คูมอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู (สําหรบั ครูผสู อน) เพือ่ การจดั การเรยี นรูโดยใชการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๓ (ฉบับปรบั ปรุงคร้งั ที่ ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
คูมอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู (สําหรบั ครูผสู อน) เพือ่ การจดั การเรยี นรูโดยใชการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๓ (ฉบับปรบั ปรุงคร้งั ที่ ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
ก คานา ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะใหแ้ ก่ผเู้ รียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสาคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติท่ีดีและถูกต้อง ๒) มีพ้ืนฐานชีวิตที่ม่ันคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทา ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราชปณิธาน ในการสืบสาน รักษา พัฒนาต่อยอด โครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนาการศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกดา้ นอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากรและกระบวนการจัด การศึกษา เพ่ือแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สร้างโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจานวน ๑๕ ช่องสัญญาณ ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ และผู้สนใจทั่วประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นสังคมแห่งปัญญามีจิตอาสาในการสรรค์สร้างและพัฒนาประเทศ ใหม้ น่ั คง การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเ รียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็บไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTV ของมูลนิธิ และมีคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงครบท้ัง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งครูปลายทางสามารถปรับกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับชุมชน ท้องถ่ิน วัฒนธรรมและบริบทของแต่ละ โรงเรยี น คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ระดับประถมศึกษา ภาคเรียน ที่ ๑ ฉบับน้ี เป็นการปรับปรุงคร้ังท่ี ๒ ซึ่งดาเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรม ราชูปถัมภ์ โดยความร่วมมือจากคณะทางาน ประกอบด้วย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ และครูผู้เช่ียวชาญ ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ครูปลายทางใช้ในการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมท้ังสามารถจัดเตรียมเอกสาร ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด เพอ่ื ให้การจัดการเรียนการสอนเกดิ ประสทิ ธิผล นาไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ประถมศกึ ษาขนาดเลก็ ตอ่ ไป นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งม่ันพัฒนายกระดับ คุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให้เข้มแข็ง สมดงั พระราชปณิธาน “...การศึกษาคอื ความมัน่ คงของประเทศ...” ขอพระองค์ทรงพระเจรญิ มูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ข (สำเนำ) ท่ี ศธ ๐๔๐๑๐/๕๘๑ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำน กระทรวงศกึ ษำธิกำร กทม. ๑๐๓๐๐ ๑๑ มนี ำคม ๒๕๖๔ เร่ือง รับรองควำมร่วมมือกำรพัฒนำคู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เพื่อกำรสอนออกอำกำศทำงไกล ผำ่ นดำวเทยี ม เรยี น เลขำธิกำรมลู นิธิกำรศึกษำทำงไกลผำ่ นดำวเทยี ม ในพระบรมรำชปู ถมั ภ์ อ้ำงถึง หนงั สือมูลนิธกิ ำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ในพระบรมรำชูปถมั ภ์ ที่ มศทท. ๙/๗๒ ลงวันที่ ๒๕ มกรำคม ๒๕๖๔ ตำมหนังสือที่อ้ำงถึง มูลนิธิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ในพระบรมรำชูปถัมภ์ แจ้งว่ำ มูลนิธิ ฯ ได้ปรับปรุงคู่มือครูและแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย คู่มือครูและ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ระดับประถมศึกษำและมัธยมศึกษำตอนต้น ตำมข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ จำกผู้ทรงคุณวุฒิ คณะผู้นิเทศ ครูผู้สอนจำกโรงเรียนต้นทำงและโรงเรียนปลำยทำง และได้พัฒนำเป็นคู่มือครู และแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย ฉบับปรับปรุง คู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ส่ือ ๖๐ พรรษำ ระดับประถมศึกษำ ฉบับปรับปรุง โดยมูลนิธิ ฯ ได้ดำเนินกำรพัฒนำและบรรณำธิกำรกิจ โดยคณะกรรมกำรประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชำญ ครูผู้สอนท่ีมีประสบกำรณ์เป็นผู้ร่วมในกำรพัฒนำ คู่มือจนสำเร็จ และได้ประชุมหำรือเพ่ือให้ข้อเสนอแนะ ข้อควรปรับปรุงจำกสำนักวิชำกำรและมำตรฐำน กำรศึกษำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน นั้น ในกำรนี้ ขอรับรองว่ำคู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ สื่อ ๖๐ พรรษำ ระดับประถมศึกษำ ฉบับปรับปรุง และคู่มือครูและแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย ฉบับปรับปรุง สำมำรถใช้ ในกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนได้ จงึ เรียนมำเพอื่ โปรดทรำบ ขอแสดงควำมนบั ถือ (นำยอมั พร พินะสำ) เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พนื้ ฐำน สำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๖๕-๖๖ โทรสำร ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๕๕
ค สารบัญ หน้า คานา ก หนังสือรับรองความรว่ มมือการพัฒนาคมู่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ข เพอ่ื การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทยี ม สารบญั ค คาช้แี จงการรับชมรายการออกอากาศด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม จ คาชแ้ี จงรายวิชา กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี ๑ ช คาอธบิ ายรายวิชา กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี ๑ ฒ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ัด ณ โครงสรา้ งรายวิชาศลิ ปะ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ ๑ ต หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรื่อง ทัศนธาตใุ นงานศลิ ป์ 1 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง เส้น 5 แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๒ เรือ่ ง สี 10 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๓ เรอ่ื ง รปู ร่าง รูปทรงท่ีพบในธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อม และงานทศั นศลิ ป์ 15 แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๔ เรื่อง พ้ืนผวิ 20 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๕ เรื่อง จาแนกทศั นธาตุ 25 แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรอื่ ง ทศั นธาตุในงานศลิ ป์ 30 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรื่อง รงั สรรค์งานศิลป์ 31 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรอื่ ง วาดภาพเหตกุ ารณ์ 35 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๒ เรอ่ื ง ออกแบบสิ่งของที่มใี นบา้ น 40 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๓ เรอื่ ง งานปน้ั 45 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๔ เรื่อง วจิ ารณง์ านศิลป์ 50 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๕ เรือ่ ง ทศั นศลิ ปท์ ้องถนิ่ 55 แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง รังสรรคง์ านศลิ ป์ 60 แบบบนั ทึกการเรียนรู้ (Learning Logs) 61 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๓ เรอื่ ง ดนตรกี ับชีวิต 62 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง เคร่อื งดนตรีนา่ รู้ 66 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่ือง เครอ่ื งดนตรีนา่ รู้ 72 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๓ เรือ่ ง โน๊ตดนตรี 78
ง 84 89 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 เรอ่ื ง จงั หวะดนตรี 94 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 เร่ือง ดนตรใี นชีวิต 95 แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอ่ื ง ดนตรกี บั ชวี ิต 98 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง ภาษานาฏศิลป์ 104 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่ือง สร้างสรรคก์ ารเคลอื่ นไหว 110 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง นาฏยศัพท์และภาษาทา่ 115 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ เรือ่ ง นาฏยศัพท์และภาษาท่า 120 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๔ เรอ่ื ง ราวงมาตรฐาน 125 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๕ เรือ่ ง อนรุ ักษ์ศิลป์ไทย 126 แบบประเมนิ ตนเอง หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๔ เรื่อง ภาษานาฏศลิ ป์ 127 แบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning Logs) 128 บรรณานุกรม 140 ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม 149 ภาคผนวก ข. แผนผังความคดิ (Graphic Organizers) 155 ภาคผนวก ค. แบบบันทกึ การเรยี นรู้ ( Learning Logs) คณะกรรมการปรับปรุงคู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
