46 2.5. ประสานงานกบั เครือขา่ ยการศกึ ษา เพ่ือแสวงหาความรว่ มมือความช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนนุ การบริหารและจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา 2.6. เผยแพร่ข้อมลู เครอื ขา่ ยการศึกษาใหบ้ ุคลากรในสถานศึกษาและผ้เู ก่ยี วข้องทราบ 2.7. กำหนดแผนโครงการหรอื กจิ กรรม เพือ่ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระหว่างเครือข่ายการศกึ ษา ที่เก่ยี วขอ้ งกับสถานศกึ ษา 2.8. ใหค้ วามรว่ มมอื และสนับสนุนทางวิชาการแกเ่ ครือขา่ ยการศึกษาของสถานศึกษา และ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาอย่างต่อเน่อื ง 3. การวางแผนการบรหิ ารงานการศึกษา บทบาทและหนา้ ที่ 3.1. กำหนดมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านตามโครงสรา้ งและตวั ช้ีวดั ตามความสำเร็จ 3.2. วัดและประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน บรรลุตัวชี้วัดระดับดี มาก ดี พอใช้ หรอื ปรับปรุง 3.3. วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค รายมาตรฐานการปฏิบัติงาน เพ่ือหา เหตุปัจจัย และกำหนดแนวทางการผดุงรักษา การพัฒนา และการปรับปรุง ตามกรณี จัดทำเป็น ขอ้ เสนอการจัดทำแผนพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษา และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 3.4. ปรับโครงสร้างการปฏิบัติงานตามข้อมูลการวิเคราะห์ ให้รองรับภารกิจที่จำเป็นและ นโยบายสำคญั 3.5. กำหนดประเด็นตัวชี้วัด เกณฑ์ความสำเร็จ การกำกับติดตามให้สอดคล้องกั บ แผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ และประเด็นการประเมินผล ตามแผนพัฒนาการศึกษาของ สถานศึกษาประจำปี 3.6. กลุ่มงานและฝ่ายประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานด้วยตนเอง และคณะบริหารสถานศึกษานำผลประเมินพิจารณา รับฟังคำชี้แจง เพ่ือประเมินภาพความสำเร็จ ระดบั สถานศึกษา รายมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน 3.7. จัดทำรายงานและรายงานสาธารณชน เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาและ คณะกรรมการ 3.8. เขตพ้นื ที่การศกึ ษา เพอื่ ใช้เป็นการกำหนดนโยบายของสถานศึกษา และพฒั นาระบบ โครงสร้างการปฏบิ ตั ิงานตอ่ ไป 4. งานวจิ ัยเพ่ือพฒั นานโยบายและแผน บทบาทและหนา้ ท่ี 4.1. ตรวจสอบ วิเคราะห์ ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายผลผลิต ตัวชี้วัดความสำเร็จราย กลยุทธแ์ ละมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทีย่ ังไม่บรรลุผลสำเรจ็ 4.2. ตัง้ ประเดน็ หรือสมมุติฐาน เพ่อื เป็นแนวทางในการหาคำตอบ โดยศึกษาองค์ประกอบ ตวั แปรของปัจจัยภายนอก (ชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ ) และองคป์ ระกอบภายในสถานศกึ ษา 4.3. ศึกษาสภาพปจั จบุ ันปัญหาตามกรณี และดำเนินการวิจยั เชิงพฒั นา 4.4. นำผลการวจิ ยั มาปรับใช้ในการจดั ทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา 5. การจัดระบบการบริหารและพฒั นาองคก์ ร
47 บทบาทและหนา้ ท่ี 5.1 การจดั ระบบการบรหิ าร 1) ศกึ ษาสภาพปัจจุบัน ปญั หา ตามภารกจิ ท่เี ปน็ พนั ธกจิ ทัง้ 4 ดา้ น ของสถานศึกษา 2) วางแผนออกแบบจดั ระบบการบริหารงานบุคคล โครงสรา้ งการแบ่งส่วนงานและ มาตรฐานสายงานของสถานศึกษา 3) ประกาศ ประชาสัมพันธ์การแบ่งส่วนงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน สาธารณชนทราบ 4) ดำเนนิ การบรหิ ารจัดการให้เปน็ ไปตามมาตรฐานสายงาน 5) ศึกษาและพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายและสภาพการณท์ ี่เปลย่ี นแปลงไป 5.2 การพัฒนาองคก์ ร 1) จัดทำข้อมลู สารสนเทศสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษารายบคุ คล 2) พฒั นาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา โดยใชข้ ้อมูลสารสนเทศรายบุคคล ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานสายงาน 3) จดั ส่ิงอำนวยความสะดวก ให้เหมาะสมกับมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน 4) จัดบรรยากาศและวัฒนธรรมการทำงานของสถานศึกษา ให้เป็นองค์กรแห่งการ เรยี นรู้ 5) จัดสวัสดิการ เพื่อเป็นแรงจูงใจใหก้ ารปฏิบัติงานบรรลตุ ามมาตรฐานสายงานของ สถานศึกษา 6. การพัฒนามาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน บทบาทและหนา้ ท่ี 6.1. ศึกษาระเบียบ กฎหมาย และมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ที่เกย่ี วข้อง 6.2. กำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้หรือดัชนีช้ีวัดผลการปฏิบัติงานของงาน ตามโครงสร้าง และรายบุคคลโดยการมีสว่ นรว่ มของบคุ คลากรทกุ ฝ่าย 6.3. สร้างความเข้าใจการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยให้เป็นข้อตกลงร่วมกันของ บุคลากรทกุ คน 6.4. สร้างเครื่องมือในการประเมนิ มาตรฐาน ควบคมุ กำกับติดตาม การปฏบิ ตั ิงาน 6.5. ประเมนิ การปฏิบตั งิ านตามเคร่อื งมือของสถานศึกษาที่จัดทำขึน้ 6.6. นำผลการประเมินมาใชใ้ นการปรบั ปรุงพัฒนามาตรฐานและระบบการประเมนิ ผลการ ปฏิบตั งิ านให้มปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น 7. งานเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา บทบาทและหนา้ ที่ 1. ศกึ ษาความตอ้ งการจำเปน็ ดา้ นเทคโนโลยีท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา 2. วางแผนดำเนินการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษามาใช้ในการบริหารและ พฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษา 3. ระดมการจดั หาเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาในงานดา้ นต่างๆ ของสถานศึกษา
48 4. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ บำรุงรักษา และส่งเสริมสนับสนุนให้ บุคลากรนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการบรหิ าร และพัฒนาการศึกษา 5. ส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัยและพัฒนาการผลิตส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยี เพ่ือ การศึกษารวมทงั้ เผยแพร่แลกเปล่ียนเรยี นรูร้ ะหว่างสถานศกึ ษา 6. ติดตาม ประเมินผล การใช้เทคโนโลยีการศึกษา เพื่อความคุ้มค่าและเหมาะสมกับ กระบวนการพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา 8. การดำเนนิ งานธุรการ บทบาทและหนา้ ท่ี 8.1. รับ-ส่งเอกสาร ลงทะเบียนหนังสือเข้า – ออก จัดส่งหนังสือ เข้าหรือเอกสารให้ หน่วยงานหรอื บุคคลทเ่ี ก่ียวข้อง 8.2. จดั ทำคำสั่งและจดหมายเวียนเรือ่ งต่าง ๆ เพือ่ แจง้ ให้กบั ครแู ละผ้เู ก่ยี วข้องได้รับทราบ 8.3. เกบ็ หรือทำลายหนงั สือ เอกสารตา่ ง ๆตามระเบียบงานสารบรรณ 8.4. รวบรวมเอกสาร หลักฐาน ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำส่ัง และวิธีปฏิบัติที่ เกยี่ วขอ้ งใหเ้ ปน็ ปจั จุบนั อย่เู สมอ และเวียนให้ผูท้ ่ีเกี่ยวข้องทราบ 8.5. ร่างและพิมพ์หนังสอื ออก หนงั สือโตต้ อบถึงส่วนราชการ และหนว่ ยงานอน่ื 8.6. ติดตามเอกสารของฝา่ ยต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับทางโรงเรยี นและเก็บรวบรวมเพื่อใช้เป็น ข้อมลู ในการอา้ งองิ 8.7. ประสานงานการจัดสง่ จดหมาย ไปรษณีย์ พสั ดแุ ละเอกสารต่าง ๆ ของโรงเรียน 8.8. เปน็ ท่ีปรึกษาของรองผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารทวั่ ไปในเรือ่ งงานสารบรรณ 8.9. ควบคมุ การรับ – สง่ หนงั สือของโรงเรียน (E – Office) 8.10. บริการทางจดหมายและสิ่งตพี ิมพ์ทม่ี ีมาถึงโรงเรยี น 8.11. จัดหนังสอื เข้าแฟ้มเพื่อลงนาม 9. การดแู ลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม บทบาทและหนา้ ที่ 9.1. วางแผนกำหนดงาน /โครงการงบประมาณแผนปฏิบัติงานด้านอาคารสถานท่ีและ สภาพแวดลอ้ มตลอดจนการติดตามการปฏบิ ตั ิงานของนักการ แม่บา้ นทำความสะอาด 9.2. วางแผนร่วมกับแผนงานโรงเรียน พัสดุโรงเรียน เพ่ือเสนอของบประมาณจัดสร้าง อาคารเรียน และอาคารประกอบ เช่น ห้องเรยี น ห้องบริการ ห้องพิเศษให้เพียงพอ กับการใช้บริการ ของโรงเรียน 9.3. จัดซ้ือ จัดหาโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์การสอน อุปกรณ์ทำความสะอาดห้องเรียน ห้อง บรกิ ารห้องพเิ ศษใหเ้ พียงพอและอยใู่ นสภาพท่ดี ีอยูต่ ลอดเวลา 9.4. จดั เครื่องมอื รักษาความปลอดภัยในอาคาร ตดิ ต้งั ในที่ทใ่ี ชง้ านได้สะดวกใชง้ านไดท้ ันที 9.5. จัดบรรยากาศภายในอาคารเรียน ตกแต่งอย่างสวยงาม เป็นระเบียบ ประตูหน้าต่าง อยู่ในสภาพดีดูแลสอี าคารตา่ ง ๆใหเ้ รียบร้อย มีปา้ ยบอกอาคารและห้องต่าง ๆ 9.6. ประสานงานกับพัสดุโรงเรียนในการซ่อมแซมอาคารสถานท่ี ครุภัณฑ์ โต๊ะ เก้าอ้ี และ อืน่ ๆให้อยูใ่ นสภาพที่เรียบร้อย
49 9.7. ดูแลความสะอาดท่ัวไปของอาคารเรียน ห้องน้ำ ห้องส้วม ให้สะอาด ปราศจากกล่ิน รบกวน 9.8. ติดตาม ดูแลให้คำแนะนำในการใช้อาคารสถานที่ โดยการอบรมนักเรียนในด้านการ ดแู ลรกั ษาทรพั ยส์ ินสมบัตขิ องโรงเรยี น 9.9. ประสานงานกบั พสั ดโุ รงเรียนในการจำหน่ายพัสดุเสอ่ื มสภาพออกจากบัญชีพัสดุ 9.10.ประสานงานกับหัวหน้าอาคาร โดยนำข้อเสนอแนะ มาปรับปรุงงานให้ทันเหตุการณ์ และความตอ้ งการของบุคลากรในโรงเรยี น 9.11.อำนวยความสะดวกในการใช้อาคารสถานท่ีแก่บุคคลภายนอก รวมท้ังวัสดุอื่น ๆ จัดทำสถิติการใหบ้ ริการและรวบรวมขอ้ มลู 9.12.ประเมิน สรุปและรายงานผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการประจำปี การศึกษา 10.การจัดทำสำมะโนผ้เู รยี น บทบาทและหนา้ ท่ี 10.1. วางแผนในการจดั ทำสำมะโนนักเรยี น 10.2. สำมะโนนักเรียนในเขตหมู่ ๓ , ๔ และหมู่ ๕ ซึ่งเป็นเขตบรกิ ารของโรงเรียน 10.3. จัดทำเอกสารการรับสมัครนกั เรยี น เดก็ เลก็ ชั้นอนุบาล ๑ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ 10.4. เปิดรบั สมัครนกั เรียน เดก็ เลก็ ช้นั อนุบาล ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๑ 10.5. จัดทำแฟ้มนักเรียน เดก็ เลก็ ช้ันอนุบาล ๑ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ 10.6. สรุปการจัดทำสำมะโนนกั เรยี นรายงานหนว่ ยงานต้นสังกดั 11. การรบั นกั เรียน 12. การเสนอความเห็นเกีย่ วกบั เรือ่ งการจดั ตัง้ ยบุ รวมหรือเลกิ สถานศึกษา 13. การประสานการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศยั 14. การระดมทรพั ยากรเพ่อื การศกึ ษา 15. การทัศนศกึ ษา บทบาทและหนา้ ที่ หลักเกณฑ์และข้อปฏิบัติในการพานักเรียนไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548 มีขึ้นตอนการ ปฏบิ ัติ ดังนี้ 1) การพาไปนอกสถานศึกษาไม่ค้างคืน ครูผู้รับผิดชอบโครงการทำเรื่องเสนอผู้บริหาร สถานศกึ ษาพจิ ารณาอนญุ าต 2) การพาไปนอกสถานศึกษาค้างคืน ครูผู้รับผิดชอบโครงการทำเร่ืองเสนอผู้บริหาร สถานศึกษา ส่งเรื่องเข้าสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เพ่ือผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา พิจารณาอนญุ าต 3) การพาไปนอกราชอาณาจักร ครูผู้รับผิดชอบโครงการทำเรื่องเสนอผู้บริหารสถานศึกษา ส่งเรอื่ งเขา้ สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา เพอื่ ดำเนินการตามข้ันตอน ข้อกำหนดตามระเบียบทคี่ วรทราบ
50 1) ครูผู้ควบคุมจำเป็นตอ้ งมคี รทู ่ีเป็นผู้ช่วยผคู้ วบคมุ เพ่อื ดแู ลในการเดินทาง โดยกำหนดใหค้ รู หน่ึงคนต่อนกั เรียนไม่เกิน 30 คน 2) ทำการขอความร่วมมือไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง เพื่อขอคำแนะนำหรือขอความ ร่วมมือและต้องทำป้ายแสดงให้เห็นว่ายานพาหนะนั้นบรรทุกนักเรียนในการดำเนินการทุกขั้นตอน ต้องทำการขออนุญาตผู้ปกครองของนักเรียนทุกครั้ง และหลังจากกลับมา ต้องรายงานผลการพา นักเรียนและนักศึกษาไปนอกสถานศึกษาใหก้ บั ผสู้ ง่ั อนญุ าตทราบ 16. งานกจิ การนักเรียน บทบาทและหนา้ ท่ี 16.1. สรา้ งความเข้าใจใหเ้ หน็ ความสำคญั ของการดำเนินงานกจิ การนักเรียน 1) งานส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามยั (โครงการอาหารกลางวนั /โครงการอาหารเสริม (นม)) 2) งานแนะแนว 3) งานกฬี าและนันทนาการ 4) งานลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และนกั ศึกษาวชิ าทหาร 5) งานประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น 16.2 กำหนดแนวทางสง่ เสริมการดำเนินงานกจิ กรรมนักเรยี น 16.3 ดำเนินการจัดกิจกรรมนักเรียน 16.4 ประสาน ตดิ ตาม และประเมินผล 16.5 ปรับปรุง รายงานผล 17 การประชาสัมพนั ธ์งานการศึกษา บทบาทและหนา้ ที่ 17.1. กำหนดนโยบาย วางแผน งานโครงการ การดำเนนิ การประชาสมั พันธ์ให้สอดคล้อง กบั นโยบายและจดุ ประสงคข์ องโรงเรียน 17.2. ประสานงาน รว่ มมอื กับกลุม่ สาระฯ และงานตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นในการดำเนินงาน ดา้ นประชาสัมพนั ธ์ 17.3. ตอ้ นรบั และบรกิ ารผมู้ าเยี่ยมชมหรอื ดงู านโรงเรียน 17.4. ต้อนรบั และบริการผู้ปกครองหรือแขกผูม้ าติดต่อกบั นักเรยี นและทางโรงเรียน 17.5. ประกาศข่าวสารของกลุ่มสาระฯ หรอื ข่าวทางราชการใหบ้ ุคลากรในโรงเรียนทราบ 17.6. ประสานงานดา้ นประชาสัมพันธ์ทั้งในและนอกโรงเรยี น 17.7. เปน็ หน่วยงานหลกั ในการจดั พธิ กี ารหรอื พธิ ีกรในงานพิธกี ารต่าง ๆ ของโรงเรยี น 17.8. เผยแพรก่ ิจกรรมต่าง ๆ และชอ่ื เสยี งของโรงเรยี นทางสอื่ มวลชน 17.9. จัดทำเอกสาร – จลุ สารประชาสมั พันธเ์ พอื่ เผยแพรข่ า่ วสาร รายงานผลการ ปฏิบตั งิ านและความเคล่ือนไหวของโรงเรยี นใหน้ ักเรยี นและบุคลากรท่วั ไปทราบ 17.10.รวบรวม สรปุ ผลและสถิตติ า่ ง ๆ เกีย่ วกบั งานประชาสัมพันธ์และจัดทำรายงาน ประจำปขี องงานประชาสัมพันธ์ 17.11. งานเลขานุการการประชมุ ครู
51 18. การสง่ เสริม สนบั สนุนและประสานการจดั การศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร หนว่ ยงานและสถาบันสงั คมอื่นทจ่ี ัดการศกึ ษา บทบาทและหนา้ ท่ี 18.1. ประสาน ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ในสิทธิและหน้าที่ ในการจัดการศึกษา ของบุคคลครอบครัว ชุมชน สถาบนั ทางศาสนา และสถานประกอบการ ฯลฯ 18.2. ประสานให้ความรว่ มมอื กับสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ในการส่งเสริมและพัฒนา ความสามารถในการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว ชุมชน สถาบันทางศาสนา และสถาน ประกอบการ เป็นตน้ 18.3. สนับสนุนให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองมีความรู้ ความสามารถ ในการอบรมเล้ียงดู และให้การศกึ ษาแกบ่ ตุ รหรือบคุ คลซ่ึงอยู่ในการปกครองดแู ล 18.4. ให้ความร่วมมือกับสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ติดตามผลการจัดการศึกษาของ บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน สถาบนั ทางศาสนา และสถานประกอบการ 19 งานประสานราชการกับสว่ นภมู ภิ าคและสว่ นท้องถ่ิน บทบาทและหนา้ ท่ี 19.1. ศึกษา สำรวจ และกำหนดภารกิจ ท้ังภารกิจหลักและภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย ท่ี จะต้องประสานกับหนว่ ยราชการกบั สว่ นภมู ิภาคและส่วนทอ้ งถ่ิน 19.2. กำหนดรูปแบบภารกิจ ข้ันตอน วิธีการ ตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ ในการประสานงาน ให้สอดคล้องเหมาะสมกบั เร่อื งท่ีจะประสานงาน 19.3. จัดเตรียมเอกสาร สอ่ื เครือ่ งมือ และช่องทางการประสานงาน ให้มีความพร้อม เอ้ือ ประโยชนแ์ ละสะดวกตอ่ การประสานงาน 19.4. กำหนดบคุ ลากรผูร้ บั ผดิ ชอบการประสานงานตามภารกิจอย่างชดั เจน เหมาะสม 19.5. ประสานความร่วมมือกับหน่วยราชการส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถ่ิน ในการจัดและ พัฒนาการศึกษารว่ มกนั 19.6. ประเมินผลการดำเนินการ 20 การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน บทบาทและหนา้ ท่ี 20.1. ระบปุ ัจจัยเส่ยี งตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนกลยุทธ์) ของสถานศึกษา 20.2. ประเมินความเสีย่ งและจัดลำดบั ความเส่ียง 20.3. วิเคราะห์ปัจจยั เส่ยี ง เพอ่ื จัดทำรายงานและแผนบริหารความเส่ยี ง 20.4. วางแผนการจัดระบบควบคมุ ภายในสถานศึกษา 20.5. ส่งเสริมให้บุคลากรท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่าย นำมาตรการป้องกันความเส่ียงไปใช้ในการ ควบคุมการดำเนินงานตามภารกิจ โดยสอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์มาตรการและวิธีการท่ี สำนักตรวจเงนิ แผน่ ดนิ กำหนด 20.6. ติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ตามมาตรการที่กำหนดและปรับปรุงให้ เหมาะสมเป็นระยะ ๆ
52 20.7. รายงานการควบคุมภายในตอ่ สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาใหท้ ราบอย่างนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั 21 แนวทางการจัดกิจกรรมเพอ่ื ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนักเรยี น บทบาทและหนา้ ที่ 21.1. ศึกษาสภาพปญั หาเกย่ี วกบั พฤตกิ รรมของนักเรยี น ระเบียบกฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ ง 21.2. ประชุมชี้แจงให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้ความร่วมมือ ในการ ดแู ล ช่วยเหลือและพฒั นาพฤตกิ รรมนกั เรยี น 21.3. วางแผนกำหนดนโยบายการดำเนินงานปกครองนักเรยี น เพอ่ื 1) การสง่ เสรมิ ให้นักเรียนมวี นิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2) การป้องกันและการแก้ไขพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ ติดในโรงเรยี น การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาโรคเอดส์ในโรงเรยี น 21.4. ดำเนินการบริหารงานปกครองนักเรียน โดยกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน และประสานการดำเนนิ การปกครองรว่ มกันระหว่างสถานศึกษา และทุกฝ่ายท่เี กย่ี วขอ้ ง 21.5 ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน ความพึงพอใจของบุคลากร ให้ดำเนินไปตามระเบียบอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ 21.6 ประเมินผลการปฏิบัติงานและความพึงพอใจของบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพอื่ การปรบั ปรงุ พฒั นาการดำเนนิ งานเปน็ ระยะ ๆ 22. งานพยาบาลและอนามยั บทบาทและหนา้ ที่ 22.1. กำหนดนโยบาย วางแผนงานโครงการ การดำเนินงานของงานอนามัยโรงเรียนให้ สอดคล้องกบั นโยบายและวัตถุประสงค์ของโรงเรียน 22.2. ประสานงานกับกลุ่มสาระการเรียนรู้และงานต่าง ๆ ของโรงเรียน ในการดำเนินงาน ดา้ นอนามัยโรงเรียน 22.3. ควบคุม ดูแล หอ้ งพยาบาลใหส้ ะอาด ถกู สขุ ลกั ษณะ 22.4. จัดเคร่ืองมอื เครือ่ งใช้ และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาล รักษาพยาบาลให้พร้อมและใช้ การไดท้ นั ที 22.5. จดั หายาและเวชภณั ฑ์ เพ่ือใชใ้ นการรกั ษาพยาบาลเบอ้ื งต้น 22.6. จัดปฐมพยาบาลนักเรยี น ครู – อาจารย์ และคนงานภารโรงในกรณเี จ็บป่วย และนำส่ง โรงพยาบาลตามความจำเป็น 22.7. จดั บรกิ ารตรวจสุขภาพนักเรียน ครู – อาจารย์ นักการภารโรงและชมุ ชนใกล้เคยี ง 22.8. จดั ทำบัตรสขุ ภาพนกั เรียน ทำสถติ ิ บนั ทึกสขุ ภาพ สถติ นิ ำ้ หนักและสว่ นสงู นกั เรยี น 22.9. ติดต่อแพทย์หรือเจ้าหน้าท่ีอนามัยให้ภูมิคุ้มกันแก่บุคลากรของโรงเรียนหรือชุมชน ใกล้เคียง 22.10.ติดตอ่ ประสานงานกับผู้ปกครองนักเรยี นในกรณนี ักเรียนเจบ็ ปว่ ย 22.11.แนะนำผู้ป่วย ญาติ ประชาชนถงึ การปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภัยจากโรค ให้ภูมิคุ้มกันโรค 22.12.ใหค้ ำแนะนำปรึกษาดา้ นสขุ ภาพนักเรียน
