตล่ ะระดบั ของบุคลากร 151
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) สอ่ื สารประชาสมั พันธ์ข้ึนเว็บไซต์ ในรูปแบบทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย “เราจะ ด้ า่ ยทอดกคือการรับฟงจากกรม า่ ยทอดมาแ ว้ เราเอามาเชื่อม ยง า้ นำมาส่ นภาคปฏิบตั ิ ดยส่วนตัวจรงิ ๆบางทกี ม่ ด้มาอธิบาย นภาพ ห ข่ นาดนันแตด่ งส่วนท่ีเกีย่ วข้องกับเรามาแ ะพยายามแป ง ห้เปน็ ภาพปฏบิ ัติ ห้มากท่สี ดุ วา่ เคา้ ต้องการอย่าง รแ ้วเราจะเชื่อม ยงอยา่ ง รแ ้ว ้าเราจะทำ ห้มนั ดขี น ดอ้ ีก เราจะทำอยา่ ง ร ด้บา้ งเพ่ือ ห้ ดผ้ พั ธเทา่ น”ี แผนปฏิบัติราชการฯ: ใช้วิธีการบริหารผลการปฏิบัติงานประจำปีเพราะฉะนั้นในกรมก็จะมี กระบวนการการถ่ายทอดตัวชี้วัดจากเป้าหมายยุทธศาสตร์กรม จะผ่านยุทธศาสตร์กรมไปสู่หน่วยงานสังกัด กรมค่อนข้างเป็นระบบแล้วก็มีการติดตามวัดผลการทุกๆหกเดอื นแล้วก็เอาขอ้ มูลมาพิจารณา มีสองอย่างก็คอื 1. ดูผลการทำงานที่เกดิ ขนึ้ มาตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ของกรม 2.ดูผลงาน ทหี่ น่วยงานทำพร้อมไปคำรับรองของ หนว่ ยงานดว้ ยก็จะเอาไปใชใ้ นการพิจารณาตัดสินใจและจัดสรรค่าตอบแทนให้กับหนว่ ยงาน ซง่ึ จะค่อนขา้ งเป็น ระบบที่ทำให้เราสามารถการดำเนินงานไปตามแผนได้ค่อนข้างดี แล้วก็ประกอบกับตัวภายใต้การบริหารงาน ตามยุทธศาสตร์แต่ละยุทธ์ จะมีโครงการขับเคลื่อนที่กรองมาแล้วในแต่ละปีว่าจะใช้โครงอะไรบ้างในการ ขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตรใ์ หก้ บั ยทุ ธศาสตรอ์ กี ชนั้ หนง่ึ ดว้ ยใหม้ ันเดินตอ่ ไดอ้ ยา่ งค่อนขา้ งเป็นรปู ธรรม การถ่ายทอดแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติฯ: ตอนที่แผนได้ถูกจัดทำขึ้นมาแล้ว ได้เชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจาก กระทรวงตา่ งๆเข้ามารว่ มให้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางปฏิบัติแลว้ ส่งให้ทางหน่วยงานต่างๆ หลังจากน้ันจะทำ แผนปฏิบัติการที่เกี่ยวเนื่องกับตัวเนื้อหายุทธศาสตร์ตัวใหญ่แล้วส่งเข้ ามาทางกรมฯพิจารณาทำเป็นภาพรวม ของแผนปฏิบตั ิการภายใต้แผนพฒั นาสขุ ภาพจิแหง่ ชาติ สำหรับแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติประกอบด้วยผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งในกรมสุขภาพจิต และหน่วยงาน ภายนอก มกี ระบวนการดงั นี้ 1) คณะอนุกรรมการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจิต ถ่ายทอดแผนสู่คณะกรรม การ สุขภาพจิตแห่งชาติ มีการเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากกระทรวงต่าง ๆ เข้ามาร่วมให้ข้อคิดเห็น เกี่ยวกบั แนวทางปฏิบตั ิ แตง่ ตงั้ คณะทำงานในการร่างแผน แลว้ นำเสนอตอ่ คณะกรรมการ จากนัน้ จงึ ได้ใหห้ น่วยงานที่เกีย่ วข้องต่าง ๆ สง่ รายช่อื โครงการทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั ประเด็นตวั ช้วี ดั ตามแผนแล้ว คณะทำงานจึงได้นำโครงการที่แต่ละหน่วยงานรับผิดชอบ มาจัดเข้าไปในเแผนปฏิบัติการภายใต้ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ 2) คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติถ่ายทอดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละสังกัดท่ี คณะกรรมการนั้น ๆ ดำรงอยู่ โดยจะถ่ายทอดต่อเฉพาะประเด็นที่สอดคล้องกับประเด็นการ ดำเนินงานของตนเอง โดยไมไ่ ดม้ กี ารถ่ายทอดในลักษณะภาพรวม 3) เครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ได้รับการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ ผา่ นการเขา้ ร่วมประชุม แตร่ ะดบั การขยายตอ่ ในวงกวา้ งยงั ไม่เกดิ ขึ้น สว่ นการศึกษาแผนจะศึกษา 152
โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) จากเอกสาร แล้วมาพิจารณาว่า มีส่วนใดที่เกี่ยวข้องสอดคล้อง เช่น โครงการที่อยู่ในแผนซึ่งเป็น โครงการของหนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ งซึง่ มีการดำเนินงานเป็นปกติอยแู่ ลว้ 6.2.2 การจดั ลำดบั ความสำคัญของโครงการ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ : ไมม่ กี ารจัดลำดบั ความสำคัญของโครงการ แผนปฏิบัติราชการ: ในระดับการวางแผนไม่มีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการ โดยมี แนวทางการดำเนินงานทุกโครงการให้มีความสำคัญอย่างเท่าเทียมกัน ส่วนในระดบั การบรหิ ารงาน มี ผู้บริหาร บางท่าน จัดลำดับความสำคัญของงานตามสถานการณ์ ความเร่งด่วน มีคำสั่งเฉพาะ หรือ จัดการตามปัญหาเฉพาะหนา้ ทีเ่ กิดขึ้น 6.2.3 ปัญหาอุปสรรคในการแปลงแผนสกู่ ารปฏบิ ัติ จากการศกึ ษาสามารถสรปุ ปัญหาอุปสรรคท่ีเกดิ ในขั้นตอนการแปลงแผนไปสกู่ ารปฏิบัตดิ ังตอ่ ไปน้ี 1) ด้านการถา่ ยทอดวสิ ัยทศั น์ ปัญหาประการแรก เรื่องความถี่และความครอบคลุมในการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนา สุขภาพจิตแห่งชาติ ในระดับกรมสุขภาพจิต พบว่ามีการรับรู้ลดน้อยลงตามลำดับ จากระดับสูงสู้ระดับปฏิบัติ จากส่วนกลาง สู่ส่วนภูมิภาค การรับรู้ในหน่วยงานระดับสูง หรือในส่วนกลาง จะเข้มข้นกว่าบุคลากรในกรม สุขภาพจิตหลายท่านสะท้อนว่ากระบวนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ยังไม่ทั่วถึง บางหน่วยงานไม่ทราบความ แตกต่างหรือที่มาที่ไปของแผนว่า เหตุใดจึงมีสองแผน ทั้งสองแผนมีความแตกต่างกันอย่างไร หรือบางครั้งไม่ ทราบว่ามีแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ส่วนในระดับเครือข่าย พบว่า กรรมการและอนุกรรมการมีการนำ ประเด็น ไปนำเสนอและพดู คยุ ในท่ปี ระชุมกรรมการชุดใหญ่ และคณะอนุกรรมการ ระดบั หน่วยงานไมไ่ ด้มีการ นำไปถ่ายทอดต่อในภาพรวมของแผน แต่นำไปถา่ ยทอดเฉพาะประเดน็ ทีเ่ กี่ยวข้องกับหน่วยงาน หรือโครงการ ที่เกี่ยวข้อง ขณะที่บุคลากรจำนวนมาก ยังไม่ค่อยรับรู้ว่ามีแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ จากปัญหาความถ่ี และความครอบคลมุ ในการถ่ายทอดนำไปสู่ปัญหาในการรับร้ยู ุทธศาสตร์ ประการที่สอง ปัญหาในการรับรู้เนื้อหายุทธศาสตร์ จากปัญหาเรื่องการถ่ายทอด ที่ยังมีความถ่ี น้อย ไม่ชัดเจน ไม่ครอบคลุม ส่งผลต่อการรับรู้ทำให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนส่งผลต่อปัญหาด้านความ ร่วมมอื ในการบรหิ ารงานที่ยงั ไม่ขยายกวา้ งไปยังหน่วยงานที่เกีย่ วข้องท้ังหมด ประการที่สาม การระบุตัวแทนสำหรับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พบว่าการระบุ ตัวแทนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในคณะอนุกรรมการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจิต ส่วนใหญ่มาจากกอง ยุทธศาสตร์และแผนงาน ซึ่งจะมีความเข้าใจในเรื่องของการทำแผนยุทธศาสตร์และแผนโครงการในภาพรวม ขององค์การ แต่ปัญหาคือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอาจไม่เชี่ยวชาญประเด็นยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ สำหรับกรณีท่ี ตอ้ งการความคิดเห็นเพ่ิมเติมในเชิงปฏิบตั ิ ส่วนผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียจากภาคประชาสงั คม คอ่ นข้างมีความพร้อม ในการใหค้ วามร่วมมอื เชงิ ประเด็นที่เกี่ยวขอ้ งกบั พันธกิจของหน่วยงานอยู่แลว้ 153
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ส่วนในแผนปฏิบัติราชการพบปัญหาในบางหนว่ ยบรกิ ารที่มองว่าประเดน็ ยุทธศาสตร์มีความยาก ตอ่ การเขา้ ใจ จงึ ควรมีกลไกหรือช่องทางเพมิ่ เตมิ ในการเรียนรยู้ ุทธศาสตรส์ ำหรบั บคุ ลากร 2) ด้านกระบวนการแปลงยุทธศาสตร์ กระบวนการแปลงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติและแผนปฏิบัติราชการมี กระบวนการแปลงจากค่าเป้าหมายรวมทั้งแผน สู่เป้าหมายระดับตัวชี้วัดเปา้ ประสงค์ อย่างไรก็ตามการแปลง ตัวชี้วัด มีแนวโน้มในลักษณะทั่วไปไม่ได้ดำเนินงานในลักษณะที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นท่ี จึงเป็น ประเดน็ ปญั