จ คาชี้แจง การรับชมรายการออกอากาศดว้ ยระบบทางไกลผา่ นดาวเทยี ม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้บริการการจัดการเรียนการสอน จากสถานวี ทิ ยุโทรทศั น์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม จานวน ๑๕ ชอ่ งรายการ ทงั้ รายการสด (Live) และรายการ ยอ้ นหลงั (On demand) สามารถรบั ชมผ่านช่องทาง ต่อไปนี้ ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เขา้ ท่ี Play Store/Google Play พิมพค์ าว่า DLTV - ระบบ iOS เขา้ ที่ App Store พมิ พ์คาวา่ DLTV หมายเลขช่องออกอากาศสถานีวทิ ยุโทรทัศนก์ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม 15 ช่องรายการ ช่อง (DLTV) ชอ่ ง (TRUE) รายการในเวลาเรียน รายการนอกเวลา (ช่วงเวลา ๐๘.๓๐ น.–๑๔.๓๐ น.) (ช่วงเวลา ๑๔.๓๐ น.–๐๘.๓๐ น.) DLTV 1 ช่อง 186 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 สถาบันพระมหากษตั ริย์ DLTV 2 ชอ่ ง 187 รายการสอนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2 ความรู้รอบตัว DLTV 3 ชอ่ ง 188 รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี DLTV 4 ชอ่ ง 189 รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม DLTV 5 ช่อง 190 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 ศิลปวฒั นธรรมไทย DLTV 6 ชอ่ ง 191 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 หน้าที่พลเมอื ง DLTV 7 ชอ่ ง 192 รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร DLTV 8 ชอ่ ง 193 รายการสอนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาษาตา่ งประเทศ DLTV 9 ช่อง 194 รายการสอนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 การเกษตร DLTV 10 ช่อง 195 รายการสอนชน้ั อนุบาลปที ี่ 1 รายการสาหรับเด็ก-การเลีย้ งดูลกู DLTV 11 ชอ่ ง 196 รายการสอนชน้ั อนุบาลปที ่ี 2 สุขภาพ การแพทย์ DLTV 12 ช่อง 197 รายการสอนชน้ั อนุบาลปที ่ี 3 รายการสาหรับผสู้ ูงวัย DLTV 13 ช่อง 19๘ รายการของการอาชพี วงั ไกลกงั วล และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล DLTV 14 ชอ่ ง 199 รายการของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช DLTV 15 ชอ่ ง 200 รายการพฒั นาวชิ าชีพครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรยี นระดบั ชั้นปฐมวัย ชว่ งเวลา ๐๘.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
ฉ การตดิ ต่อรับขอ้ มูลขา่ วสาร ๑. มูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ เลขที่ 214 ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนสั เขตป้อมปราบศตั รพู า่ ย กรงุ เทพมหานคร โทร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานวี ิทยโุ ทรทัศน์การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ซอยหวั หิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตาบลหัวหิน อาเภอหวั หิน จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗–๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอ่ เรอ่ื งเว็บไซต)์ [email protected] (ติดตอ่ เรื่องทว่ั ไป) ๓. โรงเรยี นวังไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถัมภ์ อาเภอหวั หนิ จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร 032 522 347 , 032 520 478 โทรสาร 032 520 478 Facebook : โรงเรียนวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ช่องทางการติดตามขา่ วสาร Facebook : มลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th
ช คาชแ้ี จง กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ๑. แนวคิดหลกั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดสาระการเรยี นรู้ จานวน ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ครูผสู้ อนตอ้ งจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยนาความรู้ด้านเนื้อหาวิชามาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการฝกึ ทกั ษะใหผ้ เู้ รยี นเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเกดิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๕ ประการ และคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ ๘ ประการ ดังน้ี สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสื่อสารเป็นความสามารถในการรบั สารและสือ่ สารมวี ฒั นธรรมในการใช้ภาษา ๒) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อยา่ งสร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ การคดิ อย่างเป็นระบบเพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพอ่ื ใช้ในการตัดสนิ ใจ เก่ียวกบั ตนเอง สังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสังคม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการเข้าใจและเคารพตนเอง สามารถ นากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอย่รู ่วมกันในสงั คมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้ง ตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใชเ้ ทคโนโลยี การแก้ปญั หาอย่าง สรา้ งสรรคถ์ ูกต้องเหมาะสม มีคุณธรรมด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเอง สงั คมในด้านการเรียนรู้ การสอื่ สาร การทางาน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข ในฐานะ เปน็ พลเมืองไทยและพลเมืองโลก ดงั น้ี ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒) ซอ่ื สัตย์ สจุ รติ ๓) มีวินัย ๔) ใฝเ่ รียนรู้ ๕) อยอู่ ย่างพอเพยี ง ๖) มุ่งมนั่ ในการทางาน ๗) รักความเปน็ ไทย ๘) มจี ิตสาธารณะ
ซ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ช่ืนชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซ่ึงมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กจิ กรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผเู้ รียนทั้งดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนาไปสู่การพัฒนา ส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ ครูผู้ใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ี ควรมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซ้ึงในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ จัดกิจกรรม การเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จากจนิ ตนาการ สามารถใช้อปุ กรณ์ท่เี หมาะสม รวมทง้ั สามารถใช้เทคนคิ วธิ กี ารของศิลปินในการสร้าง งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิ ปัญญาไทย และสากล ชนื่ ชม ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนศิลปะ มีการบูรณาการด้านคุณลักษณะในแผนการจัด การเรียนรู้ที่คานึงถึงคุณลักษณะที่ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีทักษะด้านวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซ้ึงในคุณค่า ของศิลปะ เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนแสดงออกอย่างอิสระ ในศลิ ปะแขนงตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ สอดคล้อง ตามเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ และให้มีเจตคติท่ีดีต่อสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ และมีจิตอาสา ครูผู้สอนควรปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดคุณลักษณะ อนั พึงประสงคแ์ ละเป็นคนดีของสังคม ๒. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ แนวคิดสาคญั ของการจดั ศึกษา ทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั คือการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน คิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ การประเมินการเรยี นรจู้ ึงมีความสาคัญและจาเปน็ อยา่ งยิ่ง ต่อการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน เพราะสามารถ ทาให้ผู้สอนประเมินระดบั พฒั นาการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น การจัดการศกึ ษาตอ้ งยึดหลักว่า ผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน มีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ ให้ความสาคัญของการบูรณาการความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของระดับ การศกึ ษา ไดร้ ะบใุ หผ้ ู้ทเ่ี กยี่ วข้องดาเนนิ การ ดังนี้ ๑) สถานศกึ ษาและหน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง (๑) จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึง ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพือ่ ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทาได้คิดเป็นทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รอู้ ย่างต่อเนื่อง
ฌ (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคณุ ธรรม คา่ นิยมทีด่ ีงามและ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคไ์ วใ้ นทุกวชิ า (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวย ความสะดวกเพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนรู้และ มีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวน การเรยี นรู้ ท้ังน้ีผ้สู อนและผู้เรยี นอาจเรียนรูไ้ ปพรอ้ มกนั จากส่อื การเรียน การสอนและแหล่งวิทยาการประเภทตา่ ง ๆ (๖) จดั การเรียนรู้ใหเ้ กิดขึน้ ไดท้ กุ เวลา ทกุ สถานท่ี มีการประสานความ รว่ มมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพอ่ื รว่ มกนั พฒั นาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ ๒) การจัดสภาพแวดล้อมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ (๑) จดั สภาพแวดล้อม ห้องเรยี น หรอื ภายนอกห้องเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ สะอาด มีความเป็น ระเบยี บ ตกแต่งหอ้ งเรยี นให้นา่ อยู่ มีมมุ ตา่ งๆในห้องเรียน มีท่เี กบ็ วสั ดุอปุ กรณ์ และง่ายต่อการนามาใช้ มีป้ายนิเทศ ให้ความรู้ ภายนอกห้องเรียนจัดบรรยากาศให้เป็นธรรมชาติน่าอยู่ ร่มร่ืนและเหมาะกับกิจกรรมการเรียนรู้ ถกู สุขลกั ษณะและปลอดภยั (๒) จดั สภาพแวดล้อม หรือห้องใหผ้ ูเ้ รยี นไดฝ้ กึ ปฏบิ ัตกิ าร (๓) จัดส่อื อุปกรณ์ ที่เกี่ยวกบั การเรยี นรู้อยา่ งเพียงพอ เหมาะสม (๔) จดั หาเคร่ืองมือแสวงหาความรู้ หรือ ช่องทางเสนอข่าวสารต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับรู้ข้อมูล ขา่ วสารทท่ี นั สมัยปัจจบุ นั อยเู่ สมอ ๓) ครผู ู้สอน การจัดการเรียนรู้ตามแนวดังกล่าว จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนท้ังของ ผู้เรียนและผู้สอน