53 3. การจดั การเรยี นรู้ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2564) ได้กำหนดขั้นตอนการเตรียมความ พรอ้ มและรปู แบบการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ไว้ ดงั นี้ ข้ันตอนการเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 1.1 การประเมนิ ความพรอ้ มของสถานศึกษาในการเปิดภาคเรยี น 1) โดยสถานศึกษาประเมินตนเองผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ข้ันพื้นฐาน ตามแบบประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ท่ีปรากฏใน “คู่มือการปฏิบัติสำหรับ สถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19” ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ซงึ่ ผลการประเมนิ แบง่ ออกเปน็ 3 ระดบั ได้แก่ สีเขยี ว หมายถึง โรงเรยี นสามารถเปดิ เรยี นได้ สีเหลือง หมายถึง โรงเรียนสามารถเปิดเรียนได้ แต่ต้องดำเนินการปรบั ปรงุ ให้เป็นไป ตามมาตรฐานท่ีกำหนด สีแดง หมายถึง โรงเรียนไม่สามารถเปิดเรียนได้ ต้องดำเนินการปรับปรุงให้เป็นไป ตามมาตรฐานท่ีกำหนด และ/หรือประเมนิ ตนเองซำ้ 2) ในกรณีที่สถานศกึ ษาทำการประเมินตนเอง และได้ผลการประเมินระดับสีเหลือง ขน้ึ ไปใหส้ ถานศึกษารายงานผลการประเมนิ ตนเอง พรอ้ มท้ังนำเสนอรูปแบบการจดั การเรยี นการสอน (ตามท่ีสถานศึกษาประเมินตนเองในข้อ ที่ 9) ต่อคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ นิเทศการศกึ ษา (ก.ต.ป.น.) เพ่ือทราบ พร้อมทั้งใหข้ ้อเสนอแนะ และเสนอตอ่ คระกรรมการศึกษาธกิ าร จงั หวดั ต่อไป 3) คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจังหวดั (กศจ.) พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ และเสนอต่อ ศนู ยป์ ฏบิ ัติการควบคุมโรคจังหวัด (ศปก.จ.) พิจารณา 4) ศนู ย์ปฏิบัติการควบคมุ โรคจงั หวดั (ศปก.จ.) พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ 5) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด แจ้งผลการพิจารณาของ ศปก.จ.ให้สำนักงานเขต พืน้ ทีก่ ารศกึ ษาเพอื่ แจง้ ตอ่ สถานศึกษาทราบต่อไป 1.2. การประเมินความพร้อมของผเู้ รียนในการเปดิ ภาคเรียน การประเมินความพร้อมให้ผู้เรียนทำการประเมินตนเอง โดยใช้แบบประเมินตนเอง สำหรับผู้เรียนในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน เพ่ือเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตามคมู่ ือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพรร่ ะบาดของ โรคโควิด 19” ของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หน่วยงานการศึกษาในประเทศไทยได้รับผลกระทบอยู่ 3 ระลอก ซึ่งระลอกแรก เมื่อต้นปี 2563 ทางกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศเลื่อนการประกาศเล่ือนการเปิดเทอมจากวันท่ี 17 พฤษภาคม 2563 ไปเป็น วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ซึ่งได้มีการวางรูปแบบแนวทางการจัดการเรียน
54 การสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ในภาคเรียนที่ 1/2563 (สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 2563 : 6-9) ไว้ 3 รูปแบบ คอื 1. การเรยี นท่ีโรงเรียน (On Site) 2. การเรยี นผา่ นทีวี (On Air) ใน 4 ระบบ ได้แก่ 2.1 การเรยี นผ่านระดบบดาวเทียม ทั้ง KU-Brand (จานทึบ) ช่อง 186-200 และ C- Brand (จานโปรง่ ) ชอ่ ง 337-351 2.2 ระบบดจิ ติ ัลทวี ี (Digital TV) ชอ่ ง 37-51 2.3 ระบบเคเบิ้ลทวี ี (Ceble TV) และ 2.4 ระบบ IPTV 3.การเรยี นผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ และแอพพิเคช่ัน (On Line) ใน 4 ช่องทางไดแ้ ก่ 3.1 เว็บไซต์ www.deep.go.th (DEEP : Digital Eduaction Excellence Plathform) 3.2 เวบ็ ไซต์ DLTV-www.dltv.dltv.ac.th 3.3 เว็บไซต์ Youtube –www.youtube.com DLTV1-DLTV15 Channal 3.4 แอพพเิ คชน่ั DLTV บน Smartphon/Tablet โดยในระยะก่อนเปิดภาคเรียนท่ี 1/2563 มีแนวทางในการจัดการเรียนการสอน คือ การเรียนผ่านทีวี (On Air) โดยสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ จัดสรรช่องสัญญาณออกอากาศทางโทรทัศน์ระบบดิจิตัล 15 ช่อง รายการ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์สนับสนุนเน้ือหา สาระการ เรียนรู้ของระดับปฐมวัยจนถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พ้ืนฐานจัดทำเนือ้ หา สาระการเรียนรู้ของระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4-6 ทั้งน้ี ได้เรม่ิ ออกอากาศทั้ง 15 ชอ่ งรายการ ตง้ั แต่วันที่ 18 พฤษภาคม 2563 จนถึงวันท่ี 30 มิถนุ ายน 2563 และเม่ือถึงวันเปดิ ภาค เรียน วันท่ี 1 กรกฎาคม 2563 ให้ทางโรงเรียนดำเนินการเปิดภาคเรียนใน 3 รูปแบบ แต่ท้ังน้ีให้ ปฏิบตั ิตามมาตรการการปอ้ งกนั โควิดของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข หลายโรงเรียนทว่ั ภูมิภาค ของประเทศไทยได้มีการปรับเปล่ียนรูปแบบวิธีการสอนตามแนวทางท่ีกระทรวงศึกษาธิการกำหนด และนอกจากนย้ี งั มีการใช้รูปแบบอื่นๆ ตามบริบทของสถานศกึ ษา โดยไดม้ กี ารสำรวจความพร้อมของ ผู้เรียนในด้านอุปกรณแ์ ละระบบการสอ่ื สารทางอินเทอรเ์ น็ต เพื่อใหก้ ารเรียนรสู้ ามารถดำเนินไปได้ จน สถานการณ์การแพร่ระบาดคลี่คลายลง โรงเรียนได้ทำการเปิดเรียนตามปกติ มาจนถึงการระบาดใน ระลอก 2 และระลอก 3 ชว่ งต้นปี 2564 ประมาณเดือนเมษายน 2564 ท่ียิ่งเพ่ิมทวีความรุนแรงแผ่ วงกวา้ งออกไปท่วั ทกุ ภมู ภิ าคของประเทศไทย กระทรวงศึกษาธกิ ารจงึ ประกาศเล่ือนการเปดิ เทอมภาค เรียนที่ 1/2564 ออกไปจากวันที่ 17 พฤษภาคม 2564 ไปเป็นวันที่ 14 มิถุนายน 2564 และได้ กำหนดรูปแบบแนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิด โดยกำหนดไว้ 5 รูปแบบดังนี้ (สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน.2564) 1. การจัดการเรียนการสอนแบบปกติท่ีโรงเรียน (On Site) คือ การจัดการเรียนการสอน แบบปกติทีโ่ รงเรียน ตามแนวทางท่ีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ หรือ ศบค.กำหนด โดยมี 5 รูปแบบ คอื
55 1) แบบที่ 1 มาโรงเรียนทุกระดบั ชั้น 2) แบบท่ี 2 มาโรงเรยี นเช้ากบั บา่ ย เป็นกลุ่มเชา้ -บา่ ย 3) แบบท่ี 3 แบง่ 2 กลุ่ม สลับวนั มาเรียน วนั เว้นวนั 4) แบบท่ี 4 แบง่ 3 กลุ่มสลับวนั มาโรงเรียนและอยบู่ า้ น 5) แบบท่ี 5 รูปแบบอื่นตามบริบทโรงรียน เป็นการจัดการเรียนผสมผสาน (Blended Learning) ทั้งน้ีต้องปฏิบัติตามมาตรการการป้องการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศกึ ษาธิการ 2. การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบโทรทัศน์ (On Air) คือ การจัดการเรียนสอนผ่าน ระบบโทรทัศน์ ใช้ระบบดิจิตัลหรือสัญญาณระบบดาวเทียม KU-Brand (จานทึบ) , C-Brand (จาน โปร่ง) ระบบเคเบิ้ลทีวี (Cable –TV) , ระบบแอพพิเคชั่นทีวี (Appication TV) และระบบ IPTV ซึ่งเป็นชอ่ งทางการเผยแพร่การเรยี นรู้ DLTV ของมูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรม ราชูปถมั ภ์ เปน็ การเรียนดว้ ยตนเอง กำกับด้วยเวลาท่ีเผยแพร่ เหมาะสำหรบั นกั เรียนระดับช้ันอนุบาล – ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 3. การจัดการเรียนการสอนแบบถ่ายทอดสด (On Line) คือ การจัดการเรียนการสอนผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ตในลักษณะการส่ือสารสองทาง โดย การจัดการเรียนรู้แบบถ่ายทอดสด (LIVE) ระหว่างครูและนักเรยี น ต้องมีความพร้อมด้านอุปกรณ์และอินเทอร์เน็ต โดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ เช่น Google Meet , Microsoft Team ,Zoom Meeting, WebEX, Braincloud , Line , Facbook 4. การจัดการเรียนการสอนผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (On Demand) คือ การจัดการเรียน การสอนผ่านแอพพิเคช่ัน (Application) หรือเว็บไซต์ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์อ่ืนๆ กำกับความชา้ เร็ว ด้วยตนเอง โดยเป็นการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์ 1) เรียนผ่านเว็บไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) 2) เรียนผ่านยูทูป Yooutube (DLTV 1 Channal – DLTV 15 Channal) 3) เรียนผ่านแอพพิเคชัน่ Application DLTV 4) ช่องทางอน่ื ๆ เช่น ตวิ ฟร.ี คอม , OBEC Content Center , บทเวบ็ ไซต์ / Smart Phone/Tablet หรือระบบทโ่ี รงเรียนจัดขน้ึ ทั้งนี้ ผู้เรยี นสามาถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ หรอื ครูผู้สอนเป็นผู้กำหนดเนื้อหาในกรให้ผู้เรียนเข้าศึกษา ในช่องทางการเรยี นรู้ดังกล่าว โดยครผู ู้สอนมีการเช็คช่ือผ้เู รียนที่เข้าร่วมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน รปู แบบ On Demand และมีการตดิ ตามผลการเรยี นรู้ 5. การจัดการเรยี นการสอนด้วยการนำส่งเอกสารท่ีบ้าน (On Hand) คือ การจัดการเรียน การสอนดว้ ยการนำสง่ เอกสารทีบ่ ้าน (On Hand) คือ การจัดการเรียนการสำหรับนักเรียนท่ไี ม่มีความ พร้อมด้านอุปกรณ์รับชมโดยการนำหนังสือ แบบฝึกหัด ใบงาน ไปเรียนท่ีบ้านภายใตค้ วามช่วยเหลือ ของผู้ปกครอง โดยครูมีหน้าที่จัดทำใบงาน แบบฝึกหัดส่งมอบให้กับผู้เรียนโดยตรง ทั้งน้ีเป็นการ มุ่งเน้นให้นักเรียนที่ยังไม่มีความพร้อมได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านใบงาน แบบฝึกหดั ที่ครูจัดเตรียมให้
56 บทบาทและภารกิจของหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การจดั การเรยี นรู้ในสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในการจดั การเรียนรใู้ นถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 มหี ลาย หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องในการจัดการเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี นสามารถเรียนร้ไู ด้อยา่ งเต็มศกั ยภาพ ดงั นี้ บทบาท และภารกจิ ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 19) ได้จัดทำแนวทางการ จัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 เพื่อเป็นแนวทางในการขับเคล่ือนนโยบายการจดั การเรยี นการสอน ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดความพร้อมในด้านบริหารจัดการของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในทุกระดับ สำหรับ บทบาทและภารกิจของ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานั้น มีความสำคัญและจำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้อง เข้าใจ เข้าถึง พร้อมพัฒนาโรงเรยี น ในสงั กัดตามบรบิ ทของพื้นท่ีนัน้ ๆ ประกอบด้วยการดำเนินการใน 2 ระยะ ดังน้ี ระยะการเตรียมความพรอ้ ม (วันที่ 23 เมษายน - 31 พฤษภาคม 2564) แบง่ บทบาทออกเป็น 3 ชว่ ง ดงั น้ี ช่วงที่ 1 ระหว่างวนั ที่ 23 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2564 สำรวจรวบรวมขอ้ มูล 1. แต่งต้ังคณะทำงานศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศกึ ษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ในระดับสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพื่อ ดำเนนิ การ วางแผนการกำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและบรหิ ารจดั การเกีย่ วกับการจดั การเรียนการสอน ของโรงเรียน ในสังกดั พร้อมแต่งตั้งผูป้ ระสานงานระหวา่ งสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาและโรงเรียน เพื่อทำหน้าที่ ให้คำปรึกษา ชี้แนะ รับฟังและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดจากการดำเนินการจัดการเรียนการ สอนในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) 2. สำรวจ ตรวจสอบและยืนยนั ข้อมูลด้านความพร้อมของโรงเรียนในเรื่องต่าง ๆ เข่น ขอ้ มูล พื้นฐานของโรงเรียน การดำเนินการตามมาตรการท่ี คบค. กำหนด และรูปแบบการจัดการเรยี น การ สอน พรอ้ มทัง้ การใชเ้ ครอ่ื งมอื สนับสนนุ การจดั การเรยี นรู้ เป็นต้น 3. สรุปข้อมูลความพร้อมการจัดการเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์การแพร่ ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของโรงเรียนในสังกัด เพ่ือนำเสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานทราบ ชว่ งท่ี 2 ระหว่างวนั ท่ี 6 -16 พฤษภาคม 2564 1. สำนักงานเขตพน้ื ทีศ่ ึกษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนตามแนวทาง 5 รูปแบบ ได้แก่ รปู แบบ On - site, On - air, On - demand, Online และ On - hand รวมถึงการจัดกลุ่มนักเรียน สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ทั้งรูปแบบ On - site รว่ มกับรูปแบบการเรยี นการสอนทางไกล (Distance Learning) อื่น ๆ โดยคำนึงถึงสภาพความพร้อม และบรบิ ท ของโรงเรียน พร้อมท้ังเตรียมความพร้อมเพ่ือวางแผนการดำเนินการส่งเสริมสนับสนนุ ให้ โรงเรยี นสามารถออกแบบการจดั กิจกรรมเสรมิ ทักษะชีวิตด้วยการจัดการเรยี นรทู้ ่ีใชป้ รากฏการณ์เป็น
57 ฐาน (Phenomenon Based Learnning) ที่มีการจัดกิจกรรม 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) กิจกรรมประเภท Online เพื่อพัฒนาครู ด้านทักษะดิจิทลั และเทคนิคการสอน Online สำหรับครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ในกิจกรรม \"OBEC 2021 WEBINAR การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ยคุ ปกติใหม่ : มุมมอง ของผู้บริหาร นักวิชาการ และครู'' สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งการนำเสนอคลังส่ือ ดิจิทัลระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBEC Content Center) 2) กจิ กรรมประเภท Offline (กิจกรรม ชวนเด็กเล่น) ได้แก่ กิจกรรมรู้รักภาษา, กิจกรรมตามหาฝัน, กิจกรรมสนุก ,ฝึก เปิดกว้างการเรียนรู้, กจิ กรรมแบ่งปันสังคม, กจิ กรรมค้นหาตวั ตน และกิจกรรมอื่น ๆ ในช่วงกอ่ นเปิดภาคเรียน และเตรยี มความพร้อมกำหนดแนวทางการกำกับติดตาม โรงเรยี นในสงั กัด ให้สามารถจัดการเรยี นการ สอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 2. มอบหมายศึกษานิเทศก์ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นผู้ดำเนินการแนะนำ ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ติดตาม ให้ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถออกแบบการจัด กิจกรรมเสริม ทักษะชีวิตด้วยการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน (Phenomenon Based Learnning) ทั้งกจิ กรรม ประเภท Online และกจิ กรรมประเภท Offline (กิจกรรมชวนเด็กเล่น) โดย มงุ่ เน้นให้สอดคลอ้ งกับแนวทาง การจัดกิจกรรมตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพน้ื ฐาน 3. ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจให้กับโรงเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียน การสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ก่อนเปดิ ภาค เรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 4. วางแผนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสงั กัด โดยใช้เคร่ืองมอื และแบบนเิ ทศติดตาม ทีส่ ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานกำหนดขึ้น หรือ สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาอาจจดั ทำข้ึนเองตามบรบิ ทรว่ มด้วย 5. จัดหารวบรวมแหล่งการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเผยแพร่ให้โรงเรียนสำหรับใช้เป็น แหล่งการเรียนรู้ และนำเสนอคลังส่ือดิจิทัลระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (OBEC Content Center) ที่ จัดหมวดหมู่ไว้ตามระดับชั้น/กลุ่มสาระการเรียนรู้ พร้อมให้บริการให้แก่ผู้บริหาร ผู้บริหารโรงเรียน ศึกษานิเทศก์ ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนและผู้ปกครอง โดยสามารถใช้งานผ่านเว็บไซต์ครู พร้อม.com 6. ประสานงานในการดำเนินงานระหว่างหน่วยงานและองค์กรที่เก่ียวข้องเพ่ือวิเคราะห์ สภาพปัญหา และแนวทางการดำเนินการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ก่อนเปดิ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 7. กำกับ ติดตาม สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน เพื่อนำเสนอต่อสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ทราบ
58 ชว่ งที่ 3 ระหวา่ งวันท่ี 17 พฤษภาคม - 13 มิถุนายน 2564 การดำเนนิ การก่อนเปดี ภาคเรียน 1. ส่งเสริม สนับสนุนและวางแผนการออกแบบการแนวคิดการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ปรากฏการณ์เป็นฐาน หรือ Phenomenon Based Learning (PhenoBL) ร่วมกับโรงเรียนในสังกัด และร่วมกบั ศบค. จังหวัด ท้งั น้ีให้คำนึงถึงมาตรการความปลอดภัยดา้ นสุขภาพ ของครู นักเรียน และ ผู้ท่เี ก่ียวข้อง เป็นสำคัญ 2. ประสานการดำเนินงาน ระหวา่ งหน่วยงานและองคก์ รท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่ือเตรียมความ พร้อม ของทุกหนว่ ยงานในการดำเนินการกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น โดยมีการดำเนินการดังนี้ - ประสานงานกับ ศบค.จังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล และ หน่วยงานที'เกี่ยวช้องอื่นๆ เพื่อนำข้อมูลมาใช้วางแผนและเตรียมการดำเนินการภายใต้สถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และเตรียมแนวทางการรับมือกับ สถานการณฉ์ ุกเฉินทีอ่ าจเกดิ ขึ้นภายในโรงเรียน - ประชุม ช้ีแจงผู้บริหาร ครู บุคลากรที่เก่ียวข้องในโรงเรียนให้มีความเช้าใจและ ดำเนินการไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมทั้งทบทวนความเข้าใจ รับฟังปัญหาของโรงเรียน เพ่ือเตรียม ความพร้อม ให้กับโรงเรียนในการเตรียมการวางแผนการจัดการเรียนการสอนให้แล้วเสร็จก่อนเปิด ภาคเรียน - กำหนดช่องทางการติดต่อสื่อสารและประสานงานกันระหว่างหน่วยงาน เช่น ระบบ AMSS, Line Group, Facebook หรือ ช่องทางอน่ื ๆ เป็นต้น - เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดทำสารสนเทศด้านการบริหารการจัดการ ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) อย่างเป็นระบบ ให้ สะดวกตอ่ การใช้งาน พรอ้ มท้ังสรุปผลการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นการสอน 3. สนับสนุนทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอนให้กับโรงเรียนสำหรับใช้ในการจัดการ เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ เช่น ส่ือการเรียนการสอน จัดชุดการเรียนรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด สำหรับนกั เรียนกลุม่ เสย่ี งท่เี รียนในรปู แบบ On - hand เป็นตน้ 4. จัดทำช่องทางการประชาสัมพันธ์เพื่อให้โรงเรยี น ครูนกั เรียนผปู้ กครอง และผู้ท่ีเกย่ี วข้อง กับการจัดการเรียนการสอน ให้สามารถเข้าถึงแหล่งบริการส่อื การเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล สำหรบั เป็น เครื่องมือเพ่ือใช้จัดการเรียนการสอนในช้ันเรียนและเรียนรู้ด้วยตนเองจากท่ีบ้าน (Learn From Flome) เช่น ครูพร้อม.com, OBEC Content Center, และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ผ่านช่องทางการ สอื่ สารของสำนกั งานเขตพน้ื ที่ 5. รายงานผลการบริหารจัดการตามภารกิจของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ตลอดจน ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของโรงเรยี น ตามทีส่ ำนักงานคณะกรรมการการศึกษข้ันพ้ืนฐานกำหนด
59 ระยะการจัดการเรียนการสอน (ตั้งแต่วันท่ี 14 มิถนุ ายน 2564 เป็นตน้ ไป) นเิ ทศ กำกับ ติดตามและตรวจเยี่ยมเพื่อประเมินความพร้อมของโรงเรียนในการจัดการเรียน การสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ดงั น้ี - ประชุมวางแผนกำหนดกรอบการนเิ ทศ ติดตามและตรวจเยยี่ มโรงเรียนในสงั กดั - จัดทำคำส่ังแต่งตง้ั คณะกรรมการผู้รบั ผิดชอบในการนิเทศ ติดตามและตรวจเยี่ยม โรงเรยี นในสังกัด - จดั ทำปฏทิ นิ การนิเทศตดิ ตามและตรวจเยยี่ มโรงเรียนในสังกดั - เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตามเครอื่ งมือทกี่ ำหนด ตลอดจนเกบ็ รวบรวมข้อมูลตามสภาพ จรงิ และสรุปผลการดำเนินงาน - รายงานผลต่อผู้อำนวยการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพื่อรายงานต่อสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานและหน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2. รับฟงั ปญั หา อุปสรรค ตลอดจนความคิดเหน็ เพือ่ นำมาปรับปรุงและพัฒนาการดำเนนิ การ ของสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา โดยจดั ใหม้ ีช่องทางการส่อื สารท่ีหลากหลายและมปี ระสิทธิภาพ 3. ให้คำปรึกษา คำแนะนำและแก้ปัญหาในการดำเนินงานการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ให้กับโรงเรียนใน สังกดั 4. รวบรวมข้อมูล ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการคำเนินการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เพื่อนำมาวิเคราะห์ สรุป และรายงานผลการดำเนินงานของโรงเรียน ตลอดจนปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินการของ สำนกั งาน เขตพ้นื ท่ีการศึกษาอย่างตอ่ เน่อื ง 5. รายงานผลการบริหารจัดการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และผลการจัดการเรียน การสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของโรงเรียน ต่อสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานทราบ สนับสนุนและชว่ ยเหลือโรงเรียน 3.2 บทบาทและภารกิจของโรงเรียน การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID - 19) ในระดับโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียนและครูถือเป็นกลไกหลัก ในการบริหารจัดการ ท้ังการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนและการดำเนินการจัดการเรียนการสอนในระหว่างเปิด ภาคเรียน จากการทีส่ ำนกั งานคณะกรรมการการคกึ ษาฃั้นพ้นื ฐาน โดยศูนยเ์ ฉพาะกจิ การจดั การศกึ ษา ทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ได้จัดทำ แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 เพอ่ื เป็นแนวทางในการขบั เคล่ือนนโยบายการจัดการ เรียนการสอนไปสู่การปฏิบัติ ให้เกิดความพร้อมในด้านบริหารจดั การของหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งในทุก ระดับสำหรับบทบาทและภารกจิ ของโรงเรียนต้องดำเนินการ ตามบรบิ ทของพ้ืนท่ีน้ัน ๆ โดยคำนึงถึง
60 มาตรการความปลอดภัยด้านสุขภาพของครู นักเรียนและผู้ที่เก่ียวข้องเป็นสำคัญ ประกอบด้วยการ ดำเนนิ การใน 2 ระยะ ดังนี้ ระยะการเตรีมความพร้อม (วนั ท่ี 23 เมษายน - 31 พฤษภาคม 2564) แบง่ บทบาทออกเปน็ 3 ช่วง ดังนี้ ชว่ งท่ี 1 ระหว่างวันที่ 23 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2564 1. ประสานงานกับสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพ่ือวิเคราะห์ สภาพ ปัญหาและแนวทางการดำเนินการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ก่อนเปิดภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 2. รายงานผลการสำรวจความพร้อมการจัดการเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ตอ่ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานและสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาทราบ 3. สรุปข้อมูลความพร้อมการจัดการเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์ การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของโรงเรียน เพื่อนำเสนอต่อศูนย์บริหาร สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จังหวัด (คบค.จังหวัด) สำนักงานสาธารณสุฃจังหวัด และหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งอนื่ ๆ ทราบ ช่วงที่ 2 ระหวา่ งวนั ท่ี 6 - 16 พฤษภาคม 2564 1. ประชุมช้ีแจงแนวทางการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียน ใหแ้ ก่ ครู นักเรยี น ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา และผเู้ กย่ี วข้องอ่นื ๆ ไดร้ บั ทราบ 2. ประสานความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนกับหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและ เอกชน เพื่อเปดิ โอกาสให้ทุกภาคส่วนไดม้ ีสว่ นรว่ มในการวางแผนและดำเนนิ การจัดการเรียนการสอน ของโรงเรยี น 3. กำหนดและวางแผนการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของโรงเรยี นร่วมกับสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา และ หนว่ ยงานท่ี เกีย่ วขอ้ งในชมุ ชน 4. วางแผนการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นเรียนโดยนำข้อมูลผลการสำรวจความพร้อม การจัดการเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานดำเนินการสำรวจสภาพความ พร้อมของโรงเรียน มาใช้เป็นหลักในการกำหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ตาม แนวทาง 5 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบ On - site, On - air, On - demand, Online และ On - hand รวมถึงการจัดกลุ่มนักเรียน สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ท้ังรูปแบบ On - site ร่วมกับรูปแบบการเรยี นการสอนทางไกล (Distance Learning) อื่น ๆ โดยคำนึงถึงสภาพความพรอ้ มและบริบทของโรงเรียน 5. เตรียมความพร้อมด้านส่ือ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ สำหรับครู และบคุ ลากรทเ่ี กีย่ วข้องเพอ่ื ใหส้ ามารถจัดการเรยี นการสอนตามรูปแบบการเรยี นการสอนท่กี ำหนดไว้
61 6. จัดเตรียมทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอนให้กับครูและนักเรียนสำหรับใช้ในการ จัดการเรียนการสอนให้มืประสิทธิภาพ เช่น สื่อการเรียนการสอน จัดชุดการเรีย นรู้ ใบงาน แบบฝกึ หดั สำหรบั นักเรยี นกลุม่ เสย่ี งท่เี รียนในรูปแบบ On - hand เป็นต้น 7. ติดตาม ดูแลนักเรียนให้เป็นไปตามมาตรการเฝ้าระวงั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของกระทรวงสาธารณสุข และเก็บข้อมลู นักเรยี นเพ่อื ใช้ในการคดั กรอง นักเรียน ตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (Scantool 4.0) ประกอบด้วย แบบประเมินพฤติกรรม (SDQ) แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) และแบบคัดกรองนกั เรยี น 8. ซักซ้อมความเข้าใจ ครู นักเรียน และผู้ปกครองถึงแนวทางการจัดการเรียนการสอน ใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เพื่อทบทวนและ ตรวจสอบการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรยี นการสอนกอ่ นเปิดภาคเรียน 9. จัดทำช่องทางสื่อสารและประชาสัมพันธ์ เพ่ือให้ครู นักเรียน ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง กบั การจัดการเรยี นการสอนให้สามารถเข้าถึงแหล่งบริการสื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อใช้เป็น เครื่องมือ เพ่ือใช้จัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน และเรียนรู้ด้วยตนเองจากท่ีบ้าน (Learn From Home) หรอื การตอบคำถามให้คำปรึกษาการจดั การเรยี นการสอนของนักเรียนท่ีบ้านโดยโรงเรยี นจัด ช่องทางการติดต่อสือ่ สาร ชว่ งท่ี 3 ระหวา่ งวันที่ 17 พฤษภาคม -13 มถิ ุนายน 2564 การดำเนนิ การก่อนเปิดภาคเรียน 1. ประสานงานร่วมกับศึกษานิเทศก์ที่ได้รับมอบหมายให้นิเทศ ติดตามการจัดการเรียน การสอนของโรงเรียน ในการวางแผนการออกแบบการจัดกิจกรรมเสริมทักษะชีวิต ภายใต้แนวคิด การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน หรือ Phenomenon Based Learning (PhenoBL) ท้ังกิจกรรม ประเภท Online เพื่อพัฒนาครูต้านทักษะดิจิทัลและเทคนิคการสอน Online รวมท้ัง การใช้คลังสื่อดิจิทัล ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBEC Content Center) ที่จัดหมวดหมู่ไว้ตาม ระดับช้ัน/ กลุ่มสาระการเรียนรู้ พร้อมให้บริการแกผ่ ู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรยี นและผู้ปกครอง โดย สามารถใช้งานผา่ นเว็บไซต์ครพู ร้อม.com และกิจกรรมประเภท Offline (กิจกรรมชวนเด็กเลน่ ) ได้แก่ กิจกรรมรู้รักภาษา, กิจกรรมตามหาฝัน, กิจกรรมสนุก เปิดกว้างการเรียนรู้, กิจกรรมแบ่งปันสังคม, กิจกรรมค้นหาตัวตน และกิจกรรมอน่ื ๆ สำหรบั ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนได้ศึกษาและเรยี นรู้ในชว่ งกอ่ นเปิด ภาค เรี ย น โ ดย มุ่ งเน้ น ให้ ส อ ดค ล้ อ ง กั บ ก ร อ บ แน ว ท าง ก าร จั ด กิ จ ก ร ร ม ต ามน โ ย บ าย ขอ ง สำนั ก ง าน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และดำเนินงานร่วมกับ ศบค. จังหวัด โดยให้คำนึงถึงมาตรการ ความปลอดภัยดา้ นสุขภาพของครู นักเรียนและผู้ท่ีเกี่ยวข้องเป็นสำคัญ 2. ประสานงานระหว่างหน่วยงานและองค์กรที่เก่ียวข้องเพ่ือเตรียมความพร้อมของ ทกุ หน่วยงานในการดำเนนิ การก่อนเปิดภาคเรียน โดยมีการดำเนนิ การดงั น้ี - ประสานงานกับ ศบค.จงั หวดั สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัด โรงพยาบาล และ หน่วยงานท่ี เกย่ี วขอ้ งอ่นื ๆ เพอื่ นำขอ้ มูลมาใช้วางแผนและเตรยี มการดำเนนิ การภายใต้สถานการณ์ การแพรร่ ะบาด
62 ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) และเตรียมแนวทางการรับมือสถานการณ์ฉุกเฉินท่ี อาจเกิดขึน้ ภายในโรงเรียน - ประชุม ช้ีแจงผู้บริหาร ครู บุคลากรที่เก่ียวข้องในโรงเรยี นให้มีความเข้าใจและ ดำเนินการ ไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมทั้งทบทวนความเข้าใจ รับฟังปัญหาการดำเนินงานของทุกภาคส่วน เพื่อเตรยี มความพรอ้ ม และเตรยี มการวางแผนการจัดการเรียนการสอนให้แล้วเสร็จกอ่ นเปิดภาคเรียน - กำหนดช่องทางการตดิ ตอ่ สือ่ สารและประสานงานกับระหว่างหน่วยงาน เช่น ระบบ Line Group, Facebook หรือ ช่องทางอื่น ๆ - เก็บรวบรวมและวเิ คราะห์ขอ้ มูล เพ่ือจัดทำสารสนเทศด้านการบรหิ ารการจัดการ ภายใต้ สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) อย่างเปน็ ระบบ ให้สะดวกต่อ การใชง้ าน พร้อมทั้งสรปุ ผลการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นการสอนเพือ่ นำเสนอไปยังต้นสังกัด 3. จัดหาทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอนสำหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้ เพียงพอต่อการใช้งานของครูและนักเรียน ตามความจำเป็น เช่น สื่อการเรียนการสอน จัดชุดการ เรียนรู้ ใบงาน แบบฝกึ หัด เป็นตน้ 4. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ และส่ือสารข้อมูลที่จำเป็นต่อการจัดการเรียนการสอนอย่าง ต่อเนื่อง ผ่านช่องทางการสื่อสารของโรงเรียนท่ีจัดทำขึ้น เพื่อให้ครู นักเรียน ผู้ปกครองและผู้ที่ เกี่ยวข้องกับ การจัดการเรียนการสอน ได้รับทราบ และช้ีแจง แนะนำแหล่งบริการสื่อการเรียนรู้ เทคโนโลยีดิจิทัล สำหรับเป็นเคร่ืองมือเพ่ือใช้จัดการเรียนการสอนในช้ันเรียนและเรียนรู้ด้วยตนเอง จากที่บ้าน (Learn From Flome) เช่น ครูพร้อม.com, OBEC Content Center, และแหล่งเรียนรู้ อื่น ๆ 5. รายงานผลการบริหารจัดการตามบทบาทและภารกิจของโรงเรียน ตลอดจนความพร้อม ในการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ต่อสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา และหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง ระยะการจัดการเรียนการสอน (ตงั้ แต่วนั ที่ 14 มถิ นุ ายน 2564 เปน็ ตน้ ไป) 1. ดำเนินงานการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID - 19) ตามการวางแผนการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นเรียนดว้ ยรูปแบบ การจัดก ารเรียน การสอน ตามแน วท าง 5 รูปแบบ ได้แก่ รูป แบ บ On - site, On - air, On - demand, Online และ On - hand รวมถึงการจัดกลุ่มนักเรียนสำหรับการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน (Blended Learning) ท้ังรูปแบบ On - site ร่วมกับรูปแบบการ เรยี นการสอนทางไกล (Distance Learning) อื่น ๆ โดยคำนงึ ถงึ สภาพความพร้อม บริบทของโรงเรยี น และตามท่ีไดว้ างแผน รว่ มกบั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาและหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง 2. วิเคราะห์ สภาพปัญหาและกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการจัดการเรียน การสอนในระดบั ชั้นเรยี น เพ่ือให้ได้ข้อมูลมาใช้ในปรบั ปรุงกระบวนการจดั การเรียนการสอน 3. จัดทำปฏิทินการเยี่ยมบ้านนักเรียนและผู้ปกครอง พร้อมทั้งกำหนดวิธีการ ที่หลากหลาย และเหมาะสม เพ่อื ให้สามารถสนับสนุนการเรยี นเของนกั เรียนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4. กำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน ตามบริบทของการจัด การเรียนการสอน
63 5. กำหนดเคร่ืองมือที่ใช้ในเก็บรวบรวมข้อมูลการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ในระดับช้ันเรียน และสำหรับ นักเรียน รายบุคคล ตลอดจนเก็บรวบรวมข้อมูลตามสภาพจริง และสรุปผลรายงานผลต่อผู้บริหาร โรงเรยี นและหน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง 6. รับฟังปญั หา อปุ สรรค ตลอดจนความคิดเหน็ เพือ่ นำมาปรบั ปรงุ และพฒั นาการดำเนินการ ของโรงเรียน โดยจัดให้มีช่องทางการสอื่ สารที่หลากหลายและมีประสทิ ธภิ าพ 7. ให้คำปรึกษา คำแนะนำและแก้ปัญหาในการคำเนินงานการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)ให้แก่ครู นักเรียนและ ผปู้ กครอง 8. รวบรวมข้อมูล ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการคำเนินการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เพ่ือนำมาวิเคราะห์ สรุปและ รายงานผลการคำเนินงานของโรงเรียน ตลอดจนปรับปรุงและพัฒนาการคำเนินการของ สำนักงาน เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาอย่างต่อเน่ือง 3.3 บทบาทและภารกิจของครใู นการจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบตา่ ง ๆ 1. รปู แบบ Onsite การจดั การเรยี นการสอนแบบปกตทิ ี่โรงเรียน (มาตรการ ศบค.) 1.1 โรงเรียนต้องมีการประสานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น ศบค.จังหวัด หน่วยงาน สาธารณสุข หน่วยงานฝ่ายปกครอง หรือหน่วยงานอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องภายในพื้นที่ และ นำมาเป็น แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดฯ โดยให้ผูป้ กครองมสี ว่ นร่วมในการ วางแนวทางดงั กล่าว 1.2 โรงเรียนต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ท่ีจำเป็น เช่น หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า แอลกอฮอล์เจลและน้ํายาทำความสะอาด เป็นต้น ไว้อย่างเพียงพอในกรณีท่ีผู้ปกครอง ไม่สามารถ จัดหาให้กับนกั เรยี นได้ 1.3 จัดทำมาตรการเพ่ือเฝ้าระวังและฟ้องกันในกรณีการเดินทางไปโรงเรียนโดยพาหนะ โดยสารประจำทาง เช่น เดินทางด้วยรถไฟ รถยนต์ รถโดยสารประจำทาง หรือ ทางเรือ โรงเรียน จะตอ้ งมีการกำหนดมาตรการรว่ มกับผใู้ ห้บริการโดยสารอย่างครอบคลุมและชดั เจน 1.4 ครูให้คำแนะนำ กำกับติดตามขณะท่ีนักเรียนมาโรงเรยี นให้ถือปฏบิ ัติตามมาตรการท่ี คบค. กำหนด (Social Distancing) 1.5 ครูร่วมกับผู้ปกครองในการประเมินผลการเรียนรขู้ องนักเรียน มีการกำหนดเคร่ืองมือ การวัด และประเมนิ ผลที่สรา้ งขึน้ ตามบริบทของนักเรียนเป็นรายบุคคล 1.6 ครูและผู้ปกครองร่วมกนั หาแนวทางแก้ไขปัญหาการเรียนรสู้ ำหรบั นักเรียน 2. รปู แบบ On – air การจัดการเรยี นการสอนผา่ นระบบโทรทศั น์ 2.1 ครูให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดสถานที่ในการเรียนรู้ที่บ้านให้มีความ เหมาะสม ในการเรยี นรู้ เช่น จัดสถานทใ่ี ห้มีแสงสว่างที่เพียงพอ ไม่มากไปและไม่นอ้ ยไป ไม่มีเสยี งดัง รบกวนและดแู ลให้คำแนะนำอยา่ งใกล้ชดิ ตลอดการเรยี นร้ใู นแต่ละรายวิชา เป็นต้น