หาทวี่ า่ พ้นื ท่ที ม่ี ปี ัญหามากกับพ้ืนที่ท่มี ีปญั หาน้อยทำกจิ กรรมที่ใกล้เคียงกัน บางพ้ืนที่ท่ีปัญหามาก อาจมีกจิ กรรมนอ้ ยเกนิ ไปทจี่ ะบรรลุเปา้ หมาย ขณะที่บางพ้นื ท่ปี ญั หาน้อยอาจมกี ิจกรรมท่ีมากเกินความจำเป็น เช่น ตัวชี้วัดอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ที่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านตัวชี้วัดนี้อยู่แล้ว แต่มีบาง กระบวนการที่ยังตอ้ งดำเนนิ งานเทา่ กบั พ้นื ท่ีอนื่ ๆ อยู่ 3) การขาดหายไปของการเช่ือมโยงระหวา่ งยุทธศาสตร์กับการปฏบิ ัติ (Missing Link) จากโครงสร้างในการเขียนแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ซึ่งเชื่อมโยงจากประเด็นเป้าประสงค์ ไปสู่ ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ แล้วข้ามไปเป็นโครงการ ทำให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างโครงการที่จะนำไปตอบตัวชี้วัด ตามเป้าประสงค์ และขาดภาพของความเชื่อมโยงว่า โครงการที่ปรากฏในแผน ได้ตอบความต้องการของ เป้าประสงค์นั้นมากน้อยเพียงใด ซึ่งแตกต่างจากโครงสร้างในการเขียนแผนของแผนปฏิบัติราชการกรม สุขภาพจติ ที่มีความเช่ือมโยง จากเปา้ ประสงค์ สูก่ ลยุทธ์ จากตวั ชีว้ ัดกลยทุ ธ์ แลว้ ผู้บริหารจงึ แปลงยุทธศาสตร์ ร่วมกบั ผ้ปู ฏบิ ัตไิ ปส่โู ครงการกจิ กรรมเพ่อื การบรรลุตวั ช้ีวัด 6.3 การจัดตงั้ องค์การขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์ ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ และแผนปฏิบัติราชการ มีการจัดตั้ง องค์การในการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรท์ แ่ี ตกตา่ งกัน ดงั ตอ่ ไปนี้ 6.3.1 โครงสรา้ งการดำเนนิ งานตามแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติฯ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับท่ี 1 (พ.ศ. 2561 – 2580) มีพันธกิจในการพัฒนาและขับเคลื่อน งานสุขภาพจิตและจิตเวชให้มีประสิทธิภาพ ลดปัจจัยเสี่ยง เพิ่มปัจจัยคุ้มครองด้านสุขภาพจิต ส่งเสริมให้ ประชาชนมคี วามตระหนกั และความเขา้ ใจต่อปญั หาสุขภาพจิต รวมทงั้ สรา้ งความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายใน การลดอคติต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิต7 ซึ่งในบริบทของการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตให้ประชาชนเพื่อให้ได้รับ บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพจิตท่ีไดม้ าตรฐานและเปน็ ธรรม โดยสามารถจัดบรกิ าร ด้านสขุ ภาพจติ ได้อยา่ งเหมาะสมกับ บริบทของแต่ละพื้นที่ จำเป็นต้องบูรณาการร่วมกันของทุกภาคส่วนทั้งภายในและภายนอกระบบสาธารณสุข 7 กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน กรมสขุ ภาพจิต. แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ. 2561 – 2580). 154
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ผ่านกลไกการบริหารระดับประเทศคือ “คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ” โดยภายใต้การทำงานในรปู แบบ ดังกล่าวได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้องได้แก่ อนุกรรมการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์ สุขภาพจิต คณะอนุกรรมการปรับปรุงและแก้ไขกฎหมาย และอนุกรรมการประสานงานเพื่อการบั งคับใช้ กฎหมายวา่ ด้วยสขุ ภาพจิตระดับจงั หวดั (ภาพท่ี 27) ภาพที่ 27 โครงสร้างการดำเนินงานเครือข่ายตามแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติฯ ก. คณะกรรมการสุขภาพจิตแหง่ ชาติ โครงสร้างคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย 1) รองนายกรัฐมนตรีซ่งึ นายกรัฐมนตรมี อบหมาย เปน็ ประธาน 2) รัฐมนตรวี า่ การกระทรวง สาธารณสุข เป็นรองประธานกรรมการ 3) มีกรรมการโดยตำแหน่ง จากหน่วยงานจากภาครัฐ ได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวง แรงงาน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เลขาธิการสำนักงาน ศาลยุติธรรม อัยการสูงสุด ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และ เลขาธกิ ารคณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ 4) ผูแ้ ทนองคก์ รภาคเอกชนที่เปน็ นิติบคุ คลและมีวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับการคุ้มครองดูแลบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต 5) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญที่ มี ประสบการณ์และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในสาขาการแพทย์จิตเวช จิตวิทยาคลินิก สังคมสงเคราะห์ทาง 155
โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) การแพทย์ การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต กจิ กรรมบำบัด และกฎหมาย และ 6) อธบิ ดีกรมสุขภาพจิตเป็น กรรมการและเลขานกุ าร และขา้ ราชการของกรมสขุ ภาพจิตซ่ึงอธิบดีแต่งต้ังเป็นผ้ชู ่วยเลขานุการ8 (ภาพท่ี 28) ดังนั้น การดำเนินงานอย่างเชื่อมโยงกันจึงเกิดขึ้นผ่านบทบาทเชิงโครงสร้างของคณะกรรมการตาม กฎหมายดังกล่าว โดยมีอำนาจหน้าท่ี ดังต่อไปนี้ 1) เสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนสุขภาพจิตระดับชาติ 2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐและเอกชนดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพจิตการป้องกันและการ ควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพจิต 3) กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้หน่วยงานของรัฐและเอกชนดำเนินการ เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธขิ องบุคคลที่มคี วามผิดปกติทางจิต การให้บริการด้านสุขภาพจิต และการอยู่ร่วมกนั ในสังคม 4) ตรวจสอบและติดตามการดำเนินงานของคณะกรรมการสถานบำบัดรักษา 5) กำหนด หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารทางสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือสื่ออื่นใด เพื่อไม่ให้มีการ ละเมิดสิทธิตามกฎหมายสุขภาพจิต 6) กำหนดหน่วยงานด้านสงเคราะห์และสวัสดิการ 7) ออกระเบียบหรือ ประกาศเกี่ยวกบั การปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี 8) รายงานการติดตามการปฏิบัติงานของหน่วยงานของ รฐั และเอกชนตามพระราชบญั ญัตนิ ีต้ ่อคณะรฐั มนตรี 9) ปฏิบัตกิ ารอนื่ ตามท่ีพระราชบญั ญตั นิ ห้ี รือกฎหมายอื่น บัญญตั ใิ หเ้ ปน็ อำนาจหนา้ ที่ของคณะกรรมการ หรอื ตามท่ีคณะรัฐมนตรมี อบหมาย9 ภาพที่ 28 โครงสร้างคณะกรรมการสุขภาพจิตแหง่ ชาติ 8 ราชกิจจานเุ บกษา, เลม่ 136 ตอนที่ 50 ก. พระราชบัญญตั ิสุขภาพจติ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2562. น.211-212. 9 ราชกจิ จานุเบกษา, เลม่ 136 ตอนที่ 50 ก. พระราชบญั ญตั สิ ุขภาพจติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562, น. 212-213. 156
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ข. คณะอนกุ รรมการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจติ ตามคำสั่งของคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ ได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจดั ทำนโยบายและ ยุทธศาสตร์สุขภาพจิตแห่งชาติ เพื่อให้การดำเนินงานด้านสุขภาพจิตมีความต่อเนื่องและเกิดผลอย่างเป็น รูปธรรม เชื่อมโยงกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีโครงสร้างคณะอนุกรรมการ ประกอบด้วย 1) อธิบดีกรมสขุ ภาพจิตเปน็ ประธานอนุกรรมการ 2) รองอธบิ ดีกรมสุขภาพจิตท่ีไดร้ บั มอบหมาย เป็น รองประธานกรรมการ 3) อนุกรรมการจากหน่วยงานต่าง ๆ ทงั้ ในและนอกระบบบริการสาธารณสุขได้แก่ รอง เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ รองเลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ รองเลขาธิการ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ผู้อำนวยการจาก สำนักงานด้านยุทธศาสตรจ์ ากหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำนักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน สำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมอนามัย โรงพยาบาลเฉลิม พระเกียรติสำนักงานศาลยุติธรรม สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนัก อนามัยกรุงเทพมหานคร 4) อนุกรรมการจากหน่วยงานภายในกรมสุขภาพจิต ประกอบด้วยผู้อำนวยการจาก หน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ ผู้อำนวยการกองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต ผู้อำนวยการกองส่งเสริมและพัฒนา สุขภาพจิต ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ ผู้อำนวยการสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ผู้อำนวยการสถาบนั ราชานุกูล ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรนุ่ ราชนครินทร์ ผ้อู ำนวยการสถาบัน พฒั นาการเด็กราชนครนิ ทร์ ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลศรธี ัญญา ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสวนปรงุ ผอู้ ำนวยการ โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์ ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 9 ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 13 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 5) อนุกรรมการจาก องค์การภาคเอกชน ประกอบด้วยผู้บริหารจากองค์การต่าง ๆ ได้แก่ มูลนิธิเครือข่ายครอบครัว มูลนิธิสถาบัน พัฒนานิติจิตเวชเด็ก เยาวชน และครอบครัว ประธานมูลนิธิออทิสติกไทย สมาคมเพื่อผู้บกพร่องทางจิตแห่ง ประเทศไทย สมาคมสายใยครอบครัว และ 6) อนุกรรมการและเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการที่แต่งตั้งจาก กองยทุ ธศาสตร์และแผนงานกรมสุขภาพจติ และสำนกั งานเลขานกุ ารคณะกรรมการสขุ ภาพจิตแห่งชาติ อำนาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมการดังกล่าว ประกอบด้วย 1) จัดทำและเสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการสุขภาพจิตแห่งชาติต่อคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติเพื่อให้ความเห็นชอบ 2) ให้ คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ และสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการสุขภาพจิต แห่งชาติต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ และสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการสุขภาพจิตแห่งชาติต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3) จัดทำรายงานความก้าวหน้า ผลผลิต และผลลัพธ์จากการดำเนินเสนอต่อคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 4) 157
โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อช่วยปฏิบัติงานตามความเหมาะสม และ 5) ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ สุขภาพจติ แห่งชาตมิ อบหมาย10 ภาพที่ 29 คณะอนุกรรมการจัดทำนโยบายและยทุ ธศาสตร์สุขภาพจติ ค. คณะอนกุ รรมการปรับปรุงและแกไ้ ขกฎหมาย คณะอนุกรรมการปรับปรุงและแก้ไขกฎหมาย ถูกแต่งตั้งขึ้นเพื่อให้มีอำนาจหน้าที่ในการ ศึกษา เสนอแนะ รวมถงึ พิจารณาปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมายทเี่ ก่ยี วข้องกบั การดำเนินงานดา้ นสขุ ภาพจิต ซึง่ จะสอดคล้อง ใน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขับเคลื่อนและผลักดันมาตรการทางกฎหมาย สังคม และสวัสดิการ ของแผนพัฒนา สุขภาพจิตแห่งชาติ เป้าประสงค์ที่ 3.1 ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการคุ้มครองสิทธิ ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหา 10 คำสงั่ คณะอนุกรรมการสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ท่ี 2/2561 เร่อื งแตง่ ต้งั คณะอนกุ รรมการจดั ทำนโยบายและยทุ ธศาสตร์สขุ ภาพจิตแห่งชาติ 158
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294