Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนวิทยาศาตร์ เทอม1(แก้ไข2)

แผนวิทยาศาตร์ เทอม1(แก้ไข2)

Published by nawamin.ng, 2021-10-23 07:28:51

Description: แผนวิทยาศาตร์ เทอม1(แก้ไข2)

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (รหัสวิชา ว 11101) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เเรอื่ ง การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา 1 ชัว่ โมง สาระสาคญั การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เริ่มจากการสังเกตสิ่งเร้าและต้ังคาถามสาคัญ แล้วร่วมกันทากิจกรรมเพื่อหา คาตอบ และวิเคราะห์ แยกแยะ นาเสนอผลการวเิ คราะห์ แยกแยะ อภิปรายร่วมกันเพื่อสรา้ งความรู้ด้วยตนเอง แล้วนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สร้างผลงานต่าง ๆ การเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ตอ้ งควบคู่กับการสร้างนิสัยความเป็น นกั วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด - จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นสามารถอธิบายการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ได้ 2. นักเรยี นสามารถเขยี นแผนภาพความคิด การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ได้ 3. นกั เรียนมีความใฝร่ ู้ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร - การอธิบาย การเขยี น การพูดหนา้ ชัน้ เรียน 2. ความสามารถในการคิด - การสังเกต การคดิ วิเคราะห์ การอภิปราย การสืบสอบโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การจัดระบบความคดิ เป็นแผนภาพ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ - กระบวนการกล่มุ สาระการเรยี นรู้ การสงั เกตสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั นักเรยี นใช้ทกั ษะวิทยาศาสตร์ทักษะใด คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้

กจิ กรรมการเรียนการสอนออนไลนผ์ ่านแอปพลิเคชัน Line ชั่วโมงที่ 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) 1. นกั เรยี นทบทวนประสบการณ์เกี่ยวกบั องคค์ วามร้แู ละปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์ โดยร่วมกนั ตอบ คาถามกระต้นุ ความคิด ดังนี้ 1.1 นักเรียนรจู้ กั หรอื เคยเรียนวิทยาศาสตร์หรอื ไม่ (ตัวอย่างคาตอบ รู้จกั /เคยเรยี น) 1.2 นักเรยี นจะเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ได้อย่างไร (ตวั อยา่ งคาตอบ เรยี นรูจ้ ากการสงั เกตสภาวการณ์ เหตกุ ารณส์ ิ่งแวดล้อมตา่ ง ๆ ที่เกิดความสงสยั แลว้ ต้งั คาถาม คาดคะเนคาตอบของคาถาม ปฏิบัติการทดลองหรอื กิจกรรมเพ่ือหาคาตอบ และวิเคราะห์ผล แล้วรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ คาตอบ) ขนั้ สารวจและค้นหา (Exploration) 2. นักเรยี นศึกษาเก่ียวกับทกั ษะทสี่ าคญั ทน่ี ักเรยี นตอ้ งเขา้ ใจและปฏิบตั ิไดใ้ นการเรียนวิทยาศาสตร์ แล้ว ร่วมกนั ตอบคาถามกระตุน้ ความคดิ ดงั น้ี 2.1 ทักษะสาคญั ทางวิทยาศาสตร์ท่ีนักเรยี นต้องเขา้ ใจและปฏิบัตไิ ด้มีอะไรบ้าง (การสังเกต การวิเคราะห์ การตั้งคาถามสาคญั ) 3. นกั เรยี นรว่ มกันสังเกตส่ิงต่าง ๆ รอบตวั นกั เรยี น แลว้ บันทึกผลโดยออกแบบและเขยี นชื่อสิ่งตา่ ง ๆ รอบตัวเป็นแผนภาพความคิดบนกระดาษ (ตัวอย่างแผนภาพความคดิ ) แผนภาพความคิด ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั จากนนั้ ร่วมกนั ตอบคาถามสาคัญ ดงั นี้ 3.1 การสังเกตสงิ่ ต่าง ๆ รอบตวั นกั เรยี นใชท้ กั ษะวทิ ยาศาสตร์ทกั ษะใด (ตวั อย่างคาตอบ ทกั ษะการสงั เกต) 3.2 ถ้านกั เรียนต้องการทราบวา่ สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัวแตกตา่ งกนั อยา่ งไร นักเรยี นจะใช้ ทกั ษะวิทยาศาสตร์ทักษะใด (ตัวอยา่ งคาตอบ ทักษะการวเิ คราะห)์ 3.3 การสารวจสิ่งต่าง ๆ รอบตัว นกั เรยี นตงั้ คาถามสาคญั ได้หรือไม่ (ได้/ไม่ได)้ 3.4 จากการสารวจสิ่งต่าง ๆ รอบตัว นักเรยี นต้ังคาถามสาคญั ได้อย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ประตูกับหน้าตา่ งแตกตา่ งกันอย่างไร) 5. สมุ่ นักเรยี นนาเสนอผลการสบื คน้ ข้อมูล เพื่อเปรียบเทียบและตรวจสอบความถกู ต้อง

ขัน้ ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) 6. นกั เรยี นร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย แสดงความคดิ เหน็ และสรุปความรู้เกย่ี วกบั การเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 7. นกั เรยี นเขียนแผนภาพความคดิ แบบขนั้ บนั ไดเกยี่ วกับการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ลงในกระดาษ จัดทา เปน็ ชิน้ งาน 6. นาความรไู้ ปใช้ 5. สรา้ งความรู้ดว้ ยตนเอง 4. อภิปรายรว่ มกนั 3. นาเสนอผลการวิเคราะห์ แยกแยะ 2. ทากิจกรรมเพื่อหาคาตอบและวเิ คราะห์ แยกแยะ 1. สังเกตส่งิ เรา้ และตั้งคาถามสาคญั แผนภาพความคดิ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 8. นกั เรยี นร่วมกันสรุปสิง่ ท่เี ข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตรเ์ ริ่มจากการสงั เกตสง่ิ เรา้ และตัง้ คาถามสาคญั แล้วร่วมกันทากจิ กรรม เพอ่ื หาคาตอบ และวเิ คราะห์ แยกแยะ นาเสนอผลการวเิ คราะห์ แยกแยะ อภปิ รายร่วมกันเพอ่ื สร้างความรู้ ดว้ ยตนเองแล้วนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ สร้างผลงานต่าง ๆ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ตอ้ งควบคู่กบั การ สร้างนสิ ัยความเปน็ นกั วทิ ยาศาสตร์ 9. ผแู้ ทนนักเรียนนาเสนอแผนภาพความคดิ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ พรอ้ มพูดประกอบ การอธิบาย เพ่ือน ๆ รว่ มกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง 10. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายสรปุ เกี่ยวกบั วธิ กี ารทางานให้เหน็ การคิดเชิงระบบและวิธีการทางาน ท่ีมแี บบแผน ขนั้ ประเมนิ (Evaluation) 11. นกั เรียนตรวจสอบหรือประเมนิ ขนั้ ตอนต่าง ๆ ที่เรยี นมาในวนั น้มี ีจุดเด่น จดุ บกพร่องอะไรบ้าง มี ความสงสยั ความอยากรูอ้ ยากเห็นในเรื่องใด ใหร้ ะบุ 12. นักเรยี นประเมินตนเอง โดยพูดแสดงความรสู้ ึกหลงั การเรยี น ในประเด็นต่อไปน้ี • ส่ิงท่ีนักเรยี นได้เรยี นร้ใู นวนั นค้ี อื อะไร • นักเรยี นมีสว่ นร่วมกิจกรรมในกล่มุ มากน้อยเพยี งใด • เพื่อนนักเรยี นในกลมุ่ มีสว่ นร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด

• นกั เรียนพงึ พอใจกับการเรยี นในวนั นี้หรือไม่ เพียงใด • นกั เรยี นจะนาความรู้ท่ีได้น้ีไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั และสังคมทว่ั ไป ได้อย่างไร จากน้นั แลกเปล่ียนตรวจสอบขัน้ ตอนการทางานทุกขัน้ ตอนวา่ จะเพมิ่ คุณคา่ ไปสู่สงั คม เกดิ ประโยชนต์ ่อสังคมให้มากข้นึ กว่าเดมิ ในข้ันตอนใดบา้ ง สาหรบั การทางานในครั้งต่อไป

สอ่ื การเรียนร้แู ละแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 2. แหล่งการเรยี นรู้ภายในบ้าน 3. แผนภาพความคดิ การวัดผลและประเมินผล 1. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล 1.1 สังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนในการรว่ มกิจกรรม - ประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 2. เคร่ืองมือวัดและประเมินผล 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นในการร่วมกิจกรรม - แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน 3. ประเมินตามเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง 3.1 การสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียนในการรว่ มกจิ กรรม 3.2 การประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 3.3 การประเมินสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์ (รหัสวิชา ว 11101) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง ทักษะสาคัญในการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ เวลา 1 ชวั่ โมง สาระสาคัญ การเรียนรู้วิทยาศาสตรต์ ้องเข้าใจและปฏิบัติตามทักษะสาคัญของวิทยาศาสตร์ได้ และควบคู่ไปพร้อม กบั การสร้างนสิ ยั ความเปน็ นกั วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั - จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั เรียนสามารถอธิบายทักษะสาคัญในการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ได้ 2. นกั เรียนสามารถวาดภาพและระบายสีการสงั เกตส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว 3. นกั เรียนมคี วามใฝร่ ู้ สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร - การอธิบาย การเขียน การพดู หนา้ ช้ันเรยี น 2. ความสามารถในการคิด - การสังเกต การสารวจ การคิดวิเคราะห์ การต้งั คาถาม การอภิปราย การสบื สอบโดยใชก้ ระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ - กระบวนการกลุ่ม 4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - การสืบสอบขอ้ มูลจากเทคโนโลยีสารสนเทศ สาระการเรยี นรู้ ทกั ษะสาคัญของวิทยาศาสตร์ และนิสัยความเป็นนักวทิ ยาศาสตร์ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้

กิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ผา่ นแอปพลเิ คชนั Line ช่วั โมงที่ 1 ข้นั สรา้ งความสนใจ (Engagement) 1. นักเรยี นสงั เกตดนิ สอและยางลบของตนเอง จากนัน้ ร่วมกันตอบคาถามกระตุ้นความคิด ดังน้ี 1.1 สิง่ ของทีน่ ักเรียนสงั เกตมีชอ่ื เรยี กว่าอะไร (ดนิ สอและยางลบ) 1.2 ในการสงั เกต นักเรยี นใช้อวัยวะใดบ้าง อย่างไร (ตวั อย่างคาตอบ ใชต้ ามองดแู ละใชม้ อื สมั ผสั ) ขน้ั สารวจและค้นหา (Exploration) 2. นักเรยี นศกึ ษาและอ่านเน้ือหาทกั ษะการสงั เกต ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการต้ังคาถามสาคญั เสยี ง ดงั ชดั เจน และพร้อมเพรยี งกัน แล้วรว่ มกนั ตอบคาถาม ดังนี้ 2.1 การสังเกตคืออะไร (การใช้ประสาทสัมผสั ทัง้ 5 หรอื อวยั วะรับสมั ผสั สงั เกตส่งิ ใดสง่ิ หนึง่ หรอื ปรากฏการณต์ ่าง ๆ ทีอ่ ยู่รอบตัว) 2.2 ประสาทสัมผสั ทง้ั 5 หรอื อวัยวะรบั สมั ผัสมอี วยั วะใดบ้าง (ตา หู จมูก ปาก (ลนิ้ ) และมือ) ขนั้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 3. นักเรียนสังเกตแมว วเิ คราะห์ อภปิ ราย และแสดงความคิดเห็นว่า ผลการสงั เกตเปน็ อย่างไร แลว้ รว่ มกันตอบคาถาม ดังน้ี 3.1 สตั ว์ท่ีนักเรยี นสงั เกตคอื สตั วช์ นดิ ใด (แมว) 3.2 นกั เรยี นใชป้ ระสาทสมั ผสั อะไรบา้ งในการสงั เกต (ตวั อย่างคาตอบ ตา หู จมูก มือ) 3.3 ผลการสังเกตเปน็ อย่างไร (ตวั อยา่ งคาตอบ แมวมศี รี ษะกลม ขนน่มิ หางยาว ไม่มกี ล่ิน ร้องเหมยี ว) 4. นักเรยี นรว่ มกันสังเกตมะนาวโดยใชป้ ระสาทสัมผัสทง้ั 5 ร่วมกันวิเคราะห์ อภปิ ราย และแสดง ความคดิ เห็น แล้วรว่ มกนั ตอบคาถาม ดังนี้ 4.1 นักเรียนสังเกตมะนาวโดยใช้ตาดู ผลการสงั เกตเปน็ อยา่ งไร (ตัวอยา่ งคาตอบ มะนาวมสี ีเขียว) 4.2 นักเรียนสงั เกตมะนาวโดยใช้มือสมั ผัส ผลการสงั เกตเปน็ อย่างไร (ตัวอยา่ งคาตอบ มะนาวมีผิวเรยี บ) 4.3 นักเรยี นสงั เกตมะนาวโดยใช้จมูกดม ผลการสงั เกตเป็นอยา่ งไร (ตัวอยา่ งคาตอบ มะนาวมีกลิ่น) 4.4 นกั เรียนสงั เกตมะนาวโดยใช้ลิ้นชมิ รส ผลการสงั เกตเปน็ อย่างไร (ตวั อย่างคาตอบ มะนาวมรี สเปรย้ี ว) 4.5 นักเรยี นสังเกตมะนาวโดยทุบมะนาวบนโต๊ะแลว้ ใช้หูฟัง ผลการสังเกตเปน็ อย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ มเี สียงดังเปาะ ๆ)