64 2.2 ผู้ปกครองต้องเตรียมระบบอินเทอร์เน็ตจัดอุปกรณ์ท่ีจำเป็นต่อการเรียนรู้ เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้นให้มีความพร้อมในการจัดการเรียนรู้ เปน็ ต้น 2.3 ครูให้คำแนะนำนักเรยี นและผู้ปกครองขณะเรียน On - air ผ่านระบบโทรทัศน์ เซ่น Ku-Band เคเบิลทีวี ระบบ Application TV ระบบ IP7V และ Youtube เป็นต้น โดยต้อง มีการ ประสานงานแจ้งตารางเวลาเรยี นตามรายวิชาทม่ี ีการออกอากาศใหผ้ ้ปู กครองทราบ 2.4 ครรู ่วมกับผู้ปกครองในการกำกับ ดูแลนักเรียนให้สามารถเรียนรู้ผา่ นระบบโทรทัศน์ ไดต้ ามตารางเรียนทกี่ ำหนด 2.5 ครูและผู้ปกครองร่วมกันจัดตารางและนัดหมายวันและเวลาในการ รับ - ส่งใบงาน แฟ้มงาน ของนักเรียน หรือสามารถสง่ ทางระบบออนไลน์ และช่องทางอืน่ ๆ ท่ีได้นัดหมาย พร้อมทั้ง ส่ือสารกับผู้ปกครองเพื่อรายงานผลการเรียนของนกั เรียนแตล่ ะรายวิชา ตามช่องทางตา่ ง ๆ 2.6 ครูร่วมกับผู้ปกครองในการประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนักเรยี น มกี ารกำหนดเครื่องมือ การวัดและประเมนิ ผลทสี่ รา้ งข้นึ ตามบรบิ ทของนักเรยี นเป็นรายบุคคล 2.7 ครูและผ้ปู กครองร่วมกันหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาการเรยี นร้สู ำหรับนักเรยี น 3. รปู แบบ On – demand การจดั การเรยี นการสอนผ่านส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3.1 ครูให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดสถานที่ในการเรียนรู้ท่ีบ้านให้มีความ เหมาะสม ต่อการเรยี นรู้ฃองนักเรียน เช่น จัดสถานที่ให้มีแสงสว่างท่ีเพยี งพอ ไม่มากไปและไมน่ อ้ ยไป ไมม่ เี สยี งดงั รบกวน และดแู ลใหค้ ำแนะนำอย่างใกลช้ ดิ ตลอดการเรยี นรู้ในแตล่ ะรายวิชา 3.2 ผู้ปกครองต้องเตรียมระบบอินเตอร์เน็ตและจัดอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ เช่น โทรทศั น์ คอมพิวเตอร์ โนต้ บุ๊ค แทบ็ เลต็ สมาร์ทโฟน เปน็ ต้น ใหม้ ีความพร้อมในการจดั การเรยี นรู้ 3.3 ครูให้คำแนะนำนักเรียนและผู้ปกครองขณะในการเรียนแบบ On - demand ผ่านระบบ โทรทัศน์ เช่น Ku-Band เคเบิลทีวี ระบบ Application TV ระบบ IPTV และ Youtube เป็นต้น หรือให้คำแนะนำในกรณีรับชมย้อนหลัง โดยมีการประสานงานแจ้งตารางเวลาเรียน ตาม รายวิชาท่มี กี ารออกอากาศให้ผูป้ กครองทราบ 3.4 ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เซ่น การเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์ DLTV, Youtube, Application, OBEC Content Center บน Smart Phone / Tablet เปน็ ตน้ 3.5 ครูประสานกับผปู้ กครองในการให้คำปรกึ ษา ชี้แนะในการเรียนผา่ นสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ 3.6 ครูประสานกับผู้ปกครองให้ช่วยกำกับติดตามในการทำเอกสาร และส่งแฟ้มงาน นักเรียน ตามทีค่ รูกำหนด 3.7 ครูประสานกบั ผปู้ กครองในการแจ้งผลการเรียนรู้ของนกั เรียนเปน็ ระยะ 3.8 ครูร่วมกบั ผู้ปกครองในการประเมินผลการเรยี นรชู้ องนักเรียน มกี ารกำหนดเครอื่ งมือ การวัดและประเมินผลทีส่ ร้างขึน้ ตามบริบทของนกั เรียนเป็นรายบุคคล 3.9 ครูและผูป้ กครองร่วมหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาการเรยี นรขู้ องนกั เรียนอย่างสมํ่าเสมอ
65 4. รูปแบบ Online การจดั การเรียนการสอนแบบถ่ายทอดสด (LIVE) 4.1 ครูจดั กิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครอื ข่ายอินเทอร์ฌ็ต ในลักษณะการสื่อสารสอง ทาง เป็นกจิ กรรมการเรียนรู้แบบถ่ายทอดสด (LIVE) ระหว่างครูและนกั เรียน (นักเรียนจะตอ้ ง มคี วาม พรอ้ มด้านอุปกรณ์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต) โดยใช้เครอ่ื งมือตา่ ง ๆ เช่น Google Meet, Microsoft Teams, Zoom Meeting, AcuLearn, WebEx, Braincloud, VRoom, Line, Facebook เป็นต้น หรอื ช่องทางอน่ื ๆ ตามการนดั หมาย 4.2 ครูตรวจสอบการเข้าเรยี นของนกั เรียนตามรปู แบบการกำหนดเวลาเรยี นของโรงเรยี น ในชว่ งก่อนเริ่มจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้ช่องทางการส่อื สารตามการนัดหมาย 4.3 ครตู ดิ ตามให้นกั เรยี นเข้าเรยี นผา่ นช่องทางการสื่อสารตามการนดั หมาย 4.4 ครูตดิ ตามการรับ-สง่ แฟ้มงานนักเรียนทางระบบออนไลน์ และช่องทางการส่ือสารตาม การนัดหมาย 4.5 ครูวางแผนร่วมกับผู้ปกครองในการประเมินผลการเรียนรขู้ องนักเรียน มีการกำหนด เครือ่ งมือการวัดและประเมินผลที่สรา้ งขึ้นตามบรบิ ทของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล 4.6 ครูและผู้ปกครองรว่ มหาแนวทางแก้ไขปญั หาการเรยี นร้ขู องนักเรยี นอย่างสมา่ํ เสมอ 5. รูปแบบ Onhand การจัดการเรยี นการสอนดว้ ยการน่าสง่ เอกสารท่ีบ้าน 5.1 ครูดำเนินการรับ-ส่งแฟ้มงานนักเรียน และส่ือสารกับนักเรียนและผู้ปกครองโดย กำหนด วัน เวลา และสถานท่ีอย่างชัดเจน ในกรณีที่ไม่สามารถ รับ - ส่งแฟ้มงานนักเรียนได้ตาม นัดหมาย อาจใช้ระบบขนส่งทางไปรษณยี ์ หรือระบบขนส่งของเอกชน ในการอำนวยความสะดวก 5.2 ครูประสานกับผู้ปกครองในการให้คำปรึกษา การจัดทำเอกสาร ใบงาน การติดตาม แฟม้ งาน ท่ีครจู ัดสง่ ให้แก่นักเรียน 5.3 ครูประสานกับผู้ปกครองคอยกำกับ ติดตามการส่งแฟ้มงานของนักเรียนให้ตรงตาม กำหนดนดั หมาย 5.4 ครูร่วมกับผู้ปกครองในการประเมินผลการเรยี นรู้ของนักเรียน มกี ารกำหนดเครื่องมือ การวัด และประเมนิ ผลทส่ี ร้างขน้ึ ตามบริบทของนักเรียนเป็นรายบุคคล 5.5 ครแู ละผู้ปกครองร่วมหาแนวทางแก้ไขปญั หาการเรียนรู้ของนกั เรยี นอย่างสมาํ่ เสมอ 3.4 บทบาทภารกจิ ของนกั เรียนและผ้ปู กครอง รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนต่าง ๆ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) น้ัน มีความแตกต่างกันตามสภาพบริบทและความพร้อม ของโรงเรียน รวมท้ังสภาพความพร้อมของผู้ปกครองและนักเรียนอีกด้วย ดังน้ัน ผู้ปกครองและ นักเรยี นจะต้อง ทำการศกึ ษารายละเอียดของรูปแบบการเรยี นการสอนที่โรงเรยี นดำเนนิ การให้ชัดเจน เตรียมความพรอ้ ม ทั้งในเรอ่ื งวัสดุอปุ กรณ์ เรียนรเู้ ทคนคิ วิธกี ารการจัดการเรียนการสอน เตรียมความ พร้อมของนักเรียน สำหรับการเรียนการสอน วางแผนในการจัดการเรียนการสอนร่วมกับครู และ ส่งเสรมิ สนับสนับใหน้ ักเรียน ได้ทดลองการเรียนรู้ในรปู แบบการเรียนการสอนที่โรงเรียนกำหนดและ สะทอ้ นสภาพปญั หาใหโ้ รงเรยี น ได้รบั ทราบและปรับปรงุ แก้ไข นอกจากน้ีผู้ปกครองยงั ต้องมีสว่ นร่วม
66 ในการจัดการเรียนรู้ และการประเมิน คุณภาพนักเรียน ทั้งในทางตรงและทางอ้อม เน่ืองจากในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า 2019 น้ีบุตรหลานใช้เวลาอยู่กับผู้ปกครอง มากกว่าครูผู้สอน ดังน้ัน ข้อมูลผลการประเมิน ของผู้ปกครองจะช่วยสะท้อนศักยภาพที่แท้จริงของ นักเรียน เพ่ือสนับสนุนและเติมเต็มผลการประเมิน คุณภาพนักเรียนของครูอีกทางหน่ึงด้วย โดย รายละเอยี ดบทบาทและภารกจิ ของผ้ปู กครองและนักเรียน มีดังต่อไปนี้ ระยะการเตรียมความพรอ้ ม (วนั ที่ 23 เมษายน - 31 พฤษภาคม 2564) แบ่งบทบาทออกเป็น 3 ชว่ ง ดงั นี้ ช่วงท่ี 1 ระหว่างวันที่ 23 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2564 1. ผู้ปกครองต้องเตรียมความพร้อมให้นักเรียน และติดต่อประสานกับครูเพื่อสร้างเความ เข้าใจ ในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนที่จะดำเนินการในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 2. โรงเรียนชี้แจงให้นักเรียนและผู้ปกครองกี่ยวกับการเตรยี มความพร้อมเพื่อการเรียนรู้ใน รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบต่าง ๆ ทั้ง 5 รูปแบบ ได้แก่ 0ท - site, On - air, On - demand, Online และ On - hand 3. ผู้ปกครองจดั เตรียมความพรอ้ มใหน้ ักเรยี น ในการจดั หาอปุ กรณท์ ี่จำเป็นตอ่ การเรยี น การ สอนตามรูปแบบที่โรงเรียนกำหนด โดยคำนึงถึงความพร้อมและบริบทของครอบครัว เป็นสำคัญ ถ้า พบปัญหาในการเตรียมการ ควรติดต่อประสานงานกับโรงเรียนและครู เพ่ือปรึกษา หาแนวทางการ แก้ไขปัญหาและขอความช่วยเหลือตามความจำเป็นอย่างเรง่ ด่วน 4. นกั เรียนทบทวนเนื้อหาบทเรียนในระดับช้นั ที่เรียนของปีการศึกษาท่ีผ่านมา (ปีการศึกษา 2563) และเตรียมศกึ ษาหาความรู้ลว่ งหนา้ ในเน้อื หาสาระท่ีตอ้ งเรียนในปกี ารศกึ ษา 2564 ช่วงท่ี 2 ระหวา่ งวันที่ 6 - 16 พฤษภาคม 2564 1. รูปแบบ On – site 1.1 การจัดการเรียนการสอนแบบปกติท่ีโรงเรียน (มาตรการ ศบค.) นักเรียน ผู้ปกครอง และครูร่วมกันวางแผนการให้นักเรียนมาเรียนแบบ On – site โดยประสานงานโรงเรียนในการให้ ความรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการของ คบค. อยา่ งเคร่งครัด 1.2 นักเรยี นเตรียมศกึ ษาเอกสาร ทบทวนเนื้อหาบทเรียนในระดับชน้ั ที่เรียนปีการศึกษาที่ ผ่านมา (ปีการศึกษา 2563) และเตรียมศึกษาหาความรู้ล่วงหน้าในเนื้อหาสาระท่ีต้องเรียนในปี การศึกษา 2564 เพ่อื เตรียมความพรอ้ มในการเรียนการสอน 1.3 นักเรียนและผู้ปกครองจัดหาและเตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็น เช่น หน้ากากอนามัยหรือ หนา้ กากผ้า แอลกอฮอล์เจลและนาํ้ ยาทำความสะอาด เปน็ ตน้ ไว้อย่างเพยี งพอ ในกรณีท่ีผู้ปกครองไม่ สามารถจัดหาให้กบั นักเรียนไดใ้ หป้ รึกษาและขอความช่วยเหลอื จากทางโรงเรียน 1.4 ผปู้ กครองต้องกำกับ ติดตาม ดแู ลและสร้างความตระหนักให้นกั เรียนเหน็ ความสำคัญ ของการปฏิบตั ติ นตามมาตรการของ คบค. อย่างเคร่งครดั จนติดเป็น นสิ ัยในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน
67 2. รปู แบบ On – air การจดั การเรยี นการสอนผ่านระบบโทรทัศน์ 2.1 ผู้ปกครองประสานงานกับครู เพ่ือเตรียมความพร้อมร่วมกันในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้แก่นักเรียน การดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน พร้อมทั้งติดต่อส่ือสาร กับครเู พื่อขอ คำแนะนำ ปรกึ ษาแนวทางการเรียนของนกั เรียน ตรวจสอบตาราง เรยี นสำหรบั การเรียนรู้ผ่านระบบ โทรทัศน์ของนักเรียน 2.2 ผู้ปกครองจัดเตรียมสถานท่ีและติดต่อประสานงานกับครูในการดำเนินการเพื่อ เตรียมการสำหรับการจัดการเรียนรู้ท่ีบ้าน เช่น อุปกรณ์ท่ีจำเป็นในการเรียนรู้ เอกสารประกอบ การเรียน จัดสภาพแวดล้อมของสถานที่ในการเรียนรู้ให้มีความเหมาะสม เพ่ือให้นักเรียนมีสามารถ เรยี นรไู้ ด้อย่างมีสมาธิ ปราศจากส่งิ รบกวน 2.3 ครูชี้แจงผู้ปกครองและนักเรียนเก่ยี วกับตารางเรียน และนัดหมายวันและเวลา ในการ รบั – ส่งใบงาน แฟ้มงานของนักเรียน และช่องทางในการจัดส่งเอกสาร ทั้งทางระบบออนไลน์ และ ช่องทางอื่น ๆ ตามท่ีนัดหมาย พร้อมท้ังสื่อสารกับผู้ปกครองเป็นระยะ เพื่อรายงานผลการเรียนของ นกั เรียนแตล่ ะรายวิชา 2.4 นักเรียนเตรียมศึกษาเอกสาร ใบงาน บทเรียนล่วงหน้า เพ่ือเตรียมความพร้อมของ ตนเองในการเรยี นรผู้ า่ นเรียนรู้ด้วยใบงานต่าง ๆ ที่ใซในประกอบกิจกรรมการเรยี นรู้ สำหรับนักเรยี น 3. รูปแบบ On – demand การจดั การเรียนการสอนผ่านส่อื อิเล็กทรอนิกส์ 3.1 ผู้ปกครองต้องเตรียมระบบอินเตอร์เน็ตและจัดอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ โน้ตบ๊คุ แทบ็ เล็ต สมาร์ทโฟน เป็นตน้ ใหม้ ีความพรอ้ ม ในการจัดการเรียนเสำ หรับนกั เรยี น ตามสภาพความพรอ้ มและบริบทของครอบครวั 3.2 นักเรียนและผู้ปกครองเตรียมอุปกรณ์สื่อสาร เช่น แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้น เพื่อให้เหมาะสมกับการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่าง ๆ และเพื่อใช้เป็น เคร่ืองมือในการ ตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั ครใู นระหวา่ งการเรยี นรู้ ทั้งนขี้ น้ึ อยู่กบั ความตอ้ งการ และบริบทของครอบครัว 3.3 นักเรียนและผู้ปกครองศึกษาข้ันตอน วิธีการจัดการเรียนการสอนผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ประเภทต่าง ๆ ตามที่โรงเรียนกำหนดไว้ในแนวทางการจัดการเรียนการสอนของ โรงเรียน และครูประจำแต่ละวิชา เช่ น การเรียน รู้ผ่าน เว็บไซต์ DLTV, DLIT, Youtube, Application, OBEC Content Center บนแท็บเลต็ หรอื สมาร์ทโฟน เป็นต้น 3.4 นักเรียนและผปู้ กครองเตรยี มสื่อ/ใบงาน อุปกรณ์ประกอบการเรียน เพื่อใหเ้ ปน็ การ เตรยี มความพรอ้ มในการเรียนกอ่ นเปดิ ภาคเรียน 4. รปู แบบ Online การจัดการเรียนการสอนแบบถ่ายทอดสด (LIVE) 4.1 นักเรียนและผู้ปกครองศึกษาขั้นตอน วิธีการในการเรียนการสอนออนไลน์ และ ช่องทางในการสือ่ สารกบั ครูประจำวชิ า เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มลว่ งหน้า 4.2 นักเรียนและผู้ปกครอง ศึกษาและสร้างความเข้าใจในการใช้ช่องทาง ตลอดจน กระบวนการในการเรยี นการสอนออนไลน์
68 4.3 นักเรียนและผู้ปกครองจัดเตรียมสถานท่ีเรียนสำหรับรูปแบบการเรียนการสอน ออนไลน์อย่างเหมาะสม เพื่อให้นักเรียนมีสมาธิในการเรียนรู้ ปราศจากสิ่งรบกวน พร้อมท้ังเตรียม ระบบอนิ เตอรเ์ น็ตและจัดอุปกรณท์ ี่จำเป็นต่อการเรียนรู้ เช่น โทรทัศน์ คอมพวิ เตอร์ โน้ตบุ๊ค แท็บเล็ต สมารท์ โฟน เปน็ ตน้ ใหม้ ีความพรอ้ มใน การจัดการเรียนรู้สำหรับนกั เรียนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.4 นักเรียนและผู้ปกครองเตรียมส่ือ/ใบงาน ที่ได้รับจากครูประจำวิชา เพื่อนำมาศึกษา ลว่ งหน้า (กรณที ีผ่ ูป้ กครองมีความพรอ้ มในการช่วยเหลอื นักเรียน) 4.5 นักเรียนเตรียมศึกษาเอกสาร ใบงาน บทเรียนล่วงหน้าเพื่อเตรียมความพร้อมของ ตนเองในการเรยี นออนไลน์ 4.6 ผู้ปกครองคอยดูแล กำกับ ติดตามการเรียนรู้ของนักเรียน และการส่งงานของ นักเรยี นตามท่ีครูมอบหมายใหใ้ ห้ตรงตามกำหนดนัดหมาย 4.7 ผู้ปกครองร่วมกับครูในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรยี น มกี ารกำหนดเครื่องมือ การจัดและประเมินผลทีส่ ร้างขึ้นตามบรบิ ทของนกั เรียนเป็นรายบุคคล 5. รปู แบบ Onhand การจดั การเรยี นการสอนด้วยการนำสง่ เอกสารทบี่ า้ น 5.1 ผู้ปกครองและนักเรียนให้ความร่วมมือในกิจกรรมการตรวจเย่ียมบ้านของครู ตามกำหนดนัดหมายและวิธีการท่ีหลากหลายตามความเหมาะสม ผู้ปกครองต้องวางแผนการเรียน ของนักเรียนรว่ มกบั ครู 5.2 ผู้ปกครองมีส่วนร่วมสนับสนุนการจัดประสบการณ์เรียนรู้สำหรับนักเรียนขณะอยู่ ท่ีบา้ น ตามศักยภาพและบรบิ ทของครอบครัว 5.3 นักเรียนและผู้ปกครองแจ้งแนวทางในการรับ-ส่งแฟ้มงานนักเรียน ตลอดจน สอ่ื สาร กับครูในการกำหนด วัน เวลา และสถานท่ีอย่างชัดเจน ในกรณีท่ีอยู่ในพื้นท่ี ท่ีไม่สามารถ รับ - ส่ง แฟม้ งานนักเรยี นไดต้ ามนดั หมาย อาจต้องใชร้ ะบบขนสง่ ทางไปรษณยี ์ หรอื ระบบขนสง่ ของเอกซน 5.4 นักเรียนต้องศึกษาเอกสารบทเรียนใบงาน ล่วงหน้าเพื่อเตรียมความพร้อม ในการ เรยี นท่ีบ้าน สำหรบั ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ระยะการจัดการจัดการเรยี นการสอน (ตัง้ แตว่ ันท่ี 14 มิถนุ ายน 2564 เปน็ ต้นไป) 1. รูปแบบ On - site : การจดั การเรียนการสอนแบบปกติทโ่ี รงเรียน (มาตรการ คบค.) 1.1 นักเรียนมาเรียนท่ีโรงเรียนตามรูปแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีโรงเรียนกำหนด 5 แบบ เช่น รูปแบบท่ี 1 แบ่ง 2 กลุ่มสลับมาเรียน เช้า-บ่าย รูปแบบท่ี 2 แบ่ง 2 กลุ่ม สลับมาเรียนวัน เว้นวัน เป็นต้น ขณะท่ีนักเรียนมาโรงเรียนให้ถือปฏิบัติตามมาตรการ ที่ ศบค.กำหนด (Social Distancing) อย่างเครง่ ครัด 1.2 นักเรียนและผู้ปกครองต้องปฏิบัติตนตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุขใน การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันเช้ือโรคสำหรับนักเรียนที่ต้องนำมาใช้ท่ีโรงเรียน การรักษา สุขลักษณะ อนามัยของตนเอง และปฏิบัติตามมาตรการ คบค. อย่างเคร่งครัด เซ่น สวมแมสตลอดเวลา ล้างมือ บอ่ ย ๆ เป็นต้น
69 1.3 ผู้ปกครองคอยกำกับ ติดตาม กำกับ ดูแลนักเรียนให้จัดทำเอกสาร ใบงานตามที่ครู มอบหหมาย และสง่ งานใหต้ รงตามกำหนดนดั หมาย 1.4 ผู้ปกครองรว่ มกับครใู นการประเมนิ ผลการเรียนเของนกั เรียน มีการกำหนดเคร่อื งมือ การวดั และประเมินผลทส่ี ร้างชน้ื ตามบริบทของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล 1.5 ผู้ปกครองร่วมมือกับครูผู้สอนหาแนวทางแกไขปัญหาการจัดการเรียนรู้สำหรับ นักเรยี นอย่างสมํา่ เสมอ 2. รูปแบบ On – air : การจดั การเรยี นการสอนผา่ นระบบโทรทัศน์ 2.1 ผู้ปกครองจัดสถานที่ในการเรียนรู้ท่ีบ้านให้มีความเหมาะสมในการเรียนรู้ เช่น จัด สถานที่ให้มีแสงสว่างท่ีเพียงพอ ไม่มากไปและไม่น้อยไป ไม่มีเสียงดังรบกวนและ ดูแลให้คำแนะนำ อย่างใกล้ชิดตลอดเวลาขณะทีน่ กั เรยี นกำลงั เรียนรใู้ นแตล่ ะรายวชิ า เป็นต้น 2.2 ผู้ปกครองต้องหาจัดอุปกรณ์ท่ีจำเป็นต่อการเรียนรู้ เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ้ค แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้นให้มีความพร้อมในการจัดการเรียนรู้ เป็นต้น และ ตรวจสอบ สภาพความพร้อมใชง้ านของอุปกรณ์น้ัน ๆ อย่งสม่ําเสมอ เพ่อื ใหส้ ามารถใชใ้ นการจัดการเรียนร้ใู ห้แก่ นักเรยี นได้อยา่ งต่อเน่อื ง 2.3 นักเรยี นไต้เรียนรดู้ ้วยรปู แบบ On - air ผ่านระบบโทรทศั น์ เช่น Ku-Band, เคเบิลทวี ี ระบบ ApplicationTV และระบบ IPTV เป็นตน้ 2.4 ผู้ปกครองต้องกำกับ ดูแลนักเรียนในขณะที่เรียนผ่านระบบโทรทัศน์ และคอย เสรมิ แรง ให้นกั เรยี นตง้ั ใจเรียนรู้ 2.5 นักเรยี นและผู้ปกครอง รับ-ส่งแฟ้มงานนกั เรียนทางระบบออนไลนแ์ ละสื่อสารกับครู ตามการนัดหมาย 2.6 ผปู้ กครองร่วมกับครใู นการประเมินผลการเรียนรู้ของนกั เรียน มกี ารกำหนดเครื่องมือ การวดั และประเมินผลทีส่ ร้างขึน้ ตามบรบิ ทของนักเรียนเป็นรายบุคคล 2.7 ผู้ปกครองร่วมมือกับครูหาแนวทางแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียน อยา่ งสมํ่าเสมอ 3. รปู แบบ On – demand : การจดั การเรียนการสอนผา่ นสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3.1 ผู้ปกครองจัดสถานท่ีในการเรียนรู้ท่ีบา้ นใหม้ ีความเหมาะสมต่อการเรยี นเของ นกั เรยี น เช่น จดั สถานท่ใี หม้ แี สงสวา่ งท่เี พยี งพอ ไม่มากไปและไมน่ ้อยไป ไมม่ เี สียงดังรบกวน และ ดูแลให้คำแนะนำอยา่ งใกล้ชิดตลอดการเรยี นรู้ในแต่ละรายวชิ า 3.2 ผู้ปกครองต้องเตรียมระบบอินเทอร์เน็ตและจัดอุปกรณ์ท่ีจำเป็นต่อการเรียนรู้ เช่น โทรทศั น์ คอมพวิ เตอร์ โน้ตบคุ๊ แทบ็ เล็ต สมารท์ โฟน เป็นตน้ ใหม้ คี วามพรอ้ มใน การจัดการเรยี นรู้ 3.3 ผู้ปกครองคอยดูแลและให้คำแนะนำนักเรียนอยา่ งใกล้ชิด ขณะที่นักเรียนกำลัง เรียนรู้ แบบ On - demand ผ่านระบบโทรทัศน์ เช่น Ku-Band เคเบิลทีวี ระบบ Application TV ระบบ IP7V และ Youtube เป็นต้น หรือให้คำแนะนำ ในกรณี รับชมย้อนหลัง โดยมีการประสานงานแจ้ง ตารางเวลาเรียนตามรายวชิ าที่มี การออกอากาศกบั ครแู ต่ละรายวชิ า 3.4 นักเรียนเข้าร่วมการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น การเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์ DLTV, DLIT, Youtube,, Application, OBEC Content Center บนแท็บเลต็ หรอื สมาร์ทโฟน
