178 สรา้ งขวัญกำลังใจ เสรมิ แรงครู และผู้บรหิ าร ในโรงเรยี นขนาดเล็ก ในการจัดการเรยี นการสอนในช่วง สถานการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 4) โครงการ/กิจกรรมปรับระเบียบ บางประการเกยี่ วกบั อตั รากำลังให้เร็วขึน้ เช่น กรณคี รคู นื ถ่ิน บรหิ ารงานงบประมาณ 5 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการจัดทำ ปรบั ปรงุ แผนพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษา/โครงการ/กจิ กรรม/งบประมาณท่ีสอดคลอ้ งกับการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัส โคโรนา 2019 2) โครงการจัดสรรงบประมาณจดั ซอ้ื กลอ่ งรับสญั ญาณ DLTV 3) โครงการจดั สรร งบประมาณสำหรับโรงเรียนขนาดเลก็ 4) โครงการจดั อบรมให้ความรู้เกยี่ วกบั งานการเงนิ และพัสดุ 5) โครงการลดข้ันตอนของระเบียบในการจัดซอื้ วสั ดอุ ุปกรณใ์ ห้สะดวก รวดเรว็ บริหารงานท่ัวไป 3 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการปรับปรุงระบบไฟฟ้า สัญญาณ อินเทอร์เน็ต (ระบบการเบิกจ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับสภาพบริบทที่จ่ายจริง เช่น การใช้ SolarCel ปรับการเบิกจ่ายค่าสาธารณูปโภค ค่าอินเทอร์เน็ตของครู /นักเรียน ...กรณีสอน ออนไลน์ กระจายสัญญาณอินเทอร์เน็ต จากโรงเรียนไปไว้ตามจุดต่างๆ ในชุมชน 2)โครงการ ประสานงานการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่นท่ีจัดการศึกษา 3) โครงการจัดระบบการรายงานขอ้ มลู ท่ีใช้รว่ มกันทัง้ ในระดบั เขตพื้นทแ่ี ละ สพฐ. 2.1.2 ด้านการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1)โครงการพัฒนาหลักสูตรการ เรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 2) โครงการพัฒนาครู ในการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีเป็น ลักษณะ Active Learning 3)โครงการสง่ เสรมิ ครใู นการใช้แพลตฟอรม์ ในการจัดการเรยี นการสอน 4) โครงการพัฒนาเทคนคิ การจัดการเรยี นการสอนตามแผนบรู ณาการของ DLTV 2.1.3 ด้านการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน จำนวน 11 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการสนับสนุน สื่อ 60 พรรษาใหโ้ รงเรียนขนาดเล็กทกุ โรงเรียน 2)โครงการพัฒนาพอ่ แมผ่ ู้ปกครองในการใช้เทคโนโลยี เบ้ืองต้นในส่งเสริมการเรียน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ของ นักเรียน 3) โครงการจัดสรรวัคซีนครูและบุคลการทางการศึกษา 100% 4) โครงการช่วยเหลือ นักเรียนไรส้ ัญชาติ 5) โครงการจดั ต้ังศูนยบ์ ริการซ่อมบำรงุ อุปกรณ์ 6) โครงการพัฒนาสื่อ On Hand เพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของครู 7) โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อดูแล ชว่ ยเหลือนักเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 8) โครงการจัดตั้ง ศูนย์ให้การช่วยเหลือแนะนำให้คำปรกึ ษาด้านเทคโนโลยีให้กับนักเรยี น ผู้ปกครอง 9) โครงการคูปอง ซ้ืออุปกรณ์การเรียนครึ่งราคาให้นักเรียน 10) โครงการจัดหาทุนการศึกษา อุปกรณ์การเรียนให้ นักเรยี น 11) โครงการจดั ทำระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น 2.2 โรงเรียนขนาดกลาง 2.2.1 ดา้ นบริหารจัดการ จำนวน 14 โครงการ แยกเปน็ บริหารวชิ าการ 5 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการสนบั สนนุ สื่อเทคโนโลยีในการผลิตสื่อ ใหก้ บั โรงเรียน ครู 2) โครงการพฒั นาส่ือเทคโนโลยี Tablet ทมี่ ีเนื้อหาบทเรยี นในแต่ละกลุ่มสาระ 3) โครงการพัฒนาสนบั สนุนการสร้างเครอื ข่ายการเรียนรู้ชุมชน ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ โดยจัดสรร งบประมาณสนับสนุนกจิ กรรมของเครือข่าย4) โครงการพฒั นาโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบลอยา่ ง ยัง่ ยนื 5) โครงการเสริมสร้างและประสานความร่วมมอื ทางวิชาการ
179 บริหารงานบุคคล 3 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการพัฒนาครูตามภาระงาน 2) โครงการ สร้างขวัญกำลังใจ ยกย่องเชิดชูเกียรติ เสริมแรงครู และผู้บริหารในการจัดการเรียนการสอนในช่วง สถานการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีประสบความสำเร็จ 3) โครงการจัดสรร ตำแหนง่ นกั การภารโรงครบทุกโรงเรยี น บริหารงานงบประมาณ 2 โครงการ ไดแ้ ก่ 1) โครงการจัดอบรมให้ความรเู้ ก่ียวกับงาน การเงนิ และพัสดุ 2) โครงการลดข้นั ตอนของระเบยี บในการจัดซ้ือวสั ดุอุปกรณ์ใหส้ ะดวก รวดเรว็ บริหารงานท่ัวไป 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการส่งเสริมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบข้อมูลสารสนเทศ 2) โครงการช่วยเหลือค่าอินเทอร์เน็ตของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง 3) โครงการพัฒนานักเรียนด้านอาชีพและการมีรายได้ระหว่างเรียน 4) โครงการจัดระบบการ รายงานข้อมลู ท่ีใช้ร่วมกนั ทั้งในระดบั เขตพื้นทีแ่ ละ สพฐ. มกี ารจัดทำ Big Data 2.2.2 ด้านการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการสนับสนุนส่ือ เทคโนโลยแี กค่ รู 2) โครงการจดั สรรสนบั สนุนชุดอุปกรณใ์ นการจัดทำสอ่ื การสอนประเภทคลิปวดี โี อ 2.2.3 ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงานองค์กรภายนอก องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการสนับสนุนการศึกษา 2) โครงการส่งเสริมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบข้อมูลสารสนเทศโครงการช่วยเหลือค่า อนิ เทอร์เน็ตของนกั เรยี นอยา่ งต่อเนอ่ื ง 3) โครงการการสร้างเครือข่ายผูป้ กครอง 2.3 โรงเรยี นขนาดใหญ่ 2.3.1 ดา้ นบรหิ ารจัดการ จำนวน 9 โครงการ แยกเปน็ บริหารวิชาการ 3 โครงการ ไดแ้ ก่ 1) โครงการสนับสนุนการนำเทคโนโลยี นวัตกรรม ในการบรหิ ารจดั การท่สี อดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงและทนั สมัย 2) โครงการปรบั แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีท่ีบูรณาการโครงการ/กิจกรรม 3) โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือโรงเรยี น/หน่วยงาน ให้คำปรกึ ษาทถี่ ูกตอ้ งตามระเบยี บที่กำหนด บริหารงานบุคคล 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการสร้างจิตวิญญาณความเป็นครู 2) โครงการจัดหา/พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะในการซอ่ มบำรงุ สื่อ วัสดุอปุ กรณ์ บริหารงานงบประมาณ 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการจัดทำแนวทาง/คู่มือในการ ดำเนนิ งานดา้ นงบประมาณ 2) โครงการจัดสรรงบประมาณสำหรบั ซ่อมบำรงุ ส่ือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ บรหิ ารงานท่วั ไป 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการสรา้ งระบบจัดเกบ็ ขอ้ มูลสารสนเทศ ของโรงเรยี นในการบริหารจัดการ 2) โครงการชว่ ยเหลือคา่ อนิ เทอร์เนต็ ของนักเรยี นอย่างตอ่ เน่อื ง 2.3.2 ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ จำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการระดมทุนสำรองใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) โครงการผลิต พัฒนาสื่อแหล่งเรียนรู้ท้องถ่ินสู่การเรียนการสอน 3) โครงการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมดา้ นเทคโนโลยี สำหรับใช้ในการจัดการศึกษา 4) โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาระดับ ครวั เรอื น 2.3.3 ดา้ นการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น จำนวน 6 โครงการ ไดแ้ ก่ 1) โครงการเครือข่าย ความร่วมมือในการสนับสนุนการศึกษา 2) โครงการสร้างความเข้มแข็งระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 3) โครงการสนับสนุนส่ือ วัสดุ
180 อุปกรณ์ การเรียนนักเรียน 4) โครงการส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ท้องถ่ิน 5) โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครอง และชุมชนในการจัดการศึกษา 6) โครงการสร้างเครอื ขา่ ยความรว่ มมือกับหน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งจากภายนอกในการดแู ลดา้ นคุณภาพ ชีวิตครอบครัวนักเรียน 2.4 โรงเรยี นคุณภาพชมุ ชน 2.4.1 ด้านบริหารจัดการ จำนวน 10 โครงการ แยกเปน็ บรหิ ารวิชาการ 4 โครงการ ไดแ้ ก่ 1) โครงการสนับสนุนการนำเทคโนโลยี นวตั กรรม ในการบรหิ ารจัดการท่ีสอดคล้องกบั การเปลี่ยนแปลงและทันสมัย 2) โครงการปรับแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี กำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่บูรณาการโครงการ/กจิ กรรม สอดคล้องกับนโยบายหลักของ รัฐบาล 3) โครงการสร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมอื โรงเรียน/หนว่ ยงาน ใหค้ ำปรึกษาที่ถูกตอ้ งตามระเบียบ ทกี่ ำหนด 3)โครงการพัฒนาระบบบริหารจดั การออนไลน์ สำหรับประชุมชี้แจงผู้ปกครอง การจัดการ เรยี นสำหรบั นักเรียน การ PLC คณะครู บริหารงานบุคคล 3 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการสร้างจิตวิญญาณความเป็นครู 2)โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการใช้เทคโนโลยีสำหรับครู 3) โครงการพัฒนาครูด้านการออกแบบ การจดั การเรียนการสอน บริหารงานงบประมาณ 1 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการสนับสนนุ งบประมาณเพ่ิมเติม ในการจดั การเรียนรู้ บริหารงานทว่ั ไป 2 โครงการ ไดแ้ ก่ 1) โครงการสนับสนุนการใช้งานอนิ เทอร์เน็ตของ ชุมชนเพ่อื การศึกษา 2) โครงการชว่ ยเหลือคา่ อนิ เทอร์เน็ตของนักเรียนอย่างต่อเนอ่ื ง 2.4.2 ด้านการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการวิจัยและ พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา สำหรับใช้ในการจัดการศึกษา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส โคโรนา 2019 2) โครงการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติด เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 3) โครงการผลิต พัฒนาสื่อเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนการสอน 4) โครงการบรู ณาการสอนคุณธรรม จริยธรรมในการใช้สื่อเทคโนโลยี อย่างเหมาะสม 2.4.3 ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ สร้างความเข้มแข็งระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนในช่วงสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส โคโรนา 2019 2) โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครอง และชุมชนในการจัด การศึกษา 2.5 โรงเรียน Stand Alone 2.5.1 ดา้ นบริหารจัดการ จำนวน 7 โครงการ แยกเปน็ บริหารวิชาการ 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี กำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่บูรณาการโครงการ/กิจกรรม สอดคล้องกับนโยบายหลักของรัฐบาล 2) โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือโรงเรียน/หน่วยงาน สถาบันการศึกษา ปราชญ์ชาวบ้าน บคุ ลากรเชย่ี วชาญเฉพาะทางมามีสว่ นร่วมในการพัฒนาการศกึ ษา บรหิ ารงานบุคคล 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการพฒั นาบุคลากรด้านการใช้ เทคโนโลยีสำหรับครู 2) โครงการสง่ เสรมิ ความก้าวหนา้ ทางวชิ าชพี สำหรบั ครู