กล่าวคือลดบทบาทของครูผู้สอน จากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็นการวางแผนจัด กจิ กรรมให้นักเรยี นเกดิ การเรยี นรู้ กจิ กรรมต่าง ๆ จะตอ้ งเน้นทบี่ ทบาทของผเู้ รยี นตง้ั แตเ่ รมิ่ คอื ร่วมวางแผนการเรยี น การวัดผล ประเมนิ ผล และต้องคานึงวา่ กิจกรรมการเรียนน้ัน เน้นการพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติ ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมปี ฏิสัมพนั ธซ์ ่ึงกันและกนั การสรา้ งคาอธิบายเกีย่ วกับข้อมลู ท่ีสืบค้นได้ เพ่อื นาไปสูค่ าตอบของปัญหาหรือคาถาม ต่าง ๆ และสร้างองค์ความรู้ ทั้งนี้กิจกรรมการเรียนรู้เหล่าน้ีต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ท้งั ทางรา่ งกาย อารมณส์ งั คม และสติปัญญา หลักการจัดกระบวนการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับช้ันประถมศึกษา ครูผู้สอนต้อง จัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ีให้ผูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรู้อย่างมคี วามหมาย โดยการร่วมมือระหว่างครูกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ครูตอ้ งลดบทบาทในการสอนโดยเป็นผู้ชี้แนะ กระตุ้นให้ผู้เรียนกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ มากขน้ึ และอย่างหลากหลาย ดังน้ี 1) ควรใหน้ ักเรียนทุกคนมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดเวลาด้วย การกระตุ้นให้นักเรียนลง มอื ปฏิบัติและอภิปรายผล โดยใชเ้ ทคนิคต่าง ๆ ของการสอน เชน่ การนาเข้าสู่บทเรียน การใช้คาถาม การเสริมพลัง มาใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ ทจ่ี ะทาให้การเรยี นการสอนนา่ สนใจและมชี ีวติ ชีวา
ญ 2) ครูควรมีการวางแผนการใช้คาถามอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือจะนานักเรียนเข้าสู่บทเรียน และลงขอ้ สรุปไดโ้ ดยท่ีไมใ่ ช้เวลานานเกินไป ครูควรเลือกใช้คาถามท่ีมีความยากง่ายพอเหมาะกับความสามารถของ นักเรียน 3) เม่อื นักเรียนถาม อย่าบอกคาตอบทันที ควรให้คาแนะนาที่จะช่วยให้นักเรียนหาคาตอบได้เอง ครูควรให้ความสนใจตอ่ คาถามของนักเรียนทุก ๆ คน แม้ว่าคาถามนั้นอาจจะไม่เก่ียวกับเร่ืองท่ีกาลังเรียนอยู่ก็ตาม ครคู วรจะชีแ้ จงให้ทราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาส่เู ร่อื งท่ีกาลังอภปิ รายอยู่ สาหรบั ปญั หาที่นักเรยี นถาม มานน้ั ควรจะไดห้ ยบิ ยกมาอภปิ รายในภายหลัง 4) การสารวจตรวจสอบซ้า เป็นส่ิงจาเป็นเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ดังน้ัน ในการจัดการเรียนรู้ ครูควรย้าให้นักเรียนไดส้ ารวจตรวจสอบซ้าเพอ่ื นาไปสู่ข้อสรุปท่ถี ูกต้องและเช่ือถอื ได้ กระบวนการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานที่ การเรียนรู้ จากห้องสมุด แหล่งเรียนรูจ้ ากภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน งานวิเคราะห์จากการศึกษาภาคสนาม การเรียนรู้โดยผู้เรียนลงมือปฏิบัติ เป็นการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทาจริง โดยกาหนด ภาระงาน (task) การวางแผนปฏบิ ตั ิ ลงมือปฏิบัติโดยครใู หค้ าแนะนาและสาธิตให้ดูเป็นตัวอย่าง ผู้เรียนฝึกได้ปฎิบัติ ตามลาดับขั้นตอนจนชานาญ ในรูปแบบของโครงงาน ศิลป์สร้างสรรค์ ท่ีเน้นกระบวนการกลุ่ม ประกอบด้วย การอภิปรายกลุม่ ยอ่ ย การแก้ปญั หากลุ่ม สืบคน้ ความรู้ กลมุ่ สมั พันธ์ การเรยี นร้แู บบรว่ มมอื การอภิปราย การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ได้แก่ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิดรวบยอด การพัฒนา กระบวนการคิด การสอนโดยใช้วิธีการตั้งคาถามผู้เรียน การเรียนการสอนโดยใช้แผนผังความคิด ( Graphic Organizers) การเรียนการสอนดว้ ยกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๓. ส่ือการจดั การเรยี นรู/้ แหลง่ เรยี นรู้ สอ่ื การจัดการเรียนรู้ เปน็ เคร่อื งมอื สง่ เสริมสนับสนนุ การจดั กระบวนการเรยี นรใู้ ห้นักเรียนได้รับความรู้ ทักษะกระบวนการได้ง่ายในระยะเวลาสั้นและช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดอย่างถูกต้องและรวดเร็วส่ือ ทีป่ รากฏในแผนการจดั การเรยี นรู้มีดงั นี้ ๑) ใบความรู้ ใบงาน แผนภาพนาเสนอข้อมลู ๒) คลิป/วดี ทิ ศั น์/ภาพข่าวสถานการณป์ ัจจุบัน ๓) สถานการณส์ มมุติ ๔) ส่อื บุคคล แหล่งเรยี นรู้ เป็นเครื่องมือสร้างคุณลักษณะการใฝ่เรียนรู้ทท่ี กุ คนต้องใฝ่รตู้ ลอดชีวติ ดังนี้ ๑) แหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรยี น ๒) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน ท้องถ่ิน พิพิธภัณฑ์ หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ห้องสมุด ประชาชน ห้องสมุดแหง่ ชาติ หอ้ งสมดุ เปน็ แหล่งเรยี นรทู้ ส่ี าคัญและเปน็ หัวใจสาคญั ของผเู้ รียนในการศกึ ษาค้นคว้า โรงเรียนควรจัด หอ้ งสมุดกลาง หอ้ งสมุดหมวดวิชา มมุ หนังสอื ในห้องเรยี น ห้องสมุดเคลอ่ื นท่ี รถเคล่ือนที่ ห้องสมุดประชาชนล้วนเป็น แหลง่ เรียนรจู้ ะทาใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนร้แู ละปลกู ฝังลักษณะนสิ ยั ทด่ี ใี นการสง่ เสรมิ นสิ ยั รกั การอา่ น
ฎ ๓) แหลง่ เรียนรอู้ อนไลน์ - สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน - สานักหอสมุด มหาวทิ ยาลยั ตา่ ง ๆ - กระทรวงวฒั นธรรม ฯลฯ ๔. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์สาคัญของการประเมินการเรียนรู้ คือ การช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ทผ่ี ู้สอนหรือหลักสูตรวางไว้ ปัญหาท่ีพบในปัจจุบันก็คือ ผู้บริหาร ผู้สอน ตลอดจนผู้ปกครองเป็นจานวนมากยังให้ ความสาคัญการเรียนรู้แบบท่องจาเพื่อสอบ หรือการเรียนรู้เพ่ือแข่งขัน ซ่ึงถือเป็นการเรียนรู้แบบผิวเผินมากกว่า การประเมินการเรียนรูร้ ะหวา่ งเรยี นการเรียนรเู้ พ่ือพฒั นาตนเองซ่ึงผลลพั ธ์ของการเรียนร้จู ะยง่ั ยนื กวา่ (กุศลิน มสุ ิกุล, ๒๕๕๕; ขจรศักด์ิ, เพ็ญจันทร์ และวรรณทิพา รอดแรงคา้ , ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนร้เู พื่อพฒั นาสมรรถนะดา้ นตา่ งๆ ของผู้เรียนนั้น จาเป็นต้องมีการประเมนิ การเรียนรู้ อย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่เร่ิมต้นระหว่างและส้ินสุดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้การประเมินในรูปแบบที่หลากหลาย สอดคลอ้ งตามวัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นรู้ รปู แบบการประเมนิ การเรยี นรไู้ ดแ้ ก่ การประเมนิ การเรียนรรู้ ะหวา่ งเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรู้สรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมิน การเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ และการประเมินตาม สภาพจริงนั้น ผู้สอนจาเป็นต้องสะท้อนการประเมิน ให้ผู้เรียนรับทราบเพื่อปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผู้สอน ต้องนาผลการประเมินมาพิจารณาเพื่อทบทวนและปรับแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้สามารถดาเนินการแก้ ไข ชว่ ยเหลอื หรือหาวิธีการตา่ งๆ เพอ่ื ช่วยให้ผู้เรียนแต่ละคนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตามแต่ละจุดประสงค์ การเรยี นรู้หรือเป้าหมายของตัวช้วี ดั ต่างๆ (กศุ ลิน มุสิกุล, ๒๕๕๕ ) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการ คือ การประเมิน เพ่อื พัฒนาผูเ้ รยี นและการตดั สินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จน้ัน ผเู้ รียนจะต้องไดร้ บั การพฒั นาและประเมนิ ตามตวั ช้ีวดั เพอื่ ใหบ้ รรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้ สะทอ้ นสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินการเรียนรู้ในทุกระดับ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ความสาคัญของการประเมิน พฤติกรรมการปฏิบตั ิ ดงั นี้ ๑) วิธกี ารประเมนิ (1) การวัดและประเมินก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อม และความรู้เดิมของผู้เรียน (ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนรูข้ นั้ นา) (2) การวัดและประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ ด้านความรู้ ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพร้อมแสดงเหตุผล ตรวจช้ินงาน การนาเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรียนรขู้ ้ันสอน) จดุ มงุ่ หมายของการประเมินระหวา่ งเรียน มดี งั นี้
ฏ (๒.๑) เพื่อค้นหาและวินิจฉัยว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหา มีทักษะความชานาญ รวมถึง มีเจตคติทางการเรยี นรอู้ ย่างไรและในระดบั ใด เพ่อื เปน็ แนวทางใหผ้ ู้สอนสามารถวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ได้ อย่างเหมาะสม เพื่อพัฒนาการเรียนรขู้ องผเู้ รียนไดอ้ ย่างเต็มศักยภาพ (๒.๒) เพอ่ื ใชเ้ ป็นข้อมูลป้อนกลบั ใหก้ บั ผู้เรยี นว่ามผี ลการเรยี นรอู้ ยา่ งไร (๒.