70 3.5 ผู้ปกครองคอยให้คำปรึกษา ชี้แนะนักเรยี นในการเรยี นรผู้ ่านสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ 3.6 ผู้ปกครองคอยกำกับติดตามในการทำเอกสาร ใบงาน และส่งแฟ้มงานนักเรียนตาม กำหนด 3.7 ผปู้ กครองสอ่ื สารกับครแู ละแจ้งผลการเรียนรขู้ องนักเรยี นเปน็ ระยะ 3.8 ผู้ปกครองรว่ มกับครูประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนกั เรียนท่ีเหมาะสมกับรูปแบบการจัดการ เรียนการสอน 3.9 ผูป้ กครองรว่ มมือกับครผู ู้สอนหาแนวทางแก้ไขปัญหาการจดั การเรียนรู้สำหรับ นักเรยี น อยา่ งสมํา่ เสมอ 4. รปู แบบ Online : การจดั การเรยี นการสอนแบบถา่ ยทอดสด (LIVE) 4.1 นักเรียนและผู้ปกครองตรวจสอบสภาพความพรอ้ มของสถานที่เรียนสำหรับรูปแบบการ เรียนการสอนออนไลน์อย่างเหมาะสม เพื่อให้นักเรียนมีสมาธิใน การเรียนรู้ ปราศจากสิ่งรบกวน พร้อมท้ังเตรียมระบบอินเทอร์เนต็ และจดั อุปกรณ์ ที่จำเปน็ ต่อการเรียนรู้ เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้น ให้มีความพร้อมในการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนก่อนการ เข้าเรียน ตารางเรยี นท่กี ำหนดไว้ 4.2 นักเรยี นเข้าร่วมช่องทางการส่ือสารกับครู โดยใช้เครื่องมือสนับสบุนการจัดการ เรียนรู้ ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์, Google Meet, Microsoft Teams, Zoom Meeting, AcuLearn, WebEx, Braincloud, VRoom, Line, Facebook เปน็ ต้น หรอื ช่องทางอืน่ ๆ ตามการนัดหมาย 4.3 นกั เรียนต้องรายงานตวั กับครูก่อนเริ่มการจดั การเรียนรู้ ผ่านช่องทางการสื่อสารตามการ นัดหมาย 4.4 ผู้ปกครองต้องกำกับดูแลนักเรียนในขณะท่ีครูจัดการเรียนการสอนผ่านช่องทาง ออนไลน์ตา่ ง ๆ 4.5 นักเรียนและผู้ปกครอง รับ-ส่งแฟ้มงานนักเรียนทางระบบออนไลน์ และสื่อสารกับครู ตามการนดั หมาย 4.6 ผปู้ กครองร่วมกบั ครผู ู้สอนประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของนกั เรียนท่ีเหมาะสมกับรปู แบบ การ จัดการเรยี นการสอน 4.7 ผปู้ กครองร่วมมือกับครูผูส้ อนหาแนวทางแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนร้สู ำหรับ นักเรียน อยา่ งสมํา่ เสมอ 5. รูปแบบ Onhand : การจัดการเรยี นการสอนดว้ ยการนา่ สง่ เอกสารทีบ่ า้ น 5.1 นกั เรียนและผปู้ กครอง รบั -สง่ แฟม้ งานนกั เรียนและสอื่ สารกับครตู ามทไี่ ด้นัดหมาย 5.2 ผู้ปกครองใหค้ ำปรกึ ษาแก่นกั เรียนการจัดทำเอกสาร ใบงาน ทคี่ รมู อบหมาย 5.3 ผู้ปกครองคอยกำกบั ตดิ ตามการสง่ แฟ้มงานของนักเรยี นใหต้ รงตามท่ีครูกำหนด 5.4 ผูป้ กครองรว่ มกบั ครปู ระเมินผลการเรยี นร้ขู องนักเรียนที่เหมาะสมกับรูปแบบ การเรียน การสอน 5.5 ผู้ปกครองร่วมมือกับครูหาแนวทางแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียน อยา่ งสมํา่ เสมอ 5.6 นักเรยี นและผู้ปกครองปฏิบัตติ นตามมาตรการของ ศคบ.อยา่ งเครง่ ครดั
71 4. แนวคดิ เก่ียวกับการการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น เพ่อื พัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี น ความหมายของระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน อภินันทนา แสนทวี (2551) ให้ความหมายว่า ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน หมายถึง การดำเนินการให้ความช่วยเหลือนกั เรียนอย่างมรี ะบบตามข้นั ตอนและใช้เครื่องมือ โดยครูมีหนา้ ที่ใน การดำเนนิ การและประสานความรว่ มมือกับ นกั เรยี น ผู้ปกครอง ชมุ ชน และองค์กรตา่ งๆเพอื่ ป้องกัน แกไ้ ข และพัฒนาการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น เพื่อใหผ้ เู้ รยี นสามารถดำเนินชีวิตอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งสนั ติสุข นฤบล กองทรัพย์ (2556) ได้กล่าววา่ ระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น หมายถึง การดำเนิน กิจกรรมในการให้ความช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีระบบตามขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือในการคัดกรอง ผู้เรียนที่จะให้ความช่วยเหลือ หรือส่งเสริมพัฒนาการในด้านต่างๆ เพ่ือให้ผู้เรียนมีพัฒนาการในการ เรียนร้ทู ีด่ ีและสามารถดำเนินชีวติ อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ กรมสามญั ศกึ ษา (2544) ได้ให้ความหมายไว้ ดังนี้ มีข้ันตอน พร้อมท้ังมีวิธีการ และเครื่องมือ ที่มีมาตรฐาน มีคุณ ภาพ และมีหลักฐานการทำงาน ที่ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างตรวงสอบได้โดยมีครูประจำชั้น ครูที่ปรึกมา เป็นบุคลากรหลกั ในการดำเนนิ การดังกล่าว และมีการประสานความร่วมมืออยา่ งใกล้ชดิ กบั ผู้เกย่ี วข้อง หรอื บุคคลภายนอก รวมทงั้ การสนบั สนุนสง่ เสริมจากโรงเรียนการดูแลช่วยเหลือ หมายถึง การส่งเสริม การปอ้ งกัน และการช่วยเหลอื แก้ไขปัญหา โดยวิธกี าร และเคร่อื งมอื สำหรับครูท่ปี รึกษา และบคุ ลากร ที่เกีย่ วข้อง เพื่อใชใ้ นการดำเนินงานพฒั นานกั เรียนใหเ้ ปน็ คนดี คนเก่ง ปลอดภยั จากสารเสพตดิ และมี ความสุขในการดำรงชีวติ ในสังคมกระบวนการดำเนนิ งานระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น จุติกรณ์ นิสสัย (2558) กล่าวว่า ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน หมายถึง การดำเนินงาน ดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีองค์ประกอบ มีการประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแล ช่วยเหลอื นักเรยี น เพื่อดำเนินงานพัฒนาและการแกไ้ ขปัญหานักเรยี น กู๊ด (Good) ได้ให้ความหมายของการแนะแนวว่า การแนะแนวหมายถึงกระบวนการ ช่วยเหลือใหแ้ ตล่ ะบคุ คล เข้าใจตนเองและโลกเกี่ยวกบั ตนเองไดด้ ี สรุปได้ว่า ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน หมายถึง การดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นวิธีการ ดำเนนิ งานท่ีมีขน้ั ตอนท่ีชัดเจน มีเครื่องมือและหลกั ฐานที่สามารถตรวจสอบได้ โดยมีครแู ละบุคลากร ที่เกี่ยวข้องดำเนินการเพอื่ แก้ไขปญั หาใหแ้ กผ่ ู้เรยี น ความสำคัญของระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น เตรียมศักดิ อินอุเทน (2551) กล่าวถึงความจําเป็นของระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนไว้ว่า ในการปฏิรูปวิชาชพี ครู ซึงเป็นการพัฒนาครูให้เป็นบุคคลท่ีมคี วามรู้ ความสามารถ มีคุณลักษณะท่ีได้ คุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพตามการประกันคุณภาพการศึกษาดา้ นปัจจัย คือ ครู ทีร่ ะบใุ นมาตรฐาน ที 2 ครูมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์โดยมีตวั ช้ีวดั ที่สำคัญและเก่ียวข้องกับบทบาท หนา้ ที่ของครูในการพัฒนานกั เรียน คือ การมคี วามรัก เอ้อื อาทร เอาใจใส่ ดูแล ผเู้ รยี นอย่างสมำ่ เสมอ การมีมนุษยสมั พันธ์และสุขภาพจิตท่ีดี พรอ้ มท่ีจะแนะนําและร่วมกันแก้ปัญหา ของผู้เรยี น แสดงให้ เหน็ ว่าครตู อ้ งพัฒนาตนเองให้เป็นครูมืออาชีพ คือ นอกจากจะทำหน้าที่ครูผมู้ ีความรู้ ความสามารถใน การจัดการเรยี นการสอนให้แกน่ ักเรียนแลว้ ยังต้องทำหน้าท่ีอื่น ๆ ท่ีเป็นการสนับสนนุ หรือพัฒนาให้
72 นักเรียนมีคุณภาพ ท้ังดี เก่ง มีสขุ ซ่ึงสอดคล้องกับมาตรฐานด้านผลผลิต คอื นักเรียน ในการประกัน คุณภาพการศึกษา มาตรฐานท่ี 4 ท่ีมงุ่ ให้นกั เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม 15 และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มาตรฐานท่ี 5 มีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา มาตรฐานท่ี 6 รู้จักตนเอง พงึ่ ตนเองได้ และมีบคุ ลกิ ทีด่ ี มาตรฐานท่ี 7 มีสขุ นิสัยสุขภาพกายและ สขุ ภาพจติ ที่ดี ปลอดจากสิ่งเสพ ตดิ ให้โทษ ซ่ึงการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนจะเป็นปจั จัยสำคัญ ประการหนึ่งท่ีช่วยใหน้ ักเรียนมีคุณภาพ ตามมาตรฐานดงั กลา่ วได้ โดยผ่านกระบวนการของการ ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1 ท่ใี ห้ โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ มาตรฐานท่ี 4 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มาตรฐานท่ี 7 ส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่าง โรงเรียน ผูป้ กครอง ชุมชน องคก์ รภาครัฐและเอกชน ในการจดั และพฒั นาการศึกษา ดงั นั่น ระบบการ ดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนจงึ เป็นระบบที่สามารถดำเนินการเพื่อรับการประกันคุณภาพได้ ซึ่งครอบคลุม ท้งั ด้านปัจจยั ด้านผลผลติ และดา้ นกระบวนการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2552) ได้ให้แนวความคิด เกี่ยวกับ ความสำคัญและความจําเป็นของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนไว้ว่า เด็กและเยาวชนยังมีพฤติกรรม เส่ียงต่อการเกิดปัญหาสังคม เชน่ ติดการพนัน นิยมเสี่ยงโชค การมัวสุมในหอพัก ไม่ชอบไปโรงเรียน หนเี รียน ทำร้ายรังแกกันเอง หมกมุ่นกับสื่อท่ีไมส่ รา้ งสรรค์ นิยมบริโภคอาหาร กรุบกรอบ อาหารที่ไม่ เป็นผลดตี ่อสุขภาพ เครียด ซมึ เศร้า มองโลกในแง่ร้าย ไม่สนใจต่อปญั หา สงั คม อย่างไรก็ตามสาเหตุที่ ทำใหเ้ ดก็ และเยาวชนมพี ฤติกรรมทีไ่ มเ่ หมาะสม เป็นผลมาจาก ปัจจยั เส่ยี งต่าง ๆ ดังนี้ 1. ปัจจัยเสี่ยงต่อสภาพครอบครัว สภาพครอบครัวเป็นสภาพที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพและ พฤติกรรมของเด็กและเยาวชน พฤติกรรมเป็นปัญหาเด็กและเยาวชนเป็นผลมาจากการเลี้ยงดูด้วย วิธีการที่ไม่เหมาะสม ส่งเสริมให้ แสดงออกในทางที่ไม่ถูกต้อง ปล่อยปละละเลย เรียนรู้การใช้ความ รุนแรงจากสมาชิกในครอบครวั ครอบครัวแตกแยก ผู้ปกครองบีบบงั คับ กดดัน และคาดหวงั ในตวั เด็ก เกินกว่าความเป็นจริง ไม่มีบรรยากาศท่ีสรา้ งความรัก ความอบอุ่น ความสมัครสมาน สามัคคี เติบโต ในท่ามกลาง ความสับสน ไม่คาดหวัง ขาดการอบรมบม่ นิสยั และไม่มจี ดุ หมายปลายทางในชีวติ 2. ปจั จัยเสยี่ งจากโรงเรียน โรงเรียนเปน็ บา้ นหลังท่ีสองของเด็ก เป็นบ่อเกิดของคุณงามความ ดี โดยเฉพาะการพัฒนา ศกั ยภาพ ความรู้ ความสามารถของเด็กและเยาวชนให้เปน็ ทรัพยากรมนษุ ยท์ ่ี มีคุณค่าของสังคม แต่โรงเรียนจำนวนไม่น้อยยังขาดความพร้อมท่ีจะทำให้เด็กและเยาวชนเป็นคนท่ี สมบูรณ์ตาม ความมุ่งหวังของสังคมจากการติดตามพบว่า โรงเรียนขาดการดูแล เอาใจใส่นักเรียน อย่างจริงจัง ขาดการจัดการที่เหมาะสมต่อการพิทักษ์ ปกป้อง คุ้มครอง และให้การดูแลช่วยเหลือ นกั เรียนได้ อย่างเทา่ ทนั ท่ัวถงึ ถกู ต้องและเป็นธรรม จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยไมค่ ํานงึ ความแตกตา่ ง ระหว่าง บุคคล ให้ความสำคัญกฎระเบียบมากกว่าชีวิตของนักเรียน พัฒนาผู้เรียนโดยไม่คำนึงถึงองค์ รวม ตลอดถึงการจัดการกับปัญหาของนักเรียนโดยขาดการมีส่วนร่วมและยังเลือกใช้ความรุนแรงใน การ แกไ้ ขพฤติกรรมนักเรยี น 3. ปัจจัยเสี่ยงจากชุมชนและสังคม ความล้มเหลวในชีวิตเด็กและเยาวชน เป็นความสูญเสีย ทางเศรษฐกิจ และต้นทุนทาง ความรู้สกึ ของผู้ปกครองอย่างประเมินค่าไม่ได้ สังคมไทยยงั ละเลยต่อ การจัดระเบียบแบบแผนในชุมชน ชุมชนอ่อนแอขาดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกในสังคมต่างคน ต่างอยู่ เอาหูไปนา เอาตาไปไร่ ปลอ่ ยให้มีการแสวงหาผลประโยชน์จากเด็กและเยาวชน ยอมรับการ
73 เติบโตและขยายตัว ทางเศรษฐกิจท่ีไม่สร้างสรรค์ ละเลยต่อปัญหาของเด็กและเยาวชน ไม่ให้ ความสำคัญต่อท่าท่ีของเด็กและเยาวชน มองเด็กและเยาวชนท่ีประสบปัญหาด้วยทัศนะและท่าทีท่ี ตอกย้ำซ้ำเติม 4. ปัจจัยเส่ียงจากเพื่อน เพื่อนเป็นปัจจัยท่ีสำคญั ตอ่ ชวี ิตเด็กและเยาวชน เป็นธรรมชาติที่เด็ก และเยาวชนทุกคน ต้องมีแต่เพื่อนก็เป็นดาบสองคมท่ีอาจทำให้เด็กและเยาวชนจำนวนไม่น้อยก้าว พลาด เชน่ เพ่ือนที่มีนิสัยเกเรเป็นอันธพาล เสเพล สำมะเลเทเมา การคบเพื่อนทม่ี ีพฤติกรรมโน้มเอียง ไปในทางก้าวร้าว เสยี งภัย มวั สมุ เบี่ยงเบน หรอื การได้รบั แรงบีบคนั กดดนั ขม่ ขู่ หรือการไมไ่ ด้รบั การ ยอมรบั จาก กลมุ่ เพอ่ื น ซ่ึงสภาพการดังกล่าวลว้ นส่งผลต่อพฤติกรรมของเดก็ และเยาวชนทังส้ิน 5. ปจั จัยเส่ียงต่อบุคลกิ ภาพหรือตัวนักเรียน เด็กและเยาวชนแต่ละคนมีภาวะดา้ นพัฒนาการ แตกต่างกัน มีบุคลิกภาพภายในและ ภายนอกตามสภาพความเป็นตัวตนที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น มี ขอ้ จํากัดเก่ียวกับพัฒนาการทางสมอง และการรับรู้ มีความตระหนักในคุณค่าความสำคัญของตนเอง ขาดทักษะในการคิด บกพร่อง ทางการเรียนรู้ ปฏิเสธค่านิยมหรือหลักศาสนาที่คนส่วนใหญน่ ับถือ ไม่ มีทักษะในการสื่อสาร ปฏิเสธไม่เป็น ควบคุมอารมณ์และความเครียดไม่ได้ รวมทั้งการมีปัญหา ทางด้านสุขภาพกายและสุขภาพจติ สรุปได้ว่า ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีความสำคัญ คือ ช่วยส่งเสริม แนะนำ แก้ไข ปัญหาต่างๆให้กับนักเรียน และพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และวิถีชีวิตท่ีเป็นสุขตามท่ีสังคมมุ่งหวัง โดยผ่าน กระบวนการทางการศึกษานอกจากจะดำเนินการด้วยการส่งเสริม สนับสนุนนักเรียนแล้ว การ ป้องกันและการช่วยเหลอื ปัญหาต่างๆท่ีเกิดขึ้นกับนักเรียนกเ็ ป็นส่งิ สำคญั ประการหน่ึงของการพัฒนา เนอ่ื งจากสภาพสงั คมท่ีเปล่ียนแปลงไปอยา่ งมากทั้งดา้ นการสื่อสารและเทคโนโลยตี ่างๆ วตั ถุประสงคข์ องระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน กรมสามัญศกึ ษา ไดก้ ำหนดวัตถปุ ระสงคข์ องระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนไว้ดงั น้ี 1. เพ่ือให้การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นของโรงเรียน ได้ดำเนินการเป็นไป อยา่ งมรี ะบบและมีประสทิ ธภิ าพ 2. เพื่อให้โรงเรียน ผู้ปกครอง หน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือชุมชน ได้มีการดำเนินงานร่วมกัน โดยผ่านกระบวนการทำงานที่เป็นระบบอย่างชัดเจน พร้อมด้วยเอกสาร หลักฐานการปฏิบัติงาน สามารถตรวจสอบได้หรือเพ่ือรบั การประเมนิ ได้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของระบบการดูแล ชว่ ยเหลือนักเรยี น ไว้ดังนี้ 1. เพ่อื ใหโ้ รงเรียนมรี ะบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนโดยมกี ระบวนการวชิ าการและเครื่องมือ ทม่ี ีคุณภาพ และมีมาตรฐาน สามารถตรวจสอบได้ 2. เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ครปู ระจำช้นั /ครทู ่ีปรกึ ยา บุคลากรในโรงเรยี น ผูป้ กครอง ชุมชนหน่วยงาน และองค์กรภายนอกมสี ว่ นร่ามในการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น 3. เพ่ือให้นักเรียน ได้รับการดูแลช่วยเหลือและส่งเสริมพัฒนาเต็มตามศักยภาพ เป็นคนที่ สมบูรณท์ ้ังด้านรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา
74 กระบวนการของระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน กรมสามญั ศึกมา (2544) กำหนดรายละเอียดองค์ประกอบในระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนไว้ ดงั น้ี กระบวนการคำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีองค์ประกอบสำคัญ 5 ประการ แต่ละองคป์ ระกอบของระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนดังกล่าว มีความสำคัญมวี ธิ ีการ และเคร่ืองมือ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป ดังนี้ 1. การรู้จักนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล 2. การคดั กรองนกั เรียน 3. การส่งเสรมิ นกั เรียน 4. การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา 5. การส่งต่อนกั เรยี น การร้จู ักนักเรียนเปน็ รายบคุ คล ด้วยความแตกตา่ งของนกั เรียนแตล่ ะคน ที่มพี ้ืนฐานความเป็นมาของชีวติ ท่ีไม่เหมือนกันหล่อ หลอมให้เกดิ พฤติกรรมหลากหลายรูปแบบ ทั้งดา้ นบวก และดา้ นลบ ดังนั้นการรู้ข้อมูลที่เป็นเก่ียวกับ ตัวนักเรียน จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้ครทู ี่ปรึกมามีความเข้าใจนกั เรียนมากข้ึนสามารถนำขอ้ มูลมา วเิ คราะห์เพื่อการคัดกรองนักเรียน เป็นประ โยชนใ์ นการส่งเสรมิ ป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียนได้ อย่างถกู ทาง ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ มิใช่การใช้ความรู้สึก หรอื การดาดเดา โดยเฉพาะในการแกไ้ ข ปัญหานักเรียน ซึ่งจะทำให้ไม่เกิดข้อผิดพลาด ต่อการช่วยเหลือนักเรียน หรือเกิดได้น้อยที่สุด ครูท่ี ปรึกษาควรมีข้อมูลเกยี่ วกบั นกั เรยี นอยา่ งน้อย 6 ดา้ นใหญๆ่ คือ (กรมสุขภาพจิต. 2547) 1. ด้านความสามารถ แยกเปน็ 1.1 ด้านการเรียน 1.2 ด้านความสามารถอ่ืนๆ 2. ด้านสขุ ภาพ แยกเป็น 2.1 ด้านร่างกาย 2.2 ด้านจติ ใจ 3. ด้านพฤตกิ รรม 4. ด้านครอบครัว แยกเป็น 4.1 ดา้ นเศรษฐกิจ 4.2 ดา้ นการค้มุ ครองนกั เรียน 4.3 ด้านการเลย้ี งดู 5. ดา้ นสังคม 6. ด้านอนื่ ๆ ทีค่ รพู บเพิ่มเตมิ ซึ่งมคี วามสำคัญหรือเกย่ี วขอ้ งกบั การดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน
75 ข้อมลู พนื้ ฐานของนกั เรียนที่ครูท่ปี รึกษาควรทราบ ตาราง 1 ขอ้ มลู นักเรียน รายละเอยี ดขอ้ มลู พน้ื ฐานท่ีควรทราบ ขอ้ มูลนักเรียน รายละเอยี ดข้อมูลพ้ืนฐานที่ควรทราบ 1. ดา้ นความสามารถ - ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นในแตล่ ะวิชา 1.1 ด้านการเรยี น - ผลการเรยี นเฉลยี่ ในแต่ละภาคเรียน - พฤติกรรมการเรยี นในห้องเรียนทม่ี ผี ลตอ่ 1.2 ดา้ นความสามารถอ่ืน ๆ การเรยี นรู้ของนกั เรยี น เชน่ ไมต่ ้ังใจเรียน ขาดเรียน - เชาวนป์ ญั ญา 2. ด้านสขุ ภาพ - ทกั ษะการสอื่ สาร 2.1 ดา้ นรา่ งกาย - บทบาทหน้าท่พี เิ ศษในโรงเรียน - ความสามารถพิเศษ 2.2 ด้านจิตใจ - การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทั้งในโรงเรียน และนอก โรงเรียน - ส่วนสงู นำ้ หนกั - โรคประจำตวั ความบกพรอ่ งทางร่างกาย เชน่ การไดย้ นิ การมองเห็น - การทำงานของกลา้ มเนอื้ เล็ก กล้ามเนื้อใหญ่ - การใชม้ อื - การทรงตวั - การเคลอื่ นไหว - การเปลีย่ นแปลงเกี่ยวกับเพศ - อารมณ์ซึมเศรา้ วิตกกงั วล - การควบคมุ ตนเอง - การยอมรบั ในเหตแุ ละผล - ความเมตตากรณุ า - ทักษะในการระบายความเครียด - ความรา่ เริงแจม่ ใส - ความม่ันคงทางจิตใจ ไม่อ่อนไหว หรอื กลัวเกินไป - ความมสี มาธิ - ความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ - ความมีจติ นาการ
76 ข้อมลู นกั เรยี น รายละเอยี ดขอ้ มลู พื้นฐานท่ีควรทราบ 3. ด้านพฤติกรรม - ความประพฤติ 4. ด้านครอบครัว - ความเฉ่อื ยชา 4.1 ดา้ นเศรษฐกิจ 4.2 ด้านการคุ้มครองนักเรยี น - ความกา้ วร้าว 4.3 ด้านการเลย้ี งดู - การเก็บตวั - การชอบรงั แกผอู้ นื่ 5. ด้านสงั คม - ความอิจฉารษิ ยา - การโกหก - การขโมย - การหนีโรงเรียน - การหนอี อกจากบา้ น - การใช้จา่ ยเกินตัว - การใชส้ ารเสพตดิ - ความประพฤติตนไม่เหมาะสมในเร่อื งเพศ - รายไดค้ รอบครัว - อาชีพของบิดา มารคา ผ้ปู กครอง - คา่ ใชจ้ ่ายในการมาโรงเรียนของนกั เรยี น - จำนวนพ่ีนอ้ ง/บุคคลในครอบครวั - สถานภาพของบิดา มารคา ผูป้ กครอง - ลกั ษณะทีผ่ ูอ้ าศัย และส่ิงแวดลอ้ ม - การใชส้ ารเสพติด การตดิ สุรา การพนนั - บุคคลท่ดี ูแลรบั ผิดชอบนักเรยี น - ความสมั พนั ธ์ของบุคคลในครอบครวั - การสอื่ สารระหวา่ งนกั เรียนกบั คนในครอบครัว - ความรับผิดชอบตอ่ หน้าทขี่ องนกั เรยี น - ทักษะในการจดั การปัญหากบั ผ้อู ่ืน - ทกั ษะในการสื่อสาร - การปรับตวั เข้ากบั กลุม่ - การกลา้ แสดงออก การมสี ่วนร่วมกบั กลมุ่ - ความรับผิดชอบต่อตนเอง ผูอ้ ่ืน และสงั คม - ความมรี ะเบยี บวินัย - ความเป็นผ้นู ำ - การปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑแ์ ละเคารพสทิ ธขิ องผู้อ่นื - การคบเพื่อนตา่ งเพศ ที่มา (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2546 : 39)
77 บทบาทและหนา้ ที่ของหน่วยงานและบุคลากรท่มี ีส่วนรว่ ม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2552) กำหนดบทบาทหน้าที่ของ ผมู้ ีสว่ นเกยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายจะตอ้ งศึกษาบทบาทหนา้ ท่ีตามกรอบการทำงานใหช้ ดั เจน ดงั น้ี 1. สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มบี ทบาทหน้าท่ี ดงั น้ี 1.1 กำหนดนโยบายและหน่วยงานทรี่ บั ผดิ ชอบในสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พื้นฐาน ดา้ นการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น 1.2 ประสานงานกับหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งเปน็ เครอื ขา่ ยการดำเนนิ งานดแู ลช่วยเหลือ นกั เรยี น 1.3 ส่งเสริมและสนับสนนุ ให้สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเกิดการพฒั นาองคค์ วามรู้ สู่การปฏบิ ตั ดิ า้ นการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน 1.4 สนบั สนุนช่วยเหลือใหส้ ำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาสามารถดำเนนิ งาน การดูแล ช่วยเหลอื นกั เรียนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 1.5 ส่งเสริมให้สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามีระบบตดิ ตาม ประเมินผลและรายงาน ความกา้ วหนา้ อยา่ งต่อเนอ่ื ง 2. สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามีบทบาทหนา้ ท่ี ดังนี้ 2.1 นำนโยบายการชว่ ยเหลือนักเรียนสูก่ ารปฏบิ ัติในสถานศึกษา ส่งเสริมสนับสนุน ให้สถาน ศึกษาเกิดการ พัฒ น าองค์ความรู้และ ความสามาร ถใน การปฏิบัติ ด้าน การดูแลช่วยเห ลือ นกั เรยี น 2.2 สนับสนุน ช่วยเหลือให้สถานศึกษาสามารถดำเนินงานการดูแลช่วยเหถือ นักเรยี นไดอ้ ยา่ งเป็นระบบและมีประสทิ ธิภาพ 2.3 ประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อร่วมมือกันดำเนินงานการดูแล ชว่ ยเหลือนักเรียน 2.4 ตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงานระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นของสถานศกึ ษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา มีบทบาทหนา้ ท่ี ดงั นี้ 2.4.1 บริหารจัดการให้มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา ใหช้ ดั เจนและมปี ระสทิ ธิภาพ 2.4.2 ประสานงานระหว่างสถานศึกษากับหน่วยงานและบุคคลภายนอก เช่น ผูป้ กครองเครอื ขา่ ยผปู้ กครอง องค์กรต่าง ๆ สาธารณสุข โรงพยาบาล สถานีตำรวจ 2.4.3 ดแู ล กำกบั นเิ ทศตดิ ตามประเมนิ ผลสนบั สนนุ และใหข้ วญั กำลงั ใจ 3. ครูประจำช้นั หรือครูที่ปรกึ ยา มีบทบาทหนา้ ที่ ดงั น้ี 3.1 รูจ้ กั นกั เรียนเปน็ รายบคุ คล 3.2 คดั กรอง จำแนกนกั เรียน 3.3 จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพ่อื สง่ เสริมและพัฒนา 3.4 จดั กจิ กรรมป้องกนั แก้ไข ชว่ ยเหลือ สง่ ต่อ 3.5 รายงานผล 4. ครแู นะแนว มบี ทบาทหนา้ ท่ี ดงั น้ี
78 4.1 สนบั สนุนครปู ระจำชน้ั หรือครทู ี่ปรกึ ษาในการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน 4.2 จดั กิจกรรมส่งเสริมและพฒั นา 4.3 จัดกิจกรรมป้องกนั แก้ไข ช่วยเหลือนักเรียน 4.4 ส่งต่อนักเรียน 5. หวั หนา้ ระดับชนั้ มบี ทบาทหนา้ ที่ อังน้ี 5.1 ติดตาม กำกับ การดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนของครูประจำช้นั /ครูท่ปี รึกษา 5.2 ประสานงานกับผเู้ กย่ี วขอ้ งในการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน 6. นักเรียน มีบทบาทหน้าที่ ให้ความร่วมมือกับคณะกรรมการนักเรียน ปฏิบัติตนเป็น แบบอยา่ งที่ดี เขา้ ร่วมกจิ กรรมของสถานศกึ ษา 7. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีบทบาทหน้าที่ ให้การสนับสนุนให้คำปรึกษา เสนอแนะแนวทางในการส่งเสริม พัฒนา และแกไ้ ขนักเรียน อำนวยความสะดวกในการประสานงาน เมื่อสถานศกึ ษาต้องการความช่วยเหลือ 8. ผู้ปกครองหรอื เครือข่ายผปู้ กครอง มบี ทบาทหนา้ ที่ ดงั นี้ 8.1 อบรม ดูแลและเป็นแบบอย่างท่ีดีในการดำรงชีวิตครอบครัว มีความรัก ความ เข้าใจและให้ความอบอุน่ 8.2 สนับสนนุ ให้ความรว่ มมอื วางแผนร่วมกับสถานศึกษาในการแลกเปลยี่ นข้อมูลที่ เป็นประโยชนต์ อ่ การส่งเสรมิ และพัฒนา ปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหานกั เรยี น 8.3 เป็นทป่ี รึกษาหรอื แนะแนวทางการดำเนนิ ชีวิตที่ดแี ก่นกั เรียน 9. ชุมชน มีบทบาทและหน้าที่ สนับสนุนการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน หน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น กรมสุขภาพจิต ศูนย์อนามัย สาธารณสุขอำเภอ และสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล กระทรวงแรงงานและสวัสดิการทางสังคม สอื่ มวลชนและอ่นื ๆ มีความสามารถในการให้ การสนับสนนุ และให้ความร่วมมอื ดังนี้ 9.1 ใหค้ ำปรึกษาแนะนำ เก่ียวกับพฤตกิ รรมและพัฒนาการของเดก็ วัยต่าง ๆ 9.2 สอดส่องดูแล ให้ความช่วยเหลือเด็กและเยาวชนทั้งด้านความปลอดภัยและ การแก้ปญั หาพฤติกรรม 9.3 ร่วมมือกับสถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมนักเรียนให้ได้รับการพัฒนาตาม ศกั ยภาพของแต่และบุคคล 9.4 เป็นแหล่งการเรียนรู้และฝึกงาน และเพ่ิมพูนประสบการณ์แก่นักเรียนตาม ความร้คู วามสามารถ ความสนใจ และความถนัด 9.5 ติดตามผล สะท้อนปัญ หา และแสดงความคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ต่อ การดำเนินการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน 9.6 ใหค้ วามรว่ มมือและแลกเปล่ียนเรียนรู้ เผยแพรข่ ้อมูล ขา่ วสาร สารสนเทศทเี่ ป็น ประโยชน์และน่าสนใจ 9.7 ให้การสนบั สนนุ และเปน็ เครอื ขา่ ยในการพัฒนาและการขยายผลการดำเนินงาน ดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่ อเน่ื องก ระบวน การดำเนิ นงาน ตาม ระบบดูแลช่ วยเหลือ นักเรีย น กระบวนการบรหิ ารระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนทส่ี อดคล้องกบั นโยบายของสำนกั งาน
79 5. งานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้อง งานวิจยั ในประเทศ วชิระ พลพิทักษ์ (2563) ทำการวิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือพัฒนาการจัดการศึกษา ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาสภาพการจัดการศึกษา และแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษา 2) จัดทำข้อเสนอ เชิงนโยบาย และ 3) ตรวจสอบ และประเมินข้อเสนอเชิงนโยบาย ดำเนินการ 3 ระยะ คือ ระยะท่ี1 การศึกษาสภาพการจัดการศกึ ษา และแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะท่ี 2 การจัดทำร่าง ข้อเสนอเชิงนโยบาย โดยการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร ระยะท่ี 3 การตรวจสอบและประเมินข้อเสนอเชิง นโยบายโดยการตรวจสอบ ยืนยันโดยผู้เช่ียวชาญ และการประชาพิจารณ์ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการวิจยั พบว่า 1) สภาพการจดั การศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง และแนวทางการพัฒนาอยู่ในระดับ มาก 2) ข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่อื การพัฒนาการจัดกรศึกษา ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวดั นครพนม มี 6 กลยุทธ์ คือ 1)ด้านการจดั การศึกษาเพอื่ ความม่ันคงของสังคม และประเทศชาติ มี 3 เป้าหมาย 10 แนวทางการพัฒนา 2) ด้านการผลติ และพฒั นากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพ่ือสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ มี 3 เป้าหมาย 11 แนวทางการ พัฒนา 3) พัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มี 4 เป้าหมาย 14 แนว ทางการพัฒนา 4) ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา มี 3 เป้าหมาย 10 แนวทางการพัฒนา 5) ด้านการจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสรมิ คุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิจรกับ สิ่งแวดล้อม มี 3 เป้าหมาย 10 แนวทางการพัฒนา 6) ด้านการพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ าร จัดการศึกษา มี 4 เป้าหมาย 8 แนวทางการพัฒนา 3) ผลการตรวจสอบ และประเมินข้อเสนอเชิง นโยบาย ด้านความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความสอดคล้อง และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับ มากท่สี ดุ ทุกดา้ น ชรนิ รตั น์ จิตสโุ ภ (2561) ได้ทำการวิจัยข้อเสนอเชงิ นโยบายการบริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก ส่คู วามเปน็ เลิศ สังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ 1) ศึกษาสภาพ ปัจจุบัน และปัญหาการบริหารสถานศึกษา แนวทางการส่งเสรมิ ความเป็นเลิศของสถานศึกษาขนาด เล็กสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา 2) เพ่ือพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหาร สถานศึกษา สู่ความเป็นเลิศของสถานศกึ ษาขนาดเล็ก สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา 3) เพ่ือตรวจสอบข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารสถานศึกษา สู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษาขนาด เลก็ สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา โดยใช้ระเบียบการวิจัยแบบผสม การเก็บข้อมูลใช้ วิธีการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ และศึกษาสถานศึกษาพหุกรณีศึกษา 2 แห่ง และตรวจสอบ ข้อเสนอโดยใช้แบบสอบถามสำหรับผบู้ ริหารสถานศกึ ษาขนาดเลก็ จำนวน 320 คน ผลการวิจยั พบว่า 1) สภาพปัญหาด้านโครงสร้างมีบุคลากรไม่เพียงพอ ด้านเทคโนโลยีขาดอุปกรณ์ส่งเสริมด้าน คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์มีประสิทธิภาพต่ำ ด้านวัฒนธรรมขาดการมีส่วนร่วม ด้านงาน กระบวนการพัฒนาหลักสูตรยังเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมน้อย ขาดแคลนงบประมาณ ผู้บริหาร และครูย้ายบ่อย สวัสดิการต่าง ๆ มีน้อย แนวทางในการสง่ เสริมความเป็นเลิศคอื ส่งเสริมการทำงาน เป็นทีม บริหารงานแบบมีส่วนร่วม ส่งเสริมผู้เรยี นด้านทักษะชีวิต มีระบบดูแลนักเรยี นท่ีเข้มแข็ง ใช้
80 หลักเศรษฐกิจพอเพียง 2) การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายได้องค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ คือ 1)วัตถุประสงค์นโยบาย 2) แนวทางนโยบายจำแนกเป็น 4 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างมี 7 แนวทาง ด้านเทคโนโลยี มี 4 แนวทาง ดา้ นวัฒนธรรม 4 แนวทาง ดา้ นงาน 24 แนวทาง แยกเป็นงานวชิ าการ 9 แนวทาง งานงบประมาณ 7 แนวทาง งานบคุ คล 7 แนวทาง งานงบประมาณ 4 แนวทาง งานทัว่ ไป 4 แนวทาง 3) การนำไปปฏิบัติ ได้มีวิธีการนำนโยบายไปปฏิบัติดังน้ี ด้านโครงสร้าง 3 วิธีการ ด้านเทคโนโลยี 3 วธิ ีการ ด้านวัฒนธรรม 3 วธิ ีการ ด้านงาน 18 วธิ กี าร แยกเป็นงานวิชาการ 7 วธิ ีการ งานงบประมาณ 4 วิธีการ งานบุคคล 2 วิธีการ งานทั่วไป 5 วิธีการ ผลการตรวจสอบข้อเสนอเชิง นโยบายตามเกณฑ์อย่ใู นระดับมาก อุษณี ไชยวงษ์ (2561) ได้ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษา โรงเรียนศูนย์ปฐมวัยต้นแบบ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 มีวัตถุประ สงค์เพื่อประเมินก ารดำเนินงาน พัฒ นาและตรวจสอบข้อ เสน อแนะเชิงนโยบายการจัด การศึกษาปฐมวัย ตามมิติของการประเมิน CIPPIEST ตามเกณฑ์ความเหมาะสม และเป็นไปได้ กลมุ่ ตัวอยา่ งเลือกแบบเจาะจง กลุ่มท่ี 1 จำนวน 45 คน ประกอบด้วยผู้อำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ท่ี ศกึ ษานิเทศก์ ผู้อำนวยการโรงเรียน และครูผู้สอนระดับปฐมวัย กลุ่มท่ี 2 ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 297 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบบันทึกประเด็น ข้อเสนอเชิงนโยบาย การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะหเ์ น้ือหา ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินงานของโรงเรียนศูนย์ปฐมวัยต้นแบบมีผลการประเมิน อยู่ในระดับมากถงึ มากท่ีสุด สามารถนำมารพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายของการบริหารงานทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านการบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ และการ บริหารงานท่ัวไป ได้ทง้ั หมด 12 ประเดน็ ประกอบด้วย 1) พัฒนาโครงการและหลกั สูตรใหส้ อดคล้อง กบั ความต้องการของเด็ก สถานศึกษาและท้องถ่ิน 2) พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นศูนย์วิชาการต้นแบบ ร่วมกับผู้ปกครอง และหน่วยงานอื่น ๆ 3) พัฒนาการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ มีการบูรณาการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น 4) พัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยโดยการบูรณาการ เทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศเข้ามาจัดกิจกรรม ให้แก่ผู้เรียนและขยายผลการดำเนินงานอยา่ งต่อเน่ือง 5) พัฒนาและส่งเสริมความพร้อมด้านการจัดการศึกษาพิเศษ 6) พัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความสามารถ มีวุฒทิ างการศึกษาตรงตามความรู้ทีส่ อน มจี ิตสำนึกและความรบั ผิดชอบต่อการปฏิบัติ หน้าท่ี 7) ส่งเสริมให้ครูปฏิบัติหน้าท่ีได้เต็มตามศักยภาพ ความสามารถ ความถนัด 8) พัฒนาระบบ โครงสร้างการบริหารงานโดยการมอบหมายงาน และความรับผิดชอบให้ฝ่ายต่าง ๆ อย่างเหมาะสม 9) ปรบั ปรุงและพัฒนาแผนการใช้จา่ ยงบประมาณใหม้ ีการดำเนินการเบิกจ่ายไดอ้ ยา่ งถูกต้อง คลอ่ งตัว 10) พัฒนาระบบการบริหารงานงบประมาณ โดยมุ่งเน้นความเป็นอิสระ ความโปร่งใส คล่องตัว ความคุ้มค่า ประหยัด และสามารถตรวจสอบได้ 11) พัฒนาระบบการให้บริการอาหาร เครื่องด่ืม อาหารเสริมนม และสนับสนุนให้วางแผนจัดสภาพแวดล้อมให้มีความเหมาะสม 12) พัฒนาระบบ สารสนเทศและการประชาสัมพันธ์ท่ีหลากหลาย ผลการตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ของขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย โดยผู้เชยี่ วชาญพบว่าในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ ศตพร บูรณเ์ จริญ (2559) ทำการวจิ ัยขอ้ เสนอเชงิ นโยบายเพ่ือพัฒนาการบริหารจดั การศกึ ษา โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวดั อุตรดิตถ์
81 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหาและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อพัฒนาการบริหารจัด การศึกษาโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา อุตรดิตถ์ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน โดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 361 คน เคร่ืองมือทใี่ ชไ้ ด้แก่ แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณ์ การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสถิตทิ ี่ ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้ อหา ผลการวิจัยพบว่า สภาพการบรหิ ารจัดการศึกษาท้ัง 4 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพจิ ารณารายด้านอยู่ ในระดับปานกลาง ยกเว้นด้านการบริหารงานบุคคลอยู่ในระดับน้อย ข้อเสนอเชิงนโยบาย มี 4 ด้าน ดังนี้ ด้านการบริหารงานวิชาการ มีแนวปฏิบัติ คือ การพัฒนาหลักสูตร การะพัฒนากระบวนการ เรยี นรู้ การวิจยั เพ่อื พัฒนาการเรียนรู้ การสง่ เสริมสนับสนุนใหค้ รผู ลติ สื่อการเรยี นรูแ้ ละใช้แหลง่ เรยี นรู้ การนเิ ทศภายในเพ่ือชว่ ยเหลือหรือแนะนำ การวัดและประเมินผลการเรียนร้เู พอ่ื พัฒนาการเรยี นรูแ้ ละ การให้ผู้เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ด้านการบริหารงานงบประมาณมีแนวปฏิบัติ คือ การดำเนินการเกี่ยวกับการวางแผนในการบริหารงบประมาณ การใช้จ่าย การควบคุมและการ ประเมินผลการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล มีแนวปฏิบัติ คือ การวางแผน อัตรากำลัง การกำหนดตำแหน่งและวิทยฐานะ การสรรหาบรรจุแต่งต้ังและการพัฒนาส่งเสริม ประสิทธิภาพครู ด้านการบริหารงานทั่วไป มีแนวปฏิบัติ คือ การวิเคราะห์สภาพบริบทเพ่ือกำหนด ทิศทางของสถานศึกษา การกำหนดนโยบาย เป้าหมายและการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ผู้ท่ีมี ส่วนเก่ียวข้องหลายฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนกำหนดโครงการหรือกิจกรรม การวางแผน การจัดระบบสารสนเทศและการกำหนดมาตรฐานท่ีชดั เจนในการทำงาน เหรยี ญชัย วีรวรรธก์ ุล (2551) ทำวิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือพัฒนาการบริหารงานวิชาการ ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสกลนคร เขต 2 โดยมีวัตถุประสงคเ์ พื่อศึกษา 1) สภาพ ปัจจุบัน ปัญหา และความคาดหวัง และศึกษาแนวปฏิบัติการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียนในสงั กัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสกลนคร เขต 2 2) ความเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญและผู้มี ส่วนไดส้ ว่ นเสียต่อข้อเสนอเชงิ นโยบายการบรหิ ารงานวิชาการในด้านความเหมาะสม และเป็นไปได้ ใน 12 ด้าน การวิจัยใช้ระเบยี บวิจยั เชิงนโยบาย ประกอบดว้ ยสองขน้ั ตอน ขน้ั ตอนแรกเป็นการพฒั นาร่าง ข้อเสนอเชงิ นโยบายจากการสำรวจโรงเรยี น ขนั้ ตอนทสี่ องเป็นการวเิ คราะหค์ วามเหมาะสมและความ เป็นได้ของข้อเสนอเชิงนโยบาย จากการสัมภาษณ์ผ้เู ช่ียวชาญ และจากการสัมมนาเชิงปฏบิ ัติการกลุ่ม ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย ผลการวิจัยพบวา่ 1) ด้านการบริหารหลักสูตรและการนำหลักสตู รไปใช้ มีแนวทาง ปฏิบัติ คือ ให้มีการศึกษาเอกสารหลักสูตร มีคณะทำงานจัดทำโครงสร้างหลักสูตร ให้สอดคล้องกับ ภารกิจ เป้าหมาย และนำไปใช้ในการเรียนการสอน มีการติดตาม ประเมินผลการใช้ ปรับปรุงและ พฒั นาหลกั สตู รตามความเหมาะสมกับบริบท 2) ด้านการพฒั นากระบวนการเรียนรู้ มีแนวทางปฏิบตั ิ คือ ให้ครูจัดทำแปนการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแผนท่ี สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน มีการนิเทศ พัฒนาครูและมีเครือข่ายแลกเปล่ียน เรียนรู้ และการสร้างขวัญ กำลังใจ และยกย่องเชิดชูเกียรติแก่ครู 3) ด้านการวัดผลประเมินผลและ การเทียบโอนผลการเรยี น มีแนวทางปฏิบัติคือ ให้สถานศึกษามีระเบยี บ หลักเกณฑ์ แนวปฏบิ ัติ การ วัดและประเมินผลที่ชัดเจน สนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาครูในการวัดผลการประเมินตามสภาพจริง และให้มีการเทียบโอนตามที่กระทรวงกำหนด 4) ด้านการวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีแนว
82 ปฏิบัติ คือ ส่งเสริมให้ครูศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ทำการวิจัยตาม สภาพปัญหาการเรียนการสอนทุกคน มีการนิเทศเพื่อพัฒนา ประสานความร่วมมือในการศึกษาการ วิจัยและการเผยแพรผ่ ลงานการวิจัยกับสถานศึกษา บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถาบันอื่น 5) ดา้ นการบริหารวสั ดุ ส่อื นวตั กรรมการเรยี นการสอน มแี นวปฏิบตั ิคอื วิเคราะห์ความจำเป็นในการ ใช้ส่ือ นวัตกรรม ส่งเสริมครูให้มกี ารผลิต จัดหา ใช้ และพัฒนาสือ่ นวตั กรรม และเทคโนโลยี ส่งเสริม ให้ครูทำนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการพัฒนาผเู้ รยี น 6) ดา้ นการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ มีแนวปฏบิ ัติ คอื สำรวจ แหล่งเรียนรู้ จัดทำเอกสารเผยแพร่แหล่งเรียนรู้ ประสานความร่วมมือกันในการใช้ และพัฒนากับ สถานศึกษาอ่ืน บุคคล หน่วยงาน และสถาบนั อื่น ส่งเสริมครูใช้แหลง่ เรียนรู้และมีการประเมินผลการ ใช้และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 7) ด้านการนิเทศการศึกษา มีแนวปฏิบัติคือ ศึกษาแผนงานโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศกึ ษาและคำส่ังมอบหมายงาน การปฏิบัติการทำงาน ดำเนนิ การนิเทศงาน ตามปฏิทินการปฏิบัติงาน กำกับติดตาม ประเมินผลโครงการและกิจกรรม สรุปผลการดำเนินงาน และนำผลมาปรับปรุงพัฒนาการนิเทศ 8) ด้านการแนะแนวการศึกษา มีแนวปฏิบัติ คือ ให้มี คณะกรรมการบริหารการแนะแนว บรหิ ารอยา่ งเป็นระบบและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน โดยร่วมมือของครูทุกคนและชุมชน ประสานความร่วมมือ แลกเปล่ียนเรียนรู้กับเครือข่ายแนะแนว ภายในเขตพ้ืนที่การศึกษา ติดตาม และประเมินผลการแนะแนวในสถานศึกษา 9) ด้านการพัฒนา ระบบประกันคุณภาพภายใน มีแนวทางการปฏิบัติ คือ จัดระบบโครงสร้างองค์กร กำหนดเป้าหมาย ความสำเร็จตามมาตรฐานการศึกษา ดำเนินการตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุ เป้าหมายความสำเร็จ มีการติดตามตรวจสอบ ประเมินคุณภาพ ปรับปรุงและพัฒนาระบบประกัน คณุ ภาพภายในอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง 10) ด้านการสง่ เสริมความรู้ทางวิชาการแก่ชุมชน มีแนว ปฏิบัติ คือ สำรวจความต้องการสนับสนุนงานวิชาการแก่ชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วมใน กิจกรรทางวิชาการของสถานศึกษาและมีการแลกเปล่ียน เรียนรู้ ประสบการณ์ของครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอื่นท่จี ัดการศึกษา มกี ารติดตามและประเมินผลการส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการ แก่ชุมชนอย่างจริงจัง 11) ด้านการประสานความร่วมมือทางวิชาการกับสถานศึกษาอื่น มีแนวทาง ปฏิบัติคือ ประสานความร่วมมือ ช่วยเหลือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาของรัฐ เอกชนและ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สร้างเครือข่ายความร่วมมือ 12) การส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการแก่ บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถานศึกษาอ่ืนท่ีจัดการศึกษา มีแนวปฏิบัติคือ ว่างแผน ประชุม สำรวจความต้องการสนับสนุนด้านวิชาการ ส่งเสรมิ สนบั สนุนพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของ บคุ คล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถานศึกษาอื่นท่ีจดั การศึกษา ให้มีการเลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ให้ มีการติดตามและประเมินผลการดำเนนิ งานอยา่ งต่อเนอื่ ง วธิ ิดา พรหมวงศ์ (2563) ไดศ้ กึ ษาสภาพปัจจบุ ัน ปัญหาและแนวทางการแก้ปญั หาการจดั การ เรียนรู้ในชว่ งการแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โควดิ -19 ของโรงเรียนในสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ประถมศึกษานครพนม เขต 1 พบว่า สภาพโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพจิ ารณารายดา้ นพบวา่ อยู่ใน ระดับมาก 2 ด้าน และอยใู่ นระดบั ปานกลาง 2 ด้าน ด้านท่ีมคี ่าเฉล่ียสูงสดุ คือ ดา้ นการดำเนินการจัด การศึกษาแบบ On Site Education ด้านท่ีมีคา่ เฉล่ียต่ำสุดคือ ด้านการดำเนินการจัดการศึกษาแบบ On line Education เม่ือพิจารณาตามสถานที่ตั้ง พบว่า สถานศึกษาในเขตเทศบาลมคี วามคดิ เห็นต่อ สภาพปัจจุบนั ของการจดั การเรียนรู้ในช่วงการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โควิด-19 ของโรงเรียนในสงั กัด
83 สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาราย ด้านพบว่า อย่ใู นระดับมาก 3 ด้าน และอยู่ในระดับปานกลาง 1 ด้าน ด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ด้าน การดำเนินการจัดการศกึ ษาแบบ On Site Education ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการดำเนินการ จัดการศึกษาแบบ On Air Education ส่วนสถานศึกษานอกเขตเทศบาลมีความคิดเห็นต่อสภาพ ปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 โดยรวมอยใู่ นระดับมาก เม่ือพิจารณาราย ดา้ นพบว่า อยู่ในระดับมาก 2 ด้าน และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ดา้ นท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้าน การดำเนินการจัดการศกึ ษาแบบ On Site Education ด้านที่มีค่าเฉลยี่ ต่ำสดุ คือ ด้านการดำเนินการ จัดการศึกษาแบบ On line Education และเม่ือพิจารณาตามสถานภาพ พบว่า ครูผู้สอนมีความ คิดเห็นต่อสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ของ โรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมาก 3 ด้าน และอยู่ในระดับปานกลาง 1 ด้าน ด้านที่มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการดำเนินการจัดการศึกษาแบบ On Site Education ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ดา้ นการดำเนนิ การจดั การศึกษาแบบ On Air Education งานวจิ ยั ต่างประเทศ Lisa M. Brunetti (2021) ได้ศึกษาและทำการวิจัยเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรม การเรียนออนไลน์ของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลยั ระหว่างการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และการพัฒนาโมเดลการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ตามทัศนคติของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อ ประสบการณ์การเรียนรู้ของนักเรยี น พบว่า นกั เรียนมคี วามเห็นว่า มหาวิทยาลัยทำได้ดที ่ีสดุ เท่าที่จะ ทำไดเ้ กี่ยวกับข้อมลู ขา่ วสารทม่ี กี ารเปิดเรียน มกี ารประกาศใหม้ ีการเรียนการสอนทางไกล และมคี วาม พึงพอใจต่อการสื่อสารดังกล่าว ท้ังนี้นักเรียนยังคงมีความท้อในการรอคอยให้เปิดการเรียนการสอน โดยสรุปวา่ การสื่อสารมีบทบาทสำคัญในสถานการณ์การแพร่ระบาดเช่นนี้และควรมีความโปร่งใส ซึ่ง การศึกษาเปรียบเทียบในด้านการสื่อสารมคี วามแตกต่างกันตามรปู แบบทใ่ี ชใ้ นการสอ่ื สาร คณะจารย์ และนักเรียนมีความคิดเห็นตรงกันว่า ส่ิงท่ีเป็นข้อจำกัดของการเรียนออนไลน์คือ ความกังวลในการ เช่อื มโยงตดิ ตอ่ สอ่ื สารทขี่ าดปฏสิ มั พนั ธแ์ บบตวั ตอ่ ตัว Daniel P. Bennett (2021) ได้ศึกษาการจัดการวิกฤตในสถานการณ์การระบาดของเช้ือ ไวรัสโคโรน่า 2019 ในระยะเวลาการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในปี 2020 : กรณีศึกษา สถาบันอุดมศึกษาแห่งหน่ึงในสหรัฐอเมริกา โดยมีคำถามการวิจัยว่าจะสามารถแก้ไขวิกฤตการแพร่ ระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรน่า 2019 ไดอ้ ย่างไร ซ่ึงผู้ร่วมศกึ ษาครั้งนเ้ี ป็นผู้บริหารระดับสูงจำนวน 4 คน 4 คน ใน Midwestern state.university ทำการศึกษาด้วยการสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า การตัดสินใจของผู้ร่วมววิจัยข้ึนอยู่กับคุณธรรม ค่านิยม และจริยธรรมที่สะท้อนคุณค่าและจริยธรรม ของวิทยาลัย Ploj Virtic and other (2021)ได้ศึกษาพฤติกรรมการเรียนทางไกลออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยในระหว่างการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 และการกำหนดให้พัฒนารูปแบบ การเรียนการสอนออนไลน์ โดยสอบถามนักศึกษามหาวิทยาลัยจำนวน 606 คน พบว่ามีการใช้
84 แอพพิเคชั่น เพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตามมีเพียงการใช้ Microsoft Team เท่านั้นที่เพิ่มข้ึนอย่างมี นัยสำคญั ทางสถิติ ในขณะที่การใชแ้ อพพิเคชั่นอน่ื ๆ เช่น อีเมล์ มูเดิล อิเท็กบุ๊ค มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับ ตำ่ ถึงปานกลาง Tartavulea,Cristina Venera and other (2020) ได้ศึกษาการปฏิบัตกิ ารสอนออนไลน์และ ประสิทธิผลของกระบวนการทางการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 พบว่า มหาวิทยาลัยและนักศึกษาสามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปล่ียนแปลงใหม่ได้อย่างรวดเร็ว และผู้ตอบ แบบสอบถามมองว่าการเปลยี่ นมาใช้การสอนแบบออนไลนโ์ ดยภาพรวมมีผลเชิงบวกต่อกระบวนการ ศึกษาในระดับปานกลางแม้ว่าประสิทธิภาพโดยรวมของประสบการณ์การศึกษาออนไลน์จะต่ำกว่า กรณีการสอนแบบตัวต่อตัว นอกจากน้ีพบว่า การสนับสนุนสถาบัน ความไว้วางใจในระบบออนไลน์ และการรับรู้ประสิทธิผลของการประเมินเป็นปัจจัยท่ีมีผลเชิงบวกกับผลกระทบและการศึกษา ออนไลน์ Minudin (2000 : 741) ได้ศึกษาบทบาททางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนรัฐซาบาห์ มาเลเซีย พบว่า ส่วนใหญ่ผู้บริหารเป็นหลักในการประเมินผลโครงการของโรงเรียนสนับสนุนให้ ผู้ร่วมงานมีการศึกษาและประสบการณ์เพมิ่ เติม กำหนดวัตถุประสงคข์ องโรงเรียนอย่างชัดเจนควบคุม โครงการและกจิ กรรมอ่นื ๆ ทั้งหมดของโรงเรยี นสอนในระดับชั้นรแู้ ละเข้าใจกฎขอ้ บงั คับ
บทท่ี 3 ระเบียบวธิ ีดำเนินการวจิ ัย รายงานการวิจัย ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 เป็นการ วิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research) โดยแบง่ การวจิ ัยออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 วิเคราะหส์ ภาพการจัดการศึกษา มี 2 ขัน้ ตอน คอื ข้ันตอนที่ 1 การวิเคราะห์เอกสาร เป็นการวิเคราะห์เอกสารรายงานผลการปฏิบัติงาน ตาม MOU ของผู้บริหารสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ศึกษาเอกสารรายงาน การนิเทศ ติดตามและประเมินความพร้อมในการเปิดเรียนภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 เกยี่ วกับ สภาพปัจจบุ นั และปัญหาการบรหิ ารจัดการ การจัดการเรยี นรู้ และการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ SWOT การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแล ช่วยเหลือนักเรียนในช่วงการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรยี นลกั ษณะตา่ งๆ ในสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 3 ระยะท่ี 2 จัดทำรา่ งขอ้ เสนอเชิงนโยบาย นำผลการวิเคราะห์ SWOT ท่ีได้จากระยะที่ 1 ประชุมระดมความคิด (Brainstorming) วิเคราะหต์ รวจสอบ หาแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 ของโรงเรียนลักษณะต่างๆ ในด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแล ชว่ ยเหลอื นักเรยี น กำหนดเปน็ โครงการ โดยการประชุมสัมมนาออนไลน์ กับผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และ ครูวิชาการ จากโรงเรียนแต่ละลักษณะ (โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนคุณภาพชุมชน และโรงเรียน Stand Alone) ครอบคลุมทั้งสี่อำเภอ เป็นโรงเรียนท่ีมีคะแนน ผลการประเมินจากรายงาน MOU อยู่ในกลุ่มสูง (A) กลุ่มปานกลาง (B) และกลุ่มต่ำ (C) จำนวน 29 โรงเรยี น ระยะท่ี 3 สรุปข้อเสนอเชิงนโยบาย โดยการสัมมนาอิงผู้เช่ียวชาญ (Connoisseurship) ตรวจสอบข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โค โรนา 2019 (COVID-19) ในระดับโรงเรยี น สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา ขอบเขตประชากร และกลุ่ม ตวั อยา่ ง/กล่มุ ใหข้ อ้ มูล ผู้เช่ยี วชาญ จำนวน 9 คน
86 ระยะท่ี 1 วิเคราะหส์ ภาพการจัดการศึกษา ผลการวิเคราะห์ SWOT กา1ร.ศกึกาษราวิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์เอกสาร การจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือ 2. วิเคราะห์ SWOT การบริหารจัดการ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การจดั การเรยี นรู้ และการดแู ลช่วยเหลอื สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา นกั เรียนในชว่ ง การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 3 ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนลกั ษณะต่าง ๆ ร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย 2.1 การสนทนากลุม่ ออนไลน์ศึกษานิเทศก์ การจดั การศึกษาในสถานการณ์ 2.2 การประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารคณะผูว้ ิจยั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3. สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา ประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 3 ระยะท่ี 2 จัดทำรา่ งข้อเสนอเชงิ นโยบาย การประชุมสัมมนาออนไลน์โรงเรียนทกุ ลกั ษณะ 29 โรง เพอ่ื จดั ทำร่างข้อเสนอเชิงนโยบายการจัด การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค ติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา พิษณุโลก เขต 3 ระยะท่ี 3 สรปุ ข้อเสนอเชิงนโยบาย ปรบั ปรงุ ขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย ตรวจสอบขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษา ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจดั ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื การศึกษาในสถานการณ์ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) พษิ ณโุ ลก เขต 3 โดยการสัมมนาอิงผเู้ ชี่ยวชาญ สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา (Connoisseurship) จำนวน 9 คน ประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 3 ภาพ 3 ระยะกระบวนการในการวจิ ัย
87 ระยะท่ี 1 วเิ คราะหส์ ภาพการจัดการศกึ ษา 1. วัตถปุ ระสงค์ 1.1 เพอื่ ศกึ ษาสภาพการจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรยี นในสงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 3 1.2 เพ่ือวิเคราะห์ SWOT การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต 3 2. กล่มุ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคัญ วธิ ีดำเนินการประกอบดว้ ย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ข้นั ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์และสงั เคราะห์เอกสาร เปน็ การวิเคราะหเ์ อกสารรายงานผลการ ปฏิบัติงานตาม MOU ของผู้บริหารสถานศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ศึกษา เอกสารรายงานการนิเทศ ติดตามและประเมินความพรอ้ มในการเปิดเรยี นภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โดยนำผลจากการศกึ ษามาแยกเปน็ 3 ด้าน คือ ด้านการบริหารจัดการ ได้แก่ การบริหารจัดการบุคลากร (Man) วิธีการ (Management) วัสดุอุปกรณ์ สงิ่ อำนวยความสะดวก (Material) และงบประมาณ (Money) ด้านการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน 5 แบบ คือ 1) ออนไซส์ (On- site) เรียนทโี่ รงเรียน โดยมมี าตรการเฝ้าระวังตามประกาศของศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) 2) ออนแอร์ (On-air) เรียนผ่านมูลนิธิการศึกษา ทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรีอ DLTV 3) ออนดีมานด์ (On-demand) เรียนผ่าน แอปพลิเค ชันต่างๆ 4) ออนไลน์ (On-line) เรียนผ่านอินเทอร์เน็ต และ 5) ออนแฮนด์ (On-hand) เรียนท่บี า้ นดว้ ยเอกสาร เช่น หนังสอื แบบฝึกหดั ใบงาน ในรูปแบบผสมผสาน ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ การส่งเสริม สนับสนุน และแก้ไขปัญหา การเรียนรู้ ทกั ษะ และคุณลักษณะ การวัดประเมนิ ผล การปอ้ งกนั ความปลอดภยั ข้ันตอนที่ 2 วิเคราะห์ SWOT การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแล ชว่ ยเหลือนักเรียนในช่วงการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนลักษณะตา่ งๆ ในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 และร่างข้อเสนอเชิงนโยบายการจัด การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 3 โดยแบง่ ผู้ให้ข้อมลู เป็น 2 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กล่มุ ที่ 1 ศึกษานเิ ทศกป์ ระจำเครือข่าย จำนวน 17 คน โดยใช้การสนทนากลุ่มออนไลน์ กลุ่มท่ี 2 คณะผู้วิจัย ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และศึกษานิเทศก์ จำนวน 22 คน โดยการประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ าร 3. เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ยั ข้ันตอนท่ี 1 การสังเคราะห์เอกสาร เครื่องมือท่ีใช้คือ แบบศึกษาเอกสาร (Document Study) ขนั้ ตอนที่ 2 วิเคราะห์ SWOT การบรหิ ารจดั การการจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือ นักเรียนในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนลักษณะต่างๆ ในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 และจัดทำร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย
88 การจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 3 เครื่องมือท่ีใช้ คือ แบบ SWOT การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายใน (2S- 4M) การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก (STEP) 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล สังเคราะห์เน้ือหาจากเอกสาร ตำรา บทความและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง และนำมาสังเคราะห์รวมกับข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสนทนากลุ่มออนไลน์ในกลุ่ม ศกึ ษานเิ ทศก์ และคณะวิจัยเพื่อเปน็ แนวทางในการร่างนโยบาย 5. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะหข์ ้อมูลทีไ่ ด้จากการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วข้อง กับการการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ด้วยการจัด ระเบยี บขอ้ มลู แสดงข้อมลู หาข้อสรุป ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และวเิ คราะหข์ ้อมลู ด้วยวธิ ีการวิเคราะห์ จัดประเดน็ ขอ้ เสนอเป็นความเรียง ระยะที่ 2 จดั ทำรา่ งขอ้ เสนอเชิงนโยบาย 1. วัตถปุ ระสงค์ การวิจัยระยะนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำร่างข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 3 2. กลมุ่ ผ้ใู ห้ขอ้ มูลสำคญั นำผลการวิเคราะห์ SWOT ท่ีได้จากระยะที่ 1 ประชุมระดมความคิด (Brainstorming) วิเคราะห์ตรวจสอบ หาแนวทางการพฒั นาการจัดการศึกษาในชว่ งการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ของโรงเรียนแต่ละลักษณะ (โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาด ใหญ่ โรงเรยี นคุณภาพชมุ ชน และโรงเรยี น Stand Alone) ครอบคลมุ ทงั้ ส่ีอำเภอ และเป็นโรงเรยี นทีม่ ี คะแนนผลการประเมินจากรายงาน MOU อยู่ในกลุม่ สูง (A) กลุ่มปานกลาง (B) และกลุ่มต่ำ (C) เป็น การสนทนากลุ่มออนไลน์กับผู้บริหารสถานศึกษา และครูวิชาการ จากโรงเรียนแต่ละลักษณะ (โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนคุณภาพชุมชน และโรงเรียน Stand Alone) รวมทัง้ หมด 29 โรงเรยี น ดังตาราง 2
89 ตาราง 2 โรงเรียนกลุม่ เป้าหมาย ประเภทโรงเรียน อำเภอ ขนาดเลก็ นครไทย ท่ี โรงเรียน ขนาดเล็ก นครไทย 1 โรงเรียนบา้ นนาคล้าย ขนาดเล็ก พรหมพริ าม 2 โรงเรยี นบา้ นลาดคือ้ ขนาดเล็ก พรหมพริ าม 3 โรงเรียนวัดสมอสวุ รรณาราม ขนาดเล็ก ชาตติ ระการ 4 โรงเรยี นวัดเขาน้อย ขนาดเลก็ วดั โบสถ์ 5 โรงเรียนบา้ นนาหลม่ ขนาดเลก็ วัดโบสถ์ 6 โรงเรียนวัดคนั โชง้ ขนาดกลาง วัดโบสถ์ 7 โรงเรยี นบ้านหนองกระบาก ขนาดกลาง พรหมพริ าม 8 โรงเรียนวดั นำ้ คบ ขนาดกลาง พรหมพริ าม 9 โรงเรียนศึกษากุลบตุ ร ขนาดกลาง นครไทย 10 โรงเรียนวดั วงั มะด่าน ขนาดกลาง นครไทย 11 โรงเรียนชมุ ชน 8 ราษฎร์อุทิศพิทยา ขนาดกลาง ชาตติ ระการ 12 โรงเรยี นบางยางพัฒนา ขนาดใหญ่ วดั โบสถ์ 13 โรงเรียนบา้ นขนุ น้ำคบั ขนาดใหญ่ พรหมพิราม 14 โรงเรยี นวดั โบสถ์ ขนาดใหญ่ นครไทย 15 โรงเรียนชุมชนวัดยา่ นขาด ขนาดใหญ่ ชาติตระการ 16 โรงเรียนนครไทยวิทยาคม นครไทย 17 โรงเรียนบา้ นป่าแดง คุณภาพชุมชน พรหมพิราม 18 โรงเรียนบา้ นนาเมือง คุณภาพชุมชน นครไทย 19 โรงเรยี นวดั วงฆอ้ ง คุณภาพชุมชน นครไทย 20 โรงเรยี นชมุ ชน 17 บา้ นนาตาดี คณุ ภาพชมุ ชน วัดโบสถ์ 21 โรงเรียนกัลยาณิวัฒนา คุณภาพชมุ ชน ชาติตระการ 22 โรงเรียนวดั หินลาด คุณภาพชุมชน วัดโบสถ์ 23 โรงเรียนบา้ นสวนเมี่ยง stand alone ชาตติ ระการ 24 โรงเรียนบา้ นแกง่ เจ็ดแคว stand alone ชาติตระการ 25 โรงเรียนบ้านบุ่งผลำ stand alone ชาติตระการ 26 โรงเรียนบา้ นรม่ เกลา้ stand alone นครไทย 27 โรงเรยี นบา้ นน้ำจวง stand alone นครไทย 28 โรงเรียนบา้ นห้วยทรายเหนอื stand alone 29 โรงเรยี นภูขดั รวมไทยพฒั นา
90 3. เครอื่ งมือทีใ่ ช้ เคร่อื งมือที่ใช้ในการวจิ ัยเปน็ ประเด็นการประเด็นการสนทนาออนไลน์เพ่ือจัดทำขอ้ เสนอ เชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ดังน้ี 3.1 การบรหิ าร สำนักงานเขตพื้นท่ี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ควรมี นโยบายอยา่ งไรบา้ ง ในด้านการบริหารงาน 4 ฝ่ายในการจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ? ฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ 1) โรงเรียนมีการจัดทำ หรอื พฒั นาหลักสตู ร 2) งานพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ 3) งานวจิ ยั และพัฒนา 4) การพฒั นาสอ่ื เทคโนโลยี และนวตั กรรมการเรียนรู้ 5) การพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ 6) การสง่ เสริมและประสานความร่วมมือทางวชิ าการ ฝา่ ยบริหารงานบุคคล 1) การพฒั นาครแู ละบคุ ลากร 2) การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น 3) การส่งเสรมิ สุขภาพและอนามยั นกั เรียน 4) อาหารเสรมิ นม 5) งานส่งเสรมิ สวัสดิการครแู ละนกั เรยี น ฝา่ ยบริหารงานงบประมาณ 1) งานนโยบายและแผน / โครงการ 2) การบรหิ ารการเงนิ 3) การเบิกจ่ายเงิน และการขออนมุ ัติ เบกิ จ่าย 4) เงินนอกงบประมาณ เงนิ อุดหนนุ รายหวั เงินอดุ หนนุ ตามโครงการเรียนฟรี ฝา่ ยบริหารงานท่ัวไป 1) งานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 2) งานอาคารสถานทแ่ี ละส่ิงแวดล้อม 3) การประชาสมั พนั ธง์ านการศึกษา 4) การส่งเสริม สนบั สนนุ และประสานงานจดั การศึกษาของบุคคล ชุมชน องคก์ ร หน่วยงานและสถาบนั อนื่ ทจี่ ดั การศกึ ษา 3.2 นโยบายในเร่ืองการจดั การเรียนรู้ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโร นา 2019 ที่โรงเรยี นดำเนนิ การ และทสี่ ำนักงานเขตพนื้ ที่ /สพฐ. ควรมนี โยบายดำเนนิ การ ? 1) ออนไซส์ (On- site) เรยี นที่โรงเรียน โดยมีมาตรการเฝ้าระวังตามประกาศของ ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.)
91 2) ออนแอร์ (On-air) เรียนผ่านมูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ หรีอ DLTV 3) ออนดีมานด์ (On-demand) เรยี นผา่ น แอปพลเิ ค ชันต่างๆ 4) ออนไลน์ (On-line) เรยี นผา่ นอินเทอร์เน็ต 5) ออนแฮนด์ (On-hand) เรยี นทบี่ ้านดว้ ยเอกสาร เชน่ หนงั สอื แบบฝึกหัด ใบงาน 6) รูปแบบอน่ื ๆ 3.3 นโยบายการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ท่โี รงเรยี นดำเนินการ และท่สี ำนกั งานเขตพนื้ ท่ี / สพฐ. ควรมีนโยบายดำเนินการ ? 1) การส่งเสริม สนับสนุน การป้องกัน และการแก้ปัญหาให้แก่นักเรียน ให้ได้รับ การเรียนรู้ พัฒนาความรู้ ทักษะและคุณลักษณะ การวดั และประเมนิ ผล 2) ความปลอดภัยในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล คณะผู้วิจัยได้จัดประชุมระดมความคิด (Brainstorming) วิเคราะห์หาแนวทางการ พฒั นาการจัดการศึกษา โดยการประชมุ สัมมนาสัมมนาออนไลน์ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และครวู ิชาการ จากโรงเรียนแต่ละลักษณะ (โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียน คุณภาพชุมชน และโรงเรียน Stand Alone) รวมทั้งหมด 29 โรงเรียน โดยให้เสนอแนวทางการ พฒั นา โครงการ กิจกรรมที่ทางโรงเรียน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา และสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐานควรดำเนินการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในดา้ นการบริหารจัดการ การจดั การเรยี นรู้ และการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น 5. การวิเคราะหข์ ้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการประชุมสัมมนาสัมมนาออนไลน์ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูวิชาการ จากโรงเรียนแต่ละลักษณะ (โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาด ใหญ่ โรงเรียนคุณภาพชุมชน และโรงเรียน Stand Alone) ท่ีเกี่ยวข้องกับการการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 มาวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดทำแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษา โครงการ และ จัดทำร่างข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 ระยะท่ี 3 สรปุ ขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย 1. วัตถุประสงค์ ก าร วิ จั ย ร ะ ย ะ นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เพ่ื อ ป ร ะ เมิ น ข้ อ เ ส น อ เชิ ง น โ ย บ าย ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 3
92 2. กลุ่มผใู้ ห้ขอ้ มูลสำคญั กลุ่มผู้เชี่ยวชาญซ่ึงได้มาจากการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Selection) จำนวน 9 คน แบง่ เป็น 2 กลุม่ ได้แก่ กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ ผู้บริหารการศึกษาในสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ทีม่ คี ุณวุฒิจบการศึกษา ในระดับปรญิ ญาเอก ด้านบรหิ ารการศกึ ษา จำนวน 2 คน กลุ่มท่ี 2 ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ศึกษานิเทศก์ที่มีประสบการณ์ด้านการ บริหารโรงเรียน ด้านการสอน และด้านการนิเทศการศึกษา ไม่ต่ำกว่า 10 ปี หรือมีมีคุณวุฒิจบ การศึกษาในระดับปริญญาเอก จำนวน 7 คน 3. เครื่องมอื ท่ีใช้ 3.1 ข้ันตอนการการสนทนาออนไลน์ เครื่องมือ ได้แก่ แอพพลิเคชั่น Google Meet ซงึ่ สามารถทำการบนั ทกึ การสนทนาเปน็ ไฟล์วดี ีโอได้ 3.2 ขั้นตอนการตรวจสอบและประเมินขอ้ เสนอเชิงนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บขอ้ มูล เป็นแบบบนั ทึกการสมั มนาองิ ผูเ้ ชีย่ วชาญ เพอ่ื ตรวจสอบและประเมนิ ความเหมาะสม และความเปน็ ไป ได้ของข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต 3 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การวิจัยข้ันนี้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญได้แสดงความคิดเห็นต่อข้อเสนอเชิงนโยบายท่ีพัฒนาข้ึน และหลังจากนั้นให้ผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม ทั้ง 7 คน ประเมินข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 3 5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูลระยะนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ดำเนนิ การตามข้นั ตอนดงั น้ี (สุภางค์ จนั ทวานิช, 2556) 5.1 การวิเคราะห์ข้อมลู เชิงคณุ ภาพทีไ่ ด้ คณะผู้วจิ ัยใชเ้ ทคนิคการตรวจสอบขอ้ มูลแบบสาม เส้า (Data triangulation) โดยการตรวจสอบสามเส้าด้านแหล่งข้อมูล ได้แก่ การศึกษาหลากหลาย บคุ คล และการตรวจสอบสามเส้าด้านวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุม่ ออนไลน์ การศึกษาเอกสาร 5.2 การทำดชั นีข้อมูล ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 5.3 การทำข้อสรุปชั่วคราวและการกำจัดข้อมูล การทำข้อสรุปช่ัวคราวเป็นการเชื่อมโยง ดชั นีคำหรอื ข้อความเข้าด้วยกัน โดยอาศัยลักษณะความเก่ียวขอ้ งสัมพันธก์ ันของดัชนคี ำหรือขอ้ ความ แต่ละดัชนี 5.4 การสร้างบทสรุปและพิสูจนบ์ ทสรุป เม่ือคณะผู้วิจัยจัดทำข้อสรุปชั่วคราว ซึ่งผ่านการ กำจดั ข้อมูลบางส่วนออกไป และเก็บรวบรวมขอ้ มลู บางส่วนเพื่อเพ่มิ เติมเพ่อื ความครบถ้วนของขอ้ สรุป ชั่วคราว แล้วงานวิเคราะห์ข้อมูลบทสรุปจึงมีลักษณะเป็นของคำบรรยาย อธิบายเก่ียวกับ ปรากฎการณ์ท่เี ป็นข้อเทจ็ จรงิ ทค่ี ้นพบ
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ก าร วิ จั ย ค รั้ ง น้ี เป็ น ก า ร วิ จั ย ข้ อ เส น อ เชิ ง น โ ย บ า ย ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ าใน ส ถ าน ก า ร ณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 ในการนำเสนอผลการวิจัย คณะผู้วิจัยได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากท้ัง 3 ระยะ โดยแยกเสนอผลการวิจัยระยะท่ี 1 นำเสนอผลในตอนท่ี 1 และผลการวิจัยระยะที่ 2 และ 3 นำเสนอไวใ้ นตอนท่ี 2 และ 3 ตามลำดับดังนี้ ระยะที่ 1 การศกึ ษาสภาพการจดั การเรียนการสอน ในข้ันตอนน้ีผู้วิจัยได้นำเสนอผลการวิจัย คือ 1) การศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสาร (Document Analysis and Synthesis) 2) วิเคราะห์ SWOT การจดั การเรียนรู้ของโรงเรียนลักษณะ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นขนาดเล็ก โรงเรยี นขนาดกลาง โรงเรยี นขนาดใหญ่ โรงเรียนคณุ ภาพชุมชน และ โรงเรียน Stand Alone สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 ช่วงการแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ซ่ึงมีรายละเอียด ตามลำดบั ดงั น้ี 1. ผลการศกึ ษาเอกสาร คณะผู้วิจัยได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับองค์ประกอบของ นโยบายและขน้ั ตอนการวิจยั เชงิ นโยบาย พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี 2)พ.ศ. 2545 และ(ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 พระราชบัญ ญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2546 แนวทางการกระจายอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2546 เก่ียวกับขอบข่ายการบริหารงานของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซงึ่ สรปุ ได้ดงั น้ี 1.2 ผลการศึกษาเอกสารจากแนวคิดและทฤษฎีของผู้เชี่ยวชาญเก่ียวกับองค์ประกอบของ นโยบาย และกรอบท่ีทางสำนักงานคณะกรรมการการศึกษากำหนด ในการวิจัยคร้ังนี้จึงได้กำหนด องคป์ ระกอบของนโยบาย ดังน้ี 1) โครงการ/กิจกรรม เป็นแผนงานด้านการจัดการศึกษา ด้านการบริหารจัดการ ด้าน การจดั การเรยี นรู้ และด้านการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน 2) วตั ถุประสงค์ เป็นสง่ิ ที่ตอ้ งการหรือความคาดหวังของการดำเนนิ งาน 3) กลยุทธ์การดำเนินงาน เป็นกระบวนการนำส่ิงท่ีต้องการพัฒนาหรือเกิดขึ้นไปสู่การ กระทำ เพ่อื ใหบ้ รรลุผลตามทต่ี ้องการ 4) ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่องค์กรต้องการให้เกิดขึ้น เป็นผลลัพธ์ ที่จำเพาะเจาะจง สามารถแสดงข้อมูลท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สามารถวัดได้และมีระยะเวลา ท่ีแนน่ อน การกำหนดผลทคี่ าดว่าจะได้รับน้ันต้องสัมพนั ธ์กับวตั ถปุ ระสงค์
94 กล่าวโดยสรุป องค์ประกอบของนโยบาย อาจมีหลากหลายแนวคิด อย่างไรก็ตามการวิจัย ครั้งน้ีได้กำหนดองค์ประกอบของนโยบาย ดังนี้ คือ โครงการ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์การดำเนินงาน และผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.2 ผลการศึกษาบทสรุปเกี่ยวกับขอบข่ายของการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับการวิจัยในครั้งน้ีผู้วิจัยได้สังเคราะห์ และกำหนด ขอบข่ายของการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของสถานศึกษาเป็น 3 ด้าน คอื 1) ด้านการบริหารจดั การ 2) ด้านการจัดการเรียนรู้ และ 3) ด้านการ ดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น 2. วิเคราะห์ SWOT การจัดการเรียนรู้ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนลกั ษณะตา่ ง ๆ ในสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 3 การวิเคราะห์สภาพโรงเรียนในแต่ละลักษณะในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3 ได้แก่ โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรยี นขนาดใหญ่ โรงเรียนคณุ ภาพ ชุมชน และโรงเรียน Stand Alone ได้จัดทำ SWOT Analysis โดยประเด็นการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายใน ใช้หลัก 2S 4M ส่วนวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ใช้หลัก STEP ซึ่งมี รายละเอยี ดดังนี้ การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน (Internal Analysis) ใชห้ ลัก 2S 4M คือ 1. โครงสรา้ งและนโยบาย (Structure : S1) 2. บริการและผลผลิต ( Service and Products : S2 ) 3. บคุ ลากร ( Man : M1 ) 4. ประสิทธภิ าพทางการเงนิ ( Money : M2 ) 5. วสั ดทุ รัพยากร ( Material : M3 ) 6. การบริหารจดั การ ( Management : M4 ) ปจั จยั ภายนอก (External Environment) ใชห้ ลัก STEP คือ 1. ด้านสงั คมและวัฒนธรรม (Social – cultural Factors : S) 2. ด้านเทคโนโลยี (Technological Factors : T) 3. ดา้ นเศรษฐกิจ (Economic Factors : E) 4. ด้านการเมืองและกฎหมาย (Political and legal Factors : P)
โรงเรยี นขน ตาราง 3 การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน (2S- 4M) เพอื่ พัฒนาการจดั การศกึ ษาใ ด้านโครงสรา้ งและนโยบาย (Structure) โรงเรียนขนาดเล็ก สังกดั สำนักงานเ องค์ประกอบหลกั จุดแข็ง (S : Strength) จุด 1. โครงสร้างและ 1.โรงเรียนมีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยจดั ทำ 1. บางโรงเรยี นโยบาย(Structure) เปน็ แผนกลยุทธ์ กำหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ 2. โรงเรียนอย เป้าประสงค์ และตัวชวี้ ดั ความสำเรจ็ ในการนำ 3. ขาดแคลนส นโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิอย่างชัดเจน ใบงาน แบบฝ 2.สายบงั คบั บญั ชาสนั้ สามารถสัง่ การขอความคดิ เห็น 4. นโยบายกา ได้ง่าย ไมต่ ้องมีขนั้ ตอนมาก 5. การแบง่ งาน 3.คณะกรรมการสถานศกึ ษา ชุมชน ผูป้ กครองให้ ท่ีมขี ้อจำกดั ใน ความชว่ ยเหลือ สนับสนุน ดูแลเป็นอย่างดี ทำให้เกดิ สภา 4. ไดร้ ับจดั สรรสอื่ 60 พรรษา รบั ผิดชอบในง 5. นโยบายการจัดการเรียนการสอนมี 5 รูปแบบทำ สง่ ผลให้การด ให้สามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมกบั บริบทของ 6. ครมู จี ำนวน สถานศกึ ษา ดา้ น ทำให้ไม่ส 6. การกำหนดนโยบายเกดิ จากการมีส่วนรว่ มและครู เป้าประสงคข์ ทกุ คนรู้ เขา้ ใจตรงกัน 7. นโยบาย กิจ 7. โรงเรยี นคุ้นเคยกบั การจดั การเรยี นด้วย DLTV ครอบคลุมตาม 8. ผ้บู รหิ ารส่วนใหญ่ เปน็ ผ้บู รหิ ารรุ่นใหม่ ทมี่ คี วาม 8. ครูขาดประ มุ่งม่ัน และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เรยี นการสอน 9. โครงสร้างไม่ซบั ซอ้ น ผ้รู บั ผิดชอบสามารถบูรณา 9. นโยบายเรง่ การงานตา่ งๆ ได้ง่าย นอกเหนือจาก 10. ทำ PLC ไดเ้ ป็นระบบ โดยปรับเขา้ กบั บริบท และ 10. โรงเรียนข มีชมุ ชนเข้ามามสี ่วนร่วม งบประมาณไม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283