181 บรหิ ารงานงบประมาณ 1 โครงการ ไดแ้ ก่ 1) โครงการสร้างความเท่าเทยี มทาง การศกึ ษา โดยสนับสนุนงบประมาณในการสร้างระบบโครงสรา้ งพื้นฐานให้ทวั่ ถงึ บริหารงานท่ัวไป 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือการศึกษา 2) โครงการช่วยเหลอื คา่ อนิ เทอร์เนต็ ของนักเรียนอยา่ งต่อเนื่อง 2.5.2 ด้านการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับชาวไทย ภูเขา 2) โครงการประสานความร่วมมือผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนในการจัดการเรียนรู้ในช่วงการแพร่ ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 2.5.3 ดา้ นการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน จำนวน 3 โครงการ ได้แก่1) โครงการสรา้ ง คา่ นิยมใหม่ ใหม้ ีความเช่อื ว่า การเรยี นร้แู ละมีความรจู้ ะทำให้มชี ีวติ ความเปน็ อยทู่ ่ีดี่ขึ้น 2) โครงการ สร้างอาชพี ให้ชมุ ชน เพ่ือใหม้ ีรายได้ 3) โครงการชว่ ยเหลือผูต้ ดิ เช้ือไวรสั อภิปรายผล จากผลการวจิ ัยครัง้ น้ี สามารถนำมาอภิปรายผล ดงั น้ี 1. ผลวิเคราะห์แนวทางการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นในสถานการณการแพรระบาดของโรค ตดิ เชือ้ ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของโรงเรียนแต่ละลกั ษณะจะมสี ว่ นท่ีเหมอื นและแตกต่าง กนั สามารถนำมาอภิปรายดงั น้ี ด้านการบริหารจัดการ โรงเรียนควรมีการปรับแผน/โครงการ/กิจกรรม/งบประมาณ ให้สอดคล้องกับสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไว รัสโคโรนา 2019 มกี ารสง่ เสรมิ /สร้างขวญั กำลังใจ/เสริมแรงสำหรับครู และผู้บริหาร สร้างความตระหนักแกค่ ณะครใู น การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ สถานการณ์ฉุกเฉินอ่ืน ๆ ดังที่ รณกฤต รินทะชัย (2557) ได้สรุปว่า การบริหารงานบุคคลต้องให้มี ความคล่องตวั อิสระภายใต้กฎหมาย ระเบียบเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลขา้ ราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาได้รับการพัฒนา มีความรู้ ความสามารถ มีขวัญกำลังใจ ได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติ มคี วามม่ันคงและกา้ วหน้าในวิชาชพี ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรต่างๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนงบประมาณ ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ในส่วนท่ีทางสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา/สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐานควรให้การดูแลช่วยเหลือ และสนับสนุน ได้แก่ การปรับปรุงระบบไฟฟ้า สัญญาณ อินเทอร์เน็ต (ระบบการเบิกจ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับ สภาพบริบทที่จ่ายจริง เช่น การใช้โซลาเซล/ปรับการเบิกจ่ายค่าสาธารณูปโภค ค่าอินเทอร์เน็ตของครู /นักเรียน กรณีสอน ออนไลน์ การประสานหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เกี่ยวกับการกระจายสัญญาณอินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุม การใช้งานของนักเรียน และครู จัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเปิดให้กรอกได้ตลอดเวลา เป็นปัจจุบัน การจัดสรรงบประมาณจัดซื้อกล่องรับสัญญาณ DLTV รายครัวเรือน และร่วมมือกับ สถาบัน/หน่วยงานท่ีผลติ รายการเพ่ือการศึกษาทุกระดับช้ัน การโยกย้ายและบรรจุแต่งตั้งผู้บริหาร / ครู ควรมีการดำเนินการอย่างรวดเร็ว และมีข้อกำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงานก่อนโยกย้าย
182 ปรับระเบยี บบางประการเกี่ยวกับอัตรากำลังให้เรว็ ขึ้น เช่น ครูคืนถิ่น สอดคล้องกบั ชรินรัตน์ จิตสุโภ (2561) ส่งเสริมใหบ้ ุคลากรพฒั นาอย่างต่อเนือ่ ง เช่น การอบรมการใช้แอพพลิเคชนั ตา่ ง ๆ สนับสนุน งบประมาณทางด้านเทคโนโลยีให้เหมาะสมกับบริบทโรงเรียน การจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับงาน การเงิน และพสั ดุ จัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมใหโ้ รงเรยี นขนาดเล็ก ปรบั เปลี่ยนรูปแบบแนวทางการใช้ จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับการดำเนินงานในสถานการณ์ปัจจุบัน จัดอบรมให้ความรู้เก่ียวกับ ระเบียบการเบิกจ่ายจากหน่วยงานต้นสังกัด จัดสรรเครื่องมือ อุปกรณ์การเรียนรู้ออนไลน์ให้กับ นักเรียนโรงเรียนขนาดเล็ก ลดขั้นตอนของระเบียบในการจัดซ้ือวัสดุอุปกรณ์ให้สะดวก รวดเร็ว ลดภาระการรายงานข้อมูลสารสนเทศที่มีความซ้ำซ้อน มีการจัดระบบข้อมูลท่ีใช้ร่วมกันทั้งในระดับ เขตพ้ืนท่ี และ สพฐ. จัดหา นโยบายการจัดการศึกษาควรต่อเน่ืองอย่างน้อย 3 – 5 ปี สอดคล้องกับ สุเทพ เท่งประกิจ (2557) กล่าวว่า ความสำคัญของการบริหารงานบุคคลนั้น เป็นการเตรียมความ พรอ้ มใหก้ บั บุคคลในทกุ ๆ ด้านต่อการเปล่ียนแปลงทางด้านเทคโนโลยี ด้านการจัดการเรียนรู้ ควรมีการปรับหลักสูตรเฉพาะสถานการณ์ของเขต / นโยบายการ จดั การเรียนการสอน เช่น เน้นกลุ่มสาระหลัก และบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระอ่ืนๆเน้นเรื่องการวัด ประเมินผลให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เทคโนโลยเี สรมิ วิเคราะห์ตวั ชว้ี ัด ต้องรู้ ควรรู้ร่วมกันระหว่างเขตและเครือข่าย สอดคล้องกับ วิโรจน์ บุญเรือง (2552) กล่าวว่า การบริหารงานวิชาการต้องมีหลักการและวิธีดำเนินงาน เพ่ือให้เกิดความคล่องตัวในการบริหาร ยึดหลักให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ ชุมชน พัฒนาครูให้ปรับการเรยี นเปลย่ี นการสอนให้สอดคล้องกับสถานการณ์และบรบิ ทของโรงเรียน เช่น AL แบบ On line ตามความพร้อมและความเหมาะสมกับบริบทของผู้เรยี น /ผู้ปกครอง ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูใช้แพลตฟอร์มที่มีอยู่อย่างเต็มประสิทธิภาพ พัฒนาเทคนิคการจัดการเรียนการสอน ตามแผนบูรณาการของ DLTV สำหรับครูโรงเรียนขนาดเล็ก) สอดคล้องกับ พัชราภรณ์ ดวงชื่น (2563) ศึกษาการบริหารจดั การศึกษารับความปกติใหม่หลังวกิ ฤตโควิด-19 พบวา่ ผู้บริหารตอ้ งมีการ บรหิ ารที่สอดคล้องกับความปกติใหม่โดยมีแนวทางในการบริหาร ได้แก่ การเตรยี