๓) เพอื่ ใช้เปน็ ข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้านการเรียนรู้ ของผู้เรยี นแตล่ ะคน (3) การวัดและประเมินหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความสาเร็จตามจุดประสงค์รายแผน เป็นการพัฒนาในจุดที่ผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคล่ือนหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และเพือ่ ตดั สนิ ผลการจัดการเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผู้เรียนได้เรียนไปแล้ว ผลจากการประเมินประเภทน้ี ใชป้ ระกอบการตัดสินผลการจัดการเรยี นการสอน หรอื ตัดสินใจว่าผูเ้ รียนคนใดควรจะไดร้ บั ระดับคะแนนใด (4) ประเมนิ รวบยอดเมื่อสิ้นสุดหนว่ ยการเรยี นรู้ ดาเนินการดงั นี้ การประเมินโดยครูผู้สอน เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนว่าบรรลุเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามมาตรฐาน ตัวช้ีวดั สมรรถนะ คุณลักษณะ และ เจตคตหิ รือไม่ เช่น การทาโครงงาน การนาความรูไ้ ปใช้เพ่ือพฒั นา สังคมในรูปแบบต่าง ๆ การประเมินโดยผู้เรียนแต่ละคน โดยการทาแบบบันทกึ การเรียนรู้ (Learning log) ควรให้ผู้เรียน ได้ประเมินการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อเปิดโอกาสได้สะท้อนคิดสิ่งท่ีเรียนรู้ท้ังท่ีทาได้ดีและยังต้องพัฒนา (ตัวอย่าง แบบบันทึกการเรียนรู้ ดูภาคผนวก ค.) ควรให้ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ย่อยหลังจบการเรียนรู้แต่ละหน่วย การเรียนรู้ และประเมนิ การเรยี นรู้รวมในชว่ งกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน โดยครูสามารถเลือกใช้ชุดคาถาม และจานวนข้อให้เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน ช่วงเวลาและธรรมชาติของแต่ละวิชา ทั้งน้ีในครั้งแรกครูควรทา ร่วมกับนักเรียนเพื่อแนะนาวิธีการเขียนแบบสะท้อนคิด และควรอ่านสิ่งที่นักเรียนบันทึกพร้อมให้ข้อมู ลย้อนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสร้างสรรค์ รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลในแบบบันทึกเพื่อพัฒนาการสอนของตัวเอง และช่วยเหลือนักเรยี นเป็นรายบุคคลตอ่ ไป ๒) ผู้ประเมิน ได้แก่ เพ่ือนประเมินเพื่อน ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และผู้ปกครอง ร่วมประเมนิ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้ดู ้านศิลปะ เปน็ กระบวนการทางสนุ ทรียศาสตร์ ทเ่ี กี่ยวกับรสนยิ ม ความชนื่ ชอบ ความงาม เกณฑ์ในการวัดผลแบบนิยมที่เน้นความถูกต้องของการตอบข้อสอบใน มาตัดสินความงาม ความคิดสร้างสรรค์ไม่เหมาะสม การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง จึงเหมาะที่จะใช้ประเมินผลการเรียนรู้ ทางศลิ ปะ เปน็ การประเมนิ ความสามารถ และกระบวนการในการปฏิบัติในสถานการณ์จริง หรือคล้ายสถานการณ์ จริง ท้ังในและนอกห้องเรียน เน้นให้ผู้เรียนได้แสดงออกถึงความเข้าใจและทักษะการคิด ที่บูรณาการการเรียนรู้ เช่อื มโยงการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ด้วยการเรียนรู้ด้านศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์มีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต วฒั นธรรมของผูค้ นในสงั คม การวดั และประเมินผลกับการจัดการเรียนการสอนศิลปะ จึงเป็นเร่ืองท่ีสัมพันธ์กัน หากขาดส่ิงหน่ึง สิ่งใดการเรยี นการสอนกข็ าดประสิทธภิ าพ ครตู ้องใชว้ ธิ ีการและเครือ่ งมือการประเมินที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การซกั ถาม การระดมความคดิ เหน็ เพือ่ ใหไ้ ด้มติข้อสรุปของประเด็นที่กาหนด การใช้แฟ้มสะสมงาน การใช้ภาระงาน ทเ่ี นน้ การปฏิบัติ การประเมนิ ความรูเ้ ดมิ การใหผ้ เู้ รียนประเมินตนเอง การให้เพ่ือนประเมินเพื่อน และการใช้เกณฑ์
ฐ การให้คะแนน (Rubrics) ส่ิงสาคัญท่ีสุดในการประเมินเพื่อพัฒนาคือการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนในลักษณะ คาแนะนาท่ีเช่ือมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ทาให้การเรียนรู้พอกพูน แก้ไขความคิด ความเข้าใจเดิมท่ีไม่ถูกต้อง ตลอดจนการใหผ้ เู้ รียนสามารถต้ังเป้าหมายและพฒั นาตนได้ ในการประเมนิ เพอื่ ตัดสินผลการเรียนที่ดีต้องให้โอกาส ผู้เรียนแสดงความรู้ความสามารถด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพื้นฐานของเกณฑ์ผลการปฏิบัติ มากกว่าใช้เปรยี บเทียบระหวา่ งผู้เรียน 5. คาแนะนาบทบาทครูปลายทางในการจดั การเรยี นรู้ ครปู ลายทางควรมบี ทบาทการสอนคูข่ นานกับครตู น้ ทางในการกากบั ดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นในทกุ ขั้นตอน การสอน ดงั นี้ 1) ข้นั เตรียมตัวกอ่ นสอน (1) ศกึ ษาทาความเข้าใจคาชี้แจงและทาความเข้าใจเชื่อมโยง ท้ังเป้าหมาย กิจกรรมและการวัดผล และประเมินผลระหวา่ งหน่วยการเรียนร้กู ับแผนการจดั การเรยี นรู้รายชัว่ โมง (2) ศกึ ษาคน้ คว้าความรู้เพ่ิมเติม จากแหล่งเรียนรู้ หน่วยงาน องค์กรที่ให้ความรู้ท่ีเชื่อถือได้ รวมท้ัง เทคนคิ การจัดการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาความสามารถของผเู้ รียนอย่างรอบดา้ น (3) ปรับ/ประยุกต์หรือเพิ่ม เป้าหมายทั้งเน้ือหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะท่ีเป็นจุดเน้น และท่ีเป็นปัจจุบันตามบริบทของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู้ ตามศักยภาพของผูเ้ รียน และตามสภาพจรงิ (4) ศึกษาคลิปบทเรียนท่ีมีการอัพโหลดล่วงหน้าเพื่อทาความเข้าใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และสื่อต่างๆท่ีครูใชป้ ระกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกจิ กรรมในข้ันตอนช่วงการปฏิบัติ ท้งั ด้านวธิ ีการ ส่ือท่ีใช้ และช่วงเวลาของการทาแต่ละกิจกรรมเพอ่ื นามาวิเคราะหแ์ ละหาแนวทางเตรยี มนักเรยี น/ชว่ ยเหลือ ส่งเสริม/อานวย ความสะดวกนกั เรยี นตามบริบทของหอ้ งเรียนของตนใหส้ ามารถเรียนร้ไู ด้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเต็มตามศักยภาพ (5) เตรยี มใบงาน (ทีค่ ัดเลือกสาหรบั มอบหมายให้นักเรียนได้ทาตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมท้ัง การเตรยี มอปุ กรณ์ตามระบใุ นแผนฯและ/หรอื ท่ีปรากฏในคลิป (ในกรณีมกี ารปรบั เปลี่ยนเพิม่ เติม) (6) ตดิ ตามข้อมลู รายละเอียดการจัดกิจกรรมในช่วงการปฏิบัติตามกาหนดการสอนท่ีมีรายละเอียด ของส่อื การสอน ใบงาน ใบความรู้ บนเวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th 2) ข้ันการจัดการเรียนรู้ (1) สร้างการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการทากิจกรรม เช่น กระตุ้นให้นักเรียนคิด ตอบคาถาม ของครตู ้นทาง ฟังเฉลยและชว่ ยเสริม/อธิบาย/ในส่ิงท่ีนักเรียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ชมเชย/ให้กาลงั ใจหากนักเรยี นทาได้ดี (2) ให้ความช่วยเหลอื นักเรียนที่ตามไม่ทัน เช่นอธิบายเพิ่มเติมเพ่ือให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ต่อไป อย่างมีประสทิ ธิภาพ (3) กากับดูแลใหม้ วี ินยั ในการเรยี น เช่น ไม่เล่นหรอื พดู คยุ กัน ปฏิบตั ิตามคาสง่ั ในการทากจิ กรรม ฯลฯ (4) อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ เชน่ จัดเตรยี มสอ่ื การเรยี นร/ู้ อุปกรณ์
ฑ (5) สังเกตพฤติกรรมนักเรยี นเช่น คุณลักษณะผู้เรียน, สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น การจัดการเรยี นรู้/ การปฏบิ ตั งิ าน ความรใู้ นบทเรียน และบนั ทึกขอ้ มูลตามแนวทางประเมนิ ทแ่ี นะนาไวใ้ นแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อนา ขอ้ มูลไปพฒั นานกั เรยี นและใหค้ วามชว่ ยเหลือนักเรียนท้งั ช้ัน/กลุ่ม/รายบุคคลตามกรณี 3) ขั้นการปฏบิ ตั ิ (1) ทบทวนขั้นตอนการทากิจกรรมตามที่ครูต้นทางแนะนา และตามข้อแนะนาการปฏิบัติที่ระบุ ใน PowerPoint ตรวจสอบความเข้าใจ และเตรยี มนกั เรียนก่อนทากจิ กรรม (การแบง่ กลุ่ม ฯลฯ) (2) กากบั ใหก้ ารทากจิ กรรมเป็นไปตามลาดบั เวลาตามแนวทางที่ระบบุ น PowerPoint (3) ให้ความช่วยเหลือนักเรยี นในระหวา่ งการทากิจกรรม (4) เตรียมพร้อมนกั เรยี นสาหรบั กิจกรรมในขั้นตอนสรปุ การเรียน (ถ้ามี) เช่น การสรุปผลปฏิบัติงาน เพื่อเทยี บเคยี งกับผลงานท่นี ักเรียนตน้ ทางจะนาเสนอ เปน็ ต้น 4) ข้นั สรปุ (1) กากบั นกั เรยี นให้มีสว่ นรว่ มในการเฉลยใบงาน/สรุปผลการทากิจกรรม ฯลฯ (2) ทบทวนประเดน็ สาคญั ทีม่ ีการสรปุ ท้ายชั่วโมง และงาน/ใบงานท่ีครูต้นทางมอบหมายให้ทาเป็น การบา้ น/หรอื ใบงานท่คี รูปลายทางได้เลือกมาใช้กบั ช้นั เรียนของตน (3) จัดให้นักเรียนได้ทาแบบประเมินตามระบุในหัวข้อ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (เฉพาะหลงั จบแต่ละหน่วยการเรยี นรูแ้ ละครึ่ง/ปลายภาคเรยี น) 5 ) การบันทึกผลหลงั สอน (1) บนั ทกึ การจัดการเรยี นร้ขู องตนเอง โดยใชข้ อ้ มูลจากแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนระหว่างเรียน และแบบประเมินตนเอง บนั ทกึ การเรียนรู้ของนกั เรยี นเพื่อวิเคราะห์เทคนิค หรือวิธีการใด ที่ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความรู้ มที ักษะ และคุณลกั ษณะตามจุดประสงค์ (2) บันทึกสาเหตุของความสาเร็จ อปุ สรรค และ/หรือข้อจากดั ที่เกดิ ขึน้ เช่น เทคนิค หรือวิธีการใด การบริหารจัดการช้นั เรียน การจดั บรรยากาศ สิ่งแวดล้อมอย่างไร ฯลฯ ที่ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความรู้ มีทัก ษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค์ โดยใช้คาถามที่ให้ไว้ใน “คาถามบันทึกผลหลังสอนสาหรับครูปลายทาง” (ดูภาคผนวก ค.) เปน็ แนวทางในการย้อนคดิ ไตรต่ รองสงิ่ ท่เี กิดขน้ึ และนาไปบนั ทึกผลหลงั สอนของชัว่ โมงนัน้ ๆ (3) วเิ คราะห์และสรปุ ผลจากข้อมลู ตามปญั หา/ความสาเร็จท่เี กิดขน้ึ และเสนอแนวทางการปรับปรุง เพื่อนามาพฒั นาการจัดการเรียนรู้ และชว่ ยเหลือ/ส่งเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ในคร้ังต่อไป รวมท้ังนาไปใช้ เป็นข้อมลู เพือ่ พัฒนาเปน็ งานวจิ ยั ในชน้ั เรยี นตอ่ ไป
ฒ รหสั วชิ า ศ13101 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน กล่มุ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ จานวน ๑ หนว่ ยกิต รายวิชา ทศั นศลิ ป์ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง ทัศนศลิ ป์ ศกึ ษารปู ร่าง รปู ทรงทพ่ี บในธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ทัศนธาตุ และงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเส้น สี รูปร่าง รูปทรง การใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ สร้างภาพปะติดจากกระดาษ วาดภาพ และงานโครงสร้าง เคล่ือนไหว บอกความสาคัญของงานทัศนศลิ ปป์ ระเภทตา่ งๆทีพ่ บในท้องถ่นิ และในชีวติ ประจาวัน ดนตรี ศึกษาเรียนรู้ รูปร่างลักษณะของเครื่องดนตรี สัญลักษณ์ของเสียง บทบาทหน้าที่ของบทเพลงสาคัญ การขับร้อง การเคลื่อนไหวตามอารมณข์ องบทเพลง การแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั เพลงและเสยี งดนตรี การใชด้ นตรี ในโอกาสพเิ ศษ ดนตรกี บั การดาเนินชวี ิตในทอ้ งถิน่ นำฏศิลป์ ศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติการเคล่ือนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์สั้น ๆ หลักและวิธีการปฏิบัติ นาฏศิลป์ หลักในการชมการแสดง การแสดงนาฏศิลป์พ้ืนบ้านหรือท้องถ่ิน โดยใช้วิธีการศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ เปรียบเทยี บ เพื่อใหเ้ กิดความรคู้ วามเขา้ ใจ รักในการศิลปะ ในชวี ิตประจาวันได้ รหสั ตวั ชวี้ ัด ศ 1.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/๖ ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/10 ศ 1.2 ป.3/1 ป.3/2 ศ 2.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/๖ ป.3/7 ศ 2.2 ป.3/1 ป.3/2 ศ 3.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ศ 3.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 รวมทัง้ หมด ๒๙ ตัวชว้ี ดั