5. นกั เรยี นรว่ มกนั สงั เกตสไี ม้โดยการดดู ว้ ยตา และจบั ดว้ ยมือ รว่ มกันวิเคราะห์ อภปิ ราย และแสดง ความคดิ เหน็ แลว้ ร่วมกนั ตอบคาถาม ดังนี้ 5.1 นักเรียนรจู้ ักหรือเคยเหน็ ส่ิงของท่นี ักเรียนสังเกตหรือไม่ (ตวั อย่างคาตอบ รู้จกั /เคยเห็น) 5.2 ส่ิงของที่นักเรียนสงั เกตมีชื่อเรียกวา่ อะไร (สีไม้) 5.3 สีไม้ทนี่ ักเรียนสังเกต มีสีอะไรบ้าง (ตัวอยา่ งคาตอบ สีแดง สชี มพู สเี ขียว สนี ้าตาล) 5.4 นกั เรียนใช้มือสัมผัสสไี ม้แลว้ ผลเป็นอย่างไร (ตวั อยา่ งคาตอบ สไี ม้แข็ง) 5.5 นกั เรียนใช้ตาสังเกตสีไม้แลว้ ผลการสังเกตเป็นอยา่ งไร (ตัวอยา่ งคาตอบ สีไมม้ ีขนาดส้ัน ยาว และยาวมาก) 5.6 นักเรียนสามารถแบง่ กลุ่มสีไม้เป็นกลุ่มเดยี วกนั ไดห้ รือไม่ (ตัวอยา่ งคาตอบ ได)้ 6. นกั เรยี นร่วมกันวิเคราะหแ์ ละแบง่ กลุ่มสีไม้ โดยใช้เกณฑ์ทนี่ ักเรยี นกาหนดเอง ดว้ ยความตัง้ ใจ 7. นักเรยี นรว่ มกนั วิเคราะห์ อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการแบง่ สีไม้ แลว้ ร่วมกนั ตอบคาถาม ดังนี้ 7.1 นักเรยี นใช้เกณฑใ์ ดในการแบ่งกลุ่มสไี ม้ (ตวั อยา่ งคาตอบ ใชส้ ีเปน็ เกณฑใ์ นการแบ่งสีไม้) 7.2 นกั เรยี นเรยี งลาดบั ความยาวของสีไมไ้ ด้หรอื ไม่ และผลเปน็ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ได้ เรียงลาดับสีไมจ้ ากแท่งสน้ั ไปยงั แท่งยาว ตามลาดบั ) 8. นกั เรียนร่วมกนั สังเกตภาพแมวกาลังว่งิ จับหนู รว่ มกนั วิเคราะห์ อภปิ ราย และ แสดงความคิดเหน็ แล้วร่วมกนั ตอบคาถาม ดังน้ี 8.1 นกั เรยี นรู้จกั หรอื เคยเห็นส่งิ มีชีวติ ในภาพหรอื ไม่ (ตวั อยา่ งคาตอบ รจู้ ัก/เคยเห็น) 8.2 สง่ิ มชี ีวติ ในภาพมกี ่ชี นดิ อะไรบ้าง (2 ชนิด ได้แก่ แมวและหน)ู • สิ่งมชี ีวติ ในภาพกาลังทาอะไร (แมวกาลังว่ิงจับหนู) 9. จากการสังเกตภาพแมววง่ิ จับหนู นักเรียนรว่ มกันวิเคราะห์แลว้ ตัง้ คาถามสาคญั ที่นักเรียนสงสยั (ตัวอย่างคาถามสาคัญ) 9.1 แมวและหนมู ลี ักษณะแตกตา่ งกนั อย่างไร 9.2 หนูเปน็ อาหารของแมวใชห่ รือไม่ อยา่ งไร 9.3 แมวกนิ อะไรเป็นอาหารบ้าง 9.4 หนูกินอะไรเปน็ อาหารบา้ ง 9.5 แมวมปี ระโยชน์ตอ่ คนอย่างไรบา้ ง 10. นักเรยี นรว่ มกนั อา่ นคาถามสาคัญ โดยอา่ นออกเสยี งดังและพรอ้ มเพรยี งกนั 11. นกั เรียนรว่ มกนั สงั เกตสไี ม้ รว่ มกนั วเิ คราะห์ อภปิ ราย จากน้ันฝกึ แข่งขันการตั้งคาถามสาคัญ ให้ได้ คาถามสาคัญมากท่สี ุด กลุ่มไหนตง้ั คาถามสาคญั ได้มากทสี่ ุดและเร็วท่สี ดุ เป็นผู้ชนะ 12. นักเรียนรว่ มกนั วิเคราะห์ อภิปราย และแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับการทากจิ กรรมทักษะสาคัญใน การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 13. นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ผลการทากิจกรรมและสรุปสง่ิ ทเี่ ข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเกย่ี วกับ ทกั ษะสาคญั ในการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โดยออกแบบและเขยี นเปน็ แผนภาพความคิด

(ตวั อย่างแผนภาพความคดิ ) ทกั ษะการสังเกต ทกั ษะสำคญั ทกั ษะการวเิ คราะห์ ในกำรเรียนรู้ วทิ ยำศำสตร์ ทกั ษะการต้งั คาถามสาคญั แผนภาพความคิด ทกั ษะสาคญั ในการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 14. นักเรียนร่วมกนั สรุปสง่ิ ทเ่ี ข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ต้องเข้าใจและปฏิบตั ิตามทกั ษะสาคัญของวทิ ยาศาสตร์ได้ และควบคู่ไปพรอ้ มกบั การสรา้ งนสิ ยั ความเปน็ นักวิทยาศาสตร์ ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) 15. นกั เรียนนาเสนอผลงานโดยวิธีการตา่ ง ๆ ท่หี ลากหลาย เพ่อื แลกเปล่ยี นเรยี นรู้กัน 16. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรปุ เกีย่ วกับวธิ ีการทางานใหเ้ หน็ การคดิ เชงิ ระบบและวธิ กี ารทางาน ท่ีมแี บบแผน ขั้นประเมิน (Evaluation) 17. นักเรียนตรวจสอบหรอื ประเมินขัน้ ตอนต่าง ๆ ที่เรยี นมาในวนั นม้ี จี ุดเด่น จดุ บกพร่องอะไรบ้าง มี ความสงสยั ความอยากรอู้ ยากเห็นในเร่ืองใด ให้ระบุ 18. นกั เรยี นประเมินตนเอง โดยพูดแสดงความรู้สึกหลังการเรยี น ในประเด็นต่อไปน้ี • ส่ิงทน่ี กั เรียนได้เรยี นรใู้ นวนั นคี้ อื อะไร • นักเรยี นมสี ่วนร่วมกจิ กรรมในกล่มุ มากน้อยเพียงใด • เพือ่ นนักเรยี นในกลุม่ มสี ่วนรว่ มกจิ กรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด • นักเรยี นพึงพอใจกับการเรยี นในวนั น้ีหรือไม่ เพยี งใด • นกั เรยี นจะนาความร้ทู ี่ไดน้ ไ้ี ปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทวั่ ไป ได้อยา่ งไร จากนนั้ แลกเปล่ียนตรวจสอบขนั้ ตอนการทางานทกุ ขั้นตอนว่าจะเพ่ิมคณุ ค่าไปสสู่ งั คม เกดิ ประโยชนต์ อ่ สังคมให้มากข้นึ กว่าเดิมในข้นั ตอนใดบ้าง สาหรบั การทางานในครัง้ ต่อไป

ส่ือการเรยี นรูแ้ ละแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 2. แหล่งการเรียนรู้ภายในบา้ น 3. รปู ภาพต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ดินสอ, ยางลบ, แมว, มะนาว, สไี ม,้ ภาพแมวกาลังวิ่งจบั หนู การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรยี นในการรว่ มกิจกรรม - ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - ประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2. เครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในการร่วมกจิ กรรม - แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 3. ประเมินตามเกณฑก์ ารประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ 3.1 การสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียนในการร่วมกจิ กรรม 3.2 การประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 3.3 การประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (รหสั วิชา ว 11101) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ชวี ิตกับสง่ิ แวดลอ้ ม เรือ่ ง สิ่งรอบตัวเรา เวลา 1 ชวั่ โมง สาระสาคัญ พืชและสตั วเ์ ปน็ สง่ิ มชี วี ิตท่ีอาศัยอยู่รอบตัวเรา มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหว่างสงิ่ ไม่มชี วี ิตกบั ส่งิ มชี ีวติ และ ความสมั พนั ธ์ระหว่างส่งิ มีชวี ติ กับส่งิ มชี ีวิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศการถา่ ยทอดพลงั งาน การเปลีย่ นแปลงแทนที่ใน ระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบทีม่ ีตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม รวมท้งั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตวั ชวี้ ดั ว 1.1 ป.1/1 ระบชุ ่ือพชื และสตั ว์ทอ่ี าศัยอยบู่ ริเวณต่าง ๆ จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นสามารถระบชุ ือ่ พืชและสัตว์รอบตัวได้ 2. นักเรียนสามารถสงั เกตและจดั จาแนกส่งิ มชี ีวิตรอบตัวตามเกณฑ์ท่ีกาหนดได้ 3. นกั เรียนสามารถเขยี นแผนภาพความคิด การจัดจาแนกส่ิงมชี วี ติ รอบตวั เราได้ 4. นักเรียนมีความมุ่งม่ันในการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้แู กนกลาง บริเวณตา่ ง ๆ ในทอ้ งถ่ิน เช่น สนามหญ้า ใตต้ น้ ไม้ สวนหยอ่ ม แหลง่ น้า อาจพบพืชและสตั ว์ หลายชนดิ อาศยั อยู่ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มงุ่ มน่ั ในการทางาน

กิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชนั Line ช่วั โมงที่ 1 ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) 1. นักเรยี นรว่ มกนั ร้องเพลงชา้ ง พร้อมท้งั แสดงทา่ ทางประกอบตามจินตนาการ เพลงช้ำง ชา้ ง ชา้ ง ชา้ ง ชา้ ง ชา้ ง นอ้ งเคยเห็นชา้ งหรือเปล่า ชา้ งมนั ตวั โตไม่เบา จมูกยาวยาวเรียกวา่ งวง 2. นกั เรยี นร่วมกมนั ีเตข้อียวบใคตาง้ถวางมเรดียังกนว้ีา่ งา มีหูมีตาหางยาว 2.1 นักเรียนรูจ้ ักหรือเคยเห็นช้างหรือไม่ (รจู้ ัก/เคยเห็น) 2.2 นักเรียนเคยเห็นช้างที่ใด (ท่สี วนสตั ว/์ บนทอ้ งถนน) 2.3 ช้างทนี่ กั เรียนเคยเหน็ มีลกั ษณะอย่างไร (ตวั โต จมูกยาว หใู หญ่ ตาเลก็ หางยาว) 2.4 นอกจากช้างแลว้ นักเรียนเคยเหน็ สตั ว์ชนิดใดอีกบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ หมี ยรี าฟ ลิง เสือ สิงโต หรอื ตามประสบการณ์การเรยี นร้ขู องนกั เรียน) ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 3. นักเรียนรว่ มกันสงั เกตภาพ แลว้ ร่วมกนั บอกวา่ ในภาพพบส่ิงมีชีวิตอะไรบ้าง (ตัวอยา่ งคาตอบ ตน้ ไม้ ดอกไม้ แครร์ อต กระรอก นก สนุ ัข มนุษย์ ผีเส้ือ) 4. นักเรยี นรว่ มกนั สนทนาเก่ียวกับสิ่งมีชีวติ รอบตวั แลว้ รว่ มกันตอบคาถามสาคัญ โดยบนั ทึกคาตอบ บนกระดาน ในแบบแผนภาพความคิด

4.1 สิง่ มชี ีวติ รอบตวั เรามีอะไรบ้าง เพอื่ น ผเี ส้ือ (ตวั อย่างคาตอบ) ครู นก กระรอก ตน้ เขม็ สิ่งมีชีวติ ตน้ หญา้ รอบตัวเรำ ตน้ มะม่วง ตน้ กลว้ ย แผนภาพความคิด สิ่งมชี ีวิตรอบตวั เรา นกั เรียนร่วมกนั คาดคะเนคาตอบ 5. นกั เรียนรว่ มกนั ศึกษา วางแผน แข่งขนั กันสารวจและรวบรวมสง่ิ มชี วี ติ ทพ่ี บได้ รอบตวั เราให้ได้มากทส่ี ุด จากแหลง่ การเรยี นรู้ภายในบา้ นของตนเอง จากน้นั นาขอ้ มลู ท่ีไดม้ าแลกเปล่ยี นกนั และ ตรวจสอบความถูกต้อง 6. นกั เรยี นแต่ละคนวาดภาพสิ่งมีชวี ิตที่พบจากการสารวจ ให้ไดม้ ากทส่ี ุด 7. นักเรียนแตล่ ะคนนาเสนอผลการสารวจ เพอื่ เปรียบเทียบและตรวจสอบความถูกต้อง ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ 8. นักเรยี นร่วมกันคดิ วา่ สงิ่ มชี วี ติ ทส่ี ารวจหรือรวบรวมไดน้ ัน้ จะจดั จาแนกไดอ้ ย่างไรบ้าง มหี ลกั เกณฑใ์ นการจัดจาแนกอย่างไร โดยใชค้ าถาม ดังน้ี ในการจัดจาแนก 8.1 ส่ิงมีชวี ิตเหลา่ น้ีมีลักษณะใดท่ีเหมอื นกนั 8.2 สิ่งมชี ีวิตเหล่านี้มีลกั ษณะใดที่แตกตา่ งกัน 8.3 สิ่งมชี ีวติ เหล่าน้ี มีอะไรท่ีเป็นพวกเดียวกันไดบ้ า้ ง เพราะอะไร 9. นกั เรียนร่วมกันจัดจาแนก และรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง 10. นักเรยี นสงั เกตภาพส้มโอ ชบา กุหลาบ ไก่ นกแก้ว และแมว แล้วนักเรียนรว่ มกนั วิเคราะห์ อภปิ ราย และตอบคาถาม ดงั น้ี

สม้ โอ ชบา กุหลาบ ไก่ นกแกว้ แมว 10.1 นักเรียนรูจ้ ักหรือเคยเห็นสงิ่ ที่อยู่ในภาพหรือไม่ (ร้จู ัก/เคยเห็น) 10.2 สิ่งในภาพสามารถจัดเป็นกลุ่มเดียวกันไดห้ รือไม่ (ได้) 10.3 นักเรียนใชเ้ กณฑ์อะไรในการจัดกลุ่มสิ่งในภาพ (ความมชี วี ติ ) 10.4 ชื่อของกลุ่มภาพนี้คืออะไร (ส่งิ มีชวี ติ ) 10.5 สง่ิ มชี ีวิตที่เปน็ พืชมีอะไรบ้าง (ส้มโอ ชบา กุหลาบ) 10.6 สิ่งมีชีวิตท่ีเป็นสัตวม์ ีอะไรบ้าง (ไก่ นกแก้ว แมว) 11. นักเรียนร่วมกันสรปุ ส่ิงท่ีเข้าใจเป็นความรูร้ ว่ มกันเกี่ยวกับส่งิ มีชวี ิตรอบตัวว่ารอบตัวเรามีพืชและสัตว์ เปน็ ส่ิงมีชีวิต 12. นักเรยี นออกแบบและเขียนแผนภาพความคิด การจดั จาแนกสงิ่ มชี วี ิตรอบตัว จากข้อมูลทีน่ ักเรยี น สารวจหรือรวบรวมว่า ส่ิงใดเปน็ สงิ่ มีชวี ิตประเภทพชื และสิ่งใดเปน็ สงิ่ มชี ีวติ ประเภทสตั วใ์ นกระดาษ จดั ทาเปน็ ชิ้นงาน

(ตวั อยา่ งแผนภาพความคิด) กุหลาบ มะลิ ลาไย ผกั บุง้ มะมว่ ง ส่ิงมชี ีวติ ทเ่ี ป็ นพืช เป็ด ส่ิงมีชีวติ ทเ่ี ป็ นสัตว์ สุนขั ววั ผเี ส้ือ แมว แผนภาพความคิด การจดั จาแนกสง่ิ มีชีวิตรอบตวั 13. นักเรยี นร่วมกันสรปุ สงิ่ ที่เขา้ ใจเป็นความรูร้ ว่ มกัน ดังนี้ พืชและสตั ว์เปน็ สิ่งมีชวี ติ ท่อี าศยั อยู่รอบตวั เรา ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) 14. นกั เรียนนาเสนอผลงานโดยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ทีห่ ลากหลาย เพ่อื แลกเปลย่ี นเรยี นรูก้ นั 15. นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายสรปุ เก่ียวกับวิธีการทางานให้เหน็ การคดิ เชงิ ระบบและวิธกี ารทางาน ทม่ี ีแบบแผน ขนั้ ประเมนิ (Evaluation) 16. นกั เรียนตรวจสอบหรือประเมินขั้นตอนต่าง ๆ ท่เี รียนมาในวนั นี้มจี ุดเด่น จุดบกพร่องอะไรบา้ ง มี ความสงสัย ความอยากรอู้ ยากเห็นในเรื่องใด ใหร้ ะบุ 17. นกั เรียนประเมินตนเอง โดยพูดแสดงความรสู้ กึ หลังการเรยี น ในประเด็นต่อไปนี้ • ส่ิงที่นกั เรยี นได้เรยี นรู้ในวันนค้ี ืออะไร • นักเรียนมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมในกลุ่มมากน้อยเพยี งใด • เพ่ือนนักเรียนในกลมุ่ มสี ว่ นรว่ มกิจกรรมในกลมุ่ มากน้อยเพียงใด • นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันน้ีหรอื ไม่ เพยี งใด • นักเรยี นจะนาความรู้ท่ีได้นี้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั และสังคมทั่วไป ไดอ้ ยา่ งไร

ส่อื การเรียนรแู้ ละแหล่งเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 2. แหล่งการเรียนรู้ภายในบา้ น 3. รูปภาพต่าง ๆ ได้แก่ ภาพส่ิงมีชวี ิตรอบตวั เรา, ภาพส้มโอ, ภาพชบา, ภาพกหุ ลาบ, ภาพไก่, ภาพนกแก้ว, ภาพแมว 4. เพลงช้าง 5. กระดาษเปล่า การวดั ผลและประเมินผล 1. วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรยี นในการรว่ มกจิ กรรม - ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - ประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 2. เคร่ืองมือวัดและประเมินผล 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรยี นในการรว่ มกจิ กรรม - แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 3. ประเมนิ ตามเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจรงิ 3.1 การสังเกตพฤติกรรมนกั เรียนในการรว่ มกิจกรรม 3.2 การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3 การประเมินสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (รหสั วิชา ว 11101) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 สงิ่ มีชีวิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม เรอ่ื ง สารวจสิ่งมชี วี ิตรอบตัวเรา เวลา 1 ชัว่ โมง สาระสาคัญ ระบบนิเวศของโลกมีบริเวณต่าง ๆ ทีม่ สี ัตว์และพชื อาศัยอยู่ เชน่ ทะเล มหาสมุทร ทะเลทราย ปา่ ภเู ขา และขว้ั โลก เป็นต้น ซง่ึ ระบบนเิ วศของโรงเรียนบ้านบางกะปิมีบรเิ วณต่าง ๆ เชน่ สวนหย่อม บรเิ วณตน้ ไม้ แหลง่ นา้ และแหล่งเรยี นรสู้ วนพฤษศาสตรส์ าธิตพืชท้องถน่ิ และสมุนไพรไทย อาจพบพืชและสัตว์หลายชนดิ อาศยั อยู่ มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสิ่งไม่มีชีวติ กับสิง่ มชี ีวติ และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ กบั ส่ิงมชี ีวติ ต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ การถา่ ยทอดพลงั งาน การเปลี่ยนแปลง แทนทใ่ี นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบทีม่ ตี ่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาสง่ิ แวดล้อม รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 1. ระบุช่ือพชื และสตั ว์ทอ่ี าศัยอยู่บรเิ วณต่าง ๆ จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.นักเรียนสามารถระบุชือ่ พืชและสัตวท์ ่ีอาศยั อยู่บริเวณต่าง ๆ ได้ 2.นกั เรยี นสามารถวาดภาพท่ีอย่อู าศยั ท่มี ีพชื และสัตว์อาศัยอยู่ได้ 3.นักเรียนเห็นความสาคัญของทีอ่ ยู่อาศัยทมี่ ตี ่อพืชและสัตว์ทีอ่ าศัยอยู่ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 3. ความสามารถในการสอื่ สาร สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนร้แู กนกลาง บรเิ วณตา่ ง ๆ ในทอ้ งถนิ่ เช่น สนามหญา้ ใตต้ ้นไม้ สวนหย่อม แหล่งน้า อาจพบพืชและสัตว์ หลายชนิดอาศัยอยู่

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน 4. มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ ชิ้นงานหรอื ภาระงาน – แบบทดสอบเร่ืองการสารวจสงิ่ มชี ีวติ รอบตัวเรา – วาดภาพระบายสรี ะบบนิเวศ 1 ระบบ กิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านแอปพลเิ คช่นั Line โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E: Inquiry Process) ชว่ั โมงที่ 2 ขน้ั ท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement) 1) นักเรียนทดสอบความรู้พ้ืนฐานโดยใช้แบบทดสอบตามตวั ช้ีวดั ท่ี ป.1.1/1 ,ป.1.1/2 ,ป.1.2/1 จานวน 20 ข้อ 2) นักเรียนร่วมกนั ศึกษาโปรแกรมนาเสนอส่ิงมีชวี ิตและไม่มชี ีวติ 3) นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถามโดยครูใช้คาถาม ดงั น้ี “นักเรียนคดิ วา่ ส่ิงมีชีวติ มีลักษณะอย่างไร” ขั้นท่ี 2 สารวจและคน้ หา (Exploration) 4) นกั เรยี นสงั เกตลกั ษณะและชนิดของพืชและสัตว์ในโปรแกรมนาเสนอ ซึ่งมีท่อี ยู่อาศัยทง้ั 3 ได้แก่ สัตวบ์ ก สัตวน์ ้า และสตั ว์ครึ่งบกครงึ่ น้า และนกั เรยี นรว่ มกันสารวจพชื และสตั วท์ ี่อาศัยอยู่บริเวณตา่ ง ๆ ภายใน โรงเรียนบ้านบางกะปิ 5) นกั เรยี นรว่ มกันตอบคาถามโดยครูใช้คาถาม ดงั น้ี “ที่อยู่อาศัย 3 แบบที่ได้ดูมพี ืชและสตั วแ์ ตกต่างกัน หรือไม่ อยา่ งไร” ข้ันท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 6) นักเรียนในกลุ่มรว่ มกนั ตอบและอธบิ ายส่ิงที่สงั เกตได้ในโปรแกรมนาเสนอ 7) นกั เรยี นในกลุ่มรว่ มกนั วาดภาพระบายสีที่อยู่อาศัย 1 แบบ พรอ้ มกบั วาดภาพระบายสีพืชและสัตว์ท่ี อาศยั อยา่ งละ 2 ชนดิ ขน้ั ที่ 4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) 8) นักเรยี นแต่ละกล่มุ นาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน โดยครคู อยสรุปเนอ้ื หาและขอ้ เสนอแนะในแตล่ ะกลมุ่ ขั้นท่ี 5 ข้ันประเมนิ (Evaluation) 9) นักเรยี นร่วมกนั สรุปสิ่งท่เี รยี นเพ่ือเปน็ การทบทวนความรู้ ความเข้าใจ โดยครูชแ้ี นะเพ่ิมเติม ใน ประเดน็ ต่อไปนี้ - พชื และสตั วท์ ่ีพบนน้ั จะตอ้ งมีทีอ่ ยู่อาศยั ที่เหมาะสมกับการดารงชีวิตของพืชและสตั ว์ - พืชและสัตว์มที อ่ี ยู่อาศัยหน่ึงยา้ ยที่อยู่อาศยั ทแ่ี ตกตา่ งกันพชื และสัตวน์ ั้นจะต้องตาย 10) นักเรียนซกั ถามข้อสงสัยและครใู ห้ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ

สื่อการเรียนรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ 1. โปรแกรมนาเสนอ สิ่งมีชีวิตและไมม่ ีชีวติ 2. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 3. สวนพฤษศาสตร์สาธติ พืชทอ้ งถิน่ และสมนุ ไพรไทย การวัดผลและประเมินผล 1. วธิ ีการวัดและประเมินผล 1.1 ทดสอบก่อนเรียน 1.2 สังเกตพฤติกรรมนักเรียนในการรว่ มกจิ กรรม - ประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - ประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2. เครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผล 2.1 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียนในการรว่ มกจิ กรรม - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 3. ประเมนิ ตามเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจริง 3.1 การประเมินผลการทดสอบกอ่ นเรียน 3.2 การสังเกตพฤติกรรมนักเรยี นในการรว่ มกจิ กรรม 3.3 การประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 3.4 การประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น

ความคิดเหน็ ของวิชาการ/ประธานสายช้ัน  แผนการจดั การเรยี นรู้ สอดคลอ้ ง กับโครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้  แผนการจัดการเรยี นรู้ ไม่สอดคล้อง กับโครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้ ลงชื่อ....................................................................ผู้ตรวจแผน (นางสาวสุกญั ญา ละอองเงนิ ) วิชาการสายชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ความคดิ เห็นของผูบ้ รหิ าร  แผนจดั การเรียนรู้ครอบคลุม/สอดคล้อง/เชื่อมโยง/กับเปา้ หมายการเรยี นรู้ และเหมาะสมต่อการนาไปใชเ้ พื่อพฒั นาผู้เรียน ระดับมากทส่ี ดุ  แผนจัดการเรยี นรู้ครอบคลมุ /สอดคล้อง/เช่ือมโยง/กับเปา้ หมายการเรียนรู้ และเหมาะสมต่อการนาไปใชเ้ พ่ือพัฒนาผเู้ รียน ระดับมาก  แผนจดั การเรยี นรู้ครอบคลมุ /สอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/กับเป้าหมายการเรียนรู้ และเหมาะสมตอ่ การนาไปใช้เพื่อพัฒนาผเู้ รยี น ระดับน้อย  แผนจดั การเรียนรู้ครอบคลุม/สอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/กับเปา้ หมายการเรียนรู้ และเหมาะสมต่อการนาไปใช้เพื่อพัฒนาผเู้ รยี น ระดับนอ้ ยทีส่ ุด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ....................................................................ผตู้ รวจ (นายสมชยั ทรพั ย์ประเสรฐิ ) รองผอู้ านวยการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านบางกะปิ

บนั ทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้ ผลการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................................... ............................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................... .......................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... .............................................................................................................................................................................. ปัญหา/อปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................ .............................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. ..................................................................... .................................................................................. ....................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ..................................................ผู้สอน (นายนวมินทร์ แกว้ วเิ ศษโฮง) ตาแหน่ง ครู

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (รหสั วชิ า ว 11101) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ส่ิงมชี วี ิตกบั สิง่ แวดลอ้ ม เร่ือง สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับการดารงชีวติ ของพืชและสตั ว์(1) เวลา 1 ชัว่ โมง สาระสาคญั บริเวณที่ แตกต่างกนั อาจพบพืชและสัตวแ์ ตกต่างกัน เพราะสภาพแวดล้อมของแต่ละบริเวณมคี วาม เหมาะสมต่อการดารงชีวติ ของพืชและสตั ว์ที่อาศยั อยู่แตกต่างกัน มาตรฐาน/ตัวชี้วดั มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่งิ ไม่มีชีวิตกับสิ่งมชี ีวติ และความสัมพนั ธ์ระหว่างสงิ่ มีชีวิตกบั สงิ่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ การถา่ ยทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลง แทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบที่มตี ่อทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดล้อม รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. บอกสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมกับการดารงชวี ติ ของสตั วใ์ นบรเิ วณท่อี าศัยอยู่ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรยี นสามารถบอกสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมตอ่ การดารงชวี ติ ของพืชและสัตว์ชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ 2.นกั เรยี นสามารถจาแนกสัตวแ์ ละพืชให้อยู่ในสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมต่อการดารงชวี ิตได้ถูกตอ้ ง 3.นกั เรียนเห็นความสาคญั ของสภาพแวดล้อมที่มีต่อพชื และสัตว์ทอ่ี าศยั อยู่ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง บรเิ วณทแ่ี ตกตา่ งกนั อาจพบพชื และสตั ว์แตกตา่ งกนั เพราะสภาพแวดล้อมของแตล่ ะบริเวณ จะมคี วามเหมาะสมต่อการดารงชีวิตของพชื และสัตว์ท่อี าศัยอยู่ในแตล่ ะบริเวณ เชน่ สระน้า มนี ้าเป็นทอี่ ยู่ อาศัยของหอย ปลา สาหร่าย เป็นท่ีหลบภัย และมีแหล่งอาหารของหอยและปลา บริเวณต้นมะม่วง มีตน้ มะมว่ งเป็นแหลง่ ทอ่ี ยู่ และมีอาหารสาหรับกระรอกและมด

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มัน่ ในการทางาน สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ชน้ิ งานหรือภาระงาน สารวจทอี่ ยอู่ าศยั ของสงิ่ มีชีวิต กจิ กรรมการเรยี นการสอนออนไลน์ผา่ นแอปพลิเคชน่ั Line โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ชัว่ โมงท่ี 1 ขัน้ ที่ 1 นาเข้าสูบ่ ทเรียน 1) นกั เรยี นตอบคาถามครู เพอ่ื กระตุ้นความสนใจ “นักเรยี นเคยเหน็ แมน่ ้าหรอื ไม”่ “พืชหรือสตั วช์ นดิ ใด ที่อาศยั อยใู่ นแมน่ า้ ” และ “ทาไมพืชหรือสตั วเ์ หลา่ นน้ั อาศัยอยูใ่ นแมน่ ้าได้” 2) นกั เรียนร่วมกันตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั คาตอบ เพือ่ เชื่อมโยงไปสูก่ ารเรยี นรู้เร่อื ง สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมต่อการดารงชวี ิตของพืชและสตั ว์ ขนั้ ท่ี 2 กจิ กรรมเรียนรู้ 3) นกั เรยี นรว่ มกันศึกษาแผ่นภาพทแี่ สดงใหเ้ ห็นถงึ การดารงชีวิตของพชื และสัตว์ในสภาพแวดลอ้ ม บริเวณต่างๆ เชน่ ภาพสงิ่ มชี ีวติ ในทะเล ภาพส่ิงมชี ีวิตในทุ่งหญ้า เป็นต้น แล้วนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายถึง สภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมตอ่ การดารงชีวติ ของพืชและสัตว์ ดงั นี้ – บรเิ วณท่แี ตกตา่ งกนั อาจพบพืชและสัตว์แตกต่างกนั เพราะเหตุใด ขั้นที่ 3 สารวจและค้นหา(Exploration) 4) นักเรียนศกึ ษาเรือ่ งสภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมต่อการดารงชีวิตของพืชและสัตว์ โดยครูชว่ ยอธิบายให้ นักเรยี นเข้าใจว่า สิง่ มชี วี ิตจะอาศัยอยูใ่ นบรเิ วณทเ่ี หมาะสมตอ่ การดารงชีวิต เพอ่ื ใหไ้ ด้รบั ประโยชน์จากแหล่งที่ อยู่ เชน่ เป็นที่หลบภัย แหล่งอาหาร และวางไข่ 5) นกั เรียน สารวจที่อยอู่ าศัยของสิ่งมชี ีวติ ตัวอย่างที่ครูนามาให้นักเรียนได้ดู ตามขน้ั ตอนดังนี้ – เลอื กสภาพแวดล้อมทต่ี ้องการสารวจ 2 บริเวณ

– ดูสิง่ มีชีวิตชนิดต่าง ๆ รอบบริเวณทส่ี ารวจ – บอกช่ือสิง่ มีชีวติ ทสี่ ารวจได้ 6) ครูคอยแนะนาช่วยเหลอื นักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดูรอบๆ บรเิ วณทน่ี ักเรียนสารวจ และเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนทกุ คนซกั ถามเม่ือมปี ัญหา ข้ันท่ี 4 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 7) นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหน้าห้องเรียน 8) นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยใชแ้ นวคาถาม คือ – นักเรียนสารวจบริเวณใดบ้าง – บริเวณท่ีนักเรยี นสารวจมสี ิง่ มีชวี ติ ชนิดใดมากท่ีสุด – ส่งิ มีชีวิตบริเวณทีน่ กั เรยี นสารวจมีสง่ิ ใดเป็นแหล่งอาหาร 9) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปผลจากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยครูชี้แนะใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า บริเวณที่อยู่ อาศัยที่แตกต่างกันจะพบสงิ่ มีชวี ิตแตกตา่ งกัน ข้นั ท่ี 5 ขยายความรู้ (Elaboration) 10) นกั เรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั สรปุ เร่ืองสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมต่อการดารงชวี ติ ของพืชและสัตว์วา่ มี ประโยชนอ์ ย่างไรบ้าง โดยสรุปเปน็ แผนผังความคดิ ขน้ั ที่ 6 ประเมิน (Evaluation) 11) นักเรียนแตล่ ะคนรว่ มกับครูพจิ ารณาวา่ จากหวั ขอ้ ที่เรียนมาและการปฏิบตั ิกิจกรรม มจี ุดใดบ้างที่ยัง ไมเ่ ขา้ ใจหรือยังมขี ้อสงสัย ถา้ มี ครูช่วยอธบิ ายเพม่ิ เติมใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจ 12) นกั เรียนรว่ มกันประเมนิ การปฏิบัตกิ ิจกรรมกล่มุ วา่ มปี ญั หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม้ ีการแก้ไขอย่างไร บ้าง 13) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการใหต้ อบคาถาม คือ “สภาพแวดล้อมบริเวณสนามหญ้ากับ สระน้าแตกต่างกันอย่างไร” ขั้นท่ี 7 สรุป 14) นักเรียนและครูรว่ มกันสรปุ เก่ยี วกบั สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการดารงชวี ิตของพืชและสัตว์ โดย ร่วมกนั เขียนเปน็ แผนผงั ความคิด