มความพร้อมในการ เรียนการสอนออนไลน์ด้านอุปกรณ์และเทคโนโลยี การออกแบบหลักสูตรโดยคำนึงถึงความแตกต่าง ของนักเรียนแต่ละคน การบริหารจัดการโรงเรียนและครูให้ประสบความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้ มกี ารหารือและวางแผนรว่ มกันของบุคคลท่ีมีส่วนเกย่ี วข้องในทุกภาคส่วน ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ส่ือ 60 พรรษา จัดทำรูปเล่มให้ทุกโรงเรียน ครบทุกวิชา ทุกช้ันเรียนพร้อมกัน พัฒนาพ่อแม่ผู้ปกครองในการใช้เทคโนโลยีเบ้ืองต้นในการจัดการเรียนรู้ สนับสนุนอุปกรณ์ เช่น แทปเล็ตให้เด็กยืมเรียน (เครือข่าย หน่วยงาน องค์กร อบต. โรงเรียนร่วม สนับสนุนผู้ปกครอง) การปรับช่วงเวลาในการเรียน หรือการสอนซ่อมเสริมแบบออนไลน์ ครูและ บคุ ลากรทุกคนต้องได้รับวัคซีนป้องกันโควดิ 19 สนับสนุนงบประมาณให้นักเรียนที่ไม่มีสัญชาติไทย การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองจัดต้ังศูนย์บริการซ่อมบำรุงอุปกรณ์ โดยทำ MOU กับ วทิ ยาลยั การอาชีพ สถาบนั พัฒนาฝมี ือแรงงานดำเนินการสำรวจและจัดสรรวสั ดุอุปกรณ์ในการจัดการ เรียนการสอนตามความต้องการของโรงเรียน พัฒนาสื่อ On hand เพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียน การสอนของครูเพ่ิมข้ึน การสนับสนุนส่ือและวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
183 ตรงตามความต้องการ สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในและภายนอกองค์กร สถานศึกษาจัดทำ ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนรายบคุ คลใหค้ รอบคลุมและทั่วถึง สานสัมพันธ์ระหว่างโรงเรยี น บ้าน วัด ชุมชน จัดต้งั ศูนย์ให้การช่วยเหลือแนะนำให้คำปรกึ ษาด้านเทคโนโลยีให้กับนกั เรียน ผู้ปกครอง ทั้งใน ระดับเขตพื้นท่ี เครือข่าย โรงเรียน กำกับติดตามการใช้เทคโนโลยีผ่านการประสานงานผู้ปกครอง อย่างสม่ำเสมอ จัดสรรงบประมาณเป็นคูปองซื้ออุปกรณ์การเรียนแบบครึ่งราคาให้นักเรียนแต่ละ ครอบครัวนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จัดทำบัญชีรายรับรายจ่าย ส่งเสริมให้นำองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างรายได้เสริมให้กับผู้ปกครอง ส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะอาชีพให้แก่นักเรียน จัดหาทุนการศึกษา อุปกรณ์การเรยี นให้กับนกั เรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมสี ่วนรว่ มสนับสนุน การจัดการศึกษาอย่างต่อเน่ือง ดังที่ เทื้อน ทองแก้ว (2563) ได้สรุปผลกระทบจากการระบาด COVID-19 ไว้ 3 ประเด็น คือ ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และด้านการศึกษา โดยในเร่ือง ผลกระทบด้านการศึกษาเกิดผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน นักเรียนกับอาหารและสุขภาพ ของนักเรียน กระทบต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน กระทบตอ่ ภาวะจติ ใจของผู้เรียน ผลกระทบต่อ ผบู้ รหิ ารและครผู ู้สอน 2. ผลการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับการจัดการศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 ของโรงเรียนในแต่ละลักษณะ พบว่า มีความเหมาะสม และความเป็นไปได้ ทั้งนี้เน่ืองจากข้อเสนอ เชิงนโยบายดังกล่าวเกิดจากการระดมความคดิ จากผบู้ ริหารการศึกษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครูผสู้ อน และศึกษานิเทศก์ ซึง่ เป็นผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของ ธนุ วงษ์จินดา (2556) และผา่ น กระบวนการกำหนดนโยบาย ดังท่ี กานต์ เนตรกลาง (2555) ได้กำหนดข้ันตอนการพัฒนาข้อเสนอ เชิงนโยบาย ซ่ึงมี 3 ขั้นตอน คือ ข้ันตอนท่ี 1 การพัฒนาร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย ขั้นตอนที่ 2 การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบาย และข้ันตอนที่ 3 การตรวจสอบข้อเสนอเชิงนโยบาย จาก ผู้เช่ียวชาญ โดยมีองค์ประกอบของนโยบาย ได้แก่ โครงการ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์การดำเนินงาน และผลท่ีคาดว่าจะได้รับตามท่ี วิชิต กำมันตะคุณ (2552) กล่าวว่า องค์ประกอบของนโยบาย ประกอบดว้ ยส่ิงสำคัญ 2 ส่วนคอื วัตถุประสงค์ของนโยบาย และแนวทางของนโยบาย โดยจะขาดสิ่ง ใดสิ่งหน่ึงไมไ่ ด้ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะการนาํ ผลการวจิ ยั ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ 1.1 ข้อเสนอแนะสําหรับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ควรดําเนินการ จัดทำโครงการเพ่ือพัฒนาการการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรสั โค โรนา 2019 ได้แก่ โครงการพัฒนาส่ือเทคโนโลยี Tablet ท่ีมีเน้ือหาบทเรียนในแต่ละกลุ่มสาระ โครงการพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้ โครงการปรับระเบียบกับอัตรากำลัง โครงการจัดสรร งบประมาณจัดซื้อกล่องรับสัญญาณ DLTV โครงการปรับปรุงระบบสัญญาณอินเทอร์เน็ต โครงการ จัดระบบการรายงานข้อมูลท่ีใช้ร่วมกนลดภาระการรายงาน โครงการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการ สอนเฉพาะสำหรับใช้ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โครงการ สนบั สนุนส่ือ 60 พรรษา โครงการช่วยเหลอื นักเรียนไรส้ ัญชาติ โครงการจดั สรรวคั ซนี ครูและบุคลากร