ณ รหสั วิชา ศ13101 มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต รายวชิ า ทศั นศิลป์ ดนตรี–นาฏศิลป์ รวมเวลา ๒๐ ชว่ั โมง สาระท่ี ๑ ทัศนศลิ ป์ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ตวั ช้วี ัด ป.๓/๑ บรรยาย รปู ร่าง รปู ทรงในธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ้ ม และงานทัศนศิลป์ ป.๓/๒ ระบุ วสั ดุ อุปกรณท์ ี่ใช้สร้างผลงานเมือ่ ชมงานทศั นศลิ ป์ ป.๓/๓ จาแนกทศั นธาตุของสง่ิ ต่าง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผวิ ป.๓/๔ วาดภาพ ระบายสีสง่ิ ของรอบตัว ป.๓/๕ มีทักษะพนื้ ฐาน ในการใช้วสั ดุ อปุ กรณ์สร้างสรรค์งานปน้ั ป.๓/๖ วาดภาพถา่ ยทอดความคดิ ความรู้สกึ จากเหตุการณช์ วี ติ จรงิ โดยใช้เสน้ รปู รา่ ง รปู ทรง สี และพื้นผิว ป.๓/๗ บรรยายเหตผุ ลและวธิ กี ารในการสร้างงานทศั นศิลป์ โดยเนน้ ถึงเทคนิคและวัสดุ อุปกรณ์ ป.๓/๘ ระบุสิ่งท่ชี ืน่ ชมและสิง่ ทค่ี วรปรบั ปรุงในงานทศั นศิลป์ของตนเอง ป.๓/๙ ระบุ และจัดกลมุ่ ของภาพตามทัศนธาตทุ ีเ่ นน้ ในงานทศั นศิลป์นนั้ ๆ ป.๓/๑๐ บรรยายลกั ษณะรปู ร่าง รูปทรง ในงานการออกแบบส่งิ ตา่ ง ๆ ทม่ี ใี นบ้านและโรงเรยี น มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน ทศั นศลิ ป์ทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ภูมิปัญญาไทยและสากล ป.๓/๑ เล่าถงึ ที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถน่ิ ป.๓/๒ อธิบายเก่ยี วกับวสั ดุอปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารสรา้ งงานทัศนศิลป์ในทอ้ งถิ่น
ด สาระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ ดนตรอี ยา่ งอิสระ ช่นื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ตัวชี้วัด ป.๓/๑ ระบรุ ปู รา่ งลกั ษณะของเคร่ืองดนตรีที่เห็นและไดย้ นิ ในชีวติ ประจาวนั ป.๓/๒ ใชร้ ูปภาพหรอื สญั ลักษณแ์ ทนเสยี ง และจงั หวะเคาะ ป.๓/๓ บอกบทบาทหน้าทขี่ องเพลงท่ไี ดย้ นิ ป.๓/๔ ขับร้องและบรรเลงดนตรงี ่าย ๆ ป.๓/๕ เคลอื่ นไหวท่าทางสอดคล้องกบั อารมณข์ องเพลงทีฟ่ งั ป.๓/๖ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงขับร้องของตนเองและผู้อ่นื ป.๓/๗ นาดนตรีไปใช้ในชีวติ ประจาวนั หรอื โอกาสตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิน่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล ตวั ช้ีวดั ป.๓/๑ ระบุลักษณะเด่นและเอกลกั ษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น ป.๓/๒ ระบคุ วามสาคัญและประโยชน์ของดนตรีตอ่ การดาเนนิ ชวี ติ ของคนในท้องถน่ิ สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวัน ตัวช้ีวดั ป.๓/๑ สร้างสรรค์การเคล่อื นไหวในรปู แบบตา่ ง ๆ ในสถานการณส์ ัน้ ๆ ป.๓/๒ แสดงทา่ ทางประกอบเพลงตามรูปแบบนาฏศลิ ป์ ป.๓/๓ เปรยี บเทียบบทบาทหนา้ ทขี่ องผแู้ สดงและผูช้ ม ป.๓/๔ มีส่วนรว่ มในกิจกรรมการแสดงท่ีเหมาะสมกบั วยั ป.๓/๕ บอกประโยชน์ของการแสดงนาฏศิลป์ในชวี ิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลปท์ ีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ภูมิปญั ญาไทยและสากล ตัวชีว้ ัด ป.๓/๑ เล่าการแสดงนาฏศิลป์ทเ่ี คยเหน็ ในท้องถิ่น ป.๓/๒ ระบุสงิ่ ท่เี ปน็ ลกั ษณะเด่นและเอกลกั ษณข์ องการแสดงนาฏศิลป์ ป.๓/๓ อธิบายความสาคญั ของการแสดงนาฏศิลป์
ต รหสั วชิ า ศ๑๓๑๐๑ โครงสร้างรายวชิ า ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต สาระทศั นศลิ ป์ รายวชิ า ทศั นศิลป์-ดนตรี–นาฏศลิ ป์ รวมเวลา ๒๐ ช่ัวโมง หนว่ ย ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด สาระสาคญั / เวลา นา้ หนกั ที่ การเรียนรู้ ความคดิ รวบยอด (ชั่วโมง) คะแนน ๑ ทศั นธาตใุ นงาน ศ๑.๑ ป.๓/๑ การสรา้ งสรรคง์ าน ๕ ๑๒ ศลิ ป์ ป.๓/๓ ทศั นศิลปน์ ้นั มอี งค์ประกอบ ๕ ๑๓ ป.๓/๖ มากมายในการนามาใช้ ป.๓/๙ ศ๑.๒ ป.๓/๑ สรา้ งสรรคผ์ ลงาน สิ่งเหลา่ น้ันเรียกวา่ ทัศนธาตุ ๒ รังสรรคง์ านศลิ ป์ ศ๑.๑ ป.๓/๒ การเลือกใชท้ ศั นธาตุตา่ ง ๆ ป.๓/๔ ป.๓/๕ มสี ่วนสาคญั ในการสร้างงาน ป.๓/๖ ทศั นศิลป์ใหเ้ กดิ ความ ป.๓/๗ สวยงามอีกทัง้ ยงั สื่อสาร ป.๓/๘ ป.๓/๑๐ ความหมายบอกเลา่ เร่ืองราวผ่านตวั ผลงานได้ ศ๑.๒ ป.๓/๑ อีกด้วย ป.๓/๒ ผลงานทศั นศลิ ปม์ อี ยู่ รอบตัวเรา แฝงอยู่ใน ชวี ิตประจาวนั ทอ้ งถ่ินทเ่ี รา อยู่อาศัย ซึ่งมรี ปู แบบ เทคนิควธิ กี ารทมี่ ากมายใส การสร้างสรรค์ แตกต่างกัน ออกไปตามวัสดอุ ปุ กรณ์ เร่ืองราวสภาพแวดลอ้ ม ต่าง ๆ
ถ สาระดนตรี มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้วี ัด สาระสาคญั / เวลา นา้ หนกั หนว่ ย ช่อื หน่วยการ ความคดิ รวบยอด (ชัว่ โมง) คะแนน ท่ี เรยี นรู้ ศ ๒.๑ ป.๓/๑ ป ๓/๒ ศึกษาแหลง่ กาเนิดเสยี ง ๕ ๑๓ ๔ ดนตรกี บั ชวี ิต ป ๓/๓ คุณลกั ษณะและสมบัตขิ อง ป.๓/๔ เสยี งรูปรา่ งลกั ษณะเครื่อง ป.๓/๕ ป.๓/๖ ดนตรีไทยและสากลรวมถงึ ป.๓/๗ การแยกประเภทของเครือ่ ง ดนตรไี ทยและสากล ศ๒.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ สญั ลักษณ์ต่าง ๆ ทใี่ ชใ้ น การนาเสนอระดบั เสียง และความยาวของเสียง หรือหมายถงึ ตวั เสียงเองท่ี เขยี นแทนดว้ ยสัญลักษณ์ บทเพลงแตล่ ะบทเพลงจะ ประกอบด้วยจงั หวะ ทานอง ประโยคเพลง ทาให้ บทเพลงมคี วามสมบรู ณแ์ ละ ไพเราะน่าฟงั และทาใหผ้ ู้ฟงั ซาบซงึ้ และเขา้ ใจ นาฏศลิ ป์ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชวี้ ัด สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา น้าหนกั (ชวั่ โมง) คะแนน หนว่ ยที่ ชอื่ หนว่ ยการ ศ ๓.๑ ป.๓/๑ ในชีวิตประจาวนั ของเรามี เรียนรู้ ป.๓/๒ การเคล่ือนไหว เชน่ ว่ิง กระโดด ๕ ๑๒ ป.๓/๓ ออกกาลงั กาย การเคลอื่ นไหว ๕ ภาษานาฏศลิ ป์ ป.๓/๔ รา่ งกายสามารถนาไปใช้ ๒๐ ๕๐ สร้างสรรค์การ ป.๓/๕ ประกอบเพลง การแสดง เคลอื่ นไหว นาฏศลิ ปม์ ีการใช้ภาษาท่าทาง ศ ๓.๒ ป.๓/๑ นาฏศิลปไ์ ทยและนาฏยศพั ท์ ป.๓/๒ เพ่อื สอ่ื ความหมายในการแสดง ป.๓/๓ คณุ ค่าและการอนรุ กั ษค์ วาม เปน็ ชาติไทย รวมตลอดภาคเรยี น
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เร่อื ง ทัศนธาตใุ นงานศิลป์ ๑ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ทศั นธาตใุ นงานทศั นศิลป์
๒ คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๓) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ ทศั นธาตุในงานทัศนศลิ ป์ รหสั วชิ า ศ๑๓๑๐๑ รายวิชา ศิลปะ (ทัศนศลิ ป)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๕ ชวั่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด สาระ ทัศนศิลป์ มาตรฐานศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ปต์ ามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน ตวั ชี้วดั ศ ๑.๑ ป.๓/๑ บรรยายรูปรา่ ง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และงานทศั นศลิ ป์ ศ ๑.๑ ป.๓/๓ จาแนกทัศนธาตุของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติส่ิงแวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่องเส้น สี รูปรา่ ง รปู ทรง พน้ื ผวิ ศ ๑.๑ ป.๓/๖ วาดภาพถา่ ยทอดความร้สู ึกจากเหตุการณ์ชวี ิตจรงิ โดยใช้เส้น รูปร่าง รปู ทรง สแี ละพ้นื ผิว ศ ๑.๑ ป.๓/๙ ระบุ จดั กลุ่มของภาพตามทัศนธาตุที่เนน้ งานทัศนศิลป์ มาตรฐานศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างทศั นศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่เป็น มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ภมู ิปัญญาไทย และสากล ตวั ชวี้ ดั ศ ๑.๒ ป.๓/๑ เลา่ ถึงทมี่ าของงานทัศนศิลป์ในทอ้ งถ่ิน ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์นัน้ มอี งค์ประกอบมากมายในการนามาใช้สร้างสรรค์ผลงาน สิง่ เหล่านั้นเรียกว่า ทัศนธาตุ การเลือกใช้ทัศนธาตุต่าง ๆ มีส่วนสาคัญในการสร้างงานทัศนศิลป์ให้เกิดความสวยงามอีกทั้งยังส่ือสาร ความหมายบอกเล่าเรอ่ื งราวผา่ นตัวผลงานไดอ้ กี ด้วย ๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ ความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับทศั นธาตุท่อี ยู่ในธรรมชาตสิ งิ่ แวดล้อม และงานทศั นศิลป์ 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ สร้างสรรคผ์ ลงานทัศนศิลป์จากการใชท้ ศั นธาตุท่เี นน้ เส้น รปู รา่ ง รูปทรง สแี ละพน้ื ผิว 3.3 เจตคติ ทัศนคตทิ ด่ี ีตอ่ งานทศั นศิลป์ มองเห็นคณุ คา่ และความสาคญั ของงานทศั นศลิ ป์ ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื ง ทัศนธาตุในงานศลิ ป์ ๓ ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของ ตนเอง ๕.คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - มีวินัย - ใฝ่เรยี นรู้ - มุง่ มนั่ ในการทางาน - มีจติ ธารณะ ในการช่วยเหลอื และแบ่งปันวสั ดุอุปกรณใ์ นการทางาน ๖.การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรือภาระงาน - สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทศั นธาตเุ ป็นสว่ นประกอบ เกณฑก์ ารประเมินผลช้นิ งานหรือภาระงาน ประเดน็ ๔ (ดีมาก) ระดับคุณภาพ ๑ (ปรบั ปรุง) การประเมนิ นกั เรยี นออกแบบ ๑. การออกแบบ ช้นิ งานไดแ้ ปลกใหม่ ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) นักรยี นออกแบบ ช้นิ งาน มคี วามน่าสนใจ ช้นิ งานไมม่ คี วาม นกั เรียนออกแบบ นกั เรยี นออกแบบ แปลกใหมแ่ ละไม่ ๒. การจัด นักเรียนจัด ชน้ิ งานไดแ้ ปลกใหม่ ชิน้ งานยงั ไม่คอ่ ย น่าสนใจ องค์ประกอบ องคป์ ระกอบชิ้นงาน แต่ยังดูไมน่ า่ สนใจ แปลกใหม่และยงั ไม่ ไดอ้ ย่างลงตวั นกั เรียนจัด ๓. ความคิด มีจดุ เดน่ ชดั เจน ค่อยน่าสนใจ องค์ประกอบ สร้างสรรค์ ใชส้ ัดสว่ นอยา่ ง ช้ินงานไมล่ งตัว เหมาะสม ใช้พนื้ ท่ี นักเรยี นจดั นักเรียนจดั ไมม่ จี ุดเดน่ ชัดเจน 4. การใช้สี ได้อยา่ งเหมาะสม ใช้สดั สว่ นไม่ องค์ประกอบช้นิ งาน องค์ประกอบช้ินงาน เหมาะสม ใชพ้ นื้ ที่ ได้อย่างลงตวั ไดอ้ ยา่ งลงตวั ไม่เหมาะสม มจี ุดเดน่ ชัดเจน มีจดุ เดน่ ชดั เจน ใชส้ ดั ส่วนอย่าง แตใ่ ช้สัดส่วนไม่ เหมาะสม แตใ่ ชพ้ ื้นที่ เหมาะสม ใช้พืน้ ที่ ไมเ่ หมาะสม ไม่เหมาะสม นักเรียนมีมุมมองใน นักเรยี นมีมุมมองใน นักเรียนมมี มุ มองใน นกั เรียนมีมุมมองใน การวาดท่ีแปลกใหม่ การวาดที่ยงั ไม่ การวาดท่แี ปลกใหม่ การวาดที่แปลกใหม่ แต่วางองคป์ ระกอบ แปลกใหม่ ไม่สวยงาม ดไู ม่ วางองคป์ ระกอบ มีการวาง มีการวาง น่าสนใจ ไม่สวยงาม ดไู ม่น่าสนใจ องคป์ ระกอบได้ องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ นักเรยี นลงสชี ิน้ งาน อยา่ งสมบรู ณ์ นกั เรยี นลงสีชน้ิ งาน อย่างสวยงาม ไดส้ วยงาม แต่ดไู ม่ เรยี บเนยี น คมชัด ไมส่ มบรู ณ์ ดูน่าสนใจ น่าสนใจ ไมเ่ รียบเนยี นคมชัด นกั เรยี นลงสีชนิ้ งาน นักเรยี นลงสชี ิ้นงาน อย่างสมบูรณ์ อยา่ งสมบรู ณ์ เรยี บเนยี น คมชัด เรียบเนยี น คมชัด
๔ คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๓) ประเดน็ ๔ (ดีมาก) ระดบั คุณภาพ ๑ (ปรับปรงุ ) การประเมนิ ลงสีอยู่ภายในกรอบ ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ลงสไี มอ่ ยภู่ ายใน 5. การถา่ ยทอด ไมอ่ อกนอกเส้น กรอบออกนอกเส้น เร่ืองราว ลงสสี ันสวยงาม ลงสีอย่ภู ายในกรอบ แตล่ งสไี มอ่ ยู่ภายใน ลงสีสนั ไมส่ วยงาม และน่าสนใจ ไม่ออกนอกเสน้ กรอบออกนอกเส้น และไมน่ ่าสนใจ แตล่ งสสี นั ไมส่ วยงาม ลงสีสนั ไมส่ วยงาม นกั เรยี นถ่ายทอด และไม่น่าสนใจ และไมน่ า่ สนใจ นกั เรยี นถา่ ยทอด เรือ่ งราวผ่านชิ้นงาน เร่อื งราวผา่ น ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง นักเรยี นถ่ายทอด นกั เรยี นถ่ายทอด ช้นิ งานไมถ่ ูกตอ้ งไม่ ครบถ้วนนา่ สนใจ เรือ่ งราวผ่านชิน้ งาน เรื่องราวผา่ นชนิ้ งาน ครบถว้ นไม่นา่ สนใจ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ได้อยา่ งถกู ต้องแต่ไม่ ครบถ้วน แตน่ ่าสนใจ ครบถว้ นไม่นา่ สนใจ เกณฑ์การตัดสนิ คะแนน ๑๖-๒๐ หมายถึง ดมี าก คะแนน ๑๑-๑๕ หมายถึง ดี คะแนน ๖-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน 1-5 หมายถงึ ปรบั ปรงุ เกณฑ์การผา่ น ต้ังแต่ระดับ ดี ข้นึ ไปจึงถือว่าผา่ น
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เร่ือง ทัศนธาตใุ นงานศลิ ป์ ๕ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๑ เร่อื ง เสน้ เวลา ๑ ชวั่ โมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ เร่ือง ทัศนธาตุในงานศิลป์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ รายวชิ า ศิลปะ ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ัด ศ ๑.๑ สรา้ งสรรค์งานทศั นศลิ ป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศลิ ปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน ป.๓/๓ จาแนกทศั นธาตุของส่ิงตา่ ง ๆ ในธรรมชาติสงิ่ แวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พ้ืนผวิ ป.๓/๖ วาดภาพถ่ายทอดความรู้สกึ จากเหตกุ ารณ์ชีวติ จรงิ โดยใชเ้ ส้น รปู รา่ ง รูปทรง สแี ละพ้นื ผิว ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ คือ ส่วนประกอบของศิลปะท่ีเรามองเห็น ประกอบด้วย เส้น สี รูปร่าง รูปทรง น้าหนกั ออ่ น-แก่ พื้นผิว และพื้นท่ีว่าง ซ่ึงส่งิ เหล่านจี้ ะประกอบอยู่ในงานทัศนศิลป์ให้เกิดความสวยงาม เส้นก็มีส่วน สาคญั อย่างมากในการสรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์ มีผลตอ่ การรับรู้ ส่งผลต่ออารมณค์ วามรู้สกึ ๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - สามารถบอกความหมายของเสน้ แตล่ ะลักษณะได้ ๓.๒ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สามารถสร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์โดยใช้เสน้ ได้ ๓.๓ ด้านคณุ ลกั ษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - ตระหนกั และเหน็ คุณค่าในการนาเส้นไปใช้ในการสรา้ งงานทศั นศิลป์ ๔. สาระการเรยี นรู้ - เสน้ ๕. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ความสามารถในการสอ่ื สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะ ของตนเองได้อยา่ งเหมาะสม ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ สามารถคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ ๖. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - มุ่งม่นั ในการทางาน - ใฝ่เรียนรู้ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๖ การจัดกิจกรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรีย รายวชิ า ศิลปะ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรือ่ ง ลาดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ขั้นตอนการจัด เวลา กจิ กรร ที่ การเรยี นรู้ ทีใ่ ช้ จุดประสงค์ การเรยี นรู้ ๑ ๑. ตระหนักและเห็นคุณค่า ข้ันนา ๕ นาที 1. ครูให้นักเรียน ใ ในการนาเส้นไปใช้ ส่ิงแวดลอ้ มและ ในการสร้างงานทศั นศิลป์ นักเรียนเห็นเส 2. ครใู ห้นักเรยี น starry night ขอ Van Gogh และ ๑) นกั เรยี นเสน้ ภาพ ๒) นักเรียนเห็น แลว้ เกดิ ความรสู้ 3. ครูชี้แจงวา่ เร เสน้ ไดท้ ัง้ ในสงิ่ แ งานทัศนศลิ ป์ ซ ตอ่ อารมณ์ความ
คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๓) รู้ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ยนร้ทู ่ี ๑ เร่ือง เสน้ ทศั นธาตใุ นงานศลิ ป์ จานวน ๑ ชั่วโมง แนวการจดั การเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ รมครู กิจกรรมนักเรียน - ภาพ - ถาม-ตอบ นสังเกตภาพ 1. นักเรียนสังเกตภาพ สิง่ แวดล้อม ะถามนกั เรียนว่า สิง่ แวดลอ้ มและตอบคาถาม - ภาพ ส้นอะไรบ้าง นักเรียนตอบ (เสน้ ตรง starry night เส้นโคง้ เสน้ ซกิ แซก) นสังเกตภาพ 2. นกั เรยี นสงั เกตภาพ อง Vincent starry night ะตั้งคาถาม นอะไรภายใน 1) นักเรียนตอบ (เสน้ โคง้ ) นภาพน้ี 2) นกั เรยี นตอบ สึกอย่างไร (สับสน เคลอ่ื นไหว) ราสามารถพบ แวดลอ้ มและ ซง่ึ เส้นมีอทิ ธพิ ล มรสู้ ึกของมนษุ ย์
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เร่ือง ทศั นธาตุในงานศิลป์ ลาดบั ขอบเขตเนอื้ หา/ ข้ันตอนการจัด เวลา กิจกรร ที่ จุดประสงค์ การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ การเรียนรู้ ๒ 2. สามารถบอกความหมาย ขนั้ สอน ๑๕ 1. ครูอธิบายเพมิ่ ของเสน้ แตล่ ะลกั ษณะได้ นาที เรื่องเส้น อารมณ สือ่ สารผา่ นเส้นต 2. ครสู าธติ การว เสน้ สรา้ งสรรค์ 3 3. สามารถสร้างสรรคง์ าน ขน้ั ปฏิบัติ ๒๕ ครูให้นักเรียนสร้า ทศั นศลิ ป์โดยใชเ้ สน้ ได้ นาที ทศั นศิลปโ์ ดยใช้เส การสรา้ งสรรคล์ ว 4 4. สามารถบอกความหมาย ขั้นสรุป ๕ นาที 1. ครูและนักเรยี ของเสน้ แตล่ ะลักษณะได้ ความรู้เรือ่ งเสน้ โ ออกมานาเสนอผ 2. ครสู ง่ั เตรียมวสั ครัง้ ถดั ไป
7 แนวการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ รมครู กจิ กรรมนักเรยี น มเติมเกี่ยวกบั - PowerPoint - ถาม-ตอบ ณ์ความรสู้ กึ ที่ เรอื่ ง เส้น ตา่ ง ๆ วาดภาพโดยใช้ างสรรคง์ าน นักเรยี นสร้างสรรคง์ าน - กระดาษ - แบบประเมิน ทศั นศลิ ปโ์ ดยใชเ้ ส้น วาดเขยี น ช้ินงาน สน้ ใน วดลาย ยนร่วมกนั สรปุ นักเรยี นนาเสนอผลงานของ - ถาม-ตอบ โดยสมุ่ นกั เรียน ตนเอง ผลงาน สดอุ ุปกรณ์ใน
๘ ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๓) ๘. ส่ือการเรียนร้/ู แหลง่ เรียนรู้ ๘.๑ PowerPoint ๘.๒ ภาพส่ิงแวดลอ้ ม ๘.๓ ภาพ starry night ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน เกณฑก์ ารประเมินผลช้นิ งานหรอื ภาระงาน รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ 3 2 ๑ นักเรียนสรา้ งสรรคช์ ิน้ งาน 1. ความคดิ นักเรยี นสร้างสรรค์ชิ้นงานได้ ไดแ้ ปลกใหม่ แต่ยังดู นกั เรยี นสรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ มคี วามน่าสนใจ ไมน่ า่ สนใจ ชิ้นงานยงั ไม่คอ่ ยแปลก 2. การใช้สี นักเรียนลงสีช้นิ งานอย่าง นักเรียนลงสชี ิ้นงานอย่าง ใหมแ่ ละยงั ไม่ค่อย สมบรู ณ์ เรยี บเนียน ลงสีอยู่ สมบรู ณ์ เรียบเนียน ไม่ออก นา่ สนใจ ภายในกรอบไมอ่ อกนอกเส้น นอกเสน้ แต่ยงั เลอื กใชส้ สี นั นักเรียนลงสีชนิ้ งาน ลงสสี ันสวยงามและน่าสนใจ ได้ไมเ่ หมาะสม ไม่สมบรู ณ์ 3. ความประณีต นักเรียนทางานประณตี นักเรยี นทางานประณีต นกั เรยี นทางานไมป่ ระณีต เรียบรอ้ ย เรียบร้อย สะอาด เรียบร้อยแตค่ ่อนข้าง ไมเ่ รียบร้อยและสกปรก สกปรก เกณฑ์การตดั สนิ ดี คะแนน 7-9 หมายถึง พอใช้ คะแนน 4-6 หมายถงึ ปรับปรงุ คะแนน 1-3 หมายถึง พอใช้ เกณฑก์ ารผ่าน ตั้งแตร่ ะดบั
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง ทัศนธาตใุ นงานศลิ ป์ ๙ ๑๐. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................... ................ ......................................................................................................................................................................................... ความสาเรจ็ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ข้อจากัดการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ...................................................ผู้สอน (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ......... ๑๑. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ............................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วนั ที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .........
๑๐ คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๓) หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๒ เรอ่ื ง สี เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ เรื่อง ทศั นธาตุในงานศิลป์ รายวิชา ศลิ ปะ ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัด ศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ปต์ ามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคดิ ตอ่ งานศิลปะอยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ป.๓/๓ จาแนกทศั นธาตขุ องสิง่ ตา่ ง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รปู ทรง พ้ืนผวิ ป.๓/๖ วาดภาพถ่ายทอดความรู้สึกจากเหตกุ ารณช์ วี ติ จริง โดยใชเ้ ส้น รปู รา่ ง รปู ทรง สีและพืน้ ผิว ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ คือส่วนประกอบของศิลปะที่เรามองเห็น ประกอบด้วย เส้น สี รูปร่าง รูปทรง น้าหนกั ออ่ น-แก่ พนื้ ผิว และพ้นื ท่ีว่าง ซ่งึ สงิ่ เหลา่ น้จี ะประกอบอยใู่ นงานทัศนศลิ ปใ์ ห้เกดิ ความสวยงาม สสี ามารถช่วย ใหง้ านทศั นศิลป์สมบูรณม์ ากขน้ึ อกี ท้ังสามรถส่อื สารอารมณ์ของงานได้ ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - สามารถบอกความสาคัญของสใี นงานทศั นศลิ ป์ได้ ๓.๒ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สามารถสร้างสรรคง์ านทัศนศิลปโ์ ดยใช้สสี ่ือสารความหมายได้ ๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) - ตระหนักและเห็นคณุ ค่าในการนาสไี ปใชใ้ นการสร้างงานทศั นศิลป์ ๔. สาระการเรียนรู้ - สี ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะ ของตนเองได้อย่างเหมาะสม ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ สามารถคดิ อย่างมีวิจารณญาณ ๖. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - มุง่ ม่นั ในการทางาน - ใฝเ่ รยี นรู้ ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู้
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เรอ่ื ง ทศั นธาตใุ นงานศลิ ป์ การจดั กิจกรรมการเรยี นร แผนการจัดการเร รายวิชา ศลิ ปะ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรือ่ ง ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขั้นตอนการ เวลา ที่ จดุ ประสงค์ จดั ทใี่ ช้ กิจกรรม การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ๕ นาที 1. ครใู หน้ กั เรยี นส ๑ 1. ตระหนกั และเหน็ คุณค่า ส่งิ แวดลอ้ มและถา ในการนาสไี ปใชใ้ นการสรา้ ง ขน้ั นา นักเรยี นเหน็ สอี งานทัศนศิลป์ ๒ 1. สามารถบอกความหมาย ข้ันสอน 2. ครใู หน้ ักเรยี นส ของสแี ต่ละลกั ษณะได้ ทัศนศิลปท์ ีใ่ ชส้ สี ือ่ อ และตัง้ คาถาม ๑) นกั เรยี นสอี ะไ ๒) นกั เรียนเห็นภ ความรสู้ ึกอย่างไร 3. ครูชแี้ จงว่าเราส ทงั้ ในสง่ิ แวดลอ้ มแล ซงึ่ เสน้ มีอทิ ธิพลต่อ ความรู้สึกของมนุษ ๑๕ ครูอธบิ ายเพม่ิ เติมเ นาที เร่ืองสี อารมณ์ควา ผา่ นสตี ่าง ๆ
11 รู้ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ รยี นรู้ท่ี ๒ เรื่อง สี ทัศนธาตใุ นงานศลิ ป์ จานวน ๑ ชั่วโมง แนวการจัดการเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ มครู กิจกรรมนกั เรยี น - ภาพ สงั เกตภุ าพ สงิ่ แวดลอ้ ม - ถาม-ตอบ ามนกั เรยี นวา่ 1. นักเรยี นสงั เกตภาพ - ภาพงาน อะไรบา้ ง ส่ิงแวดล้อม ทศั นศลิ ป์ สังเกตภาพงาน นกั เรียนตอบ (สีแดง สีเขียว ออารมณ์ สเี หลอื ง สดี า) 2. นกั เรียนสงั เกตภาพ งานทศั นศลิ ป์ ไรภายในภาพ 1) นกั เรยี นตอบ (สแี ดง สสี ้ม) ภาพนแ้ี ลว้ เกิด 2) นักเรยี นตอบ (รอ้ น รนุ แรง) สามารถพบสไี ด้ ละงานทศั นศิลป์ ออารมณ์ ษย์ เกยี่ วกบั - PowerPoint - ถาม-ตอบ ามรสู้ ึกทส่ี อื่ สาร เรอ่ื ง สี
๑๒ ขอบเขตเน้ือหา/ ขนั้ ตอนการจัด เวลา ลาดบั จดุ ประสงค์ การเรียนรู้ ที่ใช้ กิจกรรม ขั้นปฏบิ ตั ิ ท่ี การเรียนรู้ ๒๕ 1. ครอู ธิบายและส ขั้นสรุป นาที การระบายสแี บบไ 3 3. สามารถสร้างสรรค์ งานทัศนศลิ ปโ์ ดยใช้สี 2. ครูให้นักเรยี นร ได้ ใช้เทคนคิ การไลส่ ี 4 4. สามารถบอก ๕ นาที 1. ครแู ละนกั เรยี น ความหมายของสีแตล่ ะ ความรู้ เรือ่ ง สี โดย ลกั ษณะได้ ออกมานาเสนอผล 2. ครูสงั่ เตรียมวัสด คร้งั ถัดไป
ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๓) แนวการจัดการเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ มครู กิจกรรมนกั เรยี น นกั เรยี นระบายสี ดว้ ยเทคนคิ - ใบงานเร่ือง สี - แบบประเมิน สาธิต การไลส่ ลี งในใบงาน ชน้ิ งาน ไล่สี ระบายสี โดยให้ นกั เรียนนาเสนอผลงานของ - ถาม-ตอบ ลงในใบงาน ตนเอง นรว่ มกนั สรปุ ยสมุ่ นกั เรยี น ลงาน ดอุ ุปกรณใ์ น
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่ือง ทัศนธาตใุ นงานศิลป์ ๑๓ ๘. สอื่ การเรยี นรู้/แหลง่ เรียนรู้ ๘.๑ PowerPoint ๘.๒ ภาพสิ่งแวดล้อม ๘.๓ ภาพงานทศั นศิลป์ ๘.๔ ใบงานเรอ่ื ง สี ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน เกณฑ์การประเมนิ ผลช้ินงานหรือภาระงาน รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ 3 2 ๑ 1. ความคิดสร้างสรรค์ นกั เรียนสรา้ งสรรคช์ ิ้นงาน นกั เรียนสร้างสรรคช์ ิน้ งานได้ นกั เรียนสร้างสรรค์ ไดแ้ ปลกใหม่ มีความ แปลกใหม่แตย่ งั ดไู มน่ า่ สนใจ ชนิ้ งานยังไมค่ อ่ ยแปลก ใหม่และยงั ไม่คอ่ ย นา่ สนใจ นา่ สนใจ นักเรยี นลงสชี ้นิ งาน 2. การใช้สี นกั เรยี นลงสีชน้ิ งานอยา่ ง นกั เรยี นลงสชี นิ้ งานอย่าง ไม่สมบรู ณ์ สมบรู ณ์ เรียบเนียน ลงสี สมบรู ณ์ เรยี บเนียน 3. ความประณีต อยู่ภายในกรอบไม่ออกนอก ไม่ออกนอกเส้น แต่ยังเลอื ก นักเรยี นทางาน เรยี บร้อย เส้น ลงสสี ันสวยงามและ ใช้สสี ันได้ไมเ่ หมาะสม ไมป่ ระณตี ไม่เรยี บร้อย น่าสนใจ และสกปรก นักเรียนทางานประณตี นกั เรียนทางานประณีต เรียบร้อยแต่คอ่ นข้างสกปรก เรียบร้อย สะอาด เกณฑก์ ารตดั สนิ ดี คะแนน 7-9 หมายถงึ พอใช้ คะแนน 4-6 หมายถงึ ปรับปรงุ คะแนน 1-3 หมายถึง พอใช้ เกณฑก์ ารผ่าน ตง้ั แต่ระดบั
๑๔ ค่มู อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๓) ๑๐. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................... ................ ......................................................................................................................................................................................... ความสาเรจ็ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ปัญหาและอปุ สรรค ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ขอ้ จากัดการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ............................................................ ...................................................................................................................................................................................... ... ......................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ...................................................ผูส้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ......... ๑๑. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผทู้ ีไ่ ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ .......................................................................................................................................... ............................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ............................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .........
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง ทศั นธาตใุ นงานศิลป์ ๑๕ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง รปู รา่ ง รปู ทรงท่พี บในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และงานทศั นศลิ ป์ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง ทัศนธาตุในงานศิลป์ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ รายวิชา ศลิ ปะ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ๑. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวัด ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทศั นศลิ ปต์ ามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคดิ ต่องานศิลปะอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน ป.๓/๑ บรรยายรปู รา่ ง รูปทรงในธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม และงานทศั นศิลป์ ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทัศนศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ งานทัศนศลิ ป์ทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล ป.๓/๑ เลา่ ถงึ ที่มาของงานทศั นศลิ ป์ในท้องถน่ิ ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด - รูปร่าง หมายถึง เส้นรอบนอกของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏแก่สายตา มีลักษณะเป็น ๒ มิติ มีความกว้าง และความยาว - รูปทรง หมายถึง โครงสร้างท้ังหมดของวัตถุที่ปรากฏแก่สายตา มีลักษณะเป็น ๓ มิติ มีความกว้าง ความยาว ความหนา เราสามารถพบรปู รา่ งรปู ทรงได้ทั้งในธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม และงานทัศนศลิ ป์ ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - สามารถบรรยายรปู ร่าง รูปทรงในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศลิ ป์ได้ ๓.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สามารถออกแบบรปู รา่ ง รปู ทรงในธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม และงานทศั นศลิ ป์ได้ ๓.๓ ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) - ตระหนกั และเหน็ คณุ ค่าในการนารปู รา่ งและรปู ทรงไปใชใ้ นการสร้างงานทัศนศลิ ปท์ อ้ งถ่นิ ๔. สาระการเรยี นรู้ - รปู ร่าง รปู ทรงทพ่ี บในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และงานทศั นศิลป์ ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสอ่ื สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความร้สู กึ และทศั นะ ของตนเองได้อยา่ งเหมาะสม ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ สามารถคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ ๖. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - ม่งุ ม่ันในการทางาน - ใฝ่เรยี นรู้ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๑๖ การจัดกิจกรรมการเรียนร แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ เรื่อง รูปร่าง รปู ทร รายวชิ า ศิลปะ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง ลาดับ ขอบเขตเนอื้ หา/ ข้ันตอนการจดั เวลา กิจกรร ที่ การเรียนรู้ ท่ใี ช้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ ๑ 1. นกั เรียนร้จู กั คุณค่าของ ขั้นนา ๕ นาที 1. ครถู ามนักเรีย งานทศั นศลิ ปใ์ นทอ้ งถน่ิ “ในทอ้ งถ่ินของน ทศั นศลิ ปอ์ ะไรบา้ ๒ 2. สามารถบรรยายรปู รา่ ง ข้นั สอน 2. ครูใหน้ กั เรยี น ไทย แล้วถามนัก รูปทรงในธรรมชาติ ๑) นักเรยี นเหน็ สิง่ แวดล้อมและงาน อะไรบ้างจากลาย ทัศนศิลป์ได้ ๒) นกั เรยี นคิดว มาจากภาคใด ๑๕ 1. ครูชีแ้ จงเพมิ่ เ นาที รูปทรงมอี ยรู่ อบต ธรรมชาติ สิ่งแวด ในงานทศั นศลิ ป์ด
คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๓) รู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ รงในธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม และงานทศั นศลิ ป์ ทัศนธาตุในงานศิลป์ จานวน ๑ ชวั่ โมง แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมนิ - ผา้ ไทย การเรียนรู้ รมครู กิจกรรมนักเรยี น - ถาม-ตอบ - PowerPoint ยนว่า 1. สุ่มนกั เรียนยกตัวอยา่ งงาน เรื่อง รปู ร่าง - ถาม-ตอบ นกั เรียนมีงาน ทัศนศลิ ป์ในทอ้ งถ่ินของ รูปทรงทพี่ บใน าง” ตนเอง บอกเลา่ ถงึ ทม่ี า เช่น ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม เรอื กอแระ จากภาคใต้ ร่มบอ่ สรา้ ง จากภาคเหนือ นสังเกตลายผ้า 2. นักเรยี นสังเกตลายผา้ ไทย กเรียนว่า นรปู รา่ งรูปทรง 1) นักเรยี นตอบ (รปู ร่าง ยของผ้าไทย สเ่ี หลี่ยม สามเหลีย่ ม วงกลม วงรี) วา่ ลายผา้ ไทยน้ี 2) นักเรียนตอบ (ภาคกลาง เหนอื อสี าน ใต้) เตมิ ว่ารปู รา่ ง ตัวเราทัง้ ใน ดลอ้ ม รวมถึง ดว้ ย
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง ทศั นธาตุในงานศลิ ป์ ลาดบั ขอบเขตเนือ้ หา/ ข้ันตอนการจัด เวลา กิจกรร ที่ จุดประสงค์ การเรยี นรู้ ที่ใช้ การเรียนรู้ 2. ครูอธิบายเก่ยี ออกแบบ วา่ จะต กระบวนการคดิ ส มากกว่าการวาด เขียน 3 3. นักเรียนสามารถวาดภาพ ขั้นปฏบิ ัติ ๒๕ ครูใหน้ กั เรียนออ รปู รา่ ง รูปทรงในธรรมชาติ นาที จากรปู รา่ งรปู ทร ส่งิ แวดล้อม และงาน ทัศนศลิ ปไ์ ด้ 4 4. สามารถบรรยายรปู รา่ ง ขัน้ สรปุ ๕ นาที 1. ครแู ละนักเรยี รูปทรงในธรรมชาติ ความรู้เร่อื งรปู ร่า สิง่ แวดลอ้ ม และ ในธรรมชาติ สงิ่ แ งานทศั นศลิ ป์ได้ งานทศั นศิลป์ 2. ครูสง่ั เตรยี มว คร้ังถัดไป
17 แนวการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ รมครู กิจกรรมนกั เรียน ยวกบั การ - งานทัศนศลิ ป์ ตอ้ งใช้ ของศลิ ปินและ สรา้ งสรรคท์ ี่ ทอ้ งถนิ่ ดที่แค่เพียงขดี อกแบบลายผา้ นกั เรยี นออกแบบลายผา้ จาก - กระดาษ - แบบประเมนิ รงต่าง ๆ รูปรา่ งรปู ทรงในธรรมชาติ วาดเขียน ชิ้นงาน ยนร่วมกนั สรปุ ส่งิ แวดลอ้ ม และงาน - ถาม-ตอบ าง รปู ทรง ทัศนศลิ ป์ตา่ ง ๆ เช่น สเี่ หล่ยี ม แวดลอ้ ม และ สามเหล่ียม วงกลม วงรี รูปรา่ งรปู ทรงของต้นไม้ ดอกไม้ ลกู บอล เปน็ ต้น สุ่มนักเรียนนาเสนอ บรรยาย รูปร่าง รูปทรง ในผลงาน ของตนเอง วัสดอุ ปุ กรณใ์ น
๑๘ คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๓) ๘. สือ่ การเรยี นรู/้ แหลง่ เรียนรู้ ๘.๑ PowerPoint ๘.๒ ผ้าไทย ๘.๓ งานทัศนศิลปข์ องศลิ ปินและทอ้ งถ่ิน ๙. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน เกณฑก์ ารประเมนิ ผลชิน้ งานหรือภาระงาน รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ 3 2 ๑ 1. ความคดิ สรา้ งสรรค์ นักเรยี นสรา้ งสรรคช์ ้ินงานได้ นกั เรยี นสรา้ งสรรค์ช้ินงาน นักเรยี นสร้างสรรค์ แปลกใหม่ มคี วามน่าสนใจ ได้แปลกใหม่ แตย่ งั ดูไม่ ชิ้นงานยงั ไม่ค่อยแปลก น่าสนใจ ใหม่และยงั ไมค่ อ่ ย 2. การใช้สี นกั เรยี นลงสีชน้ิ งานอย่าง น่าสนใจ สมบรู ณ์ เรียบเนียน ลงสอี ยู่ นักเรยี นลงสชี นิ้ งานอยา่ ง นักเรยี นลงสชี ้ินงาน สมบรู ณ์ เรยี บเนียน ไม่ออก ไมส่ มบรู ณ์ ภายในกรอบไมอ่ อกนอกเส้น นอกเส้นแต่ยังเลือกใช้สสี ัน ลงสสี นั สวยงามและนา่ สนใจ ไดไ้ ม่เหมาะสม 3. ความประณีต นักเรียนทางานประณีต นักเรยี นทางานประณตี นกั เรยี นทางาน เรยี บร้อย เรยี บร้อย สะอาด เรียบร้อยแต่ค่อนขา้ งสกปรก ไมป่ ระณตี ไมเ่ รยี บร้อย และสกปรก เกณฑ์การตดั สิน ดี คะแนน 7-9 หมายถงึ พอใช้ คะแนน 4-6 หมายถงึ ปรับปรงุ คะแนน ๑-3 หมายถงึ พอใช้ เกณฑก์ ารผ่าน ตง้ั แตร่ ะดบั
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง ทศั นธาตใุ นงานศลิ ป์ ๑๙ ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................... ................ ......................................................................................................................................................................................... ความสาเรจ็ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ข้อจากดั การใช้แผนการจดั การเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ...................................................ผู้สอน (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ......... ๑๑. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ............................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .........
๒๐ คูม่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๓) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๔ เรอื่ ง พ้นื ผิว เวลา ๑ ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ เรอื่ ง ทศั นธาตุในงานศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ รายวิชา ศลิ ปะ ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด ศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคิดตอ่ งานศิลปะอยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ป.๓/๓ จาแนกทัศนธาตขุ องสงิ่ ตา่ ง ๆ ในธรรมชาตสิ ง่ิ แวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยเนน้ เรื่อง เส้น สี รปู รา่ ง รปู ทรง พื้นผิว ป.๓/๖ วาดภาพถา่ ยทอดความร้สู กึ จากเหตุการณช์ ีวิตจริง โดยใช้เสน้ รูปรา่ ง รูปทรง สแี ละพนื้ ผิว ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ทศั นธาตุในงานทศั นศลิ ป์ คือ สว่ นประกอบของศิลปะทเ่ี รามองเหน็ ประกอบด้วย เส้น สี รูปรา่ ง รปู ทรง นา้ หนกั อ่อน-แก่ พ้ืนผวิ และพนื้ ทวี่ ่าง ซง่ึ ส่ิงเหล่านี้จะประกอบอยู่ในงานทัศนศลิ ป์ให้เกดิ ความสวยงาม พื้นผวิ หมายถงึ ลักษณะภายนอกของวัตถุทีม่ องเห็นและสมั ผสั ได้ สามารถนามาสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ได้ ตามจินตนาการ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) - สามารถบอกความสาคัญของพ้นื ผิวในงานทศั นศลิ ปไ์ ด้ ๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศลิ ปโ์ ดยใช้พ้ืนผิวได้ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) - ตระหนกั และเห็นคุณคา่ ในการนาพน้ื ผิวไปใช้ในการสร้างงานทัศนศลิ ป์ ๔. สาระการเรยี นรู้ - พื้นผิว ๕. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะ ของตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - มุ่งมัน่ ในการทางาน - ใฝ่เรียนรู้ ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง ทศั นธาตใุ นงานศลิ ป์ การจดั กิจกรรมการเรียน แผนการจัดการเรยี น รายวชิ า ศิลปะ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เร่ือง ท ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ข้ันตอนการ เวลา ท่ี จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จัด ที่ใช้ กิจกรร ๑ 1. ตระหนักและเหน็ คณุ คา่ การเรียนรู้ ๕ นาที 1. ครูใหน้ กั เรยี น ในการนาพ้ืนผิวไปใช้ในการ ผลไม้และถามนัก สรา้ งงานทัศนศิลป์ ขน้ั นา นักเรียนเห็นพ 2. ครูให้นกั เรียน งานทัศนศลิ ปท์ ีใ่ อารมณ์และต้งั ค ๑) นกั เรียนพ้ืน ๒) นักเรียนเห็น ความรสู้ ึกอยา่ งไ 3 ครูช้ีแจงว่าเรา พน้ื ผิวไดท้ ง้ั ในสง่ิ งานทศั นศลิ ป์ ซงึ่ อิทธิพลต่ออารม ของมนษุ ย์
21 นรู้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ นรทู้ ่ี ๔ เรื่อง พน้ื ผิว ทัศนธาตุในงานศิลป์ จานวน ๑ ชั่วโมง แนวการจัดการเรยี นรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมนิ รมครู กจิ กรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ นสงั เกตุภาพ 1. นักเรียนสังเกตภาพผลไม้ - ภาพ - ถาม-ตอบ กเรยี นวา่ และนักเรยี นตอบ (ขรุขระ เรยี บ) สง่ิ แวดลอ้ ม พน้ื ผิวอะไรบ้าง - ภาพงาน ทัศนศลิ ป์ นสงั เกตภาพ 2. นกั เรยี นสงั เกตภาพงาน ท่เี นน้ พ้นื ผวิ ใช้พื้นผวิ สอ่ื ทัศนศลิ ป์ คาถาม นผวิ อะไรในภาพ 1) นักเรียนตอบ (ขรขุ ระ) นภาพนแี้ ลว้ เกิด 2) นกั เรียนตอบ (หยาบ แข็ง) ไร าสามารถพบ งแวดลอ้ มและ งพืน้ ผวิ มี มณ์ความรสู้ กึ
๒๒ ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/จุดประสงค์ ขั้นตอนการจดั เวลา กจิ กร ท่ี การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ ๒ 2. สามารถบอกความหมาย ขัน้ สอน ๒๐ 1. ครูอธิบายเพ ของพืน้ ผิวแต่ละลกั ษณะได้ ขัน้ ปฏิบัติ นาที เรือ่ งพน้ื ผวิ อาร 3 3. สามารถสรา้ งสรรคง์ าน สื่อสารผ่านพืน้ ผ ทศั นศลิ ป์โดยใชพ้ ื้นผิวได้ 2. ครูอธิบายแล การสร้างงานทัศ กระดาษทิชชใู่ น พื้นผิว ๒๐ ครูใหน้ ักเรยี นสร นาที ทศั นศิลป์ โดยใช ในการสรา้ งพนื้ ผ 4 4. สามารถบอกความหมาย ข้ันสรปุ ๕ นาที 1. ครแู ละนกั เร ของพืน้ ผิวแต่ละลักษณะได้ ความรเู้ รือ่ ง พื้น 2. ครูส่ังเตรียมว ในครั้งถัดไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226