ส่ือการเรยี นรู้และแหล่งเรยี นรู้ 1. ภาพเกี่ยวกับระบบนิเวศต่าง ๆ 2. หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรียนในการร่วมกิจกรรม - ประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - ประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 2. เคร่ืองมือวัดและประเมินผล 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี นในการรว่ มกจิ กรรม - แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น 3. ประเมินตามเกณฑก์ ารประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ 3.1 การสังเกตพฤติกรรมนกั เรยี นในการร่วมกจิ กรรม 3.2 การประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 3.3 การประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 6 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (รหสั วชิ า ว 11101) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ส่ิงมชี วี ิตกับส่ิงแวดลอ้ ม เร่ือง สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมกบั การดารงชีวิตของพืชและสัตว์(2) เวลา 1 ชว่ั โมง สาระสาคญั บริเวณท่ี แตกตา่ งกนั อาจพบพชื และสตั ว์แตกต่างกัน เพราะสภาพแวดลอ้ มของแตล่ ะบริเวณมคี วาม เหมาะสมต่อการดารงชวี ิตของพชื และสัตวท์ ี่อาศยั อยู่แตกต่างกนั มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชวี ติ กบั ส่งิ มีชวี ิต และความสมั พันธ์ระหว่างสิ่งมีชวี ิตกับสิ่งมชี วี ติ ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ การถา่ ยทอดพลังงาน การเปล่ยี นแปลง แทนทีใ่ นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาส่งิ แวดล้อม รวมทัง้ นาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. บอกสภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมกบั การดารงชีวติ ของสตั ว์ในบรเิ วณท่ีอาศยั อยู่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.นักเรยี นสามารถบอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมตอ่ การดารงชีวติ ของพืชและสัตว์ได้ 2.นักเรยี นสามารถจาแนกสัตวแ์ ละพืชให้อยู่ในสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมตอ่ การดารงชีวิตได้ถูกต้อง 3.นกั เรียนเห็นความสาคญั ของสภาพแวดทม่ี ตี ่อพืชและสัตว์ท่ีอาศยั อยู่ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง บริเวณทีแ่ ตกต่างกนั อาจพบพืชและสตั ว์แตกต่างกัน เพราะสภาพแวดลอ้ มของแตล่ ะบริเวณ จะมคี วามเหมาะสมตอ่ การดารงชีวิตของพชื และสตั ว์ทีอ่ าศัยอยูใ่ นแตล่ ะบรเิ วณ เชน่ สระนา้ มีน้าเปน็ ที่อยู่ อาศัยของหอย ปลา สาหรา่ ย เปน็ ทห่ี ลบภัย และมีแหลง่ อาหารของหอยและปลา บริเวณตน้ มะมว่ ง มีต้น มะม่วงเปน็ แหล่งทอี่ ยู่ และมีอาหารสาหรับกระรอกและมด

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน สบื คน้ ขอ้ มลู สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมต่อการดารงชีวิตของพืชและสัตว์ กิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ผา่ นแอปพลิเคชัน่ Line โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ชั่วโมงที่ 2 ขน้ั ที่ 1 สร้างความสนใจ(Engagement) 1) นกั เรียนตอบคาถามครู เพือ่ กระต้นุ ความสนใจ “นอกจากปลาท่อี าศยั อยู่ในน้าได้แล้ว ยังมพี ืชหรอื สัตว์ชนดิ ใดท่ีอาศัยอยใู่ นน้าได้อกี บ้าง” 2) นกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายหาคาตอบเกย่ี วกับคาถามตามความคดิ เห็นของแต่ละคน ข้ันที่ 2 สารวจและคน้ หา(Exploration) 3) นักเรียนน่งั ตามกลุ่ม สบื คน้ ข้อมลู เกยี่ วกับสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมต่อการดารงชวี ิตของพืชและสตั ว์ ตามขน้ั ตอนดงั นี้ – แตล่ ะกล่มุ วางแผนการสืบค้นข้อมลู โดยแบง่ ให้เพื่อนช่วยกนั สืบคน้ เชน่ สภาพแวดลอ้ มใน ทะเลทราย สภาพแวดล้อมในป่าชายเลน และสภาพแวดลอ้ มในน้าตก – สมาชกิ กลมุ่ แตล่ ะคนหรือกลุ่มยอ่ ยชว่ ยกันสบื ค้นข้อมลู ตามหัวขอ้ ย่อยทีต่ นเองรับผิดชอบ โดยการ สืบคน้ จากหนงั สอื เรยี น ใบความรู้ – สมาชิกกลุ่มนาข้อมลู ท่ีสบื ค้นไดม้ ารายงานใหเ้ พ่ือน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทง้ั รว่ มกนั อภปิ ราย ซกั ถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทุกคนมคี วามรู้ความเขา้ ใจที่ตรงกัน – สมาชกิ กลุ่มช่วยกนั สรปุ ความรู้ท่ีได้ทง้ั หมดเป็นใบงานของกลุ่ม และช่วยกันจาแนกสตั ว์และพืชชนดิ ใดท่ีเหมาะกบั สภาพแวดล้อมในการดารงชวี ิตของพืชและสัตว์ 4) ขณะนักเรยี นปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ครคู อยแนะนาชว่ ยเหลอื โดยครเู ดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปดิ โอกาส ให้นักเรยี นทกุ คนซักถามเม่ือมปี ัญหา

ข้นั ที่ 3 สารวจและค้นหา(Exploration) 4) นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ห้องเรยี น 5) นกั เรียนและครูร่วมกนั อภิปรายผลจากการปฏิบัติกจิ กรรม โดยใช้แนวคาถาม เชน่ – ทะเลทรายมีพืชและสตั ว์ชนิดใดอาศยั อยู่ (แนวคาตอบ อูฐ หญา้ และกระบองเพชร) – ป่าชายเลนมีพชื และสตั วช์ นิดใดอาศยั อยู่ (แนวคาตอบ โกงกาง เต่า ปลา หมึก และหอย) – นา้ ตกมีพืชและสตั วช์ นิดใดอาศัยอยู่ (แนวคาตอบ มอสส์ ปลา และกุง้ ) 6) นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ผลจากการปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยครเู น้นให้นักเรยี นเขา้ ใจวา่ บรเิ วณที่อยู่ อาศัยท่ีแตกต่างกันจะพบส่งิ มีชวี ิตแตกต่างกนั ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration) 7) นักเรยี นชว่ ยกนั ยกตัวอย่างบริเวณตา่ งๆ ทมี่ ีสิ่งมีชีวติ อาศัยอยู่รว่ มกนั หลาย ๆ ชนิด 8) นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใช้แนวคาถาม คือ – นักเรยี นสารวจบรเิ วณใดบ้าง – บริเวณทน่ี กั เรียนสารวจมสี ิ่งมีชีวิตชนดิ ใดมากที่สดุ – สิ่งมชี วี ติ บรเิ วณท่ีนักเรยี นสารวจมสี ่ิงใดเปน็ แหล่งอาหาร 9) นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรุปผลจากการปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยครูช้แี นะให้นักเรยี นเข้าใจวา่ บริเวณทีอ่ ยู่ อาศยั ท่ีแตกต่างกันจะพบสิ่งมีชวี ิตแตกตา่ งกัน ขั้นท่ี 5 ประเมิน (Evaluation) 10) นกั เรียนแตล่ ะคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรยี นมาและการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม มีจดุ ใดบา้ งท่ียังไม่เข้าใจ หรอื ยงั มขี ้อสงสัย ถ้ามี ครชู ่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรยี นเข้าใจ 11) นกั เรียนร่วมกนั ประเมินการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลุ่มวา่ มีปญั หาหรอื อปุ สรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไร บ้าง 12) นกั เรยี นและครรู ่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จากการปฏบิ ัติกจิ กรรม และการ นาความรูท้ ่ไี ด้ไปใช้ประโยชน์ 13) นักเรียนช่วยกันตอบคาถาม เพื่อทดสอบความเข้าใจ “ยกตัวอย่างประโยชน์ท่ีสิ่งมีชีวิตได้รับจาก สภาพแวดลอ้ มที่อาศัยอยู่” ขั้นที่ 6 ข้ันสรุป 14) นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปเกี่ยวกบั สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการดารงชวี ิตของพชื และสตั ว์ โดย รว่ มกนั เขยี นเป็นแผนที่ความคิดหรอื ผงั มโนทัศน์

ส่อื การเรยี นรู้และแหลง่ เรยี นรู้ 1. ใบความรู้ 2. หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 3. ส่อื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 การวัดผลและประเมินผล 1. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรยี นในการรว่ มกจิ กรรม - ประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - ประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 2. เครอื่ งมือวดั และประเมินผล 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นในการรว่ มกิจกรรม - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 3. ประเมินตามเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจรงิ 3.1 การสงั เกตพฤติกรรมนักเรียนในการรว่ มกิจกรรม 3.2 การประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 3.3 การประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 7 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (รหสั วชิ า ว 11101) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สง่ิ มชี วี ติ กบั สงิ่ แวดลอ้ ม เร่ือง ผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชวี ติ ของพืชและสัตว์ (1) เวลา 1 ช่ัวโมง สาระสาคัญ ถ้าสภาพแวดลอ้ มในบรเิ วณที่พชื และสตั ว์อาศยั อยู่มีการเปลย่ี นแปลงจะส่งผลต่อการดารงชวี ิตของพชื และสัตว์ มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พันธร์ ะหว่างส่ิงไม่มชี ีวิตกับส่ิงมชี ีวติ และความสัมพันธร์ ะหว่างสิ่งมีชวี ิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ การถา่ ยทอดพลงั งาน การเปลยี่ นแปลง แทนทใ่ี นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทีม่ ีต่อทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปญั หาสิ่งแวดล้อม รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. บอกสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมกบั การดารงชีวิตของสตั ว์ในบริเวณทอี่ าศยั อยู่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1.นักเรียนสามารถอธบิ ายผลของการเปล่ยี นแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชวี ิตของพืชและสัตว์ได้ 2.นักเรียนสามารถนาความรูเ้ รื่องผลของการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอ้ มต่อการดารงชีวติ ของพืชและ สตั วไ์ ปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ 3.นักเรียนเห็นความสาคัญของผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดทม่ี ตี ่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ถ้าสภาพแวดล้อมในบรเิ วณที่พืชและสัตวอ์ าศยั อยู่มีการเปล่ียนแปลง จะมผี ลตอ่ การ ดารงชวี ติ ของพืชและสตั ว์

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ชนิ้ งานหรือภาระงาน – สงั เกตการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอ้ ม – สืบค้นข้อมูลผลของการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชีวติ ของพชื และสัตว์ท่ีเกิดขน้ึ ใน สถานทตี่ า่ งๆ ของประเทศไทย กจิ กรรมการเรียนการสอนออนไลน์ผา่ นแอปพลิเคชั่น Line โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ชวั่ โมงที่ 1 ขนั้ ท่ี 1 ขั้นสรา้ งความสนใจ(Engagement) 1) นกั เรยี นร่วมกนั ศึกษาแผ่นภาพหรือสื่อมัลตมิ ีเดียทแ่ี สดงให้เหน็ ถงึ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอ้ ม เชน่ ภาพไฟไหมป้ ่าไม้ ภาพแหล่งน้าเนา่ เสีย หรอื ภาพน้าท่วม แลว้ ให้นักเรยี นรว่ มกันอภิปราย ดงั น้ี – นกั เรียนเคยเหน็ เหตุการณ์ในภาพหรือไม่ – เหตุการณน์ ี้ทาใหส้ ภาพแวดลอ้ มเกิดการเปล่ยี นแปลงลักษณะใด – พชื และสัตว์ชนิดใดบา้ งท่ีได้รบั ผลกระทบต่อการดารงชีวติ จากเหตุการณ์น้ี 2) นักเรยี นร่วมกันอภิปรายหาคาตอบเก่ียวกบั คาถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน ข้ันท่ี 2 ขน้ั สารวจและค้นหา(Exploration) 3) นักเรียนเลา่ เร่ืองผลของการเปล่ยี นแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชีวติ ของพืชและสตั ว์ โดยครูชว่ ย อธิบายให้นกั เรียนเขา้ ใจวา่ เม่ือสภาพแวดล้อมเกิดการเปลยี่ นแปลงจะส่งผลตอ่ การดารงชีวติ ของพืชและ สตั ว์ ถา้ แหลง่ น้าเน่าเสยี จะทาใหส้ งิ่ มีชีวิตไมส่ ามารถดารงชีวติ อยู่ได้ 4) นกั เรยี นนง่ั ตามกลุ่ม แล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ตามขั้นตอนดังน้ี – นักเรียนในกลมุ่ ช่วยกนั ดูการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนในวิดีทัศน์ – นกั เรียนบอกบริเวณทเี่ กิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ลกั ษณะการเปลย่ี นแปลง ชนิดของ พชื และสตั วท์ ่อี าศัยอยู่ และผลกระทบท่ีพืชและสตั วไ์ ด้รบั