184 ทางการศึกษา โครงการจัดซื้ออุปกรณก์ ารเรียนคร่ึงราคาให้นกั เรียน โครงการช่วยเหลือคา่ อินเทอร์เน็ต นักเรียน 1.2 ข้อเสนอแนะสําหรับสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ควรดําเนินการจัดทำโครงการ เพ่ือพัฒนาการการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในส่วนท่ีสำนกั งานเขตพื้นท่ดี ำเนินการได้ ไดแ้ ก่ โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรู้ โครงการเสริมสร้างและ ประสานความร่วมมือทางวิชาการ โครงการส่งเสรมิ การวิจัยและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ โครงการ พัฒนาการใช้แพพลิเคชันในการเรียนการสอน การโยกย้ายและบรรจุแต่งต้ังผู้บริหาร ครู โครงการ พัฒนาการเรียนการสอนสำหรับชาวไทยภูเขา โครงการสร้างจิตวิญญาณความเป็นครู โครงการสร้าง ขวญั กำลังใจ ยกย่องเชดิ ชูเกยี ร เสริมแรงครูและผบู้ ริหาร 1.3 ข้อเสนอแนะสําหรับสถานศึกษา ควรดําเนินการจัดทำโครงการเพื่อพัฒนาการจัด การศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โครงการสร้างจิตวญิ ญาณ ความเป็นครู โครงการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนเฉพาะสำหรับใช้ในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โครงการผลิต พัฒนาส่ือ เครื่องมือวัดและประเมินผลการ เรียนการสอน โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครอง และชุมชนในการจัด การศึกษา โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการใช้เทคโนโลยีสำหรับครู โครงการจัดทำระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรยี น 2. ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครงั้ ต่อไป 2.1 ควรมีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรเฉพาะสำหรับใช้ในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 2.2 ควรวิจัยปฏิบัติการเพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาด้านใดด้านหนึ่งจากข้อเสนอ เชิงนโยบายในการวิจยั ครงั้ น้ี โดยวิจยั ในระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษาหรอื ทงั้ จงั หวัด 2.3 ควรมีการวจิ ัยกรณศี ึกษาโรงเรียน Stand Alone เพ่อื นำข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัด การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 3 ไปใช้ในโรงเรยี นเพ่อื ใหไ้ ดแ้ นวปฏิบตั ิทเี่ ป็นรปู ธรรมย่ิงขน้ึ 2.4 ควรมกี ารวจิ ัยเกี่ยวกับปัจจัยความสาํ เรจ็ ในการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในโรงเรียนขนาดเลก็ ขนาดกลางและขนาดใหญ่ เพอื่ ความ ชดั เจนในการหารูปแบบทเี่ หมาะสมสาํ หรับพฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทีม่ บี ริบทแตกต่างกัน
บรรณานกุ รม กนกวรรณ แช่มชอ้ ย. (2555). การจดั การศึกษาศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กสังกัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล พงั ตรุอำเภอพนมทวน. วทิ ยานพิ นธ์ ค.ม. กาญจนบุรี : มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี. กมล ภ่ปู ระเสริฐ. (2545). การบรหิ ารงานวิชาการในสถานศกึ ษา. กรุงเทพฯ : ทปิ สพ์ บั ลิเคชน่ั . กรมสามัญศึกษา, (2544). ระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นในโรงสังกดั กรมสามญั ศึกษา. พมิ พค์ รั้ง ที่ 3. กรงุ เทพฯ : วชั รนิ ทรก์ ารพิมพ์. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2546). พระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติพทุ ธศักราช 2542 แกไข เพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พุทธศักราช 2545. กรงุ เทพมหานคร : ครุ ุสภา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามแลประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. (2564). แผนการนิเทศการศกึ ษา ประจำปี 2564. พิษณโุ ลก : สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต 3. . (2564). รายงานการนเิ ทศ ติดตามและประเมินความพรอ้ มในการเปดิ เรยี น ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564. พษิ ณุโลก : สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา พษิ ณุโลก เขต 3. กญั ญามน อนิ หว่าง และ ขวญั หทัย ยม้ิ ละมยั . (2556). การบริหารทรพั ยากรมนุษยท์ างการศึกษา พิษณุโลก : มหาวิทยาลยั พษิ ณโุ ลก. กานต์ เนตรกลาง. (2555). การพฒั นาข้อเสนอเชงิ นโยบายการดำเนนิ การเพอื่ เปน็ ผูน้ ำในการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา. วิทยานพิ นธ์ปริญญาดุษฎี บัณฑิต, มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า. กิตติคุณ เกลี้ยงเกลา. (2554). สภาพและปญั หาการบริหารงานบคุ คลในรูปแบบการบริหาร องค์คณะบคุ คลในสถานศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษา อบุ ลราชธานี เขต 5. วทิ ยานิพนธ์ ค.ม. (สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา). อุบลราชธานี. คณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒสิ ภา. (2563). รายงานการพจิ ารณาศึกษาเรอื่ งข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเรง่ ด่วน ว่าด้วยการบริหารการจดั การศึกษาในชว่ งสถานการณ์การระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทีเ่ หมาะสมกับสงั คมไทย. กรงุ เทพฯ : สำนกั งานเลขาการวุฒสิ ภา. ครรชิต วรรณชา. (2557). ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายในการบริหารจัดการศึกษาเพือ่ ความมปี ระสิทธิผล ของสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบณั ฑิต, มหาวิทยาลยั ราชภัฎ มหาสารคาม. จรณุ ี เก้าเอ้ยี น. (2556). เทคนิคการบรหิ ารงานวชิ าการในสถานศกึ ษา : กลยทุ ธแ์ ละแนวทางการ ปฏิบัติ สำหรบั ผู้บริหารมอื อาชพี . คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา. จรญู ศกั ด์ิ พุดนอ้ ย. (2558). ข้อเสนอเชงิ นโยบายเพอ่ื การบริหารงานวิชาการสคู่ วามเปน็ เลศิ ของ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาดุษฎีบัณฑติ , มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. จันทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวปฏบิ ัตใิ นการบริหารสถานศกึ ษา. พมิ พ์ครั้งที่ 2. กรงุ เทพมหานคร:บ๊คุ พอยท์.
186 จตุ กิ รณ์ นสิ สัย. (2558). การศกึ ษาการดำเนนิ งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรยี นบ้าน หนองปรือ สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. (วิทยานพิ นธ์ ปรญิ ญามหาบณั ฑิต, มหาวทิ ยาลัยบรพู า). ชิษณพงษ์ ศรจนั ทร.์ (2556). ขอ้ เสนอเชิงนโยบายในการจดั การศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย. วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. ชรินรัตน์ จิตสุโภ. (2561). ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารสถานศึกษาขนาดเล็กสูค่ วามเป็นเลศิ สงั กดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา.ดุษฑนี พิ นธ์ ปรญิ ญาพทุ ธศาสตรดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. ชาญชยั พมิ พ์คำ. (2558). ความพึงพอใจของบุคลากรท่มี ตี ่อการบริหารงานบุคคลวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื . วิทยานพิ นธ์ รป.ม. (สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์). มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม. ชุมศกั ด์ิ อินทรร์ กั ษ์. (2549). การบริหารงานวิชาการและการนิเทศภายในสถานศกึ ษา. พิมพค์ รงั้ ท่ี 5.ปัตตานี : ฝา่ ยเทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักวทิ ยบริการ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี. ชวู ทิ ย์ บตุ แสง. (2553). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพอ่ื การพัฒนาการบริหารงานทั่วไปในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธป์ รญิ ญามหาบัณฑิต สาขาวิชา การบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร. เชิดศกั ดิ์ ศรสี ง่าชัย. (2553). ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการบรหิ ารและการจัดการศึกษาโรงเรียน ขนาดเลก็ ในสถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาขอนแกน่ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ปริญญาปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย. ณรงค์ สจั พนั โรจน์ (2543) การจัดทำ อนมุ ตั ิ การบรหิ ารงบประมาณแผน่ ดนิ : ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ : บพธิ การพิมพ์. เดช ดอนจนั ทรโ์ คตร. (2550). “การบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน สงั กดั สาํ นกั งาน เขตพน้ื ท่ีการศึกษาเลย เขต 2”, วิทยานพิ นธป์ ริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . (สําเนา) เตรียมศักดิ อินอุเทน. (2551). ประสิทธิผลการดําเนินงานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนในโรงเรียน สังกัดสำนกั งานเขตพื้นทีการศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธค์ รุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา, บัณฑติ วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ทวีป ศิริรัศม.ี (2545). การวางแผนพฒั นาและประเมินโครงการ.พิมพ์ครงั้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ : สำนกั งานกองทุนสนับสนนุ การวิจยั (สกว). วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย. ทะนงศกั ด์ิ คมุ้ ไขน่ ้ำ. (2550). เทคนคิ การบรหิ ารการศึกษา.ชยั ภูมิ:สถาบนั บณั ฑิตศกึ ษา
187 ธนุ วงษ์จินดา. (2556). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในของ สถานศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2. วทิ ยานิพนธป์ ริญญาดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏ มหาสารคาม. นงลักษณ์ สทุ ธิวฒั นพันธ์. (2544). การบริหารงานงบประมาณ หลักทฤษฎี และวิเคราะห์เชิงปฏิบตั ิ. พมิ พค์ รั้งท่ี 5. กรงุ เทพฯ : หจก.เอมเทรดดิง้ . นพพงษ์ บญุ จติ ราดุล. (2527). หลกั การบรหิ ารการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. นพพงษ์ บุญจติ ราดลุ . (2540). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : บพธิ การพิมพ.์ นฤบล กองทรัพย.์ (2556). การดำเนินงานระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นในโรงเรียนสงั กดั สำนักงาน เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3. (สารนิพนธป์ รญิ ญามหาบัญฑติ , มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั ). นวพร รกั ขันแสง. (2558). ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการบริหารจดั การศกึ ษาโรงเรยี นศูนยเ์ ด็กปฐมวยั ต้นแบบจังหวดั ชัยภมู ิ. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ , มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั บ้านสมเด็จ เจา้ พระยา. นาวาวี ยามา. (2554) . แรงจูงใจในการบริหารงานของผบู้ รหิ ารโรงเรียนประถมศึกษาสำนกั งาน เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส. วทิ ยานพิ นธ์ ค.ม. (สาขาวิชาการบรหิ าร การศกึ ษา). ยะลา : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา. ประชุม รอดประเสริฐ. (2545). นโยบายและการวางแผนหลักการและทฤษฎ.ี พมิ พ์ครงั้ ท่ี 7. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั เนตกิ ุลการพิมพจ์ ำกัด. ประภาพร บญุ ปลอด. (2555). ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศกษึ านานาชาตขิ องมหาวิทยาลัย. วทิ ยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาความเป็นผู้นำและการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุรนิ ทร์. ประสงค์ เอีย่ มเวียง. (2554). รูปแบบการบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ ตามนโยบายสำนกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษาเลย เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ าร การศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย. ปรยี าพร วงศอ์ นุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ อ่ื เสรมิ กรงุ เทพ. พงษ์ศักด์ิ ภูกาบขาว. (2553). ข้อเสนอเชงิ นโยบายเพ่ือความมีประสทิ ธิผลของโรงเรียนเรียนร่วม จงั หวัดขอนแก่น. วทิ ยานิพนธ์ศลิ ปศาสตรด์ ษุ ฎีบัณฑติ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . พรชยั ลขิ ติ ธรรมโรจน์. (2550). การคลงั รฐั บาลและการคลงั ท้องถิน่ . กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร์. พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตโฺ ต). (2549). พทุ ธวิธีในการบรหิ าร. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 4. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พชิ ิต สุดโต. (2555). การศึกษาสภาพการบริหารงานบคุ คลของสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานตามความ คดิ เหน็ ของผบู้ ริหารและครผู ู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 17. วทิ ยานิพนธ์ ค.ม. สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา. จันทบุรี : มหาวิทยาลยั ราชภัฏรำไพพรรณี
188 ฟัรฮาม เจ๊ะแม. (2556). การบรหิ ารงานบคุ คลของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สำนกั งานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาปัตตานี เขต 2. การค้นควา้ อสิ ระ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวชิ า การบริการศึกษา). ยะลา : มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา. ภฌลดา ปรางควิรยา. (2562). คมู่ ือการบริหารงาน 4 ฝา่ ย. สืบคน้ จาก https://rukkroo.com/ 17666/.(วนั ทค่ี ้นขอ้ มลู : 8 กันยายน 2564). มณีรตั น์ ภญิ โญภาพสกุล. (2549). การบริหารสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลใน โรงเรยี นสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 3. วทิ ยานิพนธ์ปริญญา มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยราชภฎั สวนสุนนั ทา. มนูญ ร่มแก้ว. (2553). สภาพและปญั หาการบริหารสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐานทเ่ี ปน็ นิติบุคคลของ ผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาจงั หวัดปัตตานี . วทิ ยานิพนธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บณั ฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา. มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. (2547). ประมวลสาระชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบตั ิในการบรหิ าร การศึกษาหน่วยท่ี 5 – 8. (พิมพคร้ังที่ 5). นนทบุรี : มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. มนู ิเราะห์ เจ๊ะมงิ . (2559). การบริหารงานบคุ คลของผ้บู ริหารสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนา อิสลาม สงั กดั สำนักงานการศึกษาเอกชนจงั หวดั ยะลา. สารนิพนธศ์ กึ ษาศาสตร์มหาบณั ฑติ (สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา). สงขลา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. เมตต์ เมตต์การูณ์จิต. (2553). การบรหิ ารจัดการแบบมีสว่ นร่วม : ประชาชน องคก์ รปรกครองส่วน ทอ้ งถน่ิ และราชการ. พมิ พค์ ร้งั ที่ 3. นนทบรุ ี : บุ๊ค พอยท.์ รณกฤต รินทะชยั . (2557). การศึกษาปัญหาการบริหารงานบคุ คลในสถานศึกษาสงั กดั สำนกั งาน เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26. วทิ ยานิพนธ์ ค.ม. (สาขาวชิ าการบรหิ าร การศึกษา). มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม. รัตนาภรณ์ สมบูรณ์. (2556). ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ิตนกั เรยี นโรงเรียนศกึ ษา สงเคราะห.์ วิทยานิพนธป์ ริญญาดุษฎีบัณฑติ , มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : นานมีบคุ ส์พับลเิ คชนั่ . . (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์พบั ลเิ คชั่นส์. รงุ่ รัชดาพร เวหะชาติ. (2550). การบรหิ ารงานวิชาการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน. สงขลา: ศูนย์ หนงั สือ. มหาวิทยาลัยทักษณิ . ละออง ภูเ่ งนิ . (2556). ข้อเสนอเชิงนโยบายการผลิตครขู องคณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาดษุ ฎีบณั ฑติ , มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรมั ย์. วชริ ะ พลพิทกั ษ์. (2563). ข้อเสนอเชงิ นโยบายเพ่ือพฒั นาการจดั การศกึ ษาตามแผนการศกึ ษา แหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ในจังหวดั นครพนม. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร.
189 วธดิ า พรหมวงศ.์ (2563). สภาพปัจจบุ นั ปญั หาและแนวทางแกป้ ญั หาการจดั การเรียนรใู้ นชว่ ง การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโควิด-19 ของโรงเรยี นสงั กดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษานครพนม เขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑิต นครพนม : มหาวิทยาลัย นครพนม. วิจติ ร ศรสี ะอ้าน และทองอินทร์ วงศ์โสธร. (2551). “แนวคดิ และหนกั การเกีย่ วกบั นโยบาย” ใน ประมวลสาระชดุ วชิ านโยบายและการวางแผนการศกึ ษา หนว่ ยที่ 1 นนทบุรี : มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมธริ าช สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์. วิชิต กำมันตะคุณ. (2552). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพการวิจัยของมหาวทิ ยาลยั ราช ภัฏรอ้ ยเอด็ . วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาดษุ ฎีบณั ฑิต, มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. วโิ รจน์ บญุ เรอื ง. (2552). ปัญหาและข้อเสนอแนะการบรหิ ารงานวชิ าการของโรงเรียนเทศบาลใน จงั หวดั ชลบรุ ี. งานนพิ นธก์ ารศกึ ษามหาบัณฑติ , สาขาบริหารการศกึ ษา,บัณฑติ วทิ ยาลยั , มหาวิทยาลัยบรู พา. วโิ รจน์ สารรตั นะ. (2548). การบรหิ าร : หลกั การทฤษฎีและประเดน็ ทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : อกั ษราพพิ ัฒน.์ . (2554). การวิจัยทางการบรหิ ารการศึกษา แนวคิดและกรณีศกึ ษา. พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : อกั ษราพพิ ัฒน์. วีระยุทธ ชาตะกาญจน.์ (2557). การวจิ ัยเพอื่ พัฒนาการบรหิ ารการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . วุฒิวฒั น์ อินทสุวรรณ. (2547). ศกึ ษาการใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการบริหารงานวชิ าการของ สถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน สงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาตราด. งานนพิ นธป์ รญิ ญา การศึกษามหาบัณฑติ , สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา. บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวทิ ยาลยั บูรพา. แวววรรณ พงษส์ ะอาด. (2554). ข้อเสนอเชงิ นโยบายเพอ่ื เสรมิ สร้างความมปี ระสทิ ธิผลของการจัด การศึกษาในสถานศกึ ษาเอกชน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื . วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาปรัชญา ดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. ศตพร บรู ณเ์ จริญ. (2559). ขอ้ เสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาการบรหิ ารจัดการศกึ ษาโรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาจงั หวดั อตุ รดิตถ์. วิทยานพิ นธ์ปริญญาครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั อุตรดติ ถ.์ ศริ ิ ถอี าสนา. (2557). เทคนิคการจัดการคณุ ภาพแนวใหม่:แนวคิด หลกั การสกู่ ารบรหิ ารจดั การ แนวใหม:่ แนวคิด หลักการสู่การบรหิ ารจัดการคุณภาพการศกึ ษา. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2. มหาสารคาม :โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม. ศิรพิ ล ทัศศรี. (2558). การบรหิ ารงานบคุ คลของผ้บู ริหารสถานศกึ ษาตามทัศนะของครู สังกัด สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา จงั หวัดปตั ตานี. การคน้ คว้าอิสระ ครุศาสตร มหาบัณฑติ (สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา). ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา.
190 สมชาย คำปลวิ . (2549). การศกึ ษาบทบาทการบริหารงานวชิ าการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานระดบั มัธยมศึกษาอำเภอราศีไศล จงั หวดั ศรษี ะเกษ. ปริญญานพิ นธ์ศึกษาศาสตร มหาบณั ฑิตสาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลัย เฉลมิ กาญจนา. สมาน อัศวภมู ิ. (2555). การบริหารการศึกษาสมัยใหม่ : แนวคิด ทฤษฎีและการปฏบิ ตั .ิ อุบลราชธานี : หจก.อบุ ลกิจออฟเซทการพิมพ.์ สรรค์สิริ สนิ ธวุ งศานนท.์ (2562). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ า คณิตศาสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 39 จังหวัดอุตรดติ ถ.์ วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาครุศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจยั และ ประเมนิ เพอ่ื พัฒนาการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์. สนั ติ บญุ ภริ มย์.(2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พ์ บ๊คุ พอยท์ จำกัด. (2552). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทไทยรม่ เกลา้ จำกดั . สนั ติสุข ภูศรีโสม. (2554). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการเรยี นรู้ของนักเรียนใน โรงเรียนสงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธุ๋ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ศษ.ด.ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 3. (2562). รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 3 . พษิ ณุโลก : กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัด การศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 3. สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน. (2552). ระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. . (2564). แนวทางการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2550). แนวทางการกระจายอำนาจการบรหิ ารและการจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. สำนกั นโยบายและยุทธศาสตร.์ (2555). คู่มอื การจัดการความรู้ การวจิ ัยเชงิ นโยบาย (Policy Research). กรงุ เทพฯ : สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ. สุคนธา คงศีล และ สุขมุ เจยี มตน. (2550). “การวจิ ยั เชงิ นโยบายคืออะไรและทำอย่างไร” วารสาร บรหิ ารงานสาธารณสุข, 13(2), 56-71. สุทิน พรหมเพ็ชร. (2556). การบริหารงานบคุ คลของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานสังกัด สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 2. การคน้ ควา้ อิสระ ครุศาสตร มหาบณั ฑติ (สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา). ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา. สุเทพ เท่งประกิจ. (2557). การบรหิ ารงานบคุ คลของผ้บู ริหารสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สำนกั งาน เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต2. การค้นควา้ อสิ ระ ครศุ าสตรมหาบัณฑติ (สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา). ยะลา : มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา.
191 สุปนั สรุ ันนา. (2559). ข้อเสนอเชงิ ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาเปน็ องคก์ ารทมี่ ีประสิทธิผลของ สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธุ์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ ค.ด. สกลนคร : มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร. สุวรรณ ผา่ โผน .(2549) . การศกึ ษาการบริหารงานวิชาการของผูบ้ ริหารโรงเรียนประถมศึกษาใน อำเภอคอ้ วงั สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษายโสธร เขต 1. การศึกษาคน้ คว้าดว้ ย ตนเอง ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต, วทิ ยาลัยเฉลิมกาญจนา. ศรษี ะเกษ. หวน พินธพุ นั ธ.์ (2548). การบรหิ ารการศึกษา : นกั บรหิ ารมืออาชพี . นนทบรุ ี : พนิ ธพุ นั ธ์การพิมพ์. เหรยี ญชัย วีรวรรธก์ ุล. (2551). ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายเพอ่ื พฒั นาการบริหารงานวชิ าการในโรงเรียน สงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาสกลนคร เขต 2. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาครศุ าสตรมหา บณั ฑิต สาขาวิชการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. อภินนั ทนา แสนทว.ี (2551). คูม่ อื ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี นตามแนวโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธโรงเรยี น โคกสลงุ วิทยา จังหวัดลพบุรี. สารนิพนธป์ รญิ ญามหาบณั ฑิต, มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิ โรฒ. อรญั ธรรมโน. (2548).ความรทู ั่วไปทางการคลัง (ฉบับปรบั ปรุง). กรงุ เทพฯ: อมั รนิ ทร. อวยชยั อินศรีเมือง. (2555). ข้อเสนอเชงิ นโยบายการพัฒนาโรงเรยี นปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศกึ ษา จงั หวัดมหาสารคาม. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาการบริหารจัดการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม. อารลี ักษณ์ พงษโ์ สภา. (2545). “กระบวนการงบประมาณทีม่ ีความสมั พนั ธ์กบั สมั ฤทธิผลของการ บริหารงานงบประมาณ กรณสี ํานกั งานการประถมศึกษาจังหวัดชยั ภูมิ”, วทิ ยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . อษุ ณี ไชยวงศ์. (2561). การพฒั นาข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาโรงเรียนศนู ยป์ ฐมวยั ต้นแบบ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1.วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญา ดษุ ฎบี ณั ฑติ , มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ.์ Daniel P. Bennett. (2021). Crisis Management at An Institution of HigherEducation During The Recovery Phase of The 2020 COVID-19 Panedic : A Case Stude. A dissertation submitted in partial fulfillment of the Requirements for the degree of Doctor of Education. United States of America : Edgewood College. Lisa M. Brunetti. (2021). The Rapid Transition to Remote Learning During a Pandemic: Stakeholder Perspectives of the Student Learning Experience. A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Education. United States of America : Johnson & Wales University.
192 Minudin. (2000). “An Investigation of the Relationship Between Saudi Teacher ‘s Curriculum Perspectives and their Preference of Curriculum Development Models,” DissertationAbstracts International. 62(5) : 253 – A ; May. Mondy, R. Wayne, and Associates. (1988). Management : Concepts and Practices. 4th ed Needham Heights, Massachusetts: Allyn and Bacon Inc. Ploj Virtic and other.(2021). Changes in Online Distance Learning Behaviour of University Students during the Coronavirus Disease 2019 Outbreak, and development of the Model of Forced Distance Online Learning Preferences. European Journal of Educational Research, 10(1), 393-411. https://doi.org/10.12973/eu-jer.10.1.393 Tartavulea,Cristina Venera and other. (2020). Online Teaching Practices And The Effectiveeness of The Educational Process in The wake of The Covid-19 Pandemic. Amfiteatru Economic, 22(55), pp.920-936. Terry, G.R. (1977). Principle of Management Homewood III: Richard D. Irwin. New Jersey : Prentice-Hall. WHO, UNICEF, &CIFRC.(2020). Key Messages and Actions for COVID-19 Prevention and Control in Schools. Retrieved January 20, 2021, from https://www.who.int/docs/
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก คำสง่ั แต่งตัง้ คณะวจิ ยั
195
196
ภาคผนวก ข หนังสือเชิญคณะวิจัยรว่ มประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารระยะท่ี 1 หนงั สือแจ้งโรงเรยี นในการเก็บขอ้ มลู
198
199
200
201
202
203
204
ภาคผนวก ค ภาพการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการคณะวจิ ยั ภาพการประชุมออนไลนค์ ณะวิจัย
206 การประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการคณะวิจัยเพ่อื SWOT โรงเรยี นแตล่ ะลักษณะ
207 ภาพการประชมุ ออนไลนค์ ณะวจิ ัย
ภาคผนวก ง ประมวลภาพกจิ กรรมการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ของคณะวจิ ยั - โรงเรียนขนาดเลก็ - โรงเรียนขนาดกลาง - โรงเรยี นขนาดใหญ่ - โรงเรยี นคุณภาพชมุ ชน - โรงเรียน Stand Alone
209 การสนทนากลมุ่ ออนไลน์กลมุ่ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา และครผู ้สู อนโรงเรยี นแตล่ ะลักษณะ
210
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283