5) ขณะนักเรียนปฏบิ ัติกิจกรรม ครูคอยแนะนาชว่ ยเหลือ และครเู ดนิ ดูรอบ ๆ บรเิ วณท่ีนักเรยี นสังเกต แล้วเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนซกั ถามเม่ือมปี ัญหา ขน้ั ท่ี 3 ข้ันอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) 6) นักเรียนนาเสนอผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 7) นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคาถาม ดังนี้ – บริเวณใดในท้องถิ่นท่ีเกิดการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ มบา้ ง – บริเวณทเ่ี กิดการเปล่ยี นแปลงมีลกั ษณะเหมือนกันหรือไม่ – ยกตวั อย่างการเกดิ การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่นักเรียนพบมา 1 บรเิ วณ – ข้อดีของกิจกรรมนี้คืออะไร 8) นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรุปผลจากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยครเู นน้ ใหน้ ักเรียนเข้าใจวา่ เมื่อมกี าร เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมเกดิ ข้นึ จะส่งผลตอ่ การดารงชวี ติ ของส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ในบรเิ วณนัน้ ๆ ขั้นท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 9) นกั เรยี นศึกษาขอ้ มลู เกยี่ วกับผลของการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชวี ิตของพชื และสัตว์ท่ี เกดิ ขนึ้ ในสถานทต่ี า่ งๆ ของประเทศไทยจากวดิ ีทศั น์ 10) นกั เรยี น วาดภาพระบายสี ในหวั ขอ้ ผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอ้ มตอ่ การดารงชีวิตของพืช และสัตว์ ขั้นท่ี 5 ข้นั ประเมนิ (Evaluation) 11) นกั เรียนแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหวั ข้อท่เี รียนมาและการปฏบิ ัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างทยี่ ังไม่เขา้ ใจ หรอื ยังมขี ้อสงสัย ถา้ มี ครูช่วยอธิบายเพมิ่ เติมใหน้ ักเรียนเข้าใจ 12) นกั เรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่า มปี ัญหาหรอื อปุ สรรคใด และไดม้ ีการแก้ไขอยา่ งไร บา้ ง 13) นกั เรยี นและครรู ว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม และการ นาความรทู้ ่ีได้ไปใช้ประโยชน์ 14) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยการใหต้ อบคาถาม คอื โรงเรยี นของนักเรยี นเคยมกี าร เปล่ยี นแปลงสภาพแวดลอ้ มเกิดขนึ้ หรือไม่ ขั้นที่ 6 ข้นั สรุป 15) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ เกี่ยวกับผลของการเปล่ียนแปลงสภาพแวดลอ้ มต่อการดารงชวี ติ โดย รว่ มกนั เขียนเปน็ แผนท่ีความคิดหรอื ผังมโนทัศน์

สอ่ื การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ 1. แผ่นภาพ หรอื สื่อมลั ติมเี ดียทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ถึงการเปลยี่ นแปลงสภาพแวดล้อม เชน่ ภาพไฟไหมป้ ่าไม้ ภาพแหล่งน้าเนา่ เสีย หรอื ภาพนา้ ทว่ ม 2. หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 การวัดผลและประเมนิ ผล 1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล 1.1 สังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี นในการรว่ มกิจกรรม - ประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - ประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2. เครอ่ื งมือวดั และประเมินผล 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี นในการร่วมกจิ กรรม - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 3. ประเมนิ ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ผลตามสภาพจริง 3.1 การสังเกตพฤติกรรมนกั เรียนในการร่วมกจิ กรรม 3.2 การประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 3.3 การประเมินสมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (รหัสวิชา ว 11101) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 สิ่งมชี วี ติ กับสิ่งแวดลอ้ ม เร่ือง ผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชีวิตของพืชและสตั ว์ (2) เวลา 1 ชัว่ โมง สาระสาคัญ ถา้ สภาพแวดล้อมในบรเิ วณที่พืชและสตั ว์อาศยั อยู่มกี ารเปลีย่ นแปลงจะสง่ ผลต่อการดารงชวี ิตของพืช และสตั ว์ มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ ไม่มชี วี ติ กบั สิ่งมชี วี ิต และความสัมพันธร์ ะหว่างสิ่งมีชีวติ กับส่งิ มชี ีวิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลง แทนทใี่ นระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบทีม่ ีต่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. บอกสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมกับการดารงชวี ติ ของสตั ว์ในบริเวณทีอ่ าศัยอยู่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธบิ ายผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอ้ มต่อการดารงชีวิตของพืชและสัตว์ได้ 2.นักเรยี นนาความร้เู ร่ืองผลของการเปลย่ี นแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชีวติ ของพืชและสัตว์ไปใช้ ในชวี ติ ประจาวนั ได้ 3.นกั เรียนเห็นความสาคัญของผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดทม่ี ตี ่อพืชและสตั ว์ที่อาศยั อยู่ สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ถ้าสภาพแวดลอ้ มในบริเวณที่พืชและสัตว์อาศยั อยู่มกี ารเปล่ียนแปลง จะมีผลตอ่ การ ดารงชีวิตของพืชและสตั ว์

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทางาน สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ช้ินงานหรอื ภาระงาน – สารวจผลของการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชีวิตของพืชและสัตว์ที่พบใน ชีวิตประจาวนั กิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลนผ์ ่านแอปพลเิ คชัน Line โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ช่วั โมงท่ี 2 ข้นั ที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ(Engagement) 1) นกั เรยี นรว่ มกันตอบคาถามครู คือ – ถ้าแหล่งนา้ เนา่ เสียจะส่งกระทบต่อพชื และสัตว์ชนดิ ใดบา้ ง – ถ้าน้าทว่ มป่าจะส่งกระทบต่อพชื และสตั ว์ชนดิ ใดบา้ ง 2) นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายหาคาตอบเกยี่ วกับคาถามตามความคิดเห็นของแตล่ ะคน ขั้นที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา(Exploration) 3) นักเรียนร่วมกันสารวจผลของการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชีวิตของพชื และสัตว์ในสอื่ การเรยี นรู้ PowerPoint 4) ขณะนักเรียนปฏบิ ัติกิจกรรม ครคู อยแนะนาชว่ ยเหลือ และครูเดินดูรอบ ๆ บรเิ วณทนี่ กั เรียนสังเกต แล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนทกุ คนซักถามเม่ือมีปัญหา ขน้ั ท่ี 3 ข้นั อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) 5) นักเรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าห้องเรียน 6) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายผลจากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใช้แนวคาถาม เช่น – บรเิ วณใดท่นี ักเรียนเคยพบการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมในชวี ิตประจาวนั บ้าง

– การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอ้ มทเี่ กดิ ขน้ึ มีลักษณะอย่างไร – การเปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอ้ มท่เี กิดขน้ึ สง่ ผลต่อการดารงชีวติ ของพืชและสัตว์ชนดิ ใดบา้ ง อยา่ งไร 7) นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรุปผลจากการปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยครูเน้นให้นกั เรียนเขา้ ใจว่า เมื่อ สภาพแวดล้อมท่ีพืชและสตั ว์อาศยั อย่เู กิดการเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อการดารงชีวิตของพชื และสตั ว์ ขน้ั ที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 8) ครอู ธิบายเร่ืองน่ารู้ เร่ืองทะเลทราย ให้นกั เรยี นเข้าใจว่า ทะเลทรายเปน็ บรเิ วณที่มฝี นตกนอ้ ย แหง้ แล้ง และอากาศร้อน ส่งิ มชี วี ติ ท่ีพบจึงมีนอ้ ยชนิด เช่น อูฐและกระบองเพชร ข้ันที่ 5 ขัน้ ประเมิน (Evaluation) 9) นักเรยี นแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหัวข้อท่ีเรียนมาและการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม มีจดุ ใดบ้างท่ียงั ไม่เข้าใจหรือ ยังมีข้อสงสยั ถ้ามี ครชู ่วยอธิบายเพมิ่ เติมใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ 10) นกั เรียนรว่ มกันประเมนิ การปฏิบัตกิ ิจกรรมกลุ่มวา่ มปี ัญหาหรืออุปสรรคใด และไดม้ ีการแก้ไขอยา่ งไร บ้าง 11) นกั เรยี นและครูร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั ประโยชน์ท่ีได้รบั จากการปฏบิ ัติกิจกรรม และการ นาความรู้ทไี่ ด้ไปใชป้ ระโยชน์ 12) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยการให้ตอบคาถาม คอื นักเรยี นคดิ วา่ การเรียนรเู้ รอื่ งผลของ การเปลย่ี นแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชีวิตของพชื และสตั วม์ ีประโยชนอ์ ะไรบา้ ง ข้นั ท่ี 6 ขน้ั สรุป 13) นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรปุ เกี่ยวกับผลของการเปลย่ี นแปลงสภาพแวดล้อมต่อการดารงชีวิตของพืช และสัตว์ โดยร่วมกนั เขยี นเป็นแผนท่ีความคิดหรือผังมโนทัศน์

ส่อื การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. สอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 2. หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 การวัดผลและประเมนิ ผล 1. วิธีการวัดและประเมนิ ผล 1.1 สังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนในการรว่ มกจิ กรรม - ประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2. เคร่ืองมือวัดและประเมินผล 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นในการรว่ มกิจกรรม - แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 3. ประเมินตามเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจรงิ 3.1 การสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี นในการร่วมกจิ กรรม 3.2 การประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 3.3 การประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 9 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (รหัสวิชา ว 11101) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 สงิ่ มีชวี ิตกบั กระบวนการดารงชีวติ เรื่อง โครงสร้างของพืช (1) เวลา 1 ชั่วโมง สาระสาคญั พืชโดยทัว่ ไปมีสว่ นต่างๆ ท่สี าคญั ได้แก่ ราก ลาตน้ ใบ ดอก และผล มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องส่ิงมีชวี ติ หนว่ ยพ้ืนฐานของสิง่ มีชีวติ การลาเลยี งสารเขา้ และออก จากเซลล์ ความสัมพันธข์ องโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษยท์ ่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าท่ีของอวัยวะตา่ ง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธก์ นั รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 1. ระบุชือ่ บรรยายลกั ษณะและบอกหนา้ ท่ขี องส่วนต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ และพชื รวมท้ัง บรรยายการทาหน้าทร่ี ว่ มกันของส่วนต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ในการทากิจกรรมตา่ งๆ จากข้อมลู ท่รี วบรวมได้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.นักเรยี นสามารถอธิบายลกั ษณะทั่วไปของพืชได้ 2.นกั เรียนสามารถวาดภาพพืชทน่ี กั เรยี นชอบอย่างนอ้ ย 3 ชนดิ ได้ 3.นักเรียนสามารถปฏบิ ัติงานตรงตามเวลาท่ีกาหนด สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง พืชมีส่วนต่าง ๆ ทม่ี ลี กั ษณะและหนา้ ทแี่ ตกตา่ งกัน เพือ่ ให้เหมาะสมในการดารงชีวติ โดยทัว่ ไปรากมลี ักษณะเรียวยาว และแตกแขนงเป็นรากเลก็ ๆ ทาหนา้ ท่ี ดูดน้า ลาตน้ มลี กั ษณะเปน็ ทรงกระบอกตั้งตรงและมีก่ิงกา้ น ทาหน้าทีช่ ูก่ิงก้าน ใบ และดอก ใบมลี กั ษณะเป็น แผ่นแบน ทาหนา้ ทสี่ ร้างอาหาร นอกจากนี้พืชหลายชนดิ อาจมดี อกท่ีมีสี รปู รา่ งต่าง ๆ ทาหน้าที่สบื พนั ธุ์ รวมทง้ั มีผลที่มเี ปลือก มีเน้ือห่อหุ้มเมล็ด และมเี มล็ดซึ่งสามารถงอกเปน็ ต้นใหม่ได้

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ชน้ิ งานหรือภาระงาน – สารวจพชื จากภาพต่าง ๆ กจิ กรรมการเรยี นการสอนออนไลน์ผา่ นแอปพลเิ คชัน Line กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ชว่ั โมงท่ี 1 ขั้นท่ี 1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ(Engagement) 1) นักเรียนทดสอบความรู้พืน้ ฐานโดยใช้แบบทดสอบเร่ือง โครงสร้างของพืช จานวน 10 ขอ้ 2) นักเรียนตอบคาถามครูเพอ่ื กระต้นุ ความสนใจ เช่น - นกั เรยี นชอบพชื หรือไม่ เพราะอะไร (แนวคาตอบ ชอบ เพราะพืชทาให้รู้สกึ สดชื่น) - พืชที่นักเรียนชอบมากทส่ี ดุ คอื อะไร เพราะอะไร (แนวคาตอบ มะลิ เพราะดอกมีกล่ินหอม) ข้ันที่ 2 ข้นั สารวจและค้นหา(Exploration) 3) ตวั แทนนกั เรยี นเลา่ เร่ืองพืชที่นกั เรียนปลกู ไว้ท่ีบ้านวา่ มสี ว่ นตา่ ง ๆ ท่ีสาคัญอะไรบา้ ง ลกั ษณะของราก ลาตน้ ใบ ดอก และผลเป็นแบบใด แต่ละต้นมีลักษณะเหมือนหรือตา่ งกนั 4) นกั เรียนสารวจพืชจากภาพบรเิ วณตา่ ง ๆ ว่ามีพืชชนิดใดบ้าง วาดภาพพืชท่ีนกั เรยี นชอบอยา่ งน้อย 3 ชนิด พรอ้ มทั้งระบุว่าพืชชนดิ นนั้ ชอ่ื อะไร มสี ่วนต่าง ๆ ท่ีสาคัญอะไรบา้ ง แลว้ ระบายสใี ห้สวยงาม 5) ขณะนักเรียนปฏิบตั ิกิจกรรมครูคอยแนะนาช่วยเหลือ บรเิ วณท่ีนกั เรยี นสารวจและเปดิ โอกาสให้ นกั เรยี นทกุ คนซักถามเม่อื มปี ัญหา ขั้นท่ี 3 ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) 6) นักเรียนแต่ละคนนาเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 7) นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยใช้แนวคาถามคือ - พืชท่นี ักเรียนสารวจจากภาพบรเิ วณต่าง ๆ มีก่ชี นดิ อะไรบา้ ง - นักเรียนรูจ้ กั พืชจากภาพบรเิ วณต่าง ๆ ทุกชนดิ หรอื ไม่ อย่างไร - พชื ท่ีนักเรียนชอบคืออะไร เพราะอะไร - พืชที่นกั เรียนวาดมีส่วนตา่ งๆ ทส่ี าคัญอะไรบ้าง 8) นักเรียนและครรู ่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยครูเน้นให้นักเรยี นเข้าใจวา่ พืชมสี ว่ นต่างๆ ทีส่ าคญั ได้แก่ ราก ลาต้น ใบ ดอก และผล

ข้นั ที่ 4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) 9) นกั เรียนรว่ มกนั ศกึ ษาวีดิทัศน์ เร่ือง ผกั สวนครวั แลว้ รว่ มกนั ตอบคาถามครู “ผกั สวนครัวทีไ่ ดศ้ ึกษามี อะไรบ้าง” ขน้ั ที่ 5 ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) 10) นกั เรยี นแตล่ ะคนพจิ ารณาวา่ จากหวั ข้อที่เรยี นมาและการปฏิบตั กิ ิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ยี งั ไม่เข้าใจ หรอื ยงั มขี ้อสงสยั ถ้ามี ครูชว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ให้นักเรยี นเข้าใจ 11) นกั เรยี นร่วมกันประเมนิ การปฏิบัติกิจกรรมกล่มุ ว่ามปี ญั หาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแกไ้ ขอย่างไร บา้ ง 12) นักเรียนและครูร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากการปฏบิ ัติกิจกรรม และการ นาความรู้ทีไ่ ด้ไปใช้ประโยชน์ 13) นกั เรียนช่วยกันตอบคาถามเพื่อทดสอบความเข้าใจ คือ ส่วนต่างๆ ทส่ี าคญั ของพืชแตล่ ะชนดิ มี ลักษณะแบบใด ข้ันที่ 6 ขั้นสรุป 15) นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรุปเก่ียวกับโครงสร้างของพืช โดยร่วมกันเขยี นเปน็ แผนทค่ี วามคิดหรอื ผังมโน ทศั น์

ส่ือการเรยี นรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตรช์ ้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 3. วิดีทศั นเ์ ร่ืองผักสวนครวั 4. ภาพตวั อย่างบรเิ วณตา่ ง ๆ การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. วธิ ีการวัดและประเมินผล 1.1 ทดสอบกอ่ นเรยี น 1.2 สังเกตพฤติกรรมนักเรยี นในการรว่ มกจิ กรรม - ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 2. เครื่องมือวดั และประเมนิ ผล 2.1 แบบทดสอบก่อนเรยี น 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมนกั เรียนในการร่วมกิจกรรม - แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 3. ประเมินตามเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจรงิ 3.1 การประเมนิ ผลการทดสอบก่อนเรียน 3.2 การสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในการร่วมกิจกรรม 3.3 การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.4 การประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 10 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (รหสั วชิ า ว 11101) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 สิง่ มชี ีวิตกับกระบวนการดารงชวี ติ เร่อื ง โครงสรา้ งของพืช (2) เวลา 1 ชว่ั โมง สาระสาคญั พชื โดยทั่วไปมสี ว่ นต่างๆ ที่สาคญั ได้แก่ ราก ลาตน้ ใบ ดอก และผล มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของสง่ิ มีชีวิต หนว่ ยพ้ืนฐานของสิ่งมชี วี ติ การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ท่ีทางานสมั พันธก์ นั ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้างและหนา้ ที่ของอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ที่ทางานสัมพันธ์กนั รวมท้ังนาความรูไ้ ปใช้ ประโยชน์ 1. ระบชุ ่ือ บรรยายลกั ษณะและบอกหนา้ ทีข่ องส่วนต่างๆ ของรา่ งกายมนุษย์ สัตว์ และพืช รวมท้ัง บรรยายการทาหน้าท่ีรว่ มกันของสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายมนุษย์ในการทากจิ กรรมต่างๆ จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.นกั เรยี นสามารถบรรยายลักษณะท่ัวไปของพืชได้ 2.นกั เรียนสามารถจาแนกพชื และสตั ว์ได้ 3.นักเรียนสามารถปฏิบตั งิ านตรงตามเวลาท่กี าหนด สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง พืชมสี ว่ นตา่ ง ๆ ทมี่ ีลกั ษณะและหน้าทแ่ี ตกตา่ งกัน เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมในการดารงชีวติ โดยทั่วไปรากมีลักษณะเรียวยาว และแตกแขนงเปน็ รากเล็ก ๆ ทาหน้าที่ ดูดน้า ลาต้นมีลักษณะเปน็ ทรงกระบอกต้ังตรงและมีก่ิงกา้ น ทาหน้าท่ชี ูกิง่ ก้าน ใบ และดอก ใบมลี กั ษณะเปน็ แผน่ แบน ทาหนา้ ทสี่ ร้างอาหาร นอกจากน้ีพืชหลายชนิดอาจมีดอกท่ีมีสี รปู ร่างต่าง ๆ ทาหน้าทสี่ บื พันธุ์ รวมทง้ั มีผลท่ีมเี ปลือก มเี น้ือห่อหุ้มเมลด็ และมเี มล็ดซึ่งสามารถงอกเปน็ ต้นใหม่ได้

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ ม่นั ในการทางาน ชน้ิ งานหรือภาระงาน – สารวจสิง่ มีชีวิตจากภาพสถานทตี่ า่ ง ๆ กนั กิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน Line กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ชว่ั โมงท่ี 2 ข้ันท่ี 1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ(Engagement) 1) นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายส่ือวดิ ที ศั น์ เรื่อง มะพรา้ ว แลว้ ให้ ดงั นี้ “นกั เรียนเคยเห็นพืชชนดิ นี้หรอื ไม่” “บรเิ วณใดทเ่ี ราพบพชื ชนิดน้ีจานวนมาก” 2) นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายหาคาตอบเก่ยี วกบั คาถามตามความคิดเห็นของแตล่ ะคน ขัน้ ท่ี 2 ขั้นสารวจและค้นหา(Exploration) 3) นักเรียนสารวจสง่ิ มชี ีวติ จากภาพสถานที่ตา่ ง ๆ แล้วจาแนกออกเปน็ พืชหรือสัตว์ โดยการวาดภาพ และระบายสีส่งิ ท่สี ารวจใหส้ วยงาม และนบั จานวนว่าพืชมีจานวนเท่าไร และสัตวม์ จี านวนเทา่ ไร 4) ขณะนักเรยี นปฏิบัติกิจกรรมครูคอยแนะนาชว่ ยเหลือ และเปดิ โอกาสให้นักเรยี นทกุ คนซักถามเม่อื มี ปัญหา ขน้ั ท่ี 3 ข้ันอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) 5) นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม 8) นกั เรียนและครรู ่วมกนั อภิปรายผลจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยใช้แนวคาถามคือ - ส่ิงมีชวี ติ ทนี่ กั เรียนพบมีอะไรบา้ ง - พืชทีน่ กั เรยี นพบมีจานวนเท่าไร - สตั วท์ ีน่ ักเรยี นพบมจี านวนเทา่ ไร 9) นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยครเู นน้ ใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า “รอบตัวเรามี สง่ิ มชี วี ติ มากมายอาศยั อยู่” ข้นั ที่ 4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) 10) นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเกย่ี วกับเรื่อง ผักทนี่ กั เรยี นและคนในครอบครัวนักเรียนชอบกินมีอะไรบา้ ง เพราะอะไร”

ข้ันที่ 5 ขัน้ ประเมนิ (Evaluation) 11) นักเรยี นแต่ละคนพจิ ารณาวา่ จากหัวขอ้ ท่ีเรียนมาและการปฏบิ ัติกิจกรรม มจี ดุ ใดบ้างที่ยังไมเ่ ข้าใจ หรอื ยังมีข้อสงสัย ถา้ มี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเติมใหน้ ักเรยี นเข้าใจ 12) นกั เรียนรว่ มกันประเมินการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลุ่มว่ามปี ัญหาหรืออปุ สรรคใด และไดม้ ีการแกไ้ ขอย่างไร บา้ ง 13) นกั เรียนและครรู ่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จากการปฏบิ ัติกิจกรรม และการ นาความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใช้ประโยชน์ 14) นกั เรียนช่วยกันตอบคาถามเพ่ือทดสอบความเข้าใจ คือ “สว่ นต่างๆ ทส่ี าคัญของพชื แตล่ ะชนิดมี ลักษณะแบบใด” ขน้ั ท่ี 6 ขัน้ สรุป 15) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกีย่ วกบั โครงสรา้ งของพืช โดยรว่ มกนั เขียนเปน็ แผนทค่ี วามคดิ หรือผงั มโน ทัศน์ สื่อการเรยี นรูแ้ ละแหล่งเรยี นรู้ 1. ภาพบรเิ วณตา่ ง ๆ 2. หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรียนในการรว่ มกิจกรรม - ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - ประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น 2. เครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมนกั เรียนในการรว่ มกิจกรรม - แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 3. ประเมนิ ตามเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง 3.1 การสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในการร่วมกิจกรรม 3.2 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3 การประเมินสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 11 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (รหสั วชิ า ว 11101) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ส่ิงมีชวี ิตกบั กระบวนการดารงชีวิต เรื่อง ราก เวลา 1 ชัว่ โมง สาระสาคญั รากมลี กั ษณะเรียวยาว และแตกแขนงเป็นรากเล็ก ๆ ทาหนา้ ที่ดูดน้าและธาตุอาหาร และชว่ ยยดึ ลาต้นไว้กับดิน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของสิง่ มีชีวิต หน่วยพน้ื ฐานของสงิ่ มชี ีวิต การลาเลยี งสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของระบบตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ท่ที างานสมั พนั ธก์ นั ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ งและหน้าทข่ี องอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสมั พันธก์ นั รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 1. ระบุชอื่ บรรยายลักษณะและบอกหน้าทขี่ องส่วนต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ สตั ว์ และพืช รวมทัง้ บรรยายการทาหนา้ ท่ีรว่ มกันของส่วนตา่ งๆ ของร่างกายมนษุ ยใ์ นการทากจิ กรรมตา่ งๆ จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธบิ ายลกั ษณะและหนา้ ทข่ี องรากพชื ได้ 2.นกั เรยี นสามารถสงั เกตลักษณะต่าง ๆ ของรากพืชได้ถูกต้อง 3.นักเรยี นสามารถปฏิบตั งิ านตรงตามเวลาท่กี าหนด สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ

สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง พืชมสี ่วนต่าง ๆ ท่ีมลี ักษณะและหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั เพ่ือให้เหมาะสมในการดารงชีวิต โดยทว่ั ไปรากมลี กั ษณะเรียวยาว และแตกแขนงเปน็ รากเลก็ ๆ ทาหน้าท่ี ดูดน้า ลาต้นมลี ักษณะเปน็ ทรงกระบอกตั้งตรงและมกี ิ่งก้าน ทาหนา้ ท่ชี ูก่ิงก้าน ใบ และดอก ใบมีลกั ษณะเปน็ แผ่นแบน ทาหนา้ ท่สี ร้างอาหาร นอกจากน้ีพชื หลายชนดิ อาจมีดอกท่มี สี ี รูปร่างต่าง ๆ ทาหน้าท่ีสืบพันธ์ุ รวมทง้ั มีผลท่ีมีเปลือก มเี นื้อห่อหุ้มเมล็ด และมีเมลด็ ซ่งึ สามารถงอกเปน็ ต้นใหมไ่ ด้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทางาน ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน – สังเกตรากพืชแตล่ ะชนิด – วาดภาพรากพืช กจิ กรรมการเรียนการสอนออนไลนผ์ ่านแอปพลเิ คชัน Line โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ชวั่ โมงที่ 1 ขั้นท่ี 1 ขัน้ สร้างความสนใจ(Engagement) 1) นักเรียนอภปิ รายถึงลกั ษณะและหน้าที่ของรากของพชื แต่ละชนดิ โดยครนู าพืชขนาดเล็กท่ีหาไดใ้ น ท้องถ่ินและมีรากติดอยูก่ ับลาต้น เช่น ผกั บุ้ง ผกั ชี และตน้ หอม มาให้นักเรียนดู เช่น – รากของพืชแต่ละชนดิ ทาหนา้ ที่แตกต่างกนั หรือไม่ – นักเรียนคดิ ว่ารากของพืชทาหนา้ ทีอ่ ะไร 2) นักเรยี นร่วมกนั อภิปรายหาคาตอบเกยี่ วกับคาถามตามความคิดเหน็ ของแต่ละคน ขน้ั ที่ 2 ขน้ั สารวจและคน้ หา(Exploration) 3) นกั เรียนศกึ ษาเรอื่ งลกั ษณะและหน้าท่ีของราก โดยครูช่วยอธบิ ายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจวา่ รากมลี กั ษณะ เรียวยาว และแตกแขนงเปน็ รากเล็ก ๆ ทาหนา้ ทีด่ ดู นา้ และธาตอุ าหาร และช่วยยึดลาตน้ ไวก้ ับดิน ทาให้ลา ต้นต้ังตรงอยู่ได้ รากของพืชมี 2 ชนิด คอื รากแก้วและรากฝอย 4) นักเรยี น สงั เกตลักษณะของรากพชื แตล่ ะชนิดที่ครเู ตรียมไว้ให้ ซ่ึงแต่ละกล่มุ จะได้รากพชื ไมเ่ หมือนกัน ตามขั้นตอนดังนี้ – นักเรยี นชว่ ยกนั อภิปรายข้อมูลเกีย่ วกับรากท่สี งั เกตได้ จนกว่าสมาชิกทุกคนมีความรู้ความเขา้ ใจท่ี ตรงกนั – นกั เรียนแตล่ ะคนวาดภาพระบายสรี ากพชื ทน่ี กั เรยี นสังเกตได้

5) ครคู อยแนะนาชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏิบตั ิกจิ กรรม และเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนทุกคนซักถามเมือ่ มี ปัญหา ขนั้ ท่ี 3 ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) 6) นกั เรยี นนาเสนอผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 7) นักเรียนและครูร่วมกันอภปิ รายผลจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยใชแ้ นวคาถามคือ - รากของพืชมลี ักษณะอยา่ งไร - รากของพชื ทาหนา้ ทีอ่ ะไร 8) นักเรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยครเู นน้ ใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจวา่ “รากมี ลกั ษณะเรียวยาว และแตกแขนงเป็นรากเล็ก ๆ ทาหนา้ ท่ดี ูดนา้ และธาตอุ าหาร และช่วยยดึ ลาต้นไว้กับดนิ ทาให้ลาตน้ ตงั้ ตรงอยู่ได้” ขน้ั ท่ี 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 9) นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายภายในกลุม่ เก่ียวกับเรื่อง รากผักที่นกั เรียนและคนในครอบครวั นักเรียนเคย กนิ มอี ะไรบา้ ง ” ขัน้ ที่ 5 ขัน้ ประเมิน (Evaluation) 10) นกั เรียนแตล่ ะคนพิจารณาว่า จากหัวขอ้ ทเ่ี รียนมาและการปฏบิ ัติกจิ กรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่เข้าใจ หรอื ยังมขี ้อสงสยั ถ้ามี ครชู ว่ ยอธิบายเพ่มิ เตมิ ให้นักเรยี นเข้าใจ 11) นกั เรยี นร่วมกนั ประเมนิ การปฏิบัตกิ ิจกรรมกลมุ่ วา่ มีปญั หาหรืออุปสรรคใด และไดม้ ีการแก้ไขอย่างไร บา้ ง 12) นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม และการ นาความรทู้ ่ีไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ 13) นกั เรียนชว่ ยกนั ตอบคาถามเพ่ือทดสอบความเขา้ ใจ คือ “รากของพืชแต่ละชนดิ เหมือนหรือแตกต่าง กนั ” และ “เราตอ้ งรดนา้ ลงไปทพ่ี ้นื ดนิ เพราะอะไร” ขนั้ ที่ 6 ขัน้ สรุป 14) นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปเก่ียวกับรากของพชื โดยรว่ มกันเขียนเป็นแผนทค่ี วามคิดหรือผงั มโนทศั น์ สอื่ การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ 1. พชื ขนาดเล็กท่ีหาไดใ้ นทอ้ งถ่ินและมีรากตดิ อยู่กบั ลาตน้ เช่น ผกั บงุ้ ผักชี และต้นหอม 2. หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1

การวดั ผลและประเมินผล 1. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรยี นในการรว่ มกิจกรรม - ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - ประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2. เครือ่ งมือวัดและประเมนิ ผล 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมนกั เรยี นในการรว่ มกจิ กรรม - แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน 3. ประเมินตามเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ 3.1 การสังเกตพฤติกรรมนกั เรียนในการรว่ มกจิ กรรม 3.2 การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3 การประเมินสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 12 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์ (รหัสวิชา ว 11101) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 สงิ่ มีชีวติ กบั กระบวนการดารงชวี ติ เรือ่ ง ชนดิ และหน้าท่ีของราก เวลา 1 ชั่วโมง สาระสาคัญ รากมีลักษณะเรยี วยาว และแตกแขนงเป็นรากเล็ก ๆ ทาหน้าที่ดูดนา้ และธาตอุ าหาร และชว่ ยยึด ลาต้นไว้กบั ดิน มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของส่งิ มีชวี ิต หนว่ ยพ้ืนฐานของส่ิงมชี ีวติ การลาเลยี งสารเขา้ และออก จากเซลล์ ความสมั พันธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษยท์ ีท่ างานสัมพันธ์กนั ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าทขี่ องอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ที่ทางานสัมพนั ธก์ นั รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ 1. ระบชุ ื่อ บรรยายลักษณะและบอกหน้าทขี่ องส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกายมนุษย์ สตั ว์ และพืช รวมท้ัง บรรยายการทาหนา้ ทรี่ ว่ มกนั ของส่วนตา่ งๆ ของร่างกายมนุษยใ์ นการทากิจกรรมต่างๆ จากข้อมูลทรี่ วบรวมได้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.นักเรยี นสามารถอธบิ ายลกั ษณะและหนา้ ทข่ี องรากพชื ได้ 2.นักเรยี นสามารถเปรยี บเทยี บความแตกต่างของรากแกว้ และรากฝอยได้ 3.นักเรยี นเหน็ ประโยชนข์ องรากพืช สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนร้แู กนกลาง พืชมสี ว่ นต่าง ๆ ทม่ี ลี ักษณะและหนา้ ท่ีแตกตา่ งกนั เพ่อื ให้เหมาะสมในการดารงชีวิต โดยท่ัวไปรากมลี ักษณะเรียวยาว และแตกแขนงเป็นรากเลก็ ๆ ทาหน้าที่ ดูดน้า ลาต้นมลี ักษณะเปน็ ทรงกระบอกตั้งตรงและมีก่ิงก้าน ทาหนา้ ที่ชูกิ่งก้าน ใบ และดอก ใบมีลกั ษณะเปน็ แผน่ แบน ทาหน้าที่สร้างอาหาร นอกจากน้ีพชื หลายชนดิ อาจมีดอกท่ีมสี ี รูปร่างตา่ ง ๆ ทาหน้าทส่ี บื พนั ธ์ุ รวมทงั้ มผี ลทีม่ เี ปลือก มีเนื้อห่อห้มุ เมลด็ และมเี มล็ดซง่ึ สามารถงอกเป็นต้นใหมไ่ ด้ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน – ศกึ ษาและสงั เกตจากวีดิทัศนเ์ รือ่ งรากแก้วและรากฝอย – วาดภาพเปรียบเทียบความแตกตา่ งระหว่างรากแกว้ และรากฝอย กิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลน์ผ่านแอปพลเิ คชนั Line โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ช่วั โมงท่ี 2 ขั้นท่ี 1 ข้ันสร้างความสนใจ(Engagement) 1) นกั เรียนอภปิ รายถึงลักษณะและหน้าทขี่ องรากของพชื แตล่ ะชนดิ โดยครูนาพชื ขนาดเล็กทห่ี าได้ใน ทอ้ งถิ่นและมรี ากติดอยู่กับลาตน้ เช่น ผกั บุ้ง ผกั ชี และตน้ หอม มาใหน้ ักเรียนดู เชน่ – นักเรยี นเคยเห็นรากในลักษณะอะไรบา้ ง – พชื ชนิดใดบา้ งท่มี ีรากแก้ว – พืชชนดิ ใดบา้ งทีม่ รี ากฝอย 2) นักเรียนรว่ มกนั อภิปรายหาคาตอบเก่ยี วกับคาถามตามความคดิ เห็นของแตล่ ะคน ขน้ั ที่ 2 ขั้นสารวจและคน้ หา(Exploration) 3) นักเรยี นศึกษาวดิ ีทัศน์เรื่องรากแก้วและรากฝอย โดยครชู ว่ ยอธบิ ายใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจว่า “รากแก้วมี ขนาดใหญ่ หยั่งลกึ ลงในดิน ช่วยยึดลาตน้ พชื ไว้กับดินไม่ให้โคน่ ล้มได้ง่าย พบในพืชขนาดใหญ่ เช่น สม้ และ นอ้ ยหนา่ ” “รากฝอยมีขนาดเลก็ เป็นเสน้ ฝอย ๆ ชว่ ยหาอาหารและนา้ ในดิน พบในพชื ล้มลุก และพืชใบเลย้ี เดีย่ ว” 4) นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั สังเกตลกั ษณะของรากพืช โดยวาดภาพเปรียบเทยี บลักษณะท่ีแตกต่างกัน ของรากพชื คือ รากแกว้ และรากฝอย 5) ครคู อยแนะนาชว่ ยเหลอื นักเรียนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครเู ดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้ นักเรยี นทกุ คนซักถามเมอ่ื มปี